Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-07-31-คู่มือครู ศิลปะ ป.4

64-07-31-คู่มือครู ศิลปะ ป.4

Published by elibraryraja33, 2021-07-31 07:50:06

Description: 64-07-31-คู่มือครู ศิลปะ ป.4

Search

Read the Text Version

คูมอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู (สําหรบั ครูผสู อน) เพือ่ การจดั การเรยี นรูโดยใชการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๔ (ฉบับปรบั ปรุงคร้งั ที่ ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

คูมอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู (สําหรบั ครูผสู อน) เพือ่ การจดั การเรยี นรูโดยใชการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๔ (ฉบับปรบั ปรุงคร้งั ที่ ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

ก คานา ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แกผ่ ู้เรยี น เพ่ือสร้างคุณลักษณะสาคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง ๒) มีพ้ืนฐานชีวิตท่ีม่ันคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทา ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราชปณิธาน ในการสืบสาน รักษา พัฒนาต่อยอด โครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนาการศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทียม หรอื NEW DLTV ในทุกดา้ นอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากรและกระบวนการจัด การศึกษา เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สร้างโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชน ทกุ เพศ ทุกวัย ผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจานวน ๑๕ ช่องสัญญาณ ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ และผู้สนใจทั่วประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นสังคมแห่งปัญญามีจิตอาสาในการสรรค์สร้างและพัฒนาประเทศ ให้มั่นคง การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็บไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTVของมูลนิธิ และมีคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงครบทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซ่ึงครูปลายทางสามารถปรับกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับชุมชน ท้องถิ่น วัฒนธรรมและบริบทของแต่ละ โรงเรียน คูม่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ฉบับน้ี เป็นการปรบั ปรุงครัง้ ที่ ๒ ซ่งึ ดาเนนิ การโดยมลู นิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยความรว่ มมอื จากคณะทางาน ประกอบดว้ ย สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ และครูผู้เช่ียวชาญ ท้ัง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ครูปลายทาง ใช้ในการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมทั้งสามารถจัดเตรียมเอกสาร ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด เพือ่ ให้การจัดการเรยี นการสอนเกดิ ประสทิ ธผิ ล นาไปสู่การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนประถมศกึ ษา ขนาดเล็กตอ่ ไป นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งมั่นพัฒนา ยกระดบั คุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพ่ือพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให้เข้มแข็ง สมดงั พระราชปณธิ าน “...การศึกษาคือความมนั่ คงของประเทศ...” ขอพระองค์ทรงพระเจรญิ มลู นิธิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ข (สำเนำ) ท่ี ศธ ๐๔๐๑๐/๕๘๑ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำน กระทรวงศกึ ษำธิกำร กทม. ๑๐๓๐๐ ๑๑ มนี ำคม ๒๕๖๔ เร่ือง รับรองควำมร่วมมือกำรพัฒนำคู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เพื่อกำรสอนออกอำกำศทำงไกล ผำ่ นดำวเทยี ม เรยี น เลขำธิกำรมลู นิธิกำรศึกษำทำงไกลผำ่ นดำวเทยี ม ในพระบรมรำชปู ถมั ภ์ อ้ำงถึง หนงั สือมูลนิธกิ ำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ในพระบรมรำชูปถมั ภ์ ที่ มศทท. ๙/๗๒ ลงวันที่ ๒๕ มกรำคม ๒๕๖๔ ตำมหนังสือที่อ้ำงถึง มูลนิธิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ในพระบรมรำชูปถัมภ์ แจ้งว่ำ มูลนิธิ ฯ ได้ปรับปรุงคู่มือครูและแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย คู่มือครูและ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ระดับประถมศึกษำและมัธยมศึกษำตอนต้น ตำมข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ จำกผู้ทรงคุณวุฒิ คณะผู้นิเทศ ครูผู้สอนจำกโรงเรียนต้นทำงและโรงเรียนปลำยทำง และได้พัฒนำเป็นคู่มือครู และแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย ฉบับปรับปรุง คู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ส่ือ ๖๐ พรรษำ ระดับประถมศึกษำ ฉบับปรับปรุง โดยมูลนิธิ ฯ ได้ดำเนินกำรพัฒนำและบรรณำธิกำรกิจ โดยคณะกรรมกำรประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชำญ ครูผู้สอนท่ีมีประสบกำรณ์เป็นผู้ร่วมในกำรพัฒนำ คู่มือจนสำเร็จ และได้ประชุมหำรือเพ่ือให้ข้อเสนอแนะ ข้อควรปรับปรุงจำกสำนักวิชำกำรและมำตรฐำน กำรศึกษำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน นั้น ในกำรนี้ ขอรับรองว่ำคู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ สื่อ ๖๐ พรรษำ ระดับประถมศึกษำ ฉบับปรับปรุง และคู่มือครูและแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย ฉบับปรับปรุง สำมำรถใช้ ในกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนได้ จงึ เรียนมำเพอื่ โปรดทรำบ ขอแสดงควำมนบั ถือ (นำยอมั พร พินะสำ) เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พนื้ ฐำน สำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๖๕-๖๖ โทรสำร ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๕๕

สารบญั ค คานา หน้า หนังสอื รับรองความรว่ มมอื การพฒั นาคูม่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ เพือ่ การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทยี ม ก สารบัญ ข คาชแ้ี จงการรับชมรายการออกอากาศด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม คาช้ีแจงรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี ๑ ค คาอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ ๑ จ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั ช โครงสรา้ งรายวิชาศลิ ปะ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี ๑ ฒ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ ช่อื หน่วย ก่อรา่ งสรา้ งศลิ ป์ ณ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่ือง เสน้ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ เรือ่ ง รปู ร่างรปู ทรง ต แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรอื่ ง พ้นื ผิว 1 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๔ เรอ่ื ง พน้ื ทว่ี ่าง 5 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๕ เร่อื ง ระยะในงานทัศนศลิ ป์ 12 แบบประเมนิ ตนเอง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 19 27 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ ช่อื หน่วย แต้มสวี เิ คราะห์ศลิ ป์ 37 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เรือ่ ง อปุ กรณส์ รา้ งสรรค์งานศลิ ป์ 45 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒ เร่ือง การผสมสี แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓ เรื่อง วรรณะสี 46 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๔ เร่อื ง อทิ ธพิ ลของสีทม่ี ีต่อความรสู้ ึก 50 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ เร่ือง ภาพพิมพ์วสั ดธุ รรมชาติ 61 แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 70 แบบบันทึกการเรยี นรู้ (Learning Logs) 78 90 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๓ ชือ่ หน่วย ดนตรกี ับชวี ิต 99 แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑ เรอื่ ง เคร่อื งดนตรีน่ารู้ 100 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๒ เร่ือง เครือ่ งดนตรีน่ารู้ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๓ เรือ่ ง โน๊ตดนตรี 101 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๔ เรอ่ื ง การฟงั และการรอ้ งเพลง 104 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 เรอื่ ง ดนตรใี นชวี ิต 110 116 122 128

ง 133 แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 134 138 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๔ ชอ่ื หน่วย ภาษานาฏศิลป์ 144 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เร่ือง หลักการปฏบิ ตั ินาฏศิลป์ 149 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เร่อื ง หลักการปฏบิ ัตินาฏศลิ ป์ 154 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ เรือ่ ง ราวงมาตรฐาน 159 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ เรือ่ ง ราวงมาตรฐาน 164 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 เร่อื ง สบื สานศิลป์ 165 แบบประเมินตนเอง หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 4 166 แบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning Logs) 167 บรรณานกุ รม 183 ภาคผนวก ก. แบบประเมนิ รวม 192 ภาคผนวก ข. แผนผังความคิด (Graphic Organizers) 198 ภาคผนวก ค. แบบบันทกึ การเรยี นรู้ ( Learning Logs) คณะกรรมการปรับปรุงค่มู ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

จ คาชี้แจง การรับชมรายการออกอากาศดว้ ยระบบทางไกลผา่ นดาวเทยี ม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้บริการการจัดการเรียนการสอน จากสถานวี ทิ ยุโทรทศั น์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม จานวน ๑๕ ชอ่ งรายการ ทงั้ รายการสด (Live) และรายการ ยอ้ นหลงั (On demand) สามารถรบั ชมผ่านช่องทาง ต่อไปนี้ ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เขา้ ท่ี Play Store/Google Play พิมพค์ าว่า DLTV - ระบบ iOS เขา้ ที่ App Store พมิ พ์คาวา่ DLTV หมายเลขช่องออกอากาศสถานีวทิ ยุโทรทัศนก์ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม 15 ช่องรายการ ช่อง (DLTV) ชอ่ ง (TRUE) รายการในเวลาเรียน รายการนอกเวลา (ช่วงเวลา ๐๘.๓๐ น.–๑๔.๓๐ น.) (ช่วงเวลา ๑๔.๓๐ น.–๐๘.๓๐ น.) DLTV 1 ช่อง 186 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 สถาบันพระมหากษตั ริย์ DLTV 2 ชอ่ ง 187 รายการสอนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2 ความรู้รอบตัว DLTV 3 ชอ่ ง 188 รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี DLTV 4 ชอ่ ง 189 รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม DLTV 5 ช่อง 190 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 ศิลปวฒั นธรรมไทย DLTV 6 ชอ่ ง 191 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 หน้าที่พลเมอื ง DLTV 7 ชอ่ ง 192 รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร DLTV 8 ชอ่ ง 193 รายการสอนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาษาตา่ งประเทศ DLTV 9 ช่อง 194 รายการสอนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 การเกษตร DLTV 10 ช่อง 195 รายการสอนชน้ั อนุบาลปที ี่ 1 รายการสาหรับเด็ก-การเลีย้ งดูลกู DLTV 11 ชอ่ ง 196 รายการสอนชน้ั อนุบาลปที ่ี 2 สุขภาพ การแพทย์ DLTV 12 ช่อง 197 รายการสอนชน้ั อนุบาลปที ่ี 3 รายการสาหรับผสู้ ูงวัย DLTV 13 ช่อง 19๘ รายการของการอาชพี วงั ไกลกงั วล และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล DLTV 14 ชอ่ ง 199 รายการของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช DLTV 15 ชอ่ ง 200 รายการพฒั นาวชิ าชีพครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรยี นระดบั ชั้นปฐมวัย ชว่ งเวลา ๐๘.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.

ฉ การตดิ ต่อรบั ขอ้ มลู ขา่ วสาร ๑. มูลนิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขท่ี 214 ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนสั เขตป้อมปราบศตั รูพ่าย กรงุ เทพมหานคร โทร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานวี ิทยโุ ทรทัศนก์ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ซอยหัวหิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตาบลหวั หนิ อาเภอหัวหิน จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗–๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ตดิ ตอ่ เรอ่ื งเว็บไซต)์ dltv@dlt.,ac.th (ตดิ ต่อเร่ืองทว่ั ไป) ๓. โรงเรียนวงั ไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถัมภ์ อาเภอหวั หิน จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร 032 522 347 , 032 520 478 โทรสาร 032 520 478 Facebook : โรงเรยี นวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ช่องทางการติดตามขา่ วสาร Facebook : มลู นิธิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

ช คาชีแ้ จง กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ๑. แนวคดิ หลัก หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดสาระการเรียนรู้ จานวน ๘ กลุม่ สาระ การเรยี นรู้ ครูผสู้ อนตอ้ งจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยนาความรูด้ ้านเนื้อหาวิชามาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการฝกึ ทกั ษะใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความรู้ ความเข้าใจ และเกดิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๕ ประการ และคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ ๘ ประการ ดงั น้ี สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสอื่ สารเปน็ ความสามารถในการรบั สารและสือ่ สารมวี ฒั นธรรมในการใชภ้ าษา ๒) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ การคิดอย่างเปน็ ระบบเพอ่ื นาไปสู่การสร้างองค์ความรหู้ รือสารสนเทศ เพื่อใช้ ในการตดั สินใจ เกย่ี วกบั ตนเอง สังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแกป้ ญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลีย่ นแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสังคม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการเข้าใจและเคารพตนเอง สามารถนา กระบวนการตา่ งๆ ไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และ การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี การแก้ปัญหา อย่างสรา้ งสรรค์ถูกต้องเหมาะสม มคี ณุ ธรรมดา้ นต่างๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเอง สงั คมในด้านการเรยี นรู้ การสือ่ สาร การทางาน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๘ ประการ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมอย่างมีความสุข ในฐานะ เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ดงั น้ี ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒) ซ่อื สตั ย์ สจุ ริต ๓) มีวนิ ัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อยูอ่ ย่างพอเพยี ง ๖) มุ่งมัน่ ในการทางาน ๗) รกั ความเป็นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพฒั นาผเู้ รยี นทงั้ ด้านรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สงั คม ตลอดจน การนาไปสู่ การพฒั นา

ซ สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ ครูผู้ใช้ แผนการจดั การเรียนรูฉ้ บับนี้ ควรมงุ่ เนน้ พฒั นาให้ผ้เู รยี นเกดิ ความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะเกิดความ ซาบซึ้งในคณุ คา่ ของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นมีความรูค้ วามเข้าใจเก่ียวกับองคป์ ระกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงานทางทัศนศิลป์ จากจินตนาการ สามารถใชอ้ ุปกรณ์ทีเ่ หมาะสม รวมทง้ั สามารถใช้เทคนิค วธิ กี ารของศลิ ปินในการสร้างงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่างานศิลปะท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ช่ืนชม ประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนศิลปะ มีการบูรณาการด้านคุณลักษณะในแผนการจัด การเรยี นรูท้ ีค่ านงึ ถึงคุณลักษณะ ท่ใี หผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ มที ักษะด้านวิธกี ารทางศิลปะ เกดิ ความซาบซง้ึ ในคุณคา่ ของ ศลิ ปะ เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นแสดงออกอย่างอสิ ระ ในศิลปะแขนงต่าง ๆ ได้แก่ ทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ สอดคล้อง ตามเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ และให้มีเจตคติที่ดีต่อสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ และมีจิตอาส า ครูผู้สอนควรปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้แก่ผู้เรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดคุณลักษณะ อันพึงประสงคแ์ ละเป็นคนดีของสงั คม ๒. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ แนวคดิ สาคัญของการจัดศึกษา ทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียน คิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการที่หลากหลาย เพ่ือเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ การประเมนิ การเรียนรู้จงึ มีความสาคัญและจาเป็นอย่างยงิ่ ตอ่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ้ นห้องเรยี น เพราะสามารถ ทาใหผ้ ้สู อนประเมินระดบั พฒั นาการเรียนรขู้ องผู้เรยี น การจัดการศกึ ษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทกุ คนมคี วามสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน มีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ ให้ความสาคัญ ของการบูรณาการความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของระดับ การศกึ ษา ได้ระบใุ หผ้ ้ทู ีเ่ กีย่ วขอ้ งดาเนนิ การ ดงั นี้ ๑) สถานศึกษาและหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึง ถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพอื่ ปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทาได้คิดเป็นทาเป็น รกั การอ่าน และเกดิ การใฝร่ ู้อย่างต่อเน่อื ง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ัง ปลูกฝังคณุ ธรรม คา่ นิยมทด่ี งี ามและ คุณลักษณะอนั พึงประสงคไ์ ว้ในทกุ วิชา (๕) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ สู้ อนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม ส่อื การเรียน และอานวยความ สะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และ มีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวน การเรยี นรู้ ท้ังนผี้ ู้สอนและผูเ้ รยี นอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่อื การเรยี น การสอนและแหลง่ วิทยาการประเภทต่าง ๆ (๖) จดั การเรยี นรูใ้ หเ้ กดิ ข้นึ ได้ทกุ เวลา ทกุ สถานท่ี มกี ารประสานความ รว่ มมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และบุคคลในชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพอื่ ร่วมกันพฒั นาผ้เู รยี นตามศกั ยภาพ

ฌ ๒) การจัดสภาพแวดล้อมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ (๑) จัดสภาพแวดลอ้ ม หอ้ งเรียน หรอื ภายนอกห้องเรียน ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ สะอาด มีความเป็น ระเบียบ ตกแต่งหอ้ งเรียนใหน้ ่าอยู่ มมี ุมตา่ งๆในหอ้ งเรยี น มที ี่เก็บวัสดอุ ุปกรณ์ และงา่ ยต่อการนามาใช้ มีป้ายนิเทศ ให้ความรู้ ภายนอกห้องเรียนจัดบรรยากาศให้เป็นธรรมชาติน่าอยู่ ร่มร่ืนแ ละเหมาะกับกิจกรรมการเรียนรู้ ถกู สุขลกั ษณะและปลอดภัย (๒) จัดสภาพแวดล้อม หรือหอ้ งใหผ้ ู้เรยี นได้ฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร (๓) จดั ส่อื อุปกรณ์ ท่ีเก่ยี วกบั การเรยี นรู้อย่างเพียงพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเครอ่ื งมือแสวงหาความรู้ หรือ ช่องทางเสนอข่าวสารต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับรู้ข้อมูล ขา่ วสารที่ทนั สมัยปจั จบุ นั อยู่เสมอ ๓) ครูผสู้ อน การจัดการเรียนรู้ตามแนวดังกล่าว จาเป็นต้องเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนทั้งขอ ง ผู้เรียนและผู้สอน กล่าวคือลดบทบาทของครูผู้สอน จากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็นการวางแผนจัด กิจกรรมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ กิจกรรมต่าง ๆ จะต้องเน้นที่บทบาทของผู้เรียนต้ังแต่เริ่ม คือ ร่วมวางแผน การเรียน การวัดผล ประเมินผล และต้องคานึงว่ากิจกรรมการเรียนน้ัน เน้นการพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมีปฏิสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน การสร้างคาอธิบายเก่ียวกับข้อมูลที่สืบค้นได้ เพ่ือนาไปสู่คาตอบ ของปัญหาหรอื คาถามต่าง ๆ และสรา้ งองค์ความรู้ ทั้งน้ีกิจกรรมการเรียนรู้เหล่านี้ต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการ เหมาะสมตามวัย ทงั้ ทางร่างกาย อารมณ์สังคม และสตปิ ัญญา หลักการจัดกระบวนการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับช้ันประถมศึกษา ครูผู้สอนต้องจัด กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่างครูกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ครตู อ้ งลดบทบาทในการสอนโดยเป็นผู้ชี้แนะ กระตุ้นให้ผู้เรียนกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ มากขึน้ และอย่างหลากหลาย ดงั นี้ 1) ควรให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดเวลาด้วย การกระตุ้นให้นักเรียน ลงมอื ปฏบิ ตั ิและอภปิ รายผล โดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ของการสอน เช่น การนาเข้าสู่บทเรียน การใช้คาถาม การเสริม พลงั มาใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ ทีจ่ ะทาให้การเรียนการสอนน่าสนใจและมชี วี ติ ชวี า 2) ครูควรมีการวางแผนการใช้คาถามอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อจะนานักเรียนเข้าสู่บทเรียน และลงข้อสรุปได้โดยท่ีไม่ใช้เวลานานเกินไป ครูควรเลือกใช้คาถามที่มีความยากง่ายพอเหมาะกับความสามารถ ของนกั เรยี น 3) เม่อื นกั เรียนถาม อย่าบอกคาตอบทันที ควรให้คาแนะนาที่จะช่วยให้นักเรียนหาคาตอบได้เอง ครูควรให้ความสนใจตอ่ คาถามของนักเรียนทุก ๆ คน แม้ว่าคาถามน้ันอาจจะไม่เกี่ยวกับเรื่องท่ีกาลังเรียนอยู่ก็ตาม ครูควรจะช้ีแจงใหท้ ราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสู่เร่ืองที่กาลังอภิปรายอยู่ สาหรับปัญหาท่ีนักเรียน ถามมานนั้ ควรจะได้หยิบยกมาอภปิ รายในภายหลัง 4) การสารวจตรวจสอบซ้า เป็นส่ิงจาเป็นเพื่อให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู้ ครูควรย้าใหน้ กั เรียนไดส้ ารวจตรวจสอบซา้ เพ่ือนาไปสูข่ ้อสรปุ ที่ถกู ต้องและเชอ่ื ถอื ได้

ญ กระบวนการเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานท่ี การเรียนรู้ จากหอ้ งสมดุ แหล่งเรียนรจู้ ากภูมิปญั ญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบา้ น งานวเิ คราะห์จากการศึกษาภาคสนาม การเรียนรู้โดยผู้เรียนลงมือปฏิบัติ เป็นการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทาจริง โดยกาหนด ภาระงาน (task) การวางแผนปฏบิ ัติ ลงมือปฏบิ ตั ิโดยครูให้คาแนะนาและสาธิตให้ดูเป็นตัวอย่าง ผู้เรียนฝึกได้ปฎิบัติ ตามลาดับขั้นตอนจนชานาญ ในรูปแบบของโครงงาน ศิลป์สร้างสรรค์ ท่ีเน้นกระบวนการกลุ่ม ประกอบด้วย การอภปิ รายกลมุ่ ยอ่ ย การแก้ปญั หากลุ่ม สืบคน้ ความรู้ กลมุ่ สัมพนั ธ์ การเรยี นร้แู บบรว่ มมือ การอภปิ ราย การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ได้แก่ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิดรวบยอด การพัฒนา กระบวนการคิด การสอนโดยใช้วิธีการตั้งคาถามผู้เรียน การเรียนการสอนโดยใช้แผนผังความคิด ( Graphic Organizers) การเรียนการสอนดว้ ยกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ๓. ส่อื การจดั การเรียนรู/้ แหลง่ เรยี นรู้ สอ่ื การจัดการเรียนรู้ เปน็ เครือ่ งมือสง่ เสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรยี นได้รับความรู้ ทักษะกระบวนการได้ง่ายในระยะเวลาส้ันและช่วยให้เกิดความคิดรวบย อดอย่างถูกต้องและรวดเร็วส่ือ ท่ปี รากฏในแผนการจัดการเรยี นร้มู ดี งั นี้ ๑) ใบความรู้ ใบงาน แผนภาพนาเสนอข้อมูล ๒) คลิป/วดี ทิ ศั น์/ภาพข่าวสถานการณป์ จั จบุ ัน ๓) สถานการณส์ มมุติ ๔) ส่ือบุคคล แหลง่ เรยี นรู้ เป็นเครอ่ื งมอื สรา้ งคุณลกั ษณะการใฝ่เรยี นร้ทู ่ีทุกคนต้องใฝร่ ูต้ ลอดชวี ิต ดังนี้ ๑) แหลง่ เรียนรูภ้ ายในโรงเรยี น ๒) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน ท้องถ่ิน พิพิธภัณฑ์ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ห้องสมุด ประชาชน หอ้ งสมุดแหง่ ชาติ หอ้ งสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีสาคัญและเป็นหัวใจสาคัญของผู้เรียนในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียนควรจัด หอ้ งสมุดกลาง หอ้ งสมดุ หมวดวชิ า มุมหนังสือในห้องเรยี น ห้องสมดุ เคลอื่ นท่ี รถเคลื่อนที่ หอ้ งสมุดประชาชนลว้ นเป็น แหล่งเรียนรจู้ ะทาใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรแู้ ละปลูกฝงั ลักษณะนสิ ัยทด่ี ใี นการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ๓) แหล่งเรยี นรอู้ อนไลน์ - สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน - สานักหอสมุด มหาวทิ ยาลยั ต่าง ๆ - กระทรวงวฒั นธรรม ฯลฯ ๔. การวัด และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์สาคัญของการประเมินการเรียนรู้ คือ การช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ที่ผู้สอนหรอื หลักสูตรวางไว้ ปัญหาที่พบในปัจจุบันก็คือ ผู้บริหาร ผู้สอน ตลอดจนผู้ปกครองเป็นจานวนมากยังให้ ความสาคัญการเรียนรู้แบบท่องจาเพ่ือสอบ หรือการเรียนรู้เพ่ือแข่งขัน ซึ่งถือเป็นการเรียนรู้แบบผิวเผินมากกว่า การประเมินการเรยี นรูร้ ะหว่างเรยี นการเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาตนเองซงึ่ ผลลัพธข์ องการเรียนรู้จะยง่ั ยนื กวา่ (กุศลิน มุสิกุล, ๒๕๕๕; ขจรศกั ดิ์, เพญ็ จนั ทร์ และวรรณทิพา รอดแรงคา้ , ๒๕๔๘)

ฎ ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนน้ัน จาเป็นต้องมีการประเมิน การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่เร่ิมต้นระหว่างและสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้การประเมินในรูปแบบ ที่หลากหลายสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ รูปแบบการประเมินการเรียนรู้ได้แก่ การประเมิน การเรียนรรู้ ะหว่างเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรู้สรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ และการประเมินตามสภาพจรงิ นน้ั ผู้สอนจาเป็นตอ้ งสะท้อนการประเมนิ ใหผ้ เู้ รียนรบั ทราบเพื่อปรับปรุงและพัฒนา ตนเอง และผู้สอนต้องนาผลการประเมินมาพิจารณาเพ่ือทบทวนและปรับแผนการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้สามารถ ดาเนินการแก้ไข ช่วยเหลือ หรือหาวิธีการต่าง ๆ เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนแต่ละคนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ตามแตล่ ะจดุ ประสงคก์ ารเรียนร้หู รือเปา้ หมายของตัวชว้ี ัดต่าง ๆ (กุศลิน มุสกิ ุล, ๒๕๕๕ ) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมิน เพื่อพฒั นาผู้เรยี นและการตดั สนิ ผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จน้ัน ผเู้ รยี นจะต้องไดร้ ับการพฒั นาและประเมนิ ตามตวั ชวี้ ัด เพื่อใหบ้ รรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคญั และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินการเรียนรู้ ในทุกระดับ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ท่ีปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ความสาคัญของการประเมิน พฤติกรรมการปฏบิ ัติ ดังนี้ ๑) วธิ ีการประเมนิ (1) การวัดและประเมินก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อม และความรู้เดิมของผู้เรียน (ผสมผสานในกจิ กรรมการเรียนรู้ขนั้ นา) (2) การวัดและประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ ด้านความรู้ ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพร้อมแสดงเหตุผล ตรวจชิ้นงาน การนาเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรยี นรูข้ ัน้ สอน) จุดม่งุ หมายของการประเมนิ ระหว่างเรยี น มดี งั นี้ (๒.๑) เพื่อค้นหาและวินิจฉัยว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหา มีทักษะความชานาญ รวมถึง มีเจตคติทางการเรียนรอู้ ย่างไรและในระดับใด เพอื่ เป็นแนวทางให้ผู้สอนสามารถวางแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรไู้ ด้ อยา่ งเหมาะสม เพ่ือพฒั นาการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี นได้อย่างเต็มศกั ยภาพ (๒.๒) เพื่อใช้เปน็ ข้อมลู ป้อนกลบั ใหก้ บั ผู้เรียนว่ามผี ลการเรยี นรูอ้ ยา่ งไร (๒.๓) เพอื่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการสรุปผลการเรียนรู้และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้านการเรียนรู้ ของผเู้ รยี นแต่ละคน (3) การวดั และประเมนิ หลงั เรยี น เพื่อตรวจสอบความสาเรจ็ ตามจดุ ประสงค์รายแผน เป็นการพัฒนา ในจุดท่ีผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคล่ือนหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง (ผสมผสานในกิจกรรมข้ันสรุป) และเพื่อตัดสินผล การจดั การเรยี นรู้ เป็นการประเมนิ หลงั จากผู้เรียนไดเ้ รียนไปแลว้ ผลจากการประเมินประเภทน้ีใชป้ ระกอบการตัดสิน ผลการจดั การเรยี นการสอน หรือตัดสนิ ใจวา่ ผู้เรยี นคนใดควรจะได้รบั ระดับคะแนนใด (4) ประเมนิ รวบยอดเม่ือสิ้นสุดหนว่ ยการเรียนรู้ ดาเนนิ การดงั น้ี การประเมินโดยครผู สู้ อน เพอ่ื ตรวจสอบคณุ ภาพผูเ้ รียนวา่ บรรลเุ ป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ตาม มาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั สมรรถนะ คุณลักษณะ และ เจตคติหรือไม่ เช่น การทาโครงงาน การนาความรู้ไปใช้เพื่อพัฒนา สงั คมในรปู แบบตา่ ง ๆ

ฏ การประเมินโดยผ้เู รยี นแต่ละคน โดยการทาแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ (Learning log) ควรให้ผู้เรียน ได้ประเมินการเรยี นรู้ของตนเอง เพื่อเปิดโอกาสไดส้ ะทอ้ นคดิ สิ่งทเี่ รียนรู้ท้งั ทีท่ าได้ดีและยังต้องพัฒนา (ตัวอย่างแบบ บนั ทกึ การเรยี นรู้ ดภู าคผนวก ค.) ควรให้ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ย่อยหลังจบการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ และประเมนิ การเรยี นรรู้ วมในชว่ งกลางภาคเรยี น และปลายภาคเรยี น โดยครูสามารถเลอื กใชช้ ุดคาถามและจานวนข้อ ให้เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน ช่วงเวลาและธรรมชาติของแต่ละวิชา ทั้งนี้ในครั้งแรกครูควรทาร่วมกับนักเรียน เพอ่ื แนะนาวธิ ีการเขยี นแบบสะท้อนคดิ และควรอ่านส่ิงทนี่ กั เรียนบนั ทึกพรอ้ มให้ข้อมูลย้อนกลบั เสนอแนะในเชงิ บวก และสร้างสรรค์ รวมท้ังใช้ประโยชน์จากข้อมูลในแบบบันทึกเพื่อพัฒนาการสอนของตัวเองและช่วยเหลือนักเรียน เปน็ รายบุคคลต่อไป ๒) ผปู้ ระเมิน ได้แก่ เพ่ือนประเมินเพ่ือน ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และผู้ปกครอง ร่วมประเมิน การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ้านศิลปะ เปน็ กระบวนการทางสนุ ทรียศาสตร์ ทเ่ี กีย่ วกบั รสนยิ ม ความช่ืนชอบ ความงาม เกณฑใ์ นการวัดผลแบบนิยมทีเ่ น้นความถูกตอ้ งของการตอบข้อสอบใน มาตัดสินความงาม ความคดิ สร้างสรรค์ไม่เหมาะสม การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง จึงเหมาะที่จะใช้ประเมินผลการเรียนรู้ทาง ศิลปะ เป็นการประเมินความสามารถ และกระบวนการในการปฏิบัติในสถานการณ์จริง หรือคล้ายสถานการณ์จริง ท้ังในและนอกห้องเรยี น เน้นให้ผู้เรียนได้แสดงออกถงึ ความเข้าใจและทกั ษะการคิด ที่บูรณาการการเรียนรู้เช่ือมโยง การนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ดว้ ยการเรยี นรดู้ า้ นศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์มีความเก่ียวข้องกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม ของผคู้ นในสงั คม การวดั และประเมินผลกบั การจัดการเรียนการสอนศิลปะ จึงเป็นเรื่องท่ีสัมพันธ์กัน หากขาดสิ่งหน่ึง สิง่ ใดการเรียนการสอนก็ขาดประสิทธิภาพ ครตู ้องใชว้ ธิ กี ารและเคร่ืองมือการประเมินที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การซักถาม การระดมความคิดเห็นเพอื่ ใหไ้ ดม้ ติข้อสรปุ ของประเด็นทก่ี าหนด การใช้แฟ้มสะสมงาน การใช้ภาระงาน ที่เน้นการปฏิบัติ การประเมนิ ความร้เู ดิม การให้ผู้เรยี นประเมินตนเอง การให้เพื่อนประเมินเพื่อน และการใช้เกณฑ์ การให้คะแนน (Rubrics) สิ่งสาคัญท่ีสุดในการประเมินเพ่ือพัฒนาคือการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนในลักษณะ คาแนะนาทเ่ี ชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ทาให้การเรียนรู้พอกพูน แก้ไขความคิด ความเข้าใจเดิมท่ีไม่ถูกต้อง ตลอดจนการให้ผูเ้ รียนสามารถตง้ั เปา้ หมายและพัฒนาตนได้ ในการประเมินเพ่ือตัดสนิ ผลการเรียนที่ดีต้องให้โอกาส ผู้เรียนแสดงความรู้ความสามารถด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพื้นฐานของเกณฑ์ผลการปฏิบัติ มากกว่าใช้เปรียบเทียบระหว่างผู้เรยี น 5. คาแนะนาบทบาทครปู ลายทางในการจัดการเรยี นรู้ ครปู ลายทางควรมีบทบาทการสอนคู่ขนานกับครูต้นทางในการกากับดูแลช่วยเหลือนักเรียนในทุกขั้นตอน การสอน ดังน้ี 1) ขนั้ เตรียมตวั กอ่ นสอน (1) ศึกษาทาความเข้าใจคาช้ีแจงและทาความเข้าใจเช่ือมโยง ทั้งเป้าหมาย กิจกรรมและการวัดผล และประเมนิ ผลระหว่างหนว่ ยการเรยี นร้กู ับแผนการจัดการเรยี นรู้รายชั่วโมง (2) ศึกษาคน้ ควา้ ความรเู้ พมิ่ เติม จากแหล่งเรียนรู้ หนว่ ยงาน องคก์ รท่ีให้ความรู้ท่ีเช่ือถือได้ รวมท้ัง เทคนิคการจัดการเรยี นรู้เพือ่ พัฒนาความสามารถของผู้เรียนอย่างรอบดา้ น

ฐ (3) ปรับ/ประยุกต์หรือเพิ่ม เป้าหมายท้ังเน้ือหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะท่ีเป็นจุดเน้น และที่เป็นปัจจุบันตามบริบทของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู้ ตามศักยภาพของผูเ้ รียน และตามสภาพจริง (4) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัพโหลดล่วงหน้าเพ่ือทาความเข้าใจการจัดกิจกรรม Power Point และสื่อต่าง ๆ ท่ีครูใช้ประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกิจกรรมในขั้นตอนช่วงการปฏิบัติ ท้ังด้านวิธีการ สื่อท่ีใช้และชว่ งเวลาของการทาแต่ละกิจกรรมเพอ่ื นามาวเิ คราะห์และหาแนวทางเตรียมนักเรียน/ช่วยเหลือส่งเสริม/ อานวยความสะดวกนักเรียนตามบริบทของห้องเรียนของตนให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพแ ละเต็ม ตามศกั ยภาพ (5) เตรยี มใบงาน (ท่ีคดั เลอื กสาหรบั มอบหมายให้นักเรียนได้ทาตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมท้ัง การเตรยี มอปุ กรณต์ ามระบใุ นแผนฯและ/หรอื ทป่ี รากฏในคลปิ (ในกรณมี กี ารปรบั เปล่ียนเพม่ิ เติม) (6) ตดิ ตามข้อมูลรายละเอยี ดการจัดกิจกรรมในช่วงการปฏิบัติตามกาหนดการสอนที่มีรายละเอียด ของสื่อการสอน ใบงาน ใบความรู้ บนเว็บไซต์ www.dltv.ac.th 2) ขน้ั การจดั การเรยี นรู้ (1) สร้างการมสี ่วนรว่ มของนักเรยี นในการทากิจกรรม เช่น กระตุ้นให้นกั เรยี นคดิ ตอบคาถามของครู ตน้ ทาง ฟังเฉลยและชว่ ยเสรมิ /อธิบาย/ในสิง่ ที่นักเรยี นยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ชมเชย/ใหก้ าลงั ใจหากนกั เรยี นทาได้ดี (2) ให้ความช่วยเหลอื นักเรียนท่ีตามไม่ทัน เช่นอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ต่อไป อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (3) กากับดูแลใหม้ วี ินยั ในการเรยี นเชน่ ไมเ่ ลน่ หรือพูดคยุ กัน ปฏิบัตติ ามคาสัง่ ในการทากิจกรรม ฯลฯ (4) อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ เชน่ จดั เตรียมสอ่ื การเรียนรู/้ อุปกรณ์ (5) สงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียนเช่น คุณลักษณะผเู้ รียน, สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้/ การปฏิบัติงาน ความรู้ในบทเรียน และบันทึกข้อมูลตามแนวทางประเมินที่แนะนาไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เพอ่ื นาข้อมลู ไปพัฒนานกั เรียนและให้ความชว่ ยเหลือนกั เรียนท้งั ชัน้ /กลมุ่ /รายบคุ คลตามกรณี 3) ขน้ั การปฏบิ ตั ิ (1) ทบทวนขั้นตอนการทากิจกรรมตามท่ีครูต้นทางแนะนา และตามข้อแนะนาการปฏิบัติที่ระบุ ใน PowerPoint ตรวจสอบความเขา้ ใจ และเตรยี มนกั เรียนกอ่ นทากิจกรรม (การแบง่ กลุม่ ฯลฯ) (2) กากบั ให้การทากจิ กรรมเปน็ ไปตามลาดบั เวลาตามแนวทางท่ีระบบุ น PowerPoint (3) ให้ความชว่ ยเหลือนกั เรยี นในระหว่างการทากิจกรรม (4) เตรียมพรอ้ มนักเรยี นสาหรับกิจกรรมในข้ันตอนสรุปการเรียน (ถ้ามี) เช่น การสรุปผลปฏิบัติงาน เพอื่ เทยี บเคียงกบั ผลงานท่ีนกั เรียนต้นทางจะนาเสนอ เป็นตน้

ฑ 4) ขั้นสรปุ (1) กากับนกั เรียนใหม้ สี ว่ นร่วมในการเฉลยใบงาน/สรปุ ผลการทากจิ กรรม ฯลฯ (2) ทบทวนประเด็นสาคัญท่ีมกี ารสรุปทา้ ยชัว่ โมง และงาน/ใบงานที่ครูต้นทางมอบหมายให้ทาเป็น การบ้าน/หรือใบงานทคี่ รูปลายทางได้เลอื กมาใช้กบั ช้นั เรยี นของตน (3) จัดให้นกั เรยี นไดท้ าแบบประเมนิ ตามระบใุ นหัวข้อ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (เฉพาะหลังจบ แตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้และคร่งึ /ปลายภาคเรียน) 5 ) การบนั ทกึ ผลหลังสอน (1) บันทกึ การจัดการเรยี นรู้ของตนเอง โดยใช้ข้อมลู จากแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนระหว่างเรียน และแบบประเมนิ ตนเอง บันทกึ การเรยี นรู้ของนักเรียนเพ่ือวิเคราะห์เทคนิค หรือวิธีการใด ท่ีทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มคี วามรู้ มที กั ษะ และคณุ ลักษณะตามจดุ ประสงค์ (2) บนั ทึกสาเหตุของความสาเร็จ อุปสรรค และ/หรือขอ้ จากัดที่เกดิ ข้ึน เชน่ เทคนิค หรือวิธีการใด การบริหารจัดการชนั้ เรียน การจัดบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมอย่างไร ฯลฯ ท่ีทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความรู้ มีทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค์ โดยใช้คาถามที่ให้ไว้ใน “คาถามบันทึกผลหลังสอนสาหรับครูปลายทาง” (ดภู าคผนวก ค.) เปน็ แนวทางในการยอ้ นคดิ ไตรต่ รองสิง่ ท่เี กิดขึน้ และนาไปบนั ทกึ ผลหลงั สอนของชว่ั โมงน้นั ๆ (3) วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ผลจากขอ้ มลู ตามปญั หา/ความสาเรจ็ ทเ่ี กดิ ข้นึ และเสนอแนวทางการปรบั ปรุง เพ่อื นามาพฒั นาการจดั การเรียนรู้ และช่วยเหลอื /สง่ เสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ในครั้งต่อไป รวมท้ังนาไปใช้ เปน็ ข้อมลู เพื่อพฒั นาเป็นงานวจิ ัยในช้ันเรยี นต่อไป

ฒ รหัสวชิ า ศ14101 คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 จานวน 1 หนว่ ยกิต รายวชิ า ทศั นศลิ ป์ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ เวลา 40 ชั่วโมง ทัศนศิลป์ ศึกษารูปรา่ ง รปู ทรง ในธรรมชาติและงานทศั นศิลป์ เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พ้ืนผิวและพ้ืนท่ีว่าง อิทธิพล ของวรรณะสีอุ่น-เย็น การใช้สีวรรณะอุ่น-เย็น วาดภาพถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์งานภาพพิมพ์ และการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี การจัดระยะความลึก น้าหนัก และแสงเงาในการวาดภาพ ดนตรี ศกึ ษาประโยคเพลงอยา่ งง่าย วเิ คราะหป์ ระเภทของเครื่องดนตรีที่ใชใ้ นเพลงท่ีฟัง ระบุทิศทางการเคลื่อนที่ ขึ้น–ลง งา่ ย ๆ ของทา้ นอง รปู แบบ จังหวะและความเร็วของจังหวะในเพลง อ่านและเขียนโน้ตดนตรีไทยและสากล ร้องเพลงใช้ช่วงเสียงที่เหมาะสม พร้อมท้ังใช้ดนตรีสื่อเรื่องราว การใช้และการเก็บเคร่ืองดนตรี รู้แหล่งที่มา และความสัมพันธ์ของวิธีชีวิตไทย ท่ีสะท้อนในดนตรีและเพลงท้องถิ่น และความส้าคัญในการอนุรักษ์ส่งเสริม วัฒนธรรมทางดนตรี นาฏศิลป์ ศึกษาฝึกทักษะพ้ืนฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้สื่อความหมายและอารมณ์โดยใช้ภาษาท่า และนาฏยศัพทห์ รอื ศัพท์ทางการละครงา่ ย ๆ ในการถ่ายทอดเรอ่ื งราว แสดงนาฏศลิ ปเ์ ป็นคู่ เปน็ หมู่ พร้อมท้งั เลา่ สิง่ ท่ี ชน่ื ชอบในการแสดงโดยเน้นจดุ ส้าคัญของเรือ่ งและลักษณะเดน่ ของตัวละคร บอกประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ หรือชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป์กับการแสดงท่ีมาจากวัฒนธรรมอ่ืน ความส้าคัญ ของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศลิ ป์ และเหตผุ ลที่ควรรกั ษาและสบื ทอดการแสดงนาฏศลิ ป์ โดยการใชก้ ระบวนการศึกษาค้นคว้า การบรรยาย การเปรียบเทียบ การอภิปราย การจ้าแนก การฝึกทักษะ การสร้างสรรค์ การร่วมกิจกรรม เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะสร้างสรรค์งาน และสามารถถ่ายทอด เพือ่ การอนุรกั ษ์ ตระหนักถึงคณุ ค่าของนาฏศลิ ป์ทถ่ี อื เปน็ เอกลักษณป์ ระจ้าชาติ รหัสตวั ช้ีวัด ศ ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ป.4/5 , ป.4/6 , ป.4/7 , ป.4/8 , ป.4/9 ศ ป.4/1 , ป.4/2 ศ ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ป.4/5 , ป.4/6 , ป.4/7 ศ ป.4/1 , ป.4/2 ศ ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ป.4/5 ศ ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 รวมทง้ั หมด 29 ตวั ช้วี ดั

ณ รหสั วิชา ศ1๔101 มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต รายวิชา ทศั นศลิ ป์-ดนตรี-นาฏศิลป์ รวมเวลา ๒๐ ชวั่ โมง สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจาวนั ตวั ชวี้ ัด ป.๔/๑ เปรยี บเทียบรปู ลกั ษณะของรูปรา่ ง รปู ทรงในธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม และงานทัศนศลิ ป์ ป.๔/๒ อภิปรายเกยี่ วกับอทิ ธพิ ลของสวี รรณะอุน่ และสวี รรณะเย็นท่ีมีตอ่ อารมณข์ องมนุษย์ ป.๔/๓ จาแนกทศั นธาตุของสิง่ ตา่ ง ๆ ในธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง รปู ทรงพ้ืนผวิ และพน้ื ท่ีวา่ ง ป.๔/๔ มีทักษะพื้นฐานในการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์สรา้ งสรรคง์ านพิมพ์ภาพ ป.๔/๕ มที กั ษะพน้ื ฐานในการใช้วัสดุ อปุ กรณ์สรา้ งสรรคง์ านวาดภาพระบายสี ป.๔/๖ บรรยายลักษณะของภาพโดยเน้น เร่ืองการจดั ระยะ ความลึก น้าหนกั และแสงเงาในภาพ ป.๔/๗ วาดภาพระบายสี โดยใช้สวี รรณะอนุ่ และสีวรรณะเยน็ ถ่ายทอดความรู้สึกและจนิ ตนาการ ป.๔/๘ เปรยี บเทยี บความคดิ ความร้สู กึ ที่ถ่ายทอดผ่านงานทัศนศลิ ปข์ องตนเองและบุคคลอน่ื ป.๔/๙ เลอื กใชว้ รรณะสเี พอ่ื ถ่ายทอดอารมณ์ ความรสู้ กึ ในการสร้างงานทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งานทัศนศิลป์ท่เี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล ตัวช้ีวดั ป.๔/๑ ระบุ และอภปิ รายเกย่ี วกับงานทัศนศิลปใ์ นเหตกุ ารณ์ และงานเฉลมิ ฉลองของวัฒนธรรมในท้องถ่นิ ป.๔/๒ บรรยายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ท่ีมาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ สาระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคดิ ต่อดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวัน ตัวชีว้ ดั ป.๔/๑ บอกประโยคเพลงอย่างง่าย ป.๔/๒ จาแนกประเภทของเคร่ืองดนตรีทใี่ ชใ้ นเพลงทฟ่ี ัง ป.๔/๓ ระบุทศิ ทางการเคลือ่ นทขี่ น้ึ –ลงง่าย ๆ ของทานอง รปู แบบจังหวะและความเร็วของจงั หวะในเพลงทีฟ่ ัง ป.๔/๔ อ่าน เขยี นโน้ตดนตรไี ทยและสากล ป.๔/๕ ร้องเพลงโดยใช้ชว่ งเสียงท่ีเหมาะสมกบั ตนเอง

ด ป.๔/๖ ใช้และเก็บเครอ่ื งดนตรีอย่างถกู ต้องและปลอดภยั ป.๔/๗ ระบวุ ่าดนตรสี ามารถใชใ้ นการสอ่ื เรอื่ งราว มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี ทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิน่ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล ตวั ช้วี ัด ป.๔/๑ บอกแหลง่ ทม่ี าและความสัมพนั ธข์ องวถิ ชี วี ิตไทย ท่ีสะท้อนในดนตรี และเพลงทอ้ งถ่นิ ป.๔/๒ ระบุความสาคัญในการอนรุ กั ษส์ ง่ เสริมวัฒนธรรมทางดนตรี สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศลิ ปถ์ า่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวัน ตัวช้วี ัด ป.๔/๑ ระบทุ ักษะพื้นฐานทางนาฏศิลปแ์ ละการละครท่ีใช้ส่อื ความหมายและอารมณ์ ป.๔/๒ ใชภ้ าษาท่าและนาฏยศัพทห์ รอื ศพั ท์ทางการละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเรอื่ งราว ป.๔/๓ แสดง การเคลอื่ นไหวในจังหวะตา่ ง ๆ ตามความคดิ ของตน ป.๔/๔ แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ และหมู่ ป.๔/๕ เล่าส่งิ ทีช่ ่ืนชอบในการแสดงโดยเน้นจุดสาคัญของเร่อื งและลกั ษณะเดน่ ของตัวละคร มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลปท์ ี่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล ตัวช้ีวดั ป.๔/๑ อธบิ ายประวัติความเปน็ มาของนาฏศิลป์ หรือชุดการแสดงอยา่ งงา่ ย ๆ ป.๔/๒ เปรียบเทยี บการแสดงนาฏศลิ ปก์ บั การแสดงทม่ี าจากวฒั นธรรมอ่นื ป.๔/๓ อธิบายความสาคญั ของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศลิ ป์ ป.๔/๔ ระบุเหตผุ ลที่ควรรกั ษา และสืบทอดการแสดงนาฏศลิ ป์

ต โครงสร้างรายวชิ า ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ จานวน ๐.๕ หน่วยกติ รหัสวิชา ศ๑๔๑๐๑ รายวิชา ทัศนศลิ ป์ ดนตรี-นาฏศิลป์ ภาคเรียนท่ี ๑ สาระทศั นศิลป์ รวมเวลา ๒๐ ชวั่ โมง หน่วย ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา น้าหนัก ท่ี (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ กอ่ รา่ งสร้างศิลป์ ตวั ช้วี ัด ๕ ๑๒ มฐ. ศ ๑.๑ ทศั นธาตุ ธาตุแหง่ การมองเหน็ ป.๔/๑ หรอื ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ทสี่ าคัญ ป.๔/๓ ในงานทัศนศิลป์ เราสามารถ นาสว่ นประกอบแตล่ ะอย่ามาสรา้ ง เป็นงานทัศนศลิ ป์ได้ในหลาย รปู แบบ ซึง่ ก็จะใหค้ วามรสู้ ึกใน การมองเหน็ ท่ีแตกต่างกนั ไป ๒ แตม้ สวี ิเคราะหศ์ ิลป์ มฐ.ศ ๑.๑ สมี ีอิทธิพลในการถา่ ยทอด ๕ ๑๓ ป.๔/๒ อารมณค์ วามรู้สกึ ได้ ในการสรา้ งสรรค์ ป.๔/๗ งานทศั นศิลปส์ จี งึ เปน็ ส่วนสาคญั ป.๔/๘ ในการส่ือสารความหมายของงานได้ มฐ. ศ ๑.๒ งานทัศนศลิ ป์ในทอ้ งถ่นิ ส่วนใหญ่ ป.๔/๑ เกดิ ข้นึ จากความเป็นอยู่ วฒั นธรรม ประเพณขี องแตล่ ะภมู ภิ าค แต่ละ ทอ้ งถิ่น ชุมชน ซ่งึ จะมลี ักษณะที่ แตกตา่ งกันออกไป สาระดนตรี มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา น้าหนกั หน่วยท่ี ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน องคป์ ระกอบของดนตรี ประกอบ ๓ ดนตรีกับชีวติ ศ ๒.๑ ป.๔/๑ ไปด้วย จังหวะ ทานอง และประโยค ๕ ๑๓ ป.๔/๒ ของเพลง ประกอบรวมกนั เปน็ บท ป.๔/๓ เพลง ทาใหเ้ กิดการส่ือสารอารมณ์ท่ี ป ๔/๔ แตกตา่ งกันไป เครือ่ งหมายสญั ลกั ษณ์ ป.๔/๕ ทางดนตรีจะทาใหส้ ามารถบนั ทึก ป.๔/๖ โนต้ เพลงน้นั ๆไดถ้ ูกตอ้ ง และเขา้ ใจ ป.๔/๗ จงั หวะ ทานองของเพลง สามารถรอ้ ง และบรรเลงดนตรี การสอื่ อารมณข์ อง ศ ๒.๒ ป.๔/๑ เพลงการรอ้ งเพลงทถี่ กู ตอ้ งตามหลกั ป.๔/๒ และวธิ กี ารร้องเพลงจะทาใหบ้ ทเพลง มีความไพเราะน่าฟงั

ถ สาระนาฏศิลป์ หน่วย ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนัก ที่ ตวั ชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน ๔ ภาษานาฏศลิ ป์ ศ ๓.๑ ป.๔/๑ ศกึ ษานาฏยศพั ทแ์ ละภาษา ๕ ๑๒ ป.๔/๒ ทา่ ทางนาฏศิลป์ไทย เป็นท่าทางท่ี ป.๔/๓ ใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ไทยเพ่อื สอ่ื ป.๔/๔ ถงึ ความหมาย อารมณ์ ความรสู้ กึ ป.๔/๕ ของการแสดงหรือบทเพลงใหผ้ ชู้ ม ศ ๓.๒ ป.๔/๑ ไดเ้ ข้าใจซาบซง้ึ และสนุกสนานไป ป.๔/๒ กับการแสดง และยังร่วมอนุรกั ษ์ ป.๔/๓ นาฏศลิ ปท์ เ่ี ป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ ป.๔/๔ รวมตลอดภาคเรยี น 20 ๕๐

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื ง กอ่ รา่ งสรา้ งศลิ ป์ ๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ก่อรา่ งสร้างศิลป์

๒ คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 (ศลิ ปะ ป.4) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ ก่อร่างสรา้ งศลิ ป์ รหัสวิชา ศ๑๔๑๐๑ รายวชิ า ศลิ ปะ (ทัศนศิลป์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๕ ชัว่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั สาระ ทศั นศลิ ป์ มาตรฐานศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจาวัน ตัวช้วี ดั ศ ๑.๑ ป.๔/๑ เปรียบเทียบรปู ลกั ษณะของรูปร่าง รปู ทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ มและงานทศั นศลิ ป์ ศ ๑.๑ ป.๔/๓ จาแนกทศั นธาตุของส่งิ ตา่ ง ๆ ในธรรมชาติส่ิงแวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่องเส้น สี รปู รา่ ง รปู ทรงพนื้ ผิว และพืน้ ทว่ี ่าง ศ ๑.๑ ป.๔/๖ บรรยายลกั ษณะของภาพโดยเนน้ เรือ่ งการจัดระยะ ความลึก นา้ หนกั และแสงเงาในภาพ ศ ๑.๑ ป.๔/๘ เปรียบเทยี บความคดิ ความรูส้ กึ ทถี่ ่ายทอดผา่ นงานทัศนศิลปข์ องตนเองและบุคคลอนื่ ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ทัศนธาตุ ธาตุแหง่ การมองเหน็ หรอื ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ทส่ี าคัญในงานทัศนศลิ ป์ เราสามารถนาสว่ นประกอบ แตล่ ะอยา่ มาสร้างเป็นงานทัศนศลิ ป์ไดใ้ นหลายรูปแบบ ซง่ึ กจ็ ะให้ความรสู้ ึกในการมองเห็นทีแ่ ตกต่างกันไป ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ - ความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั ทศั นธาตุ รปู รา่ ง รปู ทรง เพือ่ นามาถา่ ยทอดเปน็ งานทัศนศิลป์ ทกั ษะ/กระบวนการ - สรา้ งสรรค์ผลงานทัศนศลิ ป์จากการใช้ทักษะพื้นฐานโดยนาความรู้เรื่องทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง การจดั ระยะ น้าหนักแสงและเงา มาสร้างเปน็ ผลงานทศั นศิลป์ เจตคติ - ทัศนคติท่ีดีตอ่ งานทศั นศลิ ป์ มองเหน็ คณุ คา่ และความสาคญั ของงานทัศนศลิ ป์ ๔. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง ก่อรา่ งสร้างศลิ ป์ ๓ ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรสู้ กึ และทศั นะ ของตนเอง ๕.คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ - มวี นิ ัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุง่ มน่ั ในการทางาน - มีจติ ธารณะ ในการชว่ ยเหลอื และแบง่ ปนั วสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการทางาน ๖.การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน - ภาพวาดระบายสี เกณฑก์ ารประเมนิ ผลชน้ิ งานหรือภาระงาน ประเมินผลงาน : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธิบายคุณภาพ น้าหนกั คะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง เกณฑ์ 5 4 3 2 1. การวางแผน การปฏิบตั งิ านอย่าง การปฏิบตั งิ านอย่าง การปฏบิ ัตงิ านอยา่ ง ไมม่ ีการวางแผนใน ก่อนการปฏบิ ตั ิ การปฏบิ ตั งิ านใหม้ ี ชิ้นงาน มลี าดับขน้ั ตอน มลี าดับขั้นตอน มีลาดับขนั้ ตอน ลาดับขัน้ ตอน และไม่ควบคมุ เวลา 2. ความถกู ตอ้ ง สามารถควบคุม สามารถควบคุมเวลา สามารถควบคมุ เวลา การปฏบิ ัตงิ าน สมบรู ณค์ รบถ้วน ทางานไม่ตรงตาม ของช้นิ งาน เวลาการทางานได้ ได้ แต่แบง่ เวลา ได้ แต่แบง่ เวลา หัวขอ้ หรือคาชีแ้ จง ท่กี าหนด 3. ความประณีต อย่างเหมาะสม ผดิ พลาดเลก็ นอ้ ย ผิดพลาด สะอาดสวยงาม มคี วามสรา้ งสรรค์ และดึงดูดใจ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สวยงาม แต่มีการ ลอกเลยี นแบบ อยา่ งถกู ตอ้ งตาม ถูกตอ้ งตามหวั ข้อหรอื ถูกต้องตามหวั ขอ้ ทาให้การนาเสนอ ไมน่ ่าสนใจ หวั ข้อหรือคาชีแ้ จง คาชแี้ จงกาหนด หรอื คาชแ้ี จงกาหนด กาหนดครบถ้วน แตผ่ ดิ พลาดบา้ ง แตผ่ ดิ พลาด สมบรู ณ์ เลก็ นอ้ ย ปานกลาง มีความสรา้ งสรรค์ มีความสร้างสรรค์ มีความสรา้ งสรรค์ สวยงาม สวยงาม สวยงาม ไมล่ อกเลียนแบบ ไมล่ อกเลียนแบบ มีลอกเลยี นแบบ มกี ารนาเสนอที่ มกี ารนาเสนอที่ เล็กนอ้ ย มกี าร น่าสนใจ สะอาด น่าสนใจ แตข่ าดความ นาเสนอทน่ี า่ สนใจ เรียบรอ้ ย สะอาดเรยี บรอ้ ย แตข่ าดความสะอาด เรยี บรอ้ ย

๔ ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1 (ศลิ ปะ ป.4) น้าหนกั คะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง เกณฑ์ 5 43 2 4. การสง่ งานตรง สามารถทางาน สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ ไม่สง่ งานตามเวลา สมบรู ณ์ สง่ ได้แต่ไม่ สมบรู ณ์ ส่งไดแ้ ต่ไม่ ที่กาหนดทงั้ สามครั้ง ตามเวลาทก่ี าหนด เสร็จสมบูรณ์ สง่ ได้ ตามเวลาทก่ี าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด ตรงตามเวลาท่ี ภายในชัน้ เรยี นใน ภายในช้ันเรียนใน กาหนดภายใน คร้ังแรก ตอ้ งมีการนัด ครง้ั แรก ต้องมีการ หมายใหส้ ่งในครง้ั นดั หมายใหส้ ่งในครง้ั ชั้นเรียนได้ ถัดไป ท่ี 3 เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ดีมาก ๑๖-๒๐ ดี ๑๑-๑๕ พอใช้ ๖-๑๐ ๑-๕ ควรปรับปรุง หมายเหตุ ระดบั ดขี ้นึ ไปจงึ ถือว่าผ่านเกณฑ์

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง กอ่ ร่างสรา้ งศลิ ป์ ๕ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง เส้น เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ เร่อื ง ก่อรา่ งสร้างศิลป์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ รายวชิ าศลิ ปะ (ทัศนศลิ ป์) 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคิดตอ่ งานศลิ ปะอย่างอิสระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน ป. ๔/๓ จาแนกทศั นธาตุของสง่ิ ตา่ ง ๆ ในธรรมชาติส่ิงแวดล้อมและงานทัศนศลิ ปโ์ ดยเน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง รปู ทรงพนื้ ผิว และพื้นทว่ี ่าง ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เส้น คือ จุดที่เรียงต่อกันเป็นจานวนมาก มีทิศทางไปในทิศทางใดทิศทางหน่ึง เกิดจากการขูด ขีด เขียน ผสู้ ร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์จะต้องเขา้ ใจพน้ื ฐานการใช้เสน้ เพ่อื ส่ืออารมณค์ วามรู้สกึ ของแต่ละเส้น ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - อธบิ ายความหมายและยกตัวอย่างทัศนธาตุ เรอื่ งเส้น 3.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) - สรา้ งสรรค์งานจากการวาดเสน้ ให้เกิดความรสู้ ึก 3.3 ดา้ นคุณลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) - นักเรียนต้งั ใจทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย - นักเรยี นทางานดว้ ยความเพยี รพยายาม อดทนเพอ่ื ทาใหเ้ สร็จตามเปา้ หมาย - นกั เรียนมีความรับผิดชอบส่งงานตรงตามเวลาที่กาหนด - นักเรียนรกั ษาและเหน็ คณุ คา่ ของอุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการทางาน ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ ทศั นธาตุ ๔.๒ เทคนิคการใชเ้ ส้นในงานทัศนศลิ ป์ ๕. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ และทศั นะของตนเอง ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรยี นรู้ ๖.๒ ม่งุ มนั่ ในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรียนรู้

๖ การจดั กิจกรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรีย รายวิชา ศิลปะ (ทัศนศลิ ป)์ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ ลาดับ ขอบเขตเนอื้ หา ขั้นตอนการจดั เวลา กิจกรร ท่ี /จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทีใ่ ช้ ๑ ขน้ั นา ๑๐ นาที 1. ครเู ปิดเพลง S และใหน้ ักเรยี นดบู Starry night แล นักเรียนเมอ่ื เหน็ ภ ๒ 1. อธิบายความหมายและ ข้นั สอน 2. ครแู ตง่ ตัวลอ้ เล ยกตวั อย่างทศั นธาตุ พรอ้ มถามคาถาม เรื่อง เสน้ ศิลปนิ คนนี้หรือไม อะไร ๑๐ นาที 1. ครถู ามวา่ นักเร เส้นไปวาดใหเ้ กิด ได้บ้าง 2. ครูอธิบายเพิ่ม จากการวาดจดุ 3. ให้นกั เรียนยก ทีเ่ ห็นในห้องเรยี น

คูม่ ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 (ศลิ ปะ ป.4) รู้ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ยนรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง เสน้ ๑ เรื่อง ก่อรา่ งสรา้ งศลิ ป์ จานวน ๑ ช่วั โมง แนวการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ รมครู กิจกรรมนักเรียน การเรียนรู้ Starry night 1. นกั เรยี นร่วมกนั ดภู าพจาก - บัตรภาพ - ถาม-ตอบ บัตรภาพ บตั รภาพแลว้ รว่ มกนั อธบิ าย - PowerPoint ล้วถามความรู้สึก ความรูส้ กึ เช่น ผลงาน Starry เรอ่ื งเส้น ภาพนนั้ night มลี ายเส้นทใ่ี หค้ วามรสู้ กึ เคลอื่ นไหว ลยี นแวนโกะห์ 2. นกั เรยี นตอบคาถาม เชน่ มนกั เรียนวา่ รจู้ กั รู้จัก/ไมร่ ู้จกั ม่ ศลิ ปนิ ชอ่ื รียนสามารถนา 1. นกั เรยี นตอบ คาถามวา่ เสน้ - สมดุ วาดเขยี น - แบบประเมนิ ด ความรสู้ กึ ใด ใหค้ วามรู้สึกแตกต่างกัน เช่น - PowerPoint ชน้ิ งาน เส้นโคง้ ใหค้ วามรสู้ กึ เคลอ่ื นไหว เรือ่ งเสน้ มเตมิ วา่ เสน้ เกดิ 2. นกั เรียนตอบว่า มีเสน้ ตรง ในไมบ้ รรทดั ใหค้ วามรสู้ ึก กตวั อยา่ งเส้น แข็งแรง น

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง กอ่ รา่ งสร้างศลิ ป์ ลาดบั ขอบเขตเนอื้ หา ข้ันตอนการจดั เวลา กจิ กรร ท่ี /จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทีใ่ ช้ 4. ครูชแ้ี จงขั้นตอน ผลงานจากเส้น โด ลงในสมุดวาดเขยี สรี ะบาย 5. ครยู กตวั อยา่ ง 2. สรา้ งสรรคผ์ ลงานจาก ข้ันปฏบิ ตั ิ ๓๐ นาที ครทู าสลากความ การวาดเส้นใหเ้ กดิ ความรสู้ ึก อ่อนโยน เคลือ่ นไ สงบ เป็นตน้ ให้น แล้ววาดเสน้ ตามส 3 3. มีเจตคติทดี่ ีตอ่ งาน ข้นั สรปุ ๑๐ นาที 1. ครวู ิจารณผ์ ลง ทัศนศลิ ป์ พรอ้ มชแ้ี นะแนวทา แกไ้ ข 2. ครชู แี้ จงการเต มาเรยี นในสปั ดาห

๗ แนวการจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ รมครู กจิ กรรมนกั เรยี น นการสร้างสรรค์ 3. นกั เรยี นฝึกลากเสน้ แบบ ดยใช้ดนิ สอวาด ต่าง ๆ ด้วยดนิ สอ และดนิ สอสี ยนและใช้ดนิ สอ งผลงานของครู มรู้สกึ ต่าง ๆ เชน่ นักเรียนทากจิ กรรม ไหว รุนแรง (สร้างสรรคผ์ ลงานจากเสน้ นักเรียนสุ่มจับ ตามความรสู้ กึ ทค่ี รกู าหนดให้ สลากที่จบั ได้ โดยการจบั สลาก) งานนกั เรียน 1. นักเรียนนาเสนอผลงาน - การถาม-ตอบ ทางการปรับปรงุ 2. นักเรยี นอธบิ ายความรสู้ ึก หรือความประทบั ใจจาก ตรยี มอปุ กรณ์ ผลงานที่นักเรียนทา พรอ้ ม หห์ นา้ บอกแนวทางและการนาไปใช้ ในผลงานครั้งหน้า

๘ ค่มู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (ศลิ ปะ ป.4) 8. สอื่ การเรยี นร/ู้ แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ PowerPoint เรื่องเส้น ๘.๒ ตวั อยา่ งภาพศิลปนิ 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน เกณฑ์การประเมินผลชิน้ งานหรือภาระงาน ประเมนิ ผลงานเรอื่ งเสน้ : กาหนดเกณฑ์ แนวในการให้คะแนน และคาอธบิ ายคณุ ภาพ นา้ หนกั คะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ 5 4 3 2 1. การวางแผน การปฏิบตั ิงานอยา่ ง การปฏิบัตงิ านอย่าง การปฏิบตั ิงานอย่าง ไมม่ กี ารวางแผนในการ ก่อนการปฏบิ ัติ มลี าดับขน้ั ตอน มลี าดบั ขนั้ ตอน มลี าดบั ขัน้ ตอน ปฏิบัติงานให้มลี าดบั ขั้นตอน และไม่ควบคมุ ชน้ิ งาน สามารถควบคมุ สามารถควบคมุ สามารถควบคมุ เวลา เวลาการปฏิบตั ิงาน เวลาการทางานได้ เวลาได้ แตแ่ บง่ เวลา ได้ แต่แบง่ เวลา ทางานไมต่ รงตาม อย่างเหมาะสม ผดิ พลาดเลก็ นอ้ ย ผิดพลาด หวั ขอ้ หรือคาช้ีแจง ที่กาหนด 2. ความถูกต้อง สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สมบูรณค์ รบถ้วน อยา่ งถกู ตอ้ งตาม ถูกตอ้ งตามหวั ข้อ ถูกต้องตามหวั ข้อหรอื มคี วามสร้างสรรค์ สวยงาม แต่มี ของชน้ิ งาน หวั ขอ้ หรอื คาชีแ้ จง หรอื คาชแี้ จงกาหนด คาชี้แจงกาหนด แต่ การลอกเลียนแบบ ทาให้การนาเสนอ กาหนดครบถว้ น แต่ผิดพลาดบ้าง ผิดพลาดปานกลาง ไม่น่าสนใจ สมบูรณ์ เลก็ น้อย ไมส่ ง่ งานตามเวลา ท่กี าหนดทัง้ สามคร้ัง 3. ความประณตี มคี วามสร้างสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ มคี วามสรา้ งสรรค์ สะอาดสวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม มีลอกเลียน และดงึ ดูดใจ ไม่ลอกเลียนแบบ ไมล่ อกเลียนแบบ แบบเลก็ น้อย มีการนาเสนอท่ี มีการนาเสนอที่ มกี ารนาเสนอ 4. การสง่ งานตรง น่าสนใจ สะอาด น่าสนใจ แตข่ าด ทนี่ า่ สนใจ แตข่ าด ตามเวลาท่ีกาหนด เรยี บร้อย ความสะอาด ความสะอาดเรยี บร้อย เรยี บรอ้ ย สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ สมบรู ณ์ ส่งได้ตรง สามารถทางานเสรจ็ สมบูรณ์ ส่งไดแ้ ตไ่ ม่ ตามเวลาทีก่ าหนด สมบูรณ์ สง่ ได้แตไ่ ม่ ตามเวลาท่กี าหนด ภายในชนั้ เรยี นได้ ตามเวลาที่กาหนด ภายในชน้ั เรียนในครง้ั ภายในช้ันเรียนใน แรก ตอ้ งมีการนดั ครั้งแรก ตอ้ งมีการ หมายให้ส่งในคร้งั ท่ี 3 นัดหมายใหส้ ่งใน ครงั้ ถัดไป คะแนนเตม็ 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงช่อื ผูป้ ระเมนิ ...........................................

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 เรือ่ ง กอ่ ร่างสร้างศลิ ป์ ๙ เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ระดบั คุณภาพ ดีมาก ช่วงคะแนน ดี ๑๖-๒๐ ๑๑-๑๕ พอใช้ ๖-๑๐ ควรปรับปรุง ๑-๕ หมายเหตุ ระดบั ดีขึน้ ไปจึงถอื ว่าผ่านเกณฑ์ แบบประเมนิ พฤติกรรม รายการประเมิน ลาดบั ช่อื -นามสกุล มงุ่ มน่ั ตงั้ ใจ เพยี รพยายาม รบั ผดิ ชอบ รกั ษาและเห็น ตรงต่อเวลา ที่ ทางาน อดทน คณุ คา่ ของ อุปกรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔

๑๐ คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 (ศลิ ปะ ป.4) เกณฑ์การประเมนิ พฤติกรรม รายการ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ๓ ๒๑ ประเมินผล ๔ ๑. นักเรียนตงั้ ใจ ผ้เู รยี นมคี วามม่งุ มน่ั ผเู้ รยี นมีความมุง่ มนั่ ผูเ้ รยี นมคี วามมงุ่ มนั่ ผูเ้ รียนไมม่ คี วาม ทางานท่ีไดร้ บั ต้ังใจทางานทไี่ ดร้ บั ตง้ั ใจทางานที่ได้รับ ตั้งใจทางานที่ไดร้ บั ม่งุ มั่นตงั้ ใจทางาน มอบหมาย มอบหมายจนสาเร็จ มอบหมายจนสาเร็จ มอบหมายจนสาเรจ็ ท่ไี ด้รับมอบหมาย ตลอดท้ังคาบ แตม่ คี ุยเลน่ บา้ ง มีคยุ เล่น และไมต่ ้ังใจ จนสาเรจ็ ๒. ผเู้ รยี นทางาน ทางานบ้าง ดว้ ยความเพียร ผู้เรียนทางานด้วย ผเู้ รียนทางานด้วย ผเู้ รียนทางานดว้ ย ผเู้ รยี นไม่มคี วาม พยายาม อดทน ความเพียรพยายาม ความเพยี รพยายาม ความเพยี รพยายาม เพยี รพยายาม เพื่อทาใหเ้ สรจ็ อดทนเพ่อื ทาใหเ้ สรจ็ อดทนเพื่อทาใหเ้ สรจ็ อดทนเพือ่ ทาใหเ้ สร็จ อดทนเพื่อทางาน ตามเปา้ หมาย ตามเปา้ หมายตลอดทัง้ ตามเปา้ หมาย แต่คยุ ตามเป้าหมาย ใหเ้ สรจ็ ตาม คาบ เล่นกนั บ้าง บางครงั้ มคี ุยเลน่ เป้าหมาย ๓. ผ้เู รียนมคี วาม และไม่สนใจงานบ้าง รับผิดชอบสง่ งาน ผ้เู รียนสง่ งานตรงตาม ผู้เรียนสง่ งานชา้ ผเู้ รียนสง่ งานชา้ ผ้เู รียนสง่ งานชา้ ตรงตามเวลาท่ี เวลาที่กาหนด 1 วัน 2 วนั 3 วนั ข้นึ ไป กาหนด ๔. ผู้เรียนรักษา ผ้เู รยี นเกบ็ และดแู ล ผู้เรียนดูแลอปุ กรณท์ ี่ ผเู้ รยี นเกบ็ และดูแล ผู้เรียนไมเ่ กบ็ และ และเห็นคุณคา่ อุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการ ใช้ในการทางานทุก อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการ ไม่ดแู ลอุปกรณ์ที่ ของอปุ กรณ์ทใี่ ช้ ทางานทุกช้ินอย่าง ช้นิ แต่เกบ็ ไม่ ทางานบางชิ้น ใช้ในการทางาน ในการทางาน เรียบรอ้ ย เรียบร้อย ๕. ผู้เรยี นเข้า ผู้เรียนเข้าเรียนตรง ผเู้ รยี นเขา้ เรียนช้า ผเู้ รยี นเข้าเรียนช้า ผเู้ รียนเข้าเรียนช้า เรยี นตรงตอ่ เวลา เวลา 10-15 นาที 15-20 นาที 30 นาทีเปน็ ต้นไป เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ 1-5 ควรปรบั ปรงุ หมายเหตุ ระดบั ดขี ึน้ ไปจึงถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เรอื่ ง ก่อรา่ งสร้างศลิ ป์ ๑๑ 10. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................... ................ ................................................................................................................... ..................................................................... ความสาเร็จ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ...................................................................................................................................................................................... .. ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................ ............................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ........................................................... ขอ้ จากัดการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... ลงช่อื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ ...................................................................................................................................... ................................................... ........................................................................................................................................................................................ ลงช่อื ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๒ ค่มู อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 (ศลิ ปะ ป.4) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๒ เรือ่ ง รปู รา่ งรูปทรง เวลา ๑ ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ เรอื่ ง กอ่ รา่ งสรา้ งศิลป์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ รายวิชา ศิลปะ (ทัศนศลิ ป์) 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวดั ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคดิ ตอ่ งานศลิ ปะอยา่ งอิสระ ชืน่ ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ป. ๔/๑ เปรยี บเทยี บรปู ลกั ษณะของรปู รา่ ง รปู ทรงในธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม และงานทัศนศลิ ป์ ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด รูปร่าง คือ เส้นรอบนอกของวัตถุ คน สัตว์ และส่ิงของ รูปร่างมีลักษณะเป็นสองมิติ คือ กว้างและยาว รปู ทรง คอื โครงสรา้ งของรปู วตั ถุ คน สตั ว์ และส่งิ ของ รูปทรงมีลกั ษณะเปน็ สามมติ ิ คือ กว้าง ยาว และหนา รูปร่าง และรปู ทรงจงึ มีสว่ นสาคญั ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศลิ ป์ เพ่ือสรา้ งความเสมอื นจริงและความมมี ติ ใิ นผลงาน ๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - อธบิ ายความหมายและเปรียบเทยี บความแตกตา่ งของรปู ร่างและรูปทรง 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - สร้างสรรคผ์ ลงานจากการวาดรปู รา่ งและรูปทรง 3.3 ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - นกั เรยี นตง้ั ใจทางานท่ีไดร้ บั มอบหมาย - นักเรียนทางานดว้ ยความเพยี รพยายาม อดทนเพ่อื ทาใหเ้ สรจ็ ตามเปา้ หมาย - นกั เรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบสง่ งานตรงตามเวลาท่กี าหนด - นกั เรยี นรักษาและเหน็ คุณค่าของอุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นการทางาน ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ ทศั นธาตุ ๔.๒ เทคนิคการใช้รปู รา่ งรปู ทรงในงานทศั นศิลป์ ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ๕.๑ ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ ความรูส้ กึ และทัศนะของตนเอง ๖. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๖.๑ ใฝเ่ รยี นรู้ ๖.๒ มงุ่ มั่นในการทางาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง ก่อร่างสรา้ งศลิ ป์ การจัดกิจกรรมการเรียนร แผนการจัดการเรียนรูท้ รายวิชา ศิลปะ (ทัศนศลิ ป)์ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ลาดับ ขอบเขตเนอ้ื หา/ ข้ันตอนการจัด เวลา กิจกรร ที่ จดุ ประสงค์ การเรียนรู้ ท่ีใช้ การเรยี นรู้ ๑ ข้ันนา ๑๐ นาที 1. ครูวาดภาพเก่ีย บนกระดาน เชน่ ภ ก้อนเมฆ พระอาท ลูกบอล ต้นไม้ สัต แล้วถามนกั เรยี นว เห็นรปู ร่าง หรือรูป ๒ 1. อธบิ ายความหมายและ ขัน้ สอน ๔0 นาที 1. ครถู ามวา่ นักเร ยกตวั อยา่ งทศั นธาตุ เรือ่ งเส้น เปรียบเทียบความ ของรปู ร่าง และรปู 2. ครอู ธบิ ายเพ่มิ เ รปู ทรงน้นั มสี ว่ นส สร้างงานทศั นศลิ ป รูปทรง เป็นพนื้ ฐา ภาพตา่ ง ๆ 3. ครูสาธติ การวา รูปทรง และเปรยี บ

๑๓ รู้ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ที่ ๒ เรือ่ ง รปู รา่ ง รูปทรง ๑ เร่ือง ก่อรา่ งสร้างศลิ ป์ จานวน ๑ ชว่ั โมง แนวการจัดการเรยี นรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมนิ รมครู กิจกรรมนักเรยี น การเรียนรู้ ยวกับธรรมชาติ นักเรยี นรว่ มกนั ดภู าพบน - ถาม-ตอบ ภาพทอ้ งฟ้า กระดาน แลว้ ตอบคาถามวา่ ทติ ย์ ภูเขา มีรูปร่าง เช่น รปู ร่างของต้นไม้ ตวต์ า่ ง ๆ กอ้ นเมฆ รูปทรง เชน่ ลกู บอล ว่า นกั เรยี น ปทรงใดบา้ ง รยี นสามารถ 1. นกั เรยี นตอบ คาถามวา่ - สมุดวาดเขยี น - แบบประเมิน มแตกต่าง ช้ินงาน ปทรงไดห้ รอื ไม่ รูปรา่ งรูปทรงน้ันต่างกัน รูปรา่ ง - PowerPoint มแี ค่ความกวา้ ง ความยาว เร่ืองรปู ร่าง เติม วา่ รูปร่าง สาคญั ในการ สว่ นรูปทรงเพิม่ ความลึก ให้มี รปู ทรง ป์ เพราะรปู ร่าง ความหนาบางและมมี ิตมิ ากข้นึ านของการวาด 2. นักเรยี นฝึกวาดภาพรูปร่าง รูปทรง รูปแบบตา่ ง ๆ าดรูปรา่ ง และ 3. นักเรยี นสังเกตและช่วยกนั บเทยี บใหเ้ หน็ ถงึ วิเคราะหค์ วามแตกต่าง

๑๔ ลาดับ ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา กจิ กรร ที่ จดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ การเรียนรู้ ความแตกต่างกนั ข้นั ปฏิบตั ิ ๒0 นาที อธิบายว่า รูปร่างร 2. สร้างสรรค์ลงานจากการ ทีเ่ ปน็ เรขาคณิต ธ วาดเสน้ ใหเ้ กดิ ความรู้สกึ และอิสระ 1. ครูช้ีแจงขน้ั ตอ ผลงาน โดยใหน้ ัก กระดาษในสมุดวา และขีดเส้นแบง่ คร ให้เรียบรอ้ ย 2. ครูอภปิ รายผล แตกตา่ งของรูปรา่ ทศั นศลิ ป์ และกา รูปทรงไปใช้ในการ ผลงาน 3 3. มเี จตคตทิ ด่ี ตี ่องาน ขัน้ สรปุ ๑๐ นาที 1. ครูวิจารณ์ผลง ทัศนศิลป์ พรอ้ มช้แี นะแนวท แกไ้ ข 2. ครชู ีแ้ จงการเต เรียนในสัปดาห์หน

คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ศิลปะ ป.4) แนวการจัดการเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ รมครู กจิ กรรมนักเรยี น พรอ้ มทง้ั รปู ทรงมที ั้ง ธรรมชาติ อนการสรา้ งสรรค์ 1. นักเรยี นทากจิ กรรม - สมุดวาดเขยี น - แบบประเมนิ กเรยี นเตรยี ม วาดภาพรปู รา่ งตา่ ง ๆ ทเี่ ห็น - PowerPoint ชิ้นงาน าดเขียน ตีกรอบ รง่ึ หน้ากระดาษ ในหอ้ งเรยี นเชน่ แจกัน ปากกา - การถาม-ตอบ ล ถงึ ความ ยางลบ โดยวาดแคค่ รึ่งกระดาษ างรปู ทรงในงาน ในฝงั่ ซา้ ย และวาดรูปทรงของ ารนารปู รา่ ง รสรา้ งสรรค์ สงิ่ ทีว่ าดในซ้ายลงในกระดาษ ฝงั่ ขวา 2. นักเรียนอภิปรายผล งความแตกต่างของรปู ร่าง รปู ทรงในงานทศั นศิลป์ และการนารปู รา่ งรูปทรงไปใช้ ในการสร้างสรรค์ผลงาน านนักเรียน 1. นกั เรียนนาเสนอผลงาน ทางการปรบั ปรงุ 2. นกั เรยี นอธิบายความรูส้ ึก ตรียมอปุ กรณม์ า หรอื ความประทบั ใจจากผลงาน นา้ ท่นี กั เรยี นทา พรอ้ มบอก แนวทางและการนาไปใช้ใน ผลงานครง้ั หนา้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง กอ่ ร่างสรา้ งศลิ ป์ ๑๕ 8. สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้ ๘.๑ Power Point เรื่องรปู ร่าง รปู ทรง ๘.๒ ตวั อยา่ งผลงานรปู รา่ ง รูปทรง 9. การประเมินผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน เกณฑ์การประเมนิ ผลช้ินงานหรือภาระงาน ประเมนิ ผลงานเรื่องรูปร่างรปู ทรง : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธิบายคณุ ภาพ น้าหนักคะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ 5 4 3 2 1. การวางแผน การปฏิบัตงิ านอยา่ งมี การปฏบิ ตั งิ าน การปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมี ไม่มีการวางแผนใน ก่อนการปฏบิ ัติ ลาดบั ข้นั ตอน อย่างมลี าดบั ลาดบั ขัน้ ตอน การปฏบิ ตั งิ านให้มี ช้นิ งาน สามารถควบคุมเวลา ข้นั ตอน สามารถ สามารถควบคมุ เวลา ลาดับขัน้ ตอน และ การทางานได้อยา่ ง ควบคุมเวลาได้ แต่ ได้ แต่แบง่ เวลา ไม่ควบคมุ เวลา เหมาะสม แบง่ เวลาผิดพลาด ผิดพลาด การปฏิบัตงิ าน เล็กนอ้ ย 2. ความถกู ต้อง สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ ทางานไมต่ รงตาม สมบรู ณ์ครบถ้วน อยา่ งถกู ตอ้ งตาม ถูกตอ้ งตามหวั ขอ้ ถูกต้องตามหัวข้อ หัวขอ้ หรือคาชแี้ จง ของช้ินงาน หวั ข้อหรือคาชแ้ี จง หรอื คาชีแ้ จง หรือคาชี้แจงกาหนด ที่กาหนด กาหนดครบถ้วน กาหนด แต่ แตผ่ ิดพลาดปาน สมบรู ณ์ ผิดพลาดบ้าง กลาง เล็กนอ้ ย 3. ความประณีต มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ มีความสรา้ งสรรค์ มีความสร้างสรรค์ สะอาดสวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม มลี อกเลียน สวยงาม แตม่ ีการ และดงึ ดดู ใจ ไม่ลอกเลียนแบบ ไม่ลอกเลยี นแบบ แบบเลก็ น้อย ลอกเลยี นแบบ มกี ารนาเสนอท่ี มกี ารนาเสนอ มีการนาเสนอ ทาให้การนาเสนอ น่าสนใจ สะอาด ที่น่าสนใจ แตข่ าด ท่นี า่ สนใจ แตข่ าด ไม่น่าสนใจ เรยี บรอ้ ย ความสะอาด ความสะอาด เรียบรอ้ ย เรยี บรอ้ ย 4. การสง่ งานตรง สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางาน สามารถทางานเสรจ็ ไม่ส่งงานตามเวลา ตามเวลาทก่ี าหนด สมบรู ณ์ ส่งได้ตรง เสร็จสมบูรณ์ สง่ ได้ สมบรู ณ์ ส่งได้แตไ่ ม่ ที่กาหนดทงั้ สามครั้ง ตามเวลาทก่ี าหนด แต่ไม่ตามเวลาที่ ตามเวลาทก่ี าหนด ภายในช้นั เรยี นได้ กาหนดภายในช้นั ภายในช้ันเรยี นใน เรียนในครง้ั แรก ครงั้ แรก ตอ้ งมี ต้องมีการนดั หมาย การนดั หมายใหส้ ่งใน ให้ส่งในคร้ังถัดไป คร้ังที่ 3 คะแนนเต็ม 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงชอื่ ผปู้ ระเมนิ ...........................................

๑๖ คู่มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 (ศลิ ปะ ป.4) เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรบั ปรงุ หมายเหตุ ระดบั ดีข้ึนไปจงึ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ แบบประเมินพฤติกรรม รายการประเมนิ ลาดับ ชือ่ -นามสกลุ มุ่งมัน่ ตงั้ ใจ เพียรพยายาม รับผดิ ชอบ รกั ษาและเหน็ ตรงตอ่ เวลา ท่ี ทางาน อดทน คณุ คา่ ของ อุปกรณ์ ๑๒๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒๓๔

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เร่อื ง ก่อร่างสรา้ งศลิ ป์ ๑๗ เกณฑก์ ารประเมินพฤตกิ รรม รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ประเมินผล ๔ ๓ ๒๑ ๑. นกั เรียนตงั้ ใจ ผ้เู รยี นมคี วามมุ่งมน่ั ผู้เรยี นมีความมุง่ ม่ัน ผเู้ รียนมีความมุ่งม่นั ผู้เรยี นไม่มคี วาม ทางานทไ่ี ดร้ บั ต้ังใจทางานทไี่ ด้รับ ต้งั ใจทางานทไี่ ดร้ บั ต้ังใจทางานทีไ่ ด้รบั มุง่ มน่ั ตั้งใจทางาน มอบหมาย มอบหมายจนสาเร็จ มอบหมายจนสาเรจ็ มอบหมายจนสาเรจ็ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ตลอดท้งั คาบ แตม่ คี ุยเลน่ บา้ ง มีคุยเล่น และไมต่ ัง้ ใจ จนสาเรจ็ ทางานบา้ ง ๒. ผูเ้ รียนทางาน ผู้เรยี นทางานด้วย ผูเ้ รยี นทางานดว้ ย ผเู้ รยี นทางานดว้ ย ผูเ้ รียนไมม่ ีความ ด้วยความเพียร ความเพียรพยายาม ความเพียรพยายาม ความเพียรพยายาม เพยี รพยายาม พยายาม อดทน อดทนเพ่อื ทาใหเ้ สรจ็ อดทนเพื่อทาใหเ้ สร็จ อดทนเพื่อทาใหเ้ สรจ็ อดทนเพื่อทางาน เพือ่ ทาให้เสรจ็ ตาม ตามเปา้ หมายตลอด ตามเป้าหมาย แต่คุย ตามเปา้ หมาย ให้เสรจ็ ตาม เป้าหมาย ท้งั คาบ เลน่ กันบา้ ง บางครงั้ มคี ุยเลน่ เปา้ หมาย และไม่สนใจงานบ้าง ๓. ผเู้ รยี นมีความ ผู้เรยี นสง่ งานตรงตาม ผ้เู รยี นสง่ งานช้า ผู้เรียนสง่ งานช้า ผู้เรียนสง่ งานชา้ รบั ผิดชอบสง่ งาน เวลาท่กี าหนด 1 วัน 2 วัน 3 วันข้ึนไป ตรงตามเวลาที่ กาหนด ๔. ผู้เรียนรกั ษา ผูเ้ รียนเกบ็ และดแู ล ผูเ้ รียนดแู ลอปุ กรณ์ท่ี ผู้เรียนเกบ็ และดแู ล ผู้เรยี นไมเ่ กบ็ และ และเห็นคณุ ค่าของ อุปกรณท์ ี่ใชใ้ น ใชใ้ นการทางานทกุ อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการ ไม่ดแู ลอุปกรณ์ที่ อุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการ การทางานทกุ ช้นิ ชิน้ แต่เก็บไม่ ทางานบางชนิ้ ใช้ในการทางาน ทางาน อยา่ งเรียบร้อย เรยี บรอ้ ย ๕. ผเู้ รียนเขา้ เรยี น ผู้เรยี นเข้าเรียนตรง ผู้เรยี นเขา้ เรยี นชา้ ผ้เู รยี นเข้าเรยี นชา้ ผเู้ รยี นเข้าเรียนช้า ตรงตอ่ เวลา เวลา 10-15 นาที 15-20 นาที 30 นาทเี ปน็ ต้นไป เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ 1-5 ควรปรบั ปรุง หมายเหตุ ระดบั ดีข้ึนไปจงึ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

๑๘ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 (ศิลปะ ป.4) 10. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... ความสาเร็จ ............................................................................................................................. ............................................................ .......................................................................................................................................... ............................................... ........................................................................................................................................................................................ ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .................................................................................................................................................. ...................................... ขอ้ จากดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข ............................................................................................................................................. ............................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... ลงช่อื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผูท้ ่ไี ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ .......................................................................................................................................... ............................................... ........................................................................................................................................................................................ ลงชอื่ ...................................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 เรือ่ ง กอ่ รา่ งสร้างศลิ ป์ ๑๙ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอ่ื ง พนื้ ผวิ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ เร่ือง ก่อรา่ งสร้างศิลป์ รายวิชาศลิ ปะ (ทัศนศิลป)์ 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคดิ ตอ่ งานศิลปะอยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ป. ๔/๓ จาแนกทัศนธาตุของสิง่ ต่าง ๆ ในธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อมและงานทศั นศิลปโ์ ดยเน้นเร่ืองเส้น สี รูปร่าง รูปทรงพืน้ ผวิ และพน้ื ที่ว่าง ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด พื้นผิว หมายถึง ลักษณะภายนอกของวัตถุที่สามารถมองเห็นและสัมผัสได้ ผู้สร้างสรรค์ผลงานพึงคานึง ถงึ พ้ืนผวิ เพื่อให้งานทัศนศลิ ป์นนั้ มีความงดงามและสมจริง ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) - อธิบายความหมายของพนื้ ผิวในงานทศั นศลิ ปไ์ ด้ 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สรา้ งสรรคผ์ ลงานจากการวาดพื้นผวิ 3.3 ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - นกั เรยี นตง้ั ใจทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย - นักเรยี นทางานด้วยความเพียรพยายาม อดทนเพือ่ ทาใหเ้ สร็จตามเปา้ หมาย - นักเรียนมีความรบั ผดิ ชอบส่งงานตรงตามเวลาทก่ี าหนด - นกั เรยี นรักษาและเห็นคุณค่าของอปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการทางาน ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ ทศั นธาตุ ๔.๒ เทคนิคการใช้พื้นผวิ ในงานทศั นศิลป์ ๕. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน ๕.๑ ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความเขา้ ใจ ความรสู้ กึ และทศั นะของตนเอง ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มงุ่ มัน่ ในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

๒๐ การจัดกจิ กรรมการเรียนร แผนการจัดการเรียน รายวชิ า ศลิ ปะ (ทัศนศิลป์) หน่วยการเรยี นรู้ท ลาดับ ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขัน้ ตอนการจดั เวลา ที่ จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทีใ่ ช้ กิจกรร ๑ ข้ันนา ๑๐ นาที 1. ครใู ห้นกั เรียน สัมผัสส่ิงของต่าง ปริศนา แล้วถาม นักเรยี นว่า นักเร ส่ิงของต่าง ๆ มลี อย่างไร 2. ครถู ามนักเรยี สามารถนาลกั ษณ มาสรา้ งสรรคภ์ าพ อย่างไรบ้าง ๒ 1. อธบิ ายความหมายของ ขน้ั สอน ๑0 นาที 1. ครูถามว่านักเ พ้ืนผวิ ในงานทศั นศลิ ปไ์ ด้ หากต้องการวาด วาดกอ้ นหนิ ใหข้ ร ให้มผี วิ นุม่ นักเรีย อย่างไร

คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 (ศลิ ปะ ป.4) รู้ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ นรทู้ ่ี ๓ เร่ือง พ้นื ผิว ท่ี ๑ เร่ือง ก่อร่างสร้างศิลป์ จานวน ๑ ชว่ั โมง แนวการจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมิน - กล่องปริศนา การเรียนรู้ รมครู กิจกรรมนักเรยี น - ถาม-ตอบ - สมดุ วาดเขียน นแต่ละคน 1. นักเรียนร่วมสมั ผสั สง่ิ ของ - PowerPoint - แบบประเมิน ง ๆ ในกลอ่ ง ในกล่องปริศนาและตอบ เรอ่ื ง พ้ืนผิว ชนิ้ งาน - ฟองนา้ มคาถาม คาถามครวู า่ มีพืน้ ผิวตา่ ง ๆ - สีโปสเตอร์ รียนสมั ผสั ทไ่ี ดส้ มั ผสั เชน่ พื้นผวิ ขรุขระ ลกั ษณะพน้ื ผวิ พน้ื ผวิ เรยี บ เปน็ ต้น 2. นักเรียนตอบคาถามวา่ ยนวา่ นกั เรียน สามารถนาพนื้ ผิวแบบต่าง ๆ ณะพ้นื ผิวตา่ ง ๆ ไปใช้สร้างสรรคผ์ ลงานเพ่อื ให้ พวาดได้ เกดิ ความรสู้ กึ ต่าง ๆ ได้ เช่น นาเส้นหยกั มาวาดเรยี งกนั เพื่อใหเ้ ปน็ เส้นของลายตน้ ไม้ ให้ความรู้สกึ ขรขุ ระ เปน็ ต้น เรยี นวา่ 1. นกั เรียนตอบ คาถามว่า ดแก้วน้าให้เรยี บ หากตอ้ งการวาดสงิ่ ของตา่ ง ๆ รขุ ระ วาดตุ๊กตา ให้แสดงถึง ลักษณะพื้นผิว ยนมีวธิ ีการวาด มีวิธีการวาด คือ ใช้เสน้ น้าหนัก และแสงเงา จะทาให้ ภาพมีพื้นผิวท่ีตอ้ งการ

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง ก่อร่างสร้างศลิ ป์ ลาดับ ขอบเขตเน้ือหา/ ข้ันตอนการจัด เวลา ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทีใ่ ช้ กิจกรร 2. ครอู ธบิ ายเพม่ิ นอกจากการใชเ้ ส แสงเงา เพอ่ื ให้เก การใช้สี หรอื ใช้ว ก็สามารถทาใหเ้ ก เชน่ กัน เชน่ การ พมิ พ์ภาพเป็นก้อ ใหค้ วามรู้สกึ ขรขุ ของก้อนอฐิ ไดเ้ ช 3. ครสู าธิตการท จากฟองนา้ ด้วยส 2. สร้างสรรค์ผลงานจาก ขั้นปฏิบัติ ๓0 นาที 1. ครชู ีแ้ จงข้นั ตอ ๓ การวาดพ้นื ผิว สรา้ งสรรคผ์ ลงาน นักเรยี นเตรียมก วาดเขยี น ตีกรอบ โปสเตอร์ รวมถงึ 2. ครอู ภิปรายผล จากการทาภาพพ และการทาพน้ื ผวิ ต่าง ๆ

๒๑ แนวการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ รมครู กจิ กรรมนกั เรียน มเตมิ วา่ 2. นักเรยี นสังเกตและ ส้น น้าหนกั ลองพมิ พ์ภาพจากฟองนา้ กดิ พืน้ ผวิ แลว้ วัสดอุ ่ืน ๆ กดิ พื้นผวิ ได้ รนาฟองนา้ มา อนอิฐ กส็ ามารถ ขระและแขง็ แรง ช่นกนั ทาภาพพมิ พ์ สีโปสเตอร์ อนการ 1. นักเรยี นทากจิ กรรม - สมุดวาดเขียน - แบบประเมิน ช้ินงาน น โดยให้ ทาภาพพิมพ์ฟองนา้ เป็น - PowerPoint ระดาษในสมุด บและผสมสี รปู กาแพงจากกอ้ นอฐิ เรื่อง พน้ื ผิว งเตรยี มฟองนา้ - ฟองนา้ ล พนื้ ผวิ ทไี่ ด้ พิมพฟ์ องน้า - สีโปสเตอร์ วจากเทคนิค 2. นักเรียนอภปิ รายผลถงึ พื้นผิวท่ีได้จากการทาภาพพมิ พ์

๒๒ ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขนั้ ตอนการจัด เวลา กิจกรร ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ 1. ครูวจิ ารณ์ผลง ๔ 3. เจตคติท่ีดีต่องาน ขัน้ สรปุ ๑๐ นาที พรอ้ มชี้แนะแนว ทัศนศิลป์ การปรับปรงุ แกไ้ 2. ครูชแ้ี จงการเต มาเรยี นในสัปดา

คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 (ศลิ ปะ ป.4) แนวการจัดการเรียนรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ รมครู กจิ กรรมนกั เรียน - การถาม-ตอบ งานนกั เรยี น 1. นกั เรยี นนาเสนอผลงาน วทาง 2. นกั เรยี นอธบิ ายความรู้สกึ ไข หรอื ความประทับใจจาก ตรยี มอุปกรณ์ ผลงานท่นี ักเรยี นทา พรอ้ ม าหห์ นา้ บอกแนวทางและการนาไปใช้ ในผลงานครง้ั หน้า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook