• ขอ้ เสนอแนะ ในการทำงานในครั้งนี้บางกิจกรรมต้องการ การ ดำเนินงานต่อเนื่องจึงอยากให้มีโครงการจ้างทำงานต่อเพื่อให้ พัฒนากิจกรรมที่ไดด้ ำเนินการไปให้มคี วามตอ่ เนอ่ื งและยัง่ ยืน • ปญั หาอปุ สรรค 1. สภาพภูมิอากาศตามฤดูกาลทำให้มีผลต่อการทำ กิจกรรมบางอยา่ งกจิ กรรม 2. สถานการณโ์ ควชิ ทำใหก้ ารเข้าถงึ คนในชมุ ชนเข้าถึงได้ ไม่มากเทา่ ที่ตอ้ งการ 5.2.6 นางสาวสชุ ารัตน์ คำสอน • ความรสู้ ึกท่ไี ด้เขา้ ร่วมโครงการ จากที่เคยทำงานอื่นมาเป็นระยะเวลานานจึงไม่เคย มีประสบการณ์การทำงานในด้านการทำงาน ร่วมกับชุมชนหรือ เกี่ยวกับส่วนงานราชการใด ๆ แต่หลังจากทีไ่ ด้สมัครเขา้ มาทำงาน ร่วมกับ U2T ท่าตุ้ม อ.ป่าซาง จ.ลำพูน ในภาคประชาชนเป็น ก็รู้สกี ดีใจและภมู ใิ จท่ไี ดเ้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของทีมงาน U2T ทา่ ตมุ้ ที่ได้ เข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทในชุมชนแม้เป็นส่วนเล็กๆ ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา เพื่อให้คุณภาพชีวิตของ ชาวตำบลทา่ ตุ้มให้ดีขึ้น สามารถอยู่ไดอ้ ย่างปกติสุขแม้จะมปี ัญหา การระบาดของโควิด-19 ที่ไม่มีทีท่าว่าจะหมดไปในระยะเวลา อันใกล้นี้ แต่โครงการนี้ก็ได้มกี ารส่งเสริม ดูแล และพัฒนาในดา้ น 143
ต่างๆเช่น ด้านส่งเสริมสุขภาพ การออกกำลังกาย และให้ ความสำคญั กับความเป็นอยู่และคณุ ภาพชีวิตของผู้สูงวัย ด้านการ ดูแลสิ่งแวดล้อม ของชุมชนการจัดการขยะการเพิ่มรายได้โดย ส่งเสริมอาชีพที่มีอยู่แล้วให้ได้รับการยอมรับ และได้รับมาตรฐาน ในระดบั จงั หวัด ตลอดจนคิดค้นผลติ ภัณฑใ์ หมๆ่ ให้เกดิ ข้ึนในตำบล ตลอดจนการส่งเสริมการรองรับและสนับสนุนการจัดเตรียมและ ฟื้นฟูสถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ จึงคิดว่าโครงการนี้ดีและเป็น ประโยชนต์ ่อตำบลและผคู้ นแม้จะเป็นเพียงโครงการท่ีมรี ะยะเวลา ดำเนินการแค่เพียง 1 ปี และถ้าหากมโี ครงการตอ่ เนอ่ื งก็จะทำใหม้ ี การสานต่อโครงการและมแี นวทางการพฒั นาในทกุ ๆ ดา้ นท่ียัง่ ยนื ตอ่ ไปไดใ้ นอนาคต และร้สู กึ ขอบคุณและประทบั คณะอาจารย์จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ที่ได้เข้ามาช่วยพัฒนาโดยนำองค์ ความรู้ต่าง ๆ มาถ่ายทอดให้กับคณะทำงาน ตลอดจนเสียสละ เวลาแรงกายแรงใจ ใหง้ านสำเรจ็ ลุลว่ ง ตามเป้าหมาย • ปญั หา การทำงานช่วงแรก ๆ ในด้านของผู้เข้าร่วมโครงการ อาจจะมีปัญหาบ้างในการลงพื้นที่เนื่องจากยังไม่มีความคุ้นเคย หรอื ยังไม่เคยมีประสบการณ์ทำงานรว่ มกบั ชมุ ชน แตเ่ มอ่ื เวลาผ่าน ไปก็สามารถปรับตวั และทำงานรว่ มกบั ชมุ ชนได้เปน็ อย่างดี 144
• ข้อเสนอแนะ ถ้ามีโครงการนี้ต่อเน่ืองจะก่อให้เกิดการพัฒนาที่ย่งั ยืนใน ชุมชนได้ 5.2.7 นายเติมศักด์ิ วงค์สยา (เติม) • ก่อน-หลงั เข้าโครงการมกี ารเปล่ียนแปลงอย่างไร การทำงานตั้งแต่เริ่มต้นทำโครงการ ได้ลงพื้นที่สำรวจ ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในตำบลท่าตุ้มทั้ง 14 หมู่บ้าน ปราชญ์ ชาวบ้าน เก็บภาพของสิ่งแวดล้อมทั้ง 14 หมู่บ้าน ติดต่อกับวัด ต่าง ๆ เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการทำงานขอทีมสิ่งแวดล้อม ได้ฝึกกระบวนการคิด การวางแผนการทำงาน การแก้ปัญหา ร่วมกัน โดยทางทีมงานจะมีกลุ่มทางสื่อออนไลน์ไว้เพื่อติดต่อ ประสานงานกัน ได้เรียนรู้การจัดการขยะจากปราชญ์ชาวบ้าน และแกนนำหมู่บ้าน เพื่อนำไปต่อยอดในการใช้ชีวิตประจำวันใน อนาคต เรียนรู้การอบรมเสริมทักษะต่าง ๆ เรียนรู้การทำเอกสาร เบิกงบประมาณในการทำกิจกรรมในโครงการ ทางทมี สิง่ แวดลอ้ ม ได้ส่งเสริมการขัดแยกขยะภายในครัวเรือน โดยการจัดกิจกรรม อบรมการคัดแยกขยะ โดยมีการจัดอบรมแกนนำทั้ง 14 หมู่บ้าน เพือ่ ใหแ้ กนนำเหลา่ น้ีได้เป็นคนที่สามารถนำความรู้ทไ่ี ด้รบั จากการ อบรม สามารถนำไปเผยแพรใ่ ห้กับสมาชิกในหมู่บ้านตัวเองได้และ ในกิจกรรมได้มีการฝึกทำถุงขยะจากอุปกรณ์ที่ทางทีมส่ิงแวดล้อม ได้จัดเตรียมไว้ให้ เพื่อทางแกนนำจะได้นำไปคัดแยกขยะภายใน ครัวเรือนตัวเอง และกระจายความรทู้ ีไ่ ด้จากการอบรมไปสสู่ มาชิก 145
หมบู่ ้านนัน้ ๆด้วย จากนั้นทีมสงิ่ แวดลอ้ มได้มีการรณรงค์ของแต่ละ หมู่บ้าน โดยการทำป้ายรณรงค์ และป้ายรณรงค์นั้นจะมีกลอนที่ ทางส่งิ แวดลอ้ มแต่งข้นึ มาโดยเฉพาะบา้ นนั้นๆ แตกต่างกันไป และ กลุ่มสิ่งแวดล้อมได้จัดกิจกรรมทำเสวียนรักษ์โลก เพราะว่าเสวียน เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่คู่กับเกษตรกรไทยมานาน โดยการนำไม้ ไผ่มาสานเป็นวงกลมแล้วนำไปครอบต้นไม้ ซึ่งทางทีมสิ่งแวดล้อม เห็นว่าเสวียนนี้ทำง่ายและมีประโยชน์ต่อชุมชน ในการลดเศษ ใบไม้ โครงการน้ขี ้ึนมาและทำให้ชมุ ชนไดเ้ กิดกิจกรรมทีท่ ำรว่ มกัน • ความประทบั ใจ/ปญั หา/ข้อเสนอแนะ การทำงานโครงการนี้มาตั้งแต่ต้น จนถึงปัจจุบันน้ัน ได้รับประสบการณ์ในการทำงานมากมาย สามารถนำ ประสบการณ์ในการทำงานครั้งนี้ นำไปใช้ในการทำงานในอนาคต ต่อไป ฝึกการมีความรับผิดชอบตอ่ หน้าที่ ประทับใจในการทำงาน ร่วมกับทุกคนทุกทีม มีความร่วมมือกัน ช่วยเหลือกัน ซึ่งโครงการ นีส้ ่งเสริมงานให้กบั คนทีว่ า่ งงานทีไ่ ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ปัญหาทีพ่ บคือการทำงานอยู่ในช่วงสถานการณ์ COVID- 19 กำลังระบาดในพื้นที่ทำให้การทำงานยังไม่ราบรื่น และตาม กำหนดการเท่าที่ควร เมื่อต้องการลงพื้นที่สอบถามข้อมูลจาก ชุมชนก็จะมีปัญหาเร่ืองความรว่ มมือจากประชาชน เพราะกลัวโรค ทม่ี าจากคนต่างบา้ น 146
ข้อเสนอแนะ อยากให้มีโครงการ U2T ต่อๆไป เพื่อ ลดการว่างงานของคนในชุมชน ส่งเสริม พัฒนา สนับสนุนการ ทำงานของชุมชน พัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งสุขภาพและ สภาพแวดล้อมในชมุ ชน ตำบลท่าตมุ้ ให้นา่ อยูย่ ิ่งขึ้น 5.2.8 นางสาวโสรยา วงคษ์ า (หมวิ ) • ก่อน-หลังเขา้ โครงการมีการเปลยี่ นแปลงอย่างไร จากการเข้ามาทำงานในชว่ งตอนเดือนพฤษภาคม ได้เข้า ร่วมในการพัฒนาชุมชนในด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นแรงกระตุ้น ให้กับทางคนในชุมชนได้มีการพัฒนาในการคัดแยกประเภทขยะ ของชุมชน ได้ฝึกกระบวนการคิด การวางแผนการทำงาน การสื่อสารไม่ว่าจะเป็นทางหน่วยราชการ ชุมชน ผู้ประกอบการ หรือแม้แต่การสื่อสารกับทางทีมที่ร่วมงาน วิธีการแก้ไขปัญหา ในการทำงาน และได้อบรมเสริมทักษะด้านต่าง ๆ ตอนเข้า โครงการ เช่นทักษะด้านสังคม, ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ,ทักษะ ด้านดิจิตอล และทักษะด้านการเงิน ในการพัฒนาทักษะของ ผู้ทำงาน เรียนรู้การทำเอกสารเบิกงบประมาณการทำกิจกรรม ในโครงการ ทางทีมมีการพัฒนาทักษะการคัดแยกประเภทขยะ ทั้ง 4 ประเภทให้กับทางทีม ให้มีความชำนาญในการคัดแยก ประเภทขยะแต่ละประเภทได้ดีขึ้น เพื่อจะได้นำไปเผยแพร่ให้กับ ทางชุมชนในตำบลท่าตุ้ม การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมของตำบล ท่าตุ้ม ทางทีมจึงคิดกิจกรรมในการเข้าไปสอบถามถึงปัญหา 147
ในส่วนของสิ่งแวดล้อมกับทางชุมชนทั้ง 14 ชุมชน ในการจัดหา ปัญหาที่มาความรุนแรงหรือปัญหาที่ทางชุมชนต้องการแก้ไขมาก ที่สุดในด้านสิ่งแวดล้อมในบริเวณตำบลท่าตุ้ม และความต้องการ แก้ไขปัญหา จากนั้นทางทีมได้เสวนาในการจัดอันดับปัญหา เพื่อที่จะเข้าไปแก้ไขร่วมกับทางชุมชน เพื่อทางทีมจัดเตรียม กิจกรรมโครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมให้กับทางชุมชนทั้ง 14 ชุมชน จากปัญหาดา้ นสภาพแวดล้อมที่ได้จากกิจกรรมสอบถามถึง ปัญหา ปญั หาสว่ นใหญข่ องท่าตมุ้ ในด้านสง่ิ แวดลอ้ มมี ในเร่ืองของ การจัดการขยะภายในชุมชนที่ไม่มีรถจัดเก็บและการคัดแยกขยะ ท่ีชมุ ชนต้องการใหท้ ีมเข้าไปอบรมใหค้ วามรใู้ นการคัดแยกประเภท ขยะให้แต่ละชุมชน จากนั้นทีมสิ่งแวดล้อมได้มีการทำป้ายรณรงค์ และป้ายรณรงค์นั้นจะมีกลอนที่ทางสิ่งแวดล้อมแต่งขึ้นมาร่วมกบั ทางชุมชนทั้ง 14 ชุมชน ติดตั้งก่อนที่จะจัดกิจกรรมอบรมการ คัดแยกขยะ และกลุ่มสิ่งแวดล้อมได้จัดกิจกรรมทำเสวียนรักษ์โลก ให้กับทางบ้านป่าตอง หมู่ 7 เนื่องจากทางชุมชนต้องการที่จะ ลดปริมาณการเผาขยะพวกเศษใบไม้ กิ่งไม้ เพราะว่าเสวียนเป็น วิธีลดการเผาทางชีวภาพโดยการที่นำเศษใบไม้ กิ่งไม้ใส่ในเสวียน ที่ใต้ต้นไม้เพื่อลดการเผาและถ้ามีการทับถมการมากขึ้นก็จะย่อย สลายกลายเป็นปุ๋ยให้แก่ต้นไม้นั้นด้วย และทำให้ชุมชนได้เกิด กิจกรรมที่ทำร่วมกัน ในส่วนของการลดปริมาณการเผาขยะทั่วไป ของแต่ละหมู่บ้านนั้น ทางทีมมีการจัดการโดยการจัดกิจกรรม ทำเตาเผาขยะควันต่ำให้กับทางชุมชนที่มีความสนใจในการจัดทำ เตาเผาขยะควันต่ำนี้เป็นเตาเผาที่มีการใช้ละอองน้ำในการดักจับ 148
ละอองของควันใหม้ ปี รมิ าณท่ีปล่อยออกมาสูบ่ รรยากาศในปริมาณ ที่น้อยลงจากเดิมที่เผาขยะกลางแจ้งและจัดเป็นการลดการเผา ที่เป็นกิจลักษณะ โดนให้ทางตัวแทนหมู่บ้านได้แบ่งวันเวลาในการ เผาหื้อไม่ให้เสียเวลาในการรอและทางทีมจะเข้าไปสำรวจเตาเพื่อ ตรวจดูวา่ เตาเผานน้ั ไมม่ ีการร่ัวของควันออกมา • ความประทบั ใจ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ การทำงานโครงการนี้มาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ของการ ทำงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจ 1 ตำบล 1 มหาลัย ตั้งแต่ที่จะ สมัครโครงการนี้ รู้สึกอยากลองสมัครเพราะโครงการนี้ช่วยเหลือ บัณฑิตที่จบใหม่ ที่ว่างงานและยังไม่มีรายได้ ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์ Covid 19 เพราะโครงการนสี้ ามารถชว่ ยเหลือบณั ฑิต และประชาชน พอได้เข้ามาทำงานโครงการนี้ก็ทำให้ได้เรียนรู้ การทำงานร่วมกับองค์กรและกลุ่มประชาชน และเรียนรู้ในการ เข้าไปพฒั นาชมุ ชนจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ พัฒนาทักษะการทำงานหรอื สร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้กับตัวเองในด้านการเข้าถึงชุมชน เรียนรู้ถึงปัญหาที่ทางชุมชนต้องการแก้ไขและต้องให้เข้าไปช่วย พัฒนา ให้ความรู้เท่าที่จะช่วยได้และได้คำแนะนำจากอาจารย์ ที่คอยสนับสนุนช่วยเหลือและคอยดูแล สั่งสอนและเป็นที่ปรึกษา ให้เราได้ความรู้ในการทำงานเป็นระบบ แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกัน และกันและไดฝ้ กึ การสอ่ื สารการพดู คุยกบั ทางชมุ ชนไดด้ ีข้ึน นำมา พัฒนาต่อยอดเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่ได้รับ เพื่อจะได้นำไป พัฒนาตนเองและชุมชนทเี่ ราได้ช่วยเหลือและสนับสนุน 149
ปญั หาทพ่ี บคอื การทำงานอยู่ในช่วงสถานการณ์ Covid - 19 กำลังระบาดในพื้นที่ทำให้การทำงานยังไม่ราบรื่น และไม่ เป็นไปตามกำหนดเท่าที่ควร เมื่อต้องการลงพื้นที่สอบถามข้อมูล จากชุมชนก็จะมีปัญหาเรื่องความร่วมมือจากประชาชน เพราะ กลวั โรคท่มี าจากคนต่างบ้าน ข้อเสนอแนะ อยากให้มีโครงการ U2T ต่อไป เพ่อื ลดการ ว่างงานของคนในชุมชน ส่งเสริม พฒั นา สนบั สนนุ การทำงานของ ชุมชน พัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้ง สุขภาพ และสภาพแวดล้อม ในชมุ ชน ตำบลท่าตมุ้ ให้นา่ อยู่ยิง่ ขน้ึ 5.2.9 นายพลั ลภ พบทพ่ี ่ึง (กลา้ ) • ก่อน-หลังเข้าโครงการมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร การดำเนินงานของทีมสิ่งแวดล้อมตั้งแต่ ได้เริ่มต้น โครงการ จะเห็นได้ว่าเมื่อโครงการ U2T เข้ามาเริ่มพัฒนาตำบล ท่าตุ้ม ชาวบ้านและผู้นำท้องถิ่นทั้ง 14 หมู่บ้าน ยังไม่มั่นใจและ เชื่อใจในคณะผู้ทำงาน เพราะคิดว่าแค่ปีเดียว จะสามารถยก ระดับตำบลท่าตุ้มให้ดีขึ้นได้หรือไม่ ทางโครงการ U2T และคณะ ผู้ทำงาน จึงได้วางแผนเกี่ยวกับการทำงานเป็น 3 ด้าน ซึ่งผมนั้น ได้อยู่ในกลุ่มสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่เริ่มโครงการมาจะเห็นได้ว่าทาง กลุ่มสิ่งแวดล้อมได้หาแนวทางและวางแผนเพื่อพัฒนาสภาพ ส่งิ แวดลอ้ มตำบลทา่ ตุ้มให้ดีขน้ึ จนกระท้งั ได้เห็นว่าในตำบลท่าตุ้ม นั้น ยังไม่มีการจัดการขยะและคดั แยกขยะที่ดีเกิดขึ้นในตำบลทาง กลมุ่ สิ่งแวดลอ้ มจงึ ได้ให้คำแนะผู้นำและประธาน อสม. เพ่อื ทจี่ ะให้ 150
แต่ละชุมชนเกิดการคัดแยกขยะให้ถูกวิธีก่อน โดยมีการ จดั กจิ กรรมการทำถงั ขยะเพ่อื ให้คนในชุมชนได้รว่ มการทำ ถังขยะ เพ่ือนำไปใชใ้ น หม่บู า้ นของตนเอง ถงึ แม้สถานการณ์ตอนทท่ี ำงาน ยังต้องต่อสู้กับปัญหาโควิด19 ทางทีมงานกลุ่มสิ่งแวดล้อมก็ยัง พัฒนาและจัดกิจกรรมเป็นไปตามที่จังหวัดกำหนด เพื่อที่จะให้ ตำบลได้เกิดการคัดแยกขยะและปลุกจิตใต้สำนึกในการทิ้งขยะ และเผาให้ถูกวิธี ทางกลุ่มสิ่งแวดล้อมจึงทำการจัดกิจกรรมการ ทำเตาเขาขยะขึ้นเพื่อให้คนในตำบลท่าตุ้ม ได้เกิดการเผาขยะให้ ถูกวิธีและลดควัน ให้ได้น้อยที่สุด ซึ่งทางกลุ่มสิ่งแวดล้อม ได้ไป สำรวจและสอบถามแต่ละชุมชนมาแล้วทางกลุ่มสิ่งแวดล้อม จึงจัดการเรื่องขยะของตำบล เพราะเป็นปัญหาใหญ่ที่ชุมชน ได้กล่าวถึงว่าปัญหาขยะตอนนี้ เกิดการเผาไปทั่วและไม่เกิดการ คัดแยกขยะ ทางกลุ่มสิ่งแวดล้อมนำโดยอาจารย์ชัดนารี มีสุขโข ได้เห็นว่าควรจัดทำเตาเผาขยะควันต่ำให้แก่ชุมชนในตำบล จึงให้ ชมุ ชนช่วยกันทำเตาเผา เพ่อื ที่จะลดการเผาขยะให้ถูกวิธีตั้งแต่เริ่ม โครงการมาจนถึงเดือนธันวาเดือนสุดท้ายของโครงการ ทางกลุ่ม สิ่งแวดล้อมและกระผมได้เหน็ ว่าโครงการนี้มีความสำคัญต่อชุมชน และผู้ทำงานได้มากที่สุด เพราะผู้ทำงานได้ทำงานและพัฒนา ตำบลของตนเองให้เกิดการพัฒนาให้ดีขึ้นและยังทำให้ผู้ทำงาน ได้ฝึกการทำงานเป็นทีมก่อนที่จะได้เติบโตทำงานในวันข้างหน้า ซึง่ อาจารยไ์ ดส้ อนและใหค้ ำแนะนำทีด่ ีและอกี ทัง้ ยงั เป็นการพฒั นา ตัวกระผม ให้รถู้ ึงการทำงานจรงิ ของชุมชนอีกด้วย 151
• ความประทับใจ/ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ การทำงานของผมตั้งแต่ต้นจนถึงเดือนสุดท้ายมีความ ประทับใจ ว่าได้พัฒนาตำบลที่ตนเองอยู่ให้รู้ถึงการคัดแยกขยะ และอีกหลาย ๆ ผลงานที่ทีมงานได้ช่วยกันทำเพื่อให้ตำบลได้เกิด การพัฒนาที่ดีขึ้นและประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย ชึ่งกระผม เป็นผู้ที่อยู่ในตำบลนี้รู้สึกภูมิใจและดีใจที่มีโครงการเข้ามาพัฒนา และอีกทั้งผมยังเป็นส่วนหนึ่งในการทำงานเพื่อที่ขับเคลื่อนท่าตมุ้ ให้เกิดการพัฒนาท่ีดขี ึ้น ผมภูมิใจเป็นอย่างมากที่ได้ร่วมกันพฒั นา ตำบลให้เกดิ ผลทีด่ ีขึ้นผมหวังว่าทางโครงการจะพฒั นาตำบลท่าตุ้ม ใหต้ ่อเนอื่ งยิง่ ข้ึนไปอกี สำหรับข้อเสนอแนะนั้นอยากให้ทางโครงการได้สานต่อ ให้ตำบลท่าตุ้ม เกิดการพัฒนา อย่างต่อเนื่องซึ่งหวังว่าทาง โครงการจะให้ต่อสัญญาผู้ทำงานอีกปีนึ่ง ซึ่งจะได้ช่วยกันยกระดับ และพัฒนาตำบลให้ดีขึ้นยง่ิ กวา่ เดิมครบั ผม 5.2.10 นายอภชิ าติ จนั ทร์โนนแซง (ทศิ ) • กอ่ น-หลงั เข้าโครงการมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร ตั้งแต่ได้เข้ามาทำงานตลอดระยะเวลา 8 เดือน ได้เข้า ร่วมในการพัฒนาชุมชนในด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นแรงกระตุ้น ให้กับชาวบ้านในชุมชนได้มีการพัฒนาในการคัดแยกประเภทขยะ ของชุมชน ได้ฝึกกระบวนการคิด การวางแผนการทำงาน การ สื่อสารไม่ว่าจะเป็นทางหนว่ ยราชการ ชุมชน ผู้ประกอบการ หรือ แม้แต่การสื่อสารกับทางทีมที่ร่วมงาน วิธีการแก้ไขปัญหาในการ 152
ทำงาน และได้อบรมเสริมทักษะด้านต่างๆตอนเข้าโครงการ เช่น ทักษะด้านสังคม, ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ,ทักษะด้านดิจิตอล และ ทักษะด้านการเงิน ในการพัฒนาทักษะของผู้ทำงาน เรียนรู้ การทำเอกสารเบิกงบประมาณการทำกิจกรรมในโครงการ ได้มี การพัฒนาทักษะด้านการคัดแยกประเภทขยะทั้ง 4 ประเภท ให้มี ความชำนาญในการคัดแยกประเภทขยะแต่ละประเภทได้ดีขึ้น เพื่อจะไดน้ ำไปเผยแพร่ให้กับทางชมุ ชนในตำบลทา่ ตุ้ม การพัฒนา ด้านสิ่งแวดล้อมของตำบลท่าตุ้มทางทีมจึงคิดกิจกรรมในการเข้า ไปสอบถามถึงปัญหาในส่วนของสิ่งแวดล้อมกับทางชุมชนทั้ง 14 ชุมชน ในการจัดหาปัญหาท่ีมีความรุนแรงหรือปัญหาที่ทางชุมชน ต้องการแก้ไขมากที่สุด ในด้านสิ่งแวดล้อมในบริเวณตำบลท่าตุ้ม และความต้องการแก้ไขปัญหา จากนั้นทางทีมได้เสวนาในการจัด อันดับปัญหาเพื่อที่จะเข้าไปแก้ไขร่วมกับทางชุมชน เพื่อทางทีม จดั เตรยี มกิจกรรมโครงการพฒั นาดา้ นส่งิ แวดล้อมให้กับทางชุมชน ทั้ง 14 ชมุ ชน จากปญั หาดา้ นสภาพแวดลอ้ มทีไ่ ด้จากการสอบถาม ถึงปัญหา ปัญหาส่วนใหญ่ของท่าตุ้มในด้านสิ่งแวดล้อมมีในเรื่อง ของการจัดการขยะภายในชุมชนที่ไม่มีรถจัดเก็บ และการคัดแยก ขยะที่ชุมชนต้องการให้ทีมเข้าไปอบรมให้ความรู้ในการคัดแยก ประเภทขยะให้แต่ละชุมชน จากนั้นทีมสิง่ แวดล้อมได้มีการทำปา้ ย รณรงค์ และป้ายรณรงคน์ ้นั จะมกี ลอนที่ทางสงิ่ แวดล้อมแต่งข้ึนมา ร่วมกับทางชุมชนทั้ง 14 ชุมชน ติดตั้งก่อนที่จะจัดกิจกรรมอบรม การคัดแยกขยะ และกลุ่มสิ่งแวดล้อมได้จัดกิจกรรมทำเสวียน รกั ษ์โลก ให้กบั ทางบา้ นปา่ ตอง หมู่ 7 เนือ่ งจากทางชุมชนต้องการ 153
ที่จะลดปริมาณการเผาขยะพวกเศษใบไม้ กิ่งไม้ เพราะว่าเสวียน เป็นวิธีลดการเผาทางชีวภาพโดยการที่นำเศษใบไม้ กิ่งไม้ ใส่ใน เสวียนที่โคลนต้นไม้เพื่อลดการเผา และถ้ามีการทับถมกันมากข้ึน ก็จะย่อยสลายกายเป็นปุ๋ยให้แก่ต้นไม้นั้นด้วย และทำให้ชุมชนได้ เกิดกิจกรรมที่ทำร่วมกัน ในส่วนของการลดปริมาณการเผาขยะ ทั่วไปของแต่ละหมู่บ้านนั้น ทางทีมมีการจัดการโดยการจัด กิจกรรมทำเตาเผาขยะควันต่ำให้กับทางชุมชนที่มีความสนใจใน การจัดทำ เตาเผาขยะควันต่ำนี้เป็นเตาเผาที่มีการใช้ละอองน้ำใน การดกั จับละอองของควนั ให้มปี รมิ าณทป่ี ล่อยออกมาสูบ่ รรยากาศ ในปริมาณที่น้อยลงจากเดิมที่เผาขยะกลางแจ้งและจัดเปน็ การลด การเผาทีเ่ ป็นกจิ ลักษณะ โดนให้ทางตวั แทนหมบู่ า้ นไดแ้ บง่ วันเวลา ในการเผาเพื่อไม่ให้เสียเวลาในการรอและทางทีมจะเข้าไปสำรวจ เตาเพื่อตรวจดูว่าเตาเผานั้นยังใช้งานได้ดีไม่มีการรั่วของควัน ออกมา • ความประทับใจ/ปญั หา/ข้อเสนอแนะ เริ่มตั้งแต่ได้เข้ามาร่วมทำงานเดือนพฤษภาคม ของการ ทำงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจ 1 ตำบล 1 มหาลัย ตั้งแต่ที่จะ สมัครโครงการนี้รู้สึก อยากลองสมัครเพราะโครงการนี้ช่วยเหลือ ประชาชนที่ว่างงานไม่มีรายได้ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ Covid-19 พอได้เข้ามาร่วมทำงานโครงการนี้ก็ทำให้ได้เรียนรูก้ าร ทำงานร่วมกับองค์กรและกลุ่มประชาชน และเรียนรู้ในการเข้าไป พัฒนาชุมชนจัดกิจกรรมต่าง ๆ พัฒนาทักษะการทำงาน 154
สร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้กับตัวเองในด้านการเข้าถึงชุมชน เรียนรู้ถึงปัญหาที่ทางชุมชนต้องการแก้ไขและต้องให้เข้าไปช่วย พัฒนา ให้ความรู้เท่าที่จะช่วยได้และได้คำแนะนำจากอาจารย์ ที่คอยสนับสนุนช่วยเหลือและคอยดแู ล อบรมและเป็นที่ปรึกษาให้ เราได้ความรู้ในการทำงานเป็นระบบ แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกัน และกนั และได้ฝึกการส่ือสารการพดู คยุ กับทางชุมชนไดด้ ีขึ้น นำมา พัฒนาต่อยอดเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่ได้รับ เพื่อจะได้นำไป พฒั นาตนเองและชุมชนท่ีเราได้ชว่ ยเหลือและสนบั สนุน ปัญหาที่พบคือการทำงานอยู่ในช่วงสถานการณ์ Covid- 19 กำลังระบาดในพื้นที่ทำให้การทำงานยังไม่ราบรื่น และไม่ เป็นไปตามกำหนดการเท่าที่ควร เมื่อต้องการลงพื้นที่สอบถาม ข้อมูลจากชุมชนก็จะมีปัญหาเรื่องความร่วมมือจากประชาชน เพราะกลวั โรคที่มาจากคนต่างบ้าน ข้อเสนอแนะ อยากให้มีโครงการ U2T ตอ่ ไป เพ่ือลดการ ว่างงานของคนในชมุ ชน ส่งเสริม พัฒนา สนบั สนนุ การทำงานของ ชุมชน พัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้ง สุขภาพ และสภาพแวดล้อมใน ชุมชน ตำบลท่าตุ้มให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น และอยากให้มีสวัสดิการของ ภาครฐั เหมือนระบบราชการเพื่อเพมิ่ กำลงั ใจของผ้ปู ฏิบตั ิงาน 155
2.2.11 นางสาวพรี ดา บญุ อุประ (นาย) • ก่อน-หลังเข้าโครงการมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา อยา่ งไร ตลอดระยะ 3 เดือนที่ผ่านมา ที่ได้เข้าร่วมพัฒนาชุมชน ตำบลท่าตุ้มร่วมกับทางมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ในด้านของ งานด้านสิ่งแวดล้อม ก็รู้สึกภูมิใจที่ได้เข้ามาทำงานมาพัฒนาและ ช่วยเหลือคนในตำบลของตัวเองให้ได้เรียนรู้ถึงการคัดแยกขยะ อย่างถกู วิธี ไดฝ้ กึ การคดิ การวางแผนและการสือ่ สารกับทางชมุ ชน หน่วยงานราชการ ผู้ประกอบการและเพื่อนร่วมงาน ได้เรียนรู้ ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในการทำงาน ได้ฝึกอบรมเสริมทักษะ ในการทำงานที่ไม่เคยรู้ ทางทีมจึงเล็งเห็นปัญหาการคัดแยกขยะ และจัดการขยะ ปัญหาสว่ นใหญท่ ี่ตำบลท่าตุม้ พบเจอในเร่ืองของ ขยะ ก็คือตำบลท่าตุ้มไม่มีรถเก็บ ไม่มีถังขยะ 4 สี ไว้คัดแยก ทางทมี ร่วมกบั อาจารยจ์ ึงไดจ้ ัดทำกิจกรรมเสวียนรักษ์โลกขึ้น เพ่ือ เป็นการลดปัญหาของการจัดการฃยะ เสวียนเป็นวิธีการลดปญั หา ของการเผาขยะ จำพวกเศษใบไม้และกิ่งไม้ได้และยังสามารถ ทบั ถมกันใหเ้ กิดเป็นปุ๋ยอีกด้วย และได้ทำให้คนในชมุ ชนได้ร่วมกัน ทำกิจกรรมนี้ขึ้น ในส่วนของการลดจำนวนขยะอย่างอื่น เช่น ถุงพลาสติก ขยะทั่วไป ทางทีมได้จัดทำกิจกรรม เตาเผาขยะ ไร้ควันต่ำให้กับทางชุมชน เพื่อเป็นการลดปัญหาการเผาขยะ ในพื้นที่กลางแจ้งในพื้นที่ส่วนตัว เพราะมันทำให้เกิดมลภาวะ อากาศไม่ดี 156
• ความประทับใจ/ปญั หา/ข้อเสนอแนะ ตลอดระยะเวลา3เดือนที่ผ่านมาที่ได้ทำงานในโครงการ ยกระดับเศรษฐกิจ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ได้พัฒนาชุมชน ร่วมกับบัณฑิตจบใหม่และอาจารย์ของทางมหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปางรู้สึกภูมิใจท่ีได้เข้ามาทำงานนี้ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนาชุมชนของตัวเอง ได้เรียนรู้การคัดแยกและกำจัดขยะ ได้เรียนรู้การจัดทำเสวียนขึ้นและรู้ประโยชน์ของเสวียน ว่าใช้ สำหรับทำอะไร อีกทั้งยังได้ฝึกฝนตัวเอง ได้ทำงานร่วมกับชุมชน และไดท้ ำงานร่วมกับทีม ปัญหาท่ีพบ คือการทำงานอยใู่ นชว่ งการระบาดโควิด 19 จึงทำให้การทำงานไม่ราบรื่นบ้างและไม่เป็นไปตามกำหนด เท่าที่ควร เมื่อลงพื้นที่เข้าพบปะชาวบ้านก็จะติดปัญหาความ ร่วมมือของชาวบ้าน เพราะชาวบ้านกลัวโรคระบาดโควิด จึงทำให้ การทำงานค่อนข้างทจ่ี ะลำบาก ข้อเสนอแนะ อยากให้มีโครงการ ยกระดับเศรษฐกิจ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ต่อไป เพื่อจะได้ส่งเสริมและพัฒนาชุมชน ให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ สนับสนุนการทำงานของคนในชุมชนและพัฒนา สินค้าผลิตภัณฑ์ในชุมชนให้กับชาวบ้านจะได้มีรายได้ สนับสนุน ในเรื่องของสุขภาพคนในชุมชนเพื่อให้คนในชุมชนมีร่างกาย ที่แข็งแรง สนับสนุนสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ตำบลท่าตุ้มได้สะอาดและ นา่ อยยู่ งิ่ ขนึ้ 157
5.2.12 นางสาวสุภาพร ปารเี สน (มาย) • ก่อน-หลังเขา้ โครงการมกี ารเปล่ียนแปลงอย่างไร ก่อนที่จะได้มาร่วมโครงการ ซึ่งเกิดการแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ทำให้เกิดปัญหาการว่างของ บัณฑิตจบใหม่อย่างเรา ที่ไม่สามารถหางานทำได้ จึงย้ายกลับมา ที่บ้าน กลับมาดูแลพ่อแม่ และคอยหางานทำใกล้ ๆ บ้านไปด้วย เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยตา่ ง ๆ จากที่ว่างงานสักพัก ก็มีโครงการยกระดับเศรษฐกิจ 1 ตำบล 1 มหาลัย ซึ่งตำบลท่าตุ้มถิ่นที่อาศัยอยู่ก็ได้เข้าร่วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ฟื้นฟูเศรษฐกิจในระดบั ชุมชน ทั้งการ สร้างงาน การพัฒนาอาชีพในชุมชน จึงมีความสนใจอยากเข้าร่วม โครงการ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาถิ่นที่อยู่อาศัยของตนเอง ใหด้ ีขึน้ ดว้ ยตวั ของเราเอง หลังจากที่ได้เข้าร่วมโครงการก็ทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงมากมาย นอกจากจะทำให้เรามีรายได้ มีงานทำใน ถนิ่ ฐานท่ีอยู่อาศัย พรอ้ มกบั ได้อยดู่ แู ลพอ่ แม่ ยังได้ชว่ ยฟืน้ ฟูชุมชน ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์ชุมชน OTOP สง่ เสริมสนบั สนุน SMEs ในพนื้ ท่ี และช่วยลดปญั หาความยากจนของคนในชมุ ชน • โครงการ U2T ไดเ้ ข้ามาพฒั นาอยา่ งไร โครงการ U2T ได้เข้ามาพัฒนาแก้ปัญหาและความ ต้องการของชุมชน ได้แก่ การจ้างงานประชาชนทั่วไป บัณฑิต จบใหม่ และนักศึกษา ให้มีงานทำ ยกระดับสินค้า OTOP การนำ 158
องค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชนให้แก่ผู้ประกอบการ ส่งเสริมด้าน สิ่งแวดล้อมและร่วมจัดการปัญหาสุขภาพชุมชน เช่น ดูแลสุขภาพ ออกกำลังกายเพื่อลดปัญหาสุขภาพ และตระหนักถึงปัญหา ภยั สุขภาพใกลต้ วั แต่ละช่วงวัย ตามที่ได้ร่วมพัฒนากับทางทีม OTOP มาได้เห็นถึงการ พัฒนาในด้านการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ มาตรฐาน ให้เป็นที่นิยมในตลาดเศรษฐกิจปัจจุบัน อย่างที่ได้ พัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน เช่น กลุ่มพริกลาบได้พัฒนารูปแบบ บรรจุภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย ทั้งจัดเป็นเซ็ตของฝาก ของ ที่ระลึก แต่งเติมเพิ่มรสชาติให้แปลกใหม่ เช่น พริกลาบคลุกปลา กรอบ พริกลาบคลุกแคบหมูไร้มัน พริกลาบคลุกแคบหมูติดมัน กลุ่มต่อมาเป็นผ้าฝ้ายทอมอื ได้รับแพทเทิร์นจากอาจารย์วิทยากร สนับสนุนโครงการ ช่วยในการอบรม ปรับเปลี่ยนรูปแบบ ตามเทรนด์ ให้สามารถสวมใส่ได้กับทุกวัย มีความทันสมัยเป็น ปัจจุบันมากกขึ้น กลุ่มต่อไปเป็นกลุ่มตัดเย็บ Tina แฟชั่น ได้รับ การสนันสนุนแพทเทิร์นกระเป๋าจากอาจารย์วิทยากร ออกแบบ การวางลวดลายผ้า จัดโทนสีให้สวยงาม ต่อมาเป็นกลุ่มพรมเช็ด เทา้ จะเปล่ียนพรมเช็ดเท้าใหม้ ลี วดลายสวยงาม วางจดั สผี ้าสลบั กบั ลวดลายผ้า พัฒนาจากพรมเช็ดเท้าเดิมให้เป็นพรมปูโต๊ะ ชุดวาง จานช้อน ส่วนกลุ่มโคขาวลำพูนและกระถางมูลวัว มีการพัฒนา เพิ่มมูลค่ามูลวัวด้วยการ นำมูลวัวผสมกับใบไม้มาพัฒนาเป็น กระถาง เพื่อเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดข ยะในกลุ่ม เปลี่ยนเป็นเพิ่มผลิตภัณฑ์เพิ่มรายได้ให้กับกลุ่ม เป็นกระถาง 159
ที่สามารถยอ่ ยสลายเองตามธรรมชาติ และกลุ่มสุดท้ายกลุ่มเทียน แม่แสงนวลจากเดิมเป็นเทียนบูชา ได้พัฒนาให้เป็นเทียนประจำ วันเกิด เทียนหอม และเทียนแฟนซี ปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ให้ นอกจากโครงการ U2T จะได้แก้ปัญหาให้กับชุมชน ยังช่วย พัฒนาการสร้างองค์ความรู้ เสริมทักษะให้กับผู้จ้างงานได้พัฒนา ศักยภาพของตนเอง ในเรื่องของความรับผิดชอบต่องาน ความ สามัคคีต่อเพื่อนร่วมงาน รับฟังแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกัน และได้เรียนรู้ถึงการลงพื้นที่กับชุมชน ฝึกการวางแผนการทำงาน วิธีการแก้ไขปัญหา ทักษะการสื่อสารกับเพื่อนร่วมงาน อาจารย์ หน่วยงานราชการ และชุมชน • ความประทับใจ/ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ ตลอดระยะเวลาการทำงานที่ผ่านมาทำให้ได้เรียนรู้ถึง ปัญหามากมายท่ีเกิดขึน้ ไม่ว่าจะเปน็ ปัญหาครอบครัว ปัญหาการ ว่างงาน การขาดแคลนทุนทรัพย์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือจะ เป็นปัญหาจากการทำงานต่าง ๆ การได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการนไี้ ด้เรียนรู้สงิ่ ต่าง ๆ มากมาย ขอขอบคณุ ที่เกดิ โครงการน้ี ขึ้นมา และขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะอาจารย์ ผูด้ แู ลโครงการ เพอ่ื นรว่ มงาน ทไี่ ดใ้ หค้ วามร้แู ละประการณ์ใหม่ ๆ ขอบคุณที่เมตตาให้ได้มาทำงานในโครงการนี้ ดิฉันภูมิใจที่ได้เป็น ส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นฟน้ื ฟูชมุ ชนในคร้ังน้ี ทำให้ชุมชนมีจุดยืน และเพ่ิมรายไดห้ มนุ เวยี นให้แกช่ ุมชน 160
สุดท้ายนี้อยากให้มีโครงการดี ๆ แบบนี้ต่อไป เพื่อช่วย หนุนชุมชน ไม่ว่าจะเป็นน้ำใจ องค์ความรู้ต่างๆ แรงงาน หรือทุน ทรัพย์ เพื่อสร้างสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ พัฒนาให้ชุมชน แขง็ แรง และเปน็ ชมุ ชนย่ังยนื 5.2.13 นางสาวศศกิ าญจน์ พงศด์ า (แกม้ ) • ก่อน-หลังเขา้ โครงการมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร จากการทำงานตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ ได้ลงพื้นที่สำรวจ ขอ้ มูลทีเ่ ก่ียวกับกล่มุ ผลิตภัณฑ์ในชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน มคั นายก เก็บภาพหมู่บ้านทั้ง 14 หมู่บ้าน ภาพวัดในตำบลทั้ง 9 วัด ข้อมูล ประเพณีและภาพประเพณีต่าง ๆ ในชุมชน ได้ฝึกกระบวนการคิด การวางแผนการทำงาน การสื่อสารไมว่ ่าจะเป็นทางหน่วยราชการ ชุมชน ผู้ประกอบการหรือแม้แต่การสื่อสารกับทางทีมที่ร่วมงาน วิธีการแก้ไขปัญหาในการทำงาน และได้อบรมเสริมทักษะ การทำงาน การขายของตลาดออนไลน์ การเปิดช่องทางตลาด ออนไลน์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกับผู้ประกอบการ อบรม นวนุรักษ์เกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์สถานที่ท่องเที่ยว ข้อมูลทาง ชีวภาพและการเพิ่มข้อมูลพิพิธภัณฑ์ และการอบรมเสริมทักษะ ด้านต่าง ๆ เรียนรู้การทำเอกสารเบิกงบประมาณการทำกิจกรรม ในโครงการ ทางทีมทำงานได้ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ทั้งหมด 6 กลุ่มผลิตภัณฑ์ ได้แก่ กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือ กลุ่มเทียนแม่ แสงนวล กลุ่มโคขาวลำพูนและกระถางมูลวัว กลุ่มพริกลาบ กลุ่ม 161
พรมเชด็ เทา้ และกลุ่มตดั เย็บ Tina แฟชั่น ซึง่ ไดส้ ง่ เสรมิ ในการเปดิ ช่องทางการตลาดออนไลน์ การจัดอบรมให้ข้อมูล ความรู้ แนะ แนวในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รูปแบบผลิตภัณฑ์ของแต่ละกลุ่ม บรรจุภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ลูกค้า ทำให้ผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการ เป็นที่ต้องการในท้องตลาดมากขึ้น เพิ่มมูลค้าให้กับสินค้าและ ขยายกลุ่มลุกค้าให้กว้างขวาง ส่งเสริมให้กลุ่มผู้ประกอบการย่ืน ขอขึ้นทะเบียน OTOP และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ซึ่ง ได้มีกลุ่มที่ได้ขึ้นทะเบียน OTOP ทั้งหมด 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มพรม เช็ดเท้า กลุ่มตัดเย็บ Tina แฟชั่น และกลุ่มเทียนบูชาแม่แสงนวล และกลุ่มท่ีไดร้ ับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนมีทั้งหมด 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มพรมเช็ดเท้า และกลุ่มตัดเย็บ Tina โดยทีมทำงานได้นำ ผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการเข้าร่วมจัดแสดงผลงานนิทรรศการ แสดงผลงานโครงการ (U2T LPRU) ณ ศูนยก์ ารคา้ เซน็ ทรลั พลาซา ลำปาง ได้มผี ูท้ ส่ี นใจในผลิตภัณฑข์ องผปู้ ระกอบการมากมาย มีท้ัง อุดหนุนผลิตภัณฑ์ ชม และเสนอแนะในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่ตอบโจทย์ลูกค้ามากขึ้น ซึ่งก่อนจบโครงการทางทีมก็จะนำ ผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการมาร่วมแสดงผลงานในงานคืนข้อมูล ของโครงการ ให้ชุมชนได้เห็นผลงานที่ทีมได้พัฒนาร่วมกับ ผู้ประกอบการ ณ ลานหน้าวัดนางเกิ้ง (วัดร่องห้า) จึงได้เห็น การเปลี่ยนแปลงตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึงปัจจุบัน ว่าโครงการ U2T ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ยกระดับผลิตภัณฑ์ของ ผ้ปู ระกอบการ 162
• โครงการ U2T ได้เขา้ มาพัฒนาอยา่ งไร โครงการ U2T ได้สนับสนุนชุมชนให้มีอาชีพและพัฒนา อาชีพของตนเอง ซึ่งจัดอบรมส่งเสริมทักษะการทำงานของทีม ทำงานและผู้ประกอบการ ไม่ว่าจะเป็นการจัดอบรมการสร้าง ช่องทางตลาดออนไลน์ การเรียนรู้ความต้องการของท้องตลาด ปัจจุบัน กลุ่มลูกค้าที่สนใจ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ที่โดดเด่น เป็นที่สนใจของกลุ่มลูกค้าในแต่ละประเภท และ การอบรมต่าง ๆ ที่ส่งเสริมทักษะในการทำงานของทีมกับ ผู้ประกอบการให้สำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งกลุ่ม ผู้ประกอบการทั้ง 6 กลุ่ม ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ตามที่ได้รับการ อบรม กลุ่มพริกลาบได้พัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ให้มีหลากหลาย ขนาด จัดเป็นเซ็ตของฝาก ของที่ระลึกเพิ่มเติมรสชาติที่แตกต่าง กัน เชน่ พรกิ ลาบคลุกปลากรอบ พริกลาบคลุกแคบหมูไรม้ นั พริก ลาบคลุกแคบหมูติดมัน และรสดั้งเดิม กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือ ได้รับ แพทเทิร์นจากอาจารย์วิทยากรในการอบรม ปรับเปลี่ยนรูปแบบ ตามเทรนด์ สามารถสวมใส่ได้ทุกไซต์ ให้มีความทันสมัยมากกขึ้น กลุ่มตัดเย็บ Tina แฟชั่น ได้รับแพทเทิร์นกระเป๋าจากอาจารย์ วิทยากรในการอบรม ให้มีการวางลวดลายผ้าที่เข้ากัน จัดโทนสี ให้น่าสนใจ การวางผ้าหลายรูปแบบให้ผ้าดูเด่นชัดขึ้น เพิ่มช่อง กระเป๋าและสายของกระเป๋า ปรับขนาดหมวกให้สวมใส่ได้ทกุ เพศ กลุ่มพรมเช็ดเท้ามีการวางจัดสีผ้าสลับกับลวดลายผ้า พัฒนาจาก พรมเช็ดเท้าเดิมให้เป็นพรมปูโต๊ะ ชุดวางจานช้อน เป็นพรมเช็ด 163
เท้าที่มีลวดลายสวยงาม เช่น การทำพรมเช็ดเท้าลายดอกไม้ เป็นต้น กลุ่มโคขาวลำพูนและกระถางมูลวัว ก็นำมูลวัวผสมกับ ใบไม้มาพัฒนาเป็นกระถาง เพื่อเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วย ลดขยะในกลุ่มเปลี่ยนเป็นเพิ่มผลิตภัณฑ์เพิ่มรายได้ให้กับกลุ่ม เป็นกระถางท่ีสามารถย่อยสลายเองตามธรรมชาติ และกลุ่มเทียน แม่แสงนวลจากเดิมเป็นเทียนบูชา จึงได้พัฒนาให้มีเทียน หลากหลายประเภท เช่น เทียนประจำวันเกิด เทียนหอม และ เทียนแฟนซี ปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ให้น่าสนใจ ในส่วนของทีม ทำงานได้รับการพัฒนาศักยภาพการทำงานให้มีความรับผิดชอบ มากขนึ้ การทำงานตอ้ งมคี วามรอบคอบ ใส่ใจกับการทำงานในทีม ช่วยเหลอื แลกเปลี่ยนความรซู้ ึง่ กันและกัน ได้เรียนรกู้ ารทำเอกสาร ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเอกสารเบิกงบประมาณกิจกรรม เอกสาร เบิกเงิน การทำงานอย่างเป็นระบบ ฝึกการวางแผนการทำงาน วิธีการแก้ไขปัญหา ทักษะการสื่อสารกับเพื่อนร่วมงาน อาจารย์ และหนว่ ยงานราชการ • ความประทับใจ/ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ ความประทับใจมากที่ได้สมัครงานในโครงการ U2T ตำบลท่าตุ้มครั้งนี้ ซึ่งได้รับประสบการณ์ในการทำงานมากมาย เพือ่ พัฒนาตนเองในการทำงาน ฝึกการมีความรับผดิ ชอบต่อหน้าท่ี การงาน ดีใจที่ได้ร่วมงานกับทีมทำงานทุกคน ทั้งทีมทำงานใน ตำบลและทีมทำงานจากมหาวิทยาลัย น้อง ๆ นักศึกษาและ อาจารย์ ซึ่งโครงการนีเ้ ป็นโครงการท่ีส่งเสริมรายไดใ้ หก้ ับผู้วา่ งงาน 164
ในตำบลที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ Covid-19 ส่งเสริม ใหบ้ ัณฑติ จบใหม่ ประชาชนตกงานมรี ายได้ และนกั ศึกษามรี ายได้ ปัญหาทีพ่ บ การทำงานจะอยู่ในชว่ งสถานการณ์ Covid- 19 ทำให้เกิดการทำงานได้ช้าขึ้น เมื่อต้องมีการลงพื้นที่สอบถาม ข้อมูลจากชุมชน การทำงานภายในทีมอาจเกิดปัญหาบ้าง ซึ่งเปน็ การร่วมงานกันครง้ั แรกอาจจะต้องปรบั การทำงานเล็กน้อยเพ่ือให้ งานสำเร็จตามเป้าหมาย โดยไม่เกิดปัญหาในครั้งต่อไปอีก ปัญหา เรื่องการประสานงาน การสอื่ สารท่ไี มช่ ัดเจน ข้อเสนอแนะ อยากให้มีโครงการ U2T ต่อ ๆ ไป เพื่อ ลดการว่างงานของคนในชุมชน ส่งเสริม พัฒนา สนับสนุนการ ทำงานของชุมชน พัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งสุขภาพและ สภาพแวดลอ้ มในชมุ ชน ตำบลท่าตุ้มใหน้ ่าอยู่ยง่ิ ขึน้ 5.2.14 นางสาวพจิ ิตรา มาปนิ ตา (หมิว) • ก่อน และหลัง เข้าร่วมโครงการ เปลี่ยนแปลง/พัฒนา อย่างไรบ้าง ตลอด 11 เดอื นท่ผี า่ นมา ในการเข้ารว่ มกิจกรรมได้มีการ แบ่งกลุ่มการพัฒนาแต่ละทีมแบ่งออกเป็นทีม OTOP สุขภาพ สิ่งแวดล้อม เปน็ ตน้ ซงึ่ แต่ละทมี จะมีการพัฒนาในดา้ นตา่ ง ๆ ของ ตนท่ไี ด้รบั ผดิ ชอบ ซ่งึ ทมี เราเป็นทมี OTOP ท่ีต้องพฒั นา ยกระดบั ผลิตภัณฑ์ ให้มีการพัฒนาและเปน็ ทีร่ ู้จกั เปน็ วงกว้าง ผลักดันและ หนุนเสริมให้ผู้ประกอบการมีรายได้มากขึ้น ตามเป้าหมาย 165
โครงการ เพื่อพัฒนากำลังคน พัฒนาทักษะใหม่ และการลดความ ยากจนแบบมเี ปา้ หมายชัดเจน เชน่ พฒั นาสนิ คา้ และบริการชุมชน พัฒนาการตลาดและสิ่งอํานวยความสะดวก ส่งเสริมและพัฒนา ฝีมือแรงงานชุมชน ส่งเสริมให้เกิดการฟื้นฟูและพัฒนาท้องถิ่น ตนเอง พัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน ด้านอื่นๆ ที่ส่งผลต่อการ ยกระดบั เศรษฐกจิ และสังคมของตำบล จากการที่ได้พัฒนาของ OTOP มีการลงพื้นที่สำรวจ ปราชญ์ชาวบ้านและสถานที่ท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ท้องถิ่น และรวบรวมสถานที่ท่องเที่ยวและผู้ประกอบการ บ้าน ที่พัฒนาและมีสินค้า OTOP ของตำบลมาได้ 6 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ พริกลาบสมุนไพร ผ้าฝ้ายทอมือป้ากัลยา Tina แฟชั่น กลุ่มพรม เช็ดเท้าบ้านแม่อาวน้อย กลุ่มโคขาวลำพูน และกระถางมูลวัว ซึ่งได้มีการชี้แนะผู้ประกอบการในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และ อบรมผู้ประกอบการ ในด้านการผลักดันและพัฒนาผลิตภัณฑ์ packaging การตลาด ใหเ้ ปน็ ท่ตี อ้ งการ ของตลาดให้มผี ู้สนใจมาก ขึ้น ผู้ประกอบการได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ตามที่ได้อบรมและผลักดนั ตามงบประมาณที่ได้มา พริกลาบ สมุนไพร ได้พัฒนา packaging เพิ่มเติมรสชาติต่าง ๆ ในส่วนของผ้าฝ้ายทอมือป้ากัลยามีการ ปรับเปล่ยี นรปู แบบ แพทเทิร์นเสือ้ ผ้า ใหด้ ูมีความทันสมยั มากกข้นึ Tina แฟชั่น มีการทำรูปแบบกระเป๋าและหมวก หลายรูปแบบท่มี ี การสลับสีการวางผ้าที่ดูเด่นชัดขึ้น พรมเช็ดเท้ากม็ ีการวางจัดสผี ้า และสลับลวดลายกัน จากที่ทำพรมเช็ดเท้าเดิม ๆ ก็พัฒนามาเปน็ พรมปูโต๊ะชุดวางจานช้อน ในส่วนของโคขาวลำพูนและกระถาง 166
มูลวัวก็นำมูลวัวมาพัฒนาเป็นกระถาง ช่วยโลกร้อน แต่ละ ผลิตภัณฑ์ก็ได้พัฒนาตามเป้าหมายที่วางไว้ และมีการวาง จัดจำหน่าย ก็มีผู้คนสนใจกับผลิตภัณฑ์ที่ทางเราได้มีการพัฒนา มีเสียงตอบรับการ Comment และแนะนำสินค้าของเรา ว่าควร เพิ่มเติมอะไรในผลติ ภัณฑท์ ีเ่ ราพฒั นา เพอ่ื มาปรับแก้ไข การที่ได้ทำงาน U2T ตำบลท่าตุ้มนัน้ ทำให้ได้เรยี นรูก้ าร ทำงานร่วมกัน ทำให้งานที่ทำร่วมกันมีประสิทธิภาพนำไปสู่ ความสำเร็จ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการได้ฝึ กทักษะ กระบวนการทำงานด้วยตนเองและกลุ่มได้มีการวางแผนการ ทำงาน ศึกษาค้นคว้าแก้ปัญหาจากการทำงานมีความกล้า แสดงออก และกล้าคิดกล้าทำวางแผนปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น ในกลุ่มตำบลเดียวกันและ ตำบลอื่น ทไี่ ดท้ ำงานและลงพน้ื ทีจ่ ำหนา่ ยผลิตภัณฑ์ร่วมกัน • ความประทับใจ/ปัญหา/ข้อเสนอแนะ ดีใจที่ได้มาเป็นส่วนหนึ่ง ของการทำงานโครงการ ยกระดบั เศรษฐกิจ 1 ตำบล 1 มหาลัย ตั้งแตท่ ีจ่ ะสมัครโครงการน้ี ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโครงการแล้วรู้สึก อยากลองสมัครเพราะ โครงการนี้ช่วยเหลือบัณฑิตและประชาชนที่ว่างงานและยั งไม่มี รายได้ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ Covid 19 เพราะ โครงการนี้สามารถช่วยเหลือบัณฑิตและประชาชน ในช่วง สถานการณ์ที่ไม่ดีนักและพอได้เข้ามาทำงานโครงการนี้ก็ทำให้ได้ เรียนรู้การทำงานร่วมกับองค์กรภายในของมหาวิทยาลัยและ 167
อา จา รย์ที่เป ็น ผู้จั ดกา รตำ บ ลและ อา จา รย ์ที ่ค อยสนั บ ส นุ น ช่วยเหลือและคอยดูแล สั่งสอนและเป็นที่ปรึกษาให้เราได้ความรู้ ในการทำงานเป็นระบบ แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกันและ สร้างสรรคผ์ ลิตภณั ฑผ์ ลงานที่ไดร้ ับการอบรมและได้รับความรู้จาก วิทยากร มาพัฒนาต่อยอดเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่ได้รับ เพื่อจะ ได้นำไปพัฒนาตนเองและชุมชนที่เราได้ช่วยเหลือและสนับสนุน ผู้ประกอบการและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ปัญหาที่พบก่อนและหลังเขา้ ร่วมโครงการในช่วงสถานการณ์ Covid ทำให้ในการลงพื้นที่อาจ ขัดข้องและช้าบ้างในการทำงานแต่บัณฑิตและประชาชนที่ได้ ทำงานก็มีการดูแลตัวเองหมั่นล้างมือหม่ันล้างเจลแอลกอฮอล์ ในการลงพื้นที่ก็ดูแลตัวเอง การทำงานในกลุ่มอาจมีปัญหาบา้ งใน การทำงานร่วมกันแต่งานแต่ละอยา่ งก็ผ่านไปด้วยดี อาจจะมีเรือ่ ง การประสานงานกับผู้ประกอบการในการสื่อสารไม่ค่อยเข้าใจกัน ข้อเสนอแนะอยากให้ทางมหาวิทยาลัย ทางกระทรวงการคลัง และผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจ รายตำบล แบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ได้มีการต่อโครงการนี้ เพื่อที่ทางบัณฑิตและประชาชนที่ทำงาน ปีนี้ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ และส่งเสริมสิ่งแวดล้อมสุขภาพของตำบลท่าตุ้มให้เป็นไปตาม เป้าหมายใหส้ ำเร็จในปีต่อ ๆ ไป 168
5.2.15 นางสาวเกวลนิ เนตรผาบ (กกุ๊ กกิ๊ ) • ก่อน-หลังเข้าโครงการมีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร ก่อนที่จะได้เข้ารว่ มโครงการยกระดับเศรษฐกิจ 1 ตำบล 1 มหาลัย ของตำบลท่าตุม้ ได้เห็นการทำงานของทีม OTOP ที่ได้ ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีในตำบลท่าตุ้มทั้งหมด 6 กลุ่ม ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ กลุ่ม ผ้าฝ้ายทอมือ กลุ่มเทียนแม่แสงนวล กลุ่ม โคขาวลำพูนและกระถางมูลวัว กลุ่มพริกลาบ กลุ่มพรมเช็ดเท้า และกลุ่มตัดเย็บ Tina แฟชั่น ซึ่งทางทีม OTOP ได้มีการพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ของแต่ละกลุ่ม อีกทั้งยังส่งเสรมิ ให้กลุ่มผู้ประกอบการยื่นขอขึ้นทะเบียน OTOP และมาตรฐาน ผลิตภัณฑช์ ุมชน (มผช.) ซึ่งมกี ลมุ่ ที่ได้ข้ึนทะเบียน OTOP ท้ังหมด 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มพรมเช็ดเท้า กลุ่มตัดเย็บ Tina แฟชั่น นอกจากนี้หลังจากที่ได้เข้าทำงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจ 1 ตำบล 1 มหาลัย ของตำบลท่าตุ้ม ได้เป็นส่วนหนึ่งของทีม OTOP โดยตลอดระยะเวลาการทำงาน 3 เดือน ได้ร่วมผลักดันผลติ ภณั ฑ์ เทียนแม่แสงนวลให้เป็นสินค้า OTOP ทำให้ผลิตภัณฑ์ของตำบล ท่าตุ้มมีสินค้า OTOP เพิ่มขึ้นอีก 1 กลุ่มผลิตภัณฑ์ อีกทั้งยังได้นำ ผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการทั้ง 6 กลุ่มผลิตภัณฑ์ เข้าร่วมจัด แสดงผลงานนิทรรศการแสดงผลงานโครงการ ณ ศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา ลำปาง จากการทำงานของทีม OTOP ตลอดโครงการได้เห็น การเปลี่ยนแปลง คือ ผลิตภัณฑ์ของตำบลท่าตุ้มได้มีการพัฒนา 169
รูปแบบที่ทันสมัยเข้าถึงทุกช่วงวัย มีรูปแบบที่แปลกใหม่ และ มีบรรจุภัณฑ์ที่สวยงาม อีกทั้งผลิตภัณฑ์ยังมีคุณภาพและ มีมาตรฐาน นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในตำบลท่าตุ้มได้ขึ้น ทะเบียนเป็นสินค้า OTOP ทั้งหมด 3 กลุ่มผลิตภัณฑ์ และได้รับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) 2 กลุ่มผลิตภัณฑ์ ทำให้ตำบล ท่าตุ้มมีผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและทำให้บุคคลภายนอกได้รู้จัก ตำบลท่าตมุ้ ผ่านผลิตภณั ฑท์ จี่ ำหนา่ ยมากขนึ้ • โครงการ U2T ได้เข้ามาพัฒนาอยา่ งไร โครงการ U2T ได้เข้ามาพัฒนาโดยการสร้างองค์ความรู้ ให้แก่ผู้ประกอบการ ด้วยการจัดอบรมเพื่อส่งเสริมทักษะให้แก่ ผู้ประกอบการ ส่งเสริมการสร้างช่องทางด้านการตลาด อีกทั้ง ยังช่วยในด้านของการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ให้มีความ โดดเด่น ให้เป็นที่สนใจของกลุ่มลูกค้าในแต่ละประเภทและเข้าถงึ ทุกกลุ่มช่วงวัย ซึ่งกลุ่มผู้ประกอบการทั้ง 6 กลุ่ม ได้มีการพัฒนา ผลติ ภัณฑต์ ามทไ่ี ด้รบั การอบรม โดยกลุม่ เทียนแมแ่ สงนวลได้มีการ พัฒนาจากเดิมซึ่งเป็นเทียนบูชาเป็นเทียนหลากหลายประเภท เช่น เทียนประจำวันเกิด เทียนหอม และเทียนแฟนซี และมีการ ปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ให้น่าสนใจมากขึ้น กลุ่มพริกลาบได้พัฒนา ร ู ป แ บ บ บ ร ร จ ุ ภ ั ณ ฑ ์ ใ ห ้ ม ี ห ล า ก ห ล า ย ข น า ด แ ล ะ ม ี ร ส ช า ติ ที่หลากหลาย เช่น พริกลาบคลุกปลากรอบ พริกลาบคลุกแคบหมู ไร้มัน พริกลาบคลุกแคบหมูติดมัน และรสดั้งเดิม กลุ่มผ้าฝ้าย ทอมือ ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของเสื้อให้มีความทันสมัย 170
มากขน้ึ กล่มุ ตัดเย็บ Tina แฟชนั่ ไดม้ ีการวางรูปแบบกระเป๋าให้มี ลวดลายผ้าที่เข้ากัน จัดโทนสีให้น่าสนใจ เหมาะกับทุกช่วงวัย อีกทั้งยังมีการปรับขนาดหมวกให้สวมใส่ได้ทุกเพศ กลุ่มพรม เช็ดเท้า ได้มีการวางสีผ้าสลับกับลวดลายผ้า พัฒนาจากพรมเช็ด เท้าเดิมให้เป็นพรมปูโต๊ะ ชุดวางจานช้อน เป็นพรมเช็ดเท้าที่มี ลวดลายสวยงามและกลุ่มโคขาวลำพูนและกระถางมลู วัว ได้มีการ นำมูลวัวผสมกับใบลำไยเพื่อใช้ในการจัดทำกระถาง เพื่อให้เป็น กระถางที่สามารถย่อยสลายไดเ้ องตามธรรมชาติ • ความประทับใจ/ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ ความประทับใจตั้งแตไ่ ด้เข้าร่วมทำงานในโครงการ U2T ตำบล ท่าตุ้ม ประการแรกประทับใจในการทำงานของทีม U2T ตำบลท่าตุ้ม ที่คอยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ประการที่สองได้รับ ประสบการณ์ที่ดีในการทำงาน ได้ทำงานที่หลากหลาย เช่น การติดต่อหน่วยงานราชการ การติดต่อประสานงานกั บ ผู้ประกอบการ การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ และการทำงาน ด้านเอกสารต่าง ๆ เช่น เอกสารการตรวจรับจัดซ้ือ เอกสาร การส่งมอบงาน และเอกสารที่ใช้ในการยื่นขอขึ้นทะเบียนสินค้า OTOP เป็นต้น ทำให้เป็นคนที่มีความรับผิดชอบมากขึ้น และ ทำงานเป็นระบบมากขึ้น ปัญหาที่พบก่อนและหลังเข้าร่วม โครงการ ในช่วงสถานการณ์ Covid ทำให้ในการลงพื้นที่ อาจขดั ข้องและช้าบ้างในการทำงานแต่ บณั ฑติ และประชาชนทไ่ี ด้ ทำงานก็มีการดูแลตัวเองมันล้างมอื มันลา้ งเจลแอลกอฮอล์ ในการ 171
ลงพื้นที่ก็ดูแลตัวเอง การทำงานในกลุ่มอาจมีปัญหาบ้างในการ ทำงานร่วมกันแต่งานแต่ละอย่างก็ผ่านไปด้วยดี อาจจะมีเรือ่ งการ ประสานงานกับ ผู้ประกอบการในการสื่อสารไม่ค่อยเข้าใจกัน ข้อเสนอแนะ อยากให้มีโครงการยกระดับเศรษฐกิจรายตำบล แบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ต่อไปเรื่อย ๆ เพื่อที่จะ พัฒนาผลิตภัณฑ์ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งส่งเสริมด้านสุขภาพของ ประชาชนตำบลท่าตมุ้ ให้ดยี ่งิ ๆ ขน้ึ ไป 5.2.16 นางสาวปภาวรนิ ท์ หมนื่ อภยั (เก๋) • กอ่ น-หลงั เข้าโครงการมีการเปลย่ี นแปลงอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลง คือ จากที่ก่อนเข้าโครงการเป็นคน ว่างงาน เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด Covid-19 แต่พอได้ เข้ามาทำงานในโครงการ ทางโครงการมีการจัดอบรมท่ี หลากหลายรูปแบบ ทำให้มีความรู้ที่กว้างมากขึ้นและยังได้ รู้จักผลิตภัณฑ์ในตำบล อีกทั้งยังสามารถนำมาปรับใช้ใน ชีวิตประจำวนั ได้ • โครงการ U2T ได้เข้ามาพัฒนาอยา่ งไร โครงการ U2T ได้เข้ามาพัฒนา คือ ทำให้ผู้รับจ้างงาน มีทักษะการทำงานที่ดีขึ้น เช่น ทักษะด้านการสื่อสาร โดยได้ฝึก การประสานงานกับทางชุมชนและทุกคนในกลุ่ม นอกจากนี้ยังได้ เข้ามาพัฒนาให้ความรู้หลากหลายรูปแบบแก่ผู้ประกอบการ เช่น การขายสินคา้ ออนไลน์ การทำเทยี น การทำกระเปา๋ แฟช่นั การทำ 172
พรมเช็ดเท้า เป็นต้น อีกทั้งยังช่วยพัฒนาให้สินค้าในตำบล มมี าตรฐาน และมีความหลากหลายมากยิ่งขนึ้ • ความประทับใจ/ปญั หา/ข้อเสนอแนะ ความประทับใจที่ได้ร่วมทำงานกับทีมงาน U2T ตำบล ท่าตุ้ม คือ มีความสุขและสนุกในการทำงานกับทุกคนในทีม ทางคณะอาจารย์ให้ความรู้และความเป็นกันเองมาก เลยทำให้ การทำงานไม่อึดอัดและทุกคนในตำบลให้ความร่วมมือเป็นอย่าง มาก โดยเฉพาะผู้ประกอบการทุกกลมุ่ ใหค้ วามรูแ้ ละความร่วมมือ เป็นอย่างดี ปัญหาในการทํางาน คือ ตอนแรกที่เข้ามาทำงานยังไม่ รู้จักกันมากนัก เลยทำให้การสื่อสารค่อนข้างมีปัญหาเล็กน้อย แต่พอทำงานด้วยกันซักระยะทำให้รู้จักกันมากขึ้น ทำให้ การสื่อสารในทีมง่ายและเข้าใจกันมากขึ้น และเนื่องด้วย สถานการณ์โรคระบาด Covid-19 ทำให้การทำงานล่าช้าไปบ้าง ข้อเสนอแนะ อยากให้มีโครงการนี้ต่อไปเรื่อย ๆ เพราะบาง กิจกรรมต้องการ การดำเนินงานอย่างตอ่ เนอ่ื งและย่งั ยืน 5.3 ประสบการณก์ ารทำงานของนกั ศึกษา 5.3.1 นางสาวนนั ทส์ นิ ี โพธนิ าค “รู้สึกดีใจที่ได้ทำโครงการร่วมกับทีม U2T ตำบลท่าตุ้ม เพราะได้ทำงานร่วมกับชุมชนและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ไดเ้ รยี นร้ปู ระสบการณใ์ หม่ ๆ อยเู่ สมอ และยังไดเ้ พิม่ ศกั ยภาพของ 173
ตัวเอง ฝึกความรับผิดชอบ รวมไปถึงการทำงานร่วมกันกับทีม ตำบลท่าตุ้มที่เป็นกันเองและให้ความช่วยเหลือกันอยู่กันเหมือน ครอบครัว ความรู้สึกเหล่านี้จึงทำให้เกดิ ความสุขระหว่างที่ทำงาน สุดท้ายนี้อยากให้มีโครงการนี้ต่อไป เพื่อจะได้ฝึกประสบการณ์ ให้กับนักศึกษาได้ทำงานร่วมกับชุมชน หากจบการศึกษาไปแล้ว จะได้มีประสบการณ์การทำงานร่วมกับชุมชนและสามารถพัฒนา ชุมชนใหด้ ยี ิง่ ขนึ้ ต่อไป” 5.3.2 นายธรี เมช ทา้ ววรรณชาติ “รู้สึกดีใจมากที่ได้ทำงานกับงาน 1 ตำบล 1 มหาวทิ ยาลยั ของราชภัฏลำปาง ของตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน และรู้สึกมีความสุขมากที่ได้ทำงานร่วมกับพี่บัณฑติ ประชาชน และรวมถึงนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ได้รบั ความรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้ฝึกประสบการณ์ใหม่ ๆ ได้ทำงานร่วมกับ บคุ คลอ่นื ทำใหเ้ กดิ ความรกั และความผูกพนั มากขึ้น” 5.3.3 นางสาวกุลธดิ า ทาไชยวงศ์ “มีความรู้สึกดีใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาชุมชน ของตำบลท่าตุ้ม ได้เรียนรู้ถึงการทำงานเป็นทีมที่มีศักยภาพและ มีความสามัคคีกัน สามารถทำให้งานลุล่วงสำเร็จไปได้ด้วยดีและ ได้เรียนรู้ถึงการทำหน้าที่ของตนเอง การมีความรับผิดชอบ ในหน้าที่การงาน สามารถพัฒนาตนเองให้ดีขึ้นและทำให้ได้ รู้จัก การทำงานร่วมกับผู้อื่น โครงการ U2T เป็นโครงการที่ดีและคอย 174
ช่วยเหลือชุมชน ให้มีความเจริญรุ่งเรือง สร้างรายได้ให้กับชุมชน คอยส่งเสริมอาชีพ ส่งเสริมสุขภาพของชุมชนและพัฒนา ส่ิงแวดลอ้ มใหก้ ับชมุ ชนมีความน่าอยู่มากข้ึน” 5.3.4 นางสาวชลธชิ า อินปัน๋ “ความรู้สึกที่ได้เข้าร่วมทำงานในโครงการ U2T ตำบล ทา่ ตมุ้ รูส้ กึ ประทับใจ และภูมิใจทีไ่ ดเ้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ในการร่วมพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนในตำบลท่าตุ้ม ได้เข้าร่วมในการ ส่งเสริมสุขภาพของคนในตำบลให้มีสุขภาพที่แข็งแรงขึ้น รวมถึง เป็นส่วนร่วมเข้าไปพัฒนาสินค้า ผลิตภัณฑ์ OTOP ให้ได้รับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และช่วยเพิ่มช่องทางในการ จำหน่ายให้เข้าสู่ตลาดออนไลน์มากขึ้น ส่งผลให้ภายในตำบล มีเศรษฐกิจที่ดีขี้น และยังได้เข้าร่วมในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมและสร้างความตระหนกั ในเรือ่ งการแยกขยะภายในชุมชน ตลอดระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา ได้รับความรู้ คำแนะนำจาก อาจารย์ และพ่ี ๆ ภายในทมี ทำให้การทำงานเป็นไปด้วยความสุข และไดร้ บั การตอ้ นรบั จากชุมชนเปน็ อย่างดรี สู้ กึ ไดร้ บั ประสบการณ์ ทม่ี ีค่าและน่าจดจำ” 5.3.5 นางสาวธารา สมภกั ดี “รู้สึกภาคภูมิใจที่ตนเองสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ได้เป็นอย่างดี รู้สึกว่าการทำงานกับตำบลท่าตุ้มเป็นการทำงาน เปรยี บเสมอื นครอบครวั ดแู ลกนั และช่วยเหลอื กัน เปน็ การทำงาน 175
ที่อบอุ่น และรู้สึกตื่นเต้นกับการได้เรียนรู้งานใหม่ๆ ทั้งเรื่องงาน เอกสาร การเป็นพิธีกร และการช่วยเหลืองานกราฟฟิกภายในทีม รู้สึกว่างานที่ได้รับมอบหมายนั้นดึงดูดความสนใจของดิฉันเป็น อย่างมาก ฉันหวังว่าการร่วมกับทางมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง กับตำบลท่าตุ้ม ในระยะเวลา 1 ปีนี้ จะสามารถนำความรู้เหล่านี้ ไปใช้ประโยชน์และต่อยอดพัฒนาชุมชนของตนเองและเพ่ิม ศกั ยภาพให้คนในชมุ ชนเปน็ ชุมชนทเ่ี ข้มแข็งต่อไป” 5.3.6 นางสาวธษิ ตยา ขัตมงคล “รู้สึกสนุกและท้าทายกับการทำงานในโครงการ U2T ท่าตุม้ เพราะในการทำงานแต่ละครัง้ จะต้องมีการไปลงพ้ืนทพ่ี บปะ ผู้คนพบเจอสิ่งต่าง ๆ ที่ท้าทายอยู่เสมอ ทำให้ได้รับประสบการณ์ ใหม่ ๆ และไดเ้ รียนรปู้ ระสบการณ์ใหม่ ๆ ในชีวิตและประสบการณ์ ทำงานน้ีชว่ ยสอนให้เราเข้มแข็งขนึ้ และทำให้เราโตเปน็ ผูใ้ หญไ่ ปอีก ก้าวหนึ่ง อีกทั้งรู้สึกดีใจที่ได้ทำงานร่วมกันกับเพื่อนร่วมงานที่ดี และไดเ้ จออาจารยท์ ดี่ ีคอยมอบประสบการณก์ ารทำงานท่ดี ใี หแ้ ละ ช่วยสอนและช้ีแนะแนวทางในการทำงานใหป้ ระสบผลสำเร็จ” 176
บทที่ 6 ถอดบทเรียนคณะทำงานโครงการ U2T 6.1 แนวคดิ การพฒั นาเชิงพ้ืนทดี่ ว้ ยการบูรณาการโครงการยกระดับ เศรษฐกิจและสงั คมรายตำบลแบบบรู ณาการมหาวทิ ยาลัยส่ตู ำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ (University to Tambol: U2T) มหาวิทยาลัย ราชภัฏลำปางส่ตู ำบลทา่ ตมุ้ อำเภอปา่ ซาง จังหวัดลำพูน ครั้งน้เี ปน็ โครงการ ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางดำเนินการดูแลทั้งหมด 80 ตำบล ภายใต้ การดแู ลของกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (อว.) โดยสำนักงานปลดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ โดยมีมหาวิทยาลัยในพื้นที่เป็นหน่วยบูรณาการโครงการ (System Integrator) การจ้างงาน การฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่มีความ ครอบคลุมในประเด็นต่าง ๆ ตามปัญหาและความต้องการของชุมชน แนวคิดในการนำมาใช้ครั้งนี้มุ่งเน้นการปฏิบัติงานในพื้นที่เชิงระบบ (Area Based) เพื่อเชื่อมโยงภาคีเครือข่าย ใช้ข้อมูลร่วมกันให้มี ประสิทธิภาพ รวมทั้งลดความซ้ำซ้อนในการดำเนินงาน ดังแผนภาพ
ที่ อว.สรุปการบริหารจัดการโครงการที่ทุกภาคส่วนมีส่วนสัมพันธ์ ให้การดำเนนิ งานบรรลุวัตถปุ ระสงค์ ดงั น้ี แผนภาพท่ี 1 แสดงการบริหารจดั การโครงการ U2T ใหม้ ีประสิทธิภาพ ทม่ี า : เอกสารประกอบการอบรม โครงการยกระดบั เศรษฐกิจและสงั คม รายตำบลฯ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำปาง 6.1.1 แนวคดิ / ทฤษฎี เพ่อื การพัฒนาเชิงพ้ืนท่อี ยา่ งมีระบบ การดำเนินโครงการ U2T ใช้แนวคิดการบริหารจัดการของ Regional System Integrator (เครอื ข่าย) และการบรหิ ารจดั การโครงการ ของ System Integrator (มหาวทิ ยาลัย) เพือ่ ดำเนนิ งานโครงการใน 4 ภาค ส่วน ได้แก่ การจ้างงาน 20 อัตรา ต่อ 1 ตำบล การดำเนินโครงการ/ กิจกรรมตามรูปแบบกิจกรรมที่ อว.กำหนด โดยการเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ 178
รายตำบล (Community Big Data) รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่ตามโจทย์ ในพนื้ ท่ตี ้องการพัฒนา โดยต้องเช่ือมโยง 4 ส่วน ได้แก่ สขุ ภาพ สงิ่ แวดล้อม สัมมนาอาชีพ และการท่องเที่ยว เพื่อเน้นการพัฒนาทักษะอาชีพและ ยกระดับเศรษฐกิจรายตำบลหรือรายไดใ้ หก้ บั ชุมชน การปฏิบัติงานแต่ละส่วนต้องรายงานผ่านระบบ Project Based Management (PBM) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลำปาง มบี ทบาทกำกบั ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานของตำบล โดยรายงานผ่านระบบ Project Based Management มหาวิทยาลัยรับผิดชอบในส่วน อว.ส่วนหน้าและ เครือข่าย (RSI) มีบทบาทกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของ ตำบลในภาพรวมพื้นที่เครือข่าย โดยร่วมกับมหาวิทยาลัยในเครือข่ายและ มหาวิทยาลัยที่เข้ามาทำงานตำบลในพื้นที่เครือข่าย และสำนักงาน ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) จะประมวลผลการดำเนินงานการบริหารจัดการของเครือข่าย และ มหาวิทยาลัย ผ่านระบบ Project Based Management (PBM) เพื่อ สรปุ ผลการดำเนินโครงการในภาพรวมอกี คร้งั 6.2 ภาพรวมการดำเนนิ งานโครงการมหาวทิ ยาลยั สู่ตำบล (U2T) 6.2.1 การดำเนินงานภาพรวมระดับตำบล การดำเนินงานโครงการมหาวทิ ยาลัยสตู่ ำบล (U2T) ในระดบั ตำบล จากการเริ่มดำเนินการ โดยใช้แนวปฏิบัติด้วยการแต่งตั้งคณะทำงานเชิง บูรณาการ โดยมีอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางในโครงการ 179
มีคณะทำงานจากองค์การบริหารส่วนตำบล ตัวแทนโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบล ผู้นำชุมชนเป็นคณะกรรมการร่วม ซึ่งคณะกรรมการเป็นผู้ท่ี ปฏิบัติการหลัก (Key Actors) ในการขับเคลื่อนเพื่อปฏิบัติการในพื้นที่เพื่อ ร่วมขับเคล่อื นงานตามโครงการให้เกดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ ตามเปา้ หมายของ โครงการ ตลอดระยะเวลาในการดำเนินโครงการร่วม 1 ปี คณะทำงาน ได้ร่วมมือการปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ กลุ่มผู้รับจ้าง งานที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ตำบลท่าตุ้ม จัดเก็บข้อมูลในพื้นที่ในระบบตามท่ี อว.กำหนด เพื่อประมวลเป็นข้อมูลระดับตำบลเป็นฐานข้อ มูล (Community Big Data) ได้แก่ ข้อมูลด้านความเป็นอยู่ ด้านสุขภาพ ด้าน การศึกษา ด้านรายได้ ด้านการเข้าถึงภาครัฐ และด้านการท่องเที่ยวใน ชุมชน เพื่อเป็นฐานข้อมูลภาพรวมตำบลท่าตุ้ม ที่สามารถใช้เป็นข้อมูล เชอื่ มโยงกบั หนว่ ยงานต่าง ๆ ได้ 6.2.2 การดำเนนิ งานภาพรวมระดับชุมชน การดำเนินโครงการตลอดระยะเวลา 1 ปี ที่คณะทำงานลงพื้นท่ี ขับเคลื่อนร่วมกับคณะทำงานและผู้รับจ้างงาน ตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน จากการสัมผัสกับชุมชนในพื้นที่ทั้งกลุ่มสุขภาพที่เน้น กระบวนการร่วมการสร้างธรรมนูญสขุ ภาพในชุมชน กลุ่มสิ่งแวดล้อมทีเ่ ป็น กลุ่มที่ตระหนักถึงความสำคัญจำเป็นเรื่องสิ่งแวดล้อมรอบตัวชุมชน โดยเฉพาะประเด็นสำคัญของพ้ืนที่ท่ีตอ้ งการให้โครงการบริหารจัดการขยะ 180
ในพื้นที่และกลุ่มสัมมาอาชีพเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีผลิตภัณฑ์ใน พน้ื ท่ีให้เป็นทรี่ บั รู้ของกลุ่มบรโิ ภคหรอื กลุ่มลูกค้า จากการลงพื้นที่ร่วมกับผู้รับจ้างงานในโครงการ U2T ทำให้ คณะทำงานได้สัมผัสความเป็นมิตรภาพที่ดีของผู้คนในชุมชน การได้เยี่ยม เยียนในพื้นที่ของผู้ประกอบการรายย่อยแต่ละกลุ่ม ทำให้คณะทำงาน ได้เรียนรู้และเข้าใจถึงสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ชุมชนพบในสถานการณ์โควิด- 19 ระบาด อีกทั้งในโครงการมุ่งเน้นให้กลุ่มผู้ประกอบการได้เรียนรู้ร่วมไป กับผู้รับจ้างงานในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของตลาดและ มีความเข้าใจถึงกลไกตลาด การปรับผลิตภัณฑ์ให้เหมาะกับสภาวะทาง เศรษฐกิจ และการเรียนรู้ด้านการตลาดและการจำหน่ายในช่องทาง ที่หลากหลาย เพื่อเป็นการพฒั นาผลิตภัณฑ์และการเข้าใจกลไกการแขง่ ขนั ทางการตลาด และการปรับวิธีการจำหน่ายเพื่อให้สินค้าถึงกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการนำผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาไปขอรับรอง มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนกับสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน อันเป็น การรับรองผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ผู้ประกอบการมั่นใจในการดำเนินกิจกรรม และยังเป็นการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ของชุมชนยกระดับเศรษฐกิจของ ชุมชนอกี ดว้ ย 181
6.2.3 การดำเนินโครงการ U2T ตำบลท่าตุ้ม ตามเป้าหมาย ของ อว. จากการประชุมรว่ มกบั ผูน้ ำชมุ ชน ตวั แทนผบู้ รหิ ารองค์การบริหาร ส่วนตำบลท่าตุ้ม ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อสำรวจกลุ่ม ผู้ประกอบการในตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูนกับผู้นำชุมชน ทั้ง 14 หมู่บ้านนั้น และประชาสัมพันธ์โครงการและสอบถามการเข้าร่วม โครงการ U2T เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนตามเป้าหมายของโครงการ จากการสำรวจ พบข้อมูลกลุ่มอาชีพในตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัด ลำพูน ดงั นี้ ตารางที่ 18 แสดงกลุ่มอาชีพของตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัด ลำพนู แบ่งเปน็ กลุม่ อาชีพทางการเกษตรและกลุ่มผลติ ภณั ฑข์ องชุมชน กลุม่ อาชีพในเขตพน้ื ท่ีองค์การบรหิ ารส่วนตำบลทา่ ตมุ้ กลุ่มขา้ วแตน๋ บ้านทา่ ตุม้ ม.1 กลมุ่ กองทุนหมบู่ า้ นและสถาบนั การเงนิ บ้านทา่ ตุ้ม ม.1 ชุมชนบ้านทา่ ตุม้ กลุ่มฟอ้ นรำพืน้ เมอื ง (ฟอ้ นเลบ็ หริภญุ ชยั ) บ้านทา่ ตมุ้ ม.1 กล่มุ ตัดเยบ็ เสื้อผ้า บา้ นหนองเกิด ม.3 กลุ่มน้ำพริกตาแดง บา้ นหนองเกิด ม.3 กลุ่มอาหารแปรรูปกลว้ ยฉาบ ข้าวเกรียบ บา้ นหนองเกิด ม.3 กลุ่มงานฝมี ือจักสาน บา้ นร่องหา้ ม.4 182
กลมุ่ อาชีพในเขตพืน้ ที่องค์การบริหารส่วนตำบลทา่ ตุ้ม กล่มุ เพาะเหด็ นางฟา้ บา้ นรอ่ งห้า ม.4 กลุ่มเทียนบชู า บ้านรอ่ งห้า ม.4 กลุ่มแปรรูปขา้ วเกรียบนางฟา้ บ้านรอ่ งห้า ม.4 กลุ่มผลติ ผา้ ทอใยกล้วย บ้านร่องช้าง ม.5 กลมุ่ ลำไยอบแห้ง บา้ นปา่ ตอง ม.7 กลมุ่ สตรีบา้ นปา่ ตอง บ้านป่าตอง ม.7 กลมุ่ พรมเช็ดเท้า พรมนั่ง บ้านแม่อาวนอ้ ย ม.9 กล่มุ โคขาวลำพูน บา้ นไร่ปา่ คา ม.13 กล่มุ พัฒนาลำไยบ้านไร่ปา่ คา บา้ นไรป่ า่ คา ม.13 กลมุ่ พรกิ ลาบสมนุ ไพร บา้ นไรป่ า่ คา ม.13 ท่มี าข้อมูล: จากการการสัมภาษณ์ผู้นำชมุ ชน จำนวน 14 หมบู่ า้ น ในตำบล ท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน (คณะทำงาน U2T สมั ภาษณ)์ จากข้อมูลข้างต้น กลุ่มผู้ประกอบการในตำบลท่าตุ้ม ที่สนใจ เข้าร่วมโครงการ U2T มีจำนวน 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือ (คุณป้า กัลยา อิมัง: ประธานกลุ่ม) กลุ่มพริกลาบสมุนไพร /พริกลาภ/หม่าล่าเมือง (นางรำไพ จ๋าก๋าง: ประธานกลุ่ม) กลุ่มเทียนบูชา/เทียนแมแ่ สงนวล (คุณลงุ บุญยงั มณีกาศ: ประธานกลุ่ม) กลมุ่ ตดั เยบ็ TiNa แฟช่ัน (นางสาววไิ ลวรรณ วงศยา: ประธานกลุม่ ) กลมุ่ พรมเชด็ เทา้ (นางวนั เพญ็ กองอรนิ ทร์: ประธาน 183
กลุ่ม) และกลุ่มโคขาวลำพูน/กระถางมูลโครักษ์โลก (นายอยุธ ไชยยอง: ประธานกลุ่ม) โดยทุกกลุ่มมีสมาชิกกลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1) กลมุ่ ผ้าฝ้ายทอมือ บา้ นรอ่ งชา้ ง หมู่ที่ 5 1. นางกลั ยา อมิ งั ประธานกลมุ่ 2. นางบัวลม เนตรผาบ สมาชกิ กลุม่ 3. นางอำพร ปันทนั สมาชิกกลุ่ม 4. นายไพบูลย์ เนตรผาบ สมาชกิ กลมุ่ 2) กลุ่มพริกลาบสมุนไพร/พริกลาภสมุนไพร (หม่าล่า เมือง) บ้านไรป่ า่ คา หมู่ท่ี 13 1. นางรำไพ จ๋าก๋าง ประธาน 2. นางกนิ ารี พรมจกั ร รองประธาน 3. นางณัฐพร แกว้ เล็ก เลขานกุ าร 4. นางเกศรนิ มาปินตา เหรัญญิก 5. นางจิรนันท์ เกษมศรี ประชาสัมพันธ์ 6. นางบัวบาน วงศยา กรรมการ 7. นางพชั รา เกษมศรี กรรมการ 8. นางอตั พร พรมปญั ญา กรรมการ 9. นางเครือวัน ปัญยูร กรรมการ 10. นางอำพร ภูดอนตอง กรรมการ 11. นางราตรี บญุ กองรตั น์ กรรมการ 12. นางพวงเพรช ภดู อนตอง กรรมการ 13. นางทองพนู มหารตั น์ กรรมการ 184
3) กลมุ่ เทียนบชู า/เทยี นแม่แสงนวล บ้านรอ่ งหา้ หมูท่ ่ี 4 1. นายบญุ ยงั มณีกาศ ประธานกล่มุ 2. นายอุเทน คำตา สมาชิกกลมุ่ 3. นางยลดา คำตา สมาชกิ กลุม่ 4. นางอารี คำตา สมาชิกกลมุ่ 5. นางแสงนวล มณกี าศ สมาชกิ กลมุ่ 6. นางจำปา หลวงธิจา สมาชกิ กลมุ่ 4) กล่มุ ตัดเย็บ TiNa แฟชนั่ บ้านแมอ่ าวน้อย หมู่ท่ี 9 1. นางสาววไิ ลวรรณ วงศยา ประธานกลุม่ 2. นางวนั เพ็ญ กองอรินทร์ รองประธาน 3. นางเรไร ซาวบุญตัน เหรญั ญกิ 4. นางวิไลวรรณ กิตตทิ รัพย์ กรรมการ 5. นางดารา ธรรมวรรณ กรรมการ 6. นายคลอื วัลย์ เป็งสินธุ กรรมการ 7. นางจารวุ รรณ กาวารี กรรมการ 8. นางนงค์คราญ ญาณพนั ธ์ กรรมการ 9. นางบัวผัน จมุ้ เขียว กรรมการ 10. นางชลยั รตั น์ วงค์ยา กรรมการ 11. นางขวัญตา วงคต์ า กรรมการ 12. นางยพุ ิน สรุ ยิ สรณ์ กรรมการ 185
5) กลมุ่ พรมเชด็ เทา้ บา้ นแมอ่ าวนอ้ ย หม่ทู ่ี 9 1. นางวนั เพ็ญ กองอรนิ ทร์ ประธานกลมุ่ 2. นางนางออ้ แชน่ ม่ิ รองประธาน 3. นางยพุ ิน สรุ ิยะสรณ์ เลขานุการ 4. นางจันทร์ฟอง แก้วกนั ตี เหรัญญิก 5. นางลำมอญ วงศยา กรรมการ 6. นายดวงพร วงศยา กรรมการ 7. นางนงลกั ษณ์ ณ ลำพูน กรรมการ 8. นางรัชนก มะกอกคำ กรรมการ 9. นางไรวรรณ์ แสนยศ กรรมการ 10. นางปราณี เปย้ี สินธุ กรรมการ 11. นางสุพิน ปาระมี กรรมการ 12. นางแสงคำ มูลกาวิน กรรมการ 13. นางแกว้ บางวัน กรรมการ 14. นางกรณพ์ งค์ อุปรัตน์ กรรมการ 6) กลุ่มโคขาวลำพูน/กระถางมูลโครักษ์โลก กลุ่มเกษตร บ้านไร่ป่าคา หมทู่ ี่ 13 1. นายอยธุ ไชยยอง ประธานกลมุ่ 2. นายอดุ ม แกว้ เล็ก รองประธาน 3. นายสมหมาย ปนั ดอน เลขานุการ 4. นายชาติ สุขใจ กรรมการ 186
5. นายณรงค์ พงศ์ดา กรรมการ 6. นางสาวอรพิน ไชยยอง กรรมการ 7. นางรญั จวน มาปนิ ตา กรรมการ 8. นางสรอ้ ยฟา้ สขุ ใจ กรรมการ 9. นางสาวดวงมณี อุปรตั น์ กรรมการ 10. นางอุไร เนียมทาง กรรมการ 11. นางพินทอง หนอ่ ตือ้ กรรมการ 12. นางอุทุมพร ปันยูร กรรมการ 13. นางสาวชนยิ ภคั สนุ นั ต๊ะ กรรมการ 14. นายศรีวยั สชุ าติ กรรมการ 15. นายแกว้ จา๋ กา๋ ง กรรมการ 6.3 สานตอ่ ผลิตภณั ฑเ์ ดิม เพม่ิ มลู คา่ ดว้ ยการพฒั นารปู แบบผลภิ ณั ฑ์ หนนุ เสรมิ พฒั นายกระดบั เศรษฐกิจชมุ ชน : “ของดที ่าตมุ้ ” การดำเนินงานกลุ่มสัมมาอาชีพหรือกลุ่ม OTOP ของโครงการ U2T ตำบลท่าตุ้ม ตามเป้าหมายของ อว.คณะทำงานในสว่ นอาจารย์ 3 คน คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนพร หมูคำ อาจารย์ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ และอาจารย์ทัตพิชา สกุลสืบ ในส่วนของผู้รับจ้างงาน มี 5 คน คือ นางสาวสุภาพร ปารีเสน นางสาวศศิกาญจน์ พงศ์ดา นางสาวพิจิตรา มาปินตา นางสาวเกวลิน เนตรผาบ นางสาวปภาวรินท์ หมื่นอภัย และ 187
นักศึกษาช่วยเหลือในโครงการ 1 คน คือ นางสาวนันท์สินี โพธินาค การ ดำเนินงานครั้งนี้ มีเป้าหมายสานต่อผลิตภัณฑ์เดิมของชุมชน จัดอบรม ผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้วยการพัฒนารูปแบบให้มีความ ทันสมัย เหมาะกับกลุ่มลูกค้า รวมทั้งการหนุนเสริมกลุ่มผลิตภัณฑ์ด้วยการ ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ในช่องทางออนไลน์ ได้แก่ Facebook, Shopee, Marketplace และออกแบบตราสินค้าให้มีความทันสมัยและมี QR-Code ให้ผู้บริโภคเข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์และผู้ประกอบการสะดวก มากขึ้น โดย การหนุนเสริมครั้งนี้ มีขั้นตอนการดำเนินงาน 5 ขั้นตอน ได้แก่ การร่วม วิเคราะห์ประเด็นชุมชนเพื่อวางแผนการพัฒนา การหนุนเสริมการพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากการเรียนรู้จากวิทยากร การสร้างคุณค่าและมูลค่าผลิตภัณฑ์ ชุมชน การเรียนรู้ กลไกการตลาดและสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อยกระดับ ผลติ ภัณฑ์ สรปุ ได้ดังนี้ 6.3.1 การรว่ มวเิ คราะห์ประเดน็ ชมุ ชนวางแผนเพ่อื พฒั นา การดำเนินการพฒั นาผลิตภณั ฑ์เพื่อยกระดบั เศรษฐกิจชุมชน จาก การดึงศักยภาพ ของผู้ประกอบการในชุมชนก่อนการพัฒนา โดย การประชุมวางแผนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น น่าสนใจ เป็นที่ยอมรับและมีลักษณะตามความต้องการของตลาด คณะทำงานไดม้ ีกลไกในการดำเนินงานครง้ั นี้ โดยเนน้ การประชุมสร้าง ความเข้าใจกับผู้ประกอบการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความ น่าสนใจเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์และขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน 188
กิจกรรมครั้งนี้เพื่อให้มีผลิตภัณฑ์เป็น ทางเลือกแก่ผู้บริ โภ ค ห รื อ กลมุ่ เปา้ หมายทห่ี ลากหลายกลมุ่ มากข้ึน ภาพท่ี 46 การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์สำหรับใช้คาดกล่องเทียนบชู า ออกแบบในชื่อเทยี นแม่แสงนวล 6.3.2 การหนุนเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการเรียนรู้จาก วิทยากร การหนุนเสริมที่สำคัญในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับกลุ่ม ผู้ประกอบการ 6 กลุ่มดังกล่าว โครงการ U2T ได้จัดกิจกรรมหนุนเสริม โดยเชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ มาเป็นวทิ ยากรสรา้ งความเขา้ ใจใหผ้ ปู้ ระกอบและใหผ้ ้ปู ระกอบการตัดสินใจ เลือกพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยโครงการได้จ้างวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะดา้ นสรา้ งต้นแบบผลิตภัณฑ์ ไดแ้ ก่ กระเปา๋ หมวก ชดุ แบบสมัยใหม่ จากผ้าทอมือ พรมตกแต่ง โมลกระถางจากมูลวัว กล่องบรรจุภัณฑ์พริก ลาบ กล่องบรรจภุ ัณฑเ์ ทียน เพ่ือให้กลมุ่ ผปู้ ระกอบการได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ 189
ตามต้นแบบและใช้บรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบใหม่เป็นบรรจุภัณฑ์ในการสร้าง ภาพลกั ษณ์ใหแ้ ก่ผลิตภัณฑข์ องชุมชน อนั จะทำใหผ้ ลิตภณั ฑ์มคี วามสวยงาม น่าใช้ น่าซื้อ และคงอตั ลกั ษณ์ผลติ ภัณฑ์ของชุมชน รวมทงั้ ฝึกกระบวนการ ใหผ้ รู้ ับจา้ งงานได้ฝกึ คิดราคาต้นทุน ราคาขาย การกำไรราคากลางในการ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ รวมทั้งได้โพสต์ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เพื่อให้ลูกค้า ได้จดจำภาพลักษณ์สินค้าและมีช่องทางในการจำหน่ายของกลุ่มผ่านการ จำหน่ายช่องทางออนไลน์ กิจกรรมหนุนเสริมให้กลุ่มผลิตภัณฑ์ท่าตุ้มนั้น มีการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ของกิจกรรม และผลลัพธ์ที่ดำเนินงานได้ ดงั ตารางกจิ กรรมและภาพกิจกรรมทโ่ี ครงการจัดกิจกรรมหนุนเสริม ต่อไปน้ี ตารางที่ 19 แสดงตารางหนุนเสริมทกั ษะการเรยี นรจู้ ากวทิ ยากร เปา้ หมาย การเรียนรู้ และผลลพั ธข์ องการเรยี นรู้ ลำดบั กิจกรรม กลุม่ วิทยากร ผ้ปู ระกอบการ ผลลพั ธ์ทีไ่ ด้ ทีด่ ำเนินการ 1. ดร.นฤดี - กลุ่มพริกลาบ 1. ผ้ปู ระกอบการ 1 อบรมเชิง ภ่รู ัตนรักษ์ สมนุ ไพร ได้แลกเปลยี่ น ปฏบิ ัตกิ าร อาจารย์ประจำ ความรคู้ วาม Onlineให้กับ ภาควชิ าศิลป - กลุ่มพรม เขา้ ใจเกยี่ วกับ ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรม เช็ดเทา้ วทิ ยากรถงึ การ ร่วมกับทีม ออกแบบ ผอู้ อกแบบและ 190
ลำดับ กิจกรรม วทิ ยากร กลุม่ ผลลพั ธ์ที่ได้ ที่ดำเนินการ ผปู้ ระกอบการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะ - กลุ่มผา้ ฝา้ ย 2. ผปู้ ระกอบ โครงการยกระดับ สถาปตั ยกรรม ทอมอื การไดฝ้ กึ เ ศ ร ษฐกิ จ แ ละ ศาสตร์ สถาบัน ปฏิบัติการ สังคมรายตำบล เทคโนโลยี - กลมุ่ เทียนบชู า วิเคราะหข์ ้อมลู แบบบูรณาการ พระจอมเกลา้ (เทียนแม่ ผลิตภณั ฑ์ของ ข อ ง ต . ท ่ า ตุ้ ม เจา้ คณุ ทหาร แสงนวล) ชมุ ชน ในด้าน อ.ปา่ ซาง จ.ลำพนู ลาดกระบงั - กลุ่มตัดเยบ็ ผบู้ รโิ ภค/ ระหว่าง วันที่ 5- ความ TiNa แฟช่นั การกำหนด 10 พฤ ษ ภาคม เชย่ี วชาญ: ราคา/ชอ่ งทาง 2564 ผ่านระบบ - ออกแบบ - กลุม่ โคขาว การตลาด ลำพูน อ อ น ไ ล น์ และพฒั นา 3. ฝึกผลติ ผลิตภณั ฑ์ Application ผลติ ภณั ฑ์ เพอื่ การตลาด/ การค้นหา MsTeams สิ่งทอ แฟช่ัน จุดเด่นของ ผลติ ภณั ฑ์ และของ เพอ่ื การตลาด/ กำหนดให้ ตกแตง่ พัฒนา ผลิตภณั ฑ์ - โครงการ ตามโจทย์ พฒั นาพนื้ ที่ชมุ ชุนแหล่งท่อง เทียวเรียน ตลอดชวี ติ - การตลาด การคา้ ระหว่าง ประเทศ 191
ลำดับ กจิ กรรม วทิ ยากร กลุ่ม ผลลัพธ์ทไ่ี ด้ ทีด่ ำเนนิ การ ผู้ประกอบการ 2. นางสาว 4. ฝึกปฏิบัติการ อนงค์ วเิ คราะหก์ าร กองทพิ ย์ เลือกวสั ดุ ความ ในทอ้ งถิ่นเพอื่ เชย่ี วชาญ: ออกแบบ - ออกแบบและ ผลติ ภณั ฑ์/และ พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ การออกแบบ ส่งิ ทอ แฟชัน่ บรรจภุ ณั ฑ์ และของตกแตง่ ท่เี หมาะสมเพ่ือ เพ่ิมมลู ค่าสินคา้ 2 อบรมเชงิ ปฏบิ ัติ ดร.นฤดี - กลุ่มพริกลาบ - กลมุ่ ผ้ปู ระกอบ การ online ภ่รู ตั นรกั ษ์ สมุนไพร การ ไดเ้ ข้าใจ ผ้ปู ระกอบการ อาจารยป์ ระจำ - กลมุ่ ตัดเย็บ กระบวนการ ร่วมกับทมี ภาควิชาศลิ ป TiNa แฟช่ัน ด้านการตลาด ผู้ออกแบบ อุตสาหกรรม ออนไลน์ ผลิตภณั ฑแ์ ละ คณะ - กลุม่ พรม เพอื่ เตรยี มพร้อม ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ น สถาปัตยกรรม เช็ดเทา้ ในการจัด การถา่ ยทอด ศาสตร์ จำหน่าย เทคโนโลยี สถาบัน - กลมุ่ เทยี นบชู า ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน โครงการยกระดับ เทคโนโลยี (เทียนแม่ ผา่ นระบบ เศรษฐกิจและ พระจอมเกล้า แสงนวล) การตลาด สังคมรายตำบล เจ้าคณุ ทหาร ออนไลน์ แบบบูรณาการ ลาดกระบัง - กลุ่มผ้าฝ้าย ของ ต.ท่าตมุ้ ทอมอื (คณุ ป้ากัลยา) 192
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296