“บทเรียนและประสบการณ์จากการทำงานโครงการ U2T ต.ท่าตุ้ม อ.ป่าซาง จ.ลำพูน” นับแต่วันที่ท่านอาจารย์ณัฐกฤษฎ์ ผู้จัดการทีม U2T ท่าตุ้ม ได้ชักชวนให้ข้าพเจ้ามาขับเคลื่อนการทำงานพื้นด้วยกัน ซึ่งในขณะนั้นแจง้ วา่ เป็นพืน้ ท่ใี กล้ๆ มหาวทิ ยาลัย มารตู้ วั อีกทีทา่ นกไ็ ด้แจง้ วา่ “จงั หวดั ลำพนู นะครับ พน้ื ที่ตำบลท่าตมุ้ อาจจะไกลหนอ่ ยแต่มงี าน ด้านสิ่งแวดล้อมให้ช่วยขับเคลื่อน” ตนเองเกิดความกังวลขึ้นระดับหนึ่ง เนื่องจากขับรถไม่เป็นแต่คณาจารย์ในทีมก็แจ้งว่าเราจะลงพื้นที่ด้วยกัน เป็นหมคู่ ณะ จึงทำใหร้ ูส้ ึกลดความกงั วลลงไปได้บ้างแต่ก็ตดิ อกี นิดตรงท่ีเป็น คนทะเลเกรงว่าเวลาลงพบปะเสวนาจะฟังภาษาไม่ได้ความหมายครบถ้วน รำลึกถึงวัยเด็กนาน...มากมาแล้ว ข้าพเจ้าเคยมาจังหวัดลำพูนครั้งแรกเมื่อ สมยั เรยี นประถมมาเทย่ี วสวนลำไยขนาดใหญ่ของโกเกา๊ ซงึ่ เปน็ ชาวยองท่ีไป ค้าตาลในจังหวัดพิษณุโลกท่ีคุณปู่ของขา้ พเจ้าเอ็นดูให้ที่พกั (เป็นชื่อที่จำได้ สั้นๆ) และสำคัญในสมัยนั้น ลำไยลำพูนช่างมีรสชาติดีมากหวานหอมละมนุ ลิ้นถูกใจเด็กน้อยอย่างข้าพเจ้ามาก ครั้นวันน้ี...เมื่อได้มีโอกาสมาร่วมเป็น ฟันเฟืองเล็กๆ ขับเคลื่อนงานแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ตำบลทา่ ตุ้ม จึงไดส้ มั ผสั รบั รู้และซาบซ้ึงวา่ \" น้ำใจและความรักสามัคคีของชาวท่าตุ้มนั้นหอมหวานกว่าลำไย ยงิ่ นัก...\" 241
สำหรับข้าพเจ้าจะขอกล่าวถึงในส่วนของกิจกรรมด้านสิง่ แวดล้อม ที่รับผิดชอบพร้อมกับทีมย่อยซึ่งเป็นทีมที่มีตัวเลข ลูกหลานชาวลำพูน ผู้ขับเคลื่อนงานเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 3 คนบ้าง 2 คนบ้าง พอครึ่งปี จึงเพิ่มเป็น 4 และมาสุทธิท้ายปีท่ีเลข 5 คนคุณภาพ โดยในการขับเคลื่อน งานด้านสิ่งแวดล้อมนั้น ทีมจะเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะชาวชุมชน เริ่มจากการเก็บรายละเอียดข้อมูลชุมชนด้วยวิธีการ ต่างๆ ตั้งแต่การสังเกต รวมข้อมูลจาก อบต.การทำแบบสอบถาม กึ่งสัมภาษณ์กับแกนนำ อสม.ทุกหมู่บ้าน ที่สำคัญคือการทําประชาคม และจัดตั้งระเบียนแกนนำด้านสิ่งแวดล้อมประจำชุมชนทั้ง 14หมู่บ้าน โดยได้ขับเคลื่อนในแต่ละหมู่บ้านแยกส่วนกันไป เนื่องจากสถานการณ์ covid-19ที่ลุ่ม ๆ ดอน ๆ มาตลอดเกือบหนึ่งปีของระยะเวลาการดำเนิน โครงการและที่สุดทุกภาคส่วนได้ร่วมระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและ ตัดสินใจร่วมกันเลือกพัฒนางานสิ่งแวดล้อมในส่วนของการจัดการและคัด แยกขยะของชาวท่าตมุ้ โดยมลี ำดบั กิจกรรมโครงการทข่ี บั เคลือ่ นเพ่ือให้งาน ลลุ ว่ งได้แก่ 1. กิจกรรมการร่วมระดมความคิดวิเคราะห์ แนวทางแก้ไขปัญหา ด้านการจัดการขยะของแต่ละหมู่บ้าน พร้อมท้ังจัดทำระเบียนแกนนำด้าน ส่ิงแวดล้อมประจำชุมชนท้งั 14หมูบ่ า้ น เพอื่ รว่ มขับเคล่ือนงานในชว่ งต่อไป 2. กจิ กรรมการคดั แยกขยะภาคความรู้และการออกแบบถังขยะใน ครวั เรอื น โดยมีตัวแทนสมาชกิ ชุมชนทง้ั 14ชุมชนเข้ารว่ มกิจกรรม 242
3. กิจกรรมการร่วมคิดคำขวัญเพื่อการรณรงค์คัดแยกขยะประจำ หมู่บ้าน และจัดทำเป็นป้ายไวนิลขนาดใหญ่เพื่อรณรงค์บริเวณหมู่บ้าน ตลาด ตามแต่ที่ชาวชมุ ชนต้องการ 4. กิจกรรมกระตุ้นหนุนเสริมให้ชาวตำบลท่าตุ้มมีการจัดการและ คัดแยกขยะอย่างต่อเนื่อง ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การจัดทำคลิป การ์ตูน อนเิ มชั่น สือ่ สร้างสรรคแ์ ละส่งเข้าไปยัง Line ของสมาชกิ อสม. 5. กิจกรรมโครงการเสวียนรักษ์โลก โดยทีมได้พิจารณาเลือก ชมุ ชนบา้ นป่าตองเป็นชมุ ชนตน้ แบบดา้ นการจัดการขยะของตำบลทา่ ตุม้ 6. กิจกรรมโครงการเตาเผาขยะควันต่ำของหมู่บ้าน ๆ ละ 2 เตา เนื่องจากตำบลท่าตุ้มไม่มีพ้ืนท่ีฝังกลบขยะ เตาเผาขยะควันต่ำจึงเป็น นวัตกรรมทจ่ี ำเปน็ มาก 7. กิจกรรม บวร รักษ์ นิเวศ เป็นกิจกรรมเชื่อมโยงสามสถาบัน บ้าน วัด โรงเรียน ในหมู่คนสามช่วงวัย ให้มีจิตสาธารณะร่วมคัดแยกขยะ และอนุรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ณ วันน้ีเพลานี้ เป็นวันที่ 12 ธันวาคม 2564 ทีมสิ่งแวดล้อมได้ ทำงานสำเร็จลุลว่ งตามเป้าหมายทไ่ี ดว้ างแผนไว้ครบทกุ ประการ ซึง่ เป็นวันที่ ข้าพเจา้ ไดเ้ ขียนบรรยายความรูส้ ึกในการเข้ามาทำงานที่ ตำบลท่าตมุ้ แหง่ น้ี ตลอดเกือบหนึ่งปี ในอันดับแรก ขอกล่าวถึง ทีมฟันเฟืองเล็กๆ ซ่ึงเป็น ลูกหลานของชาวลำพูน มีความขยันขันแข็งร่วมด้วยช่วยกัน ทกคนทำงาน เตม็ กำลงั โดยเฉพาะในช่วงครึง่ หลงั ของปีขา้ พเจา้ ได้เหน็ ถงึ การเปลยี่ นแปลง ของสมาชิกในทีม ทุกคนมีพัฒนาการในด้านความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ ความ 243
กล้าคดิ กลา้ ตดั สินใจ มีการทำงานทเี่ ปน็ ระบบแบบแผนและมปี ระสิทธิภาพ ดีมาก อันดับที่ 2 ทีมรวม U2Tท่าตุ้ม ทั้งในส่วนคณาจารย์ บัณฑิต ประชาชนและนักศึกษา ทีมมีความรักใคร่สมัครสมานสามัคคีฉันท์พี่น้อง ครอบครัวเดียวกัน ต่างร่วมคิดร่วมทำร่วมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่าง สม่ำเสมอและทันท่วงที แม้ว่าเราจะมีความกดดันทั้ง สถานการณ์ Covid- 19และขัน้ ตอนการเบกิ จ่ายงบประมาณบางช่วงทล่ี า่ ช้าไปตามระบบ แตเ่ รา ทุกคนก็สามารถช่วยกันแก้ไขปัญหาและผ่านมาได้เป็นอย่างดีในทุกช่วง ทำให้งานทกุ ด้านเกิดประสทิ ธิผลสมดงั ความมุ่งหมาย และในลำดับสุดท้าย อันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด ขออนุญาตกล่าวถึง ชาวตำบลท่าตุ้มท่ี ข้าพเจ้าได้สัมผัส แม้อาจจะไม่ใช่สมาชิกทุกท่าน แต่เราก็มีโอกาสได้พบปะ เสวนากันหลากหลายกลุ่ม ทั้งในส่วนของท่านนายกและสมาชิก อบต.ท่าน ผู้ใหญ่บ้าน แกนนำหมู่บ้านและแกนนำด้านสิ่งแวดล้อม ท่านประธานและ สมาชกิ อสม.นายชา่ งผู้เชยี่ วชาญประจำหมบู่ ้านทง้ั 14ชมุ ชน สมาชิกชมุ ชน ทุกช่วงวัย ทั้งผู้สูงอายุ คนวัยทำงาน และเยาวชน ท่านผู้อำนวยการและ นักเรียนโรงเรียนวัดหนองเกิด ซึ่งนับว่าในการทำงานด้านสิ่งแวดล้อมนั้น ก่อเกิดความร่วมมือระหว่างสมาชิกชุมชนทั้ง 3 ช่วงวัย อีกทั้งยังมี องค์ประกอบครบใน 3 สถาบันหลัก ได้แก่ บ้าน วัด โรงเรียน “บวร” ซึ่งเป็นเบ้าหลอมรวมสานสายใยความศรัทธาความรักความสามัคคี อันเปน็ ความผูกพันที่วิเศษเป็นเลิศของชาวตำบลท่าตุ้ม ประกอบกับการทำงาน หลักรับใช้ชุมชนของ ทีม อบต.ทำให้ ชาวตำบลท่าตุ้ม อยู่ดีมีสุข มีความ ปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สินเสมอมา และเราต่างมุง่ หวงั ใหม้ ีความเสมอไป นบั จากน้ี 244
ทั้งนี้ ในการทำงานตลอด 1 ปี ทีมสิ่งแวดล้อมได้ขับเคลื่อนได้ ตามเป้าหมายลุล่วงเปน็ อย่างดียิ่ง ทีมขอกราบขอบพระคุณและขอขอบคณุ สมาชิกชุมชนชาวท่าตุ้มทุกท่าน ที่เราได้พยายามขับเคลื่อนงานการจัดการ และคัดแยกขยะเท่าที่สามารถทำได้ หากชุมชนคิดถึงกันระลึกนึกถึงกัน เมื่อใดที่มีขยะเกิดข้นึ ในมือ ในบ้านในพนื้ ท่ีชุมชน ทมี ขอใหส้ มาชกิ ชาวชมุ ชน ทุกท่านร่วมกันพัฒนาขับเคลื่อนงานด้านนี้ต่อไปอย่างต่อเนื่องไม่หยุดย้ัง และหวังอย่างยิ่งว่าทีมคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางจะมีโอกาส ได้รับความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจเช่นนี้จากทุกท่านอีกในปีต่อ ๆ ไปด้วย นะคะ อาจารยช์ ดั ’ คนทะเล 245
“บทเรยี นและประสบการณ์จากการทำงานโครงการ U2T ต.ทา่ ตมุ้ อ.ปา่ ซาง จ.ลำพูน” ตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน เป็นตำบลที่ข้าพเจ้าไม่ เคยรู้จักมาก่อนเลย เพียงแต่รู้จักอำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ตั้งแต่สมัย เป็นเด็ก ๆ ที่ผู้คนส่วนใหญ่เป็นชาติพันธ์ไทยยอง มีผ้าฝ้ายของชุมชนขาย ในราคาที่ย่อมเยาว์และมีคุณค่า เป็นที่ขึ้นชื่อ ลือเลื่องมานาน ในสมัยก่อน นั้นเป็นอำเภอหนึ่งที่เคยเป็นแหล่งท่องเที่ยวและด้วยชื่อเสียงเรียงนามของ สาวไทยยองอำเภอป่าซางที่งดงาม ดังท่ีอดีตนักร้องชื่อดังผู้ล่วงลับคือครู สุรพล สมบตั เิ จรญิ ไดแ้ ตง่ เพลง “ป่าซาง” และ “สาวปา่ ซาง” ไปขบั ร้องจน ทำให้ อำเภอป่าซางกลายเป็นที่รู้จักของผู้คนส่วนใหญ่ รวมถึงข้าพเจ้าเอง ด้วย พอได้ฟังเพลงนี้ทีไรต้องคิดทุกทีว่า เป็นอำเภอที่มีมนต์ขลัง มีสาวยอง ท่นี ่าตาสวยงาม มารยาทเรียบรอ้ ยและมอี ัธยาศยั ดี ก่อนที่จะเริ่มดำเนินโครงการ U2T ที่จะต้องไปทำงานขับเคลื่อน กิจกรรมในอำเภอป่าซาง ให้ข้าพเจ้านึกอยากจะไปทำกิจกรรมพัฒนาใน พื้นที่ทันที เพราะเชื่อมั่นพลังศรัทธาของของชาวไทยยองซึ่ง เป็นกลุ่ม ที่น่าจะมีโอกาสประสบความสำเร็จสูง ชาวบ้านน่าจะให้ความร่วมมือทุก กิจกรรม ที่สำคัญคือสามารถสื่อสารเป็นภาษา คำเมือง”ได้ ข้าพเจ้ากับ ดร.ณัฐกฤษฐ์ หัวหน้าโครงการ พากันออกจากมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง โดยใช้ GPS เป็นเครื่องมือนำทาง ใช้เวลาเพียง 1 ชั่วโมง จนในที่สุดก็มาถึง ตำบลท่าตุ้มตามเป้าหมาย แม้ว่าจะเป็นพื้นที่อยู่คนละจังหวัด แต่ใน ความรู้สึกของข้าพเจ้า เป็นตำบลท่ีไม่ได้ห่างไกลจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปางมากนัก เมื่อครั้งแรกทีมพวกเรามาพบเพื่อหารือกับท่านนายก อบต. ท่าตุ้ม ทา่ นปลัด ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล ได้มีโอกาส 246
พูดคุยกับผู้นำชุมชนและลงพื้นที่ศึกษาชุมชน ยิ่งรู้สึกมีแรงบันดาลใจ ที่อยากจะมีส่วนร่วมทำงานโครงการ U2T ให้สำเร็จ เนื่องจากมองเหน็ พลงั เชิงบวกในพื้นที่ ซึ่งมีสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่ ผสานไปกับผู้คนที่มีอัธยาศัย มีน้ำใจดี มีอักลักษณ์ทางวัฒนธรรมประจำถิ่น อีกทั้งความพร้อมในความ ร่วมมือจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นแรงผลักดันสำคัญในกิจกรรม ต่าง ๆ ใหเ้ กดิ ขึน้ ในชุมชนรว่ มกนั แม้ว่าในช่วงระยะเวลา 1 ปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ไม่ยาวนานนัก การดำเนินกิจกรรมการพัฒนาร่วมกับทีม U2T ในตำบลท่าตุ้ม จะต้องฝ่า อุปสรรคภายใต้สถานการณ์ระบาดของไวรัส Covid 19ทำให้แผนงาน กิจกรรมหลายอย่างไม่สามารถขับเคลื่อนไปได้เต็มรูปแบบ บางกิจกรรม ไม่สามารถดำเนินการได้เลย เช่น การรื้อฟื้นและเสริมเสริมเยาวชนอนรุ ักษ์ วัฒนธรรม การรวมกลุ่มเพื่อฟื้นฟูดนตรีพื้นบ้านของกลุ่มผู้สูงอายุ การนวด แผนไทยใส่ใจสุขภาพ การอบรมและพัฒนาสุขภาพจิตโดยวิธีฝึกสมาธิ การสง่ เสริมปลูกผกั ปลอดสารอาหารปลอดภยั การสร้างแกนนำดแู ลสุขภาพ และเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพในชุมชน แต่อย่างไรก็ตามด้วยความมุ่งมั่นของ อาจารย์ทีม U2T ทุกท่าน ทีมน้อง ๆ ร่วมกันทำงานในพื้นที่อย่างแข็งขัน อกี ทงั้ ความร่วมมือของหนว่ ยงานในทอ้ งถนิ่ และทส่ี ำคญั เห็นพลงั ความสมัคร สมาน สามัคคีของผู้คนในชุมชน เป็นพลังเชิงบวกที่สำคัญอย่างยิ่งที่ทำให้ กจิ กรรมหลกั ๆ ของโครงการ U2T ทา่ ตุ้มเกิดความสำเรจ็ ไปได้อยา่ งราบรื่น แม้ว่าพวกเราทีมราชภัฏจะลงมาขับเคลื่อนกิจกรรมในพื้นที่เป็น ระยะเวลาไม่นานนัก แต่ก็รู้สึกเกิดความประทับใจและอยากที่จะต่อยอด กิจกรรมโครงการอีกหลายด้านที่ยังไม่แล้วเสร็จ ที่ผ่านมาหลาย ๆ กิจกรรม ทำให้ทีมเราได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกับชุมชน อีกทั้งได้เข้ามา เติมเตม็ กิจกรรมในมติ ทิ างเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ ส่ิงแวดล้อมและมิติทาง ประวัติศาสตร์ มิติต่างๆ เหล่านี้จะเป็นกลไกลขับเคลื่อน การพัฒนาโดยใช้ 247
กระบวนการร่วมมือชุมชนได้ทั้งปัจจุบันและอนาคต หลายกิจกรรม ที่สามารถดำเนินการได้ เราเป็นพลังเชิงบวกของคนในชมุ ชนสมัครเขา้ มามี ส่วนร่วมด้วยความตั้งใจ อย่างกรณีโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ มผี ู้คนแตล่ ะหมบู่ ้านให้ความสนใจเป็นจำนวนมาก หรือโครงการสนิ ค้าโอทอ ปของชมุ ชน เปน็ การจดุ ประกายแนวความคิดที่นำภูมปิ ัญญามาต่อยอดเพ่ือ สร้างอาชีพและรายได้เพิ่มขึ้น ตัวอย่างการผลิตเทยี นหอมของคุณพ่อบุญยงั นำ้ พรกิ ลาบเมือง หรอื ผลติ ภัณฑผ์ ้าทอมือหรือสนิ คา้ อ่ืน ๆ ทย่ี ังมกี ารผลติ อยู่ ในชุมชนอย่างมากมาย หากออกแบบผลติ ภัณฑ์ที่ดีและได้พัฒนาตัวสินค้าที่ มีคุณภาพมาตรฐานเพิ่มขึ้น อีกทั้งมีการประชาสัมพันธ์ผ่านข่องทาง การตลาดที่หลากหลาย จะทำให้มีโอกาสจำหน่ายสินค้าเพิ่มขึ้นจะเป็นการ ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากได้อย่างยั่งยืน ในขณะที่กิจกรรมการพัฒนา สิ่งแวดล้อม อย่างเช่นการกำจัดขยะและสิ่งปฏิกูลซึ่งเป็นปัญหาหลักของ ชุมชนที่ต้องการแก้ไข เราได้จัดทำแผนร่วมกันชุมชนและมองเห็นถึงทุน ในชุมชนหลายด้านที่จะนำมาใช้บริหารจัดการ ทั้งทรัพยากร การจัดการ การเสียสละแรงงาน การระดมความคิดเห็น รวมถึงการแก้ไขปัญหาตาม ที่แต่ละชุมชนต้องการ ซึ่งแต่ละกิจกรรมเป็นการสรา้ งบทเรียนให้เกดิ ข้นึ กับ คนในชุมชน ได้มีโอกาสเข้ามาวางแผน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจและ ดำเนินการร่วมกัน เชื่อว่า กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอาจนำไปสู่การพัฒนา คุณภาพชวี ติ ของประชาชนในตำบลทา่ ตุ้มอย่างยงั่ ยืนได้ ของดีท่าตุ้มยังมีอีกหลายประการ ที่สามารถยกระดับมาใช้เป็น พลังในการพัฒนาได้ ไม่ว่าจะเป็นมิติทางประวัติศาสตร์ ความเชื่อ ความ ศรัทธาซึ่งเป็นมิติทางจิตวิญญาณของคนในชุมชนที่มีร่วมกันอย่างไม่เสื่อม คลาย ดังสะท้อนให้เห็นว่าในแต่ละชุมชนจะมีหอเสื้อบ้าน ซึ่งเป็นสิ่งยึดโยง เกี่ยวพันธก์ ับรากลกึ ทางประวัติศาสตร์ ศีลธรรม เป็นส่ิงที่กำหนดกรอบการ ประพฤติปฏิบัติของคนในชุมชนและที่เด่นชัดคือ อนุสาวรีย์เจ้าแม่จามเทวี 248
ที่ตั้งอยูห่ น้าวัดนางเกิ้ง มองเห็นเดน่ ตระหงา่ นก่อนเข้าสูต่ ำบลท่าตุ้ม เป็นสงิ่ หล่อหลอมความภาคภูมิใจของชาวตำบลท่าตุ้ม ให้เกิดความรัก ความ สามัคคี ซึ่งสะท้อนจากการจัดกิจกรรมตามประแพณีของแต่ละตำบลหรือ แต่ละหมู่บ้านอยา่ งไม่มีความเสื่อมคลาย มิติทางชาติพันธ์ไทยยอง ที่อาจไม่ เป็นภาพการแต่งกายแบบยองที่สะท้อนถึงอัตลักษณ์ อย่างชัดเจนตามยุค สมัย นอกจากภาษาพูดและสำเนียงที่ยังพบได้ทั่วไป ข้าพเจ้าคิดว่ายัง สามารถรื้อฟื้นศิลปวัฒนธรรม ประเพณีต่างๆ เหล่านี้ขึ้นมาใหม่ได้ อย่างน้อยมันอาจกลายเป็นสิ่งที่ตอบโจทย์การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมเชิง อนุรักษ์ ซึ่งสัมพันธ์กับมิติทางสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะพื้นที่สาธารณะของ ตำบลที่ยังสามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจของ ผู้คนในชุมชนและใกล้เคียง ทั้งนี้ยังจะสามารถยกระดับกิจกรรมการพัฒนา ที่เชื่อมโยงสู่ประเด็นต่าง ๆ ได้อีกอย่างหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสวน สมุนไพรเพื่อสุขภาพ สวนอนุรักษ์พันธ์ไม้พื้นเมืองหายาก สวนพุทธธรรม นำชีวิต สู่สุขภาพชุมชน ตลาดปลอดสาร อาหารปลอดภัย การพัฒนาและ ระดับปราชญ์ชุมชน และแนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนเพื่อการ พึ่งพาตนเองในระดับตำบล ซึ่งประเด็นต่าง ๆ เหล่านี้ยังเป็นสิ่งที่ข้าพเจ้า ยังมีแรงปรารนาที่จะเห็นภาพให้เกิดขึ้น ผ่านการวิจัยและต่อยอดฐาน กิจกรรมความฝันเป็นจริง ภายหลังจากที่โครงการ U2T สิ้นสุดไปแล้ว คงต้องฝากความหวังไว้กับทีมน้องทีม U2T ผู้นำชุมชนและแรงร่วมมือ รว่ มใจจากพ่นี อ้ งชาวบ้านในตำบลทา่ ตมุ้ ท่ีจะขบั เคลือ่ นต่อไปในอนาคต นับว่าใน 1 ปีที่ผ่านมาแม้เป็นระยะเวลาไม่ยาวนานนัก กิจกรรม ของโครงการ U2T ประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง ด้วยความร่วมมือจาก หลากหลายภาคี อาทิ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง องค์การบริหารส่วน ตำบลท่าตุ้ม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพมงคลชัย พัฒนาชุมชนอำเภอ ป่าซาง องค์กรภาคธุรกิจในชุมชน ผู้นำชุมชนทุกท่าน อาสาสมัคร 249
สาธารณสุขชมุ ชน กลมุ่ สตรีแม่บา้ นและที่สำคญั ชาวบา้ นท่าตมุ้ ที่มีน้ำใจและ รอยยิ้มด้วยมิตรไมตรีที่ดีย่ิง ข้าพเจ้าเห็นความตั้งใจอย่างแน่วแน่ของพี่น้อง ชาวบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรมอย่างมากล้น แล้วรู้สึกว่ามันเป็นพลังความ ร่วมมืออย่างเข้มแข็งที่อยากให้ชุมชนรักษาและยึดมั่นในอุดมการณ์เช่นน้ี ให้มั่นคงและยาวนานตลอดไป เพราะนั่นหมายถึงจะเป็นรากฐานให้ชุมชน ชาวยองท่าตมุ้ ดำรงอตั ลักษณท์ างชาติพันธท์ ี่ไม่มีวนั เส่อื มคลาย ขอชื่นชมทีม U2T ต.ท่าตุ้มทุกท่าน ที่ตั้งใจทำงานกันอยา่ งแขง็ ขนั อย่างน้อยทุกคนก็ได้เรียนรู้หลักและวิธีการทำงานกับชุมชนแต่ละด้าน ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่ดีสำหรับชีวิต ณ ห้วงเวลาหนึ่ง ที่อาจสามารถนำไป ประยุกต์ใช้และต่อยอดการทำงานในอนาคน ขอบคุณอย่างยิ่งสำหรับ ดร.กฤษฐ์ ดร.ชัด ดร.นาย ดร.ต๋อม ดร.นัท ที่ร่วมเป็นแรงผลักดันให้เกิด โครงการ U2T และโครงการดี ๆ สำหรับตำบลท่าตุ้มอย่างไม่รู้จัก เหน็ดเหนื่อย สุดท้ายนี้ขอบุญบารมีเจ้าแม่จามเทวี วีรสตรีของชาวเมือง ลำพูน อำนวยพรและคุ้มครองทุกท่านให้มีความสงบสุข ร่มเย็น ประสบ ผลสำเร็จในชวี ติ ตามส่งิ พ่ึงปรารถนาทุก ๆ ประการ คุณปน่ิ “ผา้ ฝ้ายงาม ลำไยดี ผู้คนมีนำ้ ใจ ฮว่ มสูภ้ ยั ภัยจาก Covid 19” “รว่ มคดิ วางแผนชมุ ชน สู่ตำบลผลติ ภณั ฑ์ ร่วมมือแข่งขันออก กำลงั กาย สร้างจิตแจ่มใส ร่างกายสมบูรณ”์ “สาวงามกลางใจ๋ ผ้าฝ่ายลือเลอ่ื ง เฟอ่ื งฟูลำใย พลงั น้ำใจของ ชาวทา่ ตุม้ ” 250
ถอดบทเรียน ความรู้ และประสบการณ์ การได้เข้าร่วมโครงการ U2T ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และชมุ ชนท่าตุม้ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพนู ทำให้เราสองคนได้เหน็ ปัจจยั สำคัญประการหนง่ึ ที่จะเป็นตัวผลกั ดันความสำเรจ็ อยา่ งยง่ั ยนื ของชมุ ชน ปัจจัยที่ว่าน้ัน คือ ความเสียสละและการเห็นแก่สว่ นรวม จากการ สัมภาษณ์ผู้นำกลุ่มผลิตสินค้าชุมชน เราพบว่าบุคคลทั้งหลายเหล่านี้ไม่ได้ คิดทำเพื่อประโยชน์ของตนเอง แต่มองไกลไปถึงอนาคตของลูกหลาน การสรา้ งงาน สร้างอาชพี ยอ่ มนำมาซึ่งรายได้ท่แี นน่ อนและสม่ำเสมอ ดงั นัน้ การทผี่ ้นู ำกล่มุ ผลติ ภัณฑ์ชุมชนทงั้ หลายตอบรบั และเขา้ ร่วม โครงการ U2T นี้ ท่านเหล่านั้นไม่ได้เพียงสวมหัวใจสิงห์พร้อมจะตะลุย อุปสรรคไปพร้อมกับคณะทำงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง แต่ยัง ได้สร้างหนทางสำหรับการทำมาหากินไว้ใหแ้ ก่ลูกหลานในชมุ ชน เราสองคน จงึ รสู้ กึ เลอ่ื มใสและขอคารวะในจติ ใจอันเสยี สละของทกุ ทา่ นมา ณ โอกาสนี้ ทัตพชิ า และภาณวุ ัฒน์ สกลุ สบื 251
เมื่อชุมชนกลายเป็นห้องปฏิบัติการ สรรพวิชาจึงได้บูรณาการเข้ากับ พื้นที่อย่างมีสีสัน: ถอดบทเรียนการทำงานของครูภาษาไทยในฐานะ นักพฒั นาผลติ ภัณฑช์ ุมชน อาจารยภ์ าณุวฒั น์ สกลุ สืบ1 อาจารย์ทัตพชิ า สกลุ สบื 2 บทนำ การจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรภาษาไทยในยุคปัจจุบัน นอกจากจะมีการบูรณาการเขา้ กบั กิจกรรมพฒั นานักศกึ ษา การทำวิจยั การ ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมแล้ว การบูรณาการเข้ากับงานบริการ ว ิ ช า ก า ร ก ็ เป ็ น อี ก ก ิ จ ก ร ร ม ห น่ึ ง ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ให้ความสำคัญ ทำให้คณาจารย์ของ สาขาวิชาภาษาไทย(ศศ.บ.) และ สาขาวิชาภาษาไทยและการสื่อสาร ชาวต่างประเทศ ได้จัดกิจกรรมบริการ วิชาการให้แก่ชุมชนและสังคมมาอย่าง ต่อเนื่อง ดังปรากฏในชื่อโครงการ กัลยาณมิตรทางวิชาการที่จัดมาเป็น ครั้งที่ 15 แล้วของสาขาวิชาภาษาไทย เพือ่ การสือ่ สาร ภาพปก e-book เอกสารเผยแพร่การจดั การความรู้ (KM) ปี พ.ศ. 2562 ของสาขาวิชาภาษาไทย (ศศ.บ.) 1 อาจารยป์ ระจำสาขาวชิ าภาษาไทย (ศศ.บ.) คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำปาง 2 อาจารยป์ ระจำสาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการส่อื สารสำหรบั ชาวตา่ งประเทศ คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลำปาง 252
สำหรับชาวต่างประเทศหรือโครงการซึ่งปรากฏผลงานบริการวิชาการ ที่โดดเด่นระดับคณะ/สำนัก ที่จัดโดยสาขาวิชาภาษาไทย (ศศ.บ.) ในปี การศึกษา 2563 ที่ผ่านมา คือ โครงการส่งเสริมความรัก ความสามัคคี ความมีระเบียบวินัย เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่นภายใต้พื้นฐาน ของสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข วัดบ้าน กิ่วหลวง ต.บ้านกิ่ว อ.แม่ทะ จังหวัดลำปาง ที่ได้บูรณาการกิจกรรมพัฒนา นักศึกษากับงานบริการวิชาการเข้ากับการเรียนการสอนในรายวิชา วิวัฒนาการอักษรและอักขรวิธีภาษาไทย รายวิชาคติชนวิทยาและรายวิชา การเขียนบันเทิงคดีและสารคดี ผลการดำเนินงานนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง หลายประการในพื้นที่ เช่น เกิดการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานท่ีถูกต้องตามหลกั วิชาการ เกิดการทำงานด้านวัฒนธรรมท้องถิ่นโดยกลุ่มผู้สูงอายุและ กลุ่มเยาวชนทรี่ ว่ มกัน สรา้ งผา้ หอ่ คมั ภรี ใ์ บลานซึ่งองค์ความร้นู ้ไี ด้ขาดหายไป จากชุมชนบ้านกิ่วไปไม่น้อยกว่า 50 ปี ให้กลับมาอีกครั้งและผลจาก การดำเนินงานที่บูรณาการกับรายวิชาต่าง ๆ ของสาขาวิชากับงานบริการ วิชาการนี้เอง ทำให้สาขาวิชาภาษาไทย (ศศ.บ.) ได้รับการคัดเลือกให้เป็น สาขาท่ีมีแนวปฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) ในการบรู ณาการการจัดการ เรียนการสอนเข้ากับกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรม พัฒนานักศึกษาและการบริการวิชาการของคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏลำปาง ในปี พ.ศ.2562-2563 ต่อเนื่องกัน ฉะน้ัน จึงอาจกล่าวได้ว่าการทำงานเชิงพื้นที่หรือการบริการวิชาการแก่ชุมชนและ สังคมของคณาจารยส์ าขาวชิ าภาษาไทยจึงไม่ใชเ่ ร่ืองใหม่ แตเ่ ป็นการทำงาน 253
ที่มีความเชี่ยวชาญจากประสบการณ์และสามารถชี้วัดความสำเร็จได้จาก หลักฐานเชิงประจักษ์ คือ ความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นของคนในพ้ืนท่ี นนั่ เอง ภาพ e-book เอกสารเผยแพร่การบูรณาการการจดั การเรยี นการสอนเขา้ กบั โครงการบริการวิชาการ ในปี พ.ศ.2563 ของสาขาวชิ าภาษาไทย (ศศ.บ.) คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ม.ราชภัฏลำปาง อย่างไรก็ดี การทำงานในโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม รายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏลำปาง ในปีการศกึ ษา 2564 นี้ นับว่าเป็นความท้าทายใหม่ของการ ทำงานเชิงพื้นที่ของทีมคณาจารย์เป็นอย่างมาก ด้วยเพราะเรามีข้อจำกัด เกี่ยวกับการเดินทางที่ต้องรออนุมัติ / ติดตามประกาศการเดินทาง ข้ามจังหวัด อันเนื่องมาจากมาตรการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดจากโรค โควิด-19 และไม่สามารถนำนักศึกษาในรายวิชาต่าง ๆ ลงพื้นที่เพื่อร่วม ดำเนินกจิ กรรมต่าง ๆ ดังที่ผ่านมา แต่ก็ได้คนในพื้นท่ี คือ กลุ่มผูร้ ับจา้ งงาน 254
เป็นผู้ร่วมดำเนินการแทน จึงนับเป็นการยกระดับการบริการวิชาการของ คณาจารยม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั ลำปางในอกี ข้ันหน่งึ การส่ือสาร คอื กญุ แจสำคัญในการขบั เคลื่อนการทำงานในพ้นื ที่ หลังจากที่พวกเราได้ตกลงใจเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานใน โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พื้นที่ตำบลท่าตุ้ม อำเภอ ป่าซาง จังหวัดลำพูนหรือเรียกอีกอย่างว่า U2T ท่าตุ้ม ซึ่งมีพื้นที่ทำงาน รวมกันมากถงึ 14 หมบู่ า้ นดว้ ยกัน ประกอบกบั การได้รับผลกระทบจากการ แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ทำให้ไม่สามารถลงพื้นที่ได้อย่างต้องการ ทำใหท้ ีมคณาจารยต์ อ้ งระดมความร้แู ละประสบการณ์การทำงานในพ้ืนทมี่ า แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างกลไกขับเคลื่อนงานกับทีมผู้รับจ้างงาน ซึ่งประกอบด้วยทีมบัณฑิต ทีมประชาชนและทีมนักศึกษา ให้ได้เร็วที่สุด ในฐานะที่เป็นผู้สอนภาษาไทยในรายวิชาภาษาไทยกับการสื่อสารองค์กร ภาษาเพื่อโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ ภาษาไทยธุรกิจและคติชนวิทยา ที่ฝึกฝนการทำงานในภาคสนาม จึงได้ร่วมกันออกแบบการทำงานในพื้นที่ ต.ท่าตุ้ม อ.ป่าซาง จ.ลำพูน โดยเริ่มจากสร้างกลไกการสื่อสารให้กับทีม ผู้รับจ้างทำงานและเพื่อสร้างช่องทางในการแจ้งข่าวสารหรือความ เคลื่อนไหวต่าง ๆ ในโครงการ U2T ท่าตุ้มให้คนในพื้นที่ได้รับรู้ อย่างแพร่หลายและรวดเร็วมากที่สุด ผู้เขียนจึงได้ใช้แอปพลิเคชัน ท่ีสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ของผู้คนในพ้นื ทใ่ี นหลายรูปแบบ ดงั นี้ 255
1. เชื่อมโยงและเปิดพื้นที่การส่งข้อมูลการทำงานผ่าน แอปพลเิ คชันเฟซบุก๊ (กลมุ่ ปิด) ภาพการประชมุ ทีม U2T ทา่ ตุ้มคร้ังที่ 1 ผา่ นระบบแอปพลิเคชันเฟซบกุ๊ วันท่ี 30 มกราคม 2564 256
การทำงานร่วมกันจำเป็นที่ทุกคนจะต้องรู้จักกันในเบื้องต้น เสียก่อน แต่ด้วยมาตรการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ ไม่สามารถเดินทางระหวา่ งจังหวดั ลำปางและลำพนู ได้สะดวกมากนกั อีกท้ัง การจัดประชุมต่าง ๆ จะต้องรอการอนุญาตจากหน่วยงานราชการระดับ จังหวัดเสียก่อน การจัดประชุมออนไลน์และการใช้แอปพลิเคชันที่เข้าถึง ได้ง่ายจึงเป็นสิ่งจำเป็น ทีม U2T ท่าตุ้มจึงได้สร้างกลุ่มปิดในเฟซบุ๊กขึ้นมา เพอ่ื ใชเ้ ป็นทป่ี ระชุมออนไลน์รว่ มกนั โดยกิจกรรมทีจ่ ัดขนึ้ ในครั้งแรกเกิดขึ้น ในวันที่ 30 มกราคม 2564 เป็นการเปิดโอกาสให้คณะทำงานในพื้นท่ี ซึ่งประกอบด้วยบัณฑิต ประชาชน และนักศึกษา ได้กล่าวทักทายและ แนะนำตัวเองให้กับทุกคนในทีมได้รู้จักกันในเบื้องต้น และใช้เป็นพื้นที่ ส่วนกลางในการพูดคุยเพื่อนัดแนะการทำงาน เช่น การจัดแบ่งทีม ประชาสัมพันธ์ข้อมูลโครงการ U2T ใน 14 หมู่บ้านของตำบลท่าตุ้ม และ ใช้เปน็ พืน้ ทโี่ พสรูปกิจกรรมในแต่ละสัปดาหข์ องแตล่ ะทมี อกี ดว้ ย สำหรับเหตุผลของการใช้เฟซบุ๊กกลุ่มในแบบจำกัดการเข้าถึงนั้น มีเหตุผลมาจากความต้องการใช้พื้นที่สำหรับเป็นแหล่งเก็บข้อมูลภาพและ ข้อมูลวีดีโอที่บันทึกการทำงานของแต่ละกลุ่มที่เข้าถึงได้ง่ายและทุกคน สามารถใช้ได้โดยไม่ยุ่งยากเกินไป และเหตุผลประการสำคัญอีกประการ ก็คือ เพื่อใช้เป็นแหล่งคัดกรองข้อมูลข่าวสารก่อนที่จะให้สมาชิกในกลุ่ม U2T ทา่ ตุม้ ได้นำไปแชร์ผา่ นเฟซบุ๊กสว่ นตัวและในเพจเฟซบกุ๊ ของกลุ่มต่างๆ ในทอ้ งถ่นิ จงั หวดั ลำพูน แตย่ ง่ิ ไปกว่านค้ี อื เป็นการสรา้ งกลไกการติดตามงาน 257
และเป็นช่องทางสำหรับรายงานผลการทำงานให้เป็นไปตามแผนของแต่ละ ทมี ท่ไี ด้วางไวอ้ ีกด้วย 2. เพิ่มลูกเล่นการสื่อสารข้อมูลโครงการให้น่าสนใจผ่าน จดหมายข่าวท่าต้มุ ฉบบั E-Book นอกจากการจัดทำคอนเทนต์ผ่านรูปกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว ผู้เขียน ได้ใช้ประสบการณ์จากการทำวารสารออนไลน์ที่สอนนักศึกษาในรายวิชา การเขยี นบันเทิงคดีและสารคดี มาเพ่ิมความนา่ สนใจใหก้ ับการสอ่ื สารข้อมูล โครงการผา่ นแอปพลิเคชนั pubhtml5 โดยจุดมงุ่ หมายของการทำจดหมาย ข่าวท่าตุ้มนั้น นอกจากจะใช้เป็นสื่อกลางในการสร้างการรับรู้และบอกเล่า เรื่องราวความเคลือ่ นไหวตา่ ง ๆ ที่ทีม U2T ท่าตุ้มไดด้ ำเนินงานในพื้นที่ 14 หมู่บ้านในระบบออนไลน์แล้ว ยังใช้เป็นข้อมูลสำหรับรายงานการทำงาน ของทีมในระบบแอปพลิเค-ชันไลน์ (line) ให้กับกลุ่มผ้บู ริหารและข้าราชการ ขององค์การบริหารส่วนตำบล ต.ท่าตุม้ และกลุ่มผูใ้ หญ่บ้านทั้ง 14 หมู่บ้าน กลุ่มอสม.ท่าตุ้ม กลุ่ม อว.ส่วนหน้า(lpru) และทีมของผู้จัดการโครงการ U2T ในพื้นที่อื่น ๆ ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางรับผิดชอบ ซึ่งนิยมอ่าน ขอ้ มลู ผ่านแอปพลิเคชันไลน์มากกว่าเฟซบุ๊ก 258
ภาพตวั อยา่ ง e-book จดหมายขา่ วท่าตมุ้ ในหน้าสุดทา้ ยของแตล่ ะฉบับจะมคี วิ อาร์โคด้ ของเอกสาร เผยแพร่หมายเลข 1 ทแ่ี นะนำข้อมลู เบ้อื งตน้ ของคณะทำงาน U2T ทา่ ตุ้ม และจดหมายข่าวท่าต้มุ ฉบับยอ้ นหลงั (มที ้งั ส้ิน 15 ฉบับ) นอกจากนีก้ ารมจี ดหมายข่าวท่เี ป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลการทำงาน ในแต่ละสัปดาห์ยังเป็นส่วนช่วยให้ผู้รับจ้างงานซึ่งประกอบด้วยบัณฑิต ประชาชน และนักศึกษาได้ใช้เป็นบันทึกช่วยจำสำหรับนำไปเขียน เปน็ รายงานการทำงานในแต่ละเดือนของตนเองไดอ้ กี ด้วย 3. เสยี งตามสาย คอื ชอ่ งทางการสอ่ื สารทีไ่ ม่อาจมองข้าม แม้แอปพลิเคชันที่ใช้ในการสื่อสารในยุคปัจจุบันจะมีหลากหลาย ช่องทางแต่การประกาศเสียงตามสายในหมู่บ้านก็ยังเป็นสื่อหลักที่สามารถ เข้าถึงผู้คนในชุมชนได้ในวงกว้างเช่นเดิม โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีปัญหา 259
ทางสายตา ซึ่งไม่สะดวกอ่านข้อมูลจากแปพลิเคชันไลน์หรือเฟซบุ๊ก ผ่านโทรศัพท์มือถือ และจากประสบการณ์การสอนในรายวิชา คติชนวิทยา และการลงพื้นที่เก็บข้อมูลวิจัยภาคสนามที่พบว่า การเริ่มต้นจากการเยี่ยม คารวะเจ้าของพื้นที่และการสื่อสารข้อมูลผ่านการประกาศเสียงตามสายใน หมู่บ้านจะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่คณะทำงานในพื้นที่ทั้งยังช่วยลด ชอ่ งว่างระหว่างคนนอกพ้นื ทีแ่ ละคนในพื้นท่ีได้อกี ดว้ ย ภาพและขอ้ มลู กจิ กรรมการลงพ้ืนที่ ทัง้ 14 หมบู่ ้าน เพ่อื แนะนำคณะทำงานและแนะนำโครงการ U2T ในพ้นื ทท่ี ่าตุ้ม ผ่านการประกาศเสยี งตามสายของทีมบัณฑิตและประชาชน ระหว่างวันท่ี 2-7 กุมภาพนั ธ์ 2564 ฉะนั้น เพื่อเป็นการแนะนำคณะทำงานและกล่าวเชิญชวน ใหช้ าวท่าตุม้ ได้เขา้ มามสี ว่ นร่วมในเวทรี ะดมความคดิ เกี่ยวกับความคาดหวัง และแนวการทำงานของโครงการ U2T ท่ีจะจัดขึ้นในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 260
2564 ผู้เขียนจึงได้มอบหมายให้ทีมบัณฑิตและทีมประชาชนซึ่งอยู่ในพื้นท่ี ได้เข้าพบผู้ใหญ่บ้านของตำบลทั้ง 14 หมู่บ้าน เพื่อเป็นการคารวะและ แนะนำตัวคณะทำงานพร้อมกับชี้แจงข้อมูลโครงการที่จะเกิดขึ้นใน 11 เดือนนี้ พร้อมทั้งขอโอกาสจากผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้านได้อนุญาตให้ใช้เสียง ตามสายเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ U2T ท่าตุ้มให้ประชาชนทุกหมู่บ้าน ได้รู้จัก และก่อนที่จะได้มีการประกาศเสียงตามสายในระหว่าง วันที่ 2-7 กุมภาพันธ์ 2564 นั้น ผู้เขียนได้ฝึกฝนแต่ละทีมให้เขียนสคริปต์ที่จะใช้ ในการพูดผ่านการประกาศเสยี งตามสายเสียกอ่ นและให้แต่ละคนได้ทดลอง ฝึกพูดให้ฉะฉาน ผ่านการประชุมบนระบบออนไลน์ในแอปพลิเคชันเฟซบุ๊ก ของกลมุ่ โดยการฝึกพดู น้ีจดั ขึ้นในวนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 และผลจากการ ประกาศเสยี งตามสายของทีม U2T ท่าตุ้มนีเ้ องช่วยให้การลงพืน้ ทเ่ี กบ็ ขอ้ มลู ตำบลโปรไฟล์ (Tambol Profile) ในเวลาต่อมาอกี ด้วย ครูภาษาไทยกบั การพฒั นาผลิตภัณฑช์ ุมชน การเข้าร่วมโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบ บูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) หรือที่ต่อมาใช้ชื่อว่า โครงการ ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ (University to Tambol: U2T) ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏลำปางนี้ ผู้เขียนรับผิดชอบในการวางแผนและดำเนินกิจกรรมใน ส่วนของการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนของตำบลท่าตุ้มหรือเรียกในอีก ชื่อหนึ่งว่า “ทีม otop” โดยเป้าหมายในการของทีมคือ พัฒนาผลิตภัณฑ์ 261
ในชุมชนอย่างน้อย 5 ผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ และในจำนวนนี้ต้องผ่านการ รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนหรือ มผช.อย่างน้อย 3 ผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้คือ การเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เข้าร่วม การยกระดับกับโครงการ U2T ท่าตุ้มในระบบออนไลน์ซึ่งน่าจะสอดคล้อง กบั วถิ ชี วี ิตใหม่ (new normal) และเปน็ ทางออกที่ดีของการจำหน่ายสินค้า ในยุคที่มีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สำหรับแผนการดำเนินกิจกรรม เพ่อื ยกระดบั ผลิตภณั ฑช์ ุมชนมดี งั น้ี แผนภาพแสดงขนั้ ตอนการทำงานของกลมุ่ ยกระดบั ผลิตภณั ฑช์ ุมชน (กลมุ่ Otop) สำหรับขั้นตอนการทำงานของกลุ่ม ผู้เขียนจะไม่ขอกล่าวซ้ำอีก เพราะรายละเอียดต่าง ๆ ได้แสดงไว้แล้วในบทที่ 4 การยกระดับเศรษฐกิจ 262
เพื่อพิชิตภัยโควิด บทที่ 6 ถอดบทเรียนคณะทำงานโครงการ U2T และใน เอกสารเผยแพร่ของโครงการ U2T ท่าตุ้ม คือ จดหมายขา่ วท่าตุ้ม (E-Book) ซึ่งผู้สนใจสามารถเปิดอ่านไดเ้ พียงสแกน QR Code ที่ได้แสดงไวใ้ นหนงั สอื “ท่าตุ้มผลิบาน” แล้วเช่นกัน ในหัวข้อนี้จึงมุ่งนำเสนอวิธีการทำงานเพ่ือ ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์ชุมชนโดยบูรณาการองค์ความรจู้ ากการสอนในสาขาวชิ า ภาษาไทย โดยคาดหวังว่าข้อมูลต่าง ๆ จะเป็นแนวทางให้กับผู้ที่สำเร็จ การศึกษา/ผู้ที่กำลังศึกษาในสาขาวิชาภาษาไทย และผู้สนใจได้เห็นวิธีการ นำความรู้จากการเรียนในหลักสูตรภาษาไทยไปประยุกต์ใชก้ ับการยกระดบั ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้อย่างแท้จริง นอกจากน้ี คือ เพื่อเป็นการนำเสนอข้อมูล อื่น ๆ ที่อยู่เบื้องหลังการทำงานซึง่ ชาวท่าตุม้ สามารถนำไปใช้ต่อยอดในการ พัฒนาผลิตภัณฑ์และสร้างเส้นทางท่องเที่ยวสายการเรียนรู้ภูมิปัญญา ของตำบลท่าต้มุ ได้ต่อไป 1. สร้างตราสินค้าบนฐานคิดจากขอ้ มลู ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ เมื่อลงพื้นที่สำรวจคุณภาพของสินค้าและประเมินศักยภาพของ ผู้ประกอบการในตำบลท่าตุ้มที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมยกระดับผลิตภัณฑ์ ชุมชนของกลุ่ม Otop แล้ว ขั้นตอนต่อมาก็คือการหนุนเสริมองค์ความรู้ ในการพัฒนาคุณภาพสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ซึ่งต้องประสานผู้ทรงคุณวุฒิ ท่มี ีความเชย่ี วชาญในการพฒั นาผลิตภณั ฑ์น้นั ๆ ใหเ้ ข้ามารว่ มพจิ ารณาและ ให้คำแนะนำรายผลิตภัณฑ์ ระหว่างนัน้ ก็ได้มีการมอบหมายให้ผู้รับจ้างงาน ซึ่งประกอบด้วยบัณฑิต ประชาชน และนักศึกษา ช่วยกันสืบค้นและ รวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาของตำบลท่าตุ้มในระหว่างที่ออกเก็บข้อมูลตำบล 263
โปรไฟล์ (Tambol Profile) ไปพร้อม ๆ กันอีกด้วย และในจำนวนข้อมูล ภูมิปัญญาที่เก็บรวบรวมมานั้นก็มีเรื่องชื่อบ้านนามเมืองของตำบลท่าตุ้ม นนั่ เอง ภาพแสดงขน้ั ตอนการออกแบบตราสินคา้ หรอื แบรนด์ท่าต้มุ ออกแบบโดย อ.ทัตพชิ า สกุลสืบ สำหรับศาสตร์ในด้านการศึกษาชื่อของสถานที่ต่างๆนั้น รู้จักกัน ในกลุ่มผู้เรียนด้านภาษาไทยและผู้สนใจด้านวัฒนธรรมวัฒนธรรม ว่า “ภูมินาม” หรือที่เรียกกันติดปากว่าชื่อบ้านนามเมอื ง จะเป็นการศึกษา ถึงวิธีการเรียกชื่อของสถานที่นั้น ๆ ว่าเจ้าของวัฒนธรรมมีวิธีคิดอย่างไร และเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า มักจะใช้คำเรียกจากชื่อของสิ่งที่มีอยู่ ในบรเิ วณนัน้ ซง่ึ สังเกตไดง้ ่าย สามารถมองเห็นไดช้ ดั เจนแม้อยู่ห่างไกลหรือ อาจเป็นจุดนำสายตาทีช่ ่วยให้ผูค้ นเดินทางมาถึงสถานที่หรือจุดหมายนัน้ ได้ 264
อย่างถูกต้อง เช่น แม่น้ำ ภูเขา หุบเหว ต้นไม้ ที่ลุ่ม ที่ดอน เป็นต้น และ ชื่อของตำบลท่าตุ้มก็เป็นอีกคำเรียกหนึ่งที่แสดงถึงภูมิปัญญาในการตั้งช่ือ ของสถานที่แห่งนี้เช่นกัน จากการเก็บข้อมูลจากงานวิจัยและสัมภาษณ์ ผู้สูงอายุเพื่อทวนสอบข้อมูลดังกล่าวแล้วพบว่า ชื่อ “ท่าตุ้ม” มีที่มาจากชื่อ ของลักษณะทางภูมิศาสตร์ของหมู่บ้านที่ครั้งหนึ่งเคยมีท่าน้ำสำหรับใช้จอด เรือของพ่อค้าที่ล่องเรือในแม่น้ำปิง โดยริมฝั่งของท่าน้ำของหมู่บ้านแห่งน้ี อุดมไปด้วยไม้ตุ้ม (ต้นตุ้มหรือต้นตะกู) ผู้คนจึงเรียกหมู่บ้านแห่งนี้ว่า บ้านท่าตุ้มนั่นเอง อย่างไรก็ดีในปัจจุบันนี้ทั้งท่าน้ำและไม้ตุ้มดังกล่าว ได้สูญหายไปหมดแล้ว เนื่องจากการปรับพื้นที่สองริมฝั่งของแม่น้ำปิง ตามนโยบายการพัฒนาของรัฐ จึงทำให้มีการตัดไม้ตุ้มออกไปจนหมดส่งผล ใหผ้ คู้ นในรุ่นต่อ ๆ มา ไม่สามารถเชอื่ มโยงทม่ี าของช่ือบา้ นทา่ ตมุ้ กบั สถานที่ และไม้หมายถิ่นที่เคยมีอยู่เดิมได้อีกต่อไป ดังนั้น ในการพิจารณาไอคอน (icon) ที่มีความโดดเด่นในตำบลท่าตุ้ม “ใบตุ้ม” ก็เป็นอีกอย่างหนึ่งที่ทีม Otop ไดน้ ำมาพิจารณาร่วมกบั วัวขาวลำพนู และผา้ ทอทา่ ตมุ้ เมื่อพิจารณาถึงความสวยงามและความน่าสนใจในการสร้าง เรื่องเล่า ปรากฏว่า “ใบตุ้ม” ได้รับเลือกให้เป็นตราสินค้าสำหรับ ทำการตลาดทั้งในระบบออนไลน์และออนไซต์ ทั้งนี้เพราะรูปลักษณ์ของ ใบตมุ้ ทม่ี ลี ักษณะคล้ายรปู หัวใจซึง่ ส่ือถงึ การรว่ มแรงกายแรงใจในการพัฒนา และยกระดบั ผลิตภัณฑช์ ุมชนของผู้มสี ว่ นเก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ย อีกทั้งยังเป็นการ เชอ่ื มโยงกบั ทีม่ าของภมู ินามของหม่บู ้านและชื่อของตำบลไดอ้ ีกดว้ ย 265
2. สร้างเรื่องเล่า สร้างคอนเทนต์ให้น่าสนใจเพื่อยกระดับ ผลิตภัณฑช์ ุมชน หากพิจารณาความสำเร็จของการขายสินค้าและบริการ ในยุคปัจจุบัน จะพบว่า “เรื่องเล่า” ที่นำเสนอผ่านการแชร์บนแอปพลิ เคชันเฟซบุ๊ก ไลน์ และเว็บไซต์ขายของเช่น Shopee และ Lazada เป็น ปัจจัยที่มีความสำคัญเทียบเท่ากับคุณภาพของสินค้าได้เลยทีเดียว ฉะน้ัน วิธีการเล่าเรื่องเกี่ยวกบั สินค้าจึงเป็นส่ิงที่ผู้พฒั นาผลิตภัณฑ์ชุมชนจะต้องให้ ความใส่ใจ พวกเราเชื่อว่าทักษะการสร้างเรื่องเล่านี้สามารถเรียนรู้และ ฝึกฝนกันได้ ทั้งยังเป็นทักษะสำคัญที่ผู้เรียนในสาขาวิชาภาษาไทยสามารถ สรา้ งสรรคอ์ อกมาไดเ้ ปน็ อย่างดีอกี ด้วย ภาพแสดงคิวอาร์โค้ดที่ติดบนผลิตภัณฑ์ “น้ำพริกลาภสมุนไพร” (รูปด้านซ้าย) ของกลุ่มสตรี ทำน้ำพริกลาบบ้านไร่ปา่ คา ต.ท่าตุ้ม สำหรับคิวอาร์โค้ดที่อยู่หน้าซองสำหรับผลติ ภณั ฑ์ที่บรรจุถงุ และอยู่ด้านใต้สำหรับผลิตภัณฑ์ ที่บรรจุในกระปุกพลาสติก เมื่อสแกนออกมาแล้วจะได้สูตรปรุง อาหารในรปู แบบ e-book จำนวน 6 เมนู (รปู ดา้ นขวา) 266
ฉะนนั้ หลังจากที่ทมี Otop ไดค้ ัดเลอื กผูป้ ระกอบการที่จะเข้าร่วม การยกระดับผลิตภัณฑ์ร่วมกับโครงการ U2T ท่าตุ้มแล้ว คณาจารย์ในทีม ทั้ง 3 คน ซึ่งต่างก็เป็นครูผู้สอนภาษาไทย ของคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางเหมือนกัน ต่างก็ร่วมแรงแข็งขัน ในการเรียบเรียงข้อมูลต่าง ๆ ที่มอบหมายให้ผู้รับจ้างงาน (ทีมบัณฑิตและ ประชาชน) ซึ่งอยู่ในพื้นที่เข้าไปเก็บข้อมูลภาพและเสียงสัมภาษณ์ เพื่อนำมาใช้ในการสร้างเรื่องเล่าให้กับผลิตภัณฑ์ทั้ง 6 ชนิด สำหรับ ผลิตภัณฑ์ที่นา่ จะทำให้คณาจารย์ทุกทา่ นในทีมสนุกไปกับการทำคอนเทนต์ ที่สุดคือ น้ำพริกลาบสมุนไพรของกลุ่มสตรีบ้านไร่ป่าคา เพราะผลิตภัณฑ์ ชนิดนี้มีขายกันทั่วไปในเขตภาคเหนือตอนบน จึงเป็นเรื่องท้าทายและ จำเป็นทจ่ี ะตอ้ งหาจดุ เดน่ ของน้ำพรกิ ลาบน้ีให้เจอ และหลังจากทที่ มี Otop ได้นำน้ำพริกลาบสมุนไพรไปทดลองทำอาหาร เช่น ลาบหมูคั่วและแกงไก่ (ยำไก)่ ตามสตู รอาหารพื้นเมืองแลว้ ก็พบว่าจุดเด่นของนำ้ พริกลาบสมุนไพร ของกลุ่มสตรีบ้านไร่ป่าคาอยู่ที่การใส่สมุนไพรที่เรียกว่า “มะแขว่น” ในปริมาณที่มากกว่าสูตรน้ำพริกลาบโดยทั่วไป จึงทำให้เกิดอาการชาที่ลิ้น เช่นเดียวกับ “หม่าล่า” ซึ่งเป็นเครื่องเทศอย่างหนึ่งในการปรุงอาหารจีน ด้วยความโดดเด่นของรสชาลิ้นที่ความคล้ายคลึงกับหม่าล่านี้เอง จึงทำให้ เกิดการทดลองทำเมนูอาหารใหม่ ๆ จากน้ำพริกลาบสมุนไพรในลักษณะ เดียวกับการทำอาหารจีนซึ่งพบว่ามีความอร่อยใกล้เคียงกัน และหลังจาก ทีไ่ ด้ประชมุ กันในทมี Otop แล้วก็ได้มีการทำคอนเทนต์ “หมา่ ล่าเมือง” ข้ึน และสร้างเรื่องเล่าผ่านเมนูอาหารจากน้ำพริกลาบสมุนไพรบ้านไร่ป่าคา 267
นำเสนอด้วยคิวอาร์โค้ดที่อยูบ่ นซองและใต้กระปุกของน้ำพริกลาบสมุนไพร ในที่สุด ส่วนผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จะเป็นการสร้างคอนเทนต์ผ่านรูปภาพ ประกอบข้อความสั้น ๆ เน้นการนำเสนอความหลากหลายของรูปแบบและ สีสันของผลิตภัณฑ์ เช่น เทียนบูชา ผ้าฝ้ายทอมือ ชุดผ้าฝ้าย กระเป๋าผ้า หมวกแฟชั่น ผ้าพันคอ ผ้ารองจาน พรมเช็ดเท้า ฯลฯ และสุดท้ายคือ คอนเทนต์รักษ์โลกจากผลิตภัณฑ์กระถางมูลโคของกลุ่มโคขาวลำพูนที่เน้น เรือ่ งเล่าเกี่ยวกบั ประโยชนข์ องกระถางมลู โคท่ีไม่ทำลายสิ่งแวดลอ้ ม 3. สร้างเครือข่ายคนทำงานด้านการสื่อสารองค์กรในโครงการ U2T พ้นื ท่ีอ่นื ๆ ภาพแสดงบรรยากาศการอบรมสร้างสื่อออนไลน์และการทำ E-Book ใหก้ ับผรู้ ับจา้ งงานของทีม U2T ในพ้ืนทอี่ นื่ ๆ 268
ถ่ายทอดข้อมูลกิจกรรมและความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของโครงการ U2T ท่าตุ้ม ซึ่งได้เผยแพร่ไปในชุมชนออนไลน์อย่างกว้างขวางและออก เผยแพรอ่ ยา่ งสม่ำเสมอ คอื สัปดาหล์ ะ 1 ฉบับ ในช่วง 2 เดอื นแรก (ฉบับท่ี 1-8) นำไปสู่ความสนใจและความต้องการองค์ความรู้เกี่ยวกับสร้างสื่อ ออนไลน์เพื่อการสื่อสารองค์กรของโครงการ U2T ในพื้นที่อื่น ๆ ผู้เขียน ในฐานะบรรณาธิการจดหมายข่าวท่าตุ้ม จึงมีความยินดีที่จะได้แบ่งปัน องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กรเป็น อย่างยิ่งและหลังจากที่ได้รับการติดต่อจากผู้จัดการโครงการ U2T จาก 3 พื้นที่ ให้ช่วยจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้รับจ้างงานที่จะมาทำหน้าที่สร้างสือ่ ออนไลน์แล้ว ผู้เขียนจึงได้จัดอบรมการสร้างสื่อออนไลน์จากโปรแกรม Canva โปรแกรม PubHTML5 และแนะนำการถ่ายภาพโดยวางวัตถุ บนจุดตัด 9 ช่องให้กับผู้รับจ้างงานทุกคน โดยครั้งแรกจัดขึ้นในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2564 โดยผู้เข้ารับการอบรมมาจากทีม U2T หนองยวง และ U2T เสริมขวา คร้ังท่สี องจดั อบรม ในวันท่ี 16 มนี าคม 2564 ผ้เู ข้าอบรมมา จากทีม U2T ลำปางหลวง หลังจากนั้นผู้เขียนได้ติดตามผลการทำงานจาก ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นระยะ ๆ ซึ่งแต่ละทีมก็ได้นำไปสร้างสื่อออนไลน์ ให้กับโครงการ U2T ในพื้นที่ของตนเองอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีการ พูดคุยแลกเปลีย่ นผลงานของแต่ละทีมให้ผู้เขียนได้ช่วยให้ข้อเสนอแนะบ้าง เป็นระยะ ๆ แม้ไม่อาจกล่าวได้วา่ เป็นการสรา้ งเครือข่ายคนทำงานด้านการ สื่อสารองค์กรในโครงการ U2T ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางได้อย่าง 269
เต็มภาคภูมิ แต่ผู้เขียนก็ดีใจท่ีมีโอกาสได้เป็นส่วนหนึ่งของการหนุนเสริม โครงการ U2T ในพนื้ ทีอ่ ่ืนๆ ให้มีการทางานที่คลอ่ งตัวมากยิ่งขึน้ 4. รวบรวมข้อมูลปราชญ์ภูมิปัญญาในท้องถ่ินเพื่อสร้างโอกาส ใหม่ ๆ ในอนาคต ในการลงพืน้ ทรี่ วบรวมข้อมูลเก่ยี วภูมิปัญญาท้องถิ่นพบวา่ ในตาบล ท่าตุ้ม อ.ป่าซาง จ.ลาพูน มีปราชญ์ภูมิปัญญาหลายท่านที่เต็มเป่ียมไปด้วย ทักษะและประสบการณ์ตลอดจนความพร้อมในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ที่ตนเชี่ยวชาญให้แก่ลูกหลานในท่าตุ้ม และผู้สนใจงานด้านภูมิปัญญา พ้ืนบา้ นอีกด้วย สาหรับข้อมูลปราชญ์ภูมิปัญญาที่ทีม Otop ได้ลงพ้ืนที่เก็บ ขอ้ มูลรวบรวมจาก 14 หมู่บ้านของตาบลท่าต้มุ มีดังต่อไปนี้ 4.1 ปราชญ์ภูมิปัญญาสาขาศิลปะการแสดงและดนตรี มี จานวน 2 ท่าน ไดแ้ ก่ 270
4.2 ปราชญ์ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม-สาขาอุตสาหกรรม/ หตั ถกรรมด้านการผลิตและการบริโภค มีจำนวน 7 ท่ำน ได้แก่ 271
4.3 ปราชญภ์ มู ิปญั ญาสาขาเกษตรกรรม-สาขาการจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม มจี ำนวน 2 ท่ำน ได้แก่ 4.4 ปราชญภ์ ูมิปัญญาสาขาศาสนา ประเพณี และ พิธกี รรม -สาขาภาษาและวรรณกรรม มีจำนวน 8 ทำ่ น ได้แก่ 272
ด้วยศักยภาพของปราชญ์ภมู ปิ ญั ญาท้ัง 19 ท่าน ซึง่ สามารถนำไปบรู ณาการ กับกิจกรรมเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ได้อย่างสร้างสรรค์ เช่น การจัดการ ท่องเที่ยวเชิงทางวัฒนธรรม หรือการสร้างแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ จงึ เปน็ อีกความท้าทายในการบริหารจัดการในพื้นที่ของตำบลท่าตุ้มใน โอกาสต่อไป บทสง่ ท้าย การได้เข้าร่วมโครงการ U2T ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และชมุ ชนท่าตุม้ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ทำให้เราสองคนไดเ้ หน็ ปจั จัย สำคัญประการหนึ่งที่จะเป็นตัวผลักดันความสำเร็จอย่างยั่งยืนของชุมชน ปจั จยั ท่วี ่านน้ั คือ ความเสียสละและการเห็นแก่สว่ นรวม จากการสัมภาษณ์ ผู้นำกลุ่มผลิตสินค้าชุมชนเรา พบว่าบุคคลทั้งหลายเหล่านี้ไม่ได้คิด ทำเพื่อประโยชน์ของตนเอง แต่มองไกลไปถึงอนาคตของลูกหลาน การ สร้างงาน สร้างอาชีพ ย่อมนำมาซึ่งรายได้ที่แน่นอนและสม่ำเสมอ ดังนั้น การที่ผู้นำกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนทั้งหลายตอบรับและเข้าร่วมโครงการ U2T นี้ ท่านเหล่านั้นไม่ได้เพียงสวมหัวใจสิงห์พร้อมจะตะลุยอุปสรรคไป พร้อมกับคณะทำงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง แต่ยังได้สร้างหนทาง สำหรับการทำมาหากนิ ไวใ้ ห้แก่ลูกหลานในชุมชน เราสองคนจึงรู้สึกเลื่อมใส และขอคารวะในจติ ใจอนั เสยี สละของทุกท่านมา ณ โอกาสน้ี 273
คณะทำงานในโครงการ U2T ท่าตมุ้ ทมี อาจารย์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์ ตำแหนง่ ผูจ้ ัดการโครงการฯ อาจารยเ์ อกสิทธิ์ ไชยปิน ตำแหน่ง กรรมการโครงการฯ 274
อาจารย์ภาณวุ ฒั น์ สกลุ สืบ ตำแหน่ง กรรมการโครงการฯ อาจารย์ ดร.ชัดนารี มีสุโข ตำแหน่ง กรรมการโครงการฯ 275
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนพร หมูคำ ตำแหน่ง กรรมการและเลขานุการโครงการฯ อาจารยท์ ัตพชิ า สกลุ สบื ตำแหน่ง กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ ารโครงการฯ 276
ทมี บณั ฑติ นางสาวพจิ ิตรา มาปนิ ตา นางสาวศศกิ าญจน์ พงศด์ า นางสาวสุภาพร ปารีเสน เบอร์ติดต่อ 065-9288444 เบอรต์ ดิ ต่อ 096-8724296 เบอรต์ ดิ ตอ่ 096-3845276 นางสาวปรรณพชั ร์ มาปินตา นางสาวสายธาร ทิพย์มา นางสาวจริ าพร จอ่ จันทร์ เบอร์ตดิ ตอ่ 063-4128710 เบอร์ติดต่อ 063-8279401 เบอรต์ ดิ ต่อ 094-0285300 277
นางสาวเกวลนิ เนตรผาบ นางสาวโสรยา วงคษ์ า เบอรต์ ดิ ตอ่ 062-3096961 เบอรต์ ิดตอ่ 080-8681836 นายเติมศกั ด์ิ วงค์สยา นายพัลลภ พบทพ่ี ึ่ง เบอรต์ ดิ ตอ่ 090-2734429 เบอรต์ ดิ ตอ่ 085-5468836 278
ทีมประชาชน นายไชวฒั น์ ปาลี นางสาวปภาวรนิ ท์ หม่ืนอภัย นางสาวสดุ ารัตน์ คำสอน เบอรต์ ดิ ตอ่ 095-5417354 เบอรต์ ดิ ตอ่ 065-4177836 เบอรต์ ิดตอ่ 080-4536291 วา่ ที่ร้อยตรี ดรณุ ี ณ ลำพนู นายอภิชาติ จันทรโ์ นนแซง นางสาวพีรดา บุญอุปละ เบอร์ตดิ ตอ่ 063-8709389 เบอร์ติดตอ่ 085-0710008 เบอรต์ ิดต่อ 061-2783939 279
นักศกึ ษา นางสาวกลุ ธดิ า ทาไชยวงศ์ นางสาวชลธิชา อินปน๋ั เบอรต์ ดิ ตอ่ 061-0306734 เบอร์ตดิ ตอ่ 084-8044591 นางสาวธิษตยา ขัตมงคล นางสาวธารา สมภักดี เบอร์ติดต่อ 095-6816192 เบอร์ติดต่อ 093-2792674 280
นายธรี เมช ทา้ ววรรณชาติ นางสาวนันท์สินี โพธนิ าค เบอร์ตดิ ต่อ 062-2535079 เบอร์ตดิ ต่อ 080-8451883 281
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296