Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สูจิบัติ โฮมดิน 2_รวมเล่ม

สูจิบัติ โฮมดิน 2_รวมเล่ม

Published by kanikl, 2022-07-21 07:08:10

Description: สูจิบัติ โฮมดิน 2_รวมเล่ม

Keywords: art

Search

Read the Text Version

Sculpture Exhibition by National Artists and Art Professors 2nd นิิทรรศการแสดงผลงานศิิลปกรรมของคณาจารย์์ และศิลิ ปิินในระดับั ชาติิ ครั้้ง� ที่�่ 2

โครงการสัมั มนาเชิิงปฏิบิ ัตั ิกิ ารสร้้างสรรค์ผ์ ลงานศิิลปกรรมของคณาจารย์์ และศิลิ ปินิ ในระดับั ชาติิ ศููนย์ศ์ ิลิ ปวัฒั นธรรม มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่

สารจากนายกสภามหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ดร.ณรงค์ช์ ัยั อัคั รเศรณีี ในพิธิ ีีเปิดิ โครงการนิิทรรศการแสดงผลงานประติมิ ากรรมสร้้างสรรค์ข์ องคณาจารย์์ และศิลิ ปิินในระดัับชาติิ โฮมดิิน ครั้้ง� ที่่� 2 6 กรกฎาคม 2565 ณ ลานประติมิ ากรรม หอศิิลป์์ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ “ดินิ อีสี าน” ที่น่� ําํ มาสร้า้ งผลงานสร้า้ งสรรค์ท์ างประติมิ ากรรม ซึ่ง�่ เสน่ห่ ์ข์ องดินิ นั้น้� มีีความสวยงามในเรื่อ่� งของ สีีดิิน และเมื่่อ� นําํ มาปั้�น้ หล่่อ ก็็มีีคุุณสมบัตั ิเิ หนีียวแน่น่ และจัับตััวกัันและเมื่�อ่ นําํ มาผ่่านกระบวนการเผาแบบเซรามิกิ แล้้ว ก่่อให้้เกิิดความแกร่ง่ และมีีเป็น็ รููปทรงต่า่ ง ๆ ตามแต่่ที่�่ผู้�สร้้างสรรค์ไ์ ด้้ทําํ แสดงถึงึ นััยว่่า “ดินิ ” ที่ไ�่ ร้้ค่่านั้้�น หากนําํ มา ปั้้น� แต่ง่ หล่่อหลอมและผ่า่ นกระบวนการ ผ่่านประสบการณ์์ ก็็ย่อ่ มมีีคุุณค่่าสููงส่ง่ ได้้เช่น่ กััน โครงการนิิทรรศการแสดงผลงานประติิมากรรมสร้้างสรรค์์ของคณาจารย์์และศิิลปิินในระดัับชาติิ โฮมดิิน ครั้้�งที่�่ 1 และ 2 ของมหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ที่่�ได้จ้ ััดขึ้้น� ร่ว่ มกัับเครืือข่่ายสถาบัันการศึึกษาทั่่�วประเทศ และเครืือข่่ายทาง ศิิลปวััฒนธรรม ตลอดจนศิิลปิินจากสถาบัันต่่าง ๆ ที่�่มาโฮมกััน (ร่่วมกััน) ร่่วมสร้้างสรรค์์ ผลงานศิิลปะที่�่ทรงคุุณค่่า ที่ส่� ร้้างมาจากดินิ อีีสาน โดยคนอีีสาน ซึ่ง่� ผลงานทั้�ง้ หมดจะได้เ้ ป็น็ สง่า่ และเป็็นสมบัตั ิขิ องแผ่น่ ดิิน ทั้�ง้ ยัังได้เ้ ผยแพร่่ออกสู่� สาธารณชนอย่่างกว้้างไกล เปรีียบเสมืือนพวกเราได้้ร่่วมกัันหล่่อหลอมดิิน หล่่อหลอมความรัักสามััคคีีอย่่างกลมเกลีียว และเหนีียวแน่่น ผ่่านประสบการณ์์ต่่าง ๆ มากมาย หล่อ่ หลอมมาเป็น็ ความสําํ เร็จ็ อัันงดงามและสง่า่ งามนี้้� กระผมขอขอบคุุณ ศิิลปิิน คณาจารย์์ เจ้้าของผลงานทุุกชิ้�นงาน ตลอดจนคณะกรรมการจััดงานและ ผู้้�มีีส่่วนเกี่�่ยวข้้องในครั้�้งนี้้� ที่่�จะทํําให้้ที่�่แห่่งนี้้�เป็็นพื้้�นที่�่แห่่งการสร้้างสรรค์์อย่่างแท้้จริิง หวัังว่่าทุุกท่่านจะมีีความสุุข อิ่�มเอมใจในคุณุ ค่่าของผลงานตลอดไป ก

สารจากอธิิการบดีีมหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ รศ. นพ.ชาญชััย พานทองวิิริยิ ะกุลุ ในพิธิ ีีเปิิดโครงการนิทิ รรศการแสดงผลงานประติิมากรรมสร้า้ งสรรค์ข์ องคณาจารย์์ และศิลิ ปินิ ในระดับั ชาติิ โฮมดิิน ครั้้ง� ที่่� 2 6 กรกฎาคม 2565 ณ ลานประติมิ ากรรม หอศิลิ ป์์ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ โครงการสััมมนาเชิิงปฏิิบััติิการการสร้้างสรรค์์ผลงานศิิลปกรรมของคณาจารย์์ และศิิลปิินในระดัับชาติิ “โฮมดินิ ” ครั้ง้� ที่�่ ๒ ถืือเป็น็ โครงการเชิงิ สร้า้ งสรรค์์ ที่เ�่ กิดิ จากการรวมกัันสร้า้ งสรรค์ผ์ ลงานระหว่า่ ง คณาจารย์จ์ ากสถาบััน การศึึกษาทั่่ว� ประเทศ และศิลิ ปินิ ปราชญ์ท์ ้อ้ งถิ่น� ที่เ่� ข้า้ ร่ว่ มโครงการ ที่ม่� ีีการแลกเปลี่ย�่ นเรีียนรู้้�และร่ว่ มสร้า้ งสรรค์ผ์ ลงาน ประติิมากรรมจากดินิ ร่ว่ มกััน ตลอดจนการศึึกษาภูมู ิปิ ััญญาท้้องถิ่�น เครื่่�องปั้�น้ ดิินเผา ณ ชุมุ ชนด่่านเกวีียน อำเภอโชคชััย จัังหวััดนครราชสีีมา ซึ่�่งในท้้ายที่่�สุุดก็็ได้้นำผลงานจากโครงการดัังกล่่าว มาจััดแสดงในรููปแบบนิิทรรศการถาวร ณ หอศิิลป์์ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่นแห่่งนี้้� เป็็นที่่�เรีียบร้้อยกว่่า 80 ชิ้�นงาน ซึ่่�งมหาวิิทยาลััยขอนแก่่นในฐานะสถาบััน การศึึกษาที่ส�่ ำคััญแห่ง่ หนึ่ง�่ ในภาคตะวัันออกเฉียี งเหนืือที่ม่� ีีพื้้น� ที่ท่� ี่ส่� ามารถเชื่อ่� มโยงความร่ว่ มมืือเครืือข่า่ ยในลุ่่�มน้้ำโขงและ ในอาเซีียนได้อ้ ย่า่ งดีี โดยเฉพาะอย่า่ งยิ่ง� กิจิ กรรมทางศิลิ ปวััฒนธรรม ตลอดจนกิจิ กรรมเสริมิ ทางศิลิ ปวััฒนธรรมร่ว่ มสมััย งานสร้้างสรรค์์ เพื่�่อต่่อยอดเศรษฐกิิจสร้้างสรรค์์ที่�่เปิิดกว้้างให้้กัับประชาชน นิิสิิต นัักศึึกษา ได้้มีีส่่วนร่่วมและชื่�่นชม ผลงานอย่า่ งใกล้ช้ ิิด ท้้ายนี้้� ผมขอชื่�่นชมความคิิดสร้้างสรรค์์ของท่่านคณาจารย์์และศิิลปิินทั้้�งหลายและขอเป็็นกำลัังใจให้้แก่่ คณะกรรมการจััดงานในครั้ง�้ นี้้ท� ุกุ ท่า่ นที่ไ่� ด้ทุ้่�มเทกำลัังกาย กำลัังทรััพย์์ และกำลัังสติปิ ััญญา เพื่อ่� สร้า้ งงานศิลิ ปะที่ถ�่ ่า่ ยทอด ผ่่านงานประติิมากรรมที่�ท่ รงคุุณค่า่ นี้้� ข

สารจากรองอธิกิ ารบดีีฝ่่ายศิิลปวััฒนธรรมและเศรษฐกิิจสร้า้ งสรรค์์ รศ. ดร.นิิยม วงศ์พ์ งษ์์คํํา ในพิธิ ีเี ปิิดโครงการนิทิ รรศการแสดงผลงานประติมิ ากรรมสร้้างสรรค์์ของคณาจารย์์ และศิิลปินิ ในระดับั ชาติิ โฮมดิิน ครั้้ง� ที่่� 2 6 กรกฎาคม 2565 ณ ลานประติมิ ากรรม หอศิลิ ป์์ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ ✽✽ การจััดแสดงนิิทรรศการประติิมากรรม เครื่่�องปั้้�นดิินเผา ชุุดโฮมดิิน ของมหาวิิทยาลััยขอนแก่่นได้้มีี การจััดมาแล้ว้ ครั้ง�้ ที่�่ 1 เมื่อ่� ปีี 2564 ซึ่ง�่ ถืือว่า่ ประสบผลสําํ เร็จ็ อย่า่ งมาก และในครั้ง�้ นี้้ซ� ึ่ง�่ จััดขึ้้น� โดยฝ่า่ ยศิลิ ปวััฒนธรรมและ เศรษฐกิิจสร้้างสรรค์์ และศููนย์์ศิิลปวััฒนธรรม มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ที่่�ตระหนัักดีีว่่า เพื่่�อให้้ขอบข่่ายในการเผยแพร่่ งานศิิลปะได้้มีีความหลากหลาย และเพื่�่อให้้สอดคล้้องกัับนโยบายการพััฒนามหาวิิทยาลััยให้้เป็็นมหาวิิทยาลััยสีีเขีียว ในการพััฒนาพื้้�นที่�่และสภาพแวดล้้อม ที่่�มุ่�งเน้้นปรัับภููมิิทััศน์์พื้้�นที่�่โดยรอบมหาวิิทยาลััย การส่่งเสริิมกิิจกรรม เชิิงสร้้างสรรค์์ในรููปแบบต่่าง ๆ เช่่น ทางด้้านดนตรีีและการแสดง ทางด้้านศิิลปกรรมให้้มีีหลากหลายมากยิ่�งขึ้�น อย่า่ งผลงานที่ม่� าจััดแสดงในครั้ง�้ นี้้� เป็น็ การรวมตััวของคณาจารย์์ จากสถาบัันการศึึกษาทั่่ว� ประเทศ กว่า่ 27 สถาบััน เช่น่ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร วิิทยาลััยช่่างศิิลปสุุพรรณบุุรีี มหาวิิทยาลััย มหาสารคาม มหาวิิทยาลััยราชภััฏ มหาสารคาม มหาวิิทยาลััยราชภััฏอุดุ รธานีี มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏชััยภูมู ิิ มหาวิทิ ยาลััย ราชภััฏบุรุ ีีรััมย์์ มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏนครราชสีีมา มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลอีีสาน วิทิ ยาลััยช่า่ งศิลิ ป มหาวิทิ ยาลััย ราชภััฏอุุบลราชธานีี มหาวิิทยาลััยราชภััฏศรีีสะเกษ มหาวิิทยาลััยนเรศวร มหาวิิทยาลััยกรุุงเทพธนบุุรีี มหาวิิทยาลััย ราชภััฏลํําปาง วิิทยาลััยเพาะช่่าง สถาบัันเทคโนโลยีีพระจอมเกล้้าเจ้้าคุุณทหารลาดกระบััง ศููนย์์ส่่งเสริิมอุุตสาหกรรม ภาค 6 กรมส่่งเสริิมอุุตสาหกรรม มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีสุุรนารีีและศิิลปิินที่่�มีีชื่�่อเสีียงในระดัับประเทศ อาทิิ ศิลิ ปินิ ชั้น้� เยี่ย�่ ม ศิลิ ปินิ มรดกอีีสาน ศิลิ ปินิ ร่ว่ มสมััยด่า่ นเกวีียนและศิลิ ปินิ อิสิ ระ ซึ่ง่� ร่ว่ มกัันสร้า้ งสรรค์ผ์ ลงาน ประติมิ ากรรม จํํานวนทั้้�งสิ้น� 80 ชิ้น� งาน โดยโครงการดัังกล่า่ วได้้มีีการร่ว่ ม Work shop เพื่่�อแลกเปลี่�่ยนเรีียนรู้้� ณ ชุนุ ชนด่า่ นเกวีียน อํําเภอโชคชััย จัังหวััดนครราชสีีมา ในระหว่่างวัันที่�่ 14-20 มีีนาคม ๒๕๖๕ ที่ผ่� ่า่ นมานั้้น� และบััดนี้้�ผลงานก็็เสร็็จสิ้้�นลงและได้้นํํามาติิดตั้้�งเป็็นประติิมากรรมที่�่ทรงคุุณค่่า และงดงาม ณ หอศิิลป์์ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่นแห่่งนี้้� เพื่�่อเปิิดโอกาสให้้นัักเรีียน นิิสิิต นัักศึึกษา และประชาชนทั่่�วไป ตลอดจนนัักท่่องเที่่�ยว ได้้ชมผลงานประติิมากรรม อัันจะยัังประโยชน์์ให้้แก่่วงการศิิลปะ วงการการศึึกษา สนัับสนุุนการท่่องเที่่�ยวเชิิงศิิลป วััฒนธรรมและส่ง่ เสริมิ การเผยแพร่ภ่ ูมู ิิปััญญาท้้องถิ่�น อัันควรค่่าแก่่การส่่งเสริมิ และให้้เกิิดความภาคภูมู ิใิ จร่่วมกัันสืืบไป ค

คำำ�นำ�ำ จากการรวมตััวกัันของคณาจารย์์และศิิลปิินในภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ ในปีี 2564 จััดโครงการสััมมนา เชิิงปฏิบิ ัตั ิิการ เครื่�อ่ งปั้น�้ ดิินเผา ชุุดโฮมดินิ ครั้้�งที่่� 1 ของมหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ในครั้�้งแรกนั้้�นจััดขึ้้�นร่่วมกัับคณาจารย์์ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ทั้้ง� คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์ คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ คณะศึึกษาศาสตร์์ และคณาจารย์์สถาบััน อุดุ มศึึกษาในภาคอีีสาน เช่น่ มหาวิทิ ยาลััยมหาสารคาม มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏมหาสารคาม มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏอุดุ รธานีี มหาวิิทยาลััยราชภััฏชััยภููมิิ มหาวิิทยาลััยราชภััฏบุุรีีรััมย์์ มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครราชสีีมา มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีี ราชมงคลอีีสาน และศิลิ ปินิ ที่ม�่ ีีชื่อ�่ เสีียงในระดัับประเทศ อาทิิ ศิลิ ปินิ ชั้น้� เยี่ย่� ม ศิลิ ปินิ ร่ว่ มสมััยด่า่ นเกวีียน และศิลิ ปินิ อิสิ ระ ซึ่่�งมีีผลงานทั้�้งหมด 51 ชิ้�นงาน ซึ่่�งโครงการดัังกล่่าวได้้มีีการร่่วม WORK SHOP ร่่วมกััน เพื่�่อแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้� ที่ด่� ่่านเกวีียน จังั หวััดนครราชสีีมา เป็็นเวลา 5 วััน และได้น้ ำมาติดิ ตั้�ง้ เป็็นประติมิ ากรรมที่ท�่ รงคุณุ ค่า่ กว่า่ 50 ชิ้�นงาน ที่�่สง่่างาม และงดงาม อย่า่ งถาวร ณ หอศิิลปวััฒนธรรม มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ และในปีี 2565 มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ยัังได้้ดำเนิินโครงการต่่อเนื่่�องเป็็นปีีที่�่ 2 ในชื่่�อโครงการสััมมนาเชิิง ปฏิิบััติิการการสร้้างสรรค์์ผลงานศิิลปกรรมของคณาจารย์์ และศิิลปิินในระดัับชาติิ (โฮมดิิน 2) ถืือเป็็นโครงการและ กิจิ กรรมสร้า้ งสรรค์ท์ ี่ม่� ีีการแลกเปลี่ย่� นเรีียนรู้้� และร่ว่ มสร้า้ งสรรค์ผ์ ลงานประติมิ ากรรม จากดินิ ร่ว่ มกัันระหว่า่ งคณาจารย์์ จากสถาบัันการศึึกษาทั่่�วประเทศ รวมทั้�้งศิิลปิิน ปราชญ์์ท้้องถิ่�น ที่�่เข้้าร่่วมโครงการและศึึกษาภููมิิปััญญาท้้องถิ่�น เครื่อ่� งปั้น้� ดินิ เผาที่ด่� ่า่ นเกวีียน จังั หวััดนครราชสีีมา ซึ่ง่� ในท้า้ ยที่ส�่ ุดุ ก็ไ็ ด้น้ ำผลงานจากโครงการนั้น้� มาจััดแสดงประติมิ ากรรม รอบอาคารหอศิิลปวััฒนธรรม มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น เป็็นที่�่เรีียบร้้อย จำนวน 80 ชิ้�นงาน และมีีสถาบัันที่่�เข้้าร่่วม 20 สถาบัันการศึึกษาทั่่ว� ประเทศ และกลุ่�มปราชญ์ท์ ้อ้ งถิ่น� และศิลิ ปินิ อิสิ ระ นอกจากทัักษะในการสร้า้ งสรรค์ผ์ ลงานแล้ว้ โฮมดิิน 2 ยัังพััฒนาต่่อยอดโดยมีีการเขีียนบทความที่ถ่� ่า่ ยทอดองค์์ความรู้�ทักษะทางวิิชาการ โดยแยกออกเป็็นบทความ วิจิ ัยั และสร้้างสรรค์์ และบทความวิชิ าการทั่่�วไป ซึ่ง่� ถืือได้้ว่่ามีีคุุณค่า่ อย่่างยิ่�ง ไม่่เพีียงแต่่แสดงผลงานเท่า่ นั้�้น ยัังมีีผลงาน การสร้้างสรรค์์และแนวคิิดของคณาจารย์์และศิิลปินิ ที่่ร� ่่วมแสดงผลงานอีีกด้ว้ ย มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ขอขอบคุณุ สถาบัันการศึึกษาทั่่ว� ประเทศ และปราชญ์ท์ ้อ้ งถิ่น� ตลอดจนศิลิ ปินิ ที่เ�่ ข้า้ ร่ว่ ม โครงการโฮมดิินครั้�้งที่�่ 2 และสุดุ ท้า้ ยนี้้ใ� นนามของบรรณาธิกิ ารหวัังว่า่ ผู้้�อ่่านจะได้้รัับอรรถรสที่�ด่ ีี จากงานสร้า้ งสรรค์์ทาง ประติมิ ากรรมเซรามิกิ และเนื้้อ� หาสาระในสูจู ิบิ ััตรเล่ม่ นี้้� อีีกทั้ง้� หวัังเป็น็ อย่า่ งยิ่ง� ว่า่ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ จะเป็น็ ส่ว่ นหนึ่ง่� ในการร่ว่ มมืือ และเผยแพร่่งานสร้้างสรรค์ผ์ ่่านผลงานโฮมดินิ ได้อ้ ย่า่ งดีี รองศาสตราจารย์์ ดร.นิิยม วงศ์พ์ งษ์ค์ ำ บรรณาธิิการ ง

สารบััญ หน้า้ สารจากนายกสภามหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ก สารจากอธิกิ ารบดีีมหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ข สารจากรองอธิิการบดีีฝ่า่ ยศิลิ ปวััฒนธรรมและเศรษฐกิิจสร้า้ งสรรค์์ ค คำนำ ง โครงการสััมมนาเชิิงปฏิิบััติกิ ารการสร้า้ งสรรค์ผ์ ลงานศิลิ ปกรรมของคณาจารย์์ และศิิลปินิ ในระดัับชาติิ “โฮมดิิน 2” ฌ เริิงร่่าในแดนอีีสาน 1 ความเชื่อ�่ เรื่่�องงูขู องชนเผ่่าเกรีียง สปป.ลาว 2 เห รา 3 พระเจ้้าโฮมดินิ 4 สััมพัันธ์พ์ ููนสุขุ 5 มนุุษย์อ์ อนไลน์ ์ 6 The Petrified Knot 7 ไห-ให่่ 8 จัักระนวััฒน์์ 9 เจ้า้ เชื่อ�่ เรื่อ�่ งพญานาคบ่่ 10 เส้น้ สายลายสีี 11 ครอบครััวกัับโควิดิ 12 อีีหล้้าคำแพง 13 ฆาน พัันธนาการแห่ง่ จิิต 14 ใบเสมาร่่วมสมััย 2 15 พุุธ-ทะ-มายา 16 เจริญิ ...งอกงาม... 17 Art​and​Culture​Colorful​of​Dan​Kwian​ 18 little cat korat 19 รููปทรงในวิถิ ีีชีีวิิต 20 เครืือดิิน ll 21 จ

สารบััญ (ต่่อ) หน้า้ 22 23 รููปทรง-เสีียง-ฤดูกู าล 24 ฮััก 25 Birds in the town 26 สััมพััทธนิยิ ม (Relativism) 27 ในฝััน 28 หุ่่�นยนต์์ 29 สััญญาลัักษณ์์แห่่งชีีวิติ 30 สมาธิ ิ 31 Light of Time 32 apple 1 33 สาวอีีสาน 2 34 สาวดอย 35 เครื่่�องบูชู า 36 สมดุุลยภาพ 37 จากบ้้านกรวด 2 38 Complex shapes in changing conditions 39 มั่่�งมีี ศรีี (สีี) อีีสาน 40 ป่า่ ชีีวิิต 41 Aspects of Life III (แง่่มุมุ ของชีีวิติ III) 42 Covid-19 No.2 43 Ceramics Buriram #2 44 กำเนิิดธรรมชาติิ 45 นางฟ้า้ จำแลง 46 ทำ-มะ-ดา (Tham-ma-da) 47 ดอกไม้้ แจกััน หััวอ่า่ ง ฉ

สารบััญ (ต่่อ) หน้า้ Unfinished 2 48 เกิดิ ก่่อ ดัับสููญ ไปกัับกาลเวลา 49 เมฆฝน 50 บ่่าว-สาว 51 เช็็คอิิน...เกมส์์ (Check in Games) 52 เทวดา 2022 (Angel 2022) 53 imagination 54 ปลาคู่� หมายเลข 2 55 เคว้้งคว้า้ ง 56 อภิิบาล 57 เมล็ด็ พัันธุ์์� 58 ตถาตา 59 The Elevator 60 Message from the Universe ๑๖๖๖๕ 61 Happiness 62 ขาวดำ 63 Robot boy 64 Take care 65 ผ่่านทาง 66 ปุ่�มปุ๋๋ย� และสายพัันธุ์์�ใหม่่ 67 ผาแต้้ม 68 มนต์เ์ สน่ห่ ์์แห่ง่ ท้้องทุ่�ง 69 ต้น้ เค้้าอีีสาน 70 ชีี (she) 71 วิิถีีด่า่ นเกวีียน 72 สมดุุล 73 ช

สารบัญั (ต่อ่ ) หน้้า 74 75 ลีีลา 76 Untitled 77 ทุุกข์์กริยิ า 78 ร่่ายรำ 79 อริยิ มรรค 80 ดุลุ ยภาพแห่่งชีีวิิต 81 บทความวิิจัยั และสร้า้ งสรรค์ ์ 86 • การสร้า้ งสรรค์์�์ประติิมากรรมเครื่่อ� งปั้้�นดินิ เผาด่า่ นเกวีียนที่่ม� ีแี รงบันั ดาลใจ จากการใช้ช้ ีวี ิิตของผู้้�คน 91 : แง่ม่ ุมุ ของชีีวิิต III 95 • ประติิมากรรมเครื่�่องปั้้น� ดิินเผาแรงบันั ดาลใจจากวััฒนธรรมผ้้าทออีีสาน : สาวอีีสาน 2 100 • จิิตรกรรมฮูปู แต้ม้ ร่ว่ มสมัยั บนประติมิ ากรรมเครื่่�องปั้�้นดิินเผาด่า่ นเกวีียน : มั่่�งมีี ศรีี (สีี) อีีสาน 105 • การสร้า้ งสรรค์ป์ ระติมิ ากรรมเครื่�่องปั้น�้ ดินิ เผาด้้วยศิลิ ปะ INFO-GRAPHIC 110 • การเอนโกบและเคลืือบบนดิินด่า่ นเกวียี น 114 • ฆาน พันั ธนาการแห่่งจิติ 115 • แมวสีีสวาด : สู่�แรงบันั ดาลใจในการออกแบบงานเซรามิิก 119 บทความวิิชาการทั่่ว� ไป 131 • ประติมิ ากรรมดิินเผาจากความเชื่่อ� เรื่่อ� งงููของชนเผ่า่ เกรีียง 135 • รากุุ 138 • วาดเส้น้ ในงานศิลิ ปะ 142 • เครื่อ�่ งมืือสำหรับั งานเครื่�อ่ งปั้น้� ดินิ เผาด้ว้ ยตนเอง 145 • “ลมหายใจ และวิิถิ� ีแี ห่่งภููมิิปััญญาเครื่่�องปั้น�้ ดิินเผา” บ้า้ นเมืืองน้อ้ ย จัังหวัดั ชัยั ภููมิิ 149 • เสน่่ห์ด์ ินิ ด่า่ นเกวียี น • ผาแต้ม้ ภาพเขีียนสีี วิถิ ีชี ีีวิิต สู่�ประติิมากรรมร่่วมสมััย • คุณุ ค่่าและค่า่ นิิยมในผลิิตภััณฑ์ห์ ััตถกรรมด่า่ นเกวีียน ซ

โครงการสััมมนาเชิงิ ปฏิิบัตั ิิการการสร้า้ งสรรค์์ผลงานศิลิ ปกรรมของคณาจารย์์ และศิิลปิินในระดับั ชาติิ “โฮมดิิน 2” หลัักการและเหตุุผล ศููนย์ศ์ ิิลปวััฒนธรรม มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ร่ว่ มกัับ สถาบัันการศึึกษาทั่่ว� ประเทศ และศิลิ ปินิ เครืือข่า่ ยด้า้ น ศิลิ ปวััฒนธรรมในภูมู ิภิ าคอีีสาน ได้ร้ ่ว่ มกัันจััดโครงการสััมมนาเชิงิ ปฏิบิ ัตั ิกิ ารการสร้า้ งสรรค์ผ์ ลงานศิลิ ปกรรมของคณาจารย์์ และศิลิ ปินิ ในระดัับชาติิ “โฮมดินิ 2” เพื่อ�่ เป็น็ การแลกเปลี่ย่� นเรีียนรู้้�ระหว่า่ งบุคุ ลากรต่า่ งสถาบัันการศึึกษาร่ว่ มกัับศิลิ ปินิ และปราชญ์์ท้อ้ งถิ่น� ซึ่ง่� เป็น็ กิจิ กรรมที่�่เกิิดผลดีีต่อ่ สถาบัันการศึึกษา เหล่า่ นั้น้� ในด้า้ นศิลิ ปกรรมและการสร้า้ งสรรค์์ของ แต่ล่ ะสถาบัันสถาบััน ซึ่ง่� เป็น็ การรวมตััวของคณาจารย์์ จากสถาบัันการศึึกษาทั่่ว� ประเทศกว่า่ 19 สถาบััน เช่น่ มหาวิทิ ยาลััย ขอนแก่่น จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร วิิทยาลััยช่่างศิิลปสุุพรรณบุุรีี มหาวิิทยาลััยมหาสารคาม มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏมหาสารคาม มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏอุดุ รธานีี มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏชััยภูมู ิิ มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏบุรุ ีีรััมย์์ มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครราชสีีมา มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลอีีสาน วิิทยาลััยช่่างศิิลป มหาวิิทยาลััยราชภััฏ ศรีีสะเกษ มหาวิิทยาลััยนเรศวร มหาวิิทยาลััยกรุุงเทพธนบุุรีี มหาวิิทยาลััยราชภััฏลำปาง วิิทยาลััยเพาะช่่าง สถาบััน เทคโนโลยีีพระจอมเกล้้าเจ้้าคุุณทหารลาดกระบััง ศููนย์์ส่่งเสริิมอุุตสาหกรรมภาคที่�่ 6 กรมส่่งเสริิมอุุตสาหกรรม มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีสุรุ นารีี และศิลิ ปิินที่ม�่ ีีชื่�่อเสีียงระดัับประเทศ อาทิิ ศิลิ ปิินชั้�้นเยี่่�ยม ศิลิ ปินิ มรดกอีีสาน ศิิลปินิ ร่ว่ ม สมััยด่่านเกวีียน และศิิลปิินอิสิ ระ ซึ่�ง่ โครงการดัังกล่่าวได้้มีีการร่่วม WORK SHOP ร่ว่ มกัันเพื่อ่� แลกเปลี่่ย� นเรีียนรู้้�ที่ด่� ่่าน เกวีียน จัังหวััดนครราชสีีมา เป็็นเวลา 7 วััน และ บััดนี้้�ผลงานก็็เสร็็จสิ้้�นลงและได้้นำมาติิดตั้�้งเป็็นประติิมากรรมที่�่ทรง คุุณค่่ากว่่า 80 ชิ้�นงาน ที่่�สง่่างามและงดงาม อย่่างถาวร ณ หอศิิลป์์ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่นแห่่งนี้้� เพื่�่อเปิิดโอกาสให้้ นัักเรีียน นิิสิิต นัักศึึกษา และประชาชนทั่่�วไป ตลอดจนนัักท่่องเที่่�ยว ได้้ชมผลงานประติิมากรรม อัันจะยัังประโยชน์์ ให้้แก่่วงการศิิลปะ วงการการศึึกษา อีีกทั้้�งเป็็นการสนัับสนุุนการท่่องเที่่�ยวทางศิิลปวััฒนธรรมและส่่งเสริิมการเผยแพร่่ ภูมู ิปิ ััญญาท้อ้ งถิ่น� อัันควรค่า่ แก่ก่ ารส่ง่ เสริมิ และให้เ้ กิดิ ความภาคภูมู ิใิ จร่ว่ มกััน มุ่�งหวัังเป็น็ อย่า่ งยิ่ง� ว่า่ จะเป็น็ โครงการที่ม่� ีี ประโยชน์์อย่า่ งสูงู เพื่่�อสร้้างแรงบัันดาลใจให้แ้ ก่เ่ ยาวชนที่จ�่ ะก้้าวไปสู่�อาชีีพศิิลปิิน ศิลิ ปินิ มีีพื้้น� ที่่�แสดงผลงาน พบปะและ แลกเปลี่�ย่ นทััศนะ เพื่�่อให้้หอศิลิ ปวััฒนธรรมเป็น็ หอศิิลป์ร์ ะดัับชาติแิ ละนานาชาติติ ่่อ ๆ ไป วััตถุปุ ระสงค์์ 1. เพื่่�อสนัับสนุุนนโยบายความเป็็นศููนย์์กลางศิิลปวััฒนธรรมในอนุุภููมิิภาคลุ่่�มน้้ำโขง และส่่งเสริิมสนัับสนุุน งานด้า้ นศิิลปวััฒนธรรมสู่�ประชาชน 2. เพื่อ่� ส่่งเสริมิ การศึึกษาศิิลปวััฒนธรรมแขนงต่่าง ๆ อัันเป็น็ การเสริิมสร้า้ งสุนุ ทรีียภาพให้้แก่ช่ ีีวิติ ฌ

3. เพื่่�อเผยแพร่่ผลงานการสร้้างสรรค์์ศิิลปกรรมของนัักศึึกษาให้้เผยแพร่่ออกสู่�สายตาสาธารณชนคนไทย และนัักท่่องเที่ย�่ วชาวต่่างชาติิ 4. เพื่อ�่ ส่ง่ เสริมิ กิจิ กรรมและสร้า้ งความเคลื่อ่� นไหวทางด้า้ นศิลิ ปะของหน่ว่ ยงานด้า้ นศิลิ ปวััฒนธรรมภาคอีีสาน ให้เ้ ป็น็ ศูนู ย์์กลางในระดัับภููมิภิ าค และนานาชาติิ 5. เพื่่�อแสวงหาความร่่วมมืือการดำเนิินกิิจกรรมทางศิิลปะระหว่่างศิิลปิินไทยร่่วมกัับศิิลปิินต่่างประเทศ ในกลุ่ �มประเทศอาเซีียน ญ

ชื่�่อผลงาน เริิงร่า่ ในแดนอีีสาน ขนาด 180x60 cm แนวคิดิ ด้้วยจิิตและกายที่่�มีีความสุุข เกิิด แรงบัันดาลใจในการสร้้างสรรค์์ผลงาน โดยเอาเป็็ดน้้อยถ่่ายทอดผ่่านความรู้�สึ ก สู่ �กระบวนการเทคนิิคเครื่�่องปั้�้นดิินเผาใน แดนอีีสาน ผศ.โกเมศ คัันธิิก วิิทยาลััยช่า่ งศิิลปสุุพรรณบุรุ ีี สถาบัันบัณั ฑิติ พััฒนศิลิ ป์์ กระทรวงวััฒนธรรม 1

ชื่อ�่ ผลงาน ความเชื่อ�่ เรื่อ�่ งงูขู องชนเผ่า่ เกรียี ง สปป.ลาว ขนาด 60x40x100 cm แนวคิิด จากความเชื่อ่� เรื่อ�่ งการนับั ถือื งูู สัตั ว์ศ์ ักั ดิ์ส์� ิิทธิ์์� ของชนเผ่า่ เกรียี ง แขวงเซกอง ใน สปป.ลาว : งูเู ป็น็ สััตว์์ที่่�มีีพิิษร้้ายแรงมากทำให้้ถึึงชีีวิิตชนเผ่่าเกรีียง จึึงให้้การนัับถืือและยกย่่องว่่าเป็็นสััญลัักษณ์์ แห่ง่ พลังั อำนาจ ภายหลังั จึงึ มีตี ำนานหรืือนิิทานที่่� ชนเผ่่าเล่่าต่่อกัันมาว่่าตนเองได้้สืืบเชื้ �อสายมา จากงูู เพื่อ่� เป็น็ การแสดงออกว่า่ ชนเผ่า่ ของตนเป็น็ ชนเผ่่าที่่ย�ิ่ง� ใหญ่แ่ ละมีอี ำนาจ ดร.วิลิ าสิินีี ขำ�ำ พรหมราช มหาวิิทยาลัยั เทคโนโลยีรี าชมงคลอีสี าน 2

ชื่�่อผลงาน เห รา ขนาด 40x80x130 cm แนวคิดิ เห ราแบบอีีสาน ห่่มผ้้าลายอีีสาน แสดง ความอิ่�มในศิิลปะอีสี านทั้้�งตััวและใจ ผศ. ดร.กฤษฎา ดูพู ัันดุุง คณะสถาปัตั ยกรรมศาสตร์แ์ ละศิิลปกรรมสร้า้ งสรรค์์ มหาวิิทยาลัยั เทคโนโลยีรี าชมงคลอีสี าน 3

ชื่�อ่ ผลงาน พระเจ้้าโฮมดิิน ขนาด 220x75x70 cm แนวคิิด “ความประทัับใจในพุทุ ธอีีสาน สู่่�จินิ ตนาการสร้า้ งสรรค์ร์ ่ว่ มสมััย ดิินน้้ำลมไฟหลอมรวมใจ เกิิดความสุขุ ความศรััทธา” สมชาย ใจเย็็น เย็น็ ใจสตูดู ิโิ อ 4

ชื่อ่� ผลงาน สััมพัันธ์พ์ ููนสุุข ขนาด 45x80x160 cm แนวคิดิ สายสััมพัันธ์์ที่�่พึ่�่งพาเกื้�อกููลชีีวิิต เพิ่่�มพููน ความสุขุ แห่ง่ วิถิ ีีไมตรีีที่ง�่ ดงาม เปรีียบดั่่ง� ธรรมชาติิ ที่่�สุุขสงบอุุดมสมบูรู ณ์์ อ.นพอนัันต์์ บาลิิสีี คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััยกรุงุ เทพธนบุรุีี 5

ชื่่อ� ผลงาน มนุุษย์์ออนไลน์ ์ ขนาด 35x35x200 cm แนวคิิด ศิิลปะเครื่่�องปั้้�นดิินเผาที่่�ต้้องการแสดง ผลเสีียถึึงภาพสะท้้อนพฤติิกรรมมนุุษย์์กัับ โซเชีียลมีีเดีียจากการท่่องโลกออนไลน์์เวลานาน ทำให้้เกิิดผลเสีียต่่อสุุขภาพร่่างกายเกิิดความ ผิดิ ปกติิ เกิดิ โรคภััยตามมา เพื่อ�่ เป็น็ กุศุ โลบายเตืือน ให้้มนุุษย์์ได้้ตระหนัักถึึงภััยผลเสีียจากการใช้้สื่�่อ โซเชีียลมีีเดีีย และเพื่อ่� เป็็นแหล่ง่ เรีียนรู้้�การศึึกษา ต่า่ ง ๆ ผศ.ดุุริิวัฒั น์์ ตาไธสง มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏนครราชสีีมา 6

ชื่่�อผลงาน The Petrified Knot ขนาด 100x35 cm แนวคิดิ The Petrified Knot หรืือปมที่่�กลายเป็็น หิิน คืือปมเชืือกที่�ด่ ูเู หมืือนจะแก้้ไขได้้ง่่าย ๆ เมื่�่อ ดููจากรููปทรงของมััน แต่่กระนั้้�นก็็แก้้ไม่่ได้้เพราะ ได้้กลายสภาพเป็็นหิินไปแล้้ว เป็็นสภาวะแน่่นิ่่�ง ของปััญหาหนึ่ง�่ ๆ ที่ไ่� ร้ท้ างออก เป็น็ ประสบการณ์์ ที่�เ่ ราทุกุ คนคงเคยมีี รศ.พิิม สุทุ ธิิคำำ� จุฬุ าลงกรณ์ม์ หาวิทิ ยาลััย 7

ชื่่อ� ผลงาน ไห-ให่่ ขนาด 60x120 cm แนวคิดิ ไห ให้ก้ ารดำรงชีีวิติ เป็น็ อดีีต ไห ให้ค้ วามรู้� ความงาม ในปััจจุุบััน รศ.จุมุ พล ราชวิิจิติ ร มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ 8

ชื่อ�่ ผลงาน จัักระนวัฒั น์์ ขนาด 160 cm แนวคิิด ธรรมชาติใิ ห้้พลัังแก่ท่ ุกุ สรรพสิ่�ง วิิชาญ ประมููลศรีี กลุ่�มด่า่ นเกวีียนร่ว่ มสมััย 9

ชื่อ่� ผลงาน เจ้้าเชื่�่อเรื่่อ� งพญานาคบ่่ ขนาด 80x60x190 cm แนวคิดิ เชื่อ่� หรืือไม่เ่ ชื่อ่� พรพจน์์ พิเิ คราะห์ง์ าม กลุ่�มด่า่ นเกวีียนร่ว่ มสมััย 10

ชื่อ�่ ผลงาน เส้น้ สายลายสีี ขนาด 500x300 cm แนวคิิด ธรรมชาติิกัับมนุษุ ย์์ อ.เดช นานกลาง ศิิลปินิ มรดกอีีสาน 11

ชื่่อ� ผลงาน ครอบครัวั กับั โควิิด ขนาด 34×47×48 cm แนวคิดิ ความรู้�สึ กสะเทืือนใจและอารมณ์์ที่่� ทุกุ ครอบครััวจะต้อ้ งเผชิญิ กัับโรคร้า้ ยนี้้� อ.สุุรพล ปััญญาวชิริ ะ ศิลิ ปินิ มรดกอีีสาน 12

ชื่อ่� ผลงาน อีีหล้้าคำ�ำ แพง ขนาด 65x123 cm แนวคิดิ ลูกู สาวคนเล็ก็ กัับการเปรีียบเทีียบ บางครั้ง�้ รอยยิ้ �มและความคาดหวัังกลัับกลายเป็็นพัันธะ ได้้เหมืือนกััน ผศ. ดร.สุภุ าพร อรรถโกมล คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ 13

ชื่่�อผลงาน ฆาน พันั ธนาการแห่ง่ จิติ ขนาด 90x80x190 cm แนวคิดิ กลิ่น� คืือสััมผััสหอมกรุ่่�นด้ว้ ยเสน่ห่ า หากแต่่ หน่ว่ งหนัักและกดถ่ว่ งจิติ ให้จ้ องจำในสัังสารวััฏ ผศ.บุุญเกิดิ ศรีีสุุขา มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลอีีสาน 14

ชื่อ่� ผลงาน ใบเสมาร่่วมสมััย 2 ขนาด 65x200 cm แนวคิิด ใช้้รููปแบบใบเสมายุุคทวารวดีีมาเป็็น แรงบัันดาลใจ โดยการขึ้้น� รูปู ทรงปั้น้� ด้ว้ ยดินิ เหนีียว ขูดู ขีีด เจาะ เขีียนสีีลวดลายประดัับและนำไปเผา เกิดิ เป็็นผลงานในแนวทางอััตลัักษณ์เ์ ฉพาะตน อ.ดร.กิติ ิศิ ักั ดิ์์� จัันทร์์ขามป้อ้ ม มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏชััยภููมิิ 15

ชื่�่อผลงาน พุุธ-ทะ-มายา ขนาด 180x160x60 cm แนวคิดิ พุทุ ธศาสนา 2022 ในมุมุ มองของข้า้ พเจ้า้ ... ในบทวิพิ ากษ์ถ์ ึงึ เมืืองแมนแดนนิพิ พาน... มีีสถาน สรรค์์สร้้างล้้วนมายา ...แต่่งเติิมบทด้้วยละคร หวัังศรััทธา ...อยู่�ไหนหนาพุทุ ธธรรมนำนิพิ พาน ผศ.ชน ยี่น่� าง มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏนครราชสีีมา 16

ชื่อ�่ ผลงาน เจริญิ ...งอกงาม... ขนาด 65x200 cm แนวคิดิ ธรรมชาติสิ ร้า้ งสิ่ง� มหััศจรรย์์ สวยงาม สร้า้ ง เมล็็ดพัันธุ์์�หลากหลาย สายพัันธุ์์� รููปทรงต่่าง ๆ จึึงนำมาสร้้างเป็็นผลงานประติิมากรรมดิินเผา ด่า่ นเกวีียน ปล่อ่ ยไปตามความรู้�สึกขณะปฏิบิ ัตั ิงิ าน ณ ตอนนั้น้� สิริ ิวิ ัฒั น์์ มหาจัันทร์์ กลุ่�มด่่านเกวีียนร่ว่ มสมััย 17

ชื่อ�่ ผลงาน Art and Culture Colorful of​Dan​Kwian​ ขนาด 40×120 cm แนวคิิด นำเสนอศิลิ ปวััฒนธรรมด่า่ นเกวีียนร่ว่ มสมััย ผ่า่ นวััตถุดุ ิบิ รูปู ทรง พื้้น� ผิวิ และสีีสัันที่ป่� รากฏอยู่�ใน ชุมุ ชนด่า่ นเกวีียนในปััจจุบุ ััน ผศ. ดร.สืืบศักั ดิ์์� สิริ ิิมงคลกาล สาขาศิลิ ปศึึกษา มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏนครราชสีีมา 18

ชื่อ�่ ผลงาน little cat korat ขนาด 120 cm แนวคิดิ แมวสีีสวาดเป็็นสััตว์์ประจำจัังหวััด นครราชสีีมา และชาวโคราชมีีความเชื่่อ� ในการใช้้ แมวสีีสวาดทำพิิธีีขอฝน เพื่�่อสร้้างขวััญกำลัังใจ และสร้า้ งความเป็น็ สิิริมิ งคลในการใช้ช้ ีีวิติ อ.กมลชนก ธนวงศ์ท์ องดีี คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์แ์ ละศิลิ ปกรรมสร้า้ งสรรค์์ มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลอีีสาน 19

ชื่่�อผลงาน รูปู ทรงในวิถิ ีีชีีวิติ ขนาด 70×70×150 cm แนวคิดิ รููปทรงในวิิถีีชีีวิิตที่่�มีีความเจริิญงอกงาม อุดุ มสมบูรู ณ์์ อ.พรสวรรค์์ นนทะภา มหาวิิทยาลััยราชภััฏมหาสารคาม 20

ชื่่อ� ผลงาน เครืือดินิ ll ขนาด 80x60 cm แนวคิิด ความประทัับใจในรููปทรงของธรรมชาติิ การเกิิด การรวมตััว และความเป็็นเครืือญาติิ สู่ � ก า ร ส ร้้ า ง ส รร ค์์ ผ ล ง า น ที่�่ เ กี่�่ ย ว ข้้ อ ง เชื่่� อ ม โ ย ง สััมพัันธ์์ และความเป็น็ เอกภาพ โดยใช้ก้ ารจััดวาง และการขึ้้�นรูปู ทรงของดิินที่�่ไม่ซ่ ัับซ้อ้ น ดร.ประทัักษ์์ คููณทอง มหาวิิทยาลััยราชภััฏศรีีสะเกษ 21

ชื่�อ่ ผลงาน รูปู ทรง-เสีียง-ฤดููกาล ขนาด 70×90×120 cm แนวคิดิ เสีียงของฤดูกู าลสััมพัันธ์ก์ ัับนิเิ วศการกำเนิดิ ของสิ่ง� มีีชีีวิติ ใต้เ้ งาไม้้ เอกราช พลัับจะโปะ กลุ่�มด่่านเกวีียน (ลาวไฟ) 22

ชื่อ่� ผลงาน ฮักั ขนาด 45x45x175 cm แนวคิดิ พลัังแห่่งรัักคืือสายใยของชีีวิิตที่่�เชื่�่อมโยง ให้เ้ กิดิ ความผูกู พัันธ์แ์ ละสัันติสิ ุขุ แก่ม่ วลมนุษุ ยชาติิ ทุุกชีีวิิตล้้วนดำรงอยู่�ได้้ด้้วยความรััก อยู่�ได้้ เพราะมีีคนที่่�ตนรััก อยู่�ได้้เพื่�่อทำในสิ่่�งที่�่ตนรััก อยู่�ได้เ้ พื่อ�่ ให้ค้ นอื่น�่ รััก เหมืือนต้น้ ไม้้ ที่อ�่ ยู่�ได้เ้ พราะ น้้ำ แผ่่กิ่�งก้้านสาขา เจริิญเติิบโตออกดอกผลได้้ เนื่อ่� งด้ว้ ยอาศััยน้้ำ เช่น่ เดีียวกัับชีีวิติ หากปราศจาก ความรัักก็็ไม่่ต่่างอะไรไปจากต้้นไม้้ที่�่ขาดน้้ำ ต้อ้ งเหี่ย่� วเฉา แห้้งแกร็็นรอวัันตายคาต้้น อ.ปรเมศวร์์ กลางหมื่่น� ไวย คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยกรุุงเทพธนบุุรีี 23

ชื่�อ่ ผลงาน Birds in the town ขนาด 175×80 cm แนวคิดิ ผลงานเครื่�่องปั้�้นดิินเผาชิ้�นนี้้�ข้้าพเจ้้า มีีแรงบัันดาลใจมาจาก ความรัักความผููกพัันของ นกพิิราบ ที่�่อาศััยอยู่�เมืืองใหญ่่ที่�่เต็็มไปด้้วยตึึกรา บ้า้ นช่อ่ ง แต่ใ่ นเมืืองนี้้ใ� หญ่่ ต่า่ งก็ม็ ีีเหล่า่ นกพิริ าบ น้้ อ ย อ า ศัั ย อ ยู่ � แ ล ะ ป รัับ เ ป ลี่่� ย น ส ภ า พ ชีีวิิ ต ไ ป ตามสภาพ ดั่ง� เช่น่ มนุษุ ย์เ์ รา อ.ไกรสร ลีีสีีทวน มหาวิิทยาลััยศิิลปากร 24

ชื่อ�่ ผลงาน สัมั พัทั ธนิยิ ม (Relativism) ขนาด 50x50x191 cm แนวคิิด แนวคิิดที่�่เชื่�่อว่่าไม่่มีีความจริิงแบบตายตััว ความจริิงสามารถเปลี่�่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และสถานที่�่ ทั้ง้� นี้้ข�ึ้น� อยู่่�กัับระบบความคิดิ ความเชื่อ่� และโลกทััศน์์ของคนแต่่ละกลุ่ �ม แดน วรามิิตร กลุ่�มด่า่ นเกวีียนร่ว่ มสมััย 25

ชื่�อ่ ผลงาน ในฝันั ขนาด 30x30x120 cm แนวคิิด ประติมิ ากรรมดินิ เผาเกิดิ จากภูมู ิปิ ััญญาจาก อดีีตจนถึึงปััจจุุปััน ข้้าพเจ้้าสร้้างรููปทรงใบหน้้า มนุษุ ย์จ์ ากเทคนิคิ ดินิ เผา เพื่อ่� แสดงออกถึงึ ความรู้�สึก ในความคิดิ ฝััน วรวุฒุ ิิ ขันั ติยิ าวิยิ ะกุลุ ศิลิ ปิินอิสิ ระ 26

ชื่่�อผลงาน หุ่่�นยนต์์ ขนาด 40x70x184 cm แนวคิิด จากวััยเด็็กจนปััจจุุบัันผมชื่่�นชอบหุ่่�นยนต์์ ทั้้�งจากการ์์ตููน ภาพยนตร์์ โดยผมมีีความสุุข ทุุกครั้้�งที่่�ได้้ปั้้น� หุ่่�นยนต์์ ดร.อิิสสระ ดวงเกตุ ุ สาขานฤมิิตศิิลป์์ คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์ ผัังเมืืองและนฤมิติ ศิลิ ป์์ มหาวิทิ ยาลััยมหาสารคาม 27

ชื่อ่� ผลงาน สััญญาลัักษณ์แ์ ห่ง่ ชีีวิิต ขนาด 80x120 cm แนวคิดิ การถ่า่ ยทอดรูปู ทรงที่อ�่ ิสิ ระ มีีความเคลื่อ�่ นไหว ที่�่นำเสนอผ่่าน พื้้�นผิิวเจาะช่่องเป็็นรููปทรงรีี สื่่�อความคิิดถึึงสิ่�งมีีชีีวิิตต่่าง ๆ ตามทััศนคติิและ ประสบการณ์์ของผู้�พบเห็็น โดยถ่่ายทอด เรื่�่องราวผ่่านวััสดุุเครื่�่องปั้�น้ ดิินเผา ตััดด้้วยหลาก สีีสัันของดิินสีีที่�่ดููสดใส ให้้เกิิดความงามร่่วมสมััย เชื่่�อมโยงสิ่�งเก่่าผสานสิ่่�งใหม่่ ส่่งต่่อจิิตนาการต่่อ ผู้�พบเห็็น ที่่�สามารถนำวััตถุุดิิบจากภููมิิปััญญา คืือเครื่�่องปั้�้นดิินเผาด่่านเกวีียนมาสร้้างผลงาน ศิลิ ปะติดิ ตั้ง้� สถานที่ส่� ร้า้ งความน่า่ สนใจในมุมุ เมืือง เป็น็ จุดุ เช็ก็ อินิ ถ่า่ ยรูปู และส่ง่ ต่อ่ จินิ ตนาการศิลิ ปะ เชิงิ สร้า้ งสรรค์์ ผศ.เกรีียงไกร ดวงขจร มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏนครราชสีีมา 28

ชื่�อ่ ผลงาน สมาธิิ ขนาด 40×40×90 cm แนวคิดิ สมาธิิ สมาน แสงทอน ด่า่ นเกวีียน 29

ชื่อ่� ผลงาน Light of Time ขนาด 30x40x110 cm แนวคิดิ ทุุกวิินาทีี ที่่�มีีการปรัับเปลี่่�ยนทิิศทางของ แสง ในอีีกทางคู่�ขนานหมายถึงึ ทุุกสิ่ง� มีีชีีวิิตกำลััง ดำเนินิ ตามวััฏสงสาร ผศ.ชานนท์์ ไกรรส ภาควิิชาเครื่่�องเคลืือบดิินเผา คณะมััณฑนศิิลป์์ มหาวิทิ ยาลััยศิลิ ปากร 30

ชื่่อ� ผลงาน Apple 1 ขนาด 140 cm แนวคิิด การผลิิตและการบริิโภคที่�่อยู่�ในระดัับ พอประมาณ ผศ. ดร.สุทุ ธินิ ีี สุุขกุลุ คณะสถาปััตยกรรม ศิลิ ปะและการออกแบบ สถาบััน เทคโนโลยีีพระจอมเกล้า้ เจ้า้ คุณุ ทหารลาดกระบังั 31

ชื่อ่� ผลงาน สาวอีีสาน 2 ขนาด 50x50x120 cm แนวคิิด การทอผ้า้ เป็น็ งานสำคััญของหญิงิ ชาวอีีสาน ได้้นำอััตลัักษณ์์จากลวดลายที่�่ปรากฏบนผ้้าจก ผ้้าขิิด และผ้้ามััดหมี่�่ มาใช้้ในการตกแต่่งเพื่่�อ สะท้อ้ นถึงึ เรื่อ่� งราวของผ้า้ อีีสาน ที่ม่� ีีความสััมพัันธ์์ กัับวััฒนธรรม ประเพณีี และการดำรงชีีวิิต อ.ณัฏั ฐริิกา กงสะกุุ สาขาวิชิ าการออกแบบอุุตสาหกรรม คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์แ์ ละศิลิ ปกรรมสร้า้ งสรรค์์ มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลอีีสาน 32

ชื่่�อผลงาน สาวดอย ขนาด 50x60x110 cm แนวคิิด การถ่า่ ยทอดวิถิ ีีชีีวิติ ชาติพิ ัันธุ์์�ของภาคเหนืือ สะท้้อนเอกลัักษณ์์การแต่่งกาย ผ่่านผลงาน เครื่อ�่ งปั้�น้ ดิินเผาด่่านเกวีียน ผศ.เจษฎา ทองสุขุ มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏลำปาง 33

ชื่�่อผลงาน เครื่�่องบูชู า ขนาด 60x60x120 cm แนวคิิด ความสมมาตรของรูปู ทรงเครื่อ�่ งบูชู าใบตอง ของเครื่อ่� งบูชู า อ.ดร.ขวััญหทััย ธาดา คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ 34

ชื่�อ่ ผลงาน สมดุลุ ยภาพ ขนาด 20x20x100 cm แนวคิิด การสร้้างรููปทรงเพื่�่อตอบสนองภาพความ สมดุลุ ในความรู้�สึก ผศ. ดร.สมิิต ตะกรุดุ แก้้ว คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น 35

ชื่อ่� ผลงาน จากบ้้านกรวด 2 ขนาด 60×40×120 cm แนวคิดิ พััฒนาจากรููปแบบ รููปทรง และลวดลาย เครื่�อ่ งเคลืือบดินิ เผาบ้้านกรวด อำเภอบ้า้ นกรวด จัังหวััดบุรุ ีีรััมย์์ ผศ.ปราโมทย์์ ปิ่่น� สกุลุ สาขาวิิชาเทคโนโลยีีเซรามิิกส์์และการออกแบบ คณะเทคโนโลยีีอุตุ สาหกรรม มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏ บุรุ ีีรััมย์์ 36


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook