คูมอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู (สาํ หรับครผู ูสอน) เพื่อการจดั การเรียนรูโดยใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม กลมุ สาระการเรียนรูสขุ ศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ครัง้ ที่ ๒) โครงการสวนพระองคสมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู (สาํ หรับครผู ูสอน) เพื่อการจดั การเรียนรูโดยใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม กลมุ สาระการเรียนรูสขุ ศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ครัง้ ที่ ๒) โครงการสวนพระองคสมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
ก คำนำ ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสาคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติที่ดีและ ถูกต้อง ๒) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทา ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราช ปณิธานในการสืบสาน รักษา พัฒนาต่อยอดโครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนาการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกด้าน อาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากร และ กระบวนการจัดการศึกษา เพือ่ แก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สรา้ งโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้ ตลอดชีวิตของประชาชนทุกเพศทุกวัย ผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจานวน ๑๕ ช่องสัญญาณไปยัง โรงเรียนตา่ ง ๆ และผู้สนใจทว่ั ประเทศ เพ่อื ให้ประเทศไทยเป็นสงั คมแหง่ ปญั ญามีจติ อาสาในการสรรคส์ ร้างและ พัฒนาประเทศให้มั่นคง การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ครปู ลายทางสามารถดเู ทปการสอนผ่านทางเวป็ ไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTV ของมลู นธิ ิ และมคี ู่มือครแู ละแผนการจดั การเรียนรรู้ ายช่ัวโมงครบทัง้ ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ซึ่งครูปลายทางสามารถปรบั กิจกรรมการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมกับชุมชน ท้องถิ่น วัฒนธรรม และบริบทของแตล่ ะ โรงเรียน คู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ โดยใช้กำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ระดับประถมศึกษำ ภำคเรียนที่ ๑ ฉบับนี้ เป็นกำรปรับปรุงครั้งที่ ๒ ซึ่งดำเนินกำรโดยมูลนิธิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ในพระบรมรำชูปถัมภ์ โดยความร่วมมือจากคณะทางาน ประกอบด้วย สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลยั ศกึ ษานเิ ทศก์ และครูผเู้ ชยี่ วชาญ ทัง้ ๘ กลุ่มสาระ การเรยี นรู้ เพอื่ ใหค้ รูปลายทางใชใ้ นการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมทั้งสามารถจดั เตรยี มเอกสาร ไดแ้ ก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝกึ หัด เพอ่ื ให้การจัดการเรยี นการสอนเกิดประสิทธิผล นาไปสู่การพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเลก็ ตอ่ ไป นบั เปน็ พระมหากรุณาธิคุณอย่างหาทีส่ ุดมิได้ ท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมงุ่ ม่นั พัฒนา ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพ่อื พัฒนาสงั คมไทยและยกระดับคณุ ภาพของคนไทยให้เขม้ แข็ง สมดัง พระราชปณิธาน “...การศึกษาคือความมั่นคงของประเทศ...” ขอพระองค์ทรงพระเจรญิ มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ข
ค สารบญั คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาที่ ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนา้ คานา ก หนังสอื รบั รองความร่วมมอื การพัฒนาคมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ เพื่อการสอนออกอากาศทางไกล ผา่ นดาวเทยี ม ข สารบัญ ค คาชีแ้ จงการรบั ชมรายออกอากาศดว้ ยระบบทางไกลผา่ นดาวเทยี ม จ คาชี้แจงรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช คาอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ ด มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั ต โครงสรา้ งรายวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (สขุ ศกึ ษา) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ ถ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ รา่ งกายของฉนั ทางานอยา่ งไร ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง ระบบสืบพันธ์ุเพศชาย ๕ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง ระบบสืบพนั ธเุ์ พศหญิง ๑๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอ่ื ง การทางานของระบบสืบพันธ์ุและการมีประจาเดือน ๑๗ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๔ เรอ่ื ง วธิ กี ารดูแลรักษาระบบสืบพันธุ์ ๒๔ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๕ เรอ่ื ง องคป์ ระกอบของระบบไหลเวียนโลหิต ๒๙ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๖ เรอ่ื ง การทางานของระบบไหลเวยี นโลหิต ๓๕ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๗ เรอ่ื ง วธิ ีดูแลรกั ษาระบบไหลเวยี นโลหิต ๔๒ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๘ เรอื่ ง อวัยวะท่ีสาคัญของระบบหายใจ ๔๘ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๙ เรอ่ื ง การทางานของระบบหายใจ ๕๓ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐ เรื่อง วิธีดูแลรักษาระบบหายใจ ๖๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๑ เร่ือง รา่ งกายของฉนั ทางานอยา่ งไร ๖๘ แบบประเมนิ ตนเอง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ๗๕ แบบบันทกึ การเรยี นรู้ (Learning Logs) ๗๖ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ สร้างสัมพนั ธด์ ลี ดสงิ่ ทเี่ กดิ พฤติกรรมเสีย่ ง ๗๗ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เรอื่ ง การสรา้ งและรกั ษาสมั พนั ธก์ บั ครอบครัว ๘๒ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๒ เรอื่ ง การสร้างและรักษาสัมพนั ธก์ บั เพ่ือน ๙๐ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๓ เรอ่ื ง การสรา้ งและรกั ษาสมั พนั ธ์กบั คนในสังคม ๙๕
ง สารบญั (ต่อ) แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๔ เรอ่ื ง ปัจจยั ทีช่ ว่ ยใหง้ านกล่มุ ประสบความสาเร็จ หนา้ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๕ เรอื่ ง สาเหตุของการมเี พศสมั พนั ธ์กอ่ นวยั อันควร ๑๐๑ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๖ เรอื่ ง การตง้ั ครรภก์ ่อนวัยอนั ควร ๑๐๘ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๗ เรอ่ื ง การทาแท้งและการติดเช้ือ HIV ๑๑๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๘ เรอ่ื ง การปอ้ งกนั พฤตกิ รรมเสย่ี ง ๑๒๑ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๙ เรอ่ื ง สรา้ งสมั พันธ์ดลี ดสิ่งที่เกดิ พฤตกิ รรมเสีย่ ง ๑๒๗ แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ๑๓๓ แบบบันทึกการเรยี นรู้ (Learning Logs) ๑๔๐ บรรณานุกรม ๑๔๑ ภาคผนวก ๑๔๒ ภาคผนวก ก แบบประเมินรวม ๑๔๓ ภาคผนวก ข แผนผังความคดิ (Graphic Organizers) ๑๔๓ ภาคผนวก ค บนั ทกึ การเรียนรู้ (Learning Log) ๑๔๙ คณะกรรมการปรับปรงุ คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๑๕๘ ระดับประถมศกึ ษา ๑๖๔
จ คำชีแ้ จง กำรรับชมรำยกำรออกอำกำศดว้ ยระบบทำงไกลผ่ำนดำวเทียม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้บริการการจัดการเรียนการสอน จาก สถานวี ิทยโุ ทรทัศน์การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม จานวน ๑๕ ชอ่ งรายการ ท้ังรายการสด (Live) และรายการ ย้อนหลงั (On demand) สามารถรับชมผ่านชอ่ งทาง ตอ่ ไปน้ี ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV – ระบบ Android เขา้ ที่ Play Store/Google Play พมิ พค์ าว่า DLTV – ระบบ iOS เขา้ ท่ี App Store พิมพ์คาวา่ DLTV หมำยเลขชอ่ งออกอำกำศสถำนีวทิ ยโุ ทรทศั น์กำรศึกษำทำงไกลผำ่ นดำวเทียม ๑๕ ชอ่ งรำยกำร ชอ่ ง (DLTV) ช่อง (TRUE) รำยกำรในเวลำเรยี น รำยกำรนอกเวลำ (ชว่ งเวลำ ๐๘.๓๐ น. - ๑๔.๓๐ น.) (ช่วงเวลำ ๑๔.๓๐ น. - ๐๘.๓๐ น.) DLTV ๑ ช่อง ๑๘๖ รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ DLTV ๒ ช่อง ๑๘๗ รายการสอนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ ความรู้รอบตัว DLTV ๓ ชอ่ ง ๑๘๘ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี DLTV ๔ ช่อง ๑๘๙ รายการสอนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม DLTV ๕ ช่อง ๑๙๐ รายการสอนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ศลิ ปวฒั นธรรมไทย DLTV ๖ ชอ่ ง ๑๙๑ รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง DLTV ๗ ช่อง ๑๙๒ รายการสอนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร DLTV ๘ ชอ่ ง ๑๙๓ รายการสอนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาษาต่างประเทศ DLTV ๙ ช่อง ๑๙๔ รายการสอนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ การเกษตร DLTV ๑๐ ชอ่ ง ๑๙๕ รายการสอนชั้นอนุบาลปีท่ี ๑ รายการสาหรบั เด็ก-การเลย้ี งดลู กู DLTV ๑๑ ช่อง ๑๙๖ รายการสอนชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๒ สุขภาพ การแพทย์ DLTV ๑๒ ชอ่ ง ๑๙๗ รายการสอนชัน้ อนุบาลปีที่ ๓ รายการสาหรบั ผู้สูงวัย DLTV ๑๓ ช่อง ๑๙๘ รายการของการอาชพี วังไกลกังวล และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล DLTV ๑๔ ช่อง ๑๙๙ รายการของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช DLTV ๑๕ ช่อง ๒๐๐ รายการพัฒนาวิชาชพี ครู *หมำยเหตุ : รำยกำรสอนออกอำกำศในเวลำเรียนระดบั ชนั้ ปฐมวัย ช่วงเวลำ ๐๘.๓๐ น. - ๑๑.๓๐ น.
ฉ กำรตดิ ตอ่ รบั ข้อมูลขำ่ วสำร ๑. มลู นธิ ิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทยี ม ในพระบรมรำชูปถัมภ์ เลขท่ี ๒๑๔ ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศตั รูพา่ ย กรงุ เทพมหานคร โทร. ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถำนีวิทยโุ ทรทัศนก์ ำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทยี ม ซอยหัวหิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตาบลหวั หิน อาเภอหัวหนิ จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗-๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอ่ เรอื่ งเว็บไซต)์ [email protected] (ติดต่อเรื่องทัว่ ไป) ๓. โรงเรยี นวงั ไกลกงั วล ในพระบรมรำชูปถมั ภ์ อาเภอหวั หิน จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗, ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถัมภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ชอ่ งทำงกำรตดิ ตำมขำ่ วสำร Facebook : มูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th
ช คำชีแ้ จง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ สขุ ศึกษำและพลศึกษำ ……………………………………………………………. ๑. แนวคดิ หลัก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดสาระการเรียนรู้ จานวน ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนาความรู้ด้านเนื้อหาวิชามาจัดกิจกรรมการเรียน การสอนโดยการฝกึ ทักษะใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความรู้ ความเข้าใจ และเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดงั นี้ ๑) ความสามารถในการส่อื สาร เป็นความสามารถในการรับสาร และส่ือสารมีวฒั นธรรมในการใช้ภาษา ๒) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพือ่ ใชใ้ นการตดั สินใจ เกย่ี วกับตนเอง สงั คมได้อย่างเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปล่ยี นแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสังคม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการเข้าใจและเคารพตนเอง สามารถนา กระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชวี ิตประจาวัน การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง การเรียนร้อู ย่างตอ่ เนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ ความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ถูกต้องเหมาะสม มีคุณธรรมด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนา ตนเอง สังคมในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน นอกจากนหี้ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ พัฒนาผเู้ รยี นให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ดงั น้ี ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒) ซือ่ สัตย์ สุจริต ๓) มีวนิ ยั ๔) ใฝเ่ รยี นรู้ ๕) อยูอ่ ย่างพอเพยี ง ๖) มุ่งมั่นในการทางาน ๗) รักความเปน็ ไทย ๘) มจี ติ สาธารณะ
ซ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษาเป็นกล่มุ สาระการเรียนรทู้ ่ีเกยี่ วข้องกับสขุ ภาพกาย สุขภาพ จิต มีเป้าหมายเพื่อการดารงสุขภาพ มีสุขนิสัยและรักการออกกาลังกาย พัฒนาองค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีเจตคติที่ดี เห็นคุณค่าด้วยการนาไปใช้สร้างเสริมสุขภาพพัฒนาตนเอง ครอบครัวและชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน ดังนั้นการจัดการเรียนรู้จึงเป็นเรื่องสาคัญเพื่อ นาทางไปสู่ เปา้ หมายดงั กล่าว ๒. กระบวนกำรจดั กำรเรยี นรู้ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ตามศักยภาพ เน้นการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ให้ความสาคัญของการบูรณาการ ความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษาในส่วนของการจัดกระบวน การเรียนรู้ ได้ระบุให้สถานศกึ ษาและหน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งดาเนนิ การ ดงั นี้ ๑) สถำนศกึ ษำและหนว่ ยงำนที่เก่ียวข้อง (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึง ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพอ่ื ป้องกนั และแก้ไขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็นทาเป็น รักการอ่าน และเกดิ การใฝ่รอู้ ย่างตอ่ เนื่อง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ัง ปลูกฝังคุณธรรม คา่ นิยมทด่ี งี าม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (๕) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ สู้ อนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม สื่อการเรยี น และอานวยความ สะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวน การเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภท ต่าง ๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และบุคคลในชมุ ชนทุกฝา่ ย เพ่อื ร่วมกนั พัฒนาผูเ้ รยี นตามศักยภาพ ๒) กำรจัดสภำพแวดลอ้ มส่งเสรมิ กำรเรยี นรู้ (๑) จัดสภาพแวดล้อมห้องเรียนหรือภายนอกห้องเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ สะอาด มีความเป็น ระเบยี บ ตกแต่งห้องเรียนให้น่าอยู่ มีมุมต่าง ๆ ในห้องเรยี น มีทเ่ี กบ็ วสั ดุอปุ กรณ์ และง่ายต่อการนามาใช้ มีป้าย นเิ ทศให้ความรู้ ภายนอกหอ้ งเรียนจัดบรรยากาศให้เป็นธรรมชาติน่าอยู่ รม่ ร่ืน และเหมาะกับกิจกรรมการเรียนรู้ ถกู สุขลักษณะ และปลอดภัย (๒) จดั สภาพแวดล้อมหรอื ห้องให้ผเู้ รยี นไดฝ้ ึกปฏิบัตกิ าร
ฌ (๓) จดั สือ่ อุปกรณ์ ทีเ่ กีย่ วกับการเรียนรูอ้ ย่างเพียงพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเครื่องมือแสวงหาความรู้ หรือช่องทางเสนอข่าวสารต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับรู้ข้อมูล ขา่ วสารที่ทนั สมยั ปัจจุบนั อย่เู สมอ ๓) ครผู สู้ อน การจัดการเรียนรู้ตามแนวดังกล่าว จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนทั้งของ ผู้เรียนและผู้สอน กล่าวคือลดบทบาทของครูผู้สอนจากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็นการวางแผน จัดกิจกรรมใหน้ ักเรียนเกดิ การเรียนรู้ กจิ กรรมตา่ ง ๆ จะตอ้ งเนน้ ท่บี ทบาทของผเู้ รียนตง้ั แตเ่ ร่ิม คือ ร่วมวางแผน การเรยี น การวดั ผล ประเมินผล และต้องคานึงว่ากจิ กรรมการเรยี นนั้น เนน้ การพฒั นากระบวนการคดิ วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน การสร้างคาอธิบายเกี่ยวกับข้อมูลที่สืบค้นได้ เพื่อนาไปสู่คาตอบ ของปัญหาหรือคาถามต่าง ๆ และสร้างองค์ความรู้ ทั้งนี้กิจกรรมการเรียนรู้เหล่าน้ี ต้องพัฒนาผู้เรียนให้มี พฒั นาการเหมาะสมตามวยั ท้ังทางรา่ งกาย อารมณ์สังคม และสติปัญญา โดยคานึงถงึ เรอื่ งต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ควรให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดเวลาด้วยการกระตุ้นให้ผู้เรียนลงมือ ทดลองและอภิปรายผล โดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ของการสอน เช่น การนาเข้าสู่บทเรียน การใช้คาถาม การเสริม พลังมาใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ทจี่ ะทาให้การเรียนการสอนนา่ สนใจและมีชวี ติ ชีวา ๒. ครูควรมีการวางแผนการใช้คาถามอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อจะนาผู้เรียนเข้าสู่บทเรียน และลง ข้อสรุปได้โดยที่ไม่ใช้เวลานานเกินไป ครูควรเลือกใช้คาถามที่มีความยากง่ายพอเหมาะกับความสามารถของ ผเู้ รียน ๓. เมื่อผู้เรียนถาม อย่าบอกคาตอบทันที ควรให้คาแนะนาที่จะช่วยให้ผู้เรียนหาคาตอบได้เอง ครคู วรให้ความสนใจตอ่ คาถามของผู้เรียนทกุ ๆ คน แมว้ ่าคาถามน้ันอาจจะไม่เกี่ยวกบั เรอ่ื งทก่ี าลังเรียนอยู่ก็ตาม ครูควรจะชี้แจงให้ทราบและเบนความสนใจของผู้เรียนกลับมาสู่เรื่องทีก่ าลังอภิปรายอยู่ สาหรับปัญหาที่ผู้เรียน ถามมาน้ัน ควรจะได้นามาอภิปรายในภายหลัง ๔. การสารวจตรวจสอบซ้า เป็นสิ่งจาเป็นเพื่อให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู้ ครูควรยา้ ใหผ้ เู้ รียนไดส้ ารวจตรวจสอบซา้ เพ่ือนาไปสขู่ ้อสรปุ ทถี่ กู ต้องและเชอ่ื ถอื ได้ กิจกรรมการเรียนรรู้ ายวชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษาช้นั ประถมศกึ ษา ใช้กระบวนการเรียนรู้หลากหลาย ผสมผสาน เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการจัดกิจกรรมบูรณาการแบบกลมกลืน ทั้งการปฏิบัติด้านพฤติกรรม สุขภาพ และความเข้าใจองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ตลอดจนการเสริมแรงตามวัยของผู้เรียน เพื่อนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน ปรับปรุงพฤติกรรมสุขภาพผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์ปลอดภัย ตามความแตกต่างของแต่ละบุคคล และส่วนรวม ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ คานึงถึงความสอดคล้องกับคุณลักษณะที่มุ่งหวังไปสู่เจตคติที่ดีในการดูแล สุขภาพจนเป็นนิสัย มีคุณธรรม จริยธรรม เช่น มีความซ่ือสัตย์ ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย รับผิดชอบ มีความมุ่งมั่นในการ ทางาน มจี ิตสาธารณะ เป็นตน้ ตัวอยา่ งกระบวนการการเรยี นรทู้ ี่นามาประยกุ ตใ์ ชต้ ามธรรมชาตวิ ิทยา มีดงั น้ี
ญ ๑. กระบวนการคิดวเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คิดวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ ฝึกทกั ษะการคิดคล่อง คิดหลากหลาย วเิ คราะหข์ ้อเท็จจริง หรอื ข้อคดิ เห็นเช่อื มโยงรอบดา้ นที่เกยี่ วกับการดาเนินชีวิตด้านสขุ ภาพอย่าง ปลอดภัยในชีวิตประจาวัน เป็นระบบต่อเนื่อง มุมมองด้านบวกด้านลบ ผลกระทบที่เกิดขึ้น การค้นหาเหตุผลของ การปฏิบัติตน และสังเคราะห์ สร้างแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนาส่งเสริมสุขภาพระดับตนเอง ครอบครัว อยา่ งเหมาะสม โดยการใชเ้ ทคนิคพัฒนาความสามารถในการคิด เช่น - แผนภาพความคดิ แบบต่าง ๆ (Graphic Organizers) - เทคนิคการฝึกเปรียบเทียบข้อมูล PMI บอกข้อดี (Plus) บอกข้อเสีย (Minus) ข้อมูลที่สนใจ ศึกษาค้นควา้ ต่อ (Interesting) - เทคนิคการต้งั คาถามโดยใช้สือ่ สถานการณป์ ัจจบุ นั ๒. การตั้งคาถามเชิงสะท้อนคิด เทคนิคคาถาม Reflect-Connect-Apply (R-C-A) เพื่อพัฒนา ด้านทักษะชีวิต เตรียมพร้อมสาหรับใช้ในสถานการณ์ใหม่ที่อาจต้องเผชิญในชีวิตประจาวันและอนาคตโดยให้ ผู้เรียนทบทวนความรู้สึก พฤติกรรมการปฏิบัติของตนเอง (R) คิดเชื่อมโยง (C) และคาถามนาไปสู่การอภิปราย เสนอวิธีการ แนวทาง พร้อมทัง้ นาไปปฏิบตั ิให้เหมาะสมกบั ปัจจบุ นั และเตรยี มอนาคต (A) ๓. กระบวนการปฏิบัติ ได้แก่ การรับรู้ การปฏิบัติตามแบบ การปฏิบัติด้วยตนเองอย่างธรรมชาติ และนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั จนเป็นนสิ ยั ๔. การจัดการเรียนรู้ในแผนการจดั การเรียนรู้ ประกอบดว้ ยขัน้ นา ขน้ั สอน และขั้นสรปุ ดงั นี้ ๑) ขั้นนา เป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน เช่น ทบทวน ตรวจสอบความรู้ที่เรียนผ่านมาแล้ว ด้วยคาถามเช่ือมโยง ร่วมอภิปราย การปฏิบัติตนด้านสุขภาพของตนเอง ไม่จากัดคาตอบ ครูช่วยให้นักเรียน เชื่อมโยงคาตอบดว้ ยตัวเอง เพ่ือนาไปสูจ่ ุดประสงค์ ๒) ขั้นสอน เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาใหม่ มีหลากหลายวิธีการ โดยใช้กระบวน การเรียนรู้ที่กล่าวขา้ งตน้ เช่น - ครูใช้สื่อเหตุการณ์ปัจจุบัน คลิป ภาพยนตร์สั้น ตั้งคาถามให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ให้เวลา คิดแก่ผ้เู รยี น - ครูสนใจคาตอบของผ้เู รยี น และนาคาตอบของผู้เรียนมาเชอื่ มโยงประสบการณ์ - ผ้เู รยี นศึกษาข้อมูลเพ่มิ จากใบงาน แลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยเช่ือมโยงกับความรู้ท่ีจาเป็น กบั พฤตกิ รรมสุขภาพในชีวติ ประจาวนั เปรยี บเทยี บกบั พฤติกรรมสุขภาพของตนเอง - ผูเ้ รยี นวิเคราะห์ ฝกึ ทกั ษะการสังเกตข้อเทจ็ จรงิ หรอื ขอ้ คดิ เหน็ เชอื่ มโยงรอบด้านทเี่ กยี่ วกับ การดาเนินผลทางบวกและลบ ชีวิตด้านสุขภาพอย่างปลอดภัยในชีวิตประจาวัน โดยใช้กิจกรรมที่เหมาะสม กับวัย พัฒนาทักษะการคิดสร้างชิ้นงาน/ภาระงาน สรุปความรู้จากการปฏิบัติจริงเป็นแผนภาพความคิดแบบ ตา่ ง ๆ - ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ กิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมเดี่ยว และนาเสนอผลงานหรือผลการปฏิบัติ แลกเปล่ยี นเรยี นร้รู ะหว่างกลุม่ ระหว่างเพ่อื น
ฎ - มีการประเมินพฤติกรรมผู้เรียนระหว่างเรียน ทั้งด้านความรู้ ทักษะและคุณลักษณะตาม จุดประสงค์ ด้วยวิธีการสังเกตพฤตกิ รรม ตรวจสอบความรู้ และใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั เมอื่ นกั เรียนเขา้ ใจคลาดเคลอื่ น รวมทัง้ ใหแ้ รงเสรมิ ๓) ขน้ั สรุป เป็นขั้นตอ่ เนือ่ งจากขั้นสอน เช่น - ผู้เรียนสรุปสิ่งที่ไดเ้ รียนรดู้ ้วยตนเองผา่ นการใชค้ าถามของครู - ครูอาจจะชว่ ยสรุปอีกครั้งด้วยการใช้กระดานหรอื Graphic Organizer - ครูใช้คาถามเชื่อมโยงกับชีวิตจริง เทคนิคคาถาม Reflect-Connect-Apply (R-C-A) เพ่ือ พัฒนาด้านทักษะชวี ิต ให้ผู้เรยี นทบทวนส่ิงทีไ่ ด้เรียนรู้ ทบทวนการปฏบิ ัตติ น และเน้นการนาไปใช้ปฏบิ ัตใิ นชวี ติ ประจาวนั ตลอดจนสรา้ งเสรมิ สุขภาพของครอบครวั ชุมชน เป็นตน้ - นกั เรยี นบนั ทกึ การเรยี นรู้ หรือใช้ผังกราฟิก (ตัวอยา่ งในภาคผนวก ข และ ค) ๓. สือ่ กำรจดั กำรเรียนร/ู้ แหลง่ เรยี นรู้ สื่อกำรจัดกำรเรียนรู้ เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึง ความรู้ ทักษะกระบวนการ ได้ง่ายในระยะเวลาสั้น และช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดอย่างถูกต้องและรวดเร็ว สื่อท่ปี รากฏในแผนการจัดการเรยี นรู้มีลกั ษณะดงั น้ี ๑) ใบความร/ู้ แผนภาพนาเสนอขอ้ มูล ๒) คลิป/วีดทิ ศั น์/ภาพข่าวสถานการณป์ ัจจุบนั ๓) สถานการณ์สมมติ ๔) สอื่ บุคคล แหลง่ เรียนรู้ เป็นเครอื่ งมือสรา้ งคณุ ลกั ษณะการใฝ่ร้ทู ท่ี ุกคนต้องใฝร่ ้ตู ลอดชีวติ มีลักษณะดงั นี้ ๑) แหลง่ เรยี นรูภ้ ายในโรงเรียน ๒) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน ท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของ ชวี ติ ดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ และสงั คม ๓) แหล่งเรียนรูอ้ อนไลนท์ เ่ี ก่ียวกับการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ - สานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน - สสส. - กรมควบคุมโรค - กรมอนามัย - กรมสขุ ภาพจิต - มหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ - กระทรวงสาธารณสขุ - กระทรวงพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ ฯลฯ
ฏ ๔. กำรวดั และประเมินผลกำรเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดประสงค์สาคัญของการประเมินการเรียนรู้คือการช่วยให้ผู้เรียน เกดิ การเรยี นรู้ตามวัตถุประสงคท์ ผี่ สู้ อนหรือหลกั สตู รวางไว้ ปญั หาทพี่ บในปจั จุบันก็คือ ผบู้ ริหาร ผู้สอน ตลอดจน ผู้ปกครองเปน็ จานวนมากยงั ใหค้ วามสาคญั กับการประเมินผลสรปุ รวม ทเ่ี นน้ การทาขอ้ สอบ รวมถึงการให้ความ สาคัญกับผลลัพธ์ของการประเมินผลสรุปรวมที่ปรากฏในรูปของระดับผลการเรียน (Grade) หรือลาดับของ ผู้เรียนในชั้นเรียน (Rank) ซึ่งได้จากการเปรียบเทียบคะแนนระหว่างผู้เรียนมากกว่าการประเมินการเรียนรู้ ระหว่างเรียนที่เน้นการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง ของผู้เรียนแต่ละคน สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จึงก่อให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้แบบท่องจาเพื่อสอบ หรือการเรียนรู้ เพื่อแข่งขัน ซึ่งถือเป็นการเรียนรู้แบบผิวเผินมากกว่าการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง ซึ่งผลลัพธ์ของการเรียนรู้ จะยัง่ ยืนกว่า (กศุ ลนิ มุสิกลุ , ๒๕๕๕; ขจรศักด,์ิ เพญ็ จนั ทร์ และวรรณทิพา รอดแรงคา้ , ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนร้เู พือ่ พัฒนาสมรรถนะด้านต่าง ๆ ของผเู้ รยี นนนั้ จาเปน็ ต้องมีการประเมินการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เริ่มต้น ระหว่าง และสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้การประเมินในรูปแบบที่หลากหลาย สอดคล้องตามวัตถุประสงคข์ องการเรียนรู้ รูปแบบการประเมนิ การเรียนรู้ได้แก่ การประเมินการเรียนรูร้ ะหวา่ ง เรยี น (Formative Assessment) การประเมนิ การเรียนรู้สรปุ รวม (Summative Assessment) และการประเมิน การเรียนรู้ตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) ในการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาการเรยี นร้แู ละการประเมินตาม สภาพจริงนั้น ผู้สอนจาเปน็ ตอ้ งสะทอ้ นการประเมินใหผ้ เู้ รียนรบั ทราบเพือ่ ปรับปรงุ และพฒั นาตนเอง และผู้สอน ต้องนาผลการประเมินมาพิจารณาเพื่อทบทวนและปรับแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้สามารถดาเนินการแก้ไข ช่วยเหลือ หรือหาวิธีการต่าง ๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนแต่ละคนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตามแต่ละ จุดประสงค์การเรียนรู้หรอื เปา้ หมายของตัวชวี้ ดั ตา่ ง ๆ (กศุ ลนิ มสุ ิกลุ , ๒๕๕๕) กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรียนรขู้ องผ้เู รยี น การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียนและการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จ นั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อน สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมิน การเรยี นรู้ในทกุ ระดบั (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ความสาคัญของการประเมิน พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ ๑) วธิ ีกำรประเมิน (๑) กำรวดั และประเมนิ ก่อนเรียน เพ่อื ตรวจสอบความพรอ้ มและความรู้เดิมของผู้เรียน (ผสมผสาน ในกจิ กรรมการเรยี นรู้ขัน้ นา)
ฐ (๒) กำรวัดและประเมนิ ระหวำ่ งเรยี น ได้แก่ ดา้ นความรู้ ทักษะการปฏบิ ตั ิ และคุณลกั ษณะ โดยวิธี การสังเกตพฤตกิ รรม ถามตอบพร้อมแสดงเหตผุ ล ตรวจช้นิ งาน การนาเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั สอน) จุดมุ่งหมายของการประเมินระหวา่ งเรียน มดี ังน้ี (๒.๑) เพอื่ ค้นหาและวินจิ ฉยั ว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเนอ้ื หา มีทกั ษะความชานาญ รวมถึง มีเจตคติทางการเรียนรู้อย่างไรและในระดับใด เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สอนสามารถวางแผนการจัดกิจกรรม การเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างเหมาะสม เพ่ือพฒั นาการเรยี นรูข้ องผเู้ รียนได้อย่างเต็มศักยภาพ (๒.๒) เพ่ือใชเ้ ปน็ ข้อมูลป้อนกลับใหก้ บั ผู้เรยี นวา่ มีผลการเรียนรอู้ ยา่ งไร (๒.๓) เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้าน การเรียนรูข้ องผูเ้ รียนแต่ละคน (๓) กำรวัดและประเมินหลังเรียน เพือ่ ตรวจสอบความสาเรจ็ ตามจดุ ประสงค์รายแผน เปน็ การพัฒนา ในจุดที่ผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และเพื่อตัดสิน ผลการจัดการเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผู้เรียนได้เรียนไปแล้ว ผลจากการประเมินประเภทนี้ใช้ประกอบ การตัดสินผลการจัดการเรยี นการสอน หรือตัดสนิ ใจวา่ ผู้เรียนคนใดควรจะไดร้ บั ระดับคะแนนใด (๔) ประเมนิ รวบยอดเมอื่ สิน้ สุดหน่วยกำรเรยี นรู้ ดาเนินการดงั น้ี การประเมินโดยครูผู้สอน เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนว่าบรรลุเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และเจตคติหรือไม่ เช่น การทาโครงงาน การนาความรู้ไปใช้ เพ่อื พัฒนาสังคมในรปู แบบตา่ ง ๆ การประเมินโดยผู้เรียนแต่ละคน โดยกำรทำแบบบันทึกกำรเรียนรู้ (Learning Log) ควรให้ ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อเปิดโอกาสได้สะท้อนคิดสิ่งที่เรียนรู้ทั้งที่ทาได้ดีและยังต้องพัฒนา (ตัวอย่างแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ ดูภาคผนวก ค.) ควรใหผ้ ู้เรียนไดป้ ระเมนิ การเรยี นรยู้ ่อยหลงั จบการเรียนรู้แต่ละ หน่วยการเรียนรู้ และประเมินการเรียนรู้รวมในช่วงกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน โดยครูสามารถเลือกใช้ ชดุ คาถามและจานวนข้อให้เหมาะสมกบั บริบทของผูเ้ รยี น ชว่ งเวลา และธรรมชาติของแต่ละวิชา ทั้งนใี้ นคร้ังแรก ครคู วรทาร่วมกบั นกั เรียนเพื่อแนะนาวธิ ีการเขยี นแบบสะท้อนคิด และควรอ่านส่ิงท่นี ักเรียนบนั ทึกพร้อมให้ข้อมูล ย้อนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสร้างสรรค์ รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลในแบบบันทึกเพื่อพัฒนาการสอน ของตวั เองและชว่ ยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคลตอ่ ไป ๒) ผู้ประเมิน ได้แก่ เพื่อนประเมินเพื่อน ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และผู้ปกครอง ร่วมประเมนิ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาได้ออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ปรากฏใน แผนการจัดการเรียนรู้ โดยให้ความสาคัญของประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติผู้เรียนด้านสุขภาพระหว่างเรียน เพ่ือพฒั นาเรยี นรู้ของผู้เรยี นไปส่เู ปา้ หมายของหนว่ ยการเรียนรู้ที่กาหนดรายละเอยี ด ดังน้ี
ฑ ๑. วธิ กี ารประเมนิ ๑) ประเมินก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและความรู้เดิมของผู้เรียน (ผสมผสานในกิจกรรม การเรียนรู้ข้ันนา) ๒) ประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพร้อมแสดงเหตุผล ตรวจชิ้นงาน การนาเสนอ และประเมินด้านความ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ คุณภาพผู้เรียนตามจุดประสงค์ ซึ่งนาไปสู่การปรับปรุง หรือส่งเสริมการเรียนรู้ต่อไป (ผสมผสานในกิจกรรม การเรยี นรขู้ ั้นสอน) ๓) ประเมินหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความสาเร็จตามจุดประสงค์รายแผน จากบันทึกการเรียนรู้ และบันทึกการปฏิบัติด้านสุขภาพของผู้เรียนรายบุคคลเพื่อพัฒนาในจุดที่ผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือ ปฏบิ ตั ไิ ม่ถกู ตอ้ ง (ผสมผสานในกจิ กรรมขั้นสรปุ ) ๔) ประเมินรวบยอดเมื่อสิ้นสุดหน่วยการเรียนรู้ เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนบรรลุเป้าหมายของ หน่วยการเรียนรู้ ตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และเจตคติ เช่น การจัดนิทรรศการ การนา ความร้ไู ปใช้เพอ่ื พฒั นาสังคมในรูปแบบต่าง ๆ เป็นตน้ ตลอดจนปลายภาค เพ่อื การตดั สินผลการเรียน ๒. เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ มิติคุณภาพ (Rubric Score) ซึ่งได้อธิบายระดับคุณภาพปรากฏในท้ายหน่วย การเรียนร้ทู ุกหน่วย โดยแสดงเครือ่ งมือทีส่ ามารถนาไปใชร้ ายแผนการเรียนรู้ ในภาคผนวก ก ไดแ้ ก่ แบบสงั เกต พฤติกรรมการปฏิบตั ิ แบบตรวจคาตอบ แบบประเมินคณุ ลักษณะและเจตคติ ๓. ผูป้ ระเมิน ได้แก่ เพ่อื นประเมินเพ่ือน ครปู ระเมนิ ผู้เรียน ผปู้ กครองร่วมประเมนิ ๕. คำแนะนำบทบำทครปู ลำยทำงในกำรจดั กำรเรยี นรู้ ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคู่ขนานกับครูต้นทางในการกากับดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในทกุ ขนั้ ตอนการสอน ดงั น้ี ๑) ข้ันเตรยี มตวั ก่อนสอน (๑) ศึกษาทาความเข้าใจคาชี้แจงและทาความเข้าใจเชื่อมโยงทั้งเป้าหมาย กิจกรรม และการวัดผล และประเมนิ ผลระหว่างหนว่ ยการเรียนรู้กับแผนการจดั การเรียนรรู้ ายชวั่ โมง (๒) ศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ หน่วยงาน องค์กรที่ให้ความรู้ที่เชื่อถือได้ รวมท้ัง เทคนคิ การจดั การเรียนรูเ้ พือ่ พัฒนาความสามารถของผเู้ รยี นอย่างรอบด้าน (๓) ปรับ/ประยุกต์หรือเพิ่มเป้าหมายทั้งเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่เป็นจุดเน้น และ ที่เป็นปัจจุบันตามบริบทของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู้ ตามศักยภาพของผเู้ รยี นและตามสภาพจรงิ (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัพโหลดล่วงหน้าเพื่อทาความเข้าใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และสื่อต่าง ๆ ที่ครูใช้ประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกิจกรรมในข้ันตอนช่วงการปฏิบัติ ทั้งด้านวิธีการ สื่อที่ใช้ และช่วงเวลาของการทาแต่ละกิจกรรมเพื่อนามาวิเคราะห์และหาแนวทางเตรียมนักเรียน/ช่วยเหลือ
ฒ ส่งเสริม/อานวยความสะดวกนักเรียนตามบริบทของห้องเรียนของตนให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตม็ ตามศักยภาพ (๕) เตรยี มใบงาน (ท่คี ัดเลือกสาหรบั มอบหมายให้นกั เรยี นได้ทาตามเหน็ ควรและเหมาะสม) รวมท้ัง การเตรยี มอุปกรณต์ ามระบุในแผนฯ และ/หรอื ที่ปรากฏในคลปิ (ในกรณมี กี ารปรบั เปลี่ยนเพ่มิ เติม) (๖) ติดตามข้อมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในช่วงการปฏิบัติตามกาหนดการสอนที่มีรายละเอียด ของส่ือการสอน ใบงาน ใบความรู้ บนเวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th ๒) ข้นั กำรจดั กำรเรียนรู้ (๑) สร้างการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการทากิจกรรม เช่น กระตุ้นให้นักเรียนคิด ตอบคาถามของ ครูต้นทาง ฟงั เฉลยและช่วยเสรมิ /อธบิ าย/ในสิง่ ทนี่ กั เรยี นยงั ไมเ่ ข้าใจ ชมเชย/ใหก้ าลังใจหากนักเรยี นทาไดด้ ี (๒) ให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่ตามไม่ทัน เช่นอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ต่อไป อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (๓) กากบั ดแู ลให้มีวินัยในการเรียน เชน่ ไมเ่ ลน่ หรือพูดคยุ กัน ปฏิบัติตามคาสั่งในการทากิจกรรม ฯลฯ (๔) อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ เชน่ จดั เตรยี มส่ือการเรียนร้/ู อปุ กรณ์ (๕) สังเกตพฤติกรรมนกั เรยี น เชน่ คุณลกั ษณะผเู้ รียน สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้/ การปฏิบัติงาน ความรู้ในบทเรียน และบันทึกข้อมูลตามแนวทางประเมินที่แนะนาไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เพอื่ นาข้อมูลไปพฒั นานักเรยี นและให้ความช่วยเหลอื นกั เรยี นทง้ั ชนั้ /กลุม่ /รายบคุ คลตามกรณี ๓) ขน้ั กำรปฏบิ ตั ิ (๑) ทบทวนขั้นตอนการทากิจกรรมตามที่ครูต้นทางแนะนา และตามข้อแนะนาการปฏิบัติที่ระบใุ น PowerPoint ตรวจสอบความเขา้ ใจ และเตรียมนักเรยี นก่อนทากจิ กรรม (การแบ่งกล่มุ ฯลฯ) (๒) กากับให้การทากิจกรรมเปน็ ไปตามลาดบั เวลาตามแนวทางที่ระบุบน PowerPoint (๓) ใหค้ วามช่วยเหลือนกั เรยี นในระหวา่ งการทากิจกรรม (๔) เตรียมพรอ้ มนักเรยี นสาหรับกจิ กรรมในข้ันตอนสรุปการเรยี น (ถา้ มี) เช่น การสรุปผลปฏิบัติงาน เพือ่ เทยี บเคียงกับผลงานทน่ี ักเรียนตน้ ทางจะนาเสนอ เปน็ ต้น ๔) ข้นั สรปุ (๑) กากบั นกั เรียนให้มีสว่ นรว่ มในการเฉลยใบงาน/สรุปผลการทากิจกรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเด็นสาคัญทีม่ ีการสรุปท้ายช่ัวโมง และงาน/ใบงานที่ครตู ้นทางมอบหมายให้ทาเป็น การบา้ น/หรอื ใบงานท่คี รปู ลายทางได้เลือกมาใช้กบั ชน้ั เรยี นของตน (๓) จัดให้นักเรียนได้ทาแบบประเมินตามระบุในหัวข้อ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (เฉพาะ หลงั จบแต่ละหนว่ ยการเรียนรแู้ ละครง่ึ /ปลายภาคเรยี น)
ณ ๕) กำรบันทกึ ผลหลงั สอน (๑) บันทึกการจัดการเรียนรู้ของตนเอง โดยใช้ข้อมูลจากแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนระหว่างเรียน และแบบประเมินตนเอง บันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนเพื่อวเิ คราะห์เทคนคิ หรือวิธีการใดท่ีทาให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วม มคี วามรู้ มีทกั ษะและคณุ ลกั ษณะตามจุดประสงค์ (๒) บันทึกสาเหตขุ องความสาเร็จ อุปสรรค และ/หรือข้อจากดั ที่เกิดขึ้น เช่น เทคนิค หรือวิธกี ารใด การบริหารจัดการชั้นเรียน การจัดบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมอย่างไร ฯลฯ ที่ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความรู้ มีทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค์ โดยใช้คาถามที่ให้ไว้ใน “คาถามบันทึกผลหลังสอน สาหรับครู ปลายทาง” (ดูภาคผนวก ค) เป็นแนวทางในการย้อนคิด ไตร่ตรองสิ่งที่เกิดขึ้นและนาไปบันทึกผลหลังสอนของ ชว่ั โมงนนั้ ๆ (๓) วเิ คราะห์และสรุปผลจากข้อมูลตามปญั หา/ความสาเร็จที่เกิดขึ้น และเสนอแนวทางการปรับปรุง เพื่อนามาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และช่วยเหลือ/ส่งเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ในครั้งต่อไป รวมท้ัง นาไปใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลเพือ่ พฒั นาเปน็ งานวิจัยในชน้ั เรียนต่อไป
ด คำอธิบำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน รหสั วิชำ พ๑๕๑๐๑ รำยวชิ ำ สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ(สุขศกึ ษำ) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สขุ ศึกษำและพลศึกษำ ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๖ เวลำ ๘๐ ชวั่ โมง/ปี ศึกษาความสาคญั และวธิ ีการดูแลรักษาระบบสืบพนั ธุ์ ระบบไหลเวยี นโลหิตและระบบหายใจ การสร้าง และรักษาสัมพันธภาพกับผอู้ ื่น พฤตกิ รรมเสยี่ งท่ีอาจนาไปสู่การมีเพศสัมพนั ธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการตง้ั ครรภ์ ก่อนวัยอันควร การใช้ทักษะกลไกและการเคลื่อนไหวร่วมกับผู้อื่นในลักษณะแบบผลัดและแบบผสมผสาน การเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุลในการเคลื่อนไหวร่างกาย การเล่นเกม กีฬา และ การนาผลมาปรับปรุง เพิ่มพูนวิธีปฏิบัติของตนและผู้อื่น ศึกษาหลักการของกิจกรรมนันทนาการไปใช้เป็นฐาน การศึกษาหาความรู้ ประโยชน์และหลักการออกกาลังกายเพือ่ สุขภาพ การสรา้ งเสรมิ บคุ ลิกภาพและสมรรถภาพ ทางกาย การสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง การเล่นเกมที่ใช้ทักษะ การวางแผน กลวธิ ีการรกุ การปอ้ งกนั และการปฏิบัติตามกฎ กตกิ า ในการเลน่ กีฬาประเภทบคุ คลและประเภท ทีม ตลอดจนการประเมินทักษะการเล่นกีฬาของตน การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม พฤติกรรมท่บี ่งบอก ถงึ ความรบั ผดิ ชอบต่อสขุ ภาพของส่วนรวม ผลกระทบท่ีเกดิ จากการระบาดของโรคและแนวทางการปอ้ งกนั โรค ติดต่อสาคัญที่พบในประเทศไทย สาเหตุของการติดสารเสพติด และชักชวนให้ผู้อื่นหลีกเลี่ยงสารเสพติด ผลกระทบจากความรนุ แรงของภยั ธรรมชาตแิ ละวิธีปฏบิ ัติตนเพอ่ื ความปลอดภัยจากธรรมชาติ โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ การมีส่วนร่วม เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์ การดูแลและรักษาระบบของร่างกาย การดารงสุขภาพ การป้องกันโรคและความ ปลอดภัยที่เกิดจากการปฏิบัติ มีและใช้ทักษะในการดาเนินชีวิตประจาวัน รวมทั้งการออกกาลังกาย และ หลีกเลี่ยงจากภัยอนั ตรายต่าง ๆ มีความสามารถในการคดิ การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชวี ิต การแสวงหาความรู้ และการใช้เทคโนโลยี เห็นคุณค่าในการการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรม เสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ ใฝ่หาความรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีระเบียบวินัย และนาความรู้ไปใช้ปฏิบัติการดูแล รักษาสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ในชีวิตประจาวนั ของตนเองและผอู้ ืน่ รหัสตวั ชี้วัด พ ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ พ ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ พ ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕ พ ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ พ ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ พ ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ รวมท้งั หมด ๒๒ ตัวชว้ี ดั
ต มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั รหสั วชิ า พ๑๖๑๐๑ รายวิชาสุขศกึ ษาและพลศึกษา (สขุ ศึกษา) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ รวมเวลา ๒๐ ช่ัวโมง จานวน ๑ หน่วยกติ สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ ตัวชว้ี ัด พ ๑.๑ ป.๖/๑ อธบิ ายความสาคัญของระบบสืบพนั ธ์ุ ระบบไหลเวียนโลหติ และระบบหายใจ ท่มี ผี ลต่อ สุขภาพ การเจริญเติบโต และพฒั นาการ พ ๑.๑ ป.๖/๒ อธบิ ายวธิ ีการดแู ลรักษาระบบสืบพันธ์ุ ระบบไหลเวยี นโลหิต และระบบหายใจให้ทางาน ตามปกติ สาระที่ ๒ ชวี ติ และครอบครวั มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคณุ ค่าตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา และมีทกั ษะในการดาเนนิ ชีวติ ตวั ช้วี ัด พ ๒.๑ ป.๖/๑ อธิบายความสาคญั ของการสร้างและรักษาสมั พนั ธภาพกับผู้อนื่ พ ๒.๑ ป.๖/๒ วิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงที่อาจนาไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการต้ัง ครรภ์ก่อนวยั อนั ควร
ถ โครงสรา้ งรายวชิ า ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ รหัสวิชา พ๑๖๑๐๑ รายวชิ าสุขศึกษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) รวมเวลา ๒๐ ชัว่ โมง จานวน ๑ หนว่ ยกิต หนว่ ย ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา นา้ หนกั ที่ เรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั (ช่ัวโมง) คะแนน ๑ รา่ งกายของฉันทางาน พ ๑.๑ ป.๖/๑ การทางานของระบบสบื พนั ธุ์ ๑๑ ๓๐ อย่างไร พ ๑.๑ ป.๖/๒ ระบบไหลเวยี นโลหติ และระบบ ๙ ๒๐ หายใจ มีความสาคญั ตอ่ สขุ ภาพ ๒๐ ๕๐ การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการ จงึ ตอ้ งดแู ลรกั ษาใหเ้ กดิ การทางาน ไดอ้ ย่างปกติ ๒ สร้างสมั พันธ์ดี ลดส่ิงท่ี พ ๒.๑ ป.๖/๑ การสรา้ งและรักษาสัมพันธภาพท่ี เกิดพฤติกรรมเสี่ยง พ ๒.๑ ป.๖/๒ ดีกับผู้อน่ื รวมถึงการลดพฤติกรรม เส่ยี ง การมเี พศสมั พนั ธก์ อ่ นวัยอัน ควร การตดิ เชื้อเอดส์ การตง้ั ครรภ์ กอ่ นวยั อนั ควร ทาใหเ้ กิดทกั ษะ ในการปฏิบัติตนอยู่รว่ มกับผู้อืน่ ใน สังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข รวมตลอดภาคเรยี น
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เรอื่ ง รา่ ยกายของฉนั ทางานอยา่ งไร ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๑ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ร่างกายของฉนั ทางานอย่างไร
๒ คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา (สุขศึกษา ป.๖) หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ รา่ งกายของฉนั ทางานอย่างไร รหัสวิชา พ๑๖๑๐๑ รายวชิ า สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๑๑ ชัว่ โมง ……………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ ตัวชว้ี ัด พ ๑.๑ ป.๖/๑ อธิบายความสาคัญของระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจที่มีผลต่อ สุขภาพ การเจริญเติบโต และพฒั นาการ พ ๑.๑ ป.๖/๒ อธิบายวธิ ีการดแู ลรักษาระบบสบื พนั ธ์ุ ระบบไหลเวียนโลหติ และระบบหายใจให้ทางาน ตามปกติ ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ระบบทุกระบบของร่างกายทางานประสานกัน ซึ่งการทางานของระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ มีความสาคัญต่อสุขภาพการเจริญเติบโต พัฒนาการ และการดารงค์เผ่าพันธ์ของมนุษย์ จึงต้องดูแลรกั ษาระบบต่าง ๆ อยา่ งถูกต้อง เพือ่ ให้ระบบตา่ ง ๆ ทางานไดอ้ ย่างปกตแิ ละมีประสิทธิภาพ ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ ๑. ความสาคัญของระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ ที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพฒั นาการ ๒. อธิบายความสาคัญของระบบสืบพนั ธเุ์ พศชาย ๓. อธบิ ายความสาคญั ของระบบสบื พนั ธ์เุ พศหญงิ ๔. อธบิ ายการทางานของระบบสบื พนั ธุ์ได้ ๕. อธบิ ายวิธกี ารดแู ลรกั ษาระบบสบื พนั ธ์ุให้ทางานตามปกตไิ ด้ ๖. อธิบายความสาคญั และการทางานของระบบไหลเวยี นโลหิต ๗. อธิบายองคป์ ระกอบท่สี าคญั ของระบบไหลเวียนโลหติ ๘. อธบิ ายความสาคัญและการทางานของระบบหายใจ ๙. บอกหนา้ ท่ขี องอวยั วะทสี่ าคัญของระบบหายใจ ๑๐. บอกวธิ กี ารดูแลรกั ษาระบบหายใจใหท้ างานตามปกติ
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เรื่อง รา่ ยกายของฉันทางานอย่างไร ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ๓ ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. ดแู ลรกั ษาระบบสบื พนั ธุ์ใหท้ างานตามปกติ ๒. ดแู ลรกั ษาระบบไหลเวยี นโลหิตให้ทางานตามปกติ ๓. ดแู ลรักษาระบบหายใจให้ทางานตามปกติ เจตคติ เห็นประโยชน์ของการดูแลรักษาระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจให้ทางาน ตามปกติ ๔. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ๔.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๔.๒ ความสามารถในการคิด ๕. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๕.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๕.๒ มุง่ ม่ันในการทางาน ๖. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้นิ งานหรอื ภาระงาน แผ่นพับ เรื่อง ระบบสบื พนั ธุ์ ระบบไหลเวยี นโลหิต และระบบหายใจ
๔ ค่มู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๖) เกณฑ์การประเมินผลชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ การประเมิน ๔ (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ ๑ (ปรบั ปรงุ ) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑. อธิบายความสาคัญ อธิบายเน้อื หา อธบิ ายเนื้อหา อธบิ ายเนือ้ หา อธบิ ายเน้อื หา ของระบบสืบพันธุ์ ระบบ ตามทกี่ าหนดให้ ตามทก่ี าหนดให้ ตามที่กาหนดให้ ตามทีก่ าหนดให้ ไหลเวยี นโลหิตและระบบ ได้ถูกตอ้ งละเอียด ได้ถูกต้องละเอียด ได้ถูกตอ้ งละเอยี ด ไดถ้ กู ต้องละเอียด หายใจที่มีผลตอ่ สขุ ภาพ การเจรญิ เตบิ โตและ ชดั เจน รอ้ ยละ ชัดเจน ร้อยละ ชัดเจน ร้อยละ ชัดเจน นอ้ ยกว่า ๘๐ ขึน้ ไป ๖๐-๗๙ ๔๐-๕๙ ร้อยละ ๔๐ พัฒนาการ ๒. อธิบายวิธีการดแู ลรักษา อธิบายวิธดี ูแล อธบิ ายวิธีดแู ล อธบิ ายวิธดี ูแล อธบิ ายวิธีดแู ล ระบบสบื พนั ธ์ุ ระบบไหลเวียน ระบบย่อยอาหาร ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบยอ่ ยอาหาร โลหติ และระบบหายใจให้ และระบบขับถา่ ย และระบบขบั ถา่ ย และระบบขับถา่ ย และระบบขบั ถา่ ย ทางานตามปกติ ให้ทางานตาม ให้ทางานตาม ใหท้ างานตาม ใหท้ างานตาม ปกติ ได้ ๕ ข้อ ปกติ ได้ ๓-๔ ขอ้ ปกติ ได้ ๒ ขอ้ ปกติ ได้ ๑ ข้อ ขึ้นไป ๓. ความสามารถใน สือ่ สารใหผ้ อู้ ื่น สื่อสารใหผ้ อู้ ื่น สอ่ื สารใหผ้ ู้อื่น สื่อสารใหผ้ ู้อืน่ การสอื่ สาร ความสามารถ เขา้ ใจได้อยา่ งมี เข้าใจไดอ้ ยา่ งมี เขา้ ใจได้อยา่ งมี เข้าใจไดอ้ ยา่ งมี ในการคิด เหตผุ ลเชื่อมโยง เหตุผลเช่อื มโยง เหตผุ ลเชอ่ื มโยง เหตผุ ลเชื่อมโยง อย่างเป็นระบบ อย่างเปน็ ระบบ อยา่ งเปน็ ระบบ อย่างเป็นระบบ ครบถว้ นชดั เจน ครบถว้ นชดั เจน ครบถ้วนไม่ชดั เจน ไมไ่ ด้ อยา่ งต่อเนือ่ ง ไมต่ ่อเนื่อง เกณฑใ์ นการวดั และประเมินผล คะแนน ๑๐-๑๒ หมายถงึ ดมี าก คะแนน ๗-๙ หมายถึง ดี คะแนน ๔-๖ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๑-๓ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑก์ ารผ่าน ตั้งแตร่ ะดบั พอใชข้ ้นึ ไป
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรือ่ ง รา่ ยกายของฉนั ทางานอยา่ งไร ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๕ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ เรือ่ ง ระบบสบื พนั ธ์ุเพศชาย หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง รา่ งกายของฉันทางานอยา่ งไร เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา รายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์ ตัวชีว้ ดั ป.๖/๑ อธบิ ายความสาคัญของระบบสบื พนั ธ์ุ ระบบไหลเวียนโลหติ และระบบหายใจ ที่มผี ลตอ่ สขุ ภาพ การเจริญเตบิ โต และพัฒนาการ ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ระบบสืบพันธ์ุ ทาให้มนุษย์สามารถดารงชีวิตและสืบเผ่าพันธ์ุของมนุษย์ การทางานของระบบสืบพันธ์ุ เพศชายมีความสาคัญต่อสุขภาพการเจริญเติบโตและพัฒนาการ จึงต้องดูแลรักษาเพื่อให้ระบบสืบพันธุ์ทางาน ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) อธิบายหน้าทข่ี องอวัยวะของระบบสบื พันธ์เุ พศชาย ๓.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) - ๓.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) เห็นความสาคัญของระบบสบื พนั ธเ์ุ พศชาย ๔. สาระการเรียนรู้ - อวยั วะทเ่ี กีย่ วขอ้ งในระบบสืบพนั ธ์ุเพศชาย ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการส่อื สาร - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ๖. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ - มงุ่ ม่ันในการทางาน ๗. กิจกรรมการเรยี นรู้
๖ รายวชิ า สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สุขศึกษา) การจัดกจิ กรรมการเรียน แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ เ ลาดบั จุดประสงค์ ขัน้ ตอนการจดั หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๑ เร่ือง ที่ การเรียนรู้ การเรียนรู้ เวลา ที่ใช้ กจิ กรรมคร ๑. - ข้ันนา ๑๐ - ครแู ละนกั เรยี นต้งั ข นาที การเรียนร่วมกนั ๒. ๑. อธิบายหน้าท่ขี อง ขน้ั สอน อวัยวะสืบพนั ธุเ์ พศชาย - ครแู จ้งหนว่ ยการเรีย เรียนในภาคเรยี นนี้ เรยี นและจุดประสง - ครตู ั้งคาถาม “การด เผา่ พันธข์ุ องมนุษยน์ ว่าเกิดจากระบบใดใ ๑๐ - ครูตั้งคาถาม “นกั เร นาที ระบบสบื พนั ธเ์ุ กิดจา กับเพศใด” - จากคาตอบของนักเ เชอื่ มโยงเขา้ สู่ เร่อื ง สืบพนั ธ์ุเพศชาย
คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๖) นรู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เร่อื ง ระบบสบื พันธเุ์ พศชาย ง ร่างกายของฉนั ทางานอยา่ งไร เวลา ๑ ชว่ั โมง แนวการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ ประเมนิ รู กจิ กรรมนกั เรียน การเรียนรู้ ข้อตกลงใน - นกั เรยี นตง้ั ขอ้ ตกลงใน - สอ่ื PowerPoint แบบสังเกต การเรยี นรว่ มกบั ครู พฤติกรรม ยนรู้ทจี่ ะ - นกั เรยี นตอบคาถาม เร่ืองทีจ่ ะ “การดารงเผ่าพนั ธุ์ของมนุษย์ งคก์ ารเรยี นรู้ นกั เรยี นคิดวา่ เกดิ จากระบบใด ดารง ในรา่ งกาย” นักเรยี นคดิ (แนวคาตอบ : ระบบสบื พันธ)์ุ ในรา่ งกาย” รยี นคิดวา่ - นกั เรยี นตอบคาถาม - สอื่ PowerPoint แบบสงั เกต ากเพศใด “นกั เรยี นคิดวา่ ระบบสบื พนั ธ์ุ พฤติกรรม เกดิ จากเพศใดกับเพศใด” เรียนครู (แนวคาตอบ : เพศชายกบั ง ระบบ เพศหญงิ )
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เร่ือง รา่ ยกายของฉันทางานอยา่ งไร ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ลาดับ จุดประสงค์ ขนั้ ตอนการจดั เวลา ที่ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ กจิ กรรมคร ๓. ๒. อธบิ ายหน้าท่ขี อง ขนั้ ปฏบิ ตั ิ ๒๕ - ครูตรวจสอบความเ อวัยวะสืบพนั ธ์ุเพศชาย นาที นกั เรยี นในการทาก - ระหว่างทนี่ ักเรยี นท ครเู ดนิ ตรวจสอบสงั ทางานโดยใชแ้ บบส พฤตกิ รรมและใหค้ า นกั เรยี น ๔. ๓. เห็นความสาคญั ของ ข้นั สรปุ ๕ - ครแู ละนักเรยี นสรุป ระบบสืบพนั ธเ์ุ พศชาย นาที รว่ มกันและบันทึกอ “สง่ิ ทไ่ี ดจ้ ากการเรยี สมดุ บนั ทึก
๗ แนวการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ ประเมนิ - สอ่ื PowerPoint การเรียนรู้ รู กิจกรรมนักเรยี น เข้าใจของ - นกั เรยี นทาใบงานท่ี ๑ แบบประเมนิ กจิ กรรม - ตวั แทนนักเรียนนาเสนอ ผลงาน ทาใบงาน ใบงานท่ี ๑ โดยการ นกั เรยี น งเกตการ อาสาสมคั ร สงั เกต - นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั - ส่ือ PowerPoint แบบสังเกต าแนะนาแก่ อภิปรายเพ่ิมเติมเพือ่ ให้มี พฤตกิ รรม ความถกู ต้องชดั เจนยงิ่ ข้ึน ปบทเรยี น - นกั เรยี นรว่ มสรปุ บทเรียน องค์ความรู้ โดยบันทกึ องค์ความรู้ลงใน ยนร”ู้ ใน สมุดบันทึก
๘ คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา (สุขศกึ ษา ป.๖) ๘. สือ่ การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ - สือ่ PowerPoint เร่ือง ระบบสืบพนั ธเ์ุ พศชาย ๙. การประเมินผลรวบยอด - ชน้ิ งานหรือภาระงาน เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ระบบสืบพนั ธเุ์ พศชาย ประเดน็ การประเมิน ๔ (ดมี าก) ระดบั คณุ ภาพ ๑ (ปรับปรุง) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช)้ ๑. ความถูกต้องของ ตรงตามเน้อื หา ตรงตามเน้อื หา ตรงตามเนอื้ หา ตรงตามเน้อื หา เนื้อหา ที่กาหนด ทก่ี าหนด ผดิ ไม่ ท่ีกาหนด ผดิ ไม่ ท่กี าหนด ผิดมาก ครบถว้ นสมบูรณ์ เกนิ ๒ แหง่ เกนิ ๔ แหง่ กวา่ ๔ แห่ง ๒. ความคดิ สร้างสรรค์ เปน็ ชิน้ งานท่ี เป็นชิน้ งานทไี่ ม่ เป็นชิน้ งานที่ เป็นชิน้ งานที่ แปลกใหม่ไม่ แปลกใหม่ ปรบั ปรงุ ดัดแปลง เหมอื นตัวอยา่ ง เหมอื นตัวอยา่ ง คลา้ ยตวั อยา่ ง เล็กนอ้ ยจาก รายละเอียด ตกแต่งสวยงาม ตกแต่งสวยงาม ตวั อย่าง ไม่ครบ ประณตี มี รายละเอยี ด รายละเอียดมาก คอ่ นข้างสมบรู ณ์ ๓. ความสวยงาม ชิน้ งานสะอาด ชนิ้ งานสะอาด ชิน้ งานสะอาด ชิน้ งานสะอาด เรียบรอ้ ยมี เรยี บร้อยมี เรียบร้อยมี เรียบร้อย การตกแตง่ การตกแตง่ การตกแตง่ ไม่มีการตกแตง่ วาดภาพระบายสี วาดภาพระบายสี วาดภาพ แต่ไม่ สมั พันธ์กับเน้อื หา แตไ่ มส่ มั พันธก์ บั ระบายสี เนื้อหา เกณฑ์ในการวดั และประเมินผล คะแนน ๑๐-๑๒ หมายถงึ ดมี าก คะแนน ๗-๙ หมายถงึ ดี คะแนน ๔-๖ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑-๓ หมายถงึ ปรับปรุง เกณฑก์ ารผา่ น ตั้งแตร่ ะดบั พอใชข้ น้ึ ไป
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรือ่ ง รา่ ยกายของฉนั ทางานอยา่ งไร ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๙ ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ความสาเร็จ ปญั หาและอุปสรรค ขอ้ จากดั การใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข ลงชอ่ื ผสู้ อน ( ) พ.ศ. วนั ท่ี เดอื น ๑๑. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผ้ทู ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ลงชอื่ ผู้ตรวจ ( ) พ.ศ. วนั ท่ี เดือน
๑๐ คู่มือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา ป.๖) ใบงานที่ ๑ เร่ือง การทางานของระบบสืบพันธเ์ุ พศชาย หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เร่ือง รา่ งกายของฉนั ทางานอย่างไร แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง ระบบสืบพันธุเ์ พศชาย รายวชิ า สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) รหสั วิชา พ๑๖๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ คาชี้แจง : ให้นักเรียนวิเคราะห์การทางานของระบบสืบพันธุ์เพศชาย ในตารางด้านล่างโดยระบุส่วนประกอบ และหน้าท่ขี องอวยั วะน้ัน ๆ ให้ถูกต้องสมบรู ณ์ อวัยวะสบื พนั ธเุ์ พศชาย หนา้ ที่ ชื่อ-สกลุ .............................................................. เลขที่ ................................ ห้อง ..........................
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง รา่ ยกายของฉันทางานอยา่ งไร ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๑๑ เฉลยใบงานท่ี ๑ เร่อื ง การทางานของระบบสืบพันธุเ์ พศชาย หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เรอ่ื ง รา่ งกายของฉนั ทางานอยา่ งไร แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่อง ระบบสืบพนั ธ์ุเพศชาย รายวิชา สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) รหสั วชิ า พ๑๖๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ คาชี้แจง : ให้นักเรียนวิเคราะห์การทางานของระบบสืบพันธุ์เพศชาย ในตารางด้านล่างโดยระบุส่วนประกอบ และหนา้ ท่ขี องอวัยวะนัน้ ๆ ใหถ้ กู ต้องสมบูรณ์ อวยั วะสบื พนั ธ์เุ พศชาย หน้าที่ ๑. อัณฑะ สรา้ งตวั อสจุ ิและผลติ ฮอร์โมนเพศชาย ๒. ถงุ อัณฑะ ควบคุมอณุ หภมู ิให้พอเหมาะในการสรา้ งอสจุ ิ ๓. หลอดเกบ็ อสจุ ิ เกบ็ ตวั อสจุ ิเพื่อใหแ้ ข็งแรงมากขึน้ ๔. หลอดนาอสุจิ เป็นทางผ่านของตัวอสจุ ิเพื่อเขา้ ส่ทู ่อปัสสาวะ ๕. ต่อมสรา้ งน้าเลยี้ งอสจุ ิ สร้างอาหารเพ่อื หล่อเล้ียงตวั อสุจิ ๖. ต่อมลูกหมาก สร้างสารทม่ี ีฤทธิ์เป็นเบสอ่อน ๆ เพ่ือใชล้ ้างความเปน็ กรดท่ีทอ่ ปัสสาวะ และช่องคลอด ๗. ตอ่ มคาวเปอร์ หล่งั สารหล่อลน่ื ในท่อปสั สาวะ ๘. องคชาติ ขับน้าอสจุ แิ ละนา้ ปัสสาวะ ช่อื -สกุล .............................................................. เลขท่ี ................................ หอ้ ง ..........................
๑๒ คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา (สขุ ศึกษา ป.๖) แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๒ เร่ือง ระบบสบื พันธ์เุ พศหญิง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่ือง รา่ งกายของฉนั ทางานอยา่ งไร เวลา ๑ ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา สขุ ศึกษาและพลศึกษา (สุขศกึ ษา) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๑. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ช้วี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์ ตัวช้วี ัด ป.๖/๑ อธิบายความสาคัญของระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ ที่มีผลต่อ สุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการ ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ระบบสืบพันธุ์จะเจริญเต็มที่เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ซึ่งหน้าที่การทางานของอวัยวะต่าง ๆ ของระบบสืบพันธ์ุ เพศหญิงมหี น้าท่ีและความสาคญั ที่แตกตา่ งกันและมีผลต่อสขุ ภาพเจริญเติบโตและพฒั นาการ จงึ ต้องดแู ลรักษา ให้เกดิ การทางานไดม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) อธบิ ายหนา้ ทขี่ องอวยั วะสืบพนั ธ์ุเพศหญิง ๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - ๓.๓ ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) เห็นความสาคญั ของระบบสบื พันธุ์เพศหญิง ๔. สาระการเรยี นรู้ - อวัยวะท่เี กยี่ วข้องในระบบสืบพันธเุ์ พศหญิง ๕. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุง่ มั่นในการทางาน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื ง รา่ ยกายของฉันทางานอย่างไร ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ รายวชิ า สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (สุขศกึ ษา) การจัดกิจกรรมการเรียน แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ เ ลาดับ จดุ ประสงค์ ข้ันตอนการจดั หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง ร ที่ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ เวลา ที่ใช้ กิจกรรมคร ๑. - ขั้นนา ๑๐ - ครเู ล่นเกม Hang m นาที คาว่า “มดลูก” เปน็ ค (มดลกู เปน็ อวัยวะหน สบื พนั ธเุ์ พศหญิง) - ครตู ้งั คาถามนักเรยี น คิดว่านอกจากมดลกู ระบบสืบพันธ์เุ พศห ประกอบด้วยอวยั วะ ๒. ๑. อธิบายหน้าทีข่ อง ขน้ั สอน ๒๕ - จากคาตอบของนักเ อวัยวะสืบพันธเ์ุ พศหญิง นาที เช่อื มโยงเข้าสู่เร่อื ง ๓. ขั้นปฏิบัติ สบื พนั ธเุ์ พศหญิง ๑๐ - ครนู านักเรียนทากจิ นาที True or False
๑๓ นรู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เรือ่ ง ระบบสืบพนั ธเุ์ พศหญิง รา่ งกายของฉนั ทางานอยา่ งไร เวลา ๑ ชว่ั โมง แนวการจดั การเรยี นรู้ สือ่ การเรียนรู้ ประเมนิ รู กิจกรรมนกั เรยี น การเรียนรู้ man โดยใช้ - นกั เรยี นเลน่ เกม Hang man - สอื่ PowerPoint แบบสงั เกต คาปริศนา โดยนกั เรยี นจะทายพยัญชนะ พฤติกรรม น่ึงในระบบ ไทยทลี ะตัว จนเปน็ คาว่า “มดลูก” น “นกั เรียน - นกั เรยี นตอบคาถาม กแลว้ “นกั เรียนคดิ ว่าระบบสืบพนั ธ์ุ หญงิ เพศหญิงประกอบ ดว้ ย ะอะไรบา้ ง” อวยั วะอะไรบา้ ง” (แนว คาตอบ : ชอ่ งคลอด ปกี มดลูก มดลูก รงั ไข่ เป็นต้น) เรยี น ครู - นกั เรยี นแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ - สื่อ PowerPoint แบบสังเกต ระบบ ถาม-ตอบ เรื่อง ระบบ พฤติกรรม สบื พันธุ์เพศหญงิ จกรรม - นกั เรยี นทากจิ กรรม True or - สอ่ื PowerPoint แบบ False ประเมนิ
๑๔ ลาดบั จุดประสงค์ ขน้ั ตอนการจดั เวลา ที่ การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กจิ กรรมคร - ครใู ห้นักเรยี นแบ่งก ๔ คน - ครูอา่ นคาถาม มจี า ท้งั หมด ๑๐ ขอ้ - ให้นักเรยี นทุกกลุม่ ย ทีละขอ้ วา่ เปน็ ขอ้ ค หรอื ผิด - ขณะนกั เรยี นปฏิบัต ครูตรวจสอบพฤตกิ เรยี นโดยใช้แบบสงั เ พฤติกรรม ๔. ๒. เห็นความสาคัญของ ขน้ั สรุป ๕ - ครูและนักเรียนสรปุ ระบบสืบพนั ธุเ์ พศหญิง นาที ร่วมกนั
คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา (สขุ ศึกษา ป.๖) แนวการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ ประเมนิ การเรยี นรู้ รู กิจกรรมนกั เรยี น กลุ่ม กล่มุ ละ - นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลุม่ ละ การตอบ คาถาม ๔ คน านวน - นกั เรยี นตง้ั ใจฟงั คาถาม มีจานวนทัง้ หมด ๑๐ ขอ้ ยกป้ายตอบ - ให้นกั เรียนทุกกล่มุ ยกปา้ ย ความที่ถกู ตอบทีละขอ้ ว่าเปน็ ข้อความ ท่ถี ูกหรอื ผิด ติกิจกรรม กรรมการ เกต ปบทเรยี น - นกั เรยี นและครสู รปุ บทเรยี น - สอ่ื PowerPoint แบบสังเกต รว่ มกัน พฤตกิ รรม
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรอื่ ง รา่ ยกายของฉนั ทางานอย่างไร ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ๑๕ ๘. ส่อื การเรียนร/ู้ แหล่งเรียนรู้ - สื่อ PowerPoint เรื่อง ระบบสืบพันธ์เุ พศหญิง ๙. การประเมินผลรวบยอด - ชิ้นงานหรือภาระงาน เกณฑก์ ารประเมนิ ผล การตอบคาถาม ประเดน็ การประเมิน ๔ (ดีมาก) ระดบั คณุ ภาพ ๑ (ปรับปรงุ ) ๓ (ดี) ๒ (พอใช)้ ๑. การตอบคาถาม ตอบคาถามได้ตรง ตอบคาถามได้ตรง ตอบคาถามได้ตรง ตอบคาถาม ประเดน็ กระชับ ประเดน็ กระชบั ประเดน็ ไดถ้ ูกต้อง แตไ่ ม่ ครบถ้วน มี ครบถว้ น ครบถ้วน การอธิบาย รายละเอยี ดชัดเจน ๒. ความถกู ต้อง ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ ตอบคาถาม ตามจุดประสงค์ ตรงตามจดุ ประสงค์ ตรงตาม ตรงตาม ได้ตรงตาม ครบถว้ น จุดประสงค์ จดุ ประสงค์ จุดประสงค์ มีการอธบิ ายชัดเจน ครบถว้ น บางส่วน แตไ่ มท่ งั้ หมด ๓. ความกระตอื รอื รน้ กระตือรอื ร้นใน กระตือรอื ร้นใน กระตอื รือร้นใน กระตอื รือร้นใน การตอบคาถาม การตอบคาถาม การตอบคาถาม การตอบคาถาม ตลอดเวลา ตลอดเวลา ตลอดเวลา บางครัง้ ใหค้ วามสนใจใน ใหค้ วามสนใจใน ทุก ๆ คาถาม บางคาถาม เกณฑ์ในการวดั และประเมนิ ผล คะแนน ๑๐-๑๒ หมายถงึ ดีมาก คะแนน ๗-๙ หมายถงึ ดี คะแนน ๔-๖ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๑-๓ หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑก์ ารผา่ น ต้ังแตร่ ะดบั พอใช้ขนึ้ ไป
๑๖ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา (สุขศกึ ษา ป.๖) ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ความสาเรจ็ ปญั หาและอุปสรรค ขอ้ จากดั การใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข ลงชือ่ ผู้สอน ( ) พ.ศ. วันที่ เดือน ๑๑. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผทู้ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย ลงชื่อ ผตู้ รวจ ( ) พ.ศ. วันท่ี เดอื น
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เร่ือง รา่ ยกายของฉันทางานอยา่ งไร ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๑๗ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๓ เรือ่ ง การทางานของระบบสบื พันธแุ์ ละการมีประจาเดอื น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เร่อื ง รา่ งกายของฉันทางานอย่างไร เวลา ๑ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา รายวชิ า สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศกึ ษา) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์ ตัวชีว้ ัด ป.๖/๑ อธิบายความสาคัญของระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ ที่มีผลต่อ สขุ ภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการ ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การทางานของระบบสืบพันธุ์มีความสาคัญต่อสุขภาพการเจริญเติบโตและพัฒนาการ จึงต้องดูแลรักษา ให้เกิดการทางานได้อย่างปกติ รวมไปถึงในวัยของนักเรียนเร่ิมเข้าสู่ช่วงของการมีประจาเดือน จึงควรดูแล ตนเองอยา่ งถูกวธิ ีเพ่ือสุขภาพอนามยั ทด่ี ี ๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) อธิบายการทางานของระบบสบื พันธุไ์ ด้ ๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) วิธีการดแู ลตนเองขณะเป็นประจาเดอื น ๓.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) เห็นความสาคญั ของการทางานของระบบสืบพันธ์ุ ๔. สาระการเรียนรู้ - การทางานของระบบสบื พันธ์ุ - การมปี ระจาเดอื น ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการสอื่ สาร - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๖. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - ใฝเ่ รียนรู้ - ม่งุ มัน่ ในการทางาน ๗. กิจกรรมการเรยี นรู้
๑๘ การจัดกจิ กรรมการเรียน แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ เรื่อง การทางา รายวิชา สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (สุขศกึ ษา) หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรือ่ ง ลาดับ จดุ ประสงค์ ขน้ั ตอนการจดั เวลา ที่ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กิจกรรมคร ๑. - ข้นั นา ๑๐ - ครใู ห้นักเรียนดู VD นาที ทางานของระบบสบื - ครใู หน้ ักเรยี นทกุ คน เกยี่ วกับ VDO ทน่ี กั เขียนใส่สมุดของตน ๑ ข้อ ๒. ๑. อธิบายการทางาน ข้ันสอน ๒๕ - จากวดิ โี อที่นักเรยี น ของระบบสืบพันธ์ไุ ด้ นาที ครเู ชอ่ื มโยงเขา้ สู่ เร การทางานของระบ และการมีประจาเดอื ๓. ๒. วธิ ีการดแู ลตนเอง ขน้ั ปฏบิ ัติ ๑๐ - ครูถามคาถามเร่อื ง ขณะเปน็ ประจาเดือน นาที ประจาเดอื น จานวน ในสไลด์ - ประจาเดอื น คอื ส่วน มดลูกท่ีสลายออกม
คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๖) นรู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ านของระบบสบื พนั ธแ์ุ ละการมปี ระจาเดอื น ง ร่างกายของฉนั ทางานอยา่ งไร เวลา ๑ ช่วั โมง แนวการจัดการเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ ประเมนิ รู กิจกรรมนกั เรียน การเรียนรู้ DO การ - นกั เรยี นดู VDO การทางาน - สือ่ PowerPoint แบบสงั เกต บพันธุ์ ของระบบสืบพันธ์ุ พฤตกิ รรม นต้ังคาถาม - นกั เรยี นทกุ คนตง้ั คาถาม กเรยี นสงสยั เขยี นใสส่ มดุ ของตนเองคนละ นเองคนละ ๑ ข้อ นดูในขัน้ นา - นกั เรยี นตง้ั ใจศกึ ษา เรอ่ื ง - สื่อ PowerPoint แบบสังเกต ร่ือง บบสืบพนั ธุ์ การทางานของระบบสืบพนั ธุ์ พฤติกรรม อน การมี และการมีประจาเดอื น น ๑๐ ข้อ - นกั เรยี นทกุ คนตอบคาถาม - สื่อ PowerPoint แบบประเมนิ นใดของ เรื่อง การมปี ระจาเดือน การตอบ มา จานวน ๑๐ ขอ้ ในสไลด์ คาถาม ครชู ื่นชมนักเรียนทีต่ อบ ถูกต้องและใหก้ าลงั ใจกับ
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรื่อง รา่ ยกายของฉันทางานอย่างไร ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ลาดบั จดุ ประสงค์ ข้นั ตอนการจดั เวลา ที่ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ กจิ กรรมคร - เพราะเหตใุ ดผนังมด สลายออกมาเปน็ ปร - โดยปกติประจาเดอื ครง้ั ใหน้ ับไปกวี่ ัน - โดยปกติประจาเดือ ครัง้ ละประมาณกีว่ นั - หากประจาเดือนเดอื วันแรกวนั ที่ ๑๐ กร รอบเดือนถัดไปจะม เท่าไหร่ - หากประจาเดือนเดือ วนั แรกวันที่ ๒ กรก รอบเดอื นถดั ไปจะม เทา่ ไหร่ - หากประจาเดือนเดือ วันแรกวนั ท่ี ๒๑ กร รอบเดอื นถัดไปจะม เทา่ ไหร่
แนวการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ ๑๙ รู กจิ กรรมนกั เรียน ดลกู จึง นกั เรยี นทต่ี อบชา้ และ ประเมนิ ระจาเดือน ไม่ถกู ต้อง การเรยี นรู้ อนจะมาอีก อนจะมา น อนนี้มา รกฎาคม มาวันท่ี อนนมี้ า กฎาคม มาวันท่ี อนนมี้ า รกฎาคม มาวันท่ี
๒๐ ลาดบั จุดประสงค์ ข้ันตอนการจดั เวลา ที่ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ กิจกรรมคร - หากประจาเดือนเดอื วนั แรกวันที่ ๓๑ กร รอบเดือนถดั ไปจะม เท่าไหร่ - หากประจาเดือนเดอื วนั แรกวนั ท่ี ๑๘ กร รอบเดือนถดั ไปจะม เทา่ ไหร่ - หากประจาเดือนเดอื วนั แรกวนั ท่ี ๑ กรก รอบเดอื นถดั ไปจะม เทา่ ไหร่ - ครูชืน่ ชมนักเรยี นท่ีต และให้กาลงั ใจกบั น ตอบชา้ และไม่ถกู ต ๔. ๓. เห็นความสาคัญของ ขั้นสรุป ๕ - ครูใหน้ กั เรยี นทกุ คน การทางานของระบบ นาที ตอบคาถามท่ีตนเอง สืบพันธ์ุ การทากิจกรรมขนั้ น
ค่มู ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๖) แนวการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ ประเมนิ การเรยี นรู้ รู กิจกรรมนักเรยี น อนนม้ี า รกฎาคม มาวันท่ี อนน้ีมา รกฎาคม มาวันท่ี อนนมี้ า กฎาคม มาวันที่ ตอบถูกตอ้ ง - สื่อ PowerPoint แบบสังเกต นักเรยี นท่ี พฤติกรรม ต้อง นกลับไป - นกั เรยี นทกุ คนกลบั ไปตอบ งตงั้ ไว้ใน คาถามท่ีตนเองตง้ั ไว้ในการ นา ทากจิ กรรมขนั้ นา
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง รา่ ยกายของฉันทางานอย่างไร ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ลาดับ จดุ ประสงค์ ขน้ั ตอนการจดั เวลา ที่ การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กจิ กรรมคร - ครูสุม่ ให้นักเรยี นอา่ และคาตอบของตนเ - ครูและนกั เรียนสรปุ ร่วมกัน
แนวการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ ๒๑ รู กิจกรรมนักเรียน ประเมนิ านคาถาม - นกั เรยี นอา่ นคาถามและ การเรียนรู้ เอง คาตอบของตนเองและ ปบทเรยี น เพอื่ น ๆ ร่วมกนั วเิ คราะห์ ความถกู ต้องและความ เหมาะสมของคาตอบ - นกั เรยี นและครสู รปุ บทเรยี น รว่ มกนั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244