๘๖ การเช่อื มต่อแบบบรอดแบนด ์ ๑๔ - ๑๕ (Broadband Connection) บรอดแบนด ์(Broadband) หมาย การเชอ่ื มต่ออนิ เทอรเ์ น็ตแบบ เทคโนโลยีระบบดิจิทัล (Digital) และต้องใช้ ถงึ การส่งขอ้ มูลความเรว็ สูง ซ่งึ บรอดแบนด ์ โมเดม็ แบบ ISDN โมเด็มการเช่อื มตอ่ แต่ละคร้ัง เป็ นการนาํ เอาเทคโนโลยขี นั้สงู มา การเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตแบบบรอดแบนด์ จะตอ้ งตดิ ต่อกับผู้ใหบ้ รกิ าร ประยุกตใ์ ชง้ านพรอ้ มกบั ผสม คอื การเชอื่ มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู เมอ่ื เทยี บ กบั การเชื่อมตอ่ ผา่ นสายโทรศัพท ์ ซึง่ ชา้ กวา่ และ ๒ . ก า ร เ ช่ื อ ม ต่ อ อิ น เ ท อ ร ์เ น็ ต ผสานใหเ้ ขา้ กบั การส่ือสารท่ีมีอยู่ มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอที่จะสนับสนุนระบบ แบบADSL แลว้ ใหส้ ามารถใชง้ านร่วมกบั เครอื ข่ายไรส้ าย Digital Subscriber Line (DSL) ADSL คือการบริการอินเทอร์เน็ตความเร็ว และเคเบลิ เปน็ การเชอื่ มตอ่ แบบบรอดแบนดส์ อง สงู โดยผา่ นทาง ADSL โมเดม็ สามารถใชก้ บั การ ระบบอนิ เทอรเ์ น็ต ประเภททนี่ ยิ มใชก้ นั มากทสี่ ดุ โดยสามารถขอรบั เช่ือมต่อผา่ นทางสายโทรศพั ทแ์ บบเดมิ ได้ ดังนนั้ บรกิ ารการเชอื่ มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ แบบบรอดแบนด์ หมายเลขโทรศพั ท ์ พนื้ ฐานแบบเดมิ ทมี่ อี ยสู่ ามารถ ขอใชบ้ รกิ ารในรปู แบบ ADSL ไดโ้ ดยเปลย่ี นสาย เพอื่ ลดขอ้ จา� กดั ในเรอื่ งของพนื้ ทกี่ ารใหบ้ รกิ าร ไดด้ ว้ ยการตดิ ตอ่ กบั ผใู้ หบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ (ISP) โทรศัพท์แบบธรรมดาให้กลายเป็นสายดิจิทัลท่ีมี บท ีท่๕ ประเภทของเทคโนโล ียการ ืส่อสาร และขอ้ จา� กดั ของการรบั สง่ ขอ้ มลู ผา่ นสายโทรศพั ท์ โดยท่ัวไป ISP ทใ่ี หบ้ รกิ าร DSL กค็ ือบริษทั ผใู้ ห้ ความเร็วในการรับข้อมูลสูง มีประสิทธิภาพ ซึ่งการลดข้อจ�ากัดดังกล่าวนี้ เทคโนโลยีบรอด บรกิ ารโทรศัพท ์ และ ISP ทใี่ หบ้ ริการแบบเคเบลิ มากกวา่ การสอ่ื สารในระบบธรรมดา รองรบั การใช้ แบรนดจ์ ะเปน็ เครอ่ื งมอื ทจี่ ะชว่ ยใหเ้ กดิ การใชง้ าน กค็ อื บรษิ ทั ทใี่ หบ้ รกิ ารเคเบลิ ทวี ี ISP สว่ นใหญม่ กั งานในการรบั สง่ ขอ้ มลู แบบมลั ตมิ เี ดยี ผา่ นทางเครอื อนิ เทอรเ์ น็ตความเร็วสูงไดเ้ ตม็ ประสิทธภิ าพ จะใหโ้ มเดม็ บรอดแบนด ์ หรอื โมเดม็ และเราเตอร์ ขา่ ยสายโทรศพั ทไ์ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี แบบไรส้ ายมาควบคกู่ นั ผใู้ ชต้ อ้ งซอื้ อปุ กรณเ์ หลา่ น้ี ปัจจุบนั เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตความเรว็ สูงมี ไดจ้ ากรา้ นจา� หนา่ ยคอมพวิ เตอรห์ รอื รา้ นจา� หนา่ ย ๓. การเช่ือมต่ออินเทอรเ์ น็ตแบบ ดว้ ยกนั หลายประเภท เชน่ เทคโนโลย ี DSL เปน็ อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เคเบิลโมเดม็ เทคโนโลยีการใช้สายโทรศัพท์ธรรมดาตามบา้ น การเชอ่ื มต่อแบบบรอดแบนด ์ โดยการเพม่ิ DSL Modem เขา้ ไปก็สามารถท่ีจะ เปน็ การเชอื่ มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู ทไี่ ม่ ใชง้ าน อินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สูงได ้ หรอื Coaxial แบบต่าง ๆ ตอ้ งใชส้ ายโทรศพั ท ์ แตอ่ าศยั สายเคเบลิ จากผใู้ ห้ Modem เปน็ เทคโนโลยีทใี่ ช้สาย Coaxial กับการ ๑. การเช่ือมต่ออินเทอรเ์ น็ตแบบ บริการเครอื ขา่ ยเคเบิลทีวใี นประเทศไทย ให้บริการ Cable TV โดยการเพิ่ม Coaxial ISDN ๔. การเช่ือมต่ออินเทอรเ์ น็ตผ่าน ISDN (Internet Services Digital Network) Modem เขา้ ไปกส็ ามารถใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ เป็นการเชือ่ มต่อท่คี ลา้ ยกบั แบบ Dial Up เพราะ ดาวเทียม สงู ได ้ และ Broadband Satellite เปน็ เทคโนโลยี เปน็ บรกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ รปู แบบสงู อกี ประเภท ทใ่ี ชด้ าวเทยี มและโมเดม็ ระบบดาวเทยี มในการให้ ตอ้ งใชโ้ ทรศพั ทแ์ ละโมเดม็ ในการเชอ่ื มตอ่ ตา่ งกนั หนงึ่ มผี ู้ให้บรกิ ารเพียงราเดยี ว คือ CS internet บรกิ ารอินเทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู ตรงที่ระบบโทรศัพท์เป็นระบบความเร็วสูงท่ีใช้
๘๗ บรอดแบนดไ์ รส้ าย (Broadband Wireless Access) บรอดแบนดไ์ รส้ าย บรอดแบนด์ไร้สายเป็นการท�างานของ บรอดแบนด์แบบมีสาย มาสู่การท�างานแบบระบบ ไรส้ าย ซงึ่ ใหค้ วามสะดวกแกผ่ ใู้ ชง้ าน โดยเฉพาะรปู แบบการให้บริการแบบบรอดแบนดไ์ รส้ ายโดยพ้นื ฐานมีอยู่ ๒ แบบ ได้แก ่ แบบท่ี ๑ การให้บริการบรอดแบนด์ไร้สายในรปู แบบทม่ี ใี ชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั นน่ั คอื ผใู้ ชบ้ รกิ ารจะตอ้ งอยู่ ในพ้ืนท่ี ทีค่ ล่ืนวทิ ยคุ รอบคลุม ผูใ้ ชง้ านไมส่ ามารถ ย้ายต�าแหน่งได้ (Fixed Wireless Broadband) บริการแบบนถ้ี ือว่าเป็นคู่แข่งของ DSL หรอื เคเบลิ โมเดม็ (Cable modem) แบบท่ี ๒ เรยี กวา่ Mobile Broadband เปน็ รูป แบบบรกิ ารทีเ่ พม่ิ ความสะดวกแก่ผูใ้ ชง้ านในการ เคลือ่ นยา้ ยไปยงั ทต่ี า่ ง ๆได ้ และเทคโนโลยที เ่ี รียก ว่า WiMAX : Worldwide interoperability for Microwave access เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไรส้ ายเดิมถกู ออกแบบ มาให้ใช้กับการแพร่สัญญาณภาพส�าหรับ DTV : Digital Television Transmission ซง่ึ เปน็ เทคโนโลยี เช่ือมต่อแบบจุดต่อหลายจุด หรือ Point to Multipoint มคี วามถใ่ี ช้งานท่ี ๒๖ GHz และ ๒๙ GHz และเป็นความถใ่ี นความยาวคล่นื ไมโครเวฟ ต่อมาในเดือนธันวาคม ปีค.ศ. ๒๐๐๑ คณะ ทา� งานสถาบนั วชิ าชพี วศิ วกรไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Institute of Electrical and Electronics ในปัจจุบนั มีการพฒั นาเทคโนโลยีหลายแบบสําหรบั การเขา้ ใช ้ Engineers : IEEE )ได้อนุมัตมิ าตรฐานทเ่ี รียกวา่ Wireless MAN-SC ซ่ึงเป็นมาตรฐานของระดับ บรอดแบนดไ์ รส้ ายโดยองคก์ รมาตรฐานระดบั นานาชาติ การพฒั นา กายภาพ ที่ใช้เทคนิคการผสมสัญญาณที่ใช้คล่ืน เ ท ค โ น โ ล ยี เ ป็ น ส อ ง ล กั ษ ณ ะ ไ ด แ้ ก่ ก า ร ป ร บั ป รุง เ ท ค โ น โ ล ยี พาห ์ รวมทงั้ มาตรฐานระดบั ตรรกะ พรอ้ มโครงรา่ ง เดิมใหส้ ามารถเขา้ ใชบ้ ริการบรอดแบนดไ์ รส้ ายได ้ และเป็ นการพฒั นา ของ TDM (Time Division Multiplexing) ทร่ี องรบั เทคโนโลยีใหม่สําหรบั บรอดแบนดไ์ รส้ าย ท้ังระบบ Frequency Division Duplexing (FDD) มาตรฐาน IEEE 802.16 เป็นมาตรฐานเทคโนโลยีลา่ สุด ทกี่ า� หนดสา� หรบั Broadband Wireless และ Time Division Duplexing หรอื (TDD) Access (BWA) ซงึ่ ถือว่าเปน็ โครงขา่ ยทมี่ พี ื้นท่ีครอบคลุมในการใหบ้ รกิ ารทกี่ วา้ ง (Wide Area Network : WAN) พฒั นาขน้ึ โดย IEEE ของสหรัฐอเมรกิ าโดยภาคอตุ สาหกรรม ซ่ึงประกอบไปด้วย ผผู้ ลิตอุปกรณ์ ผพู้ ฒั นาชฟิ เซท (chipset) และผู้ประกอบการ ไดร้ วมตวั กันกอ่ ตงั้ WiMAX Forum หรือ Worldwide Interoperability for Microwave Access Forum เปน็ องคก์ รทไี่ มแ่ สวงหาผลกา� ไร มเี ปา้ หมายเพอ่ื สนบั สนนุ และพัฒนาอุปกรณ์เครือข่ายให้มาตรฐานในกลุ่ม IEEE 802.16 เป็นไปในแนวทางเดียวกัน โดยมี วัตถุประสงคเ์ พือ่ ใหอ้ ุปกรณ์จากผู้ผลติ ต่าง ๆ สามารถใชง้ านร่วมกนั ได้
๘๘ Internet Leased ๒. ไมต่ อ้ งเสยี เวลาในการโทรเขา้ ศนู ยบ์ รกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ ทกุ ครงั้ ๑๔ - ๑๕ Line ทตี่ อ้ งการใชบ้ รกิ าร ๓. สามารถสรา้ ง E-mail Account ไดไ้ มจ่ า� กดั จา� นวน สา� หรบั พนกั งานในองคก์ ร ทา� ใหก้ ารตดิ ตอ่ สอ่ื สารเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๔. สามารถเกบ็ Homepage ขององคก์ รไวท้ ่ี Server ของตนเอง ได ้ จงึ ไมต่ อ้ งเสยี คา่ บรกิ ารในการฝาก Homepage ไวก้ บั ผใู้ หบ้ รกิ าร อนิ เทอรเ์ นต็ Internet Leased Line เป็ นวงจรอนิ เทอรเ์ น็ตแบบเช่า ๕. ชว่ ยใหม้ คี วามคลอ่ งตวั มากขนึ้ ในการเปลยี่ นแปลงขอ้ มลู บน Homepage ขององคก์ ร ใชง้ านเฉพาะราย ผูใ้ ชบ้ รกิ ารจะไดค้ วามเรว็ สูงจรงิ ตามท่ี ๖. ไมต่ อ้ งเสยี หมายเลขโทรศพั ทห์ ลายหมายเลข เพอ่ื ใชต้ ดิ ตอ่ เขา้ ตอ้ งการ เพราะไม่ตอ้ งแย่งใชง้ านกบั ผูใ้ ชบ้ รกิ ารรายอ่นื เครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ องคก์ รจะสามารถกา� หนดคา่ ใชจ้ า่ ยในแตล่ ะเดอื น จงึ เหมาะกบั การใชง้ านขององคก์ ร ท่ีอนิ เทอรเ์ น็ตจาํ เป็ น ได ้ เนอ่ื งจากเสยี คา่ บรกิ ารตามความเรว็ ทเี่ ชา่ สาย เปน็ อตั ราเทา่ กนั ทกุ เดอื น และไมไ่ ดค้ ดิ คา่ บรกิ ารตามจา� นวนชวั่ โมงใชง้ าน เปรยี บเสมอื น ต่อการทาํ ธุรกิจ การเหมาจา่ ย อปุ กรณท์ ่ีตอ้ งการ การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตขององค์กร หรือบริษัทผ่านทางสาย Leased Line นนั้ ทางบรษิ ทั ทต่ี อ้ งการใชบ้ รกิ ารจะตอ้ งเตรยี มในสว่ น ของระบบเครอื ขา่ ยทตี่ ้องการใชง้ านอนิ เทอร์เนต็ พรอ้ มกับอปุ กรณ์ พน้ื ฐาน คอื Router และ MODEM (Synchronous MODEM ใชส้ า� หรบั การเชอื่ มตอ่ ระหวา่ งคสู่ าย Leased Line กบั Router) ถา้ บรษิ ทั ตอ้ งการเปดิ ใหใ้ ชบ้ รกิ าร Remote Service พนกั งานในบรษิ ทั จะสามารถใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ โดยการใช ้ MODEM ผา่ นสายโทรศพั ท ์ มาจากภายนอกไดน้ น้ั จะตอ้ งม ี Router ท ี่ Support Asynchronous Port และเตรยี ม MODEM พรอ้ มกบั คสู่ ายโทรศพั ท ์ ไว้ บรกิ าร (บรกิ าร TA MegaPort) นอกจากอปุ กรณพ์ นื้ ฐานดงั กลา่ วแลว้ ทางองคก์ รจะตอ้ งทา� สญั ญาเพอ่ื ขอเชา่ Leased Line โดยตรง กบั ผใู้ ห้ บรกิ ารเชา่ สาย ความแตกต่างระวา่ ง Leased Line กบั ADS คุณสมบตั ิ ADSL Internet Leased Line กลมุ่ ลูกคา้ สว่ นบุคคล หน่วยงาน หรือองคก์ ร การรับประกนั ใน รบั ประกัน เรอ่ื งการรับส่ง ไมร่ บั ประกัน ข้อมลู บท ีท่๕ ประเภทของเทคโนโล ียการ ืส่อสาร ความเร็วในการ ๒๕๖Kbps , ๕๑๒ ๒๕๖ Kbps , ๕๑๒ Kbps รับสง่ ข้อมลู Kbps มี การรบั ประกัน ไมม่ ี แบนวดิ ธ์ โดยเฉพาะออฟฟศิ ท่ีมคี อมพวิ เตอรม์ ากกวา่ ๑๐ เครือ่ ง โดยมคี วามเรว็ ใหเ้ ลือก การเรยี กเว็บไซต์ ชา้ เรว็ ตั้งแต่ ๖๔ Kbps ถึง ๑๕๕ Mbps และมี Web Server ซ่ึงต้องการการใช้งาน จากต่างประเทศ สูง อนิ เทอร์เน็ตตลอด ๒๔ ชว่ั โมง ราคา ต่า� ประโยชนข์ อง Internet Leased Line ความคงท ่ี ของ ไมค่ งท่ี คงท ่ี IP Address ๑. เพือ่ ความคลอ่ งตัวในการบริหารงานในองคก์ รโดยสามารถ เปดิ โอกาสใหท้ กุ คนในองคก์ ร ใชบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ ไดต้ ลอด ๒๔ ชว่ั โมง
๘๙ Backbone Backbone คือ เสน้ ทางการส่ง สญั ญาณท่ีเป็ นเสน้ ทางหลงั และ เสถียรต่อการส่งขอ้ มูล รวมไปถงึ การสูญเสียของสญั ญาณท่ีว่ิง ผา่ นในระยะไกลท่นี อ้ ยมาก หากเกดิ ปัญหาในการส่งขอ้ มูลท่ีเสน้ ทาง หลกั กจ็ ะเปล่ียนไปใชเ้ สน้ ทางเสรมิ ท่ีเตรยี มไว ้ ดังน้ัน Backbone จงึ มลี ักษณะเป็นระบบของ สายสง่ ขนาดใหญ ่ เพอ่ื การสอื่ สารระบบสายสง่ ขนาด ใหญ่เพอื่ การสอ่ื สารขอ้ มูลจากสายขนาดเลก็ กวา่ หลายสว่ นเพอื่ การเชือ่ มต่อภายใน Fiber Optic (ไฟเบอร ์ ออฟตกิ ) คอื ใยแก้วน�า แสง เป็นสายสัญญาณ ท่ีมีความสามารถในการรับ หรือส่งสัญญาณได้ไกลหลายกิโลเมตร และมีการ สูญเสยี ของสัญญาณน้อยมาก เมือ่ เทียบกบั สายโค แอ็กเชียลทวั่ ๆ ไป สรุป Backbone คือ เสน้ ทางการส่งสญั ญาณที่ เป็นเส้นทางหลงั และเสถียรตอ่ การสง่ ขอ้ มลู รวม ไปถึงการสญู เสยี ของสญั ญาณที่วง่ิ ผา่ นในระยะไกล ทนี่ อ้ ยมาก หากเกดิ ปญั หาในการสง่ ขอ้ มลู กจ็ ะมเี สน้ ทางทเ่ี สรมิ ในการสง่ ขอ้ มลู ไวเ้ รยี บร้อย Backbone ในอดตี : Backbone ของอนิ เทอรเ์ นต็ อาจจะพอกล่าวได้ว่าเริ่มต้นมาจากเครือข่าย National Science Foundation Network : NSFNET เนอ่ื งจากในป ี ค.ศ. ๑๙๘๗ รฐั บาลสหรฐั ฯ เรมิ่ เหน็ แนวโน้มว่าการส่อื สารข้อมลู มีความสา� คัญ The San Diego Supercomputer Center (SDSC) มากขึน้ National Science Foundation กเ็ ลยสรา้ ง National Center for Atmospheric Research (NCAR) เครือขา่ ยที่เรียกว่า NSFNET – National Science Foundation Network เพอ่ื เชอ่ื มตอ่ supercomputer National Center for Super-computing Applications (NCSA) sites 6 แห่งเข้าด้วยกัน ได้แก่ Cornell National Super-computing Facility (CNSF) Pittsburgh Supercomputing Center (PSC) Jon Von Neumann Center (JVNC) เครอื ขา่ ย NSFNET แบง่ ออกเป็น ๓ ชั้น (3-level hierarchy) ชั้นบนสดุ เป็น backbone ที่เชอ่ื มเครอื ขา่ ยย่อยทงั้ หมดไว้ด้วยกนั ครอบคลมุ พนื้ ท่ีทวั่ ประเทศ ชัน้ กลางเปน็ ระดบั regional network ครอบคลมุ ท้งั ระดบั local site คลา้ ยวา่ เปน็ backbone ของ site น้นั ๆ ส่วนชัน้ ล่างสุดเป็นเครอื ขา่ ยภายในระดบั campus/access level ซึ่งกระจายจดุ เชือ่ มต่อให้ computer/terminal NSFNET ท�าให้นกั วิจัยสามารถใช้
๑๔ - ๑๕ 10 GE งาน super computer ท้งั ๖ แห่งในการค�านวณทางวิทยาศาสตร์ Backbone ในปัจจบุ นั บท ีท่๕ ประเภทของเทคโนโล ียการ ืส่อสาร และวศิ วกรรมได้อย่างสะดวก หลังจากยกเลิก NSFNET ในปีค.ศ. ๑๙๙๕ backbone ของอินเทอร์เนต็ จึงเปลีย่ น จากการจัดต้ังโดยรัฐบาล มาอยูใ่ นรูปของ commercial-provided คอื ใหเ้ อกชนมา ภายหลงั มมี หาวทิ ยาลยั จา� นวนมากทเ่ี ชอ่ื มเขา้ กบั NSFNET จงึ ลงทุนแต ่ NSF ยงั คงให้การสนบั สนนุ และดูแลอย ู่ เครอื ข่ายที่ว่าน ้ี คือ vBNS – very- ท�าให้ NSFNET กลายเป็น backbone ของอนิ เทอร์เนต็ ไปในท่สี ุด high-speed Backbone Network Service บริษัทท่ลี งทุนคือ MCI Inc. หนงึ่ ใน NSFNET มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้รองรับปริมาณ MERIT Inc. โดยเครือข่าย vBNS ยงั คงใช้เชอ่ื มต่อกับแหล่งซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอร์ ขอ้ มลู ทสี่ งู ขนึ้ ในทกุ ๆ ป ี การใชง้ านเครอื ขา่ ยเรม่ิ เปลยี่ นรปู แบบจาก (supercomputer sites) และจากมหาวทิ ยาลัย (university sites) ได้ท่วั สหรัฐฯ เครอื ข่ายเพ่ืองานวจิ ยั และการศึกษา กลายมาเป็นเชิงพาณชิ ย์มาก เหมอื นเดมิ แตป่ รบั ใหม้ คี วามเรว็ สงู ขน้ึ และมคี วามนา่ เชอ่ื ถอื มากขนึ้ โครงสรา้ งหลกั ข้นึ จนกระทั่งในปีค.ศ. ๑๙๙๕ NSFNET ก็ไม่ไดร้ ับการสนบั สนุน ของ vBNSเปน็ การเช่ือมตอ่ ซุปเปอรค์ อมพวิ เตอร ์ ๕ แห่ง และ network access ทางการเงินจากรัฐบาลสหรัฐฯ อีกต่อไป ท�าให้ยุคของเครือข่าย point (NAP) อีก ๔ จดุ NSFNET สิน้ สดุ ลง
๙๐ ISP (Internet Service Provider) Internet service provider (ISP) หรือผูใ้ หบ้ ริการอินเทอรเ์ น็ต คือ บริษทั ท่ีใหล้ ูกคา้ สามารถเขา้ ถงึ อินเทอรเ์ น็ต ทําหนา้ ท่ีเสมือนเป็ นประตู เปิ ดการเช่ือมต่อใหบ้ ุคคลหรือองคก์ รสามารถใชง้ านอินเทอรเ์ น็ตได ้ สาํ หรบั ในประเทศไทยมีหน่วยงานท่ใี หบ้ รกิ ารดา้ นนีอ้ยู่ 2 ประเภทดว้ ยกนั คือ ผูใ้ หบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ตเชงิ พาณิชย ์ ( Commercial ISP) และผูใ้ ห ้ บรกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ สาํ หรบั สถาบนั การศกึ ษา การวจิ ยั และหน่วยงานของ รฐั (non-commercial ISP ) รปู แบบการใหบ้ รกิ ารของ ISP ต่อด้วยสายโทรศัพท์อยู่ แต่ความเร็วในการใช้งาน งานกไ็ มแ่ นน่ อน ขนึ้ อยกู่ บั สภาพอากาศดว้ ยเชน่ กนั เมือ่ เทยี บกบั สมัยที่ประเทศไทยเร่มิ มอี นิ เทอร์- จะมากกว่าพร้อมกนั นน้ั ยงั สามารถจะคยุ โทรศัพท์ แตะเหมาะกับพืน้ ทีท่ างไกลทีส่ ายส่งไปไม่ถงึ เนต็ ใชง้ านเปน็ คร้ังแรก ซง่ึ มีเพียง ISP เพียงค่าย ระหวา่ งการใช้งานอนิ เทอรเ์ น็ตได้อกี ด้วย เดยี วเท่านนั้ คือ CAT บริษทั กสทช. จนกระทัง่ หลงั สรุปแลว้ ISP หรอื ผใู้ ห้บริการอนิ เทอรเ์ น็ตนน้ั จากเปิดเสรีมีบริษัทเอกชนเข้ามาแข่งขันกันท�าให้ ๓. การเช่ือมต่อแบบ DSL (Digital มีความส�าคัญต่อการเชื่อมต่อเครือข่ายอย่างมาก ประสิทธิภาพการใช้งานอินเทอร์เน็ตดีขึ้น จน Subscriber Line) เป็นการเช่ือมตอ่ ทีเ่ รยี ก เพราะเป็นเหมือนกับประตูในการให้ข้อมูลที่เรา สามารถใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู ไดใ้ นราคาทผ่ี ใู้ ช้ ได้ว่ามีความเรว็ สงู กวา่ การเช่ือมต่อ Dial Up และ ร้องขอจากภายนอกเข้ามาแสดงยังเคร่ืองคอมพิว- เอื้อมถงึ ได้ ISDN แต่ความเรว็ ทไ่ี ด้มาจะไมแ่ นน่ อน ซงึ่ เป็นขอ้ เตอร์ท่ใี ช้งานอยู่หรือข้อมลู ทีเ่ ราสง่ ออกไปสามารถ เสยี ของการเชือ่ มตอ่ แบบนี้ ผา่ นออกไปสโู่ ลกภายนอกได ้ ในอนาคตเชอื่ ไดว้ า่ ถา้ การเชื่อมต่อกับ ISP มีอยู่ด้วยกันหลายแบบ มกี ารแข่งขนั ระหวา่ ง ISP จ�านวนมากก็จะท�าใหผ้ ู้ คือ ๔. การเช่อื มต่อแบบ Cable TV เป็นการ ใชบ้ รกิ ารสามารถใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ไดถ้ กู ลงและมเี ความ ๑. การเชอ่ื มต่อแบบ Dial Up เปน็ การ เชื่อมต่อท่ีผ่านสายเคเบิลทีวีด้วยการส่งสัญญาณ เรว็ ทส่ี งู ขน้ึ เช่อื มต่ออินเทอร์เนต็ ในยคุ แรก ซงึ่ จะเช่ือมตอ่ ผ่าน อนิ เทอรเ์ นต็ และสญั ญาณภาพและเสยี งมาพรอ้ มกนั สายโทรศัพท์ ระหว่างการเชื่อมต่อจะได้ยินเสียง การใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ จะสามารถใชพ้ รอ้ มกบั การดู สญั ญาณในการตอ่ ทกุ ครงั้ โดยการใชง้ านการเชอ่ื ม เคเบิลทีวีได้ แต่ข้อเสียก็คือถ้ามีผู้ใช้งานในเวลา ต่อแบบนี้จะไม่ค่อยมีความเสถียร และมีความเร็ว เดียวกันมาก ๆ อาจจะท�าให้ความเร็วในการใช้ สงู สุดอยทู่ ่ ี ๕๖ kbps อินเทอรเ์ นต็ ตา่� ลงไปด้วย ๒. การเชอ่ื มต่อแบบ ISDN (Internet ๕ . ก า ร เ ช่ื อ ม ต่ อ แ บ บ ด า ว เ ที ย ม Services Digital Network) เปน็ การ (Satellites) การเชอ่ื มตอ่ แบบน ้ี ไมน่ ยิ มใชง้ าน เชอ่ื มตอ่ ทด่ี กี วา่ แบบ Dial Up แตก่ ย็ งั เปน็ การเชอื่ ม เพราะมีค่าใช้จ่ายท่ีสูงมาก และความเร็วในการใช้
บทท่ี ๕ ประเภทของเทคโนโลยีการส่ือสาร ๑๔ - ๑๕
๑๑๑ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส ์ (Electronic Book) ภาพท่ี ๑ www.ookbee.com ๓. หนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ไม่มีนา้� หนัก หนงั สือแบบ กระดาษนา้� หนกั ขนึ้ อย่กู บั วสั ดแุ ละจา� นวนหน้า หนังสือ ย่ิงหนังสือเล่มหนาเท่าไร น�้าหนักของ หนังสืออาจท�าให้เป็นอุปสรรคส�าหรับการอ่าน แต่ สา� หรบั หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ลว้ แมว้ า่ จา� นวนหนา้ จะมีมากขนาดใดก็ตาม กไ็ มเ่ ปน็ ผลต่อน�้าหนกั จริง ตอ่ อุปกรณจ์ ัดเกบ็ ในอดตี จะอยใู่ นรปู แบบของไฟลน์ ามสกลุ PDF เนอ่ื งจากเปน็ การแสกนจากหนงั สอื จรงิ ใหม้ าเปน็ ไฟล์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ ทา� ใหเ้ นอ้ื หาและรปู แบบการจดั วางของ หนงั สอื มลี กั ษณะทเี่ หมอื นหนงั สอื สามารถจดั เกบ็ ได้ ทงั้ รปู ภาพ ขอ้ ความหรอื ตวั อกั ษร สามารถดาวนโ์ หลด ไฟลอ์ บี กุ๊ ทเี่ ปน็ PDF ไวใ้ นอปุ กรณข์ องผใู้ ช ้ ทา� ให้ สามารถอา่ นท่ีไหนกไ็ ด้ทัง้ ออนไลนแ์ ละออฟไลน์ เวบ็ ไซตท์ ใี่ หบ้ รกิ ารอบี กุ๊ ทไี่ ดร้ บั ความนยิ มของไทย เชน่ อกุ๊ บ ี (ookbee.com) เมค็ มาเกต็ (mebmarket. com) นายอนิ ทร ์ (naiin.com) อบี คุ้ (ebooks.in.th) เปน็ ตน้ หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส ์(Electronic หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถใช้ประโยชน์ นอกจากการอา่ นหนงั สอื เปน็ เลม่ แลว้ ย ยงั มกี าร Book) หรืออีบุค๊ (E-book) เป็ น จากข้อความหลายมิติ ในการเช่ือมโยงส่วน ใช้งานอีบุ๊คในรูปแบบอื่น ๆ อีก เช่น การใช้เป็น รูปแบบหนงั สือท่ีถูกสรา้ งขึน้ ใน ต่างๆ ของเว็บไซต์เพื่อสร้างความมีปฏิสัมพันธ์ เอกสารประกอบคา� สอน หรอื ประกอบการบรรยาย ลกั ษณะเอกสารอิเล็กทรอนิ กส ์ กับผู้อ่านได ้ เชน่ ในกรณตี อ้ งมกี ารบรรยายหรอื ศกึ ษานอกสถาน สามารถแสดงผลไดท้ งั้ รูปภาพ ท่ี การท�าการแจกเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แล้ว เสียง ภาพเคลอ่ื นไหว และขอ้ ความ สิ่งที่ท�าให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้รับความ แชรใ์ หผ้ ฟู้ งั บรรยาย หรอื นกั ศกึ ษาดาวนโ์ หลดไดต้ วั เปล่ยี นพฤติกรรมการอา่ นหนงั สือ นิยมมีเหตุผลดังน ี้ เอง ท�าให้ประหยดั เวลาและสะดวกมากย่งิ ขน้ึ อีก จากกระดาษมาสู่บนจอแสดงผล ทง้ั ผู้ฟงั ยงั สามารถเก็บไวศ้ กึ ษาเพิม่ เตมิ แมว้ า่ จะจบ ของคอมพิวเตอรห์ รอื โทรศพั ทม์ อื ๑. ไม่ต้องส้ินเปลืองค่าใช้จ่าย ไม่ต้องมีอุปกรณ์ การบรรยายนัน้ ๆ ไปแลว้ ก็ตาม ดว้ ยความสะดวก ถอื ไม่จาํ เป็ นตอ้ งพลกิ หนา้ กระดาษ จ�านวนมากในการจัดเก็บข้อมูล ไม่ต้องสร้างคลัง สบายทเ่ี พม่ิ มากขน้ึ น ี้ หากภาคอตุ สาหกรรมหนงั สอื เพื่อทาํ การอา่ นบทถดั ไป เพอ่ื เกบ็ หนงั สอื จา� นวนมหาศาลเอาไว้ กระดาษไมม่ ปี รบั ตวั ยอ่ มไมส่ ามารถอยรู่ อดในการ ด�าเนินธุรกิจได้ แต่เนื่องจากการท�าส�าเนาของ ๒. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเผยแร่ข้อมูลได้ หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกสม์ คี วามง่ายกวา่ หนังสือแบบ ในปริมาณมหาศาล โดยที่ไม่เสียต้นทุนส่วนเพ่ิม กระดาษ ท�าให้ต้องค�านึงถึง ลิขสิทธ์ิของเข้าของ ตา่ งกับหนังสือแบบกระดาษทตี่ ้นทนุ การผลติ คิด อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละสิทธ์ิในการใช้งาน เปน็ ต่อช้ิน ทา� ใหม้ ีระดบั ของราคาหนังสือที่มากขน้ึ เม่ือตอ้ งผลติ เปน็ จ�านวนมาก
๑๑๒ วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส ์ ในประเทศไทย มีหน่วยงานท่ีท�าหน้าท่ีรวบรวม ๑๔ - ๑๕ ฐานขอ้ มลู วารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ สก์ ลางของประเทศ ไทยเอาไว้ มีช่ือว่า Thai Journals Online (ThaiJO) สามารถเข้าได้ท่ี tci-thaijo.org เป็น เว็บไซต์ท่ีถือได้ว่าเป็นแหล่งรวบรวมวารสารวิชา การที่ผลิตในประเทศไทยทุกสาขาวิชาท้ังสาขา วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลย ี และมนุษยศ์ าสตร์และ สังคมศาสตร์ โดยได้รับการสนับสนุนจาก ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี (มจธ.) มหาวิทยาธรรมศาสตร์ (มธ.) ศูนย์เทคโนโลยี อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาต ิ (NECTEC) และศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai- Journal Citation Index Centre : TCI) ผู้ใช้ สามารถเข้าเว็บไซต์ tci.thaijo.co แล้วท�าการ คน้ หาวารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ตี่ อ้ งการ และกดปมุ่ คน้ หา ระบบจะแสดงรายชอื่ วารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ท้ังหมดที่เกี่ยวข้อง ผใู้ ชส้ ามารถคลิกไปท่ีวารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทีส่ นใจ เพอ่ื ดูรายละเอียดของวารสารนน้ั ๆ และ สามารถวารดาวนโ์ หลดสารอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ อกมา เป็นไฟล์ PDF ได้ นอกจากแหลง่ รวบรวมวารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กลางอย่าง ThaiJO ผู้ใช้สามารถเข้าถึงวารสาร อิเล็กทรอนิกส์ได้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ ของ มหาวิทยาลยั เอง เช่น วารสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ของ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดจ้ ากชอ่ งทาง omega. car.chula.ac.th/topic/ejournals/? วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส ์คอื รปู แบบ ๒. ในกรณกี า� หนดออกเปน็ รายปกั ษ ์ จะเปน็ การออก วารสารอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย ของส่ือสิ่งพิ มพท์ ี่มีการเนือ้ หา ทกุ ๆ ๑๕ วนั ใน ๑ ป ี จะมที งั้ หมด ๒๔ ฉบบั เกษตรศาสตร์ ได้จากชอ่ งท่าง https://kukr.lib. มุ่งเนน้ ไปในทางเนือ้ หาวิชาการ ku.ac.th/journal/KJSS/index เ นื อ้ ห า บ นั เ ทิ ง ค ดี อ อ ก ต า ม ๓. ในกรณกี า� หนดออกเปน็ รายเดอื น จะเปน็ การออก กาํ หนดระยะเวลาอย่างสม่ําเสมอ ทกุ ๆ ๓๐ วนั ใน ๑ ป ี จะมที ง้ั หมด ๑๒ ฉบบั วารสารอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย เพี ยงแต่เปลี่ยนรูปแบบการออก นครพนม ได้จากช่องท่าง https://www.npu. จําหน่ายจากการเป็ นหนงั สื อ ac.th/npujournal/ กระดาษ มาสู่กบั ออกจาํ หน่ายใน รปู แบบสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ทน การมกี รอบระยะเวลาการออกทส่ี มา่� เสมอ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร ท�าให้ผู้อ่านที่ติดตาม รอวันในการออกจ�าหน่าย ราชภฏั ธนบรุ ี ได้จากช่องทาง https://research. การเข้าถึงวารสารอิเล็กทรอนิกส์โดยการ วารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ า� ใหก้ ารเขา้ ถงึ สอื่ วารสารได้ dru.ac.th/o-journal/ สืบค้นขอ้ มลู และสามารถรบั ผา่ นอปุ กรณท์ เี่ ชอื่ ม ง่ายขึ้น จากเดิมที่ผู้ใช้จะต้องเดินทางไปร้านแผง ตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ นต็ รปู แบบการออกวารสาร หนงั สอื หรอื รา้ นทจ่ี ดั จา� หนา่ ย แตป่ จั จบุ นั เพยี งแค่ นอกจากนี้ยังมีช่องทางในการเข้าถึงวารสาร อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ เปน็ การออกตามกรอบระยะเวลาท่ี เชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับอินเทอร์เน็ต และเข้าถึง อิเล็กทรอนิกส์อีกมากมาย ผู้ใช้สามารถค้นหา วางไว ้ เชน่ เวบ็ ไซตท์ จ่ี ดั จา� หนา่ ยวารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ ผา่ น ผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine) ของ ทางเวบ็ บราวเซอรห์ รอื แอปพลเิ คชนั ผอู้ า่ นสามารถ เว็บไซต์อน่ื ๆ ได้ เชน่ Google Bing เป็นต้น ๑. ในกรณกี า� หนดออกเปน็ รายสปั ดาห ์ จะเปน็ การ เข้าถึงวารสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ทุกที่ ทุกเวลา ออกทกุ ๆ ๗ วนั ใน๑ ป ี จะมที งั้ หมด ๕๒ ฉบบั นอกจากนกี้ ารผลติ วารสารแบบเดมิ จา� เปน็ ตอ้ งใช้ ทรัพยากรกระดาษเพื่อผลิตวารสารเป็นจา� นวน มากในแตล่ ะครงั้ แตส่ า� หรบั วารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ชว่ ยลดทรพั ยากรกระดาษไดเ้ ปน็ ปรมิ าณมหาศาล
๑๑๕ การฝึ กอบรมผ่านเวบ็ เวบ็ ไซตจ์ ะแสดงขอ้ มลู หลกั สตู ร เนอ้ื หาของบท และการศึกษาทางไกล เรยี น รวมไปถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ หลกั สตู ร ระยะเวลาในการ เรยี น เพอื่ ใหผ้ ใู้ ชพ้ จิ ารณาประกอบในการเลอื กหลกั สตู ร Edumall.co.th เป็นเว็บไซต์ฝึกอบรมโดยมี หลกั สตู รตา่ ง ๆ ใหเ้ ลอื กมากถงึ ๕๐๐ หลกั สตู ร และ มรี าคาทไ่ี มส่ งู มากนกั สา� หรบั รปู แบบการใหบ้ รกิ ารของทาง Edumall แตกตา่ งจากทอี่ นื่ ตรงทเี่ มอื่ ทา� การสมคั รเรยี นและ ชา� ระเงนิ คา่ หลกั สตู รแลว้ จะไมม่ กี ารสมคั รสมาชกิ และ ไมส่ ามารถเรยี นไดใ้ นทนั ท ี ซง่ึ ตอ้ งใหม้ เี จา้ หนา้ ทตี่ ดิ ตอ่ มา เพอื่ นา� รหสั สมาชกิ ในการเขา้ ชมหลกั สตู รนน้ั ๆ จดั สง่ มาใหก้ อ่ น จงึ จะสามารถรบั การเรยี นได้ การฝกึ อบรมผา่ นเวบ็ และการเรยี นรทู้ างไกลเปน็ การทา� ตอบสนองบคุ คลากรทต่ี อ้ งการพฒั นาศกั ยภาพ ของตนเอง เปดิ โอกาสใหไ้ ดเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมไดง้ า่ ย และกวา้ งขวาง ในขณะเดยี วกนั ผทู้ ผี่ ลติ หรอื ผทู้ จ่ี ดั ตงั้ การฝกึ อบรมผา่ นเวบ็ จะตอ้ งคา� นงึ ถงึ คณุ ภาพของการ ฝกึ อบรม ดงั นนั้ จงึ จา� เปน็ ตอ้ งมกี ารประชาสมั พนั ธ์ เพอื่ ใหผ้ ทู้ เ่ี ขา้ รบั การฝกึ อบรบไดร้ บั ความรอู้ ยา่ งเตม็ ประสิทธิภาพ ในประเทศไทยมีการจัดตั้งสมาคม อเี ลริ น์ นงิ่ แหง่ ประเทศไทยขน้ึ เพอ่ื เปน็ การเสรมิ สรา้ ง ตน้ แบบดา้ น E-Learning ของประเทศ ทงั้ การวจิ ยั และ การใหค้ า� ปรกึ ษา รวมถงึ การใหก้ ารสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ คน้ ควา้ แลกเปลย่ี นความร ู้ ประสบการณแ์ ละ ใหก้ ารบรกิ ารดา้ นการเรยี นรผู้ า่ นเวบ็ Chula MOOC เปน็ หนงึ่ ในการเรยี นออนไลนท์ มี่ ี หลกั สตู รทไ่ี มจ่ า� กดั บคุ คล สถานทแี่ ละเวลา โดยมี หลกั สตู รตา่ ง ๆ ใหผ้ ใู้ ชง้ านเขา้ ลงทะเบยี นเรยี นโดยไม่ เสียค่าใช้จ่าย โดยจะต้องลงทะเบียนผ่านบัญช ี Facebook มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ ์ เปน็ หนงึ่ ในโครงการ การศึกษาทางไกลโดยใช้รูปแบบการสื่อสารผ่าน การฝึ กอบรมผ่านเวบ็ และการศึกษาทางไกล คือ การใชป้ ระโยชนจ์ าก ดาวเทยี ม กอ่ ตงั้ ในปพี .ศ. ๒๕๓๘ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาการ เทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อผนวกกบั การศึกษา ในการพฒั นาความรแู ้ ละ ขาดแคลนครูพ้ืนถิ่น และยกระดับการศึกษาใน ทกั ษะต่าง ๆ ใหไ้ ม่หยุดอยู่เฉพาะในโรงเรยี นหรอื สถานศึกษาเท่านนั้ โรงเรยี นชนบท โดยมกี ารถา่ ยทอดสดจากโรงเรยี นวงั ชว่ ยใหพ้ น้ื ทหี่ า่ งไกลสามารถเขา้ ถงึ การศกึ ษาได ้ รวม ซา้� ได ้ เวบ็ ไซตท์ ใ่ี หบ้ รกิ ารเกย่ี วกบั การฝกึ อบรบผา่ นเวบ็ ไกลกงั วล ในพระบรมราชปู ถมั ภ ์ มหี ลกั สตู รการเรยี น ถงึ ปรมิ าณผเู้ รยี นทไี่ มจ่ า� กดั เพยี งกลมุ่ ใดกลมุ่ หนงึ่ และ ของไทยทไ่ี ดร้ บั ความนยิ ม ไดแ้ ก่ ตง้ั แต ่ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑- ๖ มจี า� นวน ๖ ชอ่ ง เรมิ่ เรยี นจากทไ่ี หนกไ็ ด้ สญั ญาน ปจั จบุ นั มกี ารเพมิ่ ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ ระบบการ Skilllane.com ถอื เปน็ เวบ็ การฝกึ อบรมผา่ นเวบ็ ศกึ าษาทางไกล โดยสามารถใชง้ านผา่ นระบบเครอื ขา่ ย การฝกึ อบรมผา่ นเวบ็ และการศกึ ษาทางไกล มที ง้ั ทเ่ี ปน็ สตารท์ อพั (Startup) สญั ชาตไิ ทยทไ่ี ดร้ บั ความ อนิ เทอรเ์ นต็ สามารถการชมสด (Live Broadcast) รปู แบบเสยี คา่ บรกิ ารและไมเ่ สยี คา่ บรกิ าร โดยงานผา่ น นยิ มสงู มหี มวดหมกู่ ารเรยี นทมี่ ากมาย ใหเ้ ลอื กเรยี น และรบั ชมยอ้ นหลงั ได ้ (On Demand) นอกจากนย้ี งั อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทส่ี ามารถเชอ่ื มตอ่ เครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ไมว่ า่ จะเปน็ การเงนิ การลงทนุ อสงั หารมิ ทรพั ย ์ ธรุ กจิ สามารถเขา้ ถงึ ผา่ นแอพพลเิ คชนั DLTV เพอื่ อา� นวย อนิ เทอรเ์ นต็ เชน่ คอมพวิ เตอร ์ โทรศพั ทม์ อื ถอื รนุ่ ตา่ ง การตลาด ภาษา ฯลฯ ความสะดวกใหผ้ สู้ นใจสามารถเขา้ ถงึ รายการความรู้ ๆ มขี อ้ ดคี อื ผเู้ รยี นสามารถทจ่ี ะเรยี นกค่ี รง้ั กไ็ ด ้ หรอื ถา้ ทางวชิ าการและความรทู้ วั่ ไปในวงกวา้ งมากยง่ิ ขนึ้ ไมเ่ ขา้ ใจในเนอ้ื หาตอนใดกส็ ามารถยอ้ นกลบั ไปดเู นอ้ื หา
๑๑๖ การสอบออนไลน์ เวลาของตนไดด้ ขี น้ึ บางสถาบนั ไมจ่ า� เปน็ ตอ้ งเผอ่ื ๑๔ - ๑๕ เวลาเดินทางไปยังสถานท่ีสอบ สามารถสอบได้ ดว้ ยตนเองทบ่ี า้ น โดยเครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ ใี่ ชใ้ น การสอบต้องเช่ือมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ขณะทา� การสอบ ตวั อยา่ งของการสอบออนไลนท์ ใี่ ชใ้ นระดบั ประเทศ และระดบั สากล มดี งั นี้ ๑. ระบบการสอบออนไลนข์ องสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี หรอื สสวท. มจี ดุ ประสงคเ์ พอื่ ให้ นกั เรียนได้ทดสอบความรู้ทง้ั ในด้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีข้อสอบตาม หลกั สตู รแกนกลางทสี่ อดคลอ้ งกบั ตวั ชวี้ ดั และขอ้ สอบ แขง่ ของโครงการตา่ ง ๆ การสอบ SAT เปน็ การสอบวดั ความรคู้ วาม สามารถของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สา� หรบั การรบั บคุ คลเขา้ ศกึ ษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษา ในระบบการศึกษาของสหรัฐอเมริกา SAT (Scholastic Aptitude Test Or Scholastic Assessment Test) หมายถงึ ขอ้ สอบทอ่ี อกแบบ เพ่ือวัดทักษะ ความรู้ ความสามารถในการน�า ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสาขาวชิ าเฉพาะในหมวด ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร ์ วทิ ยาศาสตร ์ และภาษาตา่ งประเทศ ๒. ขอ้ สอบ SAT เปน็ ขอ้ สอบทไ่ี ดร้ บั มาตรฐาน สากลไดร้ บั การยอมรบั ไปทว่ั โลก หลายประเทศรวม ทงั้ ประเทศไทยนยิ มคดั เลอื กนกั เรยี นทเ่ี ขา้ ศกึ ษาใน หลกั สตู รนานาชาต ิ (International program) ๓. การสอบ TOEFL iBT (Test of English as a Foreign Language : Internet-Based Test) ในปจั จบุ นั การสอบ TOEFL ในประเทศไทยม ี ๒ การสอบออนไลน์ หมายถงึ การ ๑. ลดการใชก้ ระดาษ การสอบออนไลนไ์ ม่ ประเภท คอื TOEFL ITP กบั TOEFL iBT โดยท่ี ที่ผูเ้ ขา้ สอบทําแบบทดสอบผ่าน จา� เปน็ ตอ้ งพมิ พข์ อ้ สอบและมอบกระดาษขอ้ สอบ การสอบแบบ ITP (Institutional Testing ระบบคอมพิ วเตอร ์ แทนการ Program) เปน็ การสอบโดยใชก้ ระดาษทส่ี ามารถ ทํ า แ บ บ ท ด ส อ บ ล ง ใ น ก ร ะ ด า ษ ๒. สามารถออกขอ้ สอบไดห้ ลากหลาย ตรวจโดยคอมพวิ เตอร ์ สว่ น iBT เปน็ การสอบผา่ น บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร สามารถใชส้ อื่ มลั ตมิ เี ดยี ในการสรา้ งขอ้ สอบ เชน่ ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ (Internet-Based Test) โดย คําตอบ และสามารถรูผ้ ลการ การใชภ้ าพนงิ่ ภาพเคลอ่ื นไหว เสยี งบนั ทกึ และ ใชค้ อมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะของศูนย์สอบนั้นๆ มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ในต่างประเทศ ต้องการ ทดสอบทนั ทีหลงั จากทําขอ้ สอบ วีดิทัศน์ ซ่ึงการทดสอบด้วยกระดาษไม่สามารถ คะแนนแบบ iBT เน่ืองจากสามารถวัดความ ทา� ได้ สามารถในการพดู ฟงั อา่ น เขยี น ของผสู้ อบได้ เสรจ็ ครบทงั้ ๔ ทกั ษะ ในขณะทก่ี ารสอบ ITP จะไมม่ ี การสอบออนไลนม์ วี ธิ ดี า� เนนิ การ โดยผสู้ รา้ ง ในสว่ นของการพดู (Speaking) หลกั สตู รตอ้ งสรา้ งเครอ่ื งมอื สรา้ งขอ้ สอบในระบบ ๓. ชว่ ยประหยดั เวลา สามารถใชโ้ ปรแกรม การสอบ โดยสามารถสรา้ งคา� ถามและเพมิ่ คา� ถาม คอมพวิ เตอรใ์ นการตรวจขอ้ สอบได ้ ผอู้ อกขอ้ สอบ ลงในขอ้ สอบ อกี ทง้ั ยงั สามารถออกแบบขอ้ สอบได้ ไมจ่ า� เปน็ ต้องตรวจขอ้ สอบด้วยตนเอง ไม่จา� เปน็ ทง้ั รปู แบบ ปรนยั และอตั นยั ทงั้ นผ้ี สู้ อบตอ้ งลง มอบหนงั สอื รบั รองดว้ ยตนเอง แตส่ ามารถสง่ ผา่ น ทะเบยี นเพอื่ ทจ่ี ะไดร้ บั ลงิ กข์ อ้ สอบในการทา� ขอ้ สอบ อีเมลแอสเดรสของผู้สอบได้ ผู้สอบจะได้ผลการ ขอ้ ดขี องการสอบออนไลน ์ ไดแ้ ก่ รบั รองทนั ท ี ทา� ใหผ้ สู้ อบรผู้ ลสอบเรว็ ขน้ึ จดั สรร
๑๑๗ การเรยี นออนไลน์ แบบเปิ ด คือหลกั สูตร (Course) ที่เรียนออนไลน์ (Online) จากระบบท่ีเปิ ดให ้ ภาพท่ี ๑ ใชง้ านฟรี (Open) และรองรบั ผูเ้ รียนจาํ นวนมาก (Massive) ผูเ้ รียน สามารถเช่ือมต่อเขา้ ไปดูวิดีโอการบรรยาย เขา้ ไปฝึ กปฏิบตั ิทําแบบ ทดสอบแบบฝึ กหดั หรอื เขา้ ไปรว่ มสนทนากบั ผูเ้ รยี นอนื่ ๆ ได ้ ภาพท่ี ๒ เสนอทนี่ า่ สนใจ การเรยี นออนไลนแ์ บบเปดิ เปน็ การ ตอกยา้� ยคุ ปจั จบุ นั วา่ การเรยี นการสอนนนั้ เปดิ กวา้ ง ขน้ึ มาก และคอมพวิ เตอรไ์ ดร้ บั การพสิ จู นว์ า่ เปน็ เครอ่ื ง มอื ทม่ี ปี ระโยชนอ์ ยา่ งมากถอื วา่ เปน็ สว่ นประกอบ สา� คญั ในการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สา� หรบั นกั การศกึ ษา และนกั เรยี น การเรยี นออนไลนแ์ บบเปดิ ทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มใน ปจั จบุ นั กค็ อื edx mooc, Udemy mooc และอนื่ ๆ อกี มากมาย แตก่ ารเรยี นออนไลนแ์ บบเปดิ ของไทยท่ี ไดร้ บั ความนยิ ม มผี ใู้ หบ้ รกิ ารคอื thaimooc.org ดว้ ย แนวคดิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ พฒั นาใหค้ นไทยกา้ วทนั โลกทไี่ มห่ ยดุ นง่ิ แพลตฟอรม์ ของไทย รองรบั การเรยี น การสอนออนไลนท์ มี่ รี ะบบฐานขอ้ มลู ผเู้ รยี น ประวตั ิ การเรยี นรแู้ ละหนว่ ยกติ สะสม พรอ้ มระบบการถา่ ย โอนหนว่ ยกติ และระบบคลงั ขอ้ สอบ ทา� ใหผ้ เู้ รยี น สามารถเรยี นรทู้ ใ่ี ดกไ็ ดไ้ มจ่ า� กดั แคใ่ นหอ้ งเรยี นอกี ตอ่ ไป เปน็ โครงการพฒั นามหาวทิ ยาลยั ไซเบอรไ์ ทย เพอื่ การจดั การเรยี นการสอนในระบบเปดิ (Thai-MOOC) ภายใตโ้ ครงการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ และสงั คมดจิ ทิ ลั ชอ่ื แผนงานท ่ี ๓ การสรา้ งสงั คมคณุ ภาพดว้ ยเทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั โดยโครงการมหาวทิ ยาลยั ไซเบอรไ์ ทย เป็นการผสมผสานระหว่างการศึกษา และ การเรยี นออนไลนแ์ บบเปดิ ตา่ งไปจากการเรยี น มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาระบบการเรียนการ คอมพวิ เตอรใ์ นยคุ ทที่ กุ คนสามารถเขา้ ถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ ระยะไกลแบบเดมิ คอื มกี ารเกบ็ ผลการสอบกอ่ น สอนออนไลนแ์ บบเปดิ และรองรบั ผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งไม่ ผู้เรียนสามารถเข้าเรียนได้จากทั้งเว็บไซต์และบาง เรยี น การสรา้ งการมปี ฏสิ มั พนั ธก์ นั ระหวา่ งเรยี น ใน จา� กดั จา� นวน สรา้ งมาตราฐานการจดั การเรยี นการสอน กรณสี ามารถเขา้ เรยี นไดจ้ ากแอปพลเิ คชนั ผเู้ รยี น บางครง้ั ผเู้ รยี นอาจจะตอ้ งมกี ารแบง่ กลมุ่ ยอ่ ยเพอ่ื ทจี่ ะ และการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาสา� หรบั มหาชน โดย สว่ นใหญส่ ามารถเขา้ เรยี นไดไ้ มม่ คี า่ บรกิ าร แตจ่ ะมี ตอ้ งทา� โปรเจคหรอื โครงการรว่ มกนั และผเู้ รยี นจะนา� เนน้ ไปทกี่ ลมุ่ เปา้ หมายหลกั คอื พนกั งาน ผปู้ ระกอบ การเกบ็ ผลการสอบกอ่ นและหลงั เรยี น เสนองานผา่ นสอ่ื ออนไลนต์ า่ ง ๆ ในรปู แบบการนา� การ นกั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา คร ู อาจารย ์ และมเี ปา้ หมายรองคอื ประชาชนทว่ั ไปทส่ี นใจ
๑๑๘ การซอื ้ ของออนไลน์ ๑๔ - ๑๕ (Electronic Commerce) ภาพท่ี ๑ ภาพท่ี ๒ ภาพท่ี ๓ นอกเหนอื จากการซอื้ ของออนไลนท์ เี่ ปน็ สนิ คา้ จรงิ หรอื สนิ คา้ ออนไลนแ์ ลว้ นน้ั ในตลาดไดม้ ชี อ่ ง ว่างของการท�าการตลาดเกิดขึ้น จริงอยู่ท่ีสินค้า การซอื ้ ของออนไลน์ (Electronic Commerce) หรือ อีคอมเมิรซ์ และบริการหลายอย่าง สามารถหาซ้ือได้ในโลก (E-commerce) คือ การทาํ ธุรกิจเชงิ อิเลก็ ทรอนิกสไ์ ม่วา่ จะเป็ นการ ออนไลน์ แต่ก็มีสินค้าและบริการอีกมากมาย ขาย หรอื ซอื ้ สินคา้ และบรกิ ารผ่านส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส ์ การเกิดขนึ ้ ของ หลายอยา่ งทไี่ มไ่ ดม้ กี ารขายออนไลน ์ กอ่ ใหธ้ รุ กจิ ธรุ กจิ ซอื ้ ของออนไลนม์ อี ทิ ธพิ ลตอ่ เศรษฐกจิ และสงั คมในวงกวา้ ง ใน ทเ่ี ปน็ ตวั กลางในการอาสา ไปซอ้ื สนิ คา้ หรอื บรกิ าร เรอ่ื งที่สะดวกและงา่ ยดายที่ทุกคนสามารถซอื ้ สินคา้ เหลา่ นท้ี ไี่ มช่ อ่ งทางจดั จา� หนา่ ยมาสง่ ใหถ้ งึ ทผ่ี ู้ บรโิ ภค เชน่ Grab , Line MAN , FOODPANDA การซอ้ื ของออนไลนใ์ นปจั จบุ นั สามารถทจ่ี ะ การซอื้ ของออนไลน ์ เปน็ การผสานกนั ระหวา่ ง เปน็ ตน้ เลอื กวธิ กี ารชา� ระคา่ บรกิ ารไดว้ า่ จะชา� ระคา่ บรกิ าร การนา� สนิ คา้ จรงิ มาใชช้ อ่ งทางออนไลนใ์ นการขาย นอกจากกน ี้ การซอื้ ขายออนไลนย์ งั เพม่ิ ความ บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร เปน็ เงนิ สด หรอื หกั จากบตั รเครดติ /เดบติ เปน็ การ ซึ่งได้ผลตอบรับท่ีดี แต่สินค้าและบริการท่ีเป็น สะดวกสะบายใหก้ บั ผู้ซ้ือ เช่น การให้บริการส่ง อา� นวยความสะดวกในการทา� ธรุ กรรมออนไลน ์ ออนไลน์ ก็มีการซ้ือขายในสถานที่ออนไลน์เช่น ของถงึ ท ี่ โดยไมม่ คี า่ บรกิ าร ในบางครง้ั สนิ คา้ ทผี่ ู้ สา� หรบั การซอื้ ของออนไลน ์ ในสมยั กอ่ น อาจตอ้ ง เดยี วกนั เชน่ ในกรณที เี่ ราตอ้ งการจะมเี วบ็ ไซต์ ซอื้ เลอื กซอื้ มกั มรี าคาทตี่ า�่ กวา่ ราคาตลาด และยงั เขา้ ถงึ ชอ่ งทางอเี มลและโทรศพั ทใ์ นการยนื ยนั เพอื่ จา� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งจดโดเมนเนม ผซู้ อื้ บรกิ ารสามารถ สามารถใชเ้ ปน็ ขอ้ เปรยี บเทยี บในสนิ คา้ ประเภท ใหก้ ารซอ้ื ขายเสรจ็ สมบรู ณ ์ ทจี่ ะจดโดเมนเนมไดจ้ ากเวบ็ ไซตท์ เ่ี ปน็ รจี สิ ตรา้ ตา่ ง เดยี วกนั เพอื่ ใหผ้ ซู้ อื้ เลอื กซอื้ สนิ คา้ ไดค้ มุ้ คา่ มาก ๆได ้ ทงั้ ดอทออะไร (dotarai.co.th) หรอื โกเดด ทสี่ ดุ และนอกจากนย้ี งั สามารถเปรยี บเทยี บราคา เวบ็ ไซตอ์ คี อมเมริ ซ์ แตล่ ะแหง่ มคี วามแตกตา่ ง ด ี้ (Godaddy.com) การซอ้ื ของออนไลน ์ ชอ่ งทาง สนิ คา้ จากเวบ็ ตา่ ง ๆไดอ้ กี ดว้ ย ดว้ ยขอ้ ดตี า่ งๆ ดงั กนั ในแตล่ ะเวบ็ ไซต ์ ประเภททพี่ บมากทสี่ ดุ คอื การ ทน่ี ยิ มอกี หนงึ่ ชอ่ งทาง นนั่ คอื การซอ้ื ของออนไลน์ กลา่ วทา� ใหผ้ คู้ นเรม่ิ ใหค้ วามสนใจกบั การซอ้ื ของ ขายปลกี ทง้ั สนิ้ คา้ ทเี่ ปน็ ของตนเองและสนิ คา้ ทร่ี บั ผา่ นแอปพลเิ คชนั ตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ shopee , ออนไลนม์ ากขน้ึ และมแี นวโนม้ ทจ่ี ะเตมิ โตมากขน้ึ มาอกี ทอด LAZADA , KaiDee หรอื Lineshop ฯลฯ
๑๑๙ การประมูลออนไลน์ พฤติกรรมการประมลู ออนไลนท์ ่ีพบไดบ้ ่อยใน ประเทศไทย นอกเหนือจากการประมูลในเว็บไซต์ ต่าง ๆ แลว้ คนไทยได้มกี ารใช้แพลตฟอร์ม เฟซบุก๊ (Facebook) ในเรอื่ งเปน็ ชอ่ งทางสา� หรบั การประมลู เนื่องจากคนไทยมีปรมิ าณการใชเ้ ฟซบุ๊กสงู หลาย ลา้ นบัญช ี ทา� ให้การใช้ชอ่ งทางเฟซบกุ๊ สามารถเขา้ ถึงผู้คนได้ง่ายและเป็นจ�านวนมาก โดยการสร้าง กลุ่มในเฟซบุ๊กข้ึนมา อาจจะเป็นกลุ่มสาธารณะ กล่มุ ปิด หรอื แม้แตก่ ลุม่ ลับ เพื่อใหส้ มาชกิ ไดร้ ว่ ม กันประมลู หลักการประมูลออนไลน์ เรียกได้ว่าแทบไม่ แตกต่างจากการประมูลแบบปกติ ซ่ึงหลักการมี เพียงไม่กี่ขั้นตอน ก็คือเม่ือท�าการเลือกสินค้าหรือ บรกิ ารทผี่ ู้ใช้หรอื ผปู้ ระมูลสนใจ จะตอ้ งรว่ มประมลู แข่งกับผู้ประมูลรายอ่ืน ๆ ภายใต้ระยะเวลาที่ ก�าหนดไว้ ถ้ามีผู้เสนอราคาสูงสดุ และไมม่ ีบุคคล อ่นื มาเสนอราคาที่สงู กว่า ผ้นู นั้ จะเปน็ ผู้ชนะและได้ รับสินค้าเหลา่ นั้นไป ภาพท่ี ๑ การประมูลออนไลน์คอื บรกิ ารทใี่ หผ้ เู ้ ขา้ ประมูล เสนอราคาทต่ี อ้ งการซอื ้ สินคา้ หรอื บรกิ ารผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต ช่วยอาํ นวยความสะดวกให ้ ภาพท่ี ๒ ทงั้ ผูซ้ อื ้ แมว้ า่ จะอยู่ต่างสถานที่กนั กส็ ามารถทาํ การประมูลได ้ การประมลู ออนไลนถ์ อื เปน็ กจิ กรรมหนงึ่ ทไ่ี ดร้ บั ออนไลนท์ ี่มีสว่ นแบ่งการตลาดมากกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ประมูลสินค้าออนไลน์ ต้องพึงระวังไว้เสมอ ความนยิ มในการทา� ธรุ กรรมออนไลน ์ เนอื่ งจากไมม่ ี รองลงมา คือ การประมูลออนไลน์ของ อเมซอน เพราะอาจไม่ได้รับสินค้า หรือได้รับสินค้าท่ีไม่ตรง คา่ ใชจ้ า่ ยลว่ งหนา้ และไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยใด ๆ ในกรณี (Anazon.com) ปริมาณการเข้าชมเว็บไซต์เหล่าน้ี ตามที่ระบไุ ว ้ ดังนั้นจึงต้องสังเกตคะแนนของผู้ขาย ที่ไม่ได้เป็นผู้ชนะการประมูล ไม่จ�าเป็นต้องมี ดงึ ดูดใหผ้ ้ปู ระมูลเข้ามาร่วมประมลู สินค้าและ สินค้าและความคิดเห็นของผู้ร่วมประมูลคนอื่น ๆ พนักงานขายหรือผู้จัดจ�าหน่าย ไม่มีการลงทุนใน บริการออนไลน์ ที่ได้เขียนไว้ นอกจากน้ีควตรวจสอบนโยบายการ คร้ังแรก และที่ส�าคัญสามารถหาซ้ือสินค้าและ เรียกคนื สนิ ค้า และการรับประกนั สนิ ค้าดว้ ย ทงั้ นี้ บรกิ ารไดใ้ นราคาทพี่ งึ พอใจจากการประมลู ออนไลน ์ แพลตฟอร์มท่ีเป็นของคนไทยส�าหรับการ ความเชอ่ื ถอึ ของผขู้ ายสนิ คา้ เกดิ จากประวตั กิ ารขาย และสามารถชว่ ยใหไ้ ดร้ าคาทถ่ี กู กวา่ ราคาตลาดปกติ ประมูลออนไลน์ เชน่ ชลิ ินโด้ (chinlindo.com) ซ่งึ และการส่งสินค้า ผู้ประมูลไม่ควรหลงเช่ือค�า มสี ินคา้ และบริการให้ร่วมประมูลทีห่ ลากหลาย ทั้ง โฆษณา ควรใช้วจิ ารณญานในการตรวจสอบ ในตลาดการประมูลออนไลน์ เช่น อีเบย ์ สนิ คา้ สภุ าพบรุ ษุ สภุ าพสตร ี บา้ นและสวน ทอ่ งเทยี่ ว (Ebay) ถือเป็นผู้น�าอุตสาหกรรมการประมูล และกฬี า ฯลฯ
๑๒๐ ธนาคารออนไลน์ ตา่ งๆยงั แยกตามจา� นวนเงนิ โอนอกี ดว้ ย เชน่ ๑๔ - ๑๕ ๑. ฟรคี า่ ธรรมเนยี ม เมอื่ โอนเงนิ ไมเ่ กนิ ๕,๐๐๐ บาท ๒. คา่ ธรรมเนยี ม ๒ บาท เมอ่ื โอนเงนิ ตง้ั แต่ ๕,๐๐๐ – ๓๐,๐๐๐ บาท ๓. คา่ ธรรมเนยี ม ๕ บาท เมอ่ื โอนเงนิ ตง้ั แต ่ ๓๐,๐๐๐ – ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๔. คา่ ธรรมเนยี ม ๑๐ บาท เมอ่ื โอนเงนิ ตง้ั แต ่ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ขน้ึ ไป แมก้ ารใชง้ านพรอ้ มเพยจ์ ะมคี า่ ธรรมเนยี ม แต่ กย็ งั ถอื วา่ ถกู กวา่ การโอนเงนิ แบบปกตไิ ปยงั ตา่ ง ธนาคาร โดยปกตเิ มอ่ื ทา� การโอนเงนิ ตา่ งธนาคาร ผ้ใู ชจ้ ะตอ้ งเสียค่าธรรมเนยี ม ๒๕ บาท ตอ่ ๑ ธรุ กรรม สา� หรบั การแขง่ ขนั ของการทา� ธนาคารออนไลน ์ ธนาคารตา่ ง ๆ พยายามเปดิ พน้ื ทใ่ี หบ้ รกิ าร โดย สรา้ งแอปพลเิ คชนั ใชง้ านสา� หรบั การทา� ธรุ กรรม ทางการเงนิ สง่ ผลใหก้ ารเกบ็ คา่ ธรรมเนยี มเมอ่ื ทา� ธรุ กรรมตา่ งธนาคารหมดไป เพอื่ เปน็ การดงึ ผใู้ ชใ้ ห้ มาใชง้ านเวบ็ ไซตข์ องผใู้ หบ้ รกิ าร จากเดมิ ทกี่ ารโอน ธนาคารออนไลนห์ รือ (Online Banking) คือ การทําธุรกรรม เงนิ ขา้ มธนาคารหรอื แมแ้ ตธ่ นาคารเดยี วกนั แตต่ า่ ง ต่างๆ กบั ธนาคาร ผ่านเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต เช่น การฝาก การโอน สาขาอาจมคี า่ ธรรมเนยี มเกดิ ขนึ้ แตใ่ นปจั จบุ นั ทกุ หรอื สอบถามยอดคงเหลอื ในบญั ชี ธนาคารประกาศยกเลกิ คา่ ธรรมเนยี มการทา� ธรุ กรรมผา่ นธนาคารออนไลนแ์ ลว้ นอกจากน้ียังมีชื่อเรียกรูปแบบการบริการ แตเ่ ดมิ ธนาคารออนไลนส์ ามารถทา� ธรุ กรรมได้ ธนาคารเหลา่ น ้ี เชน่ ธนาคารอนิ เตอรเ์ นต็ (Internet เพยี งเชค็ ยอดเงนิ คงเหลอื ในปจั จบุ นั โอนเงนิ และรบั QR-CODE Payment ธนาคารหลายแหง่ ให้ Banking), ธนาคารอิเล็กทรอนิกส ์ (Electronic เงนิ เพยี งเทา่ นน้ั และสา� หรบั ความปลอดภยั ในการ นา� เทคโนโลย ี QR-CODE Payment มาใชใ้ นการ Banking), ธนาคารไซเบอร์ (Cyber Banking) ใชง้ านธนาคารตา่ ง ๆ ไดก้ า� หนดใหผ้ ใู้ ชง้ าน ตงั้ คา่ ทา� ธนาคารออนไลน ์ เพอ่ื ดงึ ผใู้ ชง้ าน การใช ้ QR รหัสผ่าน เมื่อต้องใช้แอปพลิเคชันของธนาคาร เปน็ ตน้ ออนไลน ์ การปอ้ งกนั การเชอื่ มตอ่ ไวไฟ (Wi-Fi) เวลา CODE Payment นนั้ งา่ ย เพยี งแคเ่ ขา้ แอปพลเิ ค บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร ทา� ธรุ กรรมทางเงนิ แตใ่ หใ้ ชเ้ ครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ ผา่ น ชนั แสกน QR CODE Payment กจ็ ะสามารถโอน การจดั การทางการเงนิ ของผใู้ ชบ้ รกิ ารผา่ นโลก หมายเลขของผใู้ ช ้ เชน่ ธนาคารกสกิ ร ถา้ ผใู้ ชง้ าน เงนิ ไดแ้ ลว้ เปน็ อนั เสรจ็ สน้ิ ธนาคารหลาย ๆ แหง่ ออนไลน ์ สามารถทา� ไดด้ ว้ ยอปุ กรณเ์ คลอ่ื นท ่ี หรอื เชอื่ มตอ่ ไวไฟและใชง้ านแอปพลเิ คชนั K-bank ผใู้ ช้ ไดน้ า� QR-CODE Payment มาผลกั ดนั ใหร้ า้ นคา้ คอมพิวเตอร์ โดยท่ีไม่จ�าเป็นต้องไปท่ีสาขาของ จะไมส่ ามารถ ทา� ธรุ กรรมใด ๆ ไดน้ อกเหนอื จาก ตา่ ง ๆ นา� QR-CODE Payment ของธนาคารมา ธนาคาร ในปจั จบุ นั มกี ารใชเ้ งนิ อเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ าก การเชค็ ยอดเงนิ คงเหลอื ในปจั จบุ นั แตข่ องธนาคาร วางไวท้ หี่ นา้ รา้ น เมอื่ เวลาลกู คา้ เขา้ รา้ น สอบถาม ขนึ้ แมว้ า่ บางคนยงั คงใชเ้ งนิ สดในการชา� ระสนิ คา้ อน่ื ๆ ไมไ่ ดม้ กี ารลอ็ คการเขา้ ใชง้ าน โดยแมจ้ ะเชอ่ื ม ราคาสามารถแสกน QR-CODE และชา� ระเงนิ ได้ และบรกิ ารอยู่ ทนั ทโี ดยไมจ่ า� เปน็ ตอ้ งบอกเลขบญั ชใี หท้ างลกู คา้ ธนาคารในประเทศไทยมคี วามตน่ื ตวั สา� หรบั ตอ่ ไวไฟกส็ ามารถทา� ธรุ กรรมทางการเงนิ ไดท้ กุ อยา่ ง ทราบดงั ทเ่ี ราไดค้ นุ้ ชนิ กนั ด ี เชน่ แมม่ ณขี องทาง การเปน็ ธนาคารออนไลน ์ ธนาคารพาณชิ ยต์ า่ ง ๆ ดงั นนั้ ผใู้ ช ้ ตอ้ งระวงั การทา� ธรุ กรรมทางการเงนิ วา่ ธนาคารไทยพาณชิ ย ์ บลิ แมวเขยี วของทางธนาคาร ถอื วา่ มบี ทบาทสา� คญั ในการววิ ฒั นาการดงั กลา่ วรวม ไมค่ วรใชง้ านผา่ นไวไฟ (Wi-Fi) แมจ้ ะดา� เนนิ การใด กสกิ รไทย เปา๋ ตงุ ของทางธนาคารกรงุ ไทย เปน็ ตน้ ไปถงึ รฐั บาลสมยั พลเอกประยทุ ธ ์ จนั ทรโ์ อชา การ ๆ กต็ าม การดา� เนนิ การของธนาคารทกุ แหง่ ตอ้ งอยู่ กา� หนดแนวทางประเทศตามนโยบาย Thailand ๔.๐ ภายใตข้ องกา� หนดของธนาคารแหง่ ประเทศไทย นา� ประเทศเขา้ สสู่ งั คมไรเ้ งนิ สด (Cashless Society) พรอ้ มเพย ์(Prompt-Pay) คอื บรกิ ารรบั เปน็ แรงผลกั ดนั ใหก้ ลมุ่ ธนาคาร และภาคประชาชน และโอนเงินแบบใหม่ ช่วยให้การรับเงินโอนเงิน หนั มาใชธ้ นาคารออนไลนม์ ากขน้ึ เปลยี่ นแนวคดิ การ สามารถทา� ไดง้ า่ ยๆ เพยี งผใู้ ช ้ ใชเ้ บอรโ์ ทรศพั ท ์ หรอื ใหค้ วามสา� คญั กบั การหยบิ จบั เงนิ สด มาเปน็ ใหค้ วาม ใชเ้ ลขประจา� ตวั ประชาชน ของผรู้ บั โอน แทนเลข สา� คญั กบั จา� นวนตวั เลขทห่ี นา้ จอแสดงผล ทบ่ี ญั ชธี นาคารของผรู้ บั นอกจากน ้ี คา่ ธรรมเนยี ม
๑๒๑ การลงทุนออนไลน์ ภาพท่ี ๑ ๓๗.๘๗ ในปพี .ศ. ๒๕๖๐ และปี พ.ศ. ๒๕๖๑ มี สัดส่วนรอ้ ยละ ๓๔.๙๑ และรอ้ ยละ ๓๕.๔๐ ตาม ล�าดับ การลงทนุ ออนไลนส์ ามารถลงทนุ ซอ้ื ขายในสว่ น ของสกุลเงนิ ดจิ ิทลั (cryptocurrency) คอื สกลุ เงนิ ชนดิ หน่งึ อย่ใู นรูปแบบภาษาคอมพวิ เตอร์ สกลุ เงนิ ดิจิทัล มีความพิเศษกว่าสกุลเงินท่ัวไปตรงที่ ไม่มี ใครเป็นเจ้าของสกุลเงิน ถูกสร้างโดยคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้งานท่ัวโลก โดยใช้ระบบซอฟต์แวร์ในการ ถอดสมการ ในปจั จุบนั สกุลเงินดจิ ิทัล สามารถใช้ แทนเงนิ สดส�าหรบั ซือ้ สินคา้ ออนไลนไ์ ด้ ดว้ ยความ ที่สกุลเงินดิจิทัล ไม่มีหน่วยงานใดสามารถเข้ามา แทรกแซง ทา� ใหร้ าคาของสกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั ถกู กา� หนด ข้ึนจากผู้ใช้ด้วยกันเอง โดยอ้างอิงจากสมการทาง คณติ ศาสตรท์ โี่ ปรแกรมคอมพวิ เตอรใ์ ชส้ า� หรบั ถอด สมการ เพ่อื ผลิตเงินสกุลดิจทิ ลั ข้ึนมา ยกตวั อยา่ งเชน่ ในปจั จบุ นั สกลุ เงนิ บทิ คอยน ์ ๑ บิทคอยน์ มีมูลค่าประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ประกอบกบั สกลุ เงนิ บทิ คอยนม์ กี ารขน้ึ ลงของมลู คา่ อยตู่ ลอด ทา� ใหน้ กั ลงทนุ ตา่ งเขา้ มาลงทนุ ในสกลุ เงนิ บทิ คอยน์ มากขึน้ การลงทนุ ออนไลนแ์ มว้ า่ จะมคี วามสะดวกสะบาย ในการลงทนุ แตก่ ถ็ อื วา่ มคี วามเสย่ี ง ผใู้ ชบ้ รกิ ารการ ลงทุนออนไลน์ ต้องระวังมิให้มิจฉาชีพ หรือผู้อ่ืน การลงทุนออนไลน์ เป็ นวิธีการซอื ้ ขายหุน้ ในตลาดการเงนิ และตลาดทุน ทราบรหัสผ่าน ควรเปลย่ี นรหัสผา่ นอยู่เสมอ ตอ้ ง ระวงั การตรวจดกั ขอ้ มลู การลงทนุ เมอื่ มกี ารเชอ่ื มตอ่ โดยการวางคาํ สง่ ั ซอื ้ หรอื ขายหลกั ทรพั ยผ์ า่ นเครอื ขายอนิ เทอรเ์ นต็ ทาํ ให ้ กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือเครือข่ายไร้สาย มิจฉาชพี อาจส่งอเี มลโฆษณาชวนเชอ่ื ให้ลงทนุ โดย นกั ลงทนุ มีความสะดวกและรวดเรว็ ในการใชง้ าน เพราะผลู ้ งทนุ สามารถ อา้ งผลตอบแทนสูง หรอื ใช้อุบายเพอ่ื หลอกลวงเอา เหน็ ราคาการซอื ้ ขาย และคาํ สง่ ั ซอื ้ ไดท้ นั ที ผ่านอุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส ์ ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลหรอื รหสั ผ่าน หรอื หลอกให้ตดิ ต้งั ของนกั ลงทุน สามารถส่งคาํ สง่ ั ซอื ้ ไดด้ ว้ ยตวั เองทุกที่ ทุกเวลา โปรแกรมมัลแวร์ เพื่อดักข้อมูล ดงั นัน้ ผลู้ งทนุ ควร ศกึ ษาและใชว้ จิ ารณญานในการอา่ นขอ้ มลู การลงทนุ และคา่ ธรรมเนยี มสา� หรบั การซอื้ ขายหลกั ทรพั ย์ ความปลอดภัยมาตรฐานสากล แต่การลงทุน เพอื่ ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพ ผ่านอินเทอร์เน็ตแบบข้ันไดมีอัตราน้อยกว่าปกต ิ ออนไลนใ์ นตลาดทนุ ของประเทศไทยมสี ดั สว่ นทค่ี งท่ี โดยอยทู่ ี่ รอ้ ยละ ๐.๑๕ –๐.๒๐ ของมูลคา่ การซอื้ ในตลอด ๓ ปที ผ่ี า่ นทม่ี า โดยในป ี พ.ศ.๒๕๕๙ การ ผ้ใู ช้งานสามารถตงั้ รหสั ผ่าน ๒ ชั้น ภายใตร้ ะบบ ลงทุนออนไลน์ในตลาดทุน มีสัดส่วนร้อยละ
๑๒๒ สถานีวิทยุออนไลน์ แบบคล่นื ผฟู้ งั สามารถเขา้ ไปขอเพลงได้จากผจู้ ดั ๑๔ - ๑๕ รายการด้วยการพิมพ์ข้อความผ่านห้องสนทนา ภายในเวบ็ ไซต์ได ้ หลายคนอาจไมฟ่ งั วทิ ยจุ ากเครอื่ งวทิ ยกุ นั แลว้ ในปัจจุบัน ท�าให้สถานีวิทยุปรับเปลี่ยนการออก อากาศ รูปแบบดีไซน์และแพลตฟอร์ม มาเป็น สถานวี ิทยอุ อนไลน ์ ซึ่งเป็นสื่อที่มียอดการใชง้ าน เพ่ิมสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว อุปกรณ์การรับฟังไม่ได้ จา� กดั แคเ่ พยี งวทิ ยแุ บบเดมิ อกี ตอ่ ไป ผใู้ ชส้ ามารถ เข้าถึงสถานีวิทยุออนไลน์ได้จากคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต หรือแม้แต่อุปกรณ์ อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ นื่ ๆ อยากไรกต็ ามกย็ งั คงรปู แบบ การรบั ฟงั สถานวี ทิ ยใุ นรปู แบบเดมิ แมว้ า่ จะเปน็ ใน โลกออนไลน์ก็ตาม กล่าวคือ เป็นรูปแบบที่ทาง สถานเี ปดิ เพลงทค่ี ดั สรรจากความชอบของผฟู้ งั มี เวบ็ ไซตม์ ากมายทท่ี า� การรวบรวมสถานวี ทิ ยเุ อาไว ้ สามารถรบั ฟงั ผ่านช่องทางออนไลน ์ รูปแบบการรับฟังสถานีวิทยุออนไลน์มีอยู่ หลายรูปแบบ เช่น ๑. พอดแคสต ์ (Podcast) หมายถงึ รูป แบบการเผยแพร่เสียงผ่านทางอินเทอร์เนต็ เปน็ ไฟล์เสียงท่ีมีข้อมูลและเพลง พอดแคสต์มักจะ ได้รับการบันทึกไว้ล่วงหน้า หรือในบางกรณีก็ สามารถถา่ ยทอดสดได้ ผู้ใช้สามารถฟังเพลงได้ ทกุ เวลา ตวั อยา่ งผใู้ ห้บริการพอดแคสตใ์ ประเทศไทย เช่น Thestandard เป็นส�านักข่าวที่มีน�าเสนอ คอนเทนตต์ า่ ง ๆ ทม่ี คี ณุ ภาพมากมาย รวมไปถงึ การให้บริการพอดแคสต์ ที่ให้เราเลือกฟังหลาก หลายสไตล์ เว็บไซต์ soundcloud.com เป็นแหล่งรวม พอดแคสต์ ไม่ว่าจะเป็นพอดแคสต์ “โปรดใช้ สถานีวทิ ยอุ ออนไลน์(Radio Online) คอื สถานีวทิ ยทุ อ่ี อกอากาศโดย วจิ ารณญาณในการรบั ฟงั ” หรอื แมแ้ ต ่ พอดแคสต์ ใชไ้ ฟลเ์ สียง การเทปอดั เสียงหรอื จากแผน่ CD รวมไปถงึ รายการสด “โลกไปไกลแล้ว” คุณก็สามารถหาได้ที่ sound โดยออกอากาศผ่านระบบเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต สามารถออกอากาศ cloud.com เชน่ กนั บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร ไปไดท้ ุกที่ที่มีการเชอื่ มต่อเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต สามารถออกอากาศ ๒. การถา่ ยทอดสดหรอื การสตรมี ม่ิง ไปไดท้ ว่ ั ภูมิภาค ทว่ ั ประเทศ และทว่ ั โลก ขอ้ มูล (Live Streaming) เป็นวิธีการ เผยแพร่แบบถ่ายทอดสด ท�าให้ผู้ฟังสามารถมี ความนิยมฟงั เพลงท่ไี มม่ ีแนวโน้มเสอื่ มถอย แทนการรบั รายการวทิ ยผุ า่ นสญั ญาณคลนื่ แบบเดมิ สว่ นรว่ มกบั ทางผจู้ ดั รายการไดใ้ นขณะจดั รายการ ไม่ว่าเทคโนโลยีจะเปล่ียนแปลงไปมากแค่ไหน ในสถานีวทิ ยอุ อนไลนน์ ี้ สามารถรับรายการวิทยุ วิทยุ เป็นวิธกี ารส่งไฟล์เสียงและวีดีโอออนไลน์ สถานวี ทิ ยอุ อนไลน ์ จึงถอื เปน็ จุดเริ่มตน้ ของการ ได้มากกว่า ๑๐,๐๐๐ สถาน ี และไมจ่ �ากัดเฉพาะ เพ่ือเล่นทันที ในอดีต การรับฟังวิทยุจะได้ยิน เฉพาะเสยี งเทา่ นั้น แต่เม่อื อุปกรณท์ ีใ่ ชเ้ ปล่ยี นไป ปฏิวัติวงการวิทยุ อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรม สถานีวิทยทุ ใ่ี นอยพู่ ้นื ที่ของผู้ใช้งานเท่านน้ั ผู้ฟังสามารถรับฟังพร้อมกับรับชมภาพการจัด จ�าเปน็ ทจี่ ะตอ้ งปรบั ตัวให้สอดรับกับพฤติกรรมผู้ รายการสถานีวิทยุได้พร้อมกัน เช่น สถาน ี บรโิ ภคทเี่ ปลย่ี นไป จากเดมิ ทกี่ ารรบั ฟงั ทางเครอื่ ง ขอ้ ดขี องสอื่ วทิ ยทุ สี่ อ่ื อน่ื ไมม่ กี ค็ อื ปฏสิ มั พนั ธ์ Greenwave.fm วทิ ยสุ อื่ สาร เปลย่ี นเปน็ การรบั ฟงั ผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ กับผู้ฟงั สามารถที่จะโต้ตอบกบั ผฟู้ ังได้ทันทีด้วย ทา� ใหเ้ กดิ การน�าสถานีวทิ ยุมาอยใู่ นโลกออนไลน์ เครอื ขา่ ยการสอ่ื สารทรี่ วดเรว็ ซงึ่ ตา่ งากระบบวทิ ยุ
๑๒๓ โทรทศั นแ์ ละวิดีโอ ออนไลน ์ ในอดีตผูค้ นรบั ชมข่าวสารหรือ โทรทัศน์รับชมรายการหรือละครเรื่องโปรด คุณ โดยผใู้ ชส้ ามารถดรู ายการหรอื ภาพยนตรก์ เี่ รอ่ื งกคี่ รงั้ ละครเร่ืองโปรดผ่านทางโทรทศั น์ สามารถรบั ชมไดท้ กุ ท ่ี ทกุ เวลา กไ็ ดต้ ามความตอ้ งการ และเวลาใดกไ็ ดภ้ ายในระยะ สญั ญาณแบบอนาล็อก ตอ้ งรอ เวลาการเปน็ สมาชกิ การออกอากาศออนไลนต์ าม เวลากลบั บา้ นถงึ จะสามารถรบั ชม สิ่งส�าคัญท่ีสุดส�าหรับการชมทีวี และวิดีโอ ความตอ้ งการน ้ี เชน่ บรกิ ารของ Netflix ออนไลน ์ คอื การทผี่ เู้ ผยแพรจ่ ะตอ้ งสามารถเผยแพร่ รายการได ้ รายการทางชอ่ งทางออนไลนไ์ ด้ การรับชมโทรทัศน์และวีดีโอออนไลน์เป็นการ ทา� ใหช้ ว่ งเวลาไพรม์ ไทมข์ องสถานโี ทรศพั ทจ์ ะอยู่ ในชว่ งเยน็ การรบั ชมโทรทศั นถ์ อื เปน็ กจิ กรรมทท่ี า� ๑. การถา่ ยทอดสด (Live) เชน่ แพลตฟอรม์ ถา่ ยโอนขอ้ มลู ในปรมิ าณสงู อาจทา� ใหส้ น้ิ เปลอื งแพค รว่ มกนั ทง้ั ครอบครวั แตเ่ มอื่ โลกเปลย่ี นไป เทคโนโลยี เฟซบกุ๊ และการถา่ ยทอดสดผา่ นชอ่ งทางเวบ็ ไซตข์ อง เกจ็ อนิ เทอรเ์ นต็ หากผใู้ ชไ้ มม่ กี ารคา� นวณแพคเกจ็ มีบทบาทกับชีวิตมากขึ้น ผู้คนสามารถเข้าถึง ทางสถานเี อง เปน็ การออกอากาศแบบคขู่ นาน ทา� ให้ อนิ เทอรเ์ นต็ ของตนเองใหด้ อี าจทา� ใหเ้ กดิ คา่ ใชจ้ า่ ยที่ อินเทอร์เน็ตได้ง่าย ในอดีตรายการโทรทัศน์ท่ีออ ผชู้ ม ไมพ่ ลาดในรายการทผี่ ชู้ มสนใจ แมว้ า่ จะอยใู่ น มากขนึ้ ตามมา และยงั สง่ ผลกระทบถงึ คณุ ภาพของ กกาศจะมตี ารางเวลาออกอากาศทตี่ ายตวั หากเมอื่ สถานทใี่ ด ๆ กต็ าม วดี โี ออยใู่ นระดบั ความคมชดั ทต่ี า่� ลงมาก ดงั นน้ั ผใู้ ช้ คณุ พลาดการรบั ชม คณุ จะไมส่ ามารถหาชมยอ้ นหลงั งานควรมีความพร้อมด้านการเชื่อมต่อเครือข่าย ได ้ ซง่ึ บางรายการตอ้ งรอไปอกี ๑ สปั ดาหใ์ นการรบั ชมอกี ครงั้ การชมโทรทศั นแ์ ละวดี โี อออนไลนจ์ ะทา� ให้ ๒. การถ่ายทอดตามความตอ้ งการ อนิ เทอรเ์ นต็ เพอ่ื ปอ้ งกนั ปญั หาดงั กลา่ ว ผคู้ นไมจ่ า� เปน็ ตอ้ งรอเวลาเลกิ งานกลบั บา้ นเพอ่ื เปดิ ดู (On Demand) หมายถึง การถ่ายทอดสด รายการหรอื ภาพยนตเ์ มอื่ ผชู้ มตอ้ งการ ซงึ่ มกั เกบ็ คา่ บรกิ ารรบั ชมกบั ผชู้ ม อาจเกบ็ เปน็ คา่ สมาชกิ รายเดอื น
๑๒๔ โทรทศั นแ์ บบ ๑๔ - ๑๕ ปฏสิ มั พนั ธ ์ ภาพท่ี ๑ ถงึ แมจ้ ะมีรายการแบบ คอนเนก ทีวี แต่ในประเทศไทย รายการแบบนีก้ย็ งั ไม่ไดร้ บั ความนิยม ทา� การดักขอมูลหรือดึงขอ้ มลู ของผูใ้ ชง้ านไปใช้ ประโยชน์และสรา้ งความเสียหายได้ โทรทศั นแ์ บบปฏิสมั พนั ธ ์ (Interactive television)หรือ โทรทศั น์ ในประเทศไทยยงั ไมม่ กี ารผลติ รายการใด แต่ บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร แบบโตต้ อบ คือ การบูรณาการเทคโนโลยีโทรทศั นแ์ บบดงั้ เดิมและ ดว้ ยวตั ถปุ ระสงคท์ ต่ี อ้ งการใหผ้ ชู้ มไดม้ ปี ฏสิ มั พนั ธ์ การบรกิ ารขอ้ มูลผ่านเคเบิลสองทาง โดยผูร้ บั ชมสามารถโตต้ อบกบั กบั โทรทศั นน์ อกเหนอื จากการรบั ชมนน้ั ทา� ใหเ้ กดิ ผูด้ าํ เนินรายการได ้ และจาํ เป็ นตอ้ งใชก้ ลอ่ งสญั ญาณเฉพาะในการ คอนเนก ทวี ี (Connect TV) ด้วยพฤตกิ รรมของ เชอ่ื มต่อ คนไทยทตี่ ดิ การใชส้ มารท์ โฟน จงึ ไดม้ กี ารปรบั ให้ สามารถน�าอุปกรณส์ อ่ื สารอื่น ๆ เชน่ โทรศพั ท์ โทรทัศน์แบบปฏิสมั พนั ธ ์ จึงเป็นการพฒั นา รบั สญั ญาณสามารถบนั ทกึ และสง่ ขอ้ มลู กลบั ไปยงั หรือแท็บเล็ต ให้สามารถใช้ร่วมกับการรับชม โทรทศั น์เพ่ือสรา้ งประสบการณแ์ ปลกใหม่ให้แก่ ใหผ้ ชู้ มโทรทศั นส์ ามารถมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั โทรทศั น์ ผู้ให้บริการเคเบิล เกี่ยวกับรายเอียดพฤติกรรม ผ้รู บั ชม โดยปกต ิ ผ้ชู มตอ้ งดาวน์โหลดโปรแกรม ของทางรายการกอ่ น และเมอ่ื ถงึ เวลาออกอากาศ ไดม้ ากกวา่ แคก่ ารนงั่ รบั ชมรายการในแบบเดมิ ๆ การดูทวี ีของผ้ชู ม และข้อมลู สว่ นบคุ คลอน่ื ๆ ส่ิง ผชู้ มต้องเขา้ แอปพลเิ คชนั และร่วมกระทา� บางสง่ิ บางอย่าง เช่น เล่นเกม ตอบค�าถาม กับทาง ไม่วา่ จะเปน็ ร่วมเล่นรายการ พูดคยุ สมั ภาษณ์กบั เหล่านีผ้ ู้ให้บริการอาจนา� ไปใชป้ ระโยชนท์ างการ รายการแบบสด ๆ ผ่านการเล่นบนแอพพลเิ คชนั และรับชมโทรทัศนไ์ ปพร้อม ๆ กนั สื่อข่าว เป้าหมายหลักของโทรทัศน์แบบ ตลาด หรอื ขายขอ้ มลู ใหก้ ับนักการตลาด นอกจา ตัวอย่างโทรทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์ในอดีต ได้แก่ รายการ Game Show Social ของทาง ไทยรฐั ทีว ี (ในปจั จุบันระงบั การออกอากาศแลว้ ) เปน็ รายการทผี่ ชู้ มสามารถเขา้ รว่ มตอบคา� ถามกบั ทางรายการ และทราบผลคะแนนได้ทันที จาก การรบั ชมโทรทัศน์ ปฏสิ ัมพนั ธ์ คอื การมอบประสบการณท์ น่ี ่าสนใจ กนนย้ี งั มคี วามเสยี่ งเกยี่ วกบั การรบั โปรแกรมแฝง แกผ่ ชู้ ม โดยไมท่ นั รตู้ วั เชน่ โปรแกรม มลั แวร ์ เนอื่ งจากการ แสดงผลหน้าจอแบบเรียวไทม์อาจมีการแฝง โทรทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์ อาจท�าให้เกิดภัย หน้าต่างโฆษณา เมื่อท�าการกดเข้าไปอาจท�าให้ คุกคามความเป็นส่วนตัวของแต่ละบุคคล กล่อง ติดต้ังโปรแกรมที่ไม่รู้จัก ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้
๑๒๕ วิดีโอตามความ สว่ นประกอบของวดี โี อตามความตอ้ งการมอี งค์ ตอ้ งการ ประกอบทส่ี า� คญั ดงั น้ี ๑. เซริ ฟ์ เวอรว์ ดิ โี อ (Video Server) คอื เซริ ฟ์ เวอรเ์ กบ็ ขอ้ มลู ไฟลว์ ดิ โี อในรปู แบบดจิ ติ อล และ ท�าหน้าที่ส่งข้อมูลกลับไปยัง ไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร ์ (Client Server) เพอ่ื แสดงผล เมอื่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารสง่ คา� ขอ ไปทเี่ ซริ ฟ์ เวอรว์ ดิ โี อ ไฟลข์ อ้ มลู วดิ โี อ เปน็ ขอ้ มลู ทมี่ ี ขนาดทใ่ี หญแ่ ละมคี ณุ ภาพสงู ดงั นนั้ เซริ ฟ์ เวอรว์ ดิ โี อ ตอ้ งมปี ระสทิ ธภิ าพในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู และสง่ ขอ้ มลู วดิ โี อเหลา่ นไ้ี ปยงั ไคลเอนตเ์ ซริ ฟ์ เวอรไ์ ด้ ๒. ไคลเอนตเ์ ซิรฟ์ เวอร ์ (Client Server) คือ เคร่ืองคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ท่ีผู้ใช้ ใช้ร้องขอข้อมูลท่ี เซริ ฟ์ เวอรว์ ดิ โี อ และสามารถนา� เขา้ ขอ้ มลู ทไี่ ดร้ บั จาก เซริ ฟ์ เวอรส์ า� หรบั วดิ โี อมาแสดงผลทง้ั ภาพและเสยี ง ใหก้ บั ผใู้ ชง้ านได้ ตัวอย่างวิดีโอตามความต้องการ ได้แก่ ๑. Netflix กอ่ ตงั้ ใน ปคี .ศ. ๑๙๙๗ ภายใตบ้ รษิ ทั Pure Software ปจั จบุ นั เปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารความบนั เทงิ ทางอนิ เทอรเ์ นต็ มสี มาชกิ ถงึ ๑๓๐ ลา้ นคนทวั่ โลก จา� นวนกวา่ ๑๙๐ ประเทศ เปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารวดิ โี อสตรมี มงิ่ ภายใตโ้ มเดลธรุ กจิ วิดีโอตามความต้องการ ซึ่งผู้ใช้งานสามารถรับชม วดิ โี อตามความตอ้ งการไดท้ กุ เรอื่ งทกุ ท ี ทกุ เวลาตาม ระยะการสมัครเป็นสมาชิก ซึ่งมีค่าบริการตาม นโยบายการตลาด ในกรณที ใ่ี ชแ้ พค็ เกจพน้ื ฐาน จะ ไม่สามารถรับชมวิดีโอคุณภาพสูง และไม่สามารถ เชอื่ มตอ่ อปุ กรณเ์ พอ่ื ดพู รอ้ มกนั ไดม้ ากกวา่ ๑ เครอื่ ง ในกรณใี ชแ้ พค็ เกจพนื้ ฐาน จะสามารถรบั ชมวดิ โี อที่ คณุ ภาพสงู และสามารถเชอ่ื มตอ่ อปุ กรณเ์ พอ่ื ดพู รอ้ ม วดิ โี อตามความตอ้ งการ (Video on demand: VOD ) คอื ระบบทอี่ นุญาต กนั ไดม้ ากกวา่ ๑ เครอื่ ง แตไ่ มเ่ กนิ ๒ เครอ่ื ง ใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถเลอื กรบั ชม เนือ้ หาที่เป็ นวดี ีโอไดต้ ามความตอ้ งการ ไม่วา่ จะอยใู่ นสถานทใี่ ด หรอื ณ เวลาใด ตา่ งจากอดตี ทผ่ี ชู ้ มตอ้ งรบั ชมรายการ ๒. ดนู ่ี (Doonee.com) เปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารวดิ โี อ โทรทศั นท์ ี่ออกอากาศตามแผนผงั ของทางสถานี หากพลาดรายการที่ สตรมี มง่ิ ภายใตโ้ มเดลธรุ กจิ วดิ โี อตามความตอ้ งการ เชน่ เดยี วกบั Netflix เปน็ บรษิ ทั ของคนไทย ภายใต้ การด�าเนินงานของบริษัท มีเดียเพล็กซ์ อินเตอร์ ตอ้ งการรบั ชม กไ็ ม่สามารถรบั ชมยอ้ นหลงั ได ้ เนชน่ั แนล จา� กดั เนอื่ งจาก ดนู ี่ เปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารทเ่ี ปน็ บรษิ ทั ของคนไทย ทา� ใหเ้ นอื้ หาวดิ โี อภายในเวบ็ ไซต ์ การออกอากาศแบบ Multicast จะสง่ ขอ้ มลู ใหผ้ ู้ (HD) และมีค่าใช้จ่ายท่ีประหยัดกว่า แต่การท�า หรอื แอปพลเิ คชนั มหี มวดหมทู่ ห่ี ลากหลายและมี ใชแ้ ตล่ ะคน หรอื สง่ ขอ้ มลู ใหก้ บั ผใู้ ชท้ งั้ หมด และผใู้ ช้ ถา่ ยทอดสดสตรมี มง่ิ ผใู้ ชพ้ ดู คยุ สด (Live chat) หมวดหมลู่ ะครไทยอกี ดว้ ย การใหบ้ รกิ ารของดนู แ่ี บง่ ตอ้ งทา� การเชอื่ มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ กอ่ นเรมิ่ ใชง้ าน ซง่ึ สามารถถามและตอบคา� ถามได ้ ไมเ่ กดิ อาการลา่ ชา้ เปน็ แพค็ เกจการเปน็ สมาชกิ แตท่ กุ ระดบั สมาชกิ จะมี ต่างกับ ทีวีดิจิตอล ที่เป็นการท�างานแบบระบบ ระหว่างรับชมการถ่ายทอดสดสตรีมม่ิง และวิดีโอ สทิ ธทิ เ่ี ทา่ กนั หมด แตใ่ หบ้ รกิ ารเฉพาะในประเทศไทย Broadcast ท่ีเป็นการส่งข้อมูลให้กับผู้ใช้ท้ังหมด ตามความตอ้ งการไมไ่ ดแ้ ยกขาดกบั การทา� สตรมี มงิ่ เทา่ นนั้ ท่ัว ๆ ไป เพราะผใู้ หบ้ รกิ ารไดน้ า� ขอ้ ดขี องทง้ั ๒ แบบ มาผสาน รวมกนั ทา� ใหส้ ามารถทจี่ ะดวู ดิ โี อทไ่ี หนกไ็ ด ้ ไมเ่ กดิ ขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งวดิ โี อตามความตอ้ งการกบั อาการลา่ ชา้ แตย่ งั สามารถรบั ชมวดิ โี อทมี่ คี ณุ ภาพ การท�าถ่ายทอดสดตรีมม่ิง คือ วีดีโอตามความ สงู ได้ ตอ้ งการจะมคี ณุ ภาพของวดิ โี อและเสยี งในระดบั ทส่ี งู
๑๒๖ เคร่อื งบนั ทกึ วิดีโอ เปิดตวั ยูทูปทีว ี (Youtube TV) มาแข่งขันกบั ๑๔ - ๑๕ ดิจทิ ลั (Digital Video เคเบลิ ทวี ใี นสหรฐั อเมรกิ า ผชู้ มสามารถใชบ้ รกิ าร Recorder) บนั ทกึ วดิ โี อเสมอื นจรงิ Virtual DVR โดยไมจ่ า� กดั พืน้ ท่สี า� หรบั การบนั ทกึ เน้อื หา ปจั จุบันยทู ปู ทีวยี งั ไมไ่ ดเ้ ปิดใหบ้ ริการในประเทศไทย โดยให้บรกิ าร เฉพาะในพน้ื ทสี่ หรัฐอเมรกิ าเทา่ น้ัน เคร่ืองบนั ทึกวิดีโอดิจิทลั (Digital Video Recorder: DVR) เป็ น ๒. อตุ สาหกรรมกลอ้ งวงจรปิ ด ในอดตี อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกสท์ ี่บนั ทึกไฟลข์ อ้ มูลประเภทวิดีโอในรูปแบบ กล้องวงจรปิดที่มีไว้เพื่อเฝ้าระวัง สอดส่องดูแล ของดิจทิ ลั ไปยงั อปุ กรณจ์ ดั เกบ็ ขอ้ มูล เช่น ฮารด์ ไดรฟ์ แฟลซไดรฟ์ เหตกุ ารณห์ รือสถาการณท์ เี่ กิดข้ึนในสถานทตี่ ่าง การด์ หน่วยความจาํ เอสดี เอสเอสดี (SSD: Solid State Drive) หรอื ๆ สามารถทา� ได้เพียงบนั ทกึ ภาพ และตอ้ งตอ่ เข้า อปุ กรณจ์ ดั เกบ็ ขอ้ มูลอนื่ ๆ จอภาพเพื่อแสดงผลเท่าน้ัน ต่อมามีพัฒนาให้ กลอ้ งวงปดิ ใหเ้ ปน็ แบบอนาลอ็ ก ซงึ่ สามารถบนั ทกึ ภาพเพื่อท�าการดูย้อนหลังได้ แต่ข้อจ�ากัดของ ระบบอนาลอ็ ก คอื ระยะเวลาในการบนั ทกึ ทจ่ี า� กดั ด้วยเทป ซึ่งจะต้องเปล่ียนเทปใหม่อยู่เสมอและ ยากต่อการเก็บรักษาหรือค้นหา จึงได้มีการ พฒั นาขน้ึ มาสกู่ ารนา� เทคโนโลยเี ครอ่ื งบนั ทกึ วดิ โี อ แบบดิจิทัลมาใช้ในอุตสาหกรรมกล้องวงจรปิด เพ่ือขจัดปัญหาในการจัดเก็บไฟล์บันทึกต่าง ๆ จากเดมิ บนั ทกึ ขอ้ มลู ลงเทป กเ็ ปลยี่ นมาบนั ทกึ ลง บนฮารด์ ไดรฟ์ หรอื แมแ้ ตอ่ ปุ กรณบ์ นั ทกึ อนื่ ๆ ไม่ ว่าจะเป็นแฟลซไดรฟ์ การ์ดหน่วยความจ�าเอสด ี หรอื เอสเอสด ี ทา� ใหส้ ามารถเรยี กดไู ฟลท์ ที่ า� การ บนั ทกึ ไดท้ กุ ทท่ี กุ เวลา เพยี งเชอื่ มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ เท่าน้ัน การใชเ้ ครอื่ งบันทึกวิดีโอดิจทิ ลั ต้องคา� นงึ ถึง คุณภาพของการบันทึกไฟล์ ความระเอียดภาพ ความคมชัด เป็นต้น ซึ่งเครื่องบันทึกวีดีโอแบบ ดจิ ทิ ลั มรี ะบบการบนั ทกึ ทแี่ ตกตา่ งกนั โดยขนึ้ อยู่ กับความต้องการของผู้ใช้งาน ในขณะเดียวกันก็ ตอ้ งคา� นงึ ถงึ พน้ื ทจ่ี ดั เกบ็ ดว้ ย ยง่ิ ไฟลม์ คี ณุ ภาพสงู ไฟล์ยิง่ มขี นาดใหญเท่านน้ั วดิ โี อเปน็ สอ่ื มลั ตมิ เี ดยี รปู แบบหนง่ึ ทสี่ ามารถ บันทึกรายการที่ตนเองสนใจ ซึง่ สามารถต้ังเวลา แม้จะสามารถใช้เคร่ืองบันทึกวิดีโอบันทึก น�าเสนอเนื้อหาในรูปแบบภาพเคลื่อนไหวท่ี บันทึกล่วงหน้าได้ เพียงเปิดเคร่ืองบันทึกวิดีโอวิ วิดีโอท่ีเราต้องการ ไม่ว่าจะเพ่ือวัตถุประสงค์ใด สามารถมองเหน็ พรอ้ มทง้ั เสยี งบรรยายไดใ้ นเวลา ดิจทิ ัลรับสญั ญาณ และตั้งคา่ ต่าง ๆ เทา่ นน้ั ส่วน กต็ าม สงิ่ ทต่ี อ้ งพงึ ระวงั คอื กรรมสทิ ธแิ์ ละสทิ ธิ เดียวกนั ทา� ให้สื่อวิดีโอเปน็ สอื่ ท่ไี ด้รับความนยิ ม ใหญ่แล้วในขณะทีบ่ นั ทกึ วดิ ีโอดิจทิ ลั ไมส่ ามารถ ความเป็นเจ้าของ ในบางครั้งการท่ีบันทึกวิดีโอ ผู้ชมสามารถเรยี กดูวิดโี อ และหยดุ ดูเฉพาะภาพ เปลี่ยนช่องรับชมไปยังช่องอื่น ๆ ได้ คุณภาพ รายการใด ๆ ทชี่ น่ื ชอบ ถา้ ดใู นพนื้ ทสี่ ว่ นบคุ คลนนั้ บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร ที่สนใจระหว่างการดูวิดีโอได้ เทคโนโลยีเคร่ือง ความคมชัดของภาพทไ่ี ดร้ ับจะข้ึนอยกู่ ับคณุ ภาพ ย่อมไม่มีปัญหา แต่ถ้ามีการน�าวิดีโอเหล่านั้นไป บนั ทกึ วดิ ีโอดิจทิ ลั ได้มกี ารนา� มาใช้อตุ สาหกรรม รายการของทางช่องที่เราบันทึก ในปัจจุบัน อพั โหลดหรอื เผยแพรต่ อ่ ในชอ่ งทางอน่ื ๆ ไมว่ า่ จะ ตา่ ง ๆ อาท ิ เทคโนโลยีบันทึกวิดีโอดิจิทัลได้มีการพัฒนาข้ึน เปน็ เฟซบกุ๊ ยทู ปู ทวติ เตอร ์ โดยทไี่ มไ่ ดร้ บั อนญุ าต ไม่เฉพาะแค่บันทึกลงในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล จากเจา้ ของ จะเขา้ ขา่ ยผดิ กฎหมายพระราชบญั ญตั ิ ๑. อตุ สาหกรรมโทรทศั น ์ ผชู้ มมกั ประสบ ฮารด์ ไดรฟ์ เทา่ นนั้ แตย่ งั สามารถบนั ทกึ ลงบนคลา ดา้ นลขิ ลทิ ธไ์ิ ด้ ปัญหาไมส่ ามารถดรู ายการที่ตนเองชนื่ ชอบยอ้ น วด์ (Cloud) เปรียบเสมอื นศนู ย์เครือข่ายขอ้ มูล หลังได ้ ในขณะท่ีตนเองไมส่ ะดวกท่ีจะดรู ายการ ขนาดใหญ่ท่ีมีพ้ืนที่มหาศาล ผู้ใช้บริการสื่อที่น�า น้นั ๆ ในบางโอกาส เช่น รายการท่ีชื่นชอบออก เทคโนโลยเี ครื่องบนั ทึกวิดีโอมาผสมผสานลงบน อากาศดึกเกินไป หรือมีธุระออกไปข้างนอกไม่ ระบบคลาวด์ คอื ยทู ปู (Youtube) โดยยูทูปถือ สามารถรับชมรายการเหล่านั้นได้ เทคโนโลยี เป็นผู้ใหบ้ รกิ ารท่ีน�าเสนอคอนเทนต์รปู แบบวิดีโอ เครื่องบนั ทึกวิดโี อดจิ ิทัลน้ี ทา� ให้ผคู้ นสามารถตงั้ ท่ีได้รับความนิยมสูงที่สุดในโลก และได้ท�าการ
๑๒๗ การเลน่ เกม ออนไลน ์ การเลน่ เกมออนไลน์ หมายถงึ กจิ กรรมรปู แบบ หน่ึงที่มีแข่งขนั เพ่ือชิงความเป็ นผูช้ นะ หรือ เล่นเพ่ือความบนั เทิงสนุกสนาน การเล่นเกม ออนไลน์ผเู ้ ลน่ เกมจาํ เป็ นตอ้ งมีการดาวนโ์ หลด โปรแกรมเกมลงบนอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส ์อาทิ โนต้ บุค๊ แท็บเล็ต สมารต์ โฟน ท่ีเช่ือมต่อกบั เครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต จึงจะสามารถเล่นเกม ได ้ เกมออนไลนย์ งั มีส่วนช่วยใหเ้ กิดการสรา้ ง ความมีปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู ้ ลน่ เกมดว้ ยกนั เอง สามารถพูดคุย หรอื รว่ มทาํ ภารกิจไปพรอ้ มกบั ผูเ้ ลน่ เกมรายอนื่ ได ้ เกมออนไลน์เป็นการน�าโมเดลธุรกิจการสมัครมาใช้ กล่าวคือผู้ เล่นเกมจ�าเป็นท่ีจะต้องสมัครสมาชิก (Member Login) ในหน้า เว็บไซต์เกมเสียก่อน จึงจะสามารถเล่นเกมได้ เกมออนไลน์มีให้ บริการ ๒ รูปแบบ ได้แก ่ ๑. เกมท่ีใหบ้ รกิ ารแบบไม่เสียค่าใชจ้ า่ ย ผู้เล่นสามารถ ดาวน์โหลดมาเล่นได้ทันที เกมลักษณะน้ีผู้เล่นจะไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่จะเป็นการขายในสินค้า แพ็คเกจ สิทธิพิเศษอ่ืน ๆ ภายในเกม แทน เพ่ือเพิ่มความสามารถให้กับตัวละครภายในเกม เกมที่ให้บริการแบบเสียค่าใช้จ่าย ผู้เล่นเกมจ�าเป็นที่จะต้องเสีย ค่าบริการก่อนท่ีจะดาวน์โหลดเกม โดยมีท้ังเสียค่าบริการเพียงคร้ัง แรกเม่อื ซอื้ เกม และเสยี ค่าบริการเปน็ ค่าสมาชกิ รายเดือนหรือรายปี ๒. เกมออนไลนท์ ่ไี ดร้ บั ความนิยม คือ รูปแบบ Massive Multiplayer Online Role-Playing Game : MMORPGs เป็นรูป แบบท่ีผู้เล่นจะจ�าลองบทบาทในโลกเสมือนจริงท่ีเกมเหล่าน้ันสร้าง ข้ึน ผู้เล่นสามารถสร้างตัวละคร สมมติบทบาทของตัวละครและ ควบคุมการกระท�าของตัวละคร เกม MMORPGs ที่ได้รับความนิยม ได้แก่ ๑. แรค็ นารอ็ คออนไลน์(Ragnarok Online) ถูกพัฒนา ขึ้นโดยบริษัท กราวิตี้ คอร์ปอเรช่ัน ประเทศเกาหลีใต้ เปิดให้บริการ เป็นคร้ังแรกในเกาหลีใต้เมื่อ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยเนื้อหา ส่วนใหญ่มาจากการ์ตูนเร่ือง แร็คนาร็อค ภูตเทพวิบัติ ซึ่งประพันธ์ โดยอี มย็อง-จิน ส�าหรับในประเทศไทยเปิดให้บริการวันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๕ เกมแร็กนาร็อกเป็นเกมออนไลน์แบบเล่น ตามบทบาท ซ่ึงท�าให้ผู้เล่นสามารถพบปะ และมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เลน่ อื่นไดอ้ ยา่ งอสิ ระ การเลน่ เกมแร็กนารอ็ ก ผู้เล่นเกมจะตอ้ งเลือกทีจ่ ะ
เล่นเป็นตัวละครอาชีพต่างๆ ซ่ึงตัวละครแต่ละอาชีพจะมีความ ๑๔ - ๑๕ สามารถ จดุ เดน่ และจดุ ดอ้ ยแตกตา่ งกนั ไป มที ง้ั สายอาชพี ทส่ี ามารถ เอาตัวรอดด้วยตัวเองได้ และสายอาชีพที่มีความสามารถท่ีจะช่วย บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร เหลอื ผเู้ ลน่ อน่ื พนื้ ฐานโดยทวั่ ไปของการเลน่ เกม คอื การกา� จดั สตั ว์ ประหลาดเพอื่ สะสมสงิ่ ของตา่ งๆ (Items) และไดร้ บั คา่ ประสบการณ์ เพือ่ น�ามาพัฒนาความสามารถของตนใหส้ งู ขน้ึ ทงั้ น้ีผ้ทู ่จี ะเลน่ เกม ต้องท�าการลงทะเบยี นผ่านหน้าเวบ็ ไซต์ของแร็กนาร็อกเพอ่ื รบั รหสั ผู้ใช ้ (ID) สา� หรับใช้เลน่ เกม Black Desert Online เป็นเกมแนว Sandbox-Oriented MMORPG สญั ชาตเิ กาหล ี ผลงานพฒั นาโดย Pearl Abyss ตวั เกม เร่ิมต้นพฒั นาตงั้ แตป่ ีพ.ศ. ๒๕๕๓ และไดเ้ ปิดทดสอบแบบ Close Beta Test คร้ังแรกในปพี .ศ. ๒๕๕๖ ตวั เกมเปิดให้บริการเปน็ ครั้ง แรกทีป่ ระเทศเกาหลีในปพี .ศ ๒๕๕๗ ได้ออกส ู่ North America ในปพี .ศ. ๒๕๕๙ และใหบ้ รกิ ารอยา่ งเปน็ ทางการในประเทศไทยใน ป ี พ.ศ. ๒๕๖๐ นอกจากเกมแนว MMORPG เกมออนไลนอ์ กี หน่ึงรปู แบบท่ไี ด้ รับความนิยมกค็ อื เกมแนว Multiplayer Online Battle Arena : MOBA ซงึ่ แบง่ ผเู้ ลน่ เกมออกเปน็ ทมี แขง่ ขนั ซง่ึ การแขง่ ขนั จะจบใน เกมนนั้ ๆ และเรม่ิ แข่งขันใหม่เม่ือเริ่มเกมถัดไป โดยปกติเกมแนว MOBA จะมีการแบ่งผูเ้ ลน่ ออกเป็น ๒ ทีม อยูใ่ นฐานที่มนั่ สดุ ขอบ ของแผ่นที่แต่ละฝั่ง แต่ละทีมต้องรักษาฐานท่ีม่ันของตนเองให้ได้ ไมใ่ หถ้ กู ท�าลาย เกมแนว MOBA ท่ีได้รับความนยิ ม เชน่ DOTA II คือเกม MOBA (Multiplayer Online Battle Arena) ท่ีถูกพัฒนาข้ึนมาโดย Valve บริษัทผู้พัฒนาและจัดจ�าหน่ายเกม จากอเมริกา มรี ูปแบบการเล่นคือผ้เู ล่นถกู แบ่งเปน็ ๒ ทมี ทมี ละ ๕ คน ผู้เลน่ จะเลือกเล่นตวั ละคร (Hero) ทีม่ ีความสามารถแตก ตา่ งกนั รว่ มมอื กนั ไปทา� ลายฐานทพั ใหญ(่ Ancient) ของทมี อกี ฝา่ ย Realm of Valor : ROV เปน็ เกมบนแพลทฟอร์ม มอื ถอื รองรบั ทง้ั ระบบ แอนดรอยแ์ ละไอโอเอส เกมจะถกู แบง่ ออกเปน็ สอง ฝา่ ย แข่งขนั กันแบบ ๕ ต่อ ๕ หรือจะเล่นแบบ ๓ ต่อ ๓ หรอื ๑ ต่อ ๑ และผู้เล่นทั้งสองฝ่ายจะต้องเลือกตัวละครมาโจมตีเพื่อ ทา� ลายปอ้ มปราการของอีกฝา่ ย แผนท่ีเป็นลักษณะสมมาตรทัง้ ๒ ฝ่าย ลักษณะคลา้ ย DOTA II นอกจากนย้ี งั ทเี กมแนว MOBA อกี มากมายหลายเกม ผู้เล่น สามารถเลอื กเล่นไดต้ ามตอ้ งการ อยา่ งไรกต็ าม ยงั ไม่อาจบอกได้แนช่ ดั ว่าของพฤติกรรมการใช้ ความรุนแรงในกลุ่มเด็กและเยาวชน มีสาเหตุจากการเล่นเกม ออนไลน์หรือไม่ แต่อย่างไรก็ดีการเล่นเกมออนไลน์ติดต่อกันเป็น ระยะเวลานาน ยอ่ มสง่ ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพ การเรยี น การทา� งาน การ มีปฏสิ มั พันธก์ บั คนรอบขา้ ง ตลอดจนการใช้ชวี ิตประจา� วัน
๑๒๘ เพิรท์ , ไอซีคิว, ไฮไฟฟ์ ไอซคี วิ (I SEEK YOU) หรอื ICQ ไดร้ บั ความ นยิ มไปทวั่ โลกรวมถงึ ในประเทศไทย โดยเฉพาะชว่ ง ป ี พ.ศ. ๒๕๓๙ - พ.ศ. ๒๕๔๓ ผใู้ ชง้ านสามารถ สนทนาไดท้ งั้ แบบตวั ตอ่ ตวั และแบบกลมุ่ นอกจากนน้ั ไอซคี วิ ยงั เปน็ โปรแกรมทน่ี า� นโยบายความเปน็ สว่ นตวั มาใช ้ ผใู้ ชง้ านตอ้ งยนิ ยอมเปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นตวั ตาม นโยบายของไอซคี วิ นอกจากนไ้ี อซคี วิ ยงั มกี ารพฒั นา ระบบอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ไมว่ า่ จะเปน็ การคยุ แบบเหน็ หนา้ คสู่ นทนา ผใู้ ชง้ านสามารถโทรศพั ทผ์ า่ นโปรแกรมได้ โดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย ตลอดจนสามารถสง่ ไฟล ์ วดี โิ อ รูปภาพ ไปยังเพ่ือนท่ีเล่นไอซีคิวด้วยกัน ท้ังยัง สามารถเชอื่ มตอ่ กบั โปรแกรมแชต็ อนื่ ได ้ เชน่ เฟซบกุ๊ เมสเซนเจอร ์ และกเู กลิ ทอลก์ ซง่ึ ผใู้ ชง้ านสามารถ พดู คยุ ไดใ้ นโปรแกรมเดยี วกนั ไฮไฟฟ์(HI5) เปน็ เวบ็ บลอ็ กทผี่ ใู้ ชง้ านสามารถ พบปะผคู้ นจากทวั่ ทกุ มมุ โลก โดยสามารถคน้ หาผคู้ น ท่ีอยู่หรือเคยอยู่ใน ภูมิล�าเนา โรงเรียน หรือ มหาวิทยาลัย เดียวกันกับผู้ใช้งานได้ มากกว่าน้ัน ไฮไฟฟย์ งั สนบั สนนุ ใหผ้ ใู้ ชง้ านไดพ้ บปะเพอื่ นใหม ่ ไฮไฟฟเ์ ปน็ โปรแกรมยอดนยิ มของวยั รนุ่ ไทยในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๐ นอกจากน้ันยังเป็นเครือข่ายสังคม ออนไลนท์ ไี่ ดร้ บั ความนยิ มตดิ อนั ดบั ๑ ใน ๑๐ ของ โลก ไฮไฟฟเ์ ปน็ เวบ็ ไซตเ์ ครอื ขา่ ยสงั คมออนไลนท์ เ่ี ปดิ ใหผ้ บู้ รกิ ารสามารถสมคั รใชบ้ รกิ ารไดฟ้ ร ี มากกวา่ นน้ั ผใู้ ชง้ านยงั มอี สิ ระในการปรบั แตง่ หนา้ สรา้ งประวตั ิ สว่ นตวั (Profile) แตเ่ ดมิ ไฮไฟฟเ์ ปดิ ใหบ้ รกิ ารเฉพาะ เพิรท์ (PIRCH) คือ โปรแกรมการสนทนาผ่านอินเทอรเ์ น็ต (Internet ในสว่ นของเวบ็ ไซตเ์ ดสกท์ อ็ ป แตป่ จั จบุ นั สามารถใช้ Relay Chat) หรอื ไออารซ์ ี (IRCเปิ ดตวั ในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ และเป็ นที่นิยม งานผา่ นแอปพลเิ คชนั ไฮไฟฟไ์ ด ้ ทง้ั ในระบบปฏบิ ตั ิ มากของวุยรุ่นไทยในยุคนนั้ เน่ืองจากเป็ นโปรแกรมสนทนาโปรแกรม การแอนดรอยดแ์ ละไอโอเอส แรกๆ ท่ีเขา้ มาในประเทศไทยท่ีผูใ้ ชง้ านสามารถส่งขอ้ ความโตต้ อบกนั แบบส่วนตวั หรอื แบบกลุ่ม เอ็มเอสเอ็น (MSN) หรือ ไมโครซอฟท ์ เน็ตเวริ ก์ (Microsoft Network) เปน็ บริการทาง คณุ อลงกรณ ์ คงด ี ไดด้ ดั แปลงโปรแกรมเวอรช์ น่ั ส�าหรับจุดด้อยของโปรแกรมเพิร์ท คือ ห้อง อนิ เทอรเ์ นต็ โดยบรษิ ทั ไมโครซอฟท ์ เปดิ ใหบ้ รกิ าร ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาไทย เพอื่ ใหง้ า่ ยตอ่ การใชง้ าน สนทนาจา� เปน็ ตอ้ งมผี ใู้ ชอ้ ยใู่ นหอ้ งตลอดเวลา อยา่ ง เมอ่ื วนั ท ่ี ๒๔ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ โดยเรม่ิ จาก ของคนไทย โปรแกรมเพริ ท์ มจี ดุ เดน่ คอื ผใู้ ชง้ าน นอ้ ยหอ้ งละ ๑ ทา่ น หากไมม่ ผี ใู้ ช ้ หอ้ งนน้ั จะหายไป การใหบ้ รกิ ารฮอตเมล และไดข้ ยายการบรกิ ารไปยงั สามารถเลอื กสนทนาในหอ้ งทตี่ นเองสนใจได ้ อาท ิ หอ้ ง อย่างไรก็ดีผู้ใช้งานโปรแกรมเพิร์ทในอดีตมักใช้ อนื่ เชน่ เอม็ เอสเอน็ เมสเซนเจอร ์ ทไี่ ดร้ บั ความนยิ ม แชทรวม หอ้ งจบี สาว หอ้ งเกม หอ้ งเดก็ มธั ยม หอ้ ง โปรแกรมไปในทางลอ่ แหลม อนาจาร หอ้ งทผี่ คู้ นนยิ ม สงู จนลา่ สดุ ไดเ้ ปลยี่ นชอื่ เปน็ วนิ โดวสไ์ ลฟ ์ เมสเซน อาหาร เปน็ ตน้ โดยแตล่ ะหอ้ งจะมผี ดู้ แู ลหอ้ งทสี่ ามารถ ใชม้ กั จะเปน็ เรอื่ งการขายบรกิ ารทางเพศ การนดั พบ เจอร ์ ในปพี .ศ. ๒๕๔๕ ลบสมาชกิ หอ้ งทมี่ พี ฤตกิ รรมการสนทนาไมเ่ หมาะสม เพอื่ ไปมเี พศสมั พนั ธ ์ การใชร้ ปู ภาพผอู้ น่ื เพอื่ กลนั่ แกลง้ อาท ิ ชวนทะเลาะ ใชค้ า� หยาบคาย หรอื สรา้ งความ บคุ คลนน้ั วา่ ขายบรกิ ารทางเพศ รวมไปถงึ การเขา้ มาส แตกแยก ออกจากหอ้ งได ้ รา้ งเรอ่ื งราวเพอื่ หลอกใหผ้ ใู้ ชง้ านโอนเงนิ ไปให ้ เปน็ ตน้
๑๒๙ พนั ทิป ๑๔ - ๑๕ พนั ทิป (Pantip) เวบ็ ไซตท์ ี่ใหบ้ รกิ ารกระดาน หมวดหมู่ เนือ้หากระทู ้ ข่าวอิเลก็ ทรอนิกส ์ ที่ไดร้ บั ความนิยมตงั้ แต่ อดีตจนถงึ ปัจจุบนั ถอื ไดว้ า่ เป็ นเวบ็ ไซตท์ ี่อยู่ หอ้ งกน้ ครวั รา้ นอาหาร สูตรอาหารคาว อาหารหวาน เบเกอร่ี และไอศกรีม สงั คมไทยมาอย่างชา้ นาน หอ้ งกรงุ โซล เค-ป๊อบ ซีรีสเ์ กาหลี นกั รอ้ งเกาหลี เท่ียวเกาหลี แฟช่นั เกาหลี อาหารเกาหลี ก่อตัง้ โดย วนั ฉตั ร ผดงุ รัตน์ กอ่ ตงั้ ข้ึนเมือ่ วนั ท่ี ๗ ตุลาคม และภาษาเกาหลี พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็นเว็บไซตไ์ ทยที่ใหบ้ รกิ ารเว็บบอร์ดของไทยที่มีชอื่ เสยี ง มีหอ้ งสนทนาหลายเรอื่ ง หอ้ งการต์ ูน การต์ ูนญ่ีป่ ุน การต์ ูนไทย การต์ ูนฝรง่ ั อนิเมะ วาดการต์ ูน ของสะสมจาก หลาย ๆ คนเวลาใช้เว็บบราวเซอรค์ ้นหาส่งิ ของหรอื เร่อื งท่ีตน การต์ ูน คอสเพลย ์ สนใจ มักใส่ท้ายประโยคไว้ว่า pantip เช่น “วิธีการลดอาหาร pantip” เพือ่ เปน็ การใหเ้ วบ็ บราวเซอร์คน้ หาเร่อื งท่ตี นสนใจภายใต้ หอ้ งแกลเลอร่ี ภาพถา่ ยบุคคล ภาพถา่ ยทิวทศั น ์ ภาพถา่ ยมาโคร กระทอู้ อนไลนบ์ นพนั ทปิ พนั ทปิ ถอื เปน็ กระดานขา่ วอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ท่เี ปน็ สังคมคณุ ภาพ ผู้คนสงสัยอะไร มกั สอบถามในพนั ทิป ผูค้ น หอ้ งจตุจกั ร สตั วเ์ ลีย้ง สุนขั แมว ตน้ ไม ้ ของสะสม งานฝี มือ เกษตรกรรม ตอ้ งการหาสงิ่ ใด มกั หาในพนั ทิป พันทิปเปรียบดั่งคลงั ข้อมลู ทไี่ ม่ ว่าจะต้องการหาเร่ืองใด ๆ ก็สามารถหาเจอได้ในพันทิป หลาย หอ้ งเฉลิมไทย ภาพยนตร ์ ดาราภาพยนตร ์ ค่ายหนงั เทศกาลหนงั หนงั สนั้ องค์กรไดม้ ีการสร้างสมาชิกกบั พนั ทปิ ข้ึน เพ่อื เวลามขี อ้ สงสัยอะไร เกยี่ วกบั แบรนด์ของตนจะไดส้ ามารถตอบไดท้ นั ทวงที หอ้ งชายคา บา้ น คอมโดนิเนียม ตกแต่งบา้ น เฟอรน์ ิเจอร ์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เคร่ืองครวั เวบ็ ไซต์พนั ทิปมเี อกลกั ษณ์โดดเด่นที่เวบ็ ไซต์ออกแบบใน ลกั ษณะสมี ว่ ง มกี ารแบง่ หมวดหมกู่ ระทอู้ อกไวอ้ ยา่ งชดั เจน พนั ทปิ หอ้ งดิโอลดส์ ยาม ผสู ้ งู อายุ สุขภาพผสู ้ งู อายุ ชวี ติ หลงั เกษียณ สิทธผิ สู ้ งู อายุ ทอ่ งเท่ยี วผสู ้ งู อายุ ได้สร้างนิยาม และต�านานไว้อย่างมากมาย ทั้งค�าว่า “นักสืบพัน ทิป” ๐โกหกอะไรก็ไดแ้ ตอ่ ยา่ โกหกในพนั ทิป๐ หอ้ งถนนนกั เขียน แต่งนิยาย เร่ืองสนั้ กลอน นิทาน สง่ิ ทที่ า� ใหเ้ วบ็ ไซตพ์ นั ทปิ มคี วามแตกตา่ ง คอื การทม่ี หี มวดหมู่ ห้องสนทนาท่ีมีเอกลักษณ์ชัดเจนและมีความหลากหลาย เป็นผล หอ้ งบางขนุ พรหม ละคร นกั แสดง ซีรีส ์ รายการโทรทศั น ์ สถานีโทรทศั น ์ ให้ผ้เู ข้ามาใช้สามารถเลือกได ้ ถา้ หากคุณกา� ลังสนใจเรอ่ื งนอ้ี ยู่คณุ ควรเขา้ หมวดหมใู่ ด หมวดหม่หู อ้ งแบง่ เป็นดงั น้ี หอ้ งพรหมชาติ ดูดวง ฮวงจุย้ ไพ่ยิบซี ทาํนายฝนั พระเคร่ือง หอ้ งภูมิภาค ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ตก และภาคใต ้ หอ้ งรวมมิตร รวมกระทูอ้ อนไลนต์ ่างทุกๆหอ้ ง หอ้ งราชดาํเนิน การเมือง รฐั ศาสตร ์ กฎหมาย สภาผูแ้ ทน รฐั บาล ฝ่ ายคา้ น พรรคการเมือง หอ้ งศาลา กฎหมาย ปญั หาสงั คม ปญั หาชีวิต เศรษฐกิจ คุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค ประชาคม หอ้ งศุภชลาศยั กฬี า ฟุตบอล บาสเกตบอล มวยสากล กอลฟ์ จกั รยาน นกั กฬี า หอ้ งสวนลุมพินี สุขภาพกาย สุขภาพจิต โรคมะเรง็ โรคไมเกรน โรคภูมิแพ ้ ปวดประจาํเดือน หอ้ งสีลม การบรหิ ารจดั การ การตลาด ทรพั ยากรบคุ คล งานขาย SME ภาษีนิตบิ คุ คล หอ้ งสมุด หนงั สือ หนงั สือนิยาย ปรชั ญา หอ้ งกรีนโซน อนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ ม อนุรกั ษพ์ ลงั งาน การออกแบบเพ่ือส่งิ แวดลอ้ ม เกษตร อนิ ทรยี ์ หอ้ งกลอ้ ง กลอ้ งถา่ ยรูป กลอ้ งวีดีโอ เทคนิคการถา่ ยภาพ หอ้ งไกลบา้ น เรียนต่อต่างประเทศ ทาํงานต่างประเทศ วีซ่า หอ้ งเฉลิงกรงุ นกั รอ้ งดนตรี เพลง เคร่ืองดนตรี คอนเสิรต์ มิวสิควีดีโอ หอ้ งชานเรือน ครอบครวั ตงั้ครรภ ์ ตงั้ช่อื ลูก การเลีย้งลูก การสอนลูก ซิลิคอนวลั เลย ์ คอมมือใหม่ อินเทอรเ์ น็ต ซอฟตแ์ วร ์ ฮารด์ แวร ์ เกม เขียนโปรแกรม หอ้ งโตะ๊ เครอ่ื งแปง้ เคร่ืองสําอาง เสริมสวย แฟช่นั เคร่ืองประดบั ลดความอว้ น หอ้ งบลแู พลนเนต็ เท่ียวไทย เท่ียวต่างประเทศ ทะเล ภูเขา เกาะ นาํ้ตก ดาํนาํ้สายการบิน บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร หอ้ งบางรกั ความรกั แต่งงาน พรีเวดด่ิง ปญั หาชีวิตคู่ หอ้ งพนั ทิป ขอ้ เสนอแนะถงึ พนั ทิป วิธีการใชง้ านพนั ทิป กิจกรรมพนั ทิป หอ้ งมาบุญครอง โทรศพั ทม์ ือถอื หอ้ งรชั ดา รถยนต ์ มอเตอรไ์ ซต ์ เคร่ืองเสียงรถยนต ์ แต่งรถ การจราจร หอ้ งไรส้ งั กดั กระทูอ้ ่ืนๆท่ีไม่สงั กดั หอ้ งใด หอ้ งศาสนา ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ์ ศาสนาอิสลาม เท่ียววดั ทาํบุญ หอ้ งสยามสแควร ์ ชีวิตวยั รุ่น การเรียน โรงเรียน มหาวิทยาลยั ความรกั วยั รุ่น เกม หอ้ งสินธร เศรษฐกิจ การลงทุน ธนาคาร เงินตราต่างประเทศ หอ้ งหวา้ กอ วิทยาศาสตร ์ วิศวกรรม เทคโนโลยี ฟิ สิกส ์ ดาราศาสตร ์ อวกาศ หอ้ งหอศิลป์ ศิลปะ ภาพวาด ประวตั ิศาสตรศ์ ิลป์ส่ือประสม
๑๓๐ ไลน ์ (Line) ไลนด์ า� เนนิ การโดย บรษิ ทั ไลน ์ คอรป์ อเรชนั่ (Line Corporation) ซง่ึ เปน็ บรษิ ทั ในเครอื เนเวอ คอรป์ อเรชน่ั (Naver Corporation) เปน็ บรษิ ทั การคน้ หาทางอนิ เทอรเ์ นต็ ของประเทศเกาหลใี ต้ ความสา� เรจ็ ของไลน ์ เหน็ ไดช้ ดั ตง้ั แตไ่ ลนไ์ ดท้ า� การเปดิ ตวั ในญปี่ นุ่ ในปพี . ศ. ๒๕๕๔ มผี ใู้ ชบ้ รกิ าร ๑๐๐ ลา้ นคนภายใน ๑๘ เดอื น ไลน์ เปน็ โปรแกรมสง่ ขอ้ ความทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มมากทส่ี ดุ ในญป่ี นุ่ ปจั จบุ นั ใน ประเทศไทย ตลอด ๗ ปที ผ่ี า่ นมา มผี ใู้ ชไ้ ลน ์ มากถงึ ๔๒ ลา้ น ไอด ี หรอื สมาชกิ นอกจากนย้ี งั เปน็ ทนี่ ยิ มในไตห้ วนั ไทย และเตริ ก์ เมนสิ ถาน ไลนไ์ ดร้ บั การพฒั นาใหส้ ามารถรองรบั การใชไ้ ดง้ านทกุ ระบบปฏบิ ตั กิ าร ทงั้ แอนดรอยด ์ และไอโอเอส รวมถงึ ผใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถใชบ้ รกิ ารได้ ผา่ นเดสกท์ อ็ ปคอมพวิ เตอร ์ และบนแลป็ ทอ็ ป แอปพลเิ คชน่ั ไลนจ์ ะให้ ตวั เลอื กในการซงิ คเ์ ขา้ สรู่ ะบบผา่ นการใชร้ หสั หรอื ผใู้ ชส้ ามารถเลอื ก เขา้ สรู่ ะบบผา่ นการสแกนควิ อารโ์ คด้ (QR Code) แอปพลเิ คชนั่ ไลนม์ ี จดุ เดน่ ในดา้ นความปลอดภยั ผใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถเลอื กเขา้ สรู่ ะบบไดเ้ พยี ง แพลตฟอรม์ ละ ๑ เครอื่ งเทา่ นน้ั (ไมส่ ามารถเขา้ สรู่ ะบบพรอ้ มกนั ไดใ้ น แพลตฟอรม์ เดยี วกนั ) การเพม่ิ เพอื่ นของแอปพลเิ คชนั่ ไลน ์ สามารถเพมิ่ เพอ่ื นผา่ น ไอดไี ด้ โดยตรงหรอื ใช ้ หมายเลขโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท ี่ และการสแกนรหสั ควิ อาร์ โค้ดของเพ่ือนก็สามารถเพ่ิมเพื่อนได้เช่นกัน ไลน์สามารถให้ผู้ใช้ส่ง ขอ้ ความตวั อกั ษร ขอ้ ความเสยี ง รปู ภาพ รวมไปถงึ คลปิ วดิ โี อ สง่ ใหก้ บั ผสู้ นทนาได ้ และผสู้ นทนารบั ขอ้ ความในทนั ท ี มแี จง้ เตอื นแสดงวา่ ผรู้ บั ข้อความได้ทา� การเปิดการอ่านขอ้ ความแลว้ หรือถา้ เปิดอ่านแลว้ จะมี สถานะทขี่ อ้ ความวา่ “อา่ นแลว้ ” นอกจากการเพม่ิ รายชอื่ เพอื่ นแลว้ ยงั สามารถสรา้ งกลมุ่ หอ้ งการสนทนาได ้ เปน็ การรวมกลมุ่ คนจา� นวนหนง่ึ เพอื่ พดู คยุ เปน็ ชมุ ชน แอพพลเิ คชนั ไลนม์ ไี ทมไ์ ลน ์ และคณุ ลกั ษณะหนา้ แรกทอ่ี นญุ าตให้ ผใู้ ชโ้ พสตร์ ปู ภาพ ขอ้ ความ และสตกิ เกอรบ์ นโฮมเพจได ้ ผใู้ ชส้ ามารถ เปลยี่ นรปู แบบไลน ์ ชดุ รปู แบบไลนไ์ ดใ้ นรา้ นคา้ ธมี ทง้ั แบบใหบ้ รกิ ารฟรี และเสยี คา่ บรกิ ารเพมิ่ เตมิ ไลน์ (Line) คือ แอพพลิเคชน่ ั แบบฟรแี วร ์ (Freeware) คือ จุดเด่นที่ท�าให้ไลน์แตกต่างจากโปรแกรมสนทนาอื่น ๆ คือ ตัว ไม่มีค่าบรกิ ารใชส้ ่งขอ้ ความทนั ทบี นอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส ์ สติกเกอร์การ์ตูนที่หลากหลายผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดสติกเกอร์ท้ัง เชน่ สมารท์ โฟน คอมพิวเตอร ์และแทบ็ เลต็ ผใู ้ ชไ้ ลนส์ ามารถ แบบฟรีและเสียค่าใช้จ่ายเพ่ิมเติมได้ สติกเกอร์ไลน์มีทั้งแบบภาพนิ่ง แลกเปลี่ยนขอ้ ความรูปภาพวิดีโอและเสียงและดําเนินการ และภาพเคล่ือนไหวพร้อมเสยี ง ตัวสตกิ เกอร์ไลน์น้เี องทีท่ า� ให้ไลน์มีผู้ สนทนาทางเสียงผ่านอนิ เทอรเ์ น็ต (Voice over Internet ใช้งานเพิ่มข้ึนอย่างมาก นอกจากนน้ี Line ยังมีแอพพลิเคชันอ่ืนๆ Protocol : VoIP) และมีบรกิ ารการประชุมทางวิดีโอ โดย ร่วมด้วย เช่น Line Tv ท่เี ป็นลกั ษณของการรับชมวดิ โี อตามตอ้ งการ ไม่มีค่าใชจ้ า่ ย หรอื แอพพลเิ คชนั Line ดดู วง ทเ่ี ปน้ การสรา้ งแพลทฟอรม์ ในไลน ์ ทา� ให้ ผ้คู นมกี ิจกรรมท่หี ลากหลายนอกเหนอื จากการสนทนาระหวา่ งกนั
๑๓๑ เฟซบุก๊ ๑๔ - ๑๕ (Facebook) เฟซบุก๊ (Facebook) เปิ ดตวั ในเดือนกุมภาพนั ธ ์ ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ใน ผใู้ ชง้ านเฟซบกุ๊ สามารถตดิ ตามขา่ ว แบง่ ปนั ฐานะเครอื ข่ายสงั คมออนไลนข์ องมหาวิทยาลยั ฮารว์ ารด์ (Harvard (Share) และโพสตเ์ กยี่ วกบั เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ได้ University) สรา้ งขนึ ้ โดย มารก์ ซกั เกอรเ์ บิก และ เอดวารด์ สเวอรนิ ตลอดจนแสดงความคดิ เหน็ รวมถงึ เรม่ิ ตน้ หวั ขอ้ นกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ฮารว์ ารด์ แตเ่ ดมิ ใหบ้ รกิ ารเฉพาะนกั ศกึ ษา การสนทนากบั ผใู้ ชง้ านอนื่ ๆ ของมหาวิทยาลยั ฮาวารด์ ต่อมาในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ มีการ แพรห่ ลายสู่มหาวทิ ยาลยั อนื่ อาทิ มหาวทิ ยาลยั สแตนฟอรด์ โคลมั เบยี เฟซบกุ ๊ มี ๓ รปู แบบ ไดแ้ ก่ เยล บอสตนั เอม็ ไอที และมหาวิทยาลยั ในแคนาดา เฟซบุก๊ ส่วนตวั ในบญั ชผี ใู้ ชง้ านจะสามารถ สรา้ งเฟซบกุ๊ ไดเ้ พยี ง ๑ บญั ชเี ทา่ นนั้ โดยทา� การ เพม่ิ เพอ่ื น (Added friend) ไดส้ งู สดุ ท ี่ ๕,๐๐๐ ราย หลงั จากนน้ั คนทเี่ ขา้ มาขอเปน็ เพอ่ื นจะอยใู่ น สถานะกา� ลงั ตดิ ตาม (Following) เฟซบกุ ๊ แฟนเพจ (Facebook Fan- บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร page) เปน็ สว่ นหนง่ึ ของเฟซบกุ๊ ทใี่ หผ้ ใู้ ชง้ านเฟ ซบกุ๊ สามารถสรา้ งแฟนเพจเพอื่ นา� เสนอในสง่ิ ท่ี ตนเองชนื่ ชอบ ไมว่ า่ จะเปน็ แฟนเพจดารา นกั รอ้ ง นกั แสดง กฬี า ขา่ วสาร ถา่ ยรปู หรอื จะเปน็ แฟน เพจองค์กร แฟนเพจขายสินค้าและบริการต่างๆ แฟนเพจยงั เปน็ ชอ่ งทางใหผ้ ทู้ ใี่ ชง้ านเฟซบกุ๊ รจู้ กั กบั กลมุ่ คนทชี่ อบเหมอื นกนั หรอื เพอื่ ขายสนิ คา้ นน่ั เอง นอกจากนนั้ แฟนเพจยงั ถอื วา่ เปน็ ชอ่ งทางการ สอื่ สารระหวา่ งองคก์ รหรอื ผขู้ ายสนิ คา้ ออนไลนก์ บั ลกู คา้ อกี ชอ่ งทางหนง่ึ การสรา้ งเฟซบกุ๊ แฟนเพจ สามารถทา� ใหบ้ คุ คล ทว่ั ไป นกั ธรุ กจิ นกั ลงทนุ และองคก์ รมโี อกาสเขา้ ถงึ กลมุ่ ลกู คา้ เปา้ หมายไดง้ า่ ยขน้ึ สามารถทา� ไดโ้ ดย การใสข่ อ้ มลู ธรุ กจิ หรอื สนิ คา้ ทผ่ี ใู้ ชง้ านจะทา� การ โฆษณาลงไป นอกจากนเ้ี ฟซบกุ๊ แฟนเพจยงั เปน็ ชุมชนเสมือนขนาดใหญ่ ที่รวมกลุ่มคนที่มีความ ชอบแบบเดยี วกนั แมจ้ ะไมร่ จู้ กั กนั มากอ่ น อกี ทง้ั เฟซบุ๊กเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ท่ีได้รับ สองทาง อาท ิ การโตต้ อบ การแลกเปล่ยี นความ ยงั สามารถแบง่ ปนั (Share) ลงิ กแ์ ฟนเพจไปยงั กลมุ่ ความนิยมมากท่ีสุดในโลก จากการศึกษาของ คิดเห็นระหวา่ งผู้ใช้งาน เฟซบุ๊กด้วยกัน อกี ทัง้ ผู้ ผใู้ ชง้ านคนอน่ื ได้ เว็บไซต์คอมพตี ดอตคอม (www.compete.com ใช้งานสามารถรับรู้การตอบรับ เช่น จากการ เวบ็ ไซต์ดงั กลา่ วปิดตัวไปเมอื่ วันท ี่ ๓๑ ธันวาคม แสดงความคดิ เห็น การแสดงความรู้สกึ ต่อโพสต์ เฟซบกุ ๊ กรปุ ๊ (Facebook Group) คอื พ.ศ. ๒๕๕๙) พบวา่ ในเดอื นมกราคม ค.ศ. หรือการแสดงความคิดเหน็ (Status) นน้ั ๆได้ กลมุ่ ทส่ี รา้ งขนึ้ เพอื่ ใชต้ ดิ ตอ่ สอ่ื สารแบบกลมุ่ เหมาะ ๒๐๐๙ เฟซบกุ๊ เปน็ บรกิ ารเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ ทันท ี ผู้ขายสนิ คา้ ออนไลน ์ หรือองคก์ รสามารถ สา� หรบั การสอื่ สารในวงจา� กดั เชน่ กลมุ่ คณะทา� งาน ที่มีจ�านวนสมาชิกมากที่สุด ขณะท่ีประเทศไทย ใช้เฟซบุ๊กเป็นชอ่ งทางในการจ�าหนา่ ยสนิ คา้ หรือ ยอ่ ย เพอื่ นรว่ มชนั้ ป ี เพอื่ นรว่ มรนุ่ ซง่ึ เฟซบกุ๊ รปู โดยมีสมาชกิ เฟซบุ๊กมากถงึ ๖,๙๑๔,๘๐๐ ราย บริการ หรือประชาสัมพันธ์กิจกรรมขององค์กร แบบนไ้ี มเ่ หมาะสมกบั กลมุ่ ประชากรคณะใหญ ่ เชน่ เหตผุ ลสา� คญั ทท่ี า� ใหเ้ ฟซบกุ๊ ไดร้ บั ความนยิ ม อาท ิ มฟี งั กช์ นั ถา่ ยทอดสดหรอื เฟซบกุ๊ ไลฟ ์ (Facebook องคก์ ร เจา้ หนา้ ทม่ี หาวทิ ยาลยั หรอื บรษิ ทั Live) เป็นช่องทางรายงานเหตุการณ์ที่ยังไม่มี ผใู้ ชส้ ามารถรบั รคู้ วามเคลอื่ นไหวของผูใ้ ช้ หนว่ ยงานใดเขา้ ถงึ พนื้ ทน่ี นั้ ไดท้ นั ท ี เชน่ การเกดิ บญั ชอี น่ื ทไ่ี ดเ้ พม่ิ เปน็ เพอื่ นทห่ี นา้ หลกั ของเฟสบคุ๊ อทุ กภยั หรอื ภยั พบิ ตั ติ า่ งๆ หรอื อปั เดตกจิ กรรมใน หรอื ฟดี ขา่ ว (News Feed) สนบั สนนุ การสอ่ื สาร ชวี ติ ประจา� วนั
๑๓๒ ยูทูป (YouTube) ยูทูป (YouTube) คือ เวบ็ ไซตท่ีให ้ บริ การแลกเปล่ี ยนวิ ดี โอระหว่ าง ผู ใ้ ชง้ านโดยไม่มีค่าบริการ ผู ใ้ ช ้ งานสามารถเขา้ รบั ชมหรือเป็ นผู ้ อพั โหลด ผูใ้ ชส้ ามารถใชง้ านได ้ เตม็ รปู แบบ เชน่ การอพั โหลดเพื่อ แบง่ ปันวดิ โี อ การสรา้ งเพจ (Page) ดว้ ยการสมคั รเขา้ เป็ นสมาชกิ ของ Google เว็บไซต์ยูทูป (Youtube) ก่อต้ังข้ึนโดยแชด เฮอรล์ ยี ์ สตฟี เชน (Chad Meredith Hurley) และ ยาวดี คารมิ (Jawed Karim )โดยใชช้ อื่ โดเมนวา่ “Youtube.com” เปดิ ใหบ้ รกิ ารเมอ่ื วนั ท ่ี ๒๓ เมษายน ป ี พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยมนี ายยาวดี คารมิ โพสตว์ ดิ โี อ เรอ่ื งแรก ชอ่ื วา่ “Me at the zoo” มคี วามยาว ๑๘ วนิ าท ี และเปดิ ตวั เวบ็ ไซตอ์ ยา่ งเปน็ ทางการ เมอื่ วนั ท ่ ๑๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยเวบ็ ไซตย์ ทู ปู มอี ตั รา ใชล้ งคลปิ วดิ โี อไดอ้ ยา่ งอสิ ระ แตม่ ขี อ้ แมว้ า่ ผลงานนน้ั ของเจา้ ของสนิ คา้ มากเทา่ นนั้ และพวกเขากต็ อ้ งจา่ ย การเติบโตอย่างรวดเร็ว ในเดือนกรกฏาคม พ.ศ. ต้องไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ไม่อนาจาร ไม่ใช่คลิปที่รี เงนิ ตามทตี่ กลงไวใ้ หแ้ กเ่ จา้ ของคลปิ ทน่ี า� โฆษณาของ ๒๕๔๙ มรี ายงานการอพั โหลดวดิ โิ อใหม ่ มากกวา่ อพั โหลดของผอู้ น่ื และจะตอ้ งเปน็ ผลงานทส่ี รา้ งสรรค์ เขาไปโฆษณาใหใ้ นปพี .ศ. ๒๕๖๐ ยทู ปู ตอ้ งเจอเรอื่ ง ๖๕,๐๐๐ รายการตอ่ วนั และมผี เู้ ขา้ ชมเวบ็ ไซตส์ งู ถงึ ขนึ้ เอง หากผทู้ ส่ี ามารถทา� ใหช้ าแนล (Chanel) ของ ราวหนกั หนารอบดา้ น ทงั้ เนอ้ื หารนุ แรงและการสแปม ๑๐๐ ลา้ นครงั้ ตอ่ วนั ปจั จบุ นั พ.ศ. ๒๕๖๑ นาย เบน ผใู้ ชง้ านมผี ตู้ ดิ ตามเปน็ จา� นวนมาก กย็ อ่ มสามารถทา� จากผไู้ มห่ วงั ด ี จนทา� ใหห้ ลายผปู้ ระกอบการจา� หนา่ ย คงิ (Ben King) ผบู้ รหิ าร Google ประจา� ระเทศไทย เงนิ ไดจ้ าก YouTube ไดม้ ากดว้ ยเชน่ กนั โดยรายได้ สินค้าต้องถอดโฆษณาออก ล่าสุดปีพ.ศ. ๒๕๖๑ เผยวา่ คนไทยมผี ใู้ ชง้ านเวบ็ ไซตย์ ทู ปู ประมาณ ๔๐ ของ YouTube มาจากคา่ โฆษณาทท่ี างแบรนดน์ า� มา YouTube ออกกฎเข้มขึ้นเพ่ือบรรเทาและกอบกู้ โฆษณากบั YouTube ซงึ่ เปน็ การโฆษณาจะเปน็ การ ศรัทธาของบรรดาผู้ประกอบการกลับคืนมา โดย ลา้ นราย แทรกโฆษณาค่ันวิดีโอ หรือเป็นหน้าต่างข้อความ กา� หนดใหช้ ่องยทู ปู ใหม่ (Chanel ใหม)่ ทม่ี ียอดรบั ปจั จบุ นั ยทู ปู เปน็ เวบ็ ไซตท์ มี่ กี ารเตบิ โตรวดเรว็ แสดงออกมาขวางหนา้ จอวดิ โี อ (Pop-up) โดยการ ชมรวม ๔,๐๐๐ ช่ัวโมงข้ึนไป (ภายในระยะเวลา ในหนงึ่ วนั มผี เู้ ขา้ ชมเปดิ คลปิ วดิ โี อใน YouTube สงู โฆษณะมกี ารแบง่ ออกเปน็ ๒ รปู แบบคอื ถึง ๑๐๐ ล้านเรื่องต่อวัน และในแต่ละวันจะมีผู้ ๑๒ เดอื น) และมีคนตาม ๑,๐๐๐ ผ้ใู ช้งานขน้ึ ไป อพั โหลดคลปิ วดิ โี อใหม ่ ๆ ถงึ ๖๕,๐๐๐ วดิ โี อคลปิ Cost per Click: CPC เปน็ โฆษณารปู แบบ เท่านัน้ จึงจะทา� การโฆษณาได้ เฉล่ียต่อเดือนมีผู้เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์น้ีถึง ๒๐ Banner เปน็ การวางภาพโฆษณาลงไปบนหนา้ เวบ็ แลว้ ลา้ นคน ภายในเวบ็ ไซต ์ YouTube มไี ฟลว์ ดิ โี อทงั้ หมด ทา� ไฮเปอรล์ งิ ก(์ เวบ็ ไซตเ์ ชอื่ มโยง) กลบั ไปยงั เวบ็ ท่ี มากกว่า ๖ ล้านไฟล์ โดยวิดีโอท่ีแพร่ภาพอยู่บน โฆษณา เมื่อผู้ใช้งานคลิกเข้าไปในภาพเหล่านั้น YouTube มที งั้ ภาพยนตร ์ คลปิ จากรายการทวี ี และ ทา� ใหผ้ ใู้ ชง้ านเขา้ ไปยงั เวบ็ ไซตเ์ จา้ ของโฆษณา ทา� ให้ มิวสิควิดีโอ รวมถึงวิดีโอสมัครเล่นที่เรียกว่าบล็อก เจา้ ของสนิ คา้ หรอื เจา้ ของโฆษณาตอ้ งจา่ ยเงนิ ใหแ้ ก่ วดิ โี อ เหลา่ ยทู ปู เบอรท์ ที่ า� คลปิ และนา� โฆษณาของเขาไป วางไวใ้ นวดิ โิ อ การเตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ นเ่ี องทที่ า� ให ้ YouTube สร้างปรากฏการณ์ใหม่ขึ้น เกิดอาชีพใหม่ข้ึนมาท่ี Cost per View: CPV เปน็ โฆษณาทเ่ี ปน็ คลปิ เรียกว่า ยูทูปเบอร์ (youtuber) ผู้ใช้งานทุกคน สน้ั ๆ ประมาณ ๑๕ วนิ าท ี โดยนบั วา่ โฆษณาในรปู สามารถเปน็ ยทู ปู เบอรไ์ ด ้ ถงึ แมว้ า่ ยทู ปู อนญุ าตใหผ้ ู้ แบบคลปิ นนั้ มคี นดมู ากเทา่ ไหร ่ ยงิ่ มผี เู้ หน็ โฆษณา
๑๓๓ อินสตาแกรม อินสตาแกรมเป็นโปรแกรมท่ีไม่มีค่าบริการ ๑๔ - ๑๕ (Instagram) สามารถดาวน์ โหลดไดท้ นั ท ี รองรบั อปุ กรณร์ ะบบ ปฏบิ ตั กิ ารไอโอเอส (IOS) แอนดรอยด ์ (Android) นอกจากนย้ี งั สามารถเขา้ ถงึ ผา่ นหนา้ เวบ็ ไซตจ์ าก คอมพวิ เตอร ์ แตผ่ ใู้ ชง้ านไมส่ ามารถแตง่ ภาพหรอื อพั โหลดเพอ่ื แบง่ ปนั ภาพถา่ ยหรอื วดิ โี อได้ อินสตาแกรม (Instagram) คือ แอพพลิเคชนั ถ่ายภาพและ ผู้ใช้งานจ�าเป็นต้องสร้างบัญชีผู้ใช้งาน โดย แต่งภาพบนสมารท์ โฟน โดยมีฟี เจอรต์ ่างๆ ใหเ้ ลือกและสามารถ สามารถลงทะเบยี นผา่ นบญั ชผี ใู้ ชง้ านเฟซบคุ๊ หรอื แบง่ ปันไปยงั โลกออนไลน์ เช่น เฟซบกุ ๊ (Facebook) ทวติ เตอร ์(Twit- ทางอเี มล โดยไมม่ คี า่ บรกิ ารหลงั การสมคั ร ผใู้ ช้ ter) หรือในอินสตาแกรมส่วนตวั ได ้ แอพพลิเคชนั เปิ ดตวั ในเดือน งานตอ้ งระบ ุ ชอื่ ผใู้ ช ้ (User Name) และรหสั ผา่ น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ที่เมอื งซานฟรานซิสโก ประเทศสหรฐั อเมรกิ า (Password) เม่ือสร้างบัญชีแล้ว ผู้ใช้งานจะ โดย เควิน ซิสตรอม (Kevin Systrom) และ ไมเคิล ไมค ์ ครีเกอร ์ สามารถคน้ หา ผใู้ ชง้ านอนื่ ๆ จากการนา� เขา้ บญั ชี (Mike Krieger) จากแอคเคาน์อ่ืนๆ เช่น เฟซบุ๊ก หรือทวิตเตอร์ นอกจากนสี้ ามารถเพม่ิ เพอ่ื นไดด้ ว้ ยตวั เองผา่ น ชอื่ ผู้ใช้รายอ่ืนได้ ผู้ใช้งานสามารถกดติดตาม (Following) เพอื่ ตดิ ตามเรอ่ื งราวของผใู้ ชค้ นอน่ื ๆ ผา่ นการโพสตร์ ปู ภาพ วดิ โี อสนั้ หรอื ถา่ ยทอดสด (Live) บนอนิ สตาแกรมสตอร ่ี (Instagram Story) และสามารถโพสตร์ ปู ภาพหรอื วดิ โี อผา่ นหนา้ หลกั (Feed) ในทา� นองเดยี วกนั ผใู้ ชง้ านอ่นื จะสามารถ เห็นโพสตร์ ปู หรือคลปิ วดิ ีโอส้ันจากบญั ชที ผี่ ใู้ ชง้ าน อนื่ ตดิ ตาม (Following) ไดท้ หี่ นา้ หลกั เชน่ กนั สา� หรบั อนิ สตาแกรม มผี ใู้ ชง้ านสงู ถงึ ๑,๐๐๐ ลา้ นราย เปน็ จา� นวนครง่ึ หนงึ่ ของจา� นวนผใู้ ชเ้ ฟซบคุ๊ มกี ารคาดการวา่ อนิ สตาแกรม อาจมรี ายไดจ้ าก การโฆษณาในสหรฐั อเมรกิ าสงู ถงึ ๕,๔๘๐ ลา้ น เหรยี ญสหรฐั ซงึ่ เพมิ่ สงู ขนี้ เปน็ รอ้ ยระ ๗๐ เมอ่ื เทยี บกบั ป ี พ.ศ. ๒๕๖๐ สา� หรบั การโฆษณาในอนิ สตาแกรมพบว่า ร้อยละ ๗๑ ของธุรกิจใน สหรฐั อเมรกิ า ผปู้ ระกอบการใชอ้ นิ สตาแกรมเปน็ ชอ่ งทาง โดยตวั เลขดงั กลา่ วสงู เพม่ิ เกอื บ ๒ เทา่ ของป ี พ.ศ. ๒๕๕๙ (รอ้ ยละ ๔๘.๘) โดยการ โฆษณาส่วนใหญ่ในอินสตาแกรมเป็นภาพน่ิง นอกจากนม้ี กี ารใชว้ ดิ โี อเพอ่ื โฆษณาโดยมสี ดั สว่ น สงู ถงึ รอ้ ยละ ๒๕ ของโฆษณาทงั้ หมด นอกจากน ้ี ผใู้ ชง้ านเกอื บรอ้ ยละ ๘๐ กดตดิ ตามแบรนดต์ า่ งๆ ทโ่ี ฆษณาอยใู่ นอนิ สตาแกรม การทอ่ี นิ สตาแกรมมฟี งั กช์ นั ทสี่ ามารถโพสต์ บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร ภาพ หรือวิดีโอส้ัน พร้อมกับระบุต�าแหน่งของ สถานทใี่ นภาพ สามารถชว่ ยเพมิ่ ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ รา้ นคา้ ไดถ้ งึ รอ้ ยละ ๗๙ ของโพสตท์ งั้ หมด มาก กวา่ โพสตท์ ไี่ มไ่ ดร้ ะบตุ า� แหนง่
๑๓๔ ทวิตเตอร ์ (Twitter) ทวิตเตอรก์ ่อต้ังในเดอื นมนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยแจ็ก ดอร์ซ ี (JACK DORSEY) , บซิ สโตน(Biz Stone) และอวี าน วลิ เลยี มส์ (Evan Williams) และในเดอื นกรกฎาคม ในปเี ดยี วกนั ไดเ้ ปดิ ตวั ทวติ เตอร ์ ทา� ใหม้ ผี นู้ ยิ มใชง้ านทว่ั โลก ผู้ใช้งานสามารถโพสต์และโต้ตอบข้อความหรอื ท่เี รยี กว่า “ทวตี ” (Tweet) หรอื แบง่ ปนั (Share) ขอ้ ความของคนทตี่ ดิ ตาม (Follower) บนไทมไ์ ลนข์ องผใู้ ชง้ าน เรยี กวา่ การรที วตี (Retweet) โดยความยาว ของขอ้ ความจะถกู จา� กดั ไวท้ ไี่ มเ่ กนิ ๑๔๐ ตวั อกั ษร แตเ่ มอื่ วนั ท ี่ ๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ทผี่ า่ นมาการจา� กดั ขอ้ ความการทวตี ไดเ้ พมิ่ เปน็ ๒๘๐ ตวั อกั ษร สา� หรบั ทกุ ภาษา ผใู้ ชง้ านจา� เปน็ ตอ้ งลงทะเบยี น หรอื สมคั รเขา้ ใชง้ านทไ่ี มไ่ ดล้ งทะเบยี นจะสามารถอา่ นขอ้ ความ ดรู ปู ภาพ หรอื คลปิ วดี โิ อ ไดเ้ ทา่ นนั้ แตจ่ ะไมส่ ามารถทวตี ขอ้ ความ หรอื แสดงความ คดิ เหน็ ได้ ทวติ เตอรส์ ามารถรายงานขอ้ มลู ทร่ี วดเรว็ เชน่ การรายงานสภาพ การจราจรในกรงุ เทพฯ การรายงานขา่ วภาคสนามของนกั ขา่ ว หรอื ใน กรณเี หตกุ ารณผ์ ชู้ ว่ ยผฝู้ กึ สอนและนกั ฟตุ บอลเยาวชนทมี หมปู า่ อะคา เดมี แม่สาย จ�านวน ๑๓ คน ท่ีติดอยู่ในวนอุทยานถ�้าหลวง- ขุนนา�้ นางนอน อ�าเภอแม่สาย จังหวดั เชียงราย เป็นเวลา ๒ สัปดาห์ ผใู้ ชท้ วติ เตอรจ์ า� นวนมากไดส้ รา้ งแฮชแทก็ (#) วา่ #ถา้� หลวง หรอื #หมูป่าอะคาเดมี เพื่อเป็นแหล่งรวมข้อมูลที่เก่ียวกับความคืบ หน้าในการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถติดตาม ขา่ วสาร หรอื ความเคลอื่ นไหวไดต้ ลอดเวลา ทง้ั นก้ี ารใชแ้ ฮชแทก็ เพอ่ื ทวตี ขอ้ ความ จะเปน็ การตดิ แทก็ คา� สน้ั ๆ เพอื่ ใหส้ ะดวกในการคน้ หาคา� ศพั ทท์ ม่ี คี นทวตี ออกไปไดง้ า่ ยขน้ึ ทวติ เตอรเ์ ปน็ เวบ็ ไซต ์ ๑ ใน ๑๐ อนั ดบั ทม่ี ผี เู้ ขา้ ใชง้ านมากทส่ี ดุ และได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นเว็บไซต์ส�าหรับการส่งข้อความส้ันบน อนิ เทอรเ์ นต็ ตอ่ มาจงึ มกี ารบรกิ ารผา่ นแอพพลเิ คชนั บนสมารท์ โฟน สถิติการใช้งาน เม่ือช่วงมิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๑ งานแถลงผล ประกอบการไตรมาสที่ ๒ มีสถิติจ�านวนผู้ใช้งานหายไปกว่า ๑ ลา้ นราย โดยมผี ใู้ ชง้ านทงั้ หมด ๓๕๕ ลา้ นราย แตก่ ลบั มรี ายไดเ้ พมิ่ ขนึ้ เปน็ ๗๑๑ ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ทวติ เตอร ์(Twitter) คอื การบรกิ ารเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ ในประเทศไทย มกี ารใชง้ านทวติ เตอร ์ เปน็ จา� นวน ๑๒ ลา้ นราย ในรปู แบบไมโครบลอ็ ก(Microblog) โดยผใู ้ ชส้ ามารถแสดง และมีการท�ากิจกรรมอยู่ ๕.๗ ล้านราย โดยกรรมการผู้จัดการ ความคิดเหน็ หรอื ที่เรยี กวา่ ทวีต โดยจาํ กดั ความยาวของ ทวิตเตอร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นาย อาร์วินเดอร์ กูยจาล์ ตวั อกั ษรไม่เกนิ ๒๘๐ ตวั อกั ษร (Arvinder Gujral) แสดงใหเ้ หน็ วา่ ในชว่ งทผ่ี า่ นมามผี ใู้ ชง้ านทว่ั โลกมี อัตราเติบโตทุกไตรมาสถึงร้อยละ ๑๐-๑๒ ในขณะท่ีเอเชียแปซิฟิก เตบิ โตมากกวา่ รอ้ ยละ ๑๐-๑๒
๑๓๕ วอดสแ์ อปป์ ๑๔ - ๑๕ (WhatsApp) วอดสแ์ อปป์ (WhatsApp) คือ โปรแกรม รบั -ส่งขอ้ ความ วอดสแ์ อปป ์ กอ่ ตั้งโดย แจน ควมั (Jan Koum) จดทะเบยี น สําหรบั สมารท์ โฟน สามารถส่งขอ้ ความไดโ้ ดยไม่จาํ กดั บรษิ ทั เมอ่ื วันท่ี ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ในนาม WhatsApp พื น้ ที่และเวลา เป็ นการส่งขอ้ มูลผ่านระบบเครือข่าย Inc. โดยมีแนวคิดมาจากการแก้ปัญหาการส่งข้อความข้ามระบบ อนิ เทอรเ์ น็ต โดยไม่มีค่าบรกิ าร ต่างจากการส่งขอ้ ความ ปฏิบัติการ (OS) โดยไม่ตอ้ งเสยี ค่าบริการ เน้นหลักการคอื ใช้งาน แบบ เอสเอม็ เอส (SMS) ทว่ ั ไป ที่มีค่าบริการในการส่ง งา่ ย นา่ เชอื่ ถอื และไมต่ อ้ งมกี ารสมคั รเพอื่ ใชง้ านใหเ้ กดิ ความยงุ่ ยาก ขอ้ ความ โดยอุปกรณ์ของผู้ใช้งานทั้งผู้ส่งและผู้รับต้องมีแอพพลิเคชัน วอดส์แอปป ์ กส็ ามารถส่งข้อความ ภาพ เสยี ง หรือวิดโี อได้ โปรแกรมวอดสแ์ อปป์ สามารถใชง้ านไดท้ นั ทโี ดยไมจ่ า� เปน็ ตอ้ ง สมัครสมาชิก แต่จ�าเป็นที่ต้องระบุหมายเลขโทรศัพท์เพื่อเข้าใช้ งาน โดยแอพพลิเคชันวอดส์แอปป์รองรับท้ังระบบปฏิบัติการ ไอโอเอส (IOS) แอนดรอยด ์ (Android) คอมพวิ เตอรร์ ะบบปฏบิ ตั ิ การวินโดวส์ (Windows) หรือ แมค (Mac) และวินโดวส์โฟน (Windows Phone) มรี ะบบการใชง้ านตา่ ง ๆ คอื สา� หรบั การสอ่ื สาร เช่น การส่งข้อความส่ือผสม (Multimedia) บรกิ ารโทรโดยไม่เสีย ค่าบริการ สามารถติดต่อกันข้ามประเทศได้ สามารถใช้งานการ สนทนากลมุ่ สามารถรบั สง่ ขอ้ ความจากเวบ็ บราวเซอร ์ ไมต่ อ้ งสรา้ ง รหสั พนิ (Pin) เพอื่ เขา้ รหสั ขอ้ ความ แอพพลเิ คชนั จะไมม่ กี ารทา� การ ออกจากระบบ (Logout) ท�าให้ไม่พลาดข้อความใดที่มีการส่งมา สามารถแลกเปล่ียนข้อมูลสถานที่ และมีการปรับแต่งตั้งค่าส่วน บุคคล เชน่ ภาพพ้นื หลัง การลา้ งประวตั ิการสนทนา เปน็ ต้น ปจั จุบันมีผูใ้ ช้งานวอดสแ์ อปป์ทั่วโลก โดยใชบ้ ริการส่งขอ้ ความ มากกวา่ ๗.๕ หมนื่ ล้านขอ้ ความในชว่ งสิน้ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยแบ่ง เปน็ สัดสว่ น การสง่ ขอ้ ความด้วยรปู ภาพ ๑.๓ หมน่ื ล้านคร้งั และ การส่งข้อความดว้ ยวดิ ีโอ ๕ พันลา้ นคลปิ ส�าหรับปัจจัยที่ท�าให้วอดสแ์ อปป์เป็นทนี่ ิยม คือ เปน็ โปรแกรม ที่ใช้งานง่าย มีสว่ นตอ่ ประสานกับผู้ใชง้ าน (User interface: Ui) ท่ีมีลักษณะเหมือนกับค่าเร่ิมต้นของการส่งข้อความในโทรศัพท์ เคลื่อนท่ี สามารถรับส่งข้อความได้รวดเร็วเทียบเท่ากับการส่ง เอสเอ็มเอส (SMS) ไม่พบปัญหาขัดข้องทางเทคนิค หรือข้อผิด พลาดของโปรแกรม (Bug) แมว้ ่าแอพลิเคชนั วอดส์แอปป์เป็นท่ีนิยมและมีการใช้งานทั่วโลก แต่ก็มีบาง บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร ประเทศท่ไี ม่อนญุ าตใหใ้ ชง้ าน ดงั เชน่ ประเทศจนี มีการบล็อกวอด ส์แอปป์ เนื่องมาจากเหตุผลทางด้านความมั่นคงของประเทศชาต ิ ประกอบกับในประเทศจีนเอง ก็มีแอพพลิเคชันวีแชท (WeChat) อยแู่ ลว้ ซ่งึ สามารถท�าการตรวจสอบได้งา่ ยกวา่
๑๓๖ เอชทที พี ี (HTTP) และ เอฟทีพี (FTP) เอชทีทีพี หรอื HyperText Transfer Protocol (HTTP) คือ เกณฑว์ ิธีส่ือสารมาตรฐานบนระบบเครอื ข่าย แบบทซี ีพี/ไอพี (TCP/IP) อย่างเช่นอนิ เทอรเ์ น็ต สําหรบั การรบั ส่งขอ้ มูลเวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ โดยเอชทีทีพีไดก้ าํ หนด รปู แบบการส่งขอ้ ความและกาํ หนดการทาํ งานท่ีเครอ่ื งผูใ้ หบ้ รกิ ารเวบ็ ไซตแ์ ละโปรแกรมเวบ็ เบราวเ์ ซอร ์ ตอ้ ง ตอบสนองต่อขอ้ ความเหลา่ นนั้ ดว้ ย
เช่น เมื่อมีการก�าหนดยูอาร์แอล (URL) ใน และการพัฒนาอื่น ๆ อีกหลายครั้งจนมาถึง ๑๔ - ๑๕ ช่องค้นหาของโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ โปรแก ปจั จบุ นั เอฟทพี จี ะทา� งานภายใตช้ อ่ งทางการตดิ ตอ่ รมเว็บเบราว์เซอร์จะเริ่มท�าการส่งข้อความค�าส่ัง ส่ือสารสองชอ่ งทาง คอื ชอ่ งทางท่ใี ชใ้ นการโอน ของเอชทีทีพีไปยังเคร่ืองผู้ให้บริการเว็บไซต์ เพ่ือ ถา่ ยขอ้ มลู ใชเ้ กณฑว์ ธิ สี อ่ื สารแบบทซี พี /ี ไอพ ี ชอ่ ง ใหเ้ ครอ่ื งผใู้ หบ้ รกิ ารเวบ็ ไซต ์ ทา� การสง่ ขอ้ มลู กลบั ทางท่ี ๒๐ (port 20) และ ช่องทาง มา เม่ือเคร่ืองผู้ให้บริการเว็บไซต์ประมวลผล การติตต่อเพื่อควบคุมการโอนถ่ายข้อมูลท่ีใช้ ข้อมูลของเว็บไซต์เรียบร้อยก็จะท�าการส่งข้อมูล เกณฑ์วิธีสื่อสารแบบทีซีพี/ไอพี ช่องทางท่ี ๒๑ ใหก้ บั โปรแกรมเวบ็ เบราวเ์ ซอร ์ เพอื่ แสดงผลตาม (port 21) เกณฑ์วิธีสื่อสารที่เอชทีทีพีก�าหนดรูปแบบไว้ การทาํ งานและความแตกตา่ งระหวา่ ง เอฟทีพี หรือ File Transfer Protocol (FTP) เอชทที พี ี และ ความแตกตา่ งระหวา่ ง คือ เกณฑ์วิธีสื่อสารมาตรฐานบนระบบเครือข่าย เอชทที พี ี และ เอฟทพี ี เอชทที พี ี และ เอฟ แบบทีซีพี/ไอพี อย่างเช่นอินเตอร์เน็ต เช่นเดียว ภาพท่ี ๑ Abhay Bhushan ทีพี ทั้งคู่คือเกณฑ์วิธีการสื่อสารมาตรฐาน ที่มี กับเอชทีทีพี แต่เอฟทีพีเป็นเกณฑ์วิธีสื่อสาร การใช้งานอย่างแพร่หลายบนระบบอินเตอร์เน็ต ส�าหรับการถ่ายโอนไฟล์คอมพิวเตอร์ระหว่าง working group) ได้เพ่ิมให้เกณฑ์วิธีส่ือสาร นอกจากความแตกต่างหลักคือ เอชทที ีพ ี ถกู ใช้ เคร่ืองผู้ให้บริการและเครื่องผู้รับบริการ โดยเอฟ สามารถรองรบั การดา� เนนิ การทห่ี ลากหลายข้ึน เพอ่ื การรบั สง่ ขอ้ มลู เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ และเอฟทพี ี ถกู ทีพีจะท�างานในรูปแบบของ ไคลเอ็นต์-เซิร์ฟเวอร ์ เช่น รองรับการรับส่งข้อมูลปริมาณสูงขึ้น การ ใชง้ านเพอื่ การรบั สง่ ไฟลค์ อมพวิ เตอรแ์ ลว้ ในการ (client-server) โดยจะแยกช่องทางการควบคุม รองรับการดา� เนินการด้านการรักษาความ ใชง้ านเกณฑว์ ธิ สี อื่ สารแบบเอฟทพี ี มกี ารควบคมุ การท�างานและช่องทางการเช่ือมต่อเพ่ือรับส่ง ปลอดภยั ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้ และเปน็ ทร่ี จู้ กั ใน การเช่ือมต่อแบบเก็บรักษาข้อมูลสถานะเต็มรูป ข้อมูลระหว่างเครื่องผู้รับบริการและเครื่องผู้ให้ ฐานะของ เอชทที พี ี รุ่น ๑.๐ ทถ่ี กู เผยแพรใ่ นป ี แบบ (Stateful) ซ่ึงหมายความวา่ ตามเกณฑว์ ิธี บริการออกจากกัน ซึ่งเคร่ืองผู้รับบริการจะต้อง พ.ศ. ๒๕๓๙ ตอ่ มากไ็ ดม้ ีการพฒั นาเป็นรุ่น ๑.๑ สอื่ สารนจ้ี ะมเี กบ็ รกั ษาขอ้ มลู ไดเรกทอรกี ารทา� งาน ยืนยันสิทธิการใช้งานด้วยการลงช่ือเข้าใช้งานท่ี ซง่ึ ไดเ้ ผยแพรอ่ ยา่ งเปน็ ทางการในป ี พ.ศ. ๒๕๔๒ ปจั จุบันและขอ้ มลู ประกอบอืน่ ๆ และการรับสง่ มักจะอยู่ในรูปแบบของการกรอกข้อมูลชื่อผู้ใช้ และในรนุ่ ล่าสดุ ได้รบั การพัฒนาเป็น เอชทีทีพี/๒ ขอ้ มลู แตล่ ะครง้ั จะตอ้ งมกี ารหาชอ่ งทางการเชอื่ ม และรหัสผ่าน หลังจากน้ันจึงจะสามารถท�าการ หรือ เอชทีทีพี ๒.๐ ที่ถูกเผยแพร่อย่างเป็น ต่อที่สองส�าหรับการโอนข้อมูล ท�าให้เอฟทีพี รับส่งไฟล์คอมพิวเตอร์กับเคร่ืองผู้ให้บริการได้ ทางการในป ี พ.ศ. ๒๕๕๘ และใช้งานมาจนถงึ เหมาะกบั การรบั สง่ ข้อมูลขนาดใหญอ่ กี ทั้งในการ ปจั จุบนั ใชง้ านจรงิ เกณฑ์วิธสี ่อื สารเอชทีทีพกี ็สามารถใช้ ประวตั ิ เอฟทีพี เอชทีทีพี และการ งานเพ่ือรับสง่ ไฟลค์ อมพวิ เตอรไ์ ด้ แต่มกั จะถูกใช้ พฒั นา งานเพอ่ื รบั ส่งข้อมูลไฟล์คอมพิวเตอร์ที่มีขนาด บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร เล็กหรือไฟลช์ ว่ั คราว เพราะมคี วามสะดวกในการ ในการพัฒนาเกณฑ์วิธีสื่อสารแบบ เอชทีทีพี น้ัน ใชง้ านมากกวา่ และความแตกตา่ งอกี ประการหนง่ึ ขอ้ ความหลายมติ ิ (Hypertext) เปน็ คา� ทถ่ี กู เสนอ คอื โปรแกรมทใี่ ชง้ าน โดยปกตแิ ลว้ โปรแกรมเวบ็ ขึ้นโดย เท็ด นีลสัน (Ted Nelson) ในปี พ.ศ. เบราว์เซอร์ทั่วไปจะต้องรองรับการท�างานของ ๒๕๐๘ โดยต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ เซอร์ทิมโม เกณฑ์วิธีสื่อสารแบบเอชทีทีพีโดยสมบูรณ์ แต่ ที จอห์น เบอร์เนอร์ลี (Sir Timothy John สา� หรบั เอฟทพี ี โปรแกรมเวบ็ เบราวเ์ ซอรส์ ว่ นใหญ ่ Berners-Lee) และทีมงานของเขาได้ท�าการ สามารถเรยี กค้นไฟลท์ ่เี ครอื่ งใหบ้ ริการเอฟทพี ไี ด ้ พั ฒ น า โ ค ร ง ก า ร W o r l d W i d e W e b แตจ่ ะไมร่ องรบั เกณฑก์ ารวธิ กี ารสอื่ สารแบบ เอฟ ข้ึนที่ CERN และได้น�าเอาแนวความคิดของ ทีพีเอส (FTPS) ท่ีมีการเพิ่มเติมเร่ืองความ ข ้ อ ค ว า ม ห ล า ย มิ ติ ม า พั ฒ น า ต ่ อ ท� า ใ ห ้ ปลอดภัยเขา้ ในเกณฑว์ ธิ ีสือ่ สาร ท�าใหก้ ารใช้งาน เซอร์ทิมโมที จอห์น เบอร์เนอร์ลีได้รับเกียรติ เกณฑว์ ธิ สี อ่ื สารแบบเอฟทพี เี อสจะตอ้ งใชโ้ ปรแกรม ในฐานะผู้ริเริ่ม เอชทีทีพี ภาษาเอชทีเอ็มแอล ภาพท่ี ๒ เซอรท์ ิมโมที จอหน์ เบอรเ์ นอรล์ ี (HTML) เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับเคร่ือง สา� หรบั เกณฑก์ ารสอื่ สารแบบเอฟทพี นี น้ั ถกู จา� เพาะเทา่ นน้ั คอมพิวเตอร์ผู้ให้บริการเว็บเพจ รวมถึงเป็นผู้ พฒั นาโดย อาเบย์ ภชู าน (Abhay Bhushan) ริเริ่มพัฒนาโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ด้วย โดยใน โดยเผยแพร่ปีพ.ศ. ๒๕๑๔ โดยในช่วงแรกเอฟที เกณฑ์วิธีสื่อสารแบบเอชทีทีพี เร่ิมแรกจะมีเพียง พีน้ัน ท�างานอยู่บนระบบเกณฑ์วิธีสื่อสารแบบ การเรียกดูข้อมูลจากเครื่องผู้ให้บริการ (Get NCP (network control program) และตอ่ มา method) เพียงทางเดียวเท่าน้ัน และการตอบ เอฟทพี ี กไ็ ดเ้ ปลยี่ นมาทา� งานบนเกณฑว์ ธิ สี อื่ สาร สนองจากเครื่องผู้ให้บริการจะอยู่ในรูปแบบของ แบบทีซพี ี/ไอพ ี ในปีพ.ศ. ๒๕๒๓ และไดร้ บั การ ภาษาเอชทีเอ็มแอลเสมอ เพิ่มเติมความสามารถอีกหลายครั้ง เช่น การ พัฒนาใหส้ ามารถทา� งานรว่ มกบั ระบบไฟรว์ อลล์ ต่อมา เดฟ แรคเกต็ (Dave Raggett) ได้ ในการรักษาความปลอดภัย การพัฒนาเพื่อให้ มาเป็นหัวหน้าทีมผู้พัฒนา เอชทีทีพี (HTTP รองรบั การท�างานกับระบบ ไอพรี ่นุ ท ่ี ๖ (IPV6)
๑๓๗ การเกบ็ ขอ้ มูลแบบคลาวด ์ (Cloud Storage) การเกบ็ ขอ้ มูลแบบคลาวด ์(Cloud Storage) คอื รปู แบบของการจดั เกบ็ ในปจั จบุ นั การเกบ็ ขอ้ มลู แบบคลาวดม์ คี วามนา่ ขอ้ มูลดิจิทลั ไวบ้ นระบบอนิ เทอรเ์ น็ต ซง่ึ ในทางกายภาพขอ้ มูลเหลา่ นีจ้ ะ เชอ่ื ถอื มากขน้ึ มคี วามสามารถในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้ ถกู กระจายเพื่อเกบ็ ไวใ้ นทตี่ า่ งกนั และอาศยั ระบบคลาวดใ์ นการเชอื่ มส่วน อยา่ งรวดเรว็ มกี ารปอ้ งกนั ทแ่ี ขง็ แกรง่ มกี ารสา� รอง ตา่ ง ๆ ที่กระจายกนั อยู่นีเ้ ขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือใหส้ ามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มูลได ้ผูใ้ ห ้ ขอ้ มลู ทจี่ ดั เกบ็ สามารถกขู้ อ้ มลู ไดส้ ะดวกหากมขี อ้ บรกิ าร ในการเกบ็ ขอ้ มูลแบบคลาวด ์ จะมีหนา้ ท่รี บั ผิดชอบในการรกั ษา ผดิ พลาด และสามารถลดตน้ ทนุ การจดั เกบ็ เพราะผู้ ขอ้ มูลและรวมถงึ การดูแลระบบคลาวดใ์ หอ้ ยู่ภาวะพรอ้ มใชง้ าน เพื่อให ้ เชา่ ไมต่ ้องจดั หา หรอื ดูแลรักษาฮาร์ดแวร์ท่ีมีราคา ผูค้ นหรือหน่วนงานที่มาซอื ้ หรือเช่าบริการสามารถจดั เกบ็ และเขา้ ถึง แพง ท�าให้การเก็บข้อมูลแบบคลาวด์มีความแพร่ ขอ้ มูลหรอื โปรแกรมที่ตอ้ งการได ้ หลายอยา่ งมาก
ประวตั ิ การเก็บขอ้ มูลแบบคลาวด ์ แนวคิดในการ จา� ใหเ้ พยี งพอตอ่ การใชง้ านเกบ็ ขอ้ มลู ลดความซบั ซอ้ นในการดแู ล ๑๔ - ๑๕ สรา้ งการเกบ็ ขอ้ มลู แบบคลาวดม์ ขี น้ึ ครง้ั แรกในปคี .ศ. ๑๙๖๐ (พ.ศ. รกั ษาอปุ กรณจ์ ดั เกบ็ ขอ้ มลู หรอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ใ่ี หบ้ รกิ ารจดั เกบ็ ๒๕๐๓) โดย โจเซฟ คารล์ โรบเนท ลกิ ลเดอร(์ Joseph Carl Robnett ขอ้ มลู ไปใหผ้ ้รู ับ ใหบ้ ริการท่มี คี วามเช่ียวชาญ สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร Licklider) ในโครงการ ARPANET เพอื่ เชอ่ื มตอ่ ขอ้ มลู จากทกุ ทท่ี กุ ทรพั ยากร หรอื แอพพลเิ คชนั ตา่ ง ๆ ไดง้ า่ ยขน้ึ แมจ้ ะเปน็ การทา� งาน เวลา ในเวลาตอ่ มา ในป ี พ.ศ. ๒๕๒๖ CompuServe ไดเ้ สนอบรกิ าร นอกสถานท ี่ ใหผ้ ใู้ ชจ้ า� นวนมากสามารถอพั โหลดขอ้ มลู เพอื่ เกบ็ ขอ้ มลู ของเขาลงใน พน้ื ทข่ี นาดเลก็ ผา่ นระบบอนิ เตอรเ์ นต็ และในปพี .ศ. ๒๕๔๙ อเมซอน ภาพท่ี ๒ ผูใ้ หบ้ ริการการเกบ็ ขอ้ มูลแบบคลาวด ์ เวบ็ เซอรว์ ชิ (Amazon Web Services) ไดแ้ นะนา� บรกิ ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู ระบบคลาวด ์ AWS S3 ทา� ใหม้ ผี ใู้ หบ้ รกิ ารรายอน่ื ๆ เชน่ ภาพท่ี ๓ ผูใ้ หบ้ ริการการเกบ็ ขอ้ มูลแบบคลาวด ์ SmugMug Dropbox และ google drive เปน็ ตน้ ขอ้ มลู ทเี่ กบ็ ไวใ้ นคลาวด ์ จะไมส่ ญู หาย แมจ้ ะเกดิ ภยั พบิ ตั ริ า้ ยแรง ประเภทของท่ีเกบ็ ขอ้ มูลแบบคลาวด ์ การเก็บข้อมูล เนอ่ื งจาก ขอ้ มลู จะถกู จดั เกบ็ ไวใ้ นเครอ่ื งคอมพวิ เตอรข์ องผใู้ หบ้ รกิ าร แบบคลาวด์สามารถแบ่งได้ ๔ ประเภท ไดแ้ ก่ การเกบ็ ขอ้ มูลแบบ ทก่ี ระจายอยทู่ วั่ โลก คลาวด์ส่วนบุคคล การจัดเก็บข้อมูลแบบคลาวด์ภายนอกองค์กร การเก็บข้อมูลแบบคลาวด์ภายในองค์กร และการเก็บข้อมูลแบบ ส่ิงท่ีตอ้ งพิจารณาในการตดั สินใจใชง้ านการเกบ็ คลาวด์ลกู ผสม (hybrid) ขอ้ มูล แบบคลาวด ์ การนา� ขอ้ มลู ของบคุ คล หรอื องคก์ ร การเกบ็ ขอ้ มูลแบบคลาวดส์ ่วนบคุ คล คอื ระบบคลาวด์ ตา่ ง ๆ จา� นวนมากไปรวมกนั จดั เกบ็ ขอ้ มลู ในระบบคลาวด ์ เปน็ การ ทใี่ ชเ้ กบ็ ขอ้ มลู ของแตล่ ะบคุ คลในระบบคลาวดเ์ พอ่ื ใหบ้ คุ คลสามารถ เพมิ่ ความเสย่ี งตอ่ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต อกี ทง้ั การเกบ็ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดจ้ ากทกุ ท ่ี นอกจากนย้ี งั มคี วามสามารถในการแบง่ ปนั ขอ้ มลู แบบคลาวดเ์ ปน็ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู แบบกระจายในหลาย ๆ ทก่ี ็ และประสานขอ้ มลู จากอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ใหถ้ กู ตอ้ งตรงกนั มกั พบใน เปน็ การเพม่ิ ความเสยี่ งตอ่ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตจาก การจัดเก็บข้อมูลของอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือเช่นระบบ ไอคลาวด์ สถานทเี่ กบ็ ขอ้ มลู ทใ่ี ดทหี่ นงึ่ ทอ่ี าจมคี วามบกพรอ่ งในการรกั ษาความ (iCloud) ของบรษิ ทั แอปเปล้ิ (Apple) เปน็ ตวั อยา่ งของการเกบ็ ขอ้ มลู ปลอดภยั หรอื ในเวลาใชง้ านขอ้ มลู กเ็ ปน็ เพม่ิ จา� นวนขอ้ มลู ทสี่ ง่ ผา่ น แบบคลาวดส์ ว่ นบคุ คล ในเครอื ขา่ ย แทนทจี่ ะเป็นการใชง้ านขอ้ มูลจากเคร่ือง หรือโอนถา่ ย จากเครอื ข่ายภายใน และความเสถียรของผใู้ ห้บริการ เพราะไมม่ ี การจดั เกบ็ ขอ้ มูลแบบคลาวดภ์ ายนอกองคก์ ร คอื อะไรสามารถรับประกันได้ว่าในอนาคตผู้ให้บริการอาจประสบ การจัดเก็บข้อมูลท่ีองค์กรแยกข้อมูลไปจัดเก็บไว้ในระบบคลาวด์ ปัญหาหรือไม่ ตัวอย่างเช่น การล้มละลาย การถูกซื้อโดยบริษัท ภายนอกศนู ยก์ ลางการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ของตวั เอง ทา� ใหอ้ งคก์ รสามารถ ขนาดใหญ่อ่ืน ๆ การย้ายไปอยู่ในประเทศที่ท�าให้ต้องปฏิเสธการ ลดภาระในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู และการสา� รองขอ้ มลู ซง่ึ จะชว่ ยลดคา่ ใช้ ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง หรอื ประสบภยั พบิ ตั ริ า้ ยแรงจนไมส่ ามารถกคู้ นื จา่ ยจากการซอื้ จดั การและบา� รงุ รกั ษาระบบการเกบ็ ขอ้ มลู ข้อมลู จากแหลง่ อ่นื ได ้ เป็นต้น การเกบ็ ขอ้ มูลแบบคลาวดภ์ ายในองคก์ ร คือ การ จดั การเกบ็ ขอ้ มลู แบบคลาวดท์ อ่ี งคก์ รรวมระบบการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ไว้ รวมกบั ระบบอนื่ ๆ ในศนู ยข์ อ้ มลู ขององคก์ ร ชว่ ยแกป้ ญั หาดา้ นความ ปลอดภยั และประสทิ ธภิ าพ ในขณะทย่ี งั คงไดร้ บั ขอ้ ดขี องการจดั เกบ็ ขอ้ มลู แบบคลาวด์ การเกบ็ ขอ้ มูลแบบคลาวดล์ กู ผสม คอื การทา� งานรว่ ม กนั ของการจดั เกบ็ ขอ้ มลู แบบคลาวดภ์ ายนอกองคก์ ร และการเกบ็ ขอ้ มลู แบบคลาวดภ์ ายในองคก์ ร ซง่ึ ขอ้ มลู สา� คญั บางอยา่ งอยใู่ นระบบ คลาวดภ์ ายในขององคก์ รขณะทข่ี อ้ มลู อน่ื ๆ จะถกู จดั เกบ็ ในระบบการ จดั เกบ็ ขอ้ มลู แบบคลาวดภ์ ายนอกองคก์ ร ประโยชนแ์ ละขอ้ ควรระวงั ของ Cloud storage ขอ้ ดี ของของการเกบ็ ขอ้ มลู แบบคลาวด ์ เชน่ ในการใชง้ านองคก์ รสามารถ ชา� ระคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู เทา่ ทมี่ กี ารใชง้ านได ้ แทนทจี่ ะตอ้ ง ลงทนุ เปน็ เงนิ จา� นวนมากเพอื่ ใหไ้ ดพ้ น้ื ทจ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มลู ใหเ้ พยี งพอตอ่ การใชง้ านในอนาคต อกี ทง้ั การเกบ็ ขอ้ มลู แบบคลาวดน์ น้ั ชว่ ยทา� ให้ องคก์ ารสามารถลดการใชพ้ ลงั งานลงไดเ้ ปน็ จา� นวนมาก เพราะไมต่ อ้ ง เปดิ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ใี่ หก้ ารบรกิ ารตลอดเวลาทง้ั ทอี่ งคก์ รไมไ่ ดม้ ี การใชง้ าน ชว่ ยลดการจดั เตรยี มพนื้ ทจี่ ดั เกบ็ ของอปุ กรณห์ นว่ ยความ
๑๓๘ ระบบเครอื ข่าย คอมพิวเตอรแ์ บบ เพียทูเพีย (P2P) ตอ่ ยอดจากแนวความคดิ ของ เซอรท์ มิ โมท ี จอหน์ เบอรเ์ นอรล์ ี ในเรอื่ ง เวลิ ด ์ ไวด ์ เวบ็ ทจี่ ะใหผ้ ใู้ ชเ้ วบ็ แตล่ ะคนสามารถเปน็ ผรู้ บั ขอ้ มลู ขา่ วสาร ผสู้ รา้ ง ผู้ สนบั สนนุ หรอื เปน็ ผแู้ กไ้ ขและเชอ่ื มโยงขอ้ มลู ได ้ จน ในปพี .ศ. ๒๕๔๒ ชอหน์ แฟนนงิ (Shawn Fanning) ได้สร้างระบบการแชร์เพลง และใช้งานไฟล์ คอมพวิ เตอรร์ ว่ มกนั ชอื่ วา่ Naspter ทา� ใหผ้ ใู้ ชง้ าน อนิ เทอรเ์ นต็ ทวั่ โลกรจู้ กั ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ แบบเพยี ทเู พยี การประยุกตใ์ ชง้ าน ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอรแ์ บบเพียทเู พยี สามารถนา� ไปประยุกต์ ใชง้ านได้หลากหลาย เช่น เครือข่ายการแชรไ์ ฟล ์ ในเครือข่าย การแชรไ์ ฟลแ์ บบเพียทูเพีย เคร่ืองผู้ใชจ้ ะ เปน็ ทง้ั ผใู้ หบ้ รกิ ารและรบั บรกิ ารการแชรไ์ ฟล ์ ทา� ให้ ขอ้ มลู ในเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบเพยี ทเู พยี มมี าก ขนึ้ ตามจา� นวนผใู้ ชบ้ รกิ าร ทา� ใหก้ ารกระจายขอ้ มลู เขา้ ไปในเครอื ขา่ ยมคี า่ ใชจ้ า่ ยในการตดิ ตงั้ และใชง้ าน ที่ต่�ามาก ตวั อยา่ งเครอื ข่ายการแชรไ์ ฟล์แบบเพยี ทู เพียที่ได้รับความนิยม ได้แก่ Gnutella, G2, eDonkey, และ Bittorrent ไฟลท์ มี่ กั นา� มาแจกจา่ ย ซอฟแวรล์ นิ กุ ซ ์ หรอื ซอฟแวรป์ ระยกุ ตต์ า่ ง ๆ เพราะ เน่ืองจากเคร่ืองเซิฟเวอร์ ตัวกลางที่เป็นผู้คัดกรอง ลิขสทิ ธจ์ิ งึ มกี ารคดั ลอก หรอื แชร์ไฟล์คอมพวิ เตอร์ ที่ละเมิดลิขสิทธิ์ ท�าให้บริษัทท่ีพัฒนาโปรแกรม ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบเพียทูเพีย หรอื พีทูพี (Peer-to-peer ประยุกต์ส�าหรับการแชร์ไฟล์บนระบบเครือข่าย หรอื P2P) คอื ระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอรแ์ บบกระจายการทาํ งาน คอมพวิ เตอรแ์ บบเพยี ทเู พยี ถกู ฟอ้ งรอ้ งดา� เนนิ คด ี ใน ที่สถานีงาน (workstation) แต่ละสถานีมีสามารถและความรบั ผิดชอบ ฐานะเปน็ ผูก้ อ่ ใหเ้ กดิ การละเมดิ ลขิ สิทธิ์ เท่ากนั ในงานงา่ ย ๆ แต่จะมีประสิทธิภาพไม่เท่ากนั ในงานท่ตี อ้ งใชค้ วาม เครอื ขา่ ยการถา่ ยทอดส่ือผสม เชน่ เครอื สามารถสงู แตกตา่ งจากการทาํ งานของคอมพิวเตอรใ์ นสถาปัตยกรรม ขา่ ย P2PTV, PDTP และ Peer-casting เปน็ ระบบ แบบไคลเอน็ ต-์ เซิรฟ์ เวอร ์ซง่ึ คอมพิวเตอรบ์ างเครอื่ งจะถกู มอบหมายให ้ เครอื ขา่ ยทอี่ อกแบบมาเพอื่ การแจกจา่ ยวดี ทิ ศั นแ์ บบ มีหนา้ ท่ีใหบ้ รกิ ารแก่เครอื่ งคอมพิวเตอรอ์ นื่ ๆ เรยี ลไทมส์ ตรมี มงิ่ (Realtime streaming) บนเครอื ขา่ ยแบบเพยี ทเู พยี โดยการใหบ้ รกิ ารจะเรม่ิ ตน้ โดย ประวตั ิ P2P และ พฒั นาการของ P2P ตดิ ตอ่ กบั เครอ่ื งผใู้ หบ้ รกิ ารแบบไคลเอนต-์ เซอรเ์ วอร์ บคุ คลหรอื องคก์ รปอ้ นขอ้ มลู การถา่ ยทอดสดเขา้ มาใน แตก่ ลมุ่ ของเครอื่ งผใู้ หบ้ รกิ ารขา่ ว หรอื ใหบ้ รกิ ารรบั เครอื ขา่ ย เมอ่ื มผี เู้ ขา้ รว่ มรบั ชม ผรู้ บั ชมนนั้ กจ็ ะทา� แนวความคดิ ในการสรา้ งระบบกระจายการทา� งานใน สง่ ขอ้ มลู จะตดิ ตอ่ สอ่ื สารกนั เองในรปู แบบของเพยี ทู หนา้ ทเ่ี ปน็ ผสู้ ง่ ตอ่ ขอ้ มลู ทตี่ นเองไดร้ บั ไปยงั ผชู้ มอน่ื ๆ คอมพิวเตอร์เริ่มต้นจากระบบ user network เพยี เพอื่ ให ้ USENET สามารถสง่ ขา่ วใหก้ บั เครอื่ งผู้ ทา� ใหม้ ผี รู้ บั ชมเปน็ จา� นวนมาก โดยทผ่ี ปู้ อ้ นขอ้ มลู ไม่ (USENET) ซงึ่ ถกู พฒั นาขน้ึ ในป ี พ.ศ. ๒๕๒๒ เพอื่ ใหบ้ รกิ ารขา่ วไดท้ งั้ โครงขา่ ย ตอ่ มาแนวความคดิ การ ตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยเพมิ่ เตมิ ในการถา่ ยทอดขอ้ มลู ใหค้ อมพวิ เตอรใ์ นเครอื ขา่ ยทา� งานรว่ มกนั ในการรบั สง่ และกระจายขอ้ มลู โดย USENET เปน็ ระบบทมี่ ี ทา� งานแบบเพยี ทเู พยี เพอ่ื ใหผ้ ใู้ ชง้ านทว่ั โลกสามารถ การควบคมุ แบบกระจาย (Decentralized model) เชื่อมต่อได้โดยตรง สร้างกลุ่มและท�างานร่วมกัน ถงึ แมว้ า่ มมุ มองจากฝง่ั ผใู้ ชง้ านหรอื เครอื่ งลกู ขา่ ยจะ เสมอื นเปน็ ซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอรข์ นาดใหญไ่ ดร้ บั การ
๑๓๙ ทอรเ์ รนต ์ ๑๔ - ๑๕ (Torrent) ทอรเ์ รนต ์หรอื บิตทอรเ์ รนต ์(BitTorrent) คือ โพรโทคอลรปู แบบเพียรท์ ูเพียร ์(Peer to peer) ในการรบั ส่งขอ้ มูลระหวา่ งเครอื่ งคอมพิวเตอร ์ โดยผ่านเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต โดยมีแนวคิดมาจาก นายแบรม โค เฮน (Bram Cohen) ท่ีตอ้ งการใหข้ อ้ มูลสามารถส่งผ่านไดท้ งั้ ขาเขา้ และขาออก โดยเรม่ิ พฒั นามาตงั้ แต่ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔ ทอรเ์ รนต ์ เปน็ การนา� เทคโนโลย ี พที พู ี มา เซิร์ฟเวอร์ของทอร์เรนต์ เรียกว่า แทกเกอร ์ เสรี ท�าใหใ้ นบางครั้ง เกิดการแบง่ ปันไฟลท์ มี่ ีการ ประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื แกไ้ ขปญั หาไฟลท์ แี่ บง่ ปนั มขี นาด (Tracker) ละเมดิ ลขิ สิทธ ิ์ เชน่ ภาพยนตร์ เกม รวมไปถึง ใหญจ่ นไมส่ ามารถสง่ ถงึ กนั ไดใ้ นครง้ั เดยี ว แตเ่ ดมิ ซอร์ฟแวร ์ และ เกมตา่ ง ๆ ท่ผี ดิ หลักศีลธรรม ผู้ การใช ้ เอฟทพี ี และ เฮซทที พี ี มกั ประสบปญั หา ไฟล์ทอร์เรนต์ท�าหน้าท่ีเป็นกุญแจส�าคัญใน ใชจ้ า� นวนหนงึ่ ในช่องทางทอร์เรนตใ์ นการแบ่งปัน เวลาระหวา่ งการโหลดไฟลท์ ม่ี ขี นาดใหญ ่ โดยปกติ การเริ่มดาวน์โหลดเน้ือหาจริง คนท่ีสนใจในการ ไฟล์ที่ผิดกฎหมาย รวมถึงการละเมิดลิขสิทธ์ิ การเขา้ ถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ จะไมร่ องรบั ความเรว็ ในการ รับไฟล์หรือโฟลเดอร์ท่ีใช้ร่วมกันจะได้รับไฟล์ ทา� ให้เจา้ ของทรพั ยส์ ินทางปญั ญา สูญเสียรายได้ บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร ดาวนโ์ หลดทม่ี ากกวา่ ความเรว็ ในการอพั โหลด มี ทอร์เรนต์ท่ีเกี่ยวข้องด้วยการดาวน์โหลดโดยตรง มหาศาล การจ�ากัดแบนดว์ ิดธ์ของการดาวนโ์ หลดในแต่ละ การดาวน์โหลดแบบทอร์เรนต์ เป็นการเพิ่ม ครง้ั สง่ิ เหลา่ นอี้ าจทา� ใหไ้ ฟลเ์ กดิ ความเสยี หายและ ประสทิ ธภิ าพการดาวนโ์ หลดใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ ๒. การแชร์ไฟล์ระหว่างกันและกัน สามารถท�า ตอ้ งเรมิ่ ทา� การโหลดไฟลใ์ หมอ่ กี ครง้ั แตท่ อรเ์ รน็ ต ์ โดยการดาวน์โหลดไฟล์ช้ินส่วนเล็ก ๆ ที่มีผู้อ่ืน ไดโ้ ดยง่าย บางคร้ังอาจมผี ู้ประสงค์ร้ายทา� การฝงั มีการท�างานแบบพีทูพี คือเครื่องแต่ละเครื่องจะ แบง่ เอาไวใ้ นเครอื ขา่ ย เครอ่ื งทกี่ า� ลงั รบั -สง่ ชน้ิ สว่ น โปรแกรมที่ดักจับข้อมูลส่วนบุคคล หรือไวรัส เชอ่ื มตอ่ กนั โดยตรง โดยไมต่ อ้ งผา่ นตวั กลาง มกี าร ไฟล์ จะถูกเรียกว่าเพียร์ ซ่ึงเม่ือคุณเริ่มท�าการ ทางคอมพิวเตอร์มาพร้อมกับไฟล์ที่รับมา อาจ แบง่ ไฟลอ์ อกเปน็ สว่ น ๆ ชนิ้ เลก็ ๆ โดยเครอ่ื ง ดาวนโ์ หลดชนิ้ สว่ นไฟล ์ ผอู้ น่ื สามารถเชอ่ื มตอ่ เพอ่ื ส่งผลให้เกิดการโจรกรรมข้อมูลผ่านเครือข่าย คอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะเครอื่ งจะเปน็ ทง้ั ผรู้ บั ไฟล ์ และผู้ ขอช้นิ ส่วนของไฟล์ทอ่ี ย่ใู นเคร่ืองตอ่ ไปได้ คอมพิวเตอร์ สง่ ไฟล ์ ในเวลาเดยี วกนั โดยจะมโี ปรแกรมทที่ า� ขอ้ ควรระวงั ในการทอรเ์ รนต ์ คือ หน้าที่จัดการประสานระหว่างผู้ที่ใช้งาน กับ ๑. การเป็นสังคมแห่งการแบ่งปันที่มีความอิสระ
๑๔๐ โฟรแ์ ชร ์ (4shared) กูเกลิ ไดรฟ์ (Google Drive) และดรอปบอ็ ก (Dropbox) การแบ่งปั นไฟล ์ และรบั ฝากไฟล ์ ออนไลน์ ถือเป็ นกิจกรรม ที่ทําใหผ้ ูใ้ ชง้ านอินเทอรเ์ น็ตสามารถรวมแบ่งปัน แกไ้ ขไฟลห์ รือ เปลี่ยนแปลงเนือ้ หาใด ๆ ในชอ่ งทางอนิ เทอรเ์ น็ต ในทอ้ งตลาดมีตวั เลอื กสําหรบั ส่ิงเหลา่ นีม้ ากมาย ในประเทศไทยโปรแกรมทีน่ ิยมใช ้เช่น โฟรแ์ ชร,์ ไดรฟ์ และดรอปบอ็ ก เป็ นตน้ กเู กลิ ไดรฟ์(Google Drive) คอื บรกิ าร ออนไลน์ ประเภท เทคโนโลยี คลาวด์ (Cloud Technology) เป็นพ้ืนท่ีส�าหรับจัดเก็บเอกสาร รปู ภาพหรอื ไฟลง์ านตา่ ง ๆ และสามารถแบง่ ปนั ไฟลข์ อ้ มลู โดยผใู้ ชง้ านตอ้ งสมคั ร Gmail กอ่ นทจ่ี ะ เรม่ิ ใชง้ าน โดยจะมพี นื้ ทจ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มลู ๑๕ จกิ ะไบต ์ โดยไมม่ คี า่ บรกิ าร ซง่ึ ถอื วา่ เพยี งพอตอ่ ผใู้ ชง้ านทว่ั ไป กรณที ต่ี อ้ งการพน้ื ทใ่ี นการเกบ็ ขอ้ มลู เพม่ิ ผใู้ ชง้ านต ตอ้ งเสยี คา่ บรกิ ารรายเดอื นหรอื รายปตี ามทบ่ี รษิ ทั กา� หนด นอกจากนก้ี เู กลิ ไดรฟส์ ามารถแบง่ ปนั ไฟล์ ผา่ น รปู แบบผรู้ ว่ มงาน (Team) โดยเปน็ การกา� หนด พนื้ ทร่ี ว่ มกนั ระหวา่ งกลมุ่ ผใู้ ช ้ สามารถแบง่ ปนั ไฟล ์ อพั โหลด และดาวนโ์ หลดได ้ แตจ่ า� เปน้ ตอ้ งเชญิ ผใู้ ช้ งานอ่ืนให้ได้รับสิทธิ์ในการเข้าถึงไฟล์น้ันเสียก่อน และสามารถเข้าถึงไฟล์ในไดรฟ์ได้ทุกที่ ทุก แพลตฟอร์ม โฟรแ์ ชร ์ (4shared) คอื บรษิ ทั ทใี่ หบ้ รกิ ารเกบ็ รกั ษาและแบง่ ดรอปบอ๊ ก (Dropbox) คอื พน้ื ทจี่ ดั เกบ็ ปนั ไฟล ์ กอ่ ตง้ั ขนึ้ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๘ ในประเทศยเู ครน กอ่ ตงั้ โดย อเลก็ ขอ้ มลู ทสี่ ามารถจดั เกบ็ ไฟลแ์ ละแบง่ ปนั ไฟลร์ ว่ มกนั ซ์ ลุนคอฟ (Alex Lunkov) และ เซอร์กี้ ชัดนอฟสกี (Sergiy ได ้ ผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ เชน่ เดยี วกนั กบั กเู กลิ Chudnovkyy) โฟรแ์ ชร ์ เปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารอพั โหลดไฟลห์ ลากหลายชนดิ ไดรฟ ์ สามารถทา� งานร่วมกนั ผใู้ ช้งานสามารถใช้ ผู้ใช้สามารถอัพโหลดไฟล์ และสามารถค้นหาไฟล์ แบ่งปันได้อย่าง งานได้ทันทีโดยไม่มีค่าบริการ แต่จะมีค่าบริการ งา่ ยดาย โฟรแ์ ชรถ์ อื เปน็ โปรแกรมไดท้ นี่ ยิ มใชใ้ นประเทศไทย ในอดตี ผู้ สา� หรบั รปู แบบการใชง้ านพเิ ศษ ซง่ึ ผใู้ ชง้ านสามารถ ใชโ้ ฟรแ์ ชรจ์ ะอพั โหลดไฟลเ์ พลง แตใ่ นปจั จบุ นั โฟรแ์ ชรส์ ามารถสง่ิ ๆ ทดลองใชก้ อ่ นได ้ ดรอปบอ๊ กสามารถใชง้ านไดท้ งั้ ใน ไดม้ ากกวา่ แคอ่ พั โหลดไฟลเ์ พลง ไมว่ า่ จะเปน็ ไฟลเ์ พลง ไฟลว์ ดี โี อ ไฟล์ เว็บบราวเซอร์ หรอื แอพพลเิ คชนั บนคอมพิวเตอร ์ แอปพลเิ คชนั ไฟลร์ ปู ภาพ และไฟลห์ นงั สอื ตา่ ง ๆ โฟรแ์ ชรส์ ามารถใช้ ถือเป็นโปรแกรมที่สามารถส�ารองข้อมูลได้เช่น บริการท้ังผ่านเว็บไซต์ รองรับทั้งระบบปฏิบัติการวินโดว์ แมคโอเอส เดียวกับกลุ่ม เทคโนโลยีคลาวด์อ่ืน ๆ (Cloud และสามารถใชบ้ รกิ ารผา่ นแอปพลเิ คชนั ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี แอปสโตว ์ (app Technology) store) กเู กลิ้ เพลย ์ (google play) และวนิ โดวโ์ ฟนสโตว ์ (window phone store) โฟรแ์ ชรม์ ใี หเ้ ลอื กใชบ้ รกิ ารทง้ั ในรปู แบบไมม่ คี า่ บรกิ าร และเสยี คา่ บรกิ าร
๑๔๑ ความปลอดภยั ออนไลน์ ๑๔ - ๑๕ (Online security) ภยั คกุ คามตอ่ ความปลอดภยั ยงั รวมถงึ การกระทา� อน่ื ๆ ท่เี ปน็ การคกุ คามสทิ ธเิ สรีภาพสว่ นบคุ คล เช่น การใส่ความผู้อ่ืนส่งผลให้เสื่อมเสียชื่อเสียง หรอื ท่ีเรยี กวา่ การหม่นิ ประมาท การส่งข้อความ ผา่ นอเี มล หรอื หอ้ งสนทนา (Chat room) ในแอป พลิเคชันไลน์ หรือเฟซบุ๊ก เมสเซนเจอร์ โดยมี เจตนาทจ่ี ะขม่ ขู่ หรือทา� ใหข้ ายหนา้ อบั อาย การ ลวงผ้เู ยาว์ท่ยี งั ไมบ่ รรลนุ ติ ภิ าวะไปมเี พศสมั พนั ธ์ โดยคนรา้ ยจะเริ่มหาเหยอ่ื จากการพูดคุยกันทาง อินเทอร์เน็ต และลวงให้เหยื่อถ่ายภาพอนาจาร และส่งให้กับคนร้าย จากนั้นคนรา้ ยจะใชภ้ าพนั้น ในการขูบ่ งั คับให้เหยอ่ื ถา่ ยภาพทอี่ นาจารมากขึน้ เพอื่ ไมใ่ หค้ นรา้ ยเผยแพรภ่ าพนน้ั ตอ่ บคุ คลใกลช้ ดิ ของเหย่อื ดว้ ยความกลวั เชน่ เพ่ือน ครอบครวั หรือสาธารณชน เหย่ือจึงจ�ายอมท�าตามมากข้ึน เร่อื ย ๆ และบางคร้ังน�าไปสูก่ ารเรียกร้องให้โอน เงนิ หรือนัดพบในโลกจริงเพอ่ื ทา� การข่มขืนดว้ ย ความปลอดภัยออนไลน์ยงั รวมถึงความร้สู กึ ความสบาบใจในการใช้งาน เช่น ไม่พบเห็น ข้อความหยาบคาย ข้อความที่แสดงถึงความ เกลียดชังต่อกลุ่มคนท่ีมีความคิด ความเชื่อ ศาสนา เชอื้ ชาต ิ หรือสีผวิ ทแ่ี ตกต่างจากตน หรอื การไมพ่ บเจอเนอ้ื หาทไี่ มต่ อ้ งการ เชน่ การไมต่ อ้ ง ถูกบงั คับให้ตอ้ งดูโฆษณาที่ปรากฏขึน้ มาขณะชม เวบ็ ไซต ์ หรอื คลิปวดี โิ อในแอปพลิเคชันยทู ูป ความปลอดภยั ออนไลน์ (Online security) หมายถงึ การที่ผูใ้ ชเ้ ครอื ประเทศไทย มีการตรากฎหมายพระราช บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ สามารถใชบ้ รกิ ารไดอ้ ยา่ งปลอดภยั จากการถกู หลอก บัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิดเก่ียวกับ ลวง การใชค้ าํ พูดรนุ แรง การไดร้ บั ขอ้ ความภาพและวีดิโอเชงิ ลามก คอมพิวเตอร์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อ อนาจาร การถูกข่มขู่คุกคาม การถูกเจาะหรือทําลายขอ้ มูลส่วนตวั กา� หนดโทษของความผิดข้างตน้ โดยมกี ระทรวง ดว้ ยโปรแกรมไวรสั คอมพิวเตอร ์ทงั้ นีผ้ ใู ้ ชเ้ ครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตควร ดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบและ มีความรูเ้ ก่ียวกบั การใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตอย่างปลอดภยั สถานการณท์ ี่ ดา� เนนิ การใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ประเดน็ เสี่ยงต่อการสูญเสียขอ้ มูลส่วนตวั ตลอดจนการป้องกนั ตนเองจาก ด้านความปลอดภยั ออนไลน ์ อาชญากรรมคอมพิวเตอร ์ สืบเน่อื งจากจา� นวนผูใ้ ชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ท่มี ี บคุ คลแปลกหนา้ ในโลกออนไลน ์ ดงั นน้ั จงึ ไดม้ กี าร จ�านวนเพิ่มขึ้นท่ัวโลก รฐั บาลและองคก์ รตา่ ง ๆ ก�าหนดวันอินเทอร์เน็ตท่ีปลอดภัย (Safer ไดแ้ สดงความกงั วลเกยี่ วกับความปลอดภัยของผู้ Internet Day) ซงึ่ จดั ขนึ้ ในชว่ งตน้ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ใช้งานอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและ ของทุกปี เพ่ือสร้างความตระหนักถึงความ เยาวชนทไ่ี ม่รู้เทา่ ทนั กลลวงจากการสนทนากับ ปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต
๑๔๒ ความมน่ ั คงในโลกไซเบอร ์ รัฐบาลต้องมมี าตรการเขม้ งวดกบั ความมนั่ คง (Cybersecurity) ของระบบคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะระบบท่ีควบคุม การเงิน การบนิ หรือสาธารณปู โภค เช่น ไฟฟ้า ประปา พลังงาน การขนส่ง ของประเทศ ตลอดจน เว็บไซต์และฐานข้อมูลขนาดใหญ ่ (Big data) ของ องค์กรท้ังภาครัฐและเอกชน นอกจากน้ีระบบที่ เชือ่ มโยงค�าสัง่ จากสมารท์ โฟนสามารถเปน็ เป้า หมายของการลกั ลอบเขา้ ถงึ ขอ้ มลู จากผบู้ กุ รกุ ระบบ คอมพวิ เตอรไ์ ดเ้ ชน่ กัน ผบู้ กุ รกุ ระบบคอมพวิ เตอรจ์ ะใชว้ ธิ กี ารคน้ หาจดุ อ่อนของเครือข่ายและโจมตีที่จุดอ่อนนั้น ตัวอย่าง รูปแบบการโจมตี เชน่ การลักลอบเข้าถงึ ขอ้ มลู โดย การตดิ ตัง้ โปรแกรมไวรสั หรือมัลแวรท์ อ่ี นญุ าตให้ผู้ บุกรุกไม่ต้องยืนยันตัวตนก่อนเข้าสู่ระบบ การ ควบคุมคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เคร่ืองในระบบเพ่ือ ระดมส่งข้อมูลขยะจ�านวนมาก จนกระท่ัง คอมพวิ เตอรเ์ หล่านัน้ ไมต่ อบสนองต่อขอ้ มูลส�าคัญ เช่น การต้องยืนยนั ตัวตนก่อนเขา้ สู่ระบบ นอกจาก น้ันยังมีการลวงเพ่ือเอาขอ้ มลู ส�าคญั หมายเลขบตั ร เครดติ หมายเลขบญั ชธี นาคาร หมายเลขประจา� ตวั ประชาชน หรอื แมก้ ระทง่ั อเี มล โดยผบู้ กุ รกุ จะสรา้ ง หนา้ เวบ็ ไซตใ์ หใ้ กล้เคียงกบั หนว่ ยงานทีน่ ่าเช่ือถือ และหลอกใหผ้ ใู้ ชง้ านกรอกขอ้ มลู ดงั กลา่ ว จากนน้ั ผู้ บุกรกุ จะน�าข้อมูลท่ไี ด้ไปใช้เขา้ สู่ระบบเพอื่ ขโมย ข้อมูลส่วนบคุ คล เงนิ หรอื ปลอมเป็นผใู้ ชง้ านเพ่อื กระทา� ความผดิ อื่น ๆ มาตรการทชี่ ว่ ยใหก้ ารใชง้ านระบบคอมพวิ เตอร์ มีความปลอดภัย ได้แก่ การเปล่ียนรหัสผ่าน (Password) เครอ่ื งคอมพวิ เตอรบ์ อ่ ย ๆ การสา� รอง ข้อมลู ในยูเอสบ-ี แฟลชไดรฟ์ (USB Flash Drive) หรอื เอก็ เทอนอล ฮารด์ ดสิ ก ์ (External Hard Disk) การยนื ยนั ตัวตนของผ้ใู ช้งานทกุ คร้งั การลงชอื่ ออก ความมน่ ั คงในโลกไซเบอร ์(Cybersecurity) หมายถงึ การป้องกนั ระบบ (Sign out) ทกุ ครง้ั หลงั จากใชง้ าน ไมเ่ ปดิ เผยขอ้ มลู คอมพิวเตอรท์ งั้ ตวั ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วรจ์ ากภยั คุกคามต่าง ๆ เช่น ส่วนตัว เช่น อีเมล เบอร์โทรศัพท ์ หรอื วันเดอื นปี การทาํ ลายขอ้ มูล เนื่องจากการเขา้ ถงึ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากผูก้ อ่ การ เกดิ เปดิ การใชง้ านระบบยนื ยนั ตวั ตนในอเี มลในรปู แบบ ๒ ขั้นตอน โดยขั้นตอนแรกผ้ใู ช้งานจะไดร้ บั รา้ ย หรือผูบ้ ุกรุกระบบคอมพิวเตอร ์ (Hacker) การสรา้ งโปรแกรมไว รหัสยืนยันแรกท่ีส่งเข้าไปทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ มิ รสั หรอื มลั แวรไ์ ปทาํ ลายหรอื โจรกรรมขอ้ มูลท่ีอยู่ในเครอ่ื งคอมพิวเตอร ์ ฉะนน้ั แล้วจะใชง้ านไมไ่ ด้ กลา่ วคอื ต่อใหผ้ ูป้ ระสงค์ เม่ือผูใ้ ชง้ านเปิ ดโปรแกรมดงั กล่าว ตลอดจนความผิดปกติของระบบ รา้ ยมรี หสั ผา่ นเขา้ อเี มล แตถ่ า้ ไมม่ รี หสั ยนื ยนั ทไี่ ดร้ บั ฮารด์ แวรห์ รอื ซอฟตแ์ วร ์ หรอื เกิดจากภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ เป็ นตน้ ทางโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท ี่ จะไมส่ ามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ใน อเี มลไมไ่ ดอ้ อกแบบใหร้ ะบบการใชง้ านคอมพวิ เตอร์ องค์ความรู้ด้านการรักษาความม่ันคงในโลก ในทุกสรรพส่ิง (Internet of Thing: IoT) ซ่ึง เปน็ ระบบปดิ เชน่ การไม่ใหบ้ คุ คลภายนอกใช้งาน ไซเบอร์มีความส�าคัญเพิ่มขึ้น เน่ืองจากผู้คนในยุค อปุ กรณไ์ ฟฟา้ อาท ิ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ นาฬกิ า ต้เู ยน็ คอมพิวเตอรส์ ่วนตัวมาเชอื่ มต่อกับระบบ ไม่น�ายูเอ ปัจจุบันนิยมท�าธุรกรรมหรือบันทึกข้อมูลในโลก เคร่ืองซักผ้า ได้ถูกเช่ือมโยงกับระบบอินเทอร์เน็ต สบี-แฟลชไดรฟ ์ (USB Flash Drive) หรอื เอก็ เทอ ออนไลน ์ มากขน้ึ เชน่ การกรอกรหสั เพอ่ื ทา� ธรุ กรรม นอล ฮารด์ ดสิ ก ์ ใหผ้ อู้ นื่ ใช ้ และจา� กดั ระบบทส่ี า� คญั ทางการเงินผ่านแอพพลิเคชัน หรือการเก็บข้อมูล ผใู้ ช้งานสามารถส่ังการและควบคุมการใช้งานผ่าน ไมใ่ หเ้ ช่อื มตอ่ กบั อินเทอร์เน็ตโดยอัตโนมัติ เปน็ ต้น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทโฟน และรปู ภาพในสมารต์ โฟนไวบ้ นระบบคลาวด ์ (Cloud) คอมพวิ เตอร ์ เปน็ ต้น ดังนน้ั การปอ้ งกนั ข้อมลู ส่วน ประกอบกับการเติบโตของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต บคุ คลของผใู้ ชง้ านในโลกไซเบอรจ์ ึงเปน็ ส่ิงทสี่ �าคัญ
๑๔๓ สงครามไซเบอร ์ ๑๔ - ๑๕ (Cyberwarfare) สงครามไซเบอร ์ (Cyberwarfare) คอื การกระทาํ ของชาตใิ ดชาตหิ นง่ึ โจมตีทางกายภาพ เช่น การจารกรรมขอ้ มลู การ กลุ่มผูก้ ่อการรา้ ย หรือองคก์ รอาชญากรรมขา้ มชาติท่ีเจาะระบบ โฆษณาชวนเช่ือผ่านโลกไซเบอร์ การส่งข้อมูล คอมพิวเตอรข์ องประเทศอนื่ เพ่ือกอ่ ความเสยี หายหรอื เกดิ รบกวนใน เข้าไปขัดขวางการรบั สง่ ข้อมลู โดยปกติของเครือ ระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ท่ี ข่ายคอมพิวเตอรข์ องรัฐบาลจนทา� ใหร้ ะบบชา้ ลง หรอื หยุดท�างาน รัฐบาลในหลายประเทศระบุว่าตนเองถูก โจมตีทางโลกไซเบอร์ ในขณะที่รัฐบาลของบาง ประเทศก็ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้อยู่เบ้ืองหลังการ โจมตนี นั้ ทงั้ นกี้ ารดา� เนนิ การทใ่ี นลกั ษณะขา้ งตน้ นน้ั มกั เปน็ การกระทา� ท่ไี ม่เปดิ เผย และเปน็ ท่ีรู้ กันเฉพาะผบู้ รหิ ารระดับสูงของแต่ละประเทศ มี ลักษณะเป็นยุทธศาสตรล์ บั ของแต่ละชาติ ดังนนั้ จงึ เปน็ การยากทจ่ี ะเปดิ เผยออกมาก รายงานการ โจมตตี ่าง ๆ จึงมกั ไม่สามารถระบผุ ู้กระทา� ผิดได้ อยา่ งชดั เจน เพราะมกั ไมม่ ปี ระเทศใดแสดงตนวา่ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั กิ าร ดงั นนั้ การดา� เนนิ การทป่ี ระชาชน ทราบจึงเป็นการด�าเนินการของรัฐบาลเพ่ือการ ป้องกันตนเองจากสงครามไซเบอร์ ในปพี .ศ. ๒๕๕๙ ศูนยเ์ ทคโนโลยีทางทหาร ได้เปล่ียนไปเป็นหน่วยงานเป็นศูนย์ไซเบอร์ กองทัพบก มีหน้าที่ในการเฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกันและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดจากภัยคุกคาม ไซเบอร ์ ดา� เนนิ การเผชญิ เหตฉุ กุ เฉนิ ดา้ นไซเบอร ์ อีกท้ังพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติการ ไซเบอร์เชงิ รกุ เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏบิ ัตกิ ารตอบโต้ และโจมตีฝ่ายตรงข้ามได้ในกรณีจ�าเป็น และยัง มีหน้าท่ีในการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั ตดิ ตาม กา� กบั ดแู ลการปฏบิ ตั งิ าน ของหนว่ ยงานตา่ งๆ ตรวจสอบชอ่ งโหวข่ องระบบ กู้คืนสภาพเมื่อถูกโจมตี และด�าเนินการพิสูจน์ หลักฐานทางดจิ ทิ ลั เพอ่ื หาตวั ผู้กระทา� ผดิ ดว้ ย รฐั บาลของแตป่ ระเทศตอ้ งทา� การทดสอบระบบ ทหาร การป้องกันท�าได้โดยระบุจุดอ่อนและ บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร รักษาความปลอดภัยของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดการลดจุดอ่อนน้ัน ตลอดจนวางแผนเกี่ยวกับ ของตนซึ่งคลา้ ยกับวิธีการซ้อมรบ เพอ่ื ตรวจสอบ วิธีการลดความเสียหายท่ีอาจจะเกิดขึ้น และลด ดูว่าหากเกิดการเจาะระบบคอมพิวเตอร์ข้ึนจริง เวลาทใี่ ชใ้ นการกู้ระบบกลบั คนื มาหลงั จากถกู แล้ว ตนเองจะสามารถหยุดย้ังกันกระท�านั้นได้ โจมตี อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพยี งใด การทดสอบการเจาะ ระบบชว่ ยทา� ใหส้ ามารถวางแผนปอ้ งกนั การโจมตี สงครามไซเบอร ์ มหี ลายรูปแบบ เช่น การ ทางอินเทอร์เน็ตได้ โดยเฉพาะการโจมตีการ โจมตแี บบไซเบอรเ์ พอื่ สนบั สนนุ สงครามแบบดง้ั เดมิ ดา� เนนิ การทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ระบบโครงสรา้ งพนื้ ฐาน เช่น การเจาะระบบป้องกันทางอากาศเพ่ือชว่ ย ท่ีส�าคัญ เช่น พลังงาน ไฟฟ้า ประปา ใหก้ ารโจมตที างอากาศทา� ไดส้ ะดวกยงิ่ ขนึ้ นอกจาก การขนส่งมวลชน ตลอดจนการแพทย์และการ น้ีอาจเป็นการด�าเนินการในรูปแบบที่ไม่ใช่การ
๑๔๔ อาญากรรมไซเบอร ์ (Cybercrime) อาชญากรรมไซเบอร ์ (Cyber การลวงเอาขอ้ มลู ของบคุ คล หรอื เปดิ เผยวธิ กี าร ทเี่ ปน็ เปา้ หมาย โดยการใชไ้ วรสั คอมพวิ เตอร ์ หรอื การ c r i m e ) คื อ อ า ช ญ า ก ร ร ม ที่ เขา้ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรไ์ ปเผยแพรต่ อ่ บคุ คล โจมตแี บบปฏเิ สธการใหบ้ รกิ าร เกี่ยวขอ้ งกบั คอมพิ วเตอรแ์ ละ อนื่ ซงึ่ ทา� ใหบ้ คุ คลอน่ื เขา้ สรู่ ะบบไดโ้ ดยทเี่ จา้ ของระบบ เ ค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์ เ ช่ น ไมอ่ นญุ าต รวมถงึ การกอ่ การรา้ ยในโลกไซเบอร ์ เปน็ ประเภททใ่ี ชค้ อมพวิ เตอรเ์ ปน็ เครอื่ งมอื ในการก การใชค้ อมพิ วเตอรป์ ลอมแปลง ความพยายามของผู้ก่อการรา้ ยทางอินเทอรเ์ นต็ ที่ ระทา� ความผดิ โดยผกู้ ระทา� ความผดิ อาจมคี วามรพู้ น้ื เ อ ก ส า ร ห รื อ ห ล กั ฐ า น สํ า ค ญั ข่มขู่รัฐบาลหรือองค์กรต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ ฐานทางคอมพิวเตอร์ แต่ใช้กลวิธีท่ีแยบยลในการ เช่น การปลอมบตั รประชาชน บตั ร ทางการเมอื ง เชน่ การลม้ รฐั บาล หรอื วตั ถปุ ระสงค์ หลอกให้เหย่ือหลงเชื่อ เช่น การฉ้อโกงทาง นกั ศึกษา ประกาศนียบตั ร ธนบตั ร ทางสงั คม เชน่ การเรยี กรอ้ งใหม้ กี ารเปลยี่ นแปลงเชงิ อนิ เทอรเ์ นต็ การหลอกใหเ้ หยอื่ โอนเงนิ ซอื้ สนิ คา้ แต่ การขโมยขอ้ มูลส่วนบุคคลเพื่อนาํ อดุ มการณ ์ หรอื โครงสรา้ งทางสงั คม ไมส่ ง่ สนิ คา้ ไปให ้ หรอื สง่ สนิ คา้ ทดี่ อ้ ยคณุ ภาพหรอื ไม่ ไปกูย้ ืมเงนิ ซอื ้ สินคา้ หรอื ทาํ ธุรกิจ ตรงกับที่เหย่ือสั่งซื้อ หรือการส่งอีเมล์สแปมซ่ึง อน่ื ประเทศไทยมกี ฎหมายทรี่ ะบพุ ฤตกิ รรมการณข์ อง เปน็ การรบกวนผใู้ ชง้ านอเี มลเปน็ อยา่ งมาก และไม่ อาชญากรรมไซเบอรใ์ นพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระ เปดิ โอกาสใหม้ กี ารบอกเลกิ การรบั อเี มลด์ งั กลา่ ว การ ท�าผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๐ แบ่ง สร้างเว็บไซต์หรือการส่งอีเมล์เพ่ือหลอกเอาข้อมูล พฤตกิ รรมไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท ไดแ้ ก ่ ประเภททมี่ งุ่ โจมตี สว่ นตวั ของเหยอ่ื ไปใชป้ ระโยชน์ ตอ่ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร ์ เปน็ การกระทา� ผดิ ทอ่ี าชญากร ใช้ความรู้ทางเทคนิคคอมพิวเตอร์ระดับสูง เพราะ เปน็ การกระทา� เพอื่ ขดั ขวางหรอื เขา้ ควบคมุ คอมพวิ เตอร์
๑๔๕ ไวรสั คอมพิวเตอร ์ ๑๔ - ๑๕ (computer virus) กรอบความรู ้ โปรแกรมไวรสั คอมพิวเตอรบ์ างชนิดไม่กอ่ ใหเ้ กิดความเสียหาย แต่สรา้ งความ ราํ คาญแก่ผูใ้ ชง้ าน โดยมีการตงั้ เวลาให ้ ไวรสั ทํางานตามเง่ือนไข เช่น เม่ือถึงวนั ท่ี ท่ีกาํ หนด หรือเม่ือทําการกระจายตวั ไดถ้ ึง ระดบั หน่ึง กจ็ ะหายไปโดยอตั โนมตั ิ ไวรสั เหลา่ นีจ้ ะเรียกว่า บอมบ ์ (Bomb) หรือ ระเบิด ไวรสั คอมพิ วเตอร ์ (computer virus) หมายถึง โปรแกรมชนิ ด ไวรสั กท็ า� ไปเพอ่ื ความสนกุ สนาน หรอื เพอ่ื ใหเ้ หน็ หน่ึงท่ีมีความสามารถในการสําเนาตวั เองเขา้ ไปติดตงั้ ในระบบ วา่ ตนเองมคี วามสามารถ ในกรณกี ารระบาดของ คอมพิ วเตอรไ์ ด ้ และสามารถระบาดไปยงั คอมพิ วเตอรเ์ คร่ืองอ่ื น ไวรสั คอมพวิ เตอรใ์ นเว็บไซต์หน่วยงานราชการยัง ซง่ึ เกดิ จากการนาํ เอาแผน่ ดสิ ก ์หรอื ยเู อสบี แฟลชไดรฟ์ (USB Flash ส่งผลเสียต่อความมั่นคงทางการเมือง เศรษฐกิจ Drive) ท่ีติดไวรสั จากเคร่ืองคอมพิวเตอรห์ น่ึงไปใชอ้ ีกเครื่องหน่ึง และภาพลกั ษณข์ องประเทศในตา่ งประเทศ ไวรสั หรอื อาจระบาดผา่ นการเปิ ดเวบ็ ไซตท์ ไี่ ม่ปลอดภยั ทสี่ ง่ มาในอเี มล หรอื คอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความเสียหายทาง เวบ็ ไซตท์ ี่นาํ เสนอเนือ้ หาเชงิ ลามกอนาจาร เศรษฐกิจนับพันล้านดอลลาร์ในแต่ละปี อย่างไร ก็ตามนักวิจัยด้านความม่ันคงคอมพิวเตอร์ก�าลัง จุดประสงค์ของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้ สง่ ลงิ กใ์ หผ้ ใู้ ชง้ านดาวนโ์ หลดและตดิ ตงั้ โปรแกรม ค้นหาวิธีการเพ่ือการป้องกันการแพร่ระบาดของ บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร เขยี นโปรแกรมไวรสั นนั้ เชน่ อาจสรา้ งไวรสั ใหไ้ ป ไวรัสโดยต้ังชื่อเพ่ือลวงว่าเป็นไฟล์เพลง ไฟล์ ไวรัสท่ีเกิดข้ึนใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�าลายโปรแกรมหรือไฟล์ข้อมูลท่ีอยู่ในเคร่ือง ภาพยนตร ์ หรอื เกมคอมพวิ เตอร ์ เปน็ ตน้ สว่ นใหญ่ การติดต้ังซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัสจะช่วยให้ คอมพวิ เตอร ์ แสดงขอ้ ความวง่ิ ไปมาบนหนา้ จอ สง่ ผใู้ ชร้ ะบบปฏบิ ตั กิ ารวนิ โดวม์ กั เปน็ เปา้ หมายของผู้ คอมพวิ เตอรส์ ามารถตรวจจบั และกา� จดั ไวรสั เมอ่ื คอมพวิ เตอรด์ าวนโ์ หลดหรอื เรยี กใชไ้ ฟลป์ ฏบิ ตั กิ าร ผลใหค้ อมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งนนั้ ใชก้ ารไมไ่ ด ้ หรอื เพอื่ เขยี นโปรแกรมไวรสั ทม่ี นี ามสกลุ .exe ซง่ึ จะมาในรปู แบบไฟลแ์ นบมากบั อเี มล หรอื ไฟลใ์ นยเู อสบ ี แฟลชไดรฟ์ ทต่ี ดิ มาจาก ลอบเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น เช่น คอมพวิ เตอรเ์ ครอื่ งอน่ื ซงึ่ สามารถทา� ลายโปรแกรม ขอ้ มลู ชอ่ื ผใู้ ชง้ าน รหสั ผา่ น เลขบตั รประจา� ตวั ใบ แรงจงู ใจในการสรา้ งไวรสั ไดแ้ ก ่ ความตอ้ งการ รวมทั้งไฟล์ข้อมูลเมื่อเสียบเข้ากับคอมพิวเตอร ์ บตั รประชาชน เลขทบ่ี ญั ชธี นาคาร หมายเลขบตั ร แสวงหาผลกา� ไร การลอบเอาขอ้ มลู สว่ นตวั ของผู้ อย่างไรก็ตามผู้ใช้คอมพวิ เตอร์ต้อง อนื่ เมอ่ื ผใู้ ชง้ านรตู้ วั วา่ คอมพวิ เตอรข์ องตนตดิ ไวรสั เครดติ และขอ้ มลู สว่ นบคุ คลอน่ื ๆ เปน็ ตน้ อปั เดตซอฟตแ์ วรป์ อ้ งกนั ไวรสั เปน็ ประจา� เพอื่ กต็ อ้ งการโปรแกรมกา� จดั ไวรสั นนั้ โปรแกรมไวรสั ใหโ้ ปรแกรมมขี อ้ มลู เก่ยี วกบั ไวรสั ตัวใหม่ ๆ ผทู้ เ่ี ขยี นโปรแกรมไวรสั คอมพวิ เตอรเ์ ผยแพร่ กจ็ ะเสนอบรกิ ารกา� จดั ไวรสั แตต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยให้ ไวรสั โดยใชว้ ธิ กี ารหลอกลวง และฉวยโอกาสจาก กบั ผทู้ เี่ ขยี นโปรแกรมกา� จดั ไวรสั การกระทา� เชน่ นี้ ความรเู้ ทา่ ไมถ่ งึ การณข์ องผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ เชน่ เรยี กวา่ การเรยี กคา่ ไถ ่ แตบ่ างครงั้ ผเู้ ขยี นโปรแกรม
๑๔๖ ความเป็ นส่วนตวั ดา้ นขอ้ มูล (Information Privacy) ความเป็ นส่วนตวั ดา้ นขอ้ มูล (Information ขอ้ มลู เหลา่ นนั้ จะตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั เปน็ อยา่ งมาก ตอ้ งมกี าร Privacy) หมายถึง การปกป้องขอ้ มูลของ แจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ และกระบวนการ บุคคลไม่ใหถ้ ูกเปิ ดเผย เป็ นสิทธิของบุคคลท่ีจะ ต่าง ๆ โดยละเอยี ด เพราะหากดา� เนนิ การไมถ่ ูกตอ้ งจะถอื ว่าเป็นการ เกบ็ ขอ้ มูลส่วนตวั ไม่ใหเ้ ป็ นท่ีล่วงรูแ้ ก่ผูอ้ ่ืน ดงั กระท�าผดิ ฐานละเมดิ ความเปน็ สว่ นตัวของบุคคลได้ นนั้ จงึ เกี่ยวขอ้ งกบั การรวบรวมขอ้ มูลส่วนตวั การจดั เกบ็ การเผยแพร่ และการทําลายหรือ การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลท่ีปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราช ลบขอ้ มูลส่วนตวั ของบุคคลดว้ ย ซ่งึ เป็ นสิทธิ อาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๓๒ ความวา่ “สทิ ธคิ วามเปน็ ขนั้ พืน้ ฐานสาํ คญั ในความเป็ นส่วนตวั (Privacy อยู่ส่วนบุคคลจะถูกล่วงละเมิดไม่ได้ แม้ว่าจะเป็นบุคคลสาธารณะ Right) ของประชาชนทต่ี อ้ งไดร้ บั การคมุ ้ ครอง การเปิดเผยข้อมูลของบุคลลสาธารณะจะกระท�าไม่ได้ นอกจากนี้ อนั จะทําให ้ ประชาชนมีความม่นั ใจในการทํา กฎหมายวา่ ดว้ ยขอ้ มลู ขา่ วสารของทางราชการกไ็ ดใ้ หค้ วามคมุ้ ครอง ธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส ์ ทงั้ นีข้ อ้ มูลนนั้ อาจ กับ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ท่ีอยู่ในความครอบครองของทาง จะอยู่ในรปู แบบดิจทิ ลั หรอื รปู แบบอนื่ ๆ กไ็ ด ้ ราชการไวเ้ ปน็ กรณีพเิ ศษ โดยกา� หนดให้เปน็ ขอ้ มูลข่าววสารที่หา้ ม เปิดเผย หากไมไ่ ดร้ บั ความยนิ ยอมจากเจา้ ของข้อมลู กอ่ น” ลักษณะของข้อมูลท่ีมักบุคคลต้องการให้ได้รับการปกปิด ได้แก ่ ข้อมูลดา้ นสขุ ภาพ ข้อมลู ทางการเงนิ ข้อมูลเกี่ยวกับที่อย่อู าศัย รวม แนวทางการเกบ็ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลระหวา่ งการใชเ้ วบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ มกั ถงึ พฤติกรรมการท่องเวบ็ ทใี่ ชไ้ ฟลค์ กุ้ กี้เป็นเครือ่ งมอื ในการเกบ็ ข้อมูล มีการแสดงไว้ตั้งแต่การสมัครเป็นสมาชิกกับเว็บไซต์ ดังนั้นผู้ใช้ต้อง เปน็ ต้น ดังนน้ั หากจะมีการรวบรวม จัดเกบ็ เผยแพร ่ หรอื ทา� ลาย อ่านแนวทางเกี่ยวกับการส่ือสารความเป็นส่วนตัวท่ีเขียนไว้ให้เข้าใจ และหมนั่ เขา้ ไปตรวจสอบอยา่ งสมา�่ เสมอเพราะเวบ็ ไซตม์ กั มกี ารเปลยี่ น แนวทางโดยไม่ได้แจง้ ใหท้ ราบลว่ งหนา้ ซงึ่ บางครง้ั อาจจะทา� ใหผ้ ้ใู ชเ้ สยี ประโยชน์ได้
๑๔๗ ระบบปฏบิ ตั ิการบน ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์เคล่ือนที่ของไมโคร ๑๔ - ๑๕ อปุ กรณส์ ่ือสารเคล่อื นท่ี ซอฟท์ เริ่มในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ภายใต้ช่ือ Windows CE ตอ่ มาใน ปพี .ศ. ๒๕๔๓ ไมโคร ซอฟทไ์ ดพ้ ฒั นา Pocket PC ๒๐๐๐ ออกมาใชก้ บั อปุ กรณ ์ pocketPC และเปลย่ี นชอ่ื เปน็ Windows Mobile ในปีพ.ศ. ๒๕๔๖ ระบบปฏิบัติการบน อุปกรณ์เคลื่อนท่ีของไมโครซอฟท์ ที่เจาะตลาด องคก์ รและบรษิ ทั เปน็ ทน่ี ยิ มมากในปพี .ศ. ๒๕๕๐ และถกู นา� ไปใชใ้ นอปุ กรณเ์ คลอื่ นทอ่ี ยา่ งแพรห่ ลาย และลดความนิยมลง หลังจากมีการเปิดตัวของ ระบบปฏบิ ตั กิ าร ไอโอเส และ แอนดรอยด์ ไมโครซอฟท์เร่ิมเข้าสู่ตลาดอุปกรณ์อย่าง ชดั เจนใน ระบบปฏบิ ตั กิ าร วนิ โดวส ์ ๘ (Windows ๘) ทอ่ี อกมาพรอ้ มกบั อปุ กรณ ์ ไมโครซอฟท ์ เซอรเ์ ฟส อารท์ ี (Microsoft Surface RT), ไมโคร ซอฟท ์ เซอรเ์ ฟสโปร (Microsoft Surface Pro) และ โนเกยี โฟน (Nokia Phone) ในระบบปฏบิ ตั ิ การ วนิ โดวส ์ ๘ มกี ารเปลยี่ นสถาปตั ยกรรมขา้ ง ในมากขน้ึ เพอ่ื รองรบั อปุ กรณเ์ คลอ่ื นทมี่ ากขนึ้ ซงึ่ ไดร้ บั ความนยิ มอยา่ งมาก และถอื วา่ ไดเ้ รยี กความ เชอ่ื มน่ั และมสี ญั ญาณทดี่ อี อกมาจากคา่ ยไมโคร ซอฟท ์ และในปพี .ศ. ๒๕๕๘ ไมโครซอฟท ์ ไดเ้ ปดิ ระบบปฏบิ ตั ิการ (Operating System) หรอื โอเอส (OS) หมายถงึ ตวั วนิ โดวส ์ ๑๐ ซง่ึ เปน็ ระบบปฏบิ ตั กิ าร เพอื่ รวม ชุดคําสง่ ั ที่ทาํ หนา้ ที่ควบคุมการทํางานของเคร่ืองคอมพิวเตอรแ์ ละ ประสบการณ์การใช้อุปกรณ์ทั้งหมด ของไมโคร ซอฟทเ์ ขา้ ดว้ ยกนั ตง้ั แต ่ เดสกท์ อป แลปทอป แทบ อปุ กรณต์ ่อพ่วงต่าง ๆ เลต็ โมบายล ์ นาฬกิ า เอก็ ซบ์ อกซ ์ (Xbox) และ และยังท�าหน้าท่ีเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับ แตล่ ะรนุ่ ภายใตช้ อ่ื ขนมหวาน เชน่ คพั เคก้ โดนทั อปุ กรณอ์ นิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ทกุ สรรพสง่ิ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมประเภท เอแคลร์ จิงเจอร์เบรด ฮันนี่โคม ไอศครีม ระบบปฏบิ ตั กิ าร วนิ โดวส ์ ๑๐ นอกจากจะชว่ ย บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร ซอฟทแ์ วรร์ ะบบ (System Software) มหี นา้ ทห่ี ลกั แซนดว์ ชิ เปดิ ตลาดใหมข่ องอปุ กรณเ์ คลอ่ื นทใ่ี ห ้ ไมโครซอฟท์ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเคร่ืองคอมพิวเตอร ์ แล้ว เน่ืองจากเป็นระบบปฏิบัติการที่เปิดให้ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื กบั โปรแกรมประยกุ ตใ์ นการ ไอโอเอส (iOS) อปุ กรณฮ์ ารด์ แวรข์ องบรษิ ทั อน่ื สามารถนา� ไปใชไ้ ด้ รบั สง่ ขอ้ มลู กบั ฮารด์ แวร ์ เชน่ การสง่ ขอ้ มลู ภาพไป รวมถงึ ประสบการณท์ ผ่ี ใู้ ขง้ านยงั คนุ้ เคยกบั ระบบ ออกทห่ี นา้ จอ การสง่ ขอ้ มลู ไปจดั เกบ็ ทฮ่ี ารด์ ดสิ ก ์ ไอโฟน โอเอส ของบรษิ ทั แอปเปล้ิ พฒั นาขน้ึ เพอื่ ปฏบิ ตั กิ าร วนิ โดวส ์ บนอปุ กรณ ์ แลปทอ๊ ป หรอื การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ใชบ้ นอปุ รณไ์ อโฟน (iPhone) แตใ่ นปจั จบุ นั เรยี ก ฐานลกู คา้ ไมโครซอฟท ์ ออฟฟศิ กถ็ อื เปน็ จดุ เชอ่ื ม หรอื การสง่ สญั ญาณเสยี งไปออกทล่ี า� โพง เปน็ ตน้ วา่ ไอโอเอส (iOS) และนา� มาใชใ้ นอปุ กรณห์ ลาย โยงและดึงดูดให้ผู้คนหันมาให้ความสนใจใช้งาน ระบบที่เป็นท่ีนิยมเป็นอย่างสูงในปัจจุบัน ได้แก ่ อยา่ งของแอปเปล้ิ ไดแ้ ก ่ ไอโฟน (iPhone) ไอแพด วนิ โดวส ์ ๑๐ มากขนึ้ และสอดรบั กบั การพฒั นา แอนดรอยด ์ (Android) ไอโอเอส (iOS) และ (iPad) ไอแพดโปร (iPad Pro) และ ไอทชั (iTouch) แอพลเิ คชนั่ ตา่ ง ๆ ทส่ี ามารถเชอ่ื มตอ่ กบั ระบบคลา วนิ โดวส ์ โมบายล ์ (Windows Mobile) แตแ่ อปเปล้ิ วอช(Apple Watch) ใช ้ วอช โอเอส วนด์ ของ ไมโครซอฟท ์ อซั ชวั ร ์ ไดอ้ ยา่ งคนุ้ เคย (WatchOS) เป็นระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์ ท�าให้ ระบบนิเวศน์ของไมโครซอฟท์มีความ ระบบปฏบิ ตั ิการแอนดรอยด ์ เคลอ่ื นทเ่ี ฉพาะสา� หรบั นาฬกิ า ซงึ่ จะแตกตา่ งจาก แขง็ แกรง่ ขน้ึ และถอื เปน็ การเปลย่ี นผา่ นสตู่ ลาดยคุ (Android OS) ระบบปฏิบัติการอ่ืนที่ใช้ระบบเดียวกันในทุก ใหมไ่ ดอ้ ยา่ งทนั การและนา่ สนใจ อุปกรณ์ ระบบปฏิบัติการ ไอโอเอส ถูกพัฒนา ระบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยด ์ เปน็ ระบบปฏบิ ตั กิ าร ปรบั ปรงุ มาจากฐานของ แมค็ โอเอส และ เปน็ ระบบ แบบโอเพน่ ซอรส์ และไมม่ คี า่ บรกิ าร ทมี่ ที ง้ั ระบบ ปฏบิ ตั กิ ารบนอปุ กรณเ์ คลอื่ นทแี่ บบปดิ เนอ่ื งจาก นอกจากน้ยี งั มรี ะบบอน่ื ๆ ทใ่ี ชใ้ นโทรศพั ท์ ปฏบิ ตั กิ าร ตวั เชอื่ มโยงกบั อปุ กรณแ์ ละโปรแกรม ทกุ ระบบปฏบิ ตั กิ ารของแอปเปล้ิ ถกู พฒั นามาใน เคลอ่ื นทอี่ กี มากกมาย อาท ิ บาดา (Bada) แบลค็ ต่าง ๆ ใหท้ า� งานรว่ มกนั ไดส้ ะดวก และมีแอพลิ แนวทางเดยี วกนั ทา� ใหใ้ นปจั จบุ นั การเชอ่ื มตอ่ และ เบอรร์ ี่ โอเอส (BlackBerry OS) มโี ก โอเอส เคชนั ทจ่ี า� เปน็ สา� หรบั อปุ กรณเ์ คลอ่ื นท ่ี เชน่ สมา การใชง้ านระหวา่ งอปุ กรณ ์ มคี วามสะดวก คลอ่ งตวั (Meego OS) ปาลม์ โอเอส (Palm OS) ซมิ เบยี น รท์ โฟน แทบเลต็ สมารท์ วอช (Smart Watch) และเสถยี ร มากกวา่ ระบบปฏบิ ตั กิ ารอน่ื โอเอส (Symbian OS) เวบ็ โอเอส (Web OS) และ และ อปุ กรณอ์ นิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ทกุ สรรพสง่ิ ตา่ ง ๆ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์พัฒนาออกมาใน ไมโครซอฟท ์ วินโดวส ์ (Microsoft อบู นั ต ู ทชั (Ubuntu Touch) Windows)
๑๔๘ อนิ เทอรเ์ นต็ เป็ นทกุ สรรพส่งิ (Internet of Things: IoT) สามารถตรวจสอบไดว้ า่ มพี น้ื ทตี่ รงไหนทยี่ งั สามารถ จอดรถได้ สง่ ผลใหผ้ ูท้ ่เี ข้ามาใชพ้ ้นื ท่ีจอดรถไม่ตอ้ ง เสียเวลาขับรถวนไปมา จากตัวอย่างข้างต้น ช่วยเห็นภาพระหว่าง “Thing” ซ่ึงคือ “รถยนต์” ถูกตรวจจับโดยระบบ เซ็นเซอร์ที่สง่ สัญญาณไปสู่เครอื่ งแม่ขา่ ยผา่ นระบบ เครอื ขา่ ย ซง่ึ อาจเปน็ “เครอื ขา่ ยภายใน (Intranet)” “เครือภายภายนอกที่เป็นระบบปิด (Extranet)” หรือ “เครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เป็นระบบเปิด (Internet)” มากกว่าน้ันอุปกรณ์ ท่ีเก่ียวข้องกับ อินเทอร์เน็ต ยังเอ้ืออ�านวยต่อการท�างานด้าน สาธารณสุข เนื่องจากแพทย์สามารถตรวจสอบ อาการเบอื้ งตน้ ผา่ นระบบเซน็ เซอรท์ ตี่ ดิ ตง้ั ไวใ้ นบา้ น ในอนาคตอกี ๕ ปขี า้ งหน้า อปุ กรณ์ท่เี กยี่ วขอ้ ง กับการใช้ชีวิตประจ�าวันจะถูกเชื่อมต่อกับระบบ อินเทอร์เน็ตเพ่ิมมากขึ้น เน่ืองจาก เซ็นเซอร์ของ อปุ กรณ์ท่ีตดิ ตง้ั ในอุปกรณ์จะมีราคาถูกลง ไม่นอ้ ย กว่าร้อยละ ๘๐-๙๐ จากราคาในปจั จุบนั และจะมี การเชอ่ื มตอ่ ระหว่างสงิ่ ของในหนว่ ยงานหน่ึงกบั สิ่งของในอีกหน่วยงานหนึ่ง หรือเป็นการเชื่อมต่อ ระหว่างหนว่ ยงาน เป็นตน้ ข้อควรระวังในการใช้อุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้องกับ อินเทอร์เน็ต ได้แก่ ผู้ใช้งานต้องพึ่งพาสัญญาณ อินเทอร์เน็ต หากผู้ใช้งานอยู่ในสถานที่ที่ไม่มี อินเทอรเ์ น็ตทุกสรรพสิ่ง (Internet of Things: IoT) หมายถงึ เครอื สัญญาณไม่อนิ เทอร์เนต็ อาจเกดิ ปัญหาตา่ ง ๆ ตาม ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตทเ่ี ชอื่ มตอ่ กบั อปุ กรณ ์ เช่น โทรศพั ทม์ อื ถอื รถยนต ์ ตู ้ มา เช่น ไมส่ ามารถสงั่ งานอปุ กรณ์ได้ ไม่สามารถ ท�าธรุ กรรมทางการเงนิ ได้ เป็นต้น เยน็ หรอื โทรทศั น์ เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั ผใู ้ ชง้ านสามารถควบคมุ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทงั้ จากภายในบา้ นและจากท่ีทาํ งานได ้ เช่น การควบคุมอณุ หภูมิภายใน การรกั ษาความปลอดภยั ของข้อมลู เนอื่ งจาก บา้ น การเปิ ดปิ ดไฟ การสตารท์ รถยนต ์ การใชเ้ ครอื่ งมอื ทางการเกษตร อปุ กรณถ์ กู เชอื่ มโยงกนั ดว้ ยเครอื ขา่ ยเดยี วกนั ทา� ให้ ไปจนถงึ การสง่ ั ใหเ้ ครอ่ื งทาํ กาแฟ เรมิ่ ตม้ กาแฟ เป็ นตน้ ขอ้ มลู ส่วนตัว เชน่ รหสั ผ่านอีเมล รหัสบตั รเครดติ รหสั การใชแ้ อปพลเิ คชนั ธนาคาร หรอื รหสั เขา้ ใชง้ าน แนวคดิ อนิ เทอรเ์ นต็ ทกุ สรรพสง่ิ คดิ คน้ โดย เค บริหารจัดการสินทรพั ย์ การค�านวณ หรอื ประมาณ สมาร์ทโฟนหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อ่ืนๆ เสี่ยง วิน แอชตนั (Kevin Ashton) ในป ี ค.ศ. ๑๙๙๙ ปรมิ าณการทา� งาน ตลอดจนการพฒั นาสงิ่ ใหม ่ โดย ต่อการโจรกรรมข้อมูล โดยผู้บุกรุกระบบ ซ่ึงเร่ิมต้นจากโครงการ “Auto-ID Center” ใน ใชข้ อ้ มลู ทถี่ กู ตรวจจบั โดยระบบเซน็ เซอร ์ (Sensor) คอมพิวเตอร์ (Hacker) มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of ของหน่วยงานมารวบรวมไวใ้ นเครื่องแมข่ า่ ย ความผิดพลาดท่ีเกิดจากการประมวลผล การ Technology หรอื MIT เกีย่ วข้องกบั น�าเทคโนโลยี (Server) ผา่ นเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ เชน่ อาคาร เขยี นโปรแกรมทีไ่ ม่รดั กมุ หรอื ในกรณีทีม่ อี ุปกรณ์ คลนื่ วทิ ยมุ าใชใ้ นการสอ่ื สารแบบไรส้ าย หรอื ทเี่ รยี ก จอดรถของหา้ งสรรพสินคา้ ใหญ่ หรือ อาคารจอด ตวั ใดตัวหน่งึ ประมวลผลผิดพลาดกจ็ ะสง่ ผลให้ วา่ Radio Frequency Identification (RFID) รถของรถไฟฟ้าบที เี อส ซ่ึงอาคารจอดรถเหล่าน ้ี จะ อุปกรณ์อน่ื ทเี่ ชื่อมตอ่ กนั ประมวลผลผดิ พลาดตาม ไปด้วย มรี ะบบเซน็ เซอรไ์ วต้ รวจสอบจ�านวนรถท่จี อดใน หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน สามารถน�า อาคาร โดยเซน็ เซอร์จะส่งสัญญาณวา่ พื้นที่ตรงนนั้ แนวคิดอินเทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง มาช่วยในการ มีรถจอดอยู่หรือไม่ ท�าให้ผู้บริหารจัดการอาคาร
๑๔๙ Over-the-Top: OTT การให้บริการเน็ตฟลิกซ์ (Netflix) และฮูลู ๑๔ - ๑๕ (Hulu) ซึ่งเป็นบริการแพร่ภาพภาพยนตร์และ รายการทวี ผี า่ นอนิ เทอรเ์ นต็ โดยทผ่ี ใู้ ชบ้ รกิ ารหรอื ผชู้ มไมต่ อ้ งตดิ ตงั้ เสาอากาศ หรอื จานดาวเทยี มเพม่ิ เตมิ และผปู้ ระกอบการไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการ สง่ สญั ญาณโทรทศั นเ์ หมอื นผปู้ ระกอบการทวี แี บบ ดงั้ เดมิ (traditional TV) ผใู้ หบ้ รกิ ารโอทที ไี มจ่ า� เปน็ ตอ้ งเปน็ เจา้ ของโครง ขา่ ย ทา� ใหแ้ อปพลเิ คชนั เชน่ ไลน ์ (Line) วอตส-์ แอปป ์ (WhatsApp) และ สไกป ์ (Skype) สามารถ เปดิ ใหบ้ รกิ ารไดพ้ รอ้ มกนั ในหลายประเทศ จนมผี ู้ ใชง้ านหลายรอ้ นลา้ นคนในเวลาอนั รวดเรว็ บรกิ ารโอทที ที า� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงของ หว่ งโซอ่ ปุ ทานในอตุ สาหกรรมโทรคมนาคม จาก เดมิ ทผี่ ใู้ หบ้ รกิ ารโทรคมนาคมเปน็ ผผู้ กู ขาดการให้ บริการ ทั้งการให้บริการประเภทเสียงหรือวีดิโอ และการส่งข้อความสั้น (SMS) แต่ในปัจจุบันผู้ บรโิ ภคมที างเลอื ก เปน็ การใชแ้ อปพลเิ คชนั ประเภท โอทีทีส�าหรับบริการส่ือสาร ท�าให้ผู้ให้บริการ โทรคมนาคมถกู เปลยี่ นบทบาท มาสกู่ ารใหบ้ รกิ าร ขอ้ มลู ในรปู แบบของ ๓ จ ี หรอื ๔ จ ี มากขน้ึ การใหบ้ รกิ ารโอทที จี ะสง่ ผลกระทบตอ่ รายได้ ของผปู้ ระกอบการโทรคมนาคมทว่ั โลก เชน่ คา่ ใช้ บรกิ ารในการสง่ ขอ้ คามสน้ั หรอื เอสเอม็ เอสลดลง (SMS) รายไดข้ องการสอ่ื สารประเภทเสยี งลดลง แต ่ การรบั สง่ ขอ้ มลู (Data traffic) จะเพมิ่ ขน้ึ อยา่ ง มาก ในชว่ งระหวา่ งป ี ค.ศ. ๒๐๑๓-๒๐๑๘๑ คาด วา่ mobile data traffic จะเพม่ิ สงู ขนึ้ รอ้ ยละ ๖๑ An Over-The-Top (OTT) คือ แอพพลิเคชนั หรอื บรกิ าร ตอ่ ป ี ซง่ึ คาดวา่ ปรมิ าณขอ้ มลู จะเตบิ โตขนึ้ จาก ๑.๕ ใด ๆ ที่ดาํ เนินการผ่านเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต หรอื เครอื เอกซะไบต ์ (exabytes ลา้ นลา้ นลา้ นไบต)์ เปน็ ข่ายโทรคมนาคมทงั้ แบบประจําท่ีและเคลื่อนที่ โดยให ้ ๑๕.๙ เอกซะไบต ์ ตอ่ เดอื น ณ สน้ิ ปคี .ศ. ๒๐๑๘ บริการดา้ นการทางเสียงและภาพ การแพร่ภาพและ ซงึ่ Mobile video traffic จะเพม่ิ ขน้ึ จาก ๖๓๓ เพ เสียง (Broadcasting) หรอื สื่อสงั คมออนไลนต์ ่าง ๆ ตะไบต ์ (PB: Petabyte พนั ลา้ นลา้ นไบต)์ เปน็ ๙,๑๐๓ เพตะไบต ์ ตอ่ เดอื น ดว้ ยอตั ราการเตบิ โต โดยเฉลยี่ (CAGR) รอ้ ยละ ๗๐ ตอ่ ป ี ทา� ใหผ้ ู้ บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร การบรกิ ารแบบ Over-the-Top (OTT) มกี าร ตัวอย่างบริการโอทีที เช่น การให้บริการแอพ ประกอบการโทรคมนาคมตอ้ งมกี ารลงทนุ อยา่ ง เตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และมผี ใู้ ชง้ านจา� นวนมากใน พลิเคช่ันไลน์ (Line) ท�าให้ผู้ใช้โทรศัพท์ท่ีเช่ือม มากเพอื่ รกั ษาเสถยี รภาพของเครอื ขา่ ย ปจั จบุ นั ซง่ึ ถอื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการใหบ้ รกิ ารท่ี ต่อกับอินเทอร์เน็ต หรือสมาร์ทโฟนสามารถรับ เกดิ จากการหลอมรวมสอ่ื โดยทผี่ บู้ รโิ ภคไมจ่ า� เปน็ ส่งข้อความ สนทนาด้วยเสียงคล้ายการ ๑ โดยรายงานจาก Cisco Visual Networking ตอ้ งตดิ ตงั้ อปุ กรณเ์ พม่ิ เตมิ และผใู้ หบ้ รกิ ารไมต่ อ้ ง โทรศัพท์ ในอดีตผู้ใช้บริการต้องเสียค่าใช้จ่าย Index: Mobile Data and Internet Traffic, ลงทุนโครงข่ายเอง ท�าให้มีจุดเด่นท้ังด้านราคาที่ เปน็ จา� นวนมากในการใชโ้ ทรศพั ทท์ างไกลระหวา่ ง ๒๐๑๓-๒๐๑๘. ประชาชนทวั่ ไปเขา้ ถงึ ได ้ และความสะดวกสบาย ประเทศในการติดต่อส่ือสาร แต่เม่ือมีแอพพลิ ในการใชบ้ รกิ าร ทา� ใหบ้ รกิ ารดงั กลา่ วไดร้ บั ความ เคชั่นประเภทนี้เกิดขึ้น ผู้ใช้บริการจะเสียค่าใช้ นยิ มอยา่ งรวดเรว็ โดยโอทที ถี อื เปน็ นวตั กรรมทม่ี ี จ่ายเฉพาะค่าบริการข้อมูล (Data) ผ่านเครือ อทิ ธพิ ลตอ่ การกา� หนดกลยทุ ธข์ องผปู้ ระกอบธรุ กจิ ข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงหรือไวไฟ (Wi-Fi) และผปู้ ระกอบกจิ การดา้ นเครอื ขา่ ยการสอื่ สาร
๑๕๐ ขอ้ มูลขนาดใหญ่ Big Data
ภาพท่ี ๑ ๑๔ - ๑๕ ขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big data) คือ ชุดขอ้ มูลที่ ภาพท่ี ๒ บท ่ีท ๖ การใช ้เทคโนโล ียการ ่ืสอสาร มีขนาดใหญ่ มีแหล่งที่มาท่ีหลากหลาย เป็ น ขอ้ มูลแบบท่ีมีโครงสรา้ งและมีความซบั ซอ้ น เกบ็ ข้อมูลเขา้ ในฐานขอ้ มูลท่มี ีขนาดมากกว่า ๒.๕ เพตะ-ไบต ์ (๑ มาก ซง่ึ ซอฟตแ์ วรห์ รอื แอพพลิเคชน่ ั ในการ เพตะไบต ์ (Petabyte) = ๑,๐๒๔ เทระไบต์ (Terabytes) ) ท�าให้ ประมวลผลขอ้ มูลแบบดงั้ เดิมไม่สามารถ บริษัทสามารถรวบรวมข้อมูลท่ีหลากหลายของลูกค้า อย่างเช่น จดั การกบั ขอ้ มูลเหล่านีไ้ ด ้ ความยากในการ ข้อมูลการสง่ั ซือ้ ในอดีตขอ้ มลู เกย่ี วกับต�าแหน่งของผใู้ ชโ้ ทรศัพท์ จดั การของขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) เคลอ่ื นท ี่ (mobile phone location) ขอ้ มลู สนิ คา้ ในคลงั การสนทนา ไดแ้ ก่ การรวบรวม การจดั เกบ็ การวิเคราะห ์ บนสอ่ื สังคมออนไลน์ และขอ้ มูลอน่ื ๆ เชน่ สภาพอากาศ บริษัท การคน้ หา การแบ่งปัน การถ่ายโอน การ ดา้ นโทรคมนาคมรายใหญ่หลายแห่ง วเิ คราะห์ความพึงพอใจลูกคา้ ปรบั ปรุงขอ้ มูลใหม้ ีความทนั สมยั และสิทธิ สามารถแยกประเภทลกู คา้ และวิเคราะห์เพอื่ ดา� เนินการป้องกันไม่ ส่วนบุคคลของขอ้ มูล เป็ นตน้ ใหล้ ูกคา้ เปล่ยี นไปใช้บริการเครอื ข่ายของผปู้ ระกอบการรายอื่น แนวคิดพื้นฐานของข้อมูลขนาดใหญ่ คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่ สามารถเชอ่ื มโยงกันในรปู แบบขอ้ มลู ดิจทิ ัลมากข้นึ ทา� ให้สามารถ นา� มาวิเคราะห์เพือ่ ให้เกิดความเปน็ อัจฉรยิ ะ ข้อมูลขนาดใหญ่เติบโตข้ึนอย่างรวดเร็ว ส่วนหนึ่งเนื่องจาก ข้อมลู เหลา่ น้ีถกู รวบรวมโดยอุปกรณ ์ อนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ทุกสรรพส่งิ (Internet of Things: IoT) อย่างเช่น อุปกรณ์เคลอื่ นท ี่ เซน็ เซอร ์ กลอ้ ง หรืออาร์-เอฟไอด ี (RFID) เป็นต้น โดยมีการคาดการณ์วา่ เทคโนโลยดี ้านการเก็บข้อมลู จะมคี วามจุเพิ่มขนึ้ ประมาณสองเทา่ ในทกุ ๆ ๔๐ เดอื น นับต้ังแต ่ ปีพ.ศ. ๒๕๓๒ - ๒๕๕๕ มีการ สรา้ งข้อมูล ๒.๕ เอกซะไบต ์ (๑ เอกซะไบต์ (exabyte) มีขนาด ๑ ล้านล้านลา้ นไบต์) ในแตล่ ะวนั และจากรายงานการคาดการณ์ ของ อินเตอร์เนช่ันแนล ดาต้า คอรป์ อเรช่ัน (International Data Corporation: IDC) พบวา่ ปรมิ าณขอ้ มลู ทวั่ โลกจะเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งมาก จาก ๔.๔ เซตตะไบต ์ (๑ เซตตะไบต์ (zettabytes) ๑ พันล้าน ล้านล้านไบต์ ) เปน็ ๔๔ เซตตะไบต ์ และในช่วงระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๓ คาดการณว์ ่าจะมขี ้อมลู มากถึง ๑๖๓ เซตตะไบต์ ในปพี .ศ. ๒๕๖๘ บริษัทใหญ่หลายบรษิ ัท เชน่ แอมะซอน (Amazon) กูเก้ลิ (Google) (Walmart) และ เฟซบคุ๊ (Facebook) น�าขอ้ มลู ขนาด ใหญ ่ (Big Data) มาใช้ ตวั อยา่ งเช่น เวลมารท์ สามารถจัดการ ธรุ กรรมจากลกู คา้ มากกวา่ ลา้ นรายการในแตล่ ะชวั่ โมง และสามารถ
๑๕๑ บลอ็ กเชน (Blockchain) บลอ็ กเชน (Blockchain) คือ เทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนวิธีการทาํ ประวัติการท�าธุรกรรมจะไม่ถูกเก็บไว้ในฐาน ธุรกรรมทุกชนิด และเป็ นแพลตฟอรม์ ในการทําธุรกรรม ข้อมูลส่วนกลางอีกต่อไป แต่จะแจกจ่ายไปยัง โดยตรงระหว่างผูใ้ ชง้ านหรือ เฟี ยรท์ ูเฟี ยร ์ (peer-to- คอมพวิ เตอรใ์ นเครอื ขา่ ยทง้ั หมด แอพพลเิ คชนั แรก peer) ท่ีมีการบนั ทึกขอ้ มูลรายการธุรกรรมทงั้ หมดแบบ ท่ีเกี่ยวข้องกับบล็อกเชน คือ บิทคอยน์ (Bitcoin) กระจายศูนย ์ (decentralized) ผูม้ ีส่วนรว่ มในเครอื ข่ายทุก ซึ่งเป็นสกุลเงินดิจิทัล (cryptocurrency) คนสามารถทําธุรกรรมประเภทนีก้ บั สมาชิกในเครือข่ายได ้ โดยตรง ไม่ตอ้ งอาศยั ตวั กลาง ซง่ึ บลอ็ กเชนไดพ้ ฒั นาเป็ น การพัฒนาแอพพลิเคช่ัน Blockchain สามารถ ครงั้ แรกในภาคการเงินเพื่อใชเ้ ป็ นเทคโนโลยีแพลตฟอรม์ แบ่งออกเป็น ๓ ช่วงใหญ่ ๆ ตามข้ันตอนของการ ของระบบเงนิ ดิจทิ ลั (cryptocurrency) พัฒนา ได้แก่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257