6.2.2 ผลติ ภณั ฑด์ า้ นหตั ถกรรม ผ้าฝ้ายทอมือ เป็นผลิตภัณฑ์ที่นิยมทำกันในสมัยก่อน ในปัจจุบันมีกลุ่มผ้าฝ้ายทอมือบ้านร่องช้างที่ยังคงมีการทอผ้าสืบทอดจากงาน เดิม การทอผ้าส่วนใหญ่จะมีลวดลายและมีกลุ่มผลิตภัณฑ์ทอผ้าฝ้ายด้วยมือ เป็นการทำรายได้ให้กับคนในชุมชน ทั้งเป็นอาชีพเสริมหลังจากเสร็จสิ้นงาน เกษตรกรรม สามารถทำในหลายรปู ลกั ษณะทัง้ ผา้ พ้ืนสำหรบั นำไปตัดเย็บผ้าซ่ิน เสอื้ ผา้ สำเร็จตลอดจนอปุ กรณ์เคร่ืองใช้ภายในบา้ น เช่น ผ้าปูโต๊ะ ที่รองแก้วรอง จาน เป็นต้น เครื่องจักสาน เป็นสินค้าที่ใช้วัสดุจากธรรมชาติ ได้แก่ การจักรสาน ปราชญ์ชาวบ้านในตำบลท่าตุ้ม ตอนนี้มีจำนวนลดลงจากเดิม ส่วนงานจักสานถือว่าเป็นงานอีกอย่างหน่ึง ที่เป็นอาชีพเสริมให้แก่ประชากร เป็นอย่างดี เช่น การสานเครื่องดักจับสัตว์น้ำ คือ ข้อง และผลิตภัณฑ์ของใช้ ทั่วไปจากไม้ไผ่ ใบตาลและกา้ นมะพร้าว ของชาวบ้านป่าตองและบ้านสารภีชยั สินค้าเหล่านี้ส่วนใหญ่จะขายให้กับชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงหรือมีนายหน้ามา รบั ซือ้ การตัดเย็บ เป็นการพัฒนาฝีมือของคนในชุมชนที่ใช้ผ้าฝ้าย ผ้าเมือง ในการตัดเย็บ มีความถนัดของแต่ละคนในชุมชน สินค้า โดยออกแบบ ตามความสนใจและความทันสมัยตามปัจจุบัน มีทั้งเสื้อผ้า ชุดเดรส กระเป๋า Handmade และพรมเช็ดเท้า ท่ีมคี วามโดนเดน่ เพือ่ สรา้ งจุดเด่นใหก้ ับสนิ ค้า 43
7. การเงินและงบประมาณ 7.1 ปี 2562 เนน้ การตงั้ งบประมาณแบบสมดุล ประมาณการรายรบั ตามหมวดรายรับ ตง้ั ไว้ 44,500,000 บาท ประมาณการรายจ่ายตามหมวดรายจา่ ย ตัง้ ไว้ 44,500,000 บาท 7.2 ปี 2563 เนน้ การต้งั งบประมาณแบบสมดุล ประมาณการรายรบั ตามหมวดรายรับ ตั้งไว้ 45,000,000 บาท ประมาณการรายจา่ ยตามหมวดรายจา่ ย ตั้งไว้ 45,000,000 บาท 7.3 ปี 2564 เน้นการตั้งงบประมาณแบบสมดลุ ประมาณการรายรบั ตามหมวดรายรับ ตั้งไว้ 45,400,000 บาท ประมาณการรายจ่ายตามหมวดรายจา่ ย ต้งั ไว้ 45,400,000 บาท 8. การศกึ ษา การศาสนา และวฒั นธรรม 8.1 ด้านสถานศกึ ษา มีสถานศึกษา เป็นโรงเรียนในสังกดั สำนักงานพื้นทก่ี ารศกึ ษาเขต 1 อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าตุ้ม จำนวน 2 แห่ง ไดแ้ ก่ 1. โรงเรยี นหนองบัว 2. โรงเรยี นบา้ นหนองเกดิ (ขยายโอกาสทางการศึกษา) 8.2. ศาสนาและศาสนสถาน 8.2.1 ศาสนา (Religion) เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของชุมชน ประชาชนให้ความเคารพนับถือปฏิบัติตามหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา 44
สังเกตได้จากการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในวันสำคัญทาง พระพทุ ธศาสนาตา่ ง ๆ เชน่ วันวสิ าขบชู า วันเข้าพรรษา เป็นต้น ด้านวัฒนธรรม และประเพณี (Culture and tradition) ประชาชนเริม่ รับวัฒนธรรมใหม่เข้ามา ในตำบล ค่านิยมด้านวัตถุเริ่มหลากหลาย ยังส่งผลให้เกิด ลัทธิบริโภคนิยม ทำลายดุลยภาพระหว่างการพฒั นาทางวัตถุกบั การพัฒนาทางจิตใจ คนตกเปน็ ทาสของการเสพวัตถุ จนขาดความสุขทางด้านจิตใจ จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันคน ส่วนใหญต่ อ้ งอาศัยสิง่ ทเ่ี ปน็ วัตถภุ ายนอกในการจรรโลงความสขุ ของตนทัง้ สิ้น 8.2.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา ในพื้นที่ตำบลท่าตุ้ม มีทง้ั หมด 9 แหง่ ดังนี้ • วดั ทา่ ตุ้ม ม.1 บา้ นทา่ ตมุ้ • วดั ป่าป๋อ ม.1 บา้ นท่าตุ้ม • วัดพระเจา้ หูยาน ม.1 บา้ นทา่ ตมุ้ • วัดนางเกิ้ง (วดั ร่องหา้ ) ม.4 บ้านร่องหา้ • วัดป่าสีเสียด ม.8 บา้ นปา่ สีเสียด • วัดหนองเกดิ หมูท่ ี่ 3 บา้ นหนองเกดิ • วดั กอ่ คา่ (วัดหนองบัว) หมทู่ ี่ 2 บ้านหนองบัว • วัดรอ่ งชา้ ง หม่ทู ี่ 5 บา้ นรอ่ งชา้ ง • วดั ปา่ ตอง หมู่ท่ี 7 บา้ นปา่ ตอง • วัดรอ่ งชา้ งพญาวนั หมู่ท่ี 5 บ้านร่องช้าง 45
8.2.3 ประเพณี งานประจำปี ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภาษาถ่ิน สนิ ค้า พื้นเมืองและของที่ระลึก องค์การบริหารส่วนตำบลท่าตุ้ม ได้ตระหนักถึงปัญหาด้าน วฒั นธรรมและประเพณขี องท้องถน่ิ ในตำบลทา่ ตมุ้ จงึ ได้มีกจิ กรรมและโครงการ ฟื้นฟู อนุรักษ์และส่งเสริมประเพณีประจำปีของท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนมี ความสมดลุ ระหว่างวตั ถุและจติ ใจ เป็นการยดึ หลกั การพัฒนาอยา่ งยั่งยืนโดยใช้ วัฒนธรรมชุมชนเป็นแกนรวมในการขับเคลื่อน เพื่อให้คนในชุมชนสามารถ ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข พร้อมทั้งรับรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ควบคู่กับการต่อยอดการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่ต่อไป องค์การบริหารส่วนตำบลทา่ ต้มุ จึงไดม้ ีการจดั ทำทะเบยี นขอ้ มูลแหล่งทอ่ งเที่ยว และวิถชี ีวติ ความเป็นอยูต่ ่าง ๆ แยกออกเปน็ รายหมูบ่ ้าน ดังน้ี 1) บ้านท่าตุ้ม หมู่ที่ 1 ประกอบด้วย ภาษาที่ใช้ในชุมชน ได้แก่ ภาษายอง ภาษาเหนือ (คำเมือง) แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน ได้แก่ วัดท่าตุ้ม วัดปา่ ปอ๋ และวดั พระเจ้าหยู าน ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน ได้แก่ ข้าวแต๋น ปราชญ์ชาวบ้าน ได้แก่ ปราชญ์ด้านดนตรีพ้ืนบ้าน ปราชญ์ ดา้ นพธิ ีกรรมทางศาสนา ปราชญด์ า้ นอาหาร ปราชญด์ า้ นการเกษตร 46
2) บา้ นหนองบัว หมู่ที่ 2 ประกอบด้วย ภาษาท่ีใชใ้ นชุมชน ไดแ้ ก่ ภาษายอง ภาษาเหนือ (คำเมอื ง) ปราชญ์ชาวบ้าน ได้แก่ ปราชญ์ด้านพิธีกรรมทางศาสนา ปราชญด์ า้ นหมอยาพ้นื บา้ น 3) บ้านหนองเกดิ หม่ทู ี่ 3 ประกอบดว้ ย ภาษาที่ใช้ในชุมชน ได้แก่ ภาษายอง ภาษาเหนือ (คำเมอื ง) ภาษากลาง ผลิตภณั ฑช์ ุมชน ไดแ้ ก่ แคบหมู นำ้ พรกิ ตาแดง กลว้ ยฉาบ ข้าวเกรียบ ปราชญ์ชาวบ้าน ได้แก่ ปราชญ์ด้านงานฝีมือ (ตัดเย็บ เสอ้ื ผา้ ) ปราชญ์ด้านอาหารแปรรูป 4) บา้ นรอ่ งห้า หมทู่ ี่ 4 ประกอบด้วย ภาษาทใ่ี ช้ในชุมชน ไดแ้ ก่ ภาษายอง แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน ได้แก่ วัดร่องห้า อนสุ าวรยี ์พระนางจามเทวี (ปางนางเกงิ้ ) ปราชญ์ชาวบ้าน ได้แก่ ปราชญ์ด้านงานฝีมือ(จักสาน) ปราชญ์ด้านอาหาร แปรรูปเกษตร (เพาะเห็ดนางฟ้า/แปรรูปข้าวเกรียบเห็ด นางฟา้ ) ปราชญด์ ้านการทำเทียนบูชา 47
5) บา้ นรอ่ งช้าง หม่ทู ่ี 5 ประกอบดว้ ย ภาษาท่ีใช้ในชมุ ชน คือ ภาษายอง ผลิตภณั ฑช์ ุมชน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เสน้ ใยจากต้นกล้วย ผ้า ฝ้ายทอมอื ปราชญ์ชาวบ้าน ได้แก่ ปราชญ์ด้านงานฝีมือ(จักสาน) ปราชญด์ า้ นการถักทอ (ผา้ ทอใยกลว้ ย) 6) บา้ นหนองหมู หมู่ 6 ภาษาทใี่ ช้ในชมุ ชน คือ ภาษายอง และภาษาเมอื ง ปราชญ์ชาวบ้าน ได้แก่ ดนตรีพื้นเมือง (ซอพื้นเมือง ลา้ นนา) และมคั นายก 7) บ้านปา่ ตอง หมู่ที่ 7 ภาษาทใ่ี ช้ในชุมชน คอื ภาษายอง ปราชญช์ าวบา้ น ไดแ้ ก่ ปราชญ์ดา้ นงานฝมี ือ(จักสาน) (คำเมอื ง) 8) บ้านป่าสีเสยี ด หมทู่ ่ี 8 ประกอบดว้ ย วดั ป่าสีเสียด ภาษาที่ใช้ในชุมชน ได้แก่ ภาษายอง ภาษาเหนือ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน ได้แก่ 9) บา้ นแม่อาวน้อย หมูท่ ี่ 9 ประกอบด้วย ภาษาที่ใช้ในชมุ ชน ได้แก่ ภาษาเหนอื (คำเมอื ง) ผลิตภณั ฑช์ มุ ชน ไดแ้ ก่ พรมเชด็ เท้าจากเศษผา้ 48
ปราชญช์ าวบ้าน ไดแ้ ก่ ปราชญ์ดา้ นการเกษตร (เกษตร ผสมผสาน) 10) บ้านมงคลชัย หมทู่ ี่ 10 ประกอบดว้ ย ภาษาทีใ่ ชใ้ นชมุ ชน คือ ภาษายอง 11) บ้านสันป่าขาม หมู่ท่ี 11 ประกอบด้วย ภาษาทใ่ี ชใ้ นชุมชน คอื ภาษายอง ภาษาเมือง ร่องช้าง 12) บา้ นสารภีชัย หม่ทู ่ี 12 ประกอบดว้ ย ผสมผสาน) แหล่งท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ โบราณสถาน ไดแ้ ก่ วดั ภาษาท่ีใชใ้ นชุมชน คอื ภาษายอง ผลิตภัณฑช์ มุ ชน คอื ผ้าฝา้ ยทอมือ ปราชญช์ าวบา้ น คอื ปราชญ์ดา้ นการเกษตร (เกษตร 13) บ้านไรป่ ่าคา หมทู่ ่ี 13 ประกอบด้วย ภาษาทใี่ ช้ในชมุ ชน คือ ภาษายอง ภาษาเมือง 14) บา้ นสันปา่ เปา้ หมู่ท่ี 14 ประกอบดว้ ย ภาษาทใ่ี ชใ้ นชมุ ชน คอื ภาษายอง ผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ งานแกะสลักไม้ ปุ๋ยหมัก ผลิตภัณฑ์ แปรรูปเนอื้ หมู ขนมไทยโบราณ 49
15) ข้อมูลผู้นำหม่บู ้านท้งั 14 หมบู่ า้ น ลำดบั ที่ ช่อื -สกลุ ตำแหนง่ หมายเลข 1 นายธวสั ใจพล โทรศัพท์ 2 นายบญุ ส่ง ปัญญาผัด ผใู้ หญบ่ า้ นทา่ ตมุ้ 090-2656537 3 นายจันทรต์ ๊ิบ ปนั โญกิจ หมู่ท่ี 1 086-1845288 4 นายจรัญ จมุ้ เขยี ว ผู้ใหญ่บา้ นหนองบัว 082-8940064 5 นายนิยม ธรรมหมน่ื ยอง หม่ทู ่ี 2 086-9148993 6 นายสุรนั ต์ จุ่มเขียว ผใู้ หญ่บ้านหนองเกดิ 096-5157439 7 นายพพิ ฒั ธนากรณ์ คำตา หมูท่ ่ี 3 089-5615803 8 นายถวิล มาหวนั ผู้ใหญบ่ ้านร่องห้า หมู่ 084-3693900 9 นายไกรสร กาวารี ท่ี 4 089-5544328 10 นายนิเทส มลู สรุ ินทร์ ผู้ใหญบ่ ้านรอ่ งชา้ ง 081-5677645 11 นายประดษิ ฐ์ ไชยวงษา หมู่ท่ี 5 095-1717135 กำนนั บ้านหนองหมู 081-7466387 หมู่ 6 ผใู้ หญ่บา้ นป่าตอง หมู่ ที่ 7 ผู้ใหญ่บา้ นป่าสเี สียด หมู่ที่ 8 ผใู้ หญ่บา้ นแม่อาว น้อย หมทู่ ี่ 9 ผใู้ หญบ่ ้านมงคลชัย หมทู่ ี่ 10 ผู้ใหญ่บ้านสนั ปา่ ขาม หม่ทู ี่ 11 50
ลำดับท่ี ชือ่ -สกลุ ตำแหนง่ หมายเลข โทรศัพท์ 12 นายสำราญ จินา ผู้ใหญ่บา้ นสารภีชัย 083-2241449 หมทู่ ี่ 12 13 นายอมรเทพ อุตระแจ้ ผู้ใหญ่บ้านไรป่ ่าคา 092-4583999 หมู่ท1ี่ 3 14 นายปัญญา ซาวบญุ ตัน ผู้ใหญบ่ ้านสารภีชัย 085-7101891 หมู่ท่ี 14 9. หนว่ ยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยตำบล และการสาธารณสขุ 9.1 หนว่ ยป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ได้จัดเตรียมพาหนะในการช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบภัยและบรรเทาทุกข์ เบ้ืองต้นแก่ผ้ปู ระสบภยั ในตำบลทา่ ตมุ้ ท้งั 14 หมบู่ ้าน ภาพที่ 5 แสดงรถบรรเทาสาธารณภัยของตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน (ต้งั อยู่ อบต.ทา่ ตุ้ม) ทมี่ า : คณะทำงาน U2T ท่าตุ้ม 51
9.2 ด้านการเข้าถงึ บริการรัฐดา้ นสุขภาพ จากการสำรวจข้อมูลด้านการเข้าถึงบริการแหล่งข้อมูล ด้านสุขภาพจากองค์กรภาครัฐ ของประชากรเขตตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จงั หวดั ลำพูน สรุปไดด้ งั น้ี 9.2.1 ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือเอกชน จำนวน 1,800 คน คิดเป็นร้อยละ 100 9.2.2 ผู้พิการ ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือ เอกชนจำนวน 271 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 9.2.3 ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครฐั หรอื เอกชน จำนวน 455 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 9.2.4 ศูนย์สุขภาพชุมชน มีทั้งหมด 13 หมู่บ้าน ให้บริการฟรี กบั ประชาชนทุกกลมุ่ อายุ 9.2.5 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล พบ 2 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าตุ้ม และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบ้านมงคลชัย ที่ให้บริการแก่ประชาชนทุกกลุ่มอายุตามสิทธิที่ได้รับจาก ภาครัฐ 10. สถานทท่ี ่องเท่ียวในตำบลทา่ ต้มุ สถานทที่ อ่ งเทย่ี วในพ้นื ที่ตำบลท่าตมุ้ พบสานท่ที ่องเทยี่ วเชงิ วัฒนธรรม และการเรยี นรู้ ดังน้ี 52
10.1 อนุสาวรียเ์ จ้าแมจ่ ามเทวี ปางศรีนางเกิ้ง ภาพที่ 6 อนสุ าวรยี ์เจา้ แมจ่ ามเทวี ปางศรนี างเก้งิ ทมี่ า : คณะทำงาน U2T ทา่ ตุ้ม สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญของตำบลท่าตุ้ม ที่เป็นแหล่งสถานที่สถานท่ี สำคัญของทอ้ งถ่นิ คอื อนสุ าวรียเ์ จ้าแมจ่ ามเทวี ปางศรนี างเกงิ้ ทตี่ ัง้ อยูด่ ้านหนา้ ของวัดนางเกิง้ เลขท่ี 78 บ้านรอ่ งห้าหมู่ที่ 4 ตำบลท่าต้มุ อำเภอปา่ ซาง จงั หวัด ลำพูน 53
ประวตั โิ ดยยอ่ ของเจา้ แม่จามเทวี ชาตกิ ำเนิดของพระองคน์ ้นั ในตำนานจามเทวีวงศ์และตำนานมูลศาสนา กล่าวว่าเป็นพระราชธิดาของกษัตริย์แห่งกรุงละโว้ แต่ตำนานมุขปาฐะพื้นบ้าน แหง่ หนึง่ กล่าวว่า พระองคเ์ ป็นธดิ าของคหบดีชาวหริภุญชัย ซ่ึงมีเชอ้ื สายชาวเมง (ตำนานเรียกว่า เมงคบุตร) อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ปัจจุบัน เป็นหมู่บ้านหนองดู่ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน พระนางจามเทวีเมื่อแรกประสูติไว้ว่าตรงกับ วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 ปีมะโรง พ.ศ.1176 เวลาจวนจะค่ำ ขณะเมื่อ พระนางยังมีพระชนม์ได้ 3 เดือนนั้น มีนกยักษ์ตัวหนึ่งโฉบเอาพระนางขึ้นไป บนฟ้า เมื่อนกนั้นบินผ่านหน้าสุเทวฤๅษีซึ่งบำเพ็ญตบะอยู่ ณ เขาอุจฉุตบรรพต (แปลว่าเขาไรอ่ อ้ ย เช่ือว่าคือดอยสเุ ทพในปัจจบุ นั ) ท่านจงึ ไดแ้ ผ่เมตตาจิตให้นก นั้นปล่อยทารกน้อยลงมา แล้วรับเอาเด็กนั้นเป็นบุตรบุญธรรม พร้อมทั้งตั้งชื่อ ให้ว่า นางวี ด้วยถือเอานิมิตที่พระฤๅษีใช้พัด (ภาษาถิ่นเรียกว่า \"วี\") รองรับ พระนางเนื่องจากพระฤๅษีอยู่ในสมณเพศไม่อาจถูกตัวสตรีได้ ต่อมาพระนางได้ ร่ำเรียนสรรพวิชาการต่าง ๆ จากสุเทวฤๅษีท่านสุเทวฤๅษีจึงได้ผูกดวงและ ตรวจสอบชะตา ทราบว่ากุมารีผู้เป็นบุตรบุญธรรมของท่านจะมีวาสนาเป็นถึง จอมกษัตริย์ ปกครองบ้านเมืองอันใหญ่โตซึ่งจะรุ่งเรืองไปในภายภาคหน้า จึงตกลงใจว่าจะต้องส่งเด็กหญิงไปสู่ราชสำนักเพื่อรับการอภิเษกขึ้นเป็น เชื้อพระวงศ์ให้สมควรแก่การที่จะได้เป็นใหญ่ต่อไปและที่เหมาะสมในสายตา ท่านฤๅษีคือ ราชสำนักแห่งกรุงละโว้ ซึ่งเป็นราชสำนักที่เจริญรุ่งเรืองที่สุด แห่งหนึ่งในสุวรรณภูมิเวลานั้น จนกระทั่งเมื่อพระนางมีพระชนมายุได้ 13 พรรษา ท่านสุเทวฤๅษีจึงได้เนรมิตแพขึ้น ส่งกุมารีน้อยล่องไปตามน้ำจาก เมืองเหนือ โดยพญากากะวานรและบริวารจำนวน 35 ตัวโดยสารแพไปด้วย 54
อีกทั้งยังฝากหนังสือไปฉบับหนึ่งเพื่อกราบทูลพระเจ้ากรุงละโว้ (ลวปุระ) วา่ กมุ ารนี ้อยนี้จะไปชว่ ยละโวป้ ระหารศตั รู เดก็ หญิงและวานรท้งั หลายล่องตาม ลำน้ำไปเป็นเวลานานหลายเดือนจึงเข้าสู่เขตกรุงละโว้ ประชาชนชาวละโว้ สองฝั่งลำน้ำได้โจษขานถึงแพเล็ก ๆ นี้ด้วยความประหลาดใจคร้ันถึงท่าน้ำ หน้าวัดชัยมงคล แพเนรมิตก็มิได้ล่องตามน้ำต่อไปกลับลอยวนเวียนอยู่บริเวณ นั้น ประชาพลเมืองไดเ้ ห็นต่างโจษขานกนั อึงคนงึ บ้างก็เข้าไปพยายามดงึ นาวา เข้าฝั่งแต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จ ชาวบ้านเห็นเหตุเป็นอัศจรรย์และต่างพากันชื่นชม เด็กหญิงซึ่งมีผิวพรรณผุดผ่องน่ารักน่าเอ็นดูอย่างยิ่ง ความทราบถึงบรรดา ขุนนางจึงได้ไปตรวจดูที่ฝั่งน้ำ เห็นความจริงประจักษ์แก่ตาจึงรีบกลับเข้า พระราชวังกราบบังคมทูลพระเจ้าจักรวัติ ผู้ครองกรุงละโว้ ให้ทรงทราบทันที เจ้าแผ่นดินกรุงลวปุระได้เสด็จไปยังท่าน้ำหน้าวัดชัยมงคลพร้อมด้วยมเหสี ในทันทีนั้น เมื่อได้ทอดพระเนตรเห็นความเป็นไปทั้งหมด พระองค์ทรงมีรับสั่ง ให้ทหารที่ตามเสด็จชะลอแพเนรมิตเข้าสู่ฝั่งแต่เหตุการณ์อันไม่มีใครคาดคิด ก็บังเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่ง กำลังของเหล่าทหารแห่งกรุงลวปุระไม่อาจชักลากแพ เขา้ สู่ท่าน้ำได้ ไม่ว่ากษัตรยิ ์จะมีพระบัญชาให้เพิ่มจำนวนทหารมากข้ึนสักเท่าใด ก็ตาม การณ์อันเป็นไปโดยอัศจรรย์ดังนี้ ทำให้เจ้าแผ่นดินทรงประจักษ์แจ้งแก่ พระปรีชาญาณว่า กุมารีแรกรุ่นในท่ามกลางฝูงวานรบนแพนี้คงจะเป็น ผู้มีบุญญาธิการมากมายและแพนั้นก็คงจะเป็นแพวิเศษที่สามัญชนจะไป แตะต้องมิได้ พระองค์จึงเสด็จจากที่ประทับพร้อมด้วยพระมเหสีและทรงยึด เชือกที่ผูกแพนั้นไว้ด้วย พระหัตถ์ของทั้งสองพระองค์และแล้วเหตุอัศจรรย์ ก็บังเกิดขึ้นอีกเป็นคำรบสาม พระเจ้ากรุงลวปุระและพระมเหสีเพียงแต่ทรง ชักเชือกนั้นด้วยแรงเฉพาะสองพระองค์ แพวิเศษก็ลอยเข้าสู่ท่าน้ำได้โดยง่าย 55
และดูราวกับเทพยดาฟ้าดินจะทรงอำนวยพรให้แก่ประพฤติเหตุอันอัศจรรย์นี้ เพราะเมื่อแพวิเศษลอยเข้าเทียบท่าน้ำ ได้มีฝนโปรยปรายเป็นละอองบางเบา ยังความสดชื่นแก่ทุกคนในที่นั้น ประชาชนทั้งสองฝั่งลำน้ำได้เห็นต่างก็พากัน ชื่นชมพระบารมีของทั้งสองพระองค์และสรรเสริญบุญญานุภาพของกุมารีน้อย ไปทั่วทั้งพระนครพระเจ้ากรุงละโว้และพระมเหสีได้รับกุมารีน้อย ไว้ด้วยความ เสน่หาอย่างยิ่ง พระมเหสีนั้นถึงกับเสด็จเข้าไปสวมกอดและจุมพิตกุมารีตั้งแต่ แรกขน้ึ สฝู่ ง่ั พระเจา้ กรุงละโว้ผูเ้ ต็มไปด้วยความปิติในพระหฤทัยได้ทรงนำกุมารี ผู้น่ารักขึ้นประทับบนราชรถและต่างพากันเสด็จเข้าสู่ราชสำนักกรุงละโว้ ท่ามกลางประชาชนทีม่ าเฝา้ ชมพระบารมสี องข้างทางด้วยความชื่นชมยนิ ดีโดย ทั่วหน้าและได้ตั้งพระนามให้ใหม่ว่า พระนางจามเทวี (ป้ายบันทึกประวัติ พระนางจามเทว)ี 10.2 วัดนางเกิง้ ภาพที่ 7 วัดนางเกิ้ง ที่มา : คณะทำงาน U2T ท่าตุ้ม 56
ประวัตแิ ละสถานที่วดั นางเก้ิง วัดนางเกิ้ง ตั้งอยู่เลขที่ 78 บ้านร่องห้าหมู่ที่ 4 ตำบลท่าตุ้ม อำเภอ ป่าซาง จังหวัดลำพูน ตามประวัติวัดแจ้งว่าเมื่อครั้งที่พระนางจามเทวีได้ข้ึน ครองนครลำพูนการคมนาคมในสมัยนั้นไม่ค่อยเจริญจะต้องเดินทางด้วยเท้า ล่องเรือล่องแพและผ่านป่าดง ซึ่งมีสัตว์ดุร้ายและอันตรายมากมายพระนาง ประสงค์ที่จะทำการสร้างเมืองลำพูนและได้มาหยุดพักที่บ้านศรีชุมได้หัน พระพักตร์และยกพระหัตถ์ขึ้นบ้อง (ภาษาเหนือพื้นเมืองเรียกว่าเกิ้งหน้า) ไปทางทิศตะวนั ออกเฉียงใต้และมพี ระราชประสงคท์ ีจ่ ะสรา้ งวัดขน้ึ ณ ท่ีนั้นเพื่อ เป็นสักขีพยานว่าพระนางเจ้าจามเทวีได้เคยมาท่ีแห่งน้ีแล้วและให้เป็นที่เคารพ สักการะของพุทธศาสนิกชนให้สืบพระศาสนาต่อไปแต่นั้นมาไม่นานวัดนี้ได้ช่ือ ว่า วัดนางเกิ้ง ชาวบ้านเรียกว่า วัดร่องห้า ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมอื่ พ.ศ.2385 การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามคือ รูปที่ 1 พระก้อง กติญาโณ (รักษาการ) รูปที่ 2 พระทอง อินปัญญาธโร รูปที่ 3 พระ ประเสริฐ กติญาโณ รูปที่ 4 พระบุญชู สิริปญโญ รูปที่ 5 พระอธิการบุญมี ปญญาธโร ตงั้ แต่ พ.ศ.2527 เปน็ ตน้ มา (www.templethailand.org) 57
10.3 โบสถว์ ดั ปา่ สีเสยี ด ภาพที่ 8 โบสถ์วดั ป่าสเี สยี ด ทม่ี า : คณะทำงาน U2T ท่าตุ้ม ประวัติวดั ปา่ สเี สยี ด วัดป่าสีเสียด ตั้งอยู่เลขที่ 265 บ้านป่าสีเสียด หมู่ 3 ตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2533 ตามประวัติวัดแจ้งว่า เดิมชื่อ วัดดอนแก้วทรายมูล ต่อมา ได้เปลี่ยนเป็น วัดป่าสีเสียด เนื่องจาก บริเวณรอบวัดและหมู่บ้านมีต้นสีเสียดขึ้นเป็นจำนวนมาก ส่วนการสร้างวัดนั้น ไม่ปรากฏว่าสรา้ งเมื่อใดแต่จากโบราณวัตถุ โดยเฉพาะพระพุทธรูปไม้ที่มีอยู่ใน วัดได้บันทึกไว้หลังพระพุทธรูปวาดได้สร้างถวายเมื่อพุทธศักราช 1294 ได้รับ 58
พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2345 การบริหารและการปกครองมีเจ้า อาวาสเท่าที่ทราบนาม คือรูปที่ 1 พระปัญญาวโร รูปที่ 2 พระต๋าคำ คมฺภีโร รูปที่ 3 พระพิมสาร สุวิญาโณ รูปที่ 4 พระบุญยืน โพธิโก รูปที่ 5 พระคันทา สิริจนฺโท รูปที่ 6 พระจันทร์จนฺทวโร รูปที่ 7 พระบุญทรัพย์ จนฺทเสนา รูปที่ 8 พระอำนวยศิลป์ อนิ ฺทวีโร (www.templethailand.org) 10.4 โคขาว ลำพูน (แหลง่ ท่องเที่ยวเชงิ เรียนรู้) ภาพที่ 9 โคขาวลำพูน ทม่ี า : คณะทำงาน U2T ทา่ ตมุ้ ประวัตโิ คขาว ลำพูน การเพาะเล้ียงโคขาวลำพูน เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้ ตั้งอย่บู ้าน ไร่ป่าคา หมู่ที่ 13 ตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ปี 2546 โดย 59
พ่อหลวงอยุธ ไชยยอง ร่วมกับลูกบ้านไดร้ วมตัวกันจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร ผู้เลี้ยง โคขาวลำพูนบ้านไร่ป่าคาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารายได้เสริมให้กับ ครอบครัวหลังการเก็บเกี่ยวลำไยแล้ว และมีแนวคิดที่จะอนุรักษ์พันธุ์โคขาว ลำพูนไว้คู่เมอื งลำพนู การเลี้ยงโคขาวลำพูนของกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงโคขาวลำพูน บ้านไร่ปา่ คาจะไม่มีวนั บรรลุเป้าหมายของการรวมกลุ่มกันได้ ถ้าทางกล่มุ ไม่นำ โครงการเข้าไปเป็นงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงาน กองทนุ สนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.) และคณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ สนับสนุนบุคลากรเป็นที่ปรึกษางานวิจัย นอกจากนั้นโรงเรียนบ้านหนองบัว ได้เข้าร่วมเป็นทีมงานวิจัย โดยนำเอาการเลี้ยงโคขาวลำพูนมาจัดทำเป็น หลักสูตรท้องถิ่น โดยท่านผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบัว ผู้อำนวยการ สมจิต มณีชัยกุล ได้มอบหมายให้คณะครูช่วงชั้นที่ 2 นำโดยครูไพบูลย์ ปันดอนตอง ครูสอนงานเกษตรของโรงเรียน ครูสิริวรรณ ใจกระเสน ครูนภาพรรณ หย่างพานิช และครูนิเวช มะโนคำ ไปร่วมเป็นทีมงานวิจัย ได้ใช้ เวลาทำงานวิจัยเพื่อให้เรียนรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงโคขาวลำพูน จนย่างเข้าปีที่ 3 ของการวิจัย ผลงานของการทำงานวิจัยก็เริ่มเป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณชน หลังจากที่ทางกลุ่มผู้เลี้ยงโคขาวลำพูน บ้านไร่ป่าคา ได้นำผลงานวิจัยออกไป เผยแพร่ตามสถานที่ต่าง ๆ จึงเริ่มมีผู้คนรู้จักกลุ่มผู้เลี้ยงโคขาวลำพูนมากข้ึน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทีมนักวิจยั กลุ่มอื่น ๆ โรงเรียนบ้านหนองบวั ได้จัดทำเป็นหลักสูตรท้องถิ่น ให้นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ได้เรียนรู้ร่วมกับกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงโคขาวลำพูนบ้านไร่ป่าคา นักเรียนได้เรียนรู้ และนำผลการเรียนรู้ไปเผยแพร่ร่วมกับกลุ่มผู้เลี้ยงโคขาวลำพูนและนำไปจัด 60
นิทรรศการเพื่อให้ผู้คนรู้จักโคขาวลำพูนมากขึ้น (เอกสารประกอบการสอน หลักสตู รสาระทอ้ งถน่ิ โคขาวลำพนู ) 11. ศักยภาพตำบลตามเปา้ หมาย 16 ประการ ตามแนวทางการพฒั นาของ อว. ตารางที่ 17 แสดงข้อมูลจากการใช้ TPMAP ของตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวดั ลำพนู ตัวชี้วดั คำอธิบาย จำนวน สถานที่ ท่ี ตำบลทา่ ตมุ้ เด็กแรกเกิดมีหนัก 2,500 กรัม 7 คน ตำบลท่าตมุ้ 1 ขึ้นไป 5 คน ตำบลท่าตมุ้ ตำบลท่าตุม้ 2 เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียว 552 คน ตำบลท่าตุ้ม อยา่ งน้อย 6 เดอื นแรกติดต่อกัน 2,330 ครวั เรอื น 3 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีน 2,330 ครวั เรอื น ป้องกันโรค ครบตามตารางสร้าง เสรมิ ภมู คิ ุ้มกนั โรค 4 ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและไดม้ าตราฐาน 5 ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบรรเทา อาการเจ็บป่วยเบื้องต้น ได้อย่าง เหมาะสม 61
ตัวช้ีวัด คำอธบิ าย จำนวน สถานที่ ที่ 6 คนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจ 4,546 คน ตำบลทา่ ตมุ้ สุขภาพประจำปี 7 คนอายุ 6 ปีขึ้นไปออกกำลังกาย อ ย ่ า ง น ้ อ ย ส ั ป ด า ห ์ ล ะ 3 วั น 6,462 คน ตำบลทา่ ตมุ้ วนั ละ 30 นาที 8 ครวั เรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย 2,330 และบ้านมีสภาพคงทน ครวั เรอื น ถาวร ตำบลทา่ ตมุ้ 9 ครัวเรอื นมนี ้ำสะอาดสำหรบั ดื่มและ 2,330 บริโภคเพียงพอตลอดปี อย่าง ครวั เรอื น น้อยคนละ 5 ลิตรตอ่ วนั ตำบลทา่ ตมุ้ 10 ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอย่างน้อย 2,330 ตำบลทา่ ตมุ้ คนละตลอดปี 45 ลิตรต่อวัน ครัวเรอื น 11 ครัวเรอื นมีการจัดการบา้ นเรอื นเป็น 2,330 ระเบียบเรียบร้อย สะอาดและถูก ครวั เรือน ตำบลทา่ ตมุ้ สุขลักษณะ 12 ครวั เรือนไมถ่ กู รบกวนจากมลพษิ 2,330 ตำบลท่าตุ้ม ครวั เรอื น 13 ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยและ 2,330 ตำบลท่าตุ้ม ภัยธรรมชาติ ครัวเรือน 62
ตัวช้ีวดั คำอธบิ าย จำนวน สถานที่ ที่ ตำบลทา่ ตมุ้ 14 ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิต 2,330 ตำบลทา่ ตมุ้ และทรพั ยส์ นิ ครัวเรือน 15 เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับบริการเลี้ยงดู 134 คน เตรยี มความพร้อมกอ่ นวยั เรยี น 16 เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษา 447 คน ตำบลทา่ ตมุ้ ภาคบังคบั 9 ปี 17 เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 12 คน ตำบลท่าตมุ้ หรือเทียบเทา่ 18 คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาค บังคับ 9 ปีที่ไม่ได้เรียนต่อยังไม่มี 10 คน ตำบลท่าตมุ้ งานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้าน อาชีพ 19 ค น อา ยุ 15-59 ป ี อ่ า น เข ี ยน 4,214 คน ตำบลทา่ ตมุ้ ภาษาไทยและคิดเลขอยา่ งงา่ ย 20 คนอายุ 15-59 ปี มีอาชพี และ 3,714 คน ตำบลทา่ ตุ้ม รายได้ 21 คนอายุ 60 ปขี ้ึนไป มีอาชพี และ 1,785 ตำบลท่าตุ้ม รายได้ ครัวเรอื น 63
ตัวชี้วดั คำอธิบาย จำนวน สถานที่ ที่ 22 รายได้เฉลย่ี ของคนในครัวเรอื น ต่อ 2,330 ตำบลทา่ ตมุ้ ปี ครัวเรือน 23 ครวั เรอื นมีการเก็บออมเงนิ 2,330 ตำบลท่าตมุ้ ครวั เรอื น 24 คนในครวั เรอื นไมด่ ่ืมสรุ า 6,658 คน ตำบลทา่ ตมุ้ 25 คนในครัวเรือนไม่สบู บุหร่ี 6,658 คน ตำบลท่าตมุ้ คนอายุ 6 ปีข้นึ ไปปฏิบตั กิ ิจกรรม 26 ทางศาสนาอยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ 1 คร้งั 6,462 คน ตำบลทา่ ตมุ้ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจาก 27 ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือ 1,801 คน ตำบลท่าตมุ้ ภาคเอกชน 28 ผ้พู ิการได้รบั การดูแลจากครอบครัว 271 คน ตำบลทา่ ตุ้ม ชมุ ชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน ผู้ป่วยเรื้อได้รับการดูแลจาก 29 ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือ 456 คน ตำบลท่าตุ้ม ภาคเอกชน 64
ตวั ช้ีวดั คำอธิบาย จำนวน สถานท่ี ท่ี ตำบลทา่ ต้มุ ครวั เรอื นมสี ว่ นร่วมทำกจิ กรรม 2,330 ตำบลทา่ ตุ้ม 30 สาธารณะ เพื่อประโยชนข์ องชมุ ชน ครัวเรือน หรอื ทอ้ งถ่นิ 2,330 31 ครอบครัวมคี วามอบอุ่น ครวั เรอื น หมายเหตุ : อ้างองิ จากขอ้ มูลล่าสดุ ปี พ.ศ. 2562 ภาพรวมจาก : www.TPMAP ตำบลทา่ ตุ้ม อำเภอปา่ ซาง จงั หวดั ลำพูน อ้างอิงข้อมูลจาก : https://www.tpmap.in.th/2562/510607 65
จากข้อมูล พบภาพรวมคนจนของตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัด ลำพูน ในปี พ.ศ.2562 (เนื่องจากไม่มีข้อมูลรวมในปี พ.ศ.2564 เพิ่มเติมจาก รัฐบาล) พบว่าขอ้ มลู ครวั เรือนทไี่ ด้รับการสำรวจ(จปฐ) จำนวน 2,331 ครัวเรือน บุคคลคนที่ได้รับการสำรวจ (จปฐ) 6,657 คน ครัวเรือนยากจน (จปฐ) 10 ครัวเรอื นและพบข้อมลู คนยากจน (จปฐ) 20 คน หรอื คนจน (จปฐ) จากข้อมูลสามารถอธิบาย ได้ว่า “คนจนเป้าหมาย” หมายถึง คนจน (จปฐ) ที่ได้ลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐ จำนวน 11 คน จึงพบสัดส่วนคนจน คดิ เป็น 0.17% สรปุ ได้วา่ ความยากจน ใน 5 มิติ ดงั กล่าวน้ัน พบว่า ตำบลท่าต้มุ มีมิติ ความยากจนมากท่สี ุดในด้านการเข้าถึงบรกิ ารภาครฐั และการศึกษา ดังแสดง ในกราฟดา้ นลา่ ง สรปุ ความยากจน 5 มติ ิ แสดงเป็นกราฟตอ่ ไปน้ี 66
อ้างอิงข้อมูล www.tpmap.in.th/2562/510607 สรุปความยากจน 5 มิติ อธิบายได้ว่า ความยากจนสามารถวัดได้จาก ดัชนีความยากจนหลายมิติ หรือ ดัชนี MPI (Multidimensional Poverty Index) ที่พิจารณาจาก 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ดา้ นการศึกษา ด้านรายได้และด้านการเข้าถึงบริการรฐั จากข้อมูล พบว่า ตำบล ท่าตมุ้ อำเภอปา่ ซาง จงั หวัดลำพนู มมี ิติความยากจนมากทีส่ ุดในด้านการเข้าถึง บริการภาครฐั และการศึกษา พฒั นาการของคนจนตามความจำเป็นพื้นฐานทีย่ งั ขาดแคลน อา้ งองิ ขอ้ มูล: www.tpmap.in.th/2562/510607 67
การพัฒนาการของคนจนตามความจำเป็นพื้นฐานที่ยังขาดแคลน ในตำบลท่าตมุ้ แยกตามความจำเปน็ พืน้ ฐานที่ยังขาดแคลน 6 หมวด โดยความ สูงของกราฟแท่งสีเหลือง แสดงจำนวนคนจนในปี พ.ศ.2562 เปรียบเทียบกับ ปี พ.ศ.2561 จากภาพกราฟแทง่ ทีแ่ สดงยงิ่ ต่ำ ยงิ่ ดี จึงหมายถึงหมวดท่ีอยู่อาศัย ไมม่ ่นั คงถาวรยงั คงเปน็ ปัญหาพื้นฐานความยากจนในตำบลทา่ ตุ้ม สรุปประเด็นที่ควรพัฒนาและยกระดับจากการศึกษาและวิเคราะห์ ขอ้ มลู จาก TPMAP ดังนั้นจากข้อมูล TPMAP สรุปได้ว่าประเด็นที่เป็นปัญหาและควรมี การพัฒนายกระดับของตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน คือ มิติการ เข้าถึงบริการภาครัฐ และมิติด้านการศึกษาร่วมถึงต้องมีการพัฒนาที่อยู่ อาศัยของคนจน ในตำบลทา่ ต้มุ ให้มีความมน่ั คงถาวร 68
บทท่ี 2 ทรพั ยากรธรรมชาติ และการฟื้นฟู โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ) มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับ เศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ โดยมีมหาวิทยาลัยในพื้นท่เี ปน็ หน่วยบูรณาการโครงการ (System Integrator) การจ้างงาน การฟื้นฟู เศรษฐกิจและสังคมที่มีความครอบคลุมในประเด็นต่าง ๆ ตามปัญหาและ ความต้องการของชุมชน โดยมหาวิทยาลยั ราชภัฏลำปางได้ดำเนินกิจกรรม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2563 เห็นชอบให้กระทรวงการ อดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม โดยสำนกั งานปลดั กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมดำเนินโครงการ ซึ่งตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน เป็นพืน้ ท่ีหน่ึงในการดูแลของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้ มอบหมายให้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐกฤษฏ์ ธรรมกวินวงศ์ เป็นผู้รับผิดชอบ ในฐานะผู้จัดการตำบลร่วมกับทีม คณาจารย์และผู้รับจ้างงานที่เป็นบัณฑิต ประชาชนในพนื้ ท่แี ละนักศึกษา
ภาพที่ 10 ทีมคณาจารย์ร่วมประชุมกับตัวแทนองค์การบริหารส่วนตำบลและ แกนนำชมุ ชนประจำตำบล ภาพท่ี 11 คณะทำงานรว่ มกนั ระดมความคดิ เหน็ ของแกนนำชมุ ชนในดา้ นปญั หา สงิ่ แวดล้อม 70
ในส่วนงานด้านสง่ิ แวดลอ้ มทขี่ า้ พเจา้ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบนั้น หลังจากที่มหาวิทยาลัยได้รับผู้รับจ้างงานทั้งในส่วนที่เป็นบัณฑิต ประชาชน ในพืน้ ทแี่ ละนักศึกษา สมาชิกทมี ย่อยด้านส่ิงแวดล้อมได้ถกู จัดตั้งคณะทำงานขนึ้ ทั้งน้ีคณะทำงานทกุ คนมีงานที่ได้รับมอบหมายแบ่งออกเป็นสองส่วนหลกั ได้แก่ 1) งานหลักด้านการจัดการและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน และ 2) งาน สว่ นกลางดา้ นการจัดเก็บข้อมูลจากตำบลท่าตุ้ม เช่น Tambon Profile, ข้อมูล สถานการณ์การระบาดของ COVID-19 และ Digitalizing Government Data โดยมีการแบ่งช่วงเวลาการทำงานเป็นส่วน ๆ ละประมาณสองสัปดาห์ต่อเดือน และสามารถปรับเปล่ียนไดต้ ามสถานการณ์ปจั จบุ นั ภาพท่ี 12 ทมี ส่งิ แวดล้อมร่วมสบื เสาะเก่ียวกับปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มของชุมชนคน ทา่ ต้มุ 71
ภาพที่ 13 ทมี ลงพน้ื ท่ีทำงานทงั้ ดา้ นการสำรวจเฝ้าระวงั โควิด-19และขอ้ มูล ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ทีมสิ่งแวดล้อมเริ่มการขับเคลื่อนการทำงานโดยมีหัวใจหลัก คือ กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในตำบล ซึ่งตลอดเกือบหนึ่งปีท่ี ผ่านมานับจากกุมภาพันธ์ถึงธันวาคม 2564 นั้น กิจกรรมต่าง ๆ ที่ทีม ดำเนินการราบรื่นและประสบความสำเร็จครบถ้วนตามเป้าหมายเป็นอย่างดี โดยแรกเริ่มทีมงานรวมได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนหารือประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลและตัวแทน ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในข้อสรุปประเด็นการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมนั้น ทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าตุ้ม ได้ขอให้ทีมสิ่งแวดล้อม เน้นการขับเคลื่อนเรื่องการแก้ไขปัญหาด้านการจัดการและคัดการขยะเป็น หลัก ต่อจากนั้นทมี ได้รวมรวมขอ้ มูลพื้นฐานทั่วไปและข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม 72
ของตำบลท่าตุ้มด้วยวิธกี ารหลากหลายรูปแบบ ทั้งส่วนข้อมูลเดิม ข้อมูลจาก แบบสอบถามกึ่งสัมภาษณ์ปราชญ์ชุมชนด้านสิ่งแวดล้อม แกนนำ อสม. ประจำหมู่บ้าน และสมาชิกชุมชน โดยเฉพาะการร่วมประชาคมปัญหาด้าน สงิ่ แวดล้อมและแนวทางแก้ไขท่ีชาวชุมชนต้องการ ซึ่งในการขับเคล่ือนนั้นทีม ได้เวียนจัดแยกไปในแต่ละหมู่บ้าน ครบทั้ง 14หมู่บ้าน และในครั้งนั้นเราจึง ได้ระเบียนรายชื่อแกนนำคณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อมของแต่ละหมู่บ้าน อัน เปน็ ส่วนสำคัญยิ่งตอ่ การขบั เคลื่อนใหเ้ กิดความสำเร็จของการพฒั นาโครงการ ในลำดับต่อมา สำหรับข้อเสนอในด้านปัญหาสิ่งแวดล้อมจากแต่ละชุมชนนนั้ มีทั้งเรื่องของทรัพยากรน้ำที่ขาดแคลนในบางหมู่บ้านบางช่วงเวลา เรื่อง มลพิษเกี่ยวกับการจัดการและการคัดแยกขยะ การใช้สารเคมีในการเกษตร ในการเกษตร มลพิษทางอากาศและกลิ่นไม่พึงประสงค์จากโรงผลิตปุ๋ยมูลไก่ (ซง่ึ ทาง อบต. ได้แจ้งทีมว่า มีบรรจอุ ยใู่ นแผนงานและกำลังดำเนนิ การแก้ไข) ภาพท่ี 14 ปัญหาดา้ นกลน่ิ ไมพ่ งึ ประสงค์จากโรงงานผลติ ปุย๋ ชวี ภาพจาก มูลไก่ การจัดการขยะและการใชส้ ารเคมีในสวนลำไย 73
ทั้งนี้นับเป็นเรื่องที่ดีและเอื้อต่อการทำงานของทีมสิ่งแวดล้อม อย่างมาก ที่เสียงของประชาชนทั้ง 14หมู่บ้าน ได้เลือกที่จะร่วมกันแก้ไข ปัญหาด้านการจัดการและการคัดแยกขยะเป็นเรื่องสำคัญเร่งด่วนเป็นลำดับ แรก ซึ่งตรงกับที่ทาง อบต.ท่าตุ้ม ต้องการให้ทีมได้ขับเคลื่อนในพื้นที่ตำบล ท่าตุ้ม โดย “เรา” ซึ่งหมายถึง ทีม U2T ท่าตุ้มด้านสิ่งแวดล้อม อบต.ท่าตุ้ม และสมาชิกชุมชนตำบลท่าตุ้ม ได้ร่วมกันนำข้อมูลทั้งหลายมาคิดวิเคราะห์ และออกแบบกิจกรรมต่าง ๆ และร่วมกันดำเนินกิจกรรมเหล่านี้ตามลำดับ ได้แก่ 1. กิจกรรมการประชาคมหมู่บ้าน ร่วมระดมความคิดวิเคราะห์ แนวทางแก้ไขปัญหาด้านการจัดการขยะของแต่ละหมู่บ้าน พร้อมท้ังจัดทำ ระเบียนแกนนำด้านสิ่งแวดล้อมประจำชุมชนทั้ง 14 หมู่บ้าน เพื่อร่วม ขับเคลือ่ นงานในช่วงตอ่ ไป 74
ภาพท่ี 15 เจา้ อาวาสวัดปา่ สเี สยี ดร่วมออกแบบกิจกรรมสายใยรกั สามวัย ใสใ่ จรักษ์ส่ิงแวดล้อม ภาพที่ 16 การประชาคมเพ่ือจัดตั้งแกนนำดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มประจำหมูบ่ ้าน 75
ภาพท่ี 17 การรว่ มระดมปญั หาและวิธแี กไ้ ขปญั หาการจัดการขยะ 2. กิจกรรมการคัดแยกขยะภาคความรู้และการออกแบบถังขยะ ในครัวเรือน โดยมีสมาชิกชุมชนทั้ง 14 ชุมชน ได้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน มาก ทง้ั นีผ้ ้เู ขา้ ร่วมทกุ คนไดน้ ำถังขยะตาขา่ ยท่ีแขง็ แรงและสวยงามท่ีตนทำ ตดิ มือกลบั บา้ นไปใช้คดั แยกขยะในครัวเรอื นเพอ่ื เปน็ แบบอยา่ งและเป็นการ กระตุ้นเพ่ือนบ้านที่พบเห็นเกดิ แนวคดิ คดั แยกขยะร่วมด้วย ภาพท่ี 18 ตัวแทนสมาชกิ ชมุ ชนรว่ มกจิ กรรมออกแบบและจดั ทำ ถงั คดั แยกขยะครวั เรือน 76
ภาพที่ 19 รับฟังวธิ ีการคัดแยกขยะอย่างถกู วธิ ี 77
ภาพท่ี 20 กิจกรรมการประกวดถังคัดแยกขยะประเภทคงทนและสวยงาม 3. กิจกรรมการร่วมคิดคำขวัญเพื่อการรณรงค์คัดแยกขยะประจำ หมู่บ้าน โดยจัดทำเป็นแผ่นป้ายไวนิลขนาดใหญ่และร่วมกันติด ป้ายรณรงค์ ที่ตลาดและบรเิ วณที่ชาวชุมชนต้องการ ภาพท่ี 21 กิจกรรมการรว่ มคิดคำขวัญเพ่ือการรณรงคค์ ดั แยกขยะประจำหม่บู ้าน 78
4. กิจกรรมตาวิเศษอำนวยความสะดวกหน้าบ้านรายสัปดาห์ กระตุ้นหนุนเสริมให้ชาวตำบลท่าตุ้ม มีการจัดการและคัดแยกขยะอย่าง ตอ่ เนือ่ ง ในรูปแบบตา่ ง ๆ อาทิ การจัดทำคลปิ การต์ ูนอนิเมช่นั สอื่ สร้างสรรค์ และสง่ เข้าไปยงั Line ของสมาชิก อสม.รวมถึงการโทรตดิ ตามอยา่ งสม่ำเสมอ ตลอดทุกสปั ดาห์ ภาพท่ี 22 การ์ตนู อนิเมชนั่ แสดงการคดั แยกขยะแต่ละประเภท 5. กิจกรรมโครงการเสวียนรักษโ์ ลก โดยทมี ได้พจิ ารณาเลือกชุมชน บ้านป่าตองเป็นชุมชนต้นแบบด้านการจัดการขยะของตำบลทา่ ตุ้ม เนื่องด้วย ชุมชนได้น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการขับเคลื่อนชุมชน เป็น พื้นฐานอยู่เดิม ทั้งยังมีภาพของคนสามช่วงวัยร่วมใจพัฒนาชุมชน สำหรับ “เสวียนไม้ไผ่” นั้น เป็นเสมือนภาชนะที่วัสดุธรรมชาติขนาดใหญ่ซึ่งมีความ แข็งแรงทนทานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เสวียนช่วยทำให้บริเวณ บ้านเรือนชุมชนมีระเบียบสวยงามสะอาดตา ทั้งยังเป็นแหล่งหมักปุ๋ยใบไม้ ไวใ้ ช้บำรงุ ต้นลำไยไดอ้ ีกทางหน่ึงดว้ ย 79
ภาพที่ 23 ภาพกิจกรรมโครงการเสวียนรักษโ์ ลก 6. กิจกรรมโครงการเตาเผาขยะควนั ต่ำของหมู่บา้ น จำนวน 39เตา เนื่องจากตำบลท่าตุ้มเป็นตำบลซึ่งไม่มีพื้นที่ฝังกลบขยะ และยังไม่ถูกจัดต้ัง เป็นเทศบาล การจัดการขยะจึงเป็นปัญหาสะสมต่อเนื่องยาวนานของชุมชน “เตาเผาขยะควันต่ำ” จึงเป็นนวัตกรรมที่มีความจำเป็นมากในขณะนี้ โดยทมี ไดอ้ อกแบบให้เกดิ ควนั สู่บรรยากาศน้อยทสี่ ุด ซง่ึ ชาวชมุ ชนใหค้ วามสนใจและ ให้ความร่วมมอื อย่างดยี ิง่ 80
81
7. กิจกรรม บวร รักษ์ นิเวศ เป็นกิจกรรมเชื่อมโยงสามสถาบัน บา้ น วัด โรงเรยี น ให้มจี ติ สาธารณะรว่ มคดั แยกขยะและอนุรกั ษ์สิง่ แวดล้อม ภาพท่ี 24-27 กิจกรรมเตาเผาขยะควนั ต่ำ 82
ภาพที่ 28 กจิ กรรมโครงการ สายใยรักสามวยั ใสใ่ จรักษ์สงิ่ แวดล้อม ภาพที่ 29-31 กจิ กรรมโครงการ บวร รักษ์นเิ วศ ณ วดั หนองเกิด 83
โดยในกระบวนการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ นั้น ทีมได้ให้ความสำคัญ ด้านพลังศรัทธาต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในชุมชน พระแม่จามเทวี วัด ท่านเจ้าอาวาส โดยการออกแบบและจัดกิจกรรมให้ได้มีกระบวนการการขับเคลื่อนกิจกรรม ของ \"บวร\" บ้าน วัด โรงเรียน ในพื้นที่ รวมทั้งยังได้คำนึงถึงการสานสายใย ของ “คน 3 วัย” ให้ได้มีโอกาสสร้างสรรค์กิจกรรมร่วมกันอันเป็นการ ลดช่องวา่ งระหว่างวยั การให้เด็กและเยาวชนได้ใกลช้ ิดกบั ผูส้ ูงวัยซึ่งเป็นผคู้ วร ได้รับการเคารพจากผู้ออ่ นวัยในชมุ ชน ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ ประสบความสำเรจ็ ลุล่วงเป็นอย่างดียิ่ง ด้วยความร่วมมือของ หน่วยงาน สถาบันและองค์กร ทกุ ภาคสว่ นในตำบลทา่ ตุ้ม หัวใจของความสำเร็จในการดำเนินงานงานสิ่งแวดลอ้ ม ตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมา ทีมสิ่งแวดล้อมได้ร่วมดำเนินงานหลากหลาย กิจกรรมในทุกหมู่บ้านของตำบลท่าตุ้ม โดยกิจกรรมทุกกิจกรรมสำเร็จลุล่วง เป็นอย่างดีมาก ทั้งนี้เนื่องจากความร่วมแรงร่วมใจรวมพลั งบูรณาการ การทำงานร่วมกันตามหลักกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชน คนท่าตุ้ม ผสานกับทีมคณะทำงานด้านส่ิงแวดล้อมและทีมกลางประสานงาน กันอย่างมีประสิทธิภาพ มีลำดับกระบวนการชัดเจนเหมาะสมกับบริบทของ พื้นที่ ซึ่งแม้จะมีสถานการณ์ Covid-19 คุกรุ่นอยู่ตลอดแต่เราก็สามารถ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าและดำเนินกิจกรรมโครงการได้ตรงตามเป้าหมาย ทันเวลา ครบถว้ นทกุ อย่างเหมาะสมลงตัว ภาพแหง่ พลังความรักความสามคั คี การร่วมแสดงความคิดเห็นสร้างสรรค์ ตลอดถึงการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของ 84
ชาวชุมชนจะเป็นภาพที่ตราตรึงและตอกย้ำในใจของ \"เราทุกคน\" ว่า เมื่อ ได้ร่วมกันพัฒนาตำบลท่าตุ้ม ชาวท่าตุ้มทุกคนก็จะมีความสุขความเจริญ อย่างยั่งยืนต่อไปได้อย่างแน่นอน ข้าพเจ้าในนามตัวแทนทีมสิ่งแวดล้อม ขอเป็นกำลังใจให้ชาวท่าตุ้ม ได้มีสภาพแวดล้อมที่ดีและเหมาะสมต่อการอยู่ อาศัย มีทรัพยากรธรรมชาติที่เอื้ออำนวยให้ลำไยมีผลผลิตสูงราคาดี รสชาติ อร่อยหอมหวานมีคุณภาพอย่างนตี้ ลอดไป 85
บทท่ี 3 เมือ่ โควิด-19 มาถึงท่าตมุ้ ผลกระทบและแนวทางแก้ไขในมติ สิ ขุ ภาพ 3.1 เมื่อโควิด-19 มาถึงท่าตุ้ม เมื่อโรคโควิด-19 แพร่ระบาดเข้ามาในประเทศไทย สิ่งแรกที่ ชาวท่าตุ้มได้รับผลกระทบ คือ รายได้ เนื่องจากการจ้างงานและการค้าขาย สินค้าที่เคยเกิดขึ้นซบเซาลง อย่างไรก็ดีในมิติสุขภาพตำบลท่าตุ้มไม่ปรากฏ การมคี ลัสเตอรห์ รอื การตดิ เช้ือในวงกวา้ ง น่ันเปน็ เพราะมีระบบการตรวจสอบ และเฝ้าระวงั ทด่ี ี ในการนี้ โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล (U2T) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางได้มอบหมายให้คณะทำงานด้านสุขภาพ นำโดยผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั กฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์ และอาจารย์เอกสิทธิ์ ไชยปิน และทีมทำงานของ U2T ตำบลท่าตุ้ม ไดป้ ระสานงานเชงิ พ้ืนทีร่ ว่ มกับ ชมุ ชนเพื่อสำรวจและวางแผนปอ้ งกันโรคตดิ ตอ่ โควดิ -19 อยา่ งเป็นระบบ รูปแบบการดำเนินงานที่สำคัญของคณะทำงานด้านสุขภาพ คือ การสำรวจข้อมูลโควิดและประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพือ่ การป้องกันและเฝา้ ระวัง ตลอดจนมีการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนด้วยการออกกำลังกาย การวางแผนดำเนินงานทั้ง 2 ลักษณะนี้ ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าตุ้ม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลมงคลชัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ทา่ ต้มุ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอปา่ ซาง กล่าวเฉพาะการสำรวจข้อมูลโควิดนั้นได้มีการจัดทำขึ้นเป็น รายเดอื น เริ่มประเมินก่อนเรมิ่ โครงการ กมุ ภาพนั ธ์ 2564 และประเมินส้นิ สดุ โครงการเดือนธันวาคม 2564 รวมทั้งสิ้น 11 ครั้ง สำรวจใน 4 กลุ่มหลัก คือ ที่พักอาศัย ตลาด ศาสนสถาน และโรงเรียน ผลการสำรวจ ค่าเฉลี่ยภาพรวม ทั้งหมด ร้อยละ 98.73 ประเมินก่อนเริ่มโครงการ ผลการสำรวจ พบว่า สำรวจได้ ร้อยละ 97.33 คร้ังท่ี 2 สำรวจได้ ร้อยละ 97.66 คร้ังที่ 3 สำรวจได้ ร้อยละ 99.21 ครั้งที่ 4 สำรวจได้ ร้อยละ 99.11 ครั้งที่ 5 สำรวจได้ ร้อยละ 98.51 ครั้งท่ี 6 สำรวจได้ ร้อยละ 99.22 ครั้งที่ 7 สำรวจได้ ร้อยละ 97.68 คร้งั ท่ี 8 สำรวจได้ รอ้ ยละ 98.64 ครั้งท่ี 9 สำรวจได้ ร้อยละ 99.88 คร้งั ที่ 10 สำรวจได้ ร้อยละ 99.23 ครัง้ ที่ 11 สำรวจได้ ร้อยละ 99.54 3.2 การสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลท่าต้มุ ส่วนการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน คณะทำงานด้านสุขภาพได้ ดำเนินการ 6 ลกั ษณะ ดังมีรายละเอียดตอ่ ไปน้ี 3.2.1 การจัดทำแผนบรบิ ทสขุ ภาพชมุ ชนอยา่ งมีสว่ นรว่ ม แผนบริบทชุมชน หมายถึง กิจกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนที่เกิดจาก การมีส่วนรวมหารือและวางแผนเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืนของ คนใน ชุมชน การดำเนินงานลักษณะนี้จะทำให้เข้าใจถึงปัญหาและความต้องการ ของชุมชนอย่างแท้จริง จึงมีโอกาสประสบความสำเร็จสูงและยังสร้างความ ยง่ั ยนื ได้ในระยะยาว การจัดทำแผนบริบทสุขภาพชมุ ชนนี้ทำให้เกิดการเข้าใจ เข้าถึงและพฒั นาอย่างเปน็ รปู ธรรม 87
การกำหนดแผนบริบทสุขภาพชุมชนอย่างมีส่วนร่วมเป็นกิจกรรม มุ่งเน้นการระดมสมองเพ่ือแก้ปัญหาสุขภาพของตำบลให้สอดคล้องกับบริบท ของชุมชน ซึ่งกิจกรรมในครั้งน้ีจัดขึ้นระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2564 - 29 มิถุนายน 2564 โดยเชิญวิทยากร นักวิชการอิสระ ดร.รัตน์สุดา เทียนจำปา เป็นกระบวนกร โดยได้รบั ความร่วมมอื จากประชาชนทั้ง 14 หมู่บ้านในตำบล ท่าตุ้ม ผลการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม พบว่า ปัญหาสุขภาพชุมชน ที่พบ ส่วนใหญ่ คือ การมีโรคประจำตัวชนิดไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ได้แก่ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ดังนั้น แนวทางการแก้ไขปัญหาโรค ไม่ติดต่อเรื้อรังของชุมชนในตำบลท่าตุ้ม จึงเลือกวิธีการออกกำลังกายแบบ แอโรบิก ซึ่งมีรูปแบบที่หลากหลายแต่ในแผนบรบิ ทสุขภาพชุมชนครั้งนี้ไดต้ ก ลงเลือกการเต้นแอโรบกิ แบบไลน์แดนซ์ (Line Dance) การเต้นแอโรบิกแบบไลน์แดนซ์ คือ การออกกำลังกายด้วยการเตน้ ที่เน้นผสานผสานระหว่างลีลาศและแอโรบิก เพื่อลดปัญหาการเต้น แอโรบิกแบบเดิมที่มีจังหวะเร็วและเปลี่ยนท่าบ่อยครั้ง ส่วนปัญหาของ การลีลาศ คือ ต้องมีคู่เต้น ดังนั้น การออกแบบท่าเต้นแบบไลน์แดนซ์ จึงลด ปัญหาของการเต้นแบบเดิม การเต้นแบบไลน์แดนซ์นี้เป็นกิจกรรมที่สร้าง ความสนุกทั้งร่างกายและจิตใจ ช่วยกระตุ้นการทำงานของสมองเพื่อจดจำ ท่าเต้น การขยับเท้าเข้าจังหวะ นอกจากสุขภาพร่างกายจะแข็งแรง ลดโรค แล้ว ยังช่วยลดความเสี่ยงของโรคทางสมองอย่างอัลไซเมอร์ด้วย นอกจากน้ี การแอโรบิกแบบไลน์แดนซ์ยังสามารถเต้นได้โดยลำพังที่บ้าน ดังนั้น จึงเป็น กิจกรรมที่ย่งั ยนื แม้ภายหลงั โครงการจะสิน้ สุดลง หลังจากการประชุมเพื่อกำหนดแผนบริบทสุขภาพชุมชนแล้ว ผลกระทบ (Outcome) ที่เกิดแก่ชุมชน คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 88
ระหว่างชุมชนและคณะทำงาน U2T ด้านสุขภาพ การรับรู้และเข้าใจสภาพ ชุมชนผ่านวิธีการ SWOT เพื่อให้แผนการดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย นอกจากนี้ ชุมชนยงั ได้รบั ทราบขอ้ มลู เพื่อการตดั สินใจและได้แนวทางในการ แก้ไขปัญหาของชมุ ชนอย่างยั่งยืน เพราะวิธีการที่ดำเนินการนั้นมาจากความ ต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง ซึ่งกระบวนการที่เกิดจากการมีส่วนร่วมนี้ไม่ เพียงทำให้แผนประสบผลสำเร็จแต่ยังส่งเสริมความรักและสามัคคีแก่ชุมชน ไดด้ ว้ ย 3.2.2 การรณรงค์ U2T Covid-19 Week กา้ วตอ่ ไป สู้ภัยโควดิ นอกเหนือจากการสำรวจและรายงานสถานการณ์โควิด-19 รายหมูบ่ ้านของตำบลทา่ ตุ้มแลว้ คณะทำงาน U2T ดา้ นสุขภาพยังจัดกิจกรรม ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เพื่อตระหนักในการป้องกันโรค Covid-19 ผ่าน กิจกรรม U2T Covid-19 Week ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23-31 พฤษภาคม 2564 ณ ลานขา้ งวดั หนองเกิด กจิ กรรมภายในงานประกอบดว้ ยการทำความ สะอาดพนื้ ท่ี การฆา่ เชอ้ื โรคและการปอ้ งกนั โรค ตามลำดบั มปี ระชาชนมารว่ ม เป็นจำนวนมาก Step 1 Clean Area เคลียร์เชื้อร้าย โรคถูกทำลาย คลี่คลายโควดิ การทำความสะอาดพื้นที่ต่าง ๆ พร้อมทั้งให้ความรู้ในการเฝ้าระวัง และป้องกันโรค ร่วมกับการทำงานเชิงรุกของภาครัฐเพื่อบรรเทาการแพร่ ระบาดของเชอื้ โควดิ -19 89
Step 2 สรา้ ง Safe Zone เขตปลอดภยั หา่ งไกลโควิด หลังจากการทำความสะอาดพื้นที่แล้ว คณะทำงานได้สร้าง พื้นที่ปลอดภัยสำหรับการดำเนินงานต่างๆ พร้อมทั้งขยายพื้นที่เขตปลอดภัย ให้ครอบคลุมทุกหมูบ่ า้ น ภาพที่ 32 กิจกรรมก้าวต่อไปสู้ภัยโควิด-19 การวิธีการสาธิตทำเจล ล้างมือสเปรย์แอลกอฮอล์และการทำน้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อ สามารถทำไว้ใช้เองในครัวเรือนและชุมชนได้ พร้อมทั้งแจก หน้ากากอนามัยให้กับชาวตำบลท่าตุ้ม เพื่อป้องกันการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) สร้างพื้นท่ี ปลอดภัยของชุมชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ คือ ตัวแทน อสม.ประชาชนที่สนใจ ณ บริเวณลานข้างวัดหนองเกิด เมือ่ วันที่ 31 พฤษภาคม 2564 90
Step 3 จัดหาเครื่องมือให้พอและพร้อม กับสถานการณ์ โควิด-19 การเฝ้าระวังสถานการณ์การแพร่ระบาดมีความจำเป็นต้อง ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ป้องกันเชื้อโรคที่มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อ ความต้องการ ดังนั้น ในขั้นตอนนี้คณะทำงานด้านสุขภาพจึงต้องจัดหา อปุ กรณ์ปอ้ งกนั เชื้อโรคเพอ่ื แจกจา่ ยแกช่ าวบ้าน และเพอ่ื รกั ษาความปลอดภัย แกบ่ ัณฑติ และประชาชนในพื้นท่ี ลกั ษณะของกิจกรรม ไดแ้ ก่ การสาธิตวิธีทำเจลล้างมอื สเปรย์ แอลกอฮอล์และนำ้ ยาฆ่าเชื้อ เพ่ือใหช้ มุ ชนมคี วามรู้และทักษะสำหรับผลิตเอง ในอนาคต รวมถึงการแจกหน้ากากอนามัยซึ่งเป็นปัจจัยขั้นต้นในการป้องกนั เชื้อโรค พร้อมกันนี้ได้มีการสาธิตวิธีกำจัดขยะปนเปื้อนเชื้อโรคอย่างถูกต้อง และปลอดภัย หลักการสำคัญในการป้องกันสุขภาพให้ห่างไกลจากโรค โควิด-19 ได้แก่ การสวมหน้ากากอนามัย การล้างมือบ่อยครั้งด้วยสบู่หรือ แอลกอฮอล์ และการรักษาระยะห่างระหว่างบุคคล กลุ่มเป้าหมายในการจัด กิจกรรมครั้งนี้ได้แก่ ตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน แต่ละ หมู่บ้านและประชาชนท่สี นใจเข้าร่วม จากสถานการณโ์ ควิดปจั จุบัน ทมี U2T ท่าตมุ้ ไดม้ กี ารสำรวจ โควดิ ในตำบลท่าตมุ้ เป็นประจำทุกเดือน และมีการมอบหนา้ กากอนามยั ให้กับ ครัวเรือนที่ได้รับการสำรวจ เพื่อเป็นการตระหนักให้ทุกคนในชุมชนป้องกัน ตนเองได้ลงพน้ื ทีส่ ำรวจ Covid-19 week ประจำเดอื นตงั้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนธันวาคม 2564 กิจกรรมเชิงรกุ โดยจะเน้นการลงพน้ื ที่เข้าไปในชมุ ชน หมู่บ้าน เก็บข้อมูล 20% ของหลังคาเรือน ประกอบด้วยการสำรวจ 4 หัวข้อ 91
หลัก ได้แก่ ที่พักอาศัย ตลาด ศาสนสถานและโรงเรียน โดยเข้าไปสอบถาม และเเนะนำแนวการปฏิบัติตัวเพ่ือสร้างความตระหนักในการดูแลและป้องกนั ตนเองภายในตำบลทา่ ตมุ้ ให้หา่ งไกลและปลอดภัยจากโควิด-19 ภาพที่ 33 กิจกรรมก้าวต่อไปสู้ภัยโควิด-19 การวิธีการสาธิตทำเจลล้างมือ สเปรย์แอลกอฮอล์และการทำน้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อสามารถทำไว้ใช้เอง ในครัวเรือนและชุมชนได้ พร้อมทั้งแจกหน้ากากอนามัยให้กับ ชาวตำบลท่าตุ้ม เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สร้างพื้นที่ปลอดภัยของชุมชนผู้เข้าร่วม กิจกรรมครั้งนี้ คือ ตัวแทน อสม. ที่สนใจ ณ บริเวณลานข้างวัด หนองเกดิ เมอ่ื วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564 3.2.3 การออกกำลงั กายเต้นแอโรบิกแบบไลนแ์ ดนซ์ คณะทำงานดา้ นสขุ ภาพสง่ เสริมสขุ ภาพชุมชนดว้ ยการออกกำลงั กาย เต้นแอโรบิกแบบไลน์แดนซ์ เพราะเป็นมติจากประชาคมขณะจัดทำแผน 92
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296