Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-07-29-คู่มือครู สุขศึกษา ป.3

64-07-29-คู่มือครู สุขศึกษา ป.3

Published by elibraryraja33, 2021-07-29 03:09:19

Description: 64-07-29-คู่มือครู สุขศึกษา ป.3

Search

Read the Text Version

คูม อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู (สาํ หรับครผู ูส อน) เพอื่ การจดั การเรยี นรูโ ดยใชก ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูสขุ ศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๓ (ฉบบั ปรับปรุงครง้ั ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

คูม อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู (สาํ หรับครผู ูส อน) เพอื่ การจดั การเรยี นรูโ ดยใชก ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูสขุ ศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๓ (ฉบบั ปรับปรุงครง้ั ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

ก คํานาํ ดวยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว รัชกาลท่ี ๑๐ ทรงมุง หมายใหการศึกษาบมเพาะ สมรรถนะใหแกผูเรียน เพ่ือสรางคุณลักษณะสําคัญ ๔ ประการใหกับคนไทย อันไดแก ๑) มีทัศนคติที่ดี และถูกตอง ๒) มีพื้นฐานชีวิตท่ีมั่นคงเขมแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทํา ๔) เปนพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และ พระราชปณิธานในการสืบสาน รักษา พัฒนาตอยอด โครงการในพระราชดําริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนา การศึกษาทางไกลผานดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกดาน อาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณเทคโนโลยี บุคลากร และกระบวนการจัดการศึกษา เพื่อแกปญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สรางโอกาส การเขาถึงการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ผานการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมจํานวน ๑๕ ชองสัญญาณ ไปยังโรงเรียนตาง ๆ และผูสนใจทั่วประเทศ เพ่ือใหประเทศไทยเปนสังคมแหงปญญา มีจติ อาสาในการสรรคส รางและพฒั นาประเทศใหมน่ั คง การสอนออกอากาศทางไกลผานดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนมา เปนการสอนออกอากาศในแนวใหม บันทึกเทปการสอนจากหองเรียนตนทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผานทางเว็บไซต www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTV ของมูลนิธิ และมคี มู ือครูและแผนการจัดการเรียนรรู ายช่ัวโมงครบทัง้ ๘ กลมุ สาระการเรยี นรู ซึง่ ครูปลายทางสามารถปรับกจิ กรรมการเรียนรูใหเหมาะสมกบั ชุมชน ทองถิ่น วัฒนธรรมและ บรบิ ทของแตละโรงเรยี น คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรู โดยใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ฉบับนี้ เปนการปรับปรุงครั้งที่ ๒ ซ่ึงดําเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ โดยความรวมมือจากคณะทํางาน ประกอบดวย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารยจากมหาวิทยาลัย ศึกษานเิ ทศก และครูผูเชย่ี วชาญ ท้งั ๘ กลมุ สาระ การเรยี นรูเพื่อใหครูปลายทางใชใ นการเตรียมการสอนลวงหนา รวมทง้ั สามารถจดั เตรยี มเอกสาร ไดแ ก ใบงาน ใบความรู แบบฝกหดั เพ่ือใหก ารจัดการเรียนการสอนเกดิ ประสิทธผิ ล นาํ ไปสกู ารพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรยี นประถมศกึ ษาขนาดเล็กตอ ไป นับเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางหาท่ีสุดมิได ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมุงมั่นพัฒนา ยกระดับคุณภาพการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทย ใหเขม แขง็ สมดัง พระราชปณธิ าน “...การศึกษาคือความม่ันคงของประเทศ...” ขอพระองคท รงพระเจริญ มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ



สารบัญ ค คํานาํ หนา หนงั สอื รบั รองความรว มมือการพัฒนาคูมือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู ก เพื่อการสอนออกอากาศทางไกลผา นดาวเทียม ข สารบัญ ค คาํ ช้แี จงการรับชมรายการออกอากาศดวยระบบทางไกลผา นดาวเทยี ม จ คาํ ชีแ้ จงรายวิชา กลุมสาระการเรียนรสู ุขศกึ ษาและพลศึกษา ช ฒ ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ณ คาํ อธบิ ายรายวชิ า กลุม สาระการเรียนรูสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ด ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ๑ มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวช้ีวัด ๔ โครงสรางรายวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑๖ ๒๔ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ ๓๐ หนวยการเรียนรูที่ ๑ สุขภาพดีชีวีมีสขุ ๓๖ ๔๖ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๑ เร่อื ง ลักษณะและการเจริญเติบโตของรา งกายมนุษย ๕๕ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๒ เร่อื ง ลกั ษณะการเจรญิ เตบิ โตของวยั เรยี น ๖๒ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๓ เร่ือง การปฏบิ ตั ิตนเพ่ือใหม ีการเจริญเตบิ โตตามวัย ๖๗ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๔ เรอื่ ง การชง่ั น้าํ หนกั และวดั สว นสูง ๗๓ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๕ เร่อื ง การเปรียบเทยี บน้าํ หนักสวนสงู กับเกณฑมาตรฐาน ๗๘ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๖ เรือ่ ง ปจ จัยที่มีผลตอการเจริญเตบิ โต ๗๙ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๗ เรอ่ื ง องคป ระกอบของสมรรถภาพทางกาย ๘๐ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๘ เร่อื ง การสรา งเสรมิ สมรรถภาพทางกาย ๘๓ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๙ เร่อื ง การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ๙๒ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๑๐ เรอื่ ง วธิ ีการสรา งเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสขุ ภาพ ๑๐๐ แบบประเมินตนเอง (Self Reflection) หนวยการเรียนรูท ี่ ๑ ๑๐๙ แบบบันทึกการเรยี นรู (Learning Logs) ๑๑๕ หนวยการเรียนรูท ่ี ๒ ครอบครวั และเพอ่ื นของฉนั ๑๒๔ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๑ เรอื่ ง ความสาํ คญั และลักษณะของครอบครวั ๑๓๒ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เร่ือง ความแตกตา งของครอบครวั แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๓ เรอ่ื ง สมาชิกในครอบครัว แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๔ เร่อื ง วธิ ีสรา งสมั พนั ธภาพในครอบครวั แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๕ เร่อื ง วิธสี รา งสัมพันธภาพในกลมุ เพื่อน แผนการจดั การเรียนรูที่ ๖ เรอ่ื ง ความหมายและสาเหตุของการถูกลวงละเมดิ ทางเพศ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๗ เรอ่ื ง พฤตกิ รรมที่นําไปสูการถูกลว งละเมดิ ทางเพศ

ง หนา ๑๓๙ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๘ เรือ่ ง วิธกี ารปอ งกนั ตนเองจากการถกู ลวงละเมิดทางเพศ ๑๔๖ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๙ เรือ่ ง การขอความชวยเมอ่ื เกิดอันตราย ๑๕๔ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๑๐ เรือ่ ง ทกั ษะการปฏเิ สธหลีกเลย่ี งพฤติกรรมท่ีนาํ ไปสู ๑๕๙ ๑๖๐ การลวงละเมดิ ทางเพศ ๑๖๑ แบบประเมนิ ตนเอง (Self Reflection) หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๒ ๑๖๒ แบบบนั ทึกการเรยี นรู (Learning Logs) ๑๖๗ บรรณานุกรม ๑๗๖ ภาคผนวก ๑๘๑ ภาคผนวก ก แบบประเมินรวม ภาคผนวก ข แผนผงั ความคดิ (Graphic Organizers) ภาคผนวก ค แบบบนั ทกึ การเรยี นรู (Learning Logs) คณะผูจ ัดทําคูมอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู กลมุ สาระการเรยี นรูสุขศกึ ษาและพลศึกษา ระดับประถมศึกษา

จ คําชีแ้ จง การรบั ชมรายการออกอากาศดวยระบบทางไกลผา นดาวเทยี ม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ ใหบริการการจัดการเรียนการสอน จากสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม จํานวน ๑๕ ชองรายการ ทั้งรายการสด (Live) และ รายการยอนหลงั (On demand) สามารถรบั ชมผา นชอ งทาง ตอ ไปน้ี ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เขา ท่ี Play Store/Google Play พมิ พคาํ วา DLTV - ระบบ iOS เขา ที่ App Store พมิ พคาํ วา DLTV หมายเลขชองออกอากาศสถานีวทิ ยโุ ทรทัศนการศึกษาทางไกลผา นดาวเทียม ๑๕ ชอ งรายการ รายการในเวลาเรียน รายการนอกเวลา ชอง (DLTV) ชอ ง (TRUE) (ชว งเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๔.๓๐ น.) (ชวงเวลา ๑๔.๓๐ น. – ๐๘.๓๐ น.) DLTV ๑ ชอง ๑๘๖ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๑ สถาบันพระมหากษัตริย DLTV ๒ ชอ ง ๑๘๗ รายการสอนช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๒ ความรูรอบตัว DLTV ๓ ชอ ง ๑๘๘ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี DLTV ๔ ชอง ๑๘๙ รายการสอนชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๔ ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม DLTV ๕ ชอง ๑๙๐ รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๕ ศลิ ปวัฒนธรรมไทย DLTV ๖ ชอง ๑๙๑ รายการสอนช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ หนาทพ่ี ลเมือง DLTV ๗ ชอง ๑๙๒ รายการสอนชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร DLTV ๘ ชอ ง ๑๙๓ รายการสอนชนั้ มัธยมศึกษาปที่ ๒ ภาษาตางประเทศ DLTV ๙ ชอ ง ๑๙๔ รายการสอนชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๓ การเกษตร DLTV ๑๐ ชอง ๑๙๕ รายการสอนช้นั อนบุ าลปท ี่ ๑ รายการสาํ หรบั เด็ก-การเลยี้ งดลู ูก DLTV ๑๑ ชอ ง ๑๙๖ รายการสอนช้ันอนุบาลปที่ ๒ สขุ ภาพ การแพทย DLTV ๑๒ ชอ ง ๑๙๗ รายการสอนชัน้ อนุบาลปท ่ี ๓ รายการสําหรบั ผูสูงวัย DLTV ๑๓ ชอ ง ๑๙๘ รายการของการอาชพี วังไกลกังวล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล DLTV ๑๔ ชอง ๑๙๙ รายการของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช DLTV ๑๕ ชอ ง ๒๐๐ รายการพัฒนาวิชาชีพครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรียนระดับชั้นปฐมวัย ชวงเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๑.๓๐ น.

ฉ การตดิ ตอ รับขอ มูลขาวสาร ๑. มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถมั ภ เลขที่ ๒๑๔ ถนนนครสวรรค แขวงวดั โสมนัส เขตปอ มปราบศัตรูพา ย กรุงเทพมหานคร โทร. ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานีวทิ ยุโทรทัศนการศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ซอยหัวหิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตาํ บลหัวหนิ อําเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบครี ีขันธ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗ – ๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอเรื่องเวบ็ ไซต) [email protected] (ติดตอ เร่ืองทวั่ ไป) ๓. โรงเรียนวงั ไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ อําเภอหัวหิน จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗ , ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรยี นวังไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถัมภ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ชอ งทางการตดิ ตามขาวสาร Facebook : มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

ช คาํ ชแี้ จง กลมุ สาระการเรยี นรู สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑. แนวคิดหลกั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดสาระการเรยี นรู จาํ นวน ๘ กลมุ สาระการเรียนรูครูผูสอนตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนําความรูดานเน้ือหาวิชามาจัดกิจกรรม การเรยี นการสอนโดยการฝกทกั ษะใหผเู รียนเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดสมรรถนะสาํ คัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑) ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับสาร และสื่อสารมีวัฒนธรรมในการ ใชภาษา ๒) ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดอยางเปนระบบเพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพ่อื ใชในการตัดสนิ ใจ เกี่ยวกบั ตนเอง สังคมไดอยา งเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญได อยางถูกตอง เหมาะสม บนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและ การเปลยี่ นแปลงของเหตุการณตา ง ๆ ในสังคม ๔) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการเขาใจและเคารพตนเอง สามารถนํา กระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวนั การเรียนรูดวยตนเองการเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความ ขดั แยง ตาง ๆ อยางเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใชเทคโนโลยีการแกปญหา อยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม มีคุณธรรมดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือ การพัฒนาตนเอง สังคม ในดานการเรยี นรู การสอื่ สาร การทาํ งาน นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มุงพัฒนาผูเรยี นใหมีคุณลักษณะ อันพึงประสงค เพ่ือใหสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมอยางมีความสขุ ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ดงั นี้ ๑) รักชาติ ศาสน กษตั ริย ๒) ซ่ือสตั ย สจุ รติ ๓) มวี นิ ัย ๔) ใฝเ รียนรู ๕) อยอู ยางพอเพียง ๖) มุง มัน่ ในการทาํ งาน ๗) รกั ความเปนไทย ๘) มจี ติ สาธารณะ กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษาเปนกลุมสาระการเรียนรูท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพกาย สุขภาพจิต มีเปาหมายเพื่อการดํารงสุขภาพ มีสุขนิสัยและรักการออกกําลังกาย พัฒนาองครวมทั้ง ดานรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม โดยเฉพาะอยางย่ิงมีเจตคติที่ดี เห็นคุณคาดวยการนําไปใชสรางเสริม

ซ สุขภาพพัฒนาตนเอง ครอบครัวและชุมชนใหมีคุณภาพชีวิตอยางย่ังยืน ดังนั้นการจัดการเรียนรูจึงเปนเร่ือง สําคญั เพือ่ นาํ ทางไปสูเปา หมายดังกลา ว ๒. กระบวนการจัดการเรียนรู การจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวา ผเู รียนมคี วามสําคญั ท่ีสดุ กระบวนการจดั การศึกษาตองสงเสรมิ ใหผ ูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ตามศักยภาพ เนนการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ใหความสําคัญของการบูรณาการ ความรูคุณธรรม กระบวนการเรียนรูตามความเหมาะสมของระดับการศึกษาในสวนของการจัดกระบวนการ เรยี นรู ไดร ะบใุ หสถานศกึ ษา และหนวยงานท่ีเก่ียวขอ ง ดาํ เนนิ การ ดังน้ี ๑) สถานศึกษาและหนวยงานทีเ่ ก่ยี วของ (๑) จดั เนอื้ หาสาระและกจิ กรรมใหส อดคลอ งกบั ความสนใจและความถนัดของผเู รยี น โดยคํานึงถึง ความแตกตา งระหวางบคุ คล (๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใช เพื่อปองกนั และแกไขปญหา (๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติ ใหทําไดคิดเปนทําเปน รักการอา น และเกิดการใฝรูอยางตอ เน่อื ง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้ง ปลกู ฝง คณุ ธรรม คานิยมท่ดี ีงาม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคไวในทุกวิชา (๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และอํานวย ความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และมีความรอบรู รวมท้ังสามารถใชการวิจัยใหเปนสวนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู ท้ังน้ีผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากส่ือการเรียน การสอน และแหลง วทิ ยาการประเภทตาง ๆ (๖) จัดการเรยี นรูใหเกิดข้ึนไดทุกเวลา ทกุ สถานที่ มกี ารประสานความ รวมมือกับพอแม ผปู กครอง และบุคคลในชมุ ชนทุกฝา ย เพือ่ รวมกันพัฒนาผเู รียนตามศักยภาพ ๒) การจดั สภาพแวดลอมสง เสริมการเรียนรู (๑) จัดสภาพแวดลอม หอ งเรยี น หรอื ภายนอกหองเรียน ใหเ อ้อื ตอการเรียนรู สะอาด มคี วามเปน ระเบียบ ตกแตงหองเรียนใหนาอยู มีมุมตาง ๆ ในหองเรียน มีที่เก็บวัสดุอุปกรณ และงายตอการนํามาใช มีปายนิเทศใหความรู ภายนอกหองเรียนจัดบรรยากาศใหเปนธรรมชาตินาอยู รมร่ืนและเหมาะกับกิจกรรม การเรยี นรู ถูกสขุ ลกั ษณะและปลอดภัย (๒) จัดสภาพแวดลอม หรือหอ งใหผ ูเ รยี นไดฝก ปฏบิ ัติการ (๓) จดั สื่อ อปุ กรณ ทเ่ี กยี่ วกบั การเรยี นรูอยา งเพยี งพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเคร่ืองมือแสวงหาความรู หรือชองทางเสนอขาวสารตาง ๆ เพ่ือใหผูเรียนไดรับรูขอมูล ขาวสารทท่ี นั สมัยปจจบุ นั อยูเ สมอ ๓) ครผู ูสอน การจัดการเรียนรูตามแนวดังกลาว จําเปนตองเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนท้ังของ ผูเรียนและผูสอน กลาวคือลดบทบาทของครูผูสอน จากการเปนผูบอกเลา บรรยาย สาธิต เปนการวางแผน จดั กจิ กรรมใหนักเรียนเกดิ การเรยี นรู กจิ กรรมตา ง ๆ จะตอ งเนนท่บี ทบาทของผูเรียนตั้งแตเรมิ่ คือ รว มวางแผน การเรียน การวัดผล ประเมินผล และตองคํานึงวากิจกรรมการเรียนนั้น เนนการพัฒนากระบวนการคิด

ฌ วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา คนควา รวบรวมขอมูล ดวยวิธีการตาง ๆ จากแหลงเรียนรูหลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห การแกปญหา การมีปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกัน การสรางคําอธิบายเก่ียวกับขอมูลที่สืบคนได เพ่ือนําไปสูคําตอบของปญหาหรือคําถามตาง ๆ และสรางองคความรู ท้ังนี้กิจกรรมการเรียนรูเหลานี้ตอง พัฒนาผูเรียนใหมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ทั้งทางรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา โดยคํานึงถึง เรอ่ื งตา ง ๆ ดงั น้ี ๑. ควรใหผูเรียนทุกคนมสี วนรว มในกิจกรรมการเรียนรตู ลอดเวลาดวย การกระตุนใหผูเรยี นลงมือ ทดลองและอภิปรายผล โดยใชเทคนิคตาง ๆ ของการสอน เชน การนําเขาสูบทเรียน การใชคําถาม การเสริมพลงั มาใชใหเปนประโยชน ทจี่ ะทําใหการเรยี นการสอนนา สนใจและมชี วี ิตชวี า ๒. ครูควรมีการวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือจะนําผูเรียนเขาสูบทเรียน และ ลงขอ สรุปไดโ ดยท่ีไมใชเวลานานเกนิ ไป ครคู วรเลอื กใชค ําถามท่ีมีความยากงายพอเหมาะกบั ความสามารถของ ผูเรยี น ๓. เม่ือผูเรียนถาม อยาบอกคําตอบทันที ควรใหคําแนะนําที่จะชวยใหผูเรียนหาคําตอบไดเอง ครูควรใหความสนใจตอคําถามของผูเรียนทุก ๆ คน แมวาคําถามน้ันอาจจะไมเกี่ยวกับเรื่องท่ีกําลังเรียนอยู กต็ าม ครูควรจะชแ้ี จงใหทราบและเบนความสนใจของผูเรยี นกลับมาสูเรื่องทกี่ ําลงั อภปิ รายอยู สาํ หรับปญหาที่ ผูเรยี นถามมานน้ั ควรจะไดนํามาอภปิ รายในภายหลงั ๔. การสํารวจตรวจสอบซํ้า เปนส่ิงจําเปนเพื่อใหไดขอมูลที่นาเช่ือถือ ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู ครูควรยาํ้ ใหผเู รยี นไดส าํ รวจตรวจสอบซา้ํ เพือ่ นาํ ไปสขู อสรุปท่ถี กู ตองและเชื่อถือได กิจกรรมการเรียนรูรายวชิ าสุขศึกษาและพลศึกษาช้นั ประถมศึกษา ใชกระบวนการเรียนรูหลากหลาย ผสมผสาน เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยการจัดกิจกรรมบูรณาการแบบกลมกลืน ท้ังการปฏิบัติดานพฤติกรรม สุขภาพและความเขาใจองคความรูท่ีถูกตอง ตลอดจนการเสริมแรงตามวัยของผูเรียน เพ่ือนําไปใชใน ชีวติ ประจําวนั ปรบั ปรงุ พฤตกิ รรมสขุ ภาพผเู รียน อยา งสรางสรรคปลอดภยั ตามความแตกตางของแตล ะบุคคล และสวนรวม ซ่ึงกิจกรรมตาง ๆ คํานึงถึงความสอดคลองกับคุณลักษณะท่ีมุงหวังไปสูเจตคติท่ีดีในการดูแล สุขภาพจนเปนนิสัย มีคุณธรรม จริยธรรม เชน มีความซื่อสัตย ใฝเรียนรู มีวินัย รับผิดชอบ มีความมุงมั่น ในการทํางาน มีจิตสาธารณะ เปนตน ตัวอยางกระบวนการการเรียนรูที่นํามาประยุกตใชตามธรรมชาติวิชา มดี ังน้ี ๑. กระบวนการคิดวเิ คราะห คดิ สังเคราะห คิดวิจารณญาณ และคดิ สรางสรรค ฝก ทักษะการคดิ คลอง คิดหลากหลาย วิเคราะหขอเท็จจริง หรือขอคิดเห็นเชื่อมโยงรอบดานท่ีเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตดานสุขภาพ อยางปลอดภัยในชีวติ ประจําวนั เปนระบบตอเน่ือง มุมมองดานบวก ดานลบ ผลกระทบที่เกิดข้ึน การคนหา เหตุผลของการปฏิบัติตน และสังเคราะห สรางแนวทางการแกปญหาหรือพัฒนาสงเสริมสุขภาพระดับตนเอง ครอบครวั อยา งเหมาะสม โดยการใชเ ทคนิคพัฒนาความสามารถในการคดิ เชน - แผนภาพความคดิ แบบตาง ๆ (Graphic Organizers) - เทคนิคการฝก เปรียบเทยี บขอ มูล PMI บอกขอ ดี (Plus) บอกขอ เสยี (Minus) ขอ มูลทส่ี นใจศึกษา คนควาตอ (Interesting) - เทคนิคการต้ังคาํ ถามโดยใชส่ือ สถานการณป จ จุบัน

ญ ๒. การตั้งคาํ ถามเชิงสะทอนคดิ เทคนคิ คําถาม Reflect- Connect - Apply (R-C-A) เพือ่ พัฒนาดาน ทักษะชีวิต เตรียมพรอมสําหรับใชในสถานการณใหมที่อาจตองเผชิญในชีวิตประจําวันและอนาคตโดยให ผูเรยี นทบทวนความรูส ึก พฤติกรรมการปฏิบตั ิของตนเอง (R) คดิ เช่ือมโยง (C) และคาํ ถามนาํ ไปสกู ารอภิปราย เสนอวธิ ีการแนวทาง พรอมทั้งนาํ ไปปฏบิ ัติใหเหมาะสมกับปจจบุ นั และเตรียมอนาคต (A) ๓. กระบวนการปฏิบัติ ไดแก การรับรู การปฏิบัติตามแบบ การปฏิบัติดวยตนเองอยางธรรมชาติ และนาํ ไปใชในชีวิตประจาํ วนั จนเปนนิสยั ๔. การจดั การเรียนรูในแผนการจัดการเรียนรู ประกอบดว ย ขนั้ นํา ขั้นสอน และขั้นสรุป ดังน้ี ๑) ขนั้ นาํ เปนการเตรยี มความพรอมของผูเรียน เชน ทบทวน ตรวจสอบความรูท่ีเรยี นผานมาแลว ดวยคําถามเชื่อมโยง รวมอภิปราย การปฏิบัติตนดานสุขภาพของตนเอง ไมจํากัดคําตอบ ครูชวยใหนักเรียน เชอื่ มโยงคาํ ตอบดว ยตวั เอง เพ่ือนําไปสูจดุ ประสงค ๒) ข้นั สอน เปน ข้ันทใี่ หผ ูเ รยี นไดเรียนรูเน้ือหาใหม มีหลากหลายวธิ กี าร โดยใชก ระบวนการเรียนรู ท่กี ลา วขางตน เชน - ครูใชส่ือเหตุการณปจจุบันคลิป ภาพยนตรสั้น ตั้งคําถามใหนักเรียนคิดวิเคราะหใหเวลาคิด แกผ ูเรยี น - ครสู นใจคาํ ตอบของผเู รยี น และนําคาํ ตอบของผูเรียนมาเชือ่ มโยงประสบการณ - ผูเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มจากใบงาน แลกเปล่ียนประสบการณ โดยเช่ือมโยงกับความรูทจ่ี ําเปน กบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพในชวี ิตประจําวนั เปรยี บเทียบกับพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง - ผูเรียนวิเคราะห ฝกทักษะการสังเกตขอเท็จจริง หรือขอคิดเห็นเช่ือมโยงรอบดานที่เก่ียวกับ การดําเนินผลทางบวกและลบ ชีวิตดานสุขภาพอยางปลอดภัยในชีวิตประจําวัน โดยใชกิจกรรมท่ีเหมาะสม กับวัย พัฒนาทักษะการคิดสรางช้ินงาน/ภาระงาน สรุปความรูจากการปฏิบัติจริงเปนแผนภาพความคิดแบบ ตาง ๆ - ผูเรียนฝกปฏิบัติ กิจกรรมกลุม กิจกรรมเด่ียว และนําเสนอผลงาน หรือผลการปฏิบัติ แลกเปล่ียนเรียนรรู ะหวางกลุม ระหวางเพื่อน - มีการประเมินพฤติกรรมผูเรียนระหวางเรียน ท้ังดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะ ตามจุดประสงค ดวยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ตรวจสอบความรู และใหขอมูลยอนกลับเม่ือนักเรียนเขาใจ คลาดเคลือ่ น รวมทง้ั ใหแ รงเสรมิ ๓) ข้ันสรปุ เปน ขนั้ ตอเน่ืองจากข้ันสอน เชน - ผูเรยี นสรุปสิ่งทไ่ี ดเรยี นรูด ว ยตนเองผา นการใชค าํ ถามของครู - ครูอาจจะชวยสรปุ อีกคร้ังดวยการใชกระดานหรือ Graphic organizer - ครูใชคําถามเช่ือมโยงกับชีวิตจริง เทคนิคคําถาม Reflect- Connect – Apply ( R-C-A) เพื่อพัฒนาดานทักษะชีวิต ใหผูเรียนทบทวนสิ่งที่ไดเรียนรู ทบทวนการปฏิบัติตน และเนนการนําไปใชปฏิบัติ ในชีวติ ประจําวัน ตลอดจนสรางเสรมิ สขุ ภาพของครอบครัว ชมุ ชน เปน ตน - นักเรียนบนั ทกึ การเรยี นรู หรือ ใชผ ังกราฟก (ตัวอยา งในภาคผนวก ข และ ค) ๓. สอ่ื การจัดการเรียนร/ู แหลงเรยี นรู ส่ือการจัดการเรียนรู เปนเครื่องมือสงเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู ใหผูเรียนเขาถงึ ความรู ทักษะกระบวนการ ไดงายในระยะเวลาส้ัน และชวยใหเกิดความคิดรวบยอดอยางถูกตองและรวดเร็ว ส่ือท่ีปรากฏในแผนการจดั การเรียนรู มีลักษณะดังน้ี

ฎ ๑) ใบความรู / แผนภาพนาํ เสนอขอมูล ๒) คลปิ / วดี ิทศั น / ภาพขา วสถานการณปจ จุบัน ๓) สถานการณสมมติ ๔) ส่ือบคุ คล แหลงเรยี นรู เปนเครื่องมอื สรางคณุ ลักษณะการใฝรูที่ทุกคนตองใฝร ูตลอดชีวิต มีลักษณะดังนี้ ๑) แหลง เรยี นรูภายในโรงเรยี น ๒) แหลงเรียนรูภายนอกโรงเรียน ไดแก ชุมชน ทองถ่ิน หนวยงานท่ีเกี่ยวของกับความปลอดภัย ของชีวติ ดา นรางกาย จติ ใจ อารมณและสงั คม ๓) แหลง เรียนรอู อนไลนท่เี กี่ยวกบั การสรา งเสริมสขุ ภาพ - สํานักงานวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน - สสส. - กรมควบคุมโรค - กรมอนามัย - กรมสขุ ภาพจติ - มหาวทิ ยาลัยตา ง ๆ - กระทรวงสาธารณสขุ - กระทรวงพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย ฯลฯ ๔. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู การวัดและประเมินผลการเรียนรู มจี ดุ ประสงคสําคัญของการประเมนิ การเรียนรูคือการชว ยใหผูเรียน เกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคท่ีผูสอนหรือหลักสูตรวางไว ปญหาที่พบในปจจุบันก็คือ ผูบริหาร ผูสอน ตลอดจนผูปกครองเปนจํานวนมากยังใหความสําคัญกับการประเมินผลสรุปรวม ที่เนนการทําขอสอบ รวมถึง การใหความสําคัญกับผลลัพธของการประเมินผลสรุปรวมท่ีปรากฏในรูปของระดับผลการเรียน (Grade) หรือลําดับของผเู รียนในชัน้ เรียน (Rank) ซึง่ ไดจากการเปรยี บเทียบคะแนนระหวางผูเรียนมากกวา การประเมิน การเรียนรูระหวางเรียนท่ีเนนการใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) แกผูเรียนเพ่ือใหผูเรียนไดพัฒนาการเรียนรู ของตนเองของผูเรียน แตละคน ส่ิงตาง ๆ เหลานี้จึงกอใหเกิดวัฒนธรรมการเรียนรูแบบทองจําเพื่อสอบ หรือการเรียนรูเพื่อแขง ขัน ซงึ่ ถอื เปนการเรียนรูแบบผิวเผนิ มากกวา การเรียนรูเพ่ือพัฒนาตนเองซ่ึงผลลัพธของ การเรียนรูจะยั่งยืนกวา (กศุ ลิน มุสิกลุ , ๒๕๕๕; ขจรศกั ด,์ิ เพญ็ จันทรแ ละวรรณทพิ า รอดแรงคา, ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาสมรรถนะดานตาง ๆ ของผูเรียนน้ัน จําเปนตองมีการประเมิน การเรียนรูอยางตอเนื่อง ต้ังแตเริ่มตนระหวางและสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู โดยใชการประเมินในรูปแบบ ที่หลากหลายสอดคลองตามวัตถุประสงคของการเรียนรู รูปแบบการประเมินการเรียนรูไดแก การประเมิน การเรียนรูระหวางเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรูสรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมินการเรียนรูตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมิน เพื่อพัฒนาการเรียนรู และการประเมินตามสภาพจริงน้ัน ผูสอนจําเปนตองสะทอนการประเมิน ใหผูเรียน รับทราบเพื่อปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผูสอนตองนําผลการประเมินมาพิจารณาเพ่ือทบทวนและ ปรับแผนการจัดการเรียนรูเพื่อใหสามารถดําเนินการแกไข ชวยเหลือ หรือหาวิธีการตาง ๆ เพื่อชวยใหผูเรียน

ฏ แตละคนเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองไดตามแตละจุดประสงคการเรียนรูหรือเปาหมายของตัวชี้วัดตาง ๆ (กุศลนิ มสุ ิกุล, ๒๕๕๕) การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูของผเู รียน การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผเู รียนตองอยูบนหลักการพ้ืนฐานสองประการ คือ การประเมิน เพ่ือพฒั นาผเู รียนและการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรยี นใหประสบความสาํ เร็จนั้น ผเู รยี นจะตอ งไดร ับการพัฒนาและประเมินตามตวั ชีว้ ดั เพื่อใหบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู สะทอนสมรรถนะ สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ซ่ึงเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมิน การเรียนรใู นทกุ ระดับ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรูท่ีปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู ใหความสําคัญของการประเมิน พฤตกิ รรมการปฏิบัติ ดงั นี้ ๑) วิธกี ารประเมนิ (๑) การวัดและประเมินกอนเรียน เพื่อตรวจสอบความพรอม และความรูเดิมของผูเรียน (ผสมผสานในกจิ กรรมการเรียนรูขนั้ นาํ ) (๒) การวัดและประเมินระหวางเรียน ไดแก ดานความรู ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสงั เกตพฤติกรรม ถามตอบพรอมแสดงเหตุผล ตรวจชิน้ งาน การนําเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรยี นรขู น้ั สอน) จุดมงุ หมายของการประเมินระหวางเรยี น มดี ังนี้ (๒.๑) เพ่ือคนหาและวินิจฉัยวาผูเรียนมีความรูความเขาใจเนื้อหา มีทักษะความชํานาญ รวมถึงมีเจตคติทางการเรียนรูอยางไรและในระดับใด เพ่ือเปนแนวทางใหผูสอนสามารถวางแผนการ จัดกจิ กรรมการเรียนรไู ดอ ยางเหมาะสม เพ่อื พฒั นาการเรยี นรูข องผูเรียนไดอยางเต็มศักยภาพ (๒.๒) เพ่อื ใชเปนขอ มลู ปอนกลับใหกับผูเ รยี นวา มีผลการเรยี นรูอยา งไร (๒.๓) เพ่ือใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียนรูและเปรียบเทียบระดับพัฒนาการ ดานการเรยี นรขู องผเู รียนแตล ะคน (๓) การวัดและประเมินหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความสําเร็จตามจุดประสงครายแผน เปน การพัฒนาในจุดท่ีผูเรียนอาจจะเขาใจคลาดเคลื่อนหรือปฏิบัติไมถูกตอง (ผสมผสานในกิจกรรมข้ันสรุป) และ เพื่อตัดสินผลการจัดการเรียนรู เปนการประเมินหลังจากผูเรียนไดเรียนไปแลว ผลจากการประเมินประเภทน้ี ใชประกอบการตดั สินผลการจัดการเรยี นการสอน หรอื ตัดสินใจวา ผูเรยี นคนใดควรจะไดร ับระดับคะแนนใด (๔) ประเมนิ รวบยอดเมอื่ ส้ินสุดหนวยการเรยี นรู ดําเนนิ การดงั นี้ การประเมินโดยครูผูสอน เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผูเรียนวาบรรลุเปาหมายของ หนวยการเรียนรูตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และเจตคติหรือไม เชน การทําโครงงาน การนําความรไู ปใชเ พอ่ื พัฒนาสงั คมในรูปแบบตาง ๆ การประเมินโดยผูเรยี นแตละคน โดยการทําแบบบันทึกการเรียนรู (Learning log) ควรให ผูเรียนไดประเมินการเรียนรูของตนเอง เพื่อเปดโอกาสไดสะทอนคิดส่ิงที่เรียนรูทั้งท่ีทําไดดีและยังตองพัฒนา (ตัวอยางแบบบันทึกการเรียนรู ดูภาคผนวก ค.) ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรูยอยหลังจบการเรียนรู แตละหนวยการเรียนรู และประเมินการเรียนรูรวมในชวงกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน โดยครูสามารถ เลือกใชชุดคําถามและจํานวนขอใหเหมาะสมกับบริบทของผูเรียน ชวงเวลาและธรรมชาติของแตละวิชา ทั้งนี้ ในคร้ังแรกครูควรทํารวมกับนักเรียนเพื่อแนะนําวิธีการเขียนแบบสะทอนคิด และควรอานส่ิงที่นักเรียนบันทึก พรอมใหขอมูลยอนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสรางสรรค รวมทั้งใชประโยชนจากขอมูลในแบบบันทึก เพือ่ พัฒนาการสอนของตวั เองและชว ยเหลือนักเรียนเปน รายบคุ คลตอไป

ฐ ๒) ผูประเมิน ไดแก เพื่อนประเมินเพ่ือน ครูประเมินผูเรียน ผูเรียนประเมินตนเอง และผูปกครอง รวมประเมนิ กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาไดออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรูที่ปรากฏ ในแผนการจัดการเรยี นรู โดยใหความสําคัญของประเมินพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตผิ เู รียนดานสขุ ภาพ ระหวา งเรยี น เพ่อื พฒั นาเรียนรูของผูเรียนไปสูเปา หมายของหนวยการเรียนรทู ี่กาํ หนดรายละเอียด ดงั น้ี ๑. วธิ ีการประเมิน ๑) ประเมินกอนเรียน เพ่ือตรวจสอบความพรอม และความรูเดิมของผูเรียน (ผสมผสานในกิจกรรม การเรียนรูข้นั นํา) ๒) ประเมินระหวางเรียน ไดแก ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพรอมแสดงเหตุผล ตรวจชิ้นงาน การนาํ เสนอ และประเมนิ ดานความรู เพื่อตรวจสอบความเขาใจ คุณภาพผูเรียนตามจุดประสงค ซึ่งนําไปสูการปรับปรุง หรือสงเสริมการเรียนรูตอไป (ผสมผสานในกิจกรรม การเรยี นรูข้นั สอน) ๓) ประเมินหลังเรียน เพ่ือตรวจสอบความสําเร็จตามจุดประสงครายแผน จากบันทึกการเรียนรู และบันทึกการปฏิบัติดานสุขภาพของผูเรียนรายบุคคล เพ่ือพัฒนาในจุดที่ผูเรียนอาจจะเขาใจคลาดเคล่ือน หรือปฏิบัตไิ มถ กู ตอ ง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) ๔) ประเมินรวบยอดเมื่อส้ินสุดหนวยการเรียนรู เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผูเรียนบรรลุเปาหมายของ หนวยการเรียนรู ตามมาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สมรรถนะคุณลักษณะ และเจตคติ เชน การจัดนิทรรศการ การนํา ความรูไปใชเพอ่ื พัฒนาสงั คมในรปู แบบตาง ๆ เปนตน ตลอดจนปลายภาค เพอ่ื การตัดสินผลการเรียน ๒. เครื่องมือที่ใช ไดแก มิติคุณภาพ (rubric score) ซ่ึงไดอธิบายระดับคุณภาพปรากฏในทาย หนวยการเรียนรูทุกหนวย โดยแสดงเครื่องมือที่สามารถนําไปใชรายแผนการเรียนรูในภาคผนวก ก ไดแก แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิ แบบตรวจคาํ ตอบ แบบประเมนิ คุณลักษณะและเจตคติ ๓. ผูประเมนิ ไดแ ก เพอ่ื นประเมินเพอื่ น ครปู ระเมินผเู รยี น ผปู กครองรว มประเมิน ๕. คาํ แนะนําบทบาทครปู ลายทางในการจดั การเรยี นรู ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคูขนานกับครูตนทางในการกํากับดูแลชวยเหลือนักเรียนใน ทุกข้ันตอนการสอน ดังน้ี ๑) ขั้นเตรยี มตวั กอ นสอน (๑) ศกึ ษาทําความเขาใจคาํ ชี้แจงและทําความเขาใจเชอื่ มโยง ทงั้ เปา หมาย กิจกรรมและการวัดผล และประเมนิ ผลระหวางหนว ยการเรียนรูก ับแผนการจดั การเรียนรรู ายชว่ั โมง (๒) ศึกษาคนควาความรูเพิ่มเติม จากแหลงเรียนรู หนวยงาน องคกรท่ีใหความรูท่ีเชื่อถือได รวมท้ังเทคนคิ การจดั การเรยี นรเู พือ่ พัฒนาความสามารถของผเู รยี นอยางรอบดาน (๓) ปรับ/ประยุกตหรือเพ่ิม เปาหมายท้ังเน้ือหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่เปนจุดเนน และที่เปนปจจุบันตามบริบทของหองเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู ตามศักยภาพของผูเรียน และตามสภาพจรงิ (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัพโหลดลวงหนาเพ่ือทําความเขาใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และสอ่ื ตา ง ๆ ทคี่ รูใชประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกิจกรรมในข้นั ตอนชว งการปฏิบตั ิ ทั้งดา นวธิ ีการ ส่ือที่ใช และชวงเวลาของการทําแตละกิจกรรม เพื่อนํามาวิเคราะหและหาแนวทางเตรียมนักเรียน/ชวยเหลือ สงเสรมิ / อาํ นวยความสะดวกนักเรียนตามบริบทของหองเรียนของตนใหสามารถเรียนรูไดอยางมปี ระสิทธิภาพ และเต็มตามศักยภาพ (๕) เตรียมใบงาน (ท่ีคัดเลือกสําหรับมอบหมายใหนักเรียนไดทําตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมทั้งการเตรียมอปุ กรณตามระบใุ นแผนฯ และ/หรอื ที่ปรากฏในคลิป (ในกรณมี กี ารปรบั เปล่ียนเพมิ่ เตมิ )

ฑ (๖) ติดตามขอมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในชว งการปฏบิ ัติตามกําหนดการสอนที่มีรายละเอยี ด ของส่อื การสอน ใบงาน ใบความรู บนเวบ็ ไซต www.dltv.ac.th ๒) ข้นั การจัดการเรยี นรู (๑) สรางการมีสวนรว มของนักเรียนในการทาํ กิจกรรม เชน กระตนุ ใหน ักเรียนคดิ ตอบคําถามของ ครตู น ทาง ฟง เฉลยและชวยเสริม/อธบิ าย/ในสิ่งทน่ี กั เรยี นยงั ไมเ ขา ใจ ชมเชย/ใหกาํ ลังใจหากนกั เรยี นทาํ ไดด ี (๒) ใหความชวยเหลือนักเรียนที่ตามไมทัน เชน อธิบายเพ่ิมเติมเพื่อใหนักเรียนสามารถเรียนรู ตอ ไปอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ (๓) กํากับดูแลใหมีวินัยในการเรียน เชน ไมเลนหรือพูดคุยกัน ปฏิบัติตามคําส่ังในการทํากิจกรรม ฯลฯ (๔) อาํ นวยความสะดวกในการเรียนรู เชน จัดเตรียมสอ่ื การเรียนร/ู อปุ กรณ (๕) สังเกตพฤติกรรมนักเรียนเชน คุณลักษณะผูเรียน สมรรถนะสําคัญของผูเรียน การจัด การเรียนรู/การปฏิบัติงาน ความรูในบทเรียน และบันทึกขอมูลตามแนวทางประเมินท่ีแนะนําไวในแผน การจัดการเรียนรู เพื่อนําขอมูลไปพัฒนานักเรียนและใหความชวยเหลือนักเรียนทั้งช้ัน/กลุม/รายบุคคล ตามกรณี ๓) ข้ันการปฏบิ ัติ (๑) ทบทวนขั้นตอนการทํากจิ กรรมตามที่ครตู นทางแนะนํา และตามขอแนะนาํ การปฏิบัติที่ระบุใน PowerPoint ตรวจสอบความเขาใจ และเตรียมนกั เรยี นกอนทาํ กิจกรรม (การแบงกลุม ฯลฯ) (๒) กํากบั ใหการทํากิจกรรมเปน ไปตามลําดบั เวลาตามแนวทางทร่ี ะบุบน PowerPoint (๓) ใหความชวยเหลอื นกั เรยี นในระหวา งการทาํ กจิ กรรม (๔) เตรยี มพรอมนกั เรียนสําหรับกจิ กรรมในข้นั ตอนสรุปการเรยี น (ถามี) เชน การสรุปผลปฏบิ ตั ิงาน เพ่ือเทยี บเคยี งกับผลงานทนี่ กั เรยี นตนทางจะนาํ เสนอ เปนตน ๔) ข้ันสรปุ (๑) กํากบั นกั เรียนใหม สี วนรว มในการเฉลยใบงาน/สรปุ ผลการทาํ กจิ กรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเด็นสําคัญท่ีมีการสรุปทายชั่วโมง และงาน/ใบงานที่ครูตนทางมอบหมายให ทําเปนการบาน/หรอื ใบงานทคี่ รูปลายทางไดเลอื กมาใชก ับชน้ั เรียนของตน (๓) จัดใหนักเรียนไดทําแบบประเมินตามระบุในหัวขอ การวัดและประเมินผลการเรียนรู (เฉพาะ หลงั จบแตล ะหนว ยการเรียนรู และครึง่ /ปลายภาคเรียน) ๕) การบันทึกผลหลังสอน (๑) บันทึกการจัดการเรียนรขู องตนเอง โดยใชขอ มลู จากแบบสงั เกตพฤติกรรมผูเรยี นระหวางเรียน และแบบประเมินตนเอง บันทึกการเรียนรูของนักเรียนเพื่อวิเคราะหเทคนิค หรือวิธีการใด ที่ทําใหผูเรียน มสี ว นรวม มคี วามรู มที ักษะ และคณุ ลักษณะตามจุดประสงค (๒) บันทึกสาเหตุของความสําเร็จ อปุ สรรค และ/หรือขอจํากัดท่ีเกิดขึน้ เชน เทคนคิ หรือวิธีการใด การบริหารจัดการช้ันเรียน การจัดบรรยากาศ สิ่งแวดลอมอยางไร ฯลฯ ท่ีทําใหผูเรียนมีสวนรวม มีความรู มีทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค โดยใชคําถามท่ีใหไวใน “คําถามบันทึกผลหลังสอนสําหรับ ครูปลายทาง” (ดูภาคผนวก ค) เปนแนวทางในการยอนคิด ไตรตรองส่ิงท่ีเกิดข้ึนและนําไปบันทึกผลหลังสอน ของชวั่ โมงน้ัน ๆ (๓) วิเคราะหและสรุปผลจากขอมูลตามปญหา/ความสําเรจ็ ที่เกิดข้ึน และเสนอแนวทางการปรับปรุง เพ่ือนํามาพัฒนาการจัดการเรียนรู และชวยเหลือ/สงเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรูในครั้งตอไป รวมท้ัง นําไปใชเ ปนขอ มลู เพอ่ื พัฒนาเปนงานวิจยั ในชั้นเรยี นตอ ไป

ฒ คาํ อธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา พ๑๓๑๐๑ รายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา กลุมสาระการเรียนรูส ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง/ป ศึกษาและเปรียบเทียบการเจริญเติบโต ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของรางกายมนุษยกับเกณฑ มาตรฐาน ศึกษาความสําคัญและความแตกตางของครอบครัว การสรางสัมพันธภาพในครอบครัวและ กลุมเพอ่ื น การหลกี เลี่ยงพฤติกรรมทนี่ ําไปสูการลวงละเมิดทางเพศ ศึกษาการเคลอื่ นไหวรางกาย ขณะอยูกับท่ี เคล่ือนท่ีและใชอุปกรณประกอบอยางมีทิศทาง การเลนเกมเบ็ดเตล็ด ศึกษากฎกติกาและขอตกลง แนวทางการเลือกออกกําลังกาย การละเลนพื้นเมืองและเลนเกมท่ีเหมาะสมกับจุดเดน จุดดอยและขอจํากัด ของแตละบุคคล การสรางเสริมสมรรถภาพทางกาย ศึกษาการติดตอและวิธีการปองกันการแพรกระจาย ของโรค การจําแนกและการกินอาหารท่ีหลากหลายครบ ๕ หมูในสัดสวนที่เหมาะสมรูและเขาใจการแปรงฟน ใหสะอาดอยางถูกวิธี ศึกษาการปฏิบัติตนเพ่ือความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในบาน โรงเรียนและการเดินทาง วธิ ีขอความชว ยเหลือเมือ่ เกดิ เหตรุ า ยหรอื อุบตั ิเหตแุ ละการปฐมพยาบาลเมื่อบาดเจ็บจากการเลน โดยเรียนรูจากการปฏิบัติ การอธิบาย การเปรียบเทียบ การบอกและระบุ จําแนก แสดงวิธีทํา การสาธิต การยกตัวอยาง การคิดและตัดสินใจ การวิเคราะห การคนหาขอมูล การทดสอบและปรับปรุง ตลอดจนการใชก ระบวนการกลุมในการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนใฝเรียนรู มีวินัย มีจิตสาธารณะ รักความเปนไทย อยูอยางพอเพียงและเห็นคุณคา ในการนาํ ความรูไปใชในการดาํ เนินชวี ติ ประจาํ วันได ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ พ ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ พ ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ พ ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒ พ ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ พ ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ รวมทั้งหมด ๑๘ ตัวชว้ี ัด

ณ มาตรฐานการเรียนรู/ตวั ชีว้ ัด รหัสวชิ า พ๑๓๑๐๑ รายวชิ า สุขศกึ ษาและพลศึกษา (สขุ ศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๑ รวมเวลา ๒๐ ชว่ั โมง สาระท่ี ๑ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน พ ๑.๑ : เขาใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย ตวั ชวี้ ัด พ ๑.๑ ป.๓/๑ อธบิ ายลกั ษณะและการเจรญิ เตบิ โตของรางกายมนุษย พ ๑.๑ ป.๓/๒ เปรียบเทียบการเจริญเตบิ โตของตนเองกับเกณฑม าตรฐาน พ ๑.๑ ป.๓/๓ ระบุปจจัยที่มผี ลตอการเจริญเติบโต สาระที่ ๒ ชวี ติ และครอบครวั มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน พ ๒.๑ : เขาใจและเหน็ คุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมที กั ษะในการดําเนนิ ชวี ิต ตัวชีว้ ัด พ ๒.๑ ป.๓/๑ อธบิ ายความสําคัญและความแตกตา งของครอบครวั ท่ีมตี อตนเอง พ ๒.๑ ป.๓/๒ อธิบายวิธีสรา งความสัมพันธภาพในครอบครวั และกลุมเพอื่ น พ ๒.๑ ป.๓/๓ บอกวธิ ีหลกี เลีย่ งพฤตกิ รรมทน่ี ําไปสูก ารถกู ลว งละเมิดทางเพศ สาระท่ี ๓ การสรางเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน พ ๔.๑ : เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรคและ การสรางเสริมสมรรถภาพเพือ่ สขุ ภาพ ตัวช้ีวัด พ ๔.๑ ป.๓/๕ สรา งเสริมสมรรถภาพทางกายไดต ามคําแนะนํา

ด โครงสรางรายวชิ า รหัสวชิ า พ๑๓๑๐๑ รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ รวมเวลา ๒๐ ชว่ั โมง หนว ยที่ ช่ือหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนร/ู สาระสาํ คัญ/ ความคดิ รวบยอด เวลา นาํ้ หนัก ๑ สุขภาพดชี วี ีมสี ขุ ตัวชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน การเจรญิ เตบิ โตของรา งกาย ๒ ครอบครวั และเพ่ือน พ ๑.๑ ป.๓/๑ แตละคนมีความแตกตา งกัน ๑๐ ๒๕ ของฉนั พ ๑.๑ ป.๓/๒ ซง่ึ สามารถเปรยี บเทียบน้ําหนัก พ ๑.๑ ป.๓/๓ และสวนสูงของตนเองกบั เกณฑ ๑๐ ๒๕ พ ๔.๑ ป.๓/๕ มาตรฐาน เพอื่ จะไดป รับปรุงตนเอง ใหมคี วามเจรญิ เติบโตอยางสมวยั ๒๐ ๕๐ พ ๒.๑ ป.๓/๑ อาหาร การออกกาํ ลงั กาย และ พ ๒.๑ ป.๓/๒ การพักผอ น เปนปจ จัยสําคญั ที่มผี ล พ ๒.๑ ป.๓/๓ ตอ การเจรญิ เตบิ โตของรา งกาย รวมไปถึงการสรา งเสรมิ สมรรถภาพ รวมตลอดภาคเรียน ทางกายเพ่ือใหรางกายสุขภาพ แขง็ แรงสมวยั ความแตกตางกนั ของแตละ ครอบครัวยอมมผี ลตอการดาํ เนนิ ชีวติ ของสมาชกิ ในครอบครวั การสรางสมั พนั ธภาพกบั ครอบครวั และเพื่อน ทําใหเ ขา ใจตนเองและ ผอู น่ื และสามารถอยรู วมกัน อยา งมีความสขุ นอกจากนี้การถูก ลว งละเมิดทางเพศเปน ความรุนแรง ทางเพศท่สี ามารถหลกี เลยี่ งได หากมพี ฤตกิ รรมการปองกันที่ ถูกตองและเหมาะสม

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๑ เรื่อง สขุ ภาพดชี ีวีมสี ขุ ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๓ ๑ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ สขุ ภาพดชี วี มี สี ขุ

๒ คมู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๑ ชอ่ื หนว ยการเรยี นรู สุขภาพดีชีวีมสี ุข รหัสวิชา พ๑๓๑๐๑ รายวิชา สขุ ศึกษาและพลศึกษา (สขุ ศึกษา) กลุมสาระการเรยี นรูสุขศึกษาและพลศกึ ษา ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวช้วี ัด สาระท่ี ๑ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย มาตรฐานการเรียนรู พ ๑.๑ เขา ใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย ตวั ช้ีวดั พ ๑.๑ ป.๓/๑ อธบิ ายลกั ษณะและการเจริญเตบิ โตของรา งกายมนุษย พ ๑.๑ ป.๓/๒ เปรียบเทยี บการเจริญเติบโตของตนเองกับเกณฑม าตรฐาน พ ๑.๑ ป.๓/๓ ระบุปจ จยั ทม่ี ีผลตอการเจรญิ เติบโต สาระท่ี ๔ การสรา งเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการปองกนั โรค มาตรฐาน พ ๔.๑ : เห็นคณุ คาและมที ักษะในการสรา งเสริมสุขภาพ การดาํ รงสุขภาพ การปองกันโรค และการสรางเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ พ ๔.๑ ป.๓/๕ สรา งเสรมิ สมรรถภาพทางกายไดต ามคําแนะนาํ ๒. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด รางกายจะมีการเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงไปตามเพศ ทั้งพัฒนาการทางดานรางกายและจิตใจ ซ่ึงเราสามารถตรวจสอบการเจริญเติบโตของรางกายไดจากการเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการเจริญเตบิ โต โดยการจะมีพัฒนาการทางดานรางกายท่ีดีน้ันขึ้นอยูกับการไดรับปจจัยท่ีมีผลตอการเจริญเติบโตอยาง เหมาะสม ๓. สาระการเรยี นรู ความรู ๑) ลักษณะการเจริญเตบิ โตของรางกายมนษุ ยท่ีมคี วามแตกตา งกันในแตล ะบุคคล ๒) การปฏบิ ัตติ นเพ่ือใหมกี ารเจริญเติบโตตามวยั ๓) การชง่ั นํา้ หนักและวัดสว นสงู ๔) การเปรยี บเทยี บน้ําหนักสวนสูงกบั เกณฑม าตรฐาน ๕) ปจ จัยทีม่ ีผลตอการเจรญิ เติบโต ๖) องคป ระกอบของสมรรถภาพทางกาย ๗) การสรางเสริมสมรรถภาพทางกาย ๘) การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ๙) วธิ กี ารสรางเสริมสมรรถภาพทางกายเพอื่ สขุ ภาพ ทกั ษะ / กระบวนการ ๑) ปฏิบัติตนในการชั่งนาํ้ หนักและวดั สวนสูงตามข้ันตอนและบนั ทกึ ผล ๒) การเปรียบเทียบการเจริญเตบิ โตของตนเองกับเกณฑมาตรฐาน ๓) สํารวจการเปลี่ยนแปลงของรางกาย ๔) ทดสอบสมรรถภาพ เจตคติ ๑) เหน็ ความสําคญั ของการเจรญิ เติบโตของรา งกายตนเองไดมีพฒั นาการทีส่ มวัย

หนว ยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง สุขภาพดีชีวีมีสุข ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ๓ ๔. สมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคดิ ๓) ความสามารถในการแกป ญหา ๔) ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑) มีวนิ ัย ๒) ใฝเ รยี นรู ๖. การประเมินผลรวบยอด ชน้ิ งานหรือภาระงาน แบบบันทกึ นาํ้ หนักและสว นสูง เกณฑก ารประเมนิ ผลช้นิ งานหรือภาระงาน ประเดน็ การประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ๑. อธิบายลักษณะและ การเจริญเติบโตของ ๔ (ดีมาก) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง) รางกายมนุษย อธบิ ายลักษณะ ๒. เปรยี บเทียบการ อธิบายลกั ษณะ อธบิ ายลกั ษณะ อธบิ ายลกั ษณะ การเจริญเติบโตของ เจริญเติบโตของตนเอง การเจริญเติบโต ของ การเจรญิ เตบิ โตของ การเจรญิ เตบิ โตของ รางกายตนเองได กบั เกณฑมาตรฐาน รา งกายตนเองได รางกายตนเองได รา งกายตนเองได โดยตอ งใหผูอ ืน่ ถกู ตองตรงตามความ ถกู ตองตรงตามความ แตไมคอยตรงตาม แนะนาํ ๓. อธบิ ายปจ จัยทม่ี ผี ล เปน จริงทกุ ประเดน็ เปน จริงเปน สวนใหญ ความเปนจรงิ ตอ การเจริญเติบโต บันทกึ ขอมลู นํ้าหนัก บนั ทกึ ขอมลู น้าํ หนัก บันทึกขอมูลนาํ้ หนัก บนั ทกึ ขอมูลน้าํ หนัก สว นสูง ไดถูกตอง สวนสงู ไดถ ูกตอง สวนสูง ไดถ ูกตอง สว นสูง ไดถ กู ตอง ๑ ขอมลู แตแ สดง ครบถวน และแสดง ๒ ขอ มลู แตแสดง ๑ ขอมูล แตแ สดง ผลการเปรยี บเทียบ ผลการเปรยี บเทียบ ผลการเปรยี บเทยี บ ผลการเปรยี บเทยี บ กบั เกณฑม าตรฐาน กบั เกณฑมาตรฐาน กับเกณฑม าตรฐาน กบั เกณฑมาตรฐาน ไมถูกตอ งเลย ไดถูกตอง ไดถูกตอ ง ๑ ขอมลู ตอ งใหผ ูอน่ื แนะนํา อธบิ ายปจ จัยที่มีผล อธิบายปจ จยั ท่มี ีผล อธบิ ายปจจัยที่มีผล อธิบายปจ จยั ทีม่ ีผล ตอ การเจรญิ เติบโต ตอ การเจรญิ เติบโตได ตอ การเจริญเตบิ โตได ตอ การเจริญเตบิ โตได ได โดยตองใหผูอืน่ ถูกตองตรงตามความ ถูกตองตรงตามความ แตไมคอ ยตรงตาม แนะนํา เปน จรงิ ทุกประเด็น เปนจริง เปนสว นใหญ ความเปน จริง เกณฑการตัดสนิ คะแนน ๑๐-๑๒ หมายถงึ ดีมาก คะแนน ๗-๙ หมายถงึ ดี คะแนน ๔-๖ หมายถึง พอใช คะแนน ๑-๓ หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑการผา น ต้งั แตระดับพอใชข ้ึนไป

๔ คมู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) แผนการจดั การเรียนรูท ่ี ๑ เรอ่ื ง ลักษณะและการเจริญเตบิ โตของรา งกายมนุษย หนว ยการเรียนรทู ี่ ๑ เร่อื ง สุขภาพดีชวี ีมีสขุ เวลา ๑ ชวั่ โมง รายวชิ า สขุ ศึกษาและพลศึกษา (สุขศกึ ษา) ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๓ ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ช้ีวัด พ ๑.๑ เขาใจธรรมชาติของการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย พ ๑.๑ ป.๓/๑ อธิบายลักษณะและการเจรญิ เติบโตของรางกายมนษุ ย ๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด รางกายจะมีการเจริญเติบโตและเปล่ียนแปลงไปตามเพศ ทั้งพัฒนาการทางดานรางกายและจิตใจ ซึ่งเราสามารถตรวจสอบการเจริญเติบโตของรางกายไดจากการเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการเจริญเตบิ โต โดยการจะมีพัฒนาการทางดานรางกายท่ีดีนั้นข้ึนอยูกับการไดรับปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตอยาง เหมาะสม ๓. จดุ ประสงคก ารเรียนรู ๓.๑ ดา นความรู ความเขา ใจ (K) ๑. อธบิ ายพฒั นาการทางดา นรางกาย ๓.๒ ดานทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. สาํ รวจการเปล่ียนแปลงของรางกายของตนเอง ๓.๓ ดา นคุณลกั ษณะ เจตคติ คา นิยม (A) ๑. เหน็ ความสําคญั ของการเจริญเติบโตของรางกายตนเองไดม ีพัฒนาการที่สมวยั ๔. สาระการเรยี นรู ๑. ลักษณะการเจริญเติบโตของรา งกายมนษุ ยท่มี ีความแตกตา งกันในแตละบุคคล ๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกปญหา ๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต ๖. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค ๑. มวี นิ ัย ๒. ใฝเรียนรู ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๑ เรอื่ ง สุขภาพดีชวี ีมีสุข ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๓ การจัดกิจกรรมการเรยี น แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๑ เรือ่ ง ลักษณะ รายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (สุขศึกษา) หนวยการ แน ลําดบั จดุ ประสงค ขั้นตอนการจดั เวลา ท่ี การเรยี นรู การเรยี นรู ท่ใี ช กจิ กรรมครู ๑. ๑. สาํ รวจ ข้นั นํา ๕ ๑. ครูตงั้ คําถาม ดังน้ี การเปลี่ยนแปลงของ นาที “นักเรียนคิดวาการเจริญเตบิ รา งกายของตนเอง ดานรา งกายของคนเราเหมือ แตกตา งกันอยางไร” ๒. ใหน กั เรียนสังเกตการเปล ของรูปรา งตนเองและเปรยี บ การเปล่ยี นแปลงรางกายตนเ ในปจจบุ นั กับ ๑ ป ที่ผา นมา แตกตางกนั อยางไร ๓. ครูเชื่อมโยงเขา สบู ทเรยี น “ลกั ษณะและการเจริญเติบโ รา งกายมนุษย”

๕ นรู ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ะและการเจริญเติบโตของรางกายมนุษย รเรยี นรทู ี่ ๑ เรอ่ื ง สุขภาพดชี ีวีมีสุข จํานวน ๑ ชั่วโมง นวการจัดการเรยี นรู กจิ กรรมนกั เรียน สือ่ การเรียนรู การประเมนิ การเรียนรู ๑. นักเรียนรว มกันตอบคําถาม ๑. PowerPoint บโต (แนวคําตอบ : การเจรญิ เติบโต เร่ือง ลักษณะ อนหรอื ดา นรา งกายของคนเราแตกตางกนั การเจริญเติบโตของ เพราะรบั ประทานอาหาร และดูแล รางกายมนุษย ใชช วง รักษาแตกตา งกัน) ข้นั นําเขาสูบทเรียน ขั้นสอน และขน้ั สรปุ ลี่ยนแปลง ๒. นกั เรยี นสังเกตการเปลี่ยนแปลง บเทียบ ของรูปรางตนเองและเปรยี บเทียบ เอง การเปลยี่ นแปลงรางกายตนเอง าวา ในปจ จบุ ันกับ ๑ ป ที่ผา นมา วา มี การเปล่ียนแปลง เชน สงู ข้ึน น้ําหนกั เพิ่มขึ้น ฯลฯ นในหวั ขอ โตของ

๖ ลาํ ดบั จุดประสงค ขั้นตอนการจดั เวลา แน ท่ี การเรียนรู การเรียนรู ท่ใี ช กจิ กรรมครู ๒. ๒. อธิบายพัฒนาการ ขน้ั สอน ๒๐ ๑. ครใู หน ักเรยี นดภู าพบุคคล เจริญเติบโตทางดาน นาที ชวงวัย ดงั น้ี รา งกาย ภาพท่ี ๑ วยั ทารก ภาพท่ี ๒ วยั กอนเรียน ภาพที่ ๓ วัยเรียน ภาพท่ี ๔ วัยรนุ ภาพที่ ๕ วัยผใู หญ ภาพท่ี ๖ วัยผูสูงอายุ แลว ใหน กั เรียนรวมกนั ตอบค โดยครใู ชค ําถามดังนี้ - นกั เร แตล ะภาพ คือชวงวัยใด อาย ๒. ครใู หค วามรเู พ่ิมเติม เรือ่ ง การเจรญิ เตบิ โตตามวัย และ ลักษณะการเจรญิ เติบโตของ โดยใชสอื่ PowerPoint ๓. ขน้ั ปฏบิ ตั ิ ๒๐ ๓. ใหน กั เรียนแบง กลุม ๆ ละ นาที ทาํ กจิ กรรมจบั คภู าพกบั ลักษ การเจริญเตบิ โตของแตละวัย แจกบัตรภาพวัยตา ง ๆ กลมุ และแผนปา ยลักษณะการเจร ของแตละวัยจากนน้ั ใหนักเร กลมุ รว มกันติดภาพวยั ตาง ๆ

คมู อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) นวการจดั การเรยี นรู สือ่ การเรียนรู การประเมนิ กจิ กรรมนกั เรยี น การเรยี นรู ลแตล ะ ๑. นกั เรยี นดภู าพแตล ะชว งวัย ๒. บตั รภาพวัยตา ง ๆ แบบประเมนิ และรว มกันตอบคําถาม ในประเด็น ๓. แผน ปายลักษณะ ผลงาน นักเรียนคิดวา แตล ะภาพ คือ การเจรญิ เติบโตของ ชวงวยั ใด อายเุ ทา ไร แตละวัย (แนวคําตอบ : ๑.วัยทารก อายุ แรกเกดิ -๑ ป ๒. วยั กอนเรียน อายุ ๑-๖ ป ๓. วัยเรยี น อายุ ๖-๑๒ ป คาํ ถาม ๔. วัยรนุ อายุ ๑๒-๒๐ ป รียนคิดวา ๕. วัยผูใ หญ อายุ ๒๐-๖๐ ป ยเุ ทาไร ๖. วยั ผสู ูงอายุ อายุ ๖๐ ปขึ้นไป) ง ๒. นักเรยี นฟงครูอธิบายความรู ะอธิบาย เร่ือง การเจริญเติบโตตามวัยและ งแตละวัย อธิบายลกั ษณะการเจริญเตบิ โต ะ ๔ คน ๓. นักเรียนแบงกลมุ ทาํ กจิ กรรม ษณะ จบั คูภาพกบั ลักษณะการ ยโดยครู เจรญิ เติบโตของแตละวัย มละ ๑ ชดุ ริญเติบโต รียนแตล ะ ๆ ใหตรง

หนวยการเรียนรทู ี่ ๑ เร่ือง สุขภาพดชี ีวมี ีสขุ ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ ลําดบั จดุ ประสงค ข้ันตอนการจดั เวลา แน ที่ การเรยี นรู การเรยี นรู ที่ใช กิจกรรมครู กับลักษณะการเจรญิ เติบโตข แตล ะวัย โดยครใู หเวลา ๕ น ในการจบั คภู าพ ๔. ครแู ละนักเรียนรวมกนั เฉ อธบิ ายเพ่มิ เตมิ ในสวนของคว ท่นี ักเรยี นขาดหายไป ๔. ๓. เห็นความสาํ คญั ขั้นสรุป ๕ ๑. ครูและนักเรยี นรว มกนั สร ของการเจรญิ เติบโต นาที เรอื่ ง การเจริญเติบโตของรา ของรางกายตนเองได มพี ัฒนาการ มนษุ ยแ ตกตางกนั ในแตละชว ที่สมวยั ๒. ครูใหความรเู พิม่ เตมิ วา น การเจรญิ เตบิ โตของรา งกายแ เรายังสงั เกตไดวา เราสามาร เคล่อื นไหวไดค ลองแคลวขน้ึ ทํากิจกรรมตา ง ๆ ไดด ีข้ึน เช ยืนทรงตวั ขาเดียวได นับเลขถ ได อา นหนังสือในใจได เปน ต ซ่ึงส่ิงเหลา น้ี เรยี กวา พัฒนา

๗ นวการจดั การเรียนรู สือ่ การเรยี นรู การประเมิน กจิ กรรมนกั เรยี น การเรียนรู ของ นาที ฉลยและ ๔. นักเรยี นรวมกนั เฉลยและฟง ครู วามรู อธิบายเพิ่มเตมิ รุปความรู ๑. นกั เรียนรว มสรปุ ความรู างกาย เก่ยี วกับ เรอ่ื ง ลักษณะการ วงวยั เจรญิ เตบิ โตของรางกาย นอกจาก แลว รถ ชน ถอยหลงั ตน าการ

๘ คมู ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) ๘. สอ่ื การเรยี นร/ู แหลงเรยี นรู ๑. ส่อื PowerPoint เร่ือง ลักษณะการเจรญิ เตบิ โตตามวยั ๒. ภาพบุคคลวัยตา ง ๆ ๓. แผนปายลักษณะการเจริญเตบิ โตของแตละวัย ๙. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน กจิ กรรมจบั คูภาพกบั ลกั ษณะการเจริญเติบโตตามวยั เกณฑก ารประเมินผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน ๑. ความรว มมือ ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง) ในการปฏิบตั งิ าน สมาชิกในกลมุ ทกุ คน สมาชกิ ในกลมุ ไม กลุม มีสวนรวมในการ สมาชิกในกลมุ สมาชกิ ในกลมุ ชว ยกนั ปฏิบตั ิงาน ปฏิบัตงิ านอยางเต็มที่ สวนใหญม ีสว นรว ม บางสวนไมมี ๒. เนื้อความ ในการปฏบิ ัตงิ าน สวนรว มใน จบั คูภ าพกับลักษณะ ถูกตองของผลงาน จับคภู าพกบั ลักษณะ การปฏิบตั งิ าน การเจริญเตบิ โตได การเจริญเติบโตได ถูกตอง ๑-๓ ขอ ถกู ตองครบถวน จับคภู าพกับลักษณะ จบั คูภาพกบั ลักษณะ ๘-๑๐ ขอ การเจริญเตบิ โตได การเจริญเตบิ โตได ถูกตอง ๖-๗ ขอ ถูกตอง ๕-๔ ขอ เกณฑการตดั สิน หมายถึง ดมี าก คะแนน ๗-๘ หมายถึง ดี คะแนน ๕-๖ หมายถึง พอใช คะแนน ๔-๓ หมายถงึ ปรับปรงุ คะแนน ๑-๒ เกณฑการผาน ตัง้ แตร ะดบั พอใช

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรื่อง สขุ ภาพดชี วี ีมสี ุข ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๓ ๙ ๑๐. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาํ เรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ จํากัดการใชแ ผนการจัดการเรียนรู และขอ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแกไ ข .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ......................................................ผสู อน (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคิดเห็น/ขอ เสนอแนะของผูบริหารหรือผูท ไ่ี ดรบั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ...................................................... ผตู รวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

๑๐ คมู อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) ส่ือสาํ หรับครู หนวยการเรียนรทู ี่ ๑ สุขภาพดีชวี เี ปนสขุ แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๑ เรือ่ ง ลักษณะและการเจริญเตบิ โตของรา งกายมนุษย รายวชิ า สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) รหัสวิชา พ๑๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษา ๓ ภาพวัยตา ง ๆ ภาพที่ ๑ วยั ทารก ภาพที่ ๒ วยั กอ นเรยี น

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๑ เรื่อง สขุ ภาพดีชวี มี ีสขุ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ๑๑ ภาพที่ ๓ วยั เรียน ภาพที่ ๔ วยั รนุ ภาพท่ี ๕ วยั ผใู หญ

๑๒ คูมอื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) ภาพท่ี ๖ วยั ผูสูงอายุ แผนปา ยลักษณะการเจริญเติบโตของแตล ะวัย วัยทารก ฟนซแี่ รกขน้ึ สงเสยี งรอ งเมื่อรูสกึ หวิ

หนวยการเรยี นรูที่ ๑ เร่ือง สุขภาพดีชวี มี ีสุข ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ๑๓ วัยกอนเรียน ฟนน้ํานมจะครบ ๒๐ ซี่ วยั ทารกนาํ้ หนกั และสวนสูงเพ่ิมข้ึนชากวา วัยเรียน มกี ลา มเนอื้ แขง็ แรง คลองแคลววอ งไว

๑๔ คมู อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) วัยรุน มลี กั ษณะทางเพศชัดเจนมากข้นึ เพศหญิงมหี นาอกใหญข ้ึน วัยผใู หญ สวนสงู เพ่มิ ข้ึนชา หรอื ไมมกี ารเปล่ียนแปลงเลย เพศหญิงมแี นวโนมนาํ้ หนักตวั เพม่ิ มากขึ้น

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรื่อง สขุ ภาพดีชีวีมีสขุ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ๑๕ วยั ผูส ูงอายุ กระดกู เปราะ ฟนหัก เคลือ่ นไหวชา ทรงตวั ไดไ มด ี มือส่ัน

๑๖ คูมือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๒ เรอื่ ง ลกั ษณะการเจรญิ เตบิ โตของวยั เรยี น หนวยการเรียนรูท่ี ๑ เรื่อง สขุ ภาพดีชวี มี ีสุข เวลา ๑ ช่ัวโมง รายวิชา สุขศกึ ษาและพลศึกษา (สุขศกึ ษา) ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๓ ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชี้วดั พ ๑.๑ เขา ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย พ ๑.๑ ป.๓/๑ อธบิ ายลกั ษณะและการเจรญิ เตบิ โตของรา งกายมนษุ ย ๒. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด ลักษณะการเจริญเติบโตของวัยเรียน รางกายจะมีการเจริญเติบโตและเปล่ยี นแปลงไปตามเพศ ทําให ลักษณะรูปรา งนํา้ หนักสวนสงู แตกตา งกันไป โดยเดก็ ชายและเดก็ หญงิ จะมีลักษณะทางเพศชดั เจนมากขน้ึ ๓. จุดประสงคการเรยี นรู ๓.๑ ดา นความรู ความเขา ใจ (K) ๑. บอกลกั ษณะการเจรญิ เติบโตของวัยเรยี น ๓.๒ ดานทกั ษะ/กระบวนการ (P) ๑. สํารวจการเปล่ยี นแปลงของรางกายของตนเอง ๓.๓ ดา นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา นิยม (A) ๑. เห็นความสาํ คญั ของการมพี ฒั นาการที่ดสี มวัย ๔. สาระการเรียนรู ๑. ลักษณะการเจริญเตบิ โตของรา งกายมนุษยทม่ี ีความแตกตา งกนั ในแตล ะบุคคล ๕. สมรรถนะสําคญั ของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกปญ หา ๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวิต ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ๑. มวี นิ ยั ๒. ใฝเรยี นรู ๗. กจิ กรรมการเรียนรู

หนวยการเรยี นรูท่ี ๑ เรือ่ ง สุขภาพดีชวี มี สี ุข ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ การจดั กิจกรรมการเรียน แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๒ เร่ือง ลกั รายวชิ า สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) หนวยการ แน ลําดบั จุดประสงค ข้ันตอนการจดั เวลา ที่ การเรียนรู การเรยี นรู ท่ใี ช กจิ กรรมครู ๑. ขน้ั นํา ๕ ๑. ครูใหน ักเรยี นดภู าพเด็กชาย นาที เดก็ หญงิ วยั เรียนแลวเปรยี บเท และบอกความแตกตางวา มีลัก ทางกายอะไรบา งทแ่ี ตกตา งกัน ๒. ๑. สาํ รวจการ ขนั้ สอน ๒. ครเู ช่อื มโยงเขา สูบทเรยี นใน เปลย่ี นแปลงของ “ลักษณะการเจรญิ เตบิ โตของ รางกายของตนเอง วัยเรยี น” ๒๕ ๑. ใหน ักเรยี นสาํ รวจการเปล่ีย นาที ของรา งกายตนเอง เมื่อเทยี บก ตอนอยู ป.๒ มคี วามเปลีย่ นแป อยางไร ๒. ครปู ระมวลคําตอบจากนกั เ และใหความรเู พ่มิ เตมิ เกี่ยวกับ ลักษณะการเจรญิ เติบโตของวัย โดยใชส อื่ PowerPoint เรื่อง ลักษณะการเจรญิ เติบโตของวัย

๑๗ นรู ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ กษณะการเจริญเติบโตของวัยเรียน รเรียนรทู ่ี ๑ เร่อื ง สุขภาพดีชวี ีมีสขุ จาํ นวน ๑ ชัว่ โมง นวการจดั การเรียนรู กจิ กรรมนักเรยี น สือ่ การเรยี นรู การประเมนิ การเรียนรู ยและ ๑. นักเรียนดูภาพแลวรว มกันตอบ ๑. Powerpoint ทยี บ คาํ ถาม เร่อื ง ลกั ษณะการ กษณะ (แนวคําตอบ : เด็กหญิงตวั สูงกวา เจริญเติบโตของ น เดก็ ชาย) วยั เรยี น ๒. ภาพเด็กชาย นหัวขอ และเดก็ หญิง วยั เรียน ยนแปลง ๑. นกั เรยี นสํารวจรางกายของตนเอง ๑. PowerPoint แบบประเมิน กบั (แนวคาํ ตอบ : นํา้ หนักเพม่ิ ขนึ้ สวนสูง เรือ่ ง ลกั ษณะการ กิจกรรม ปลง เพิ่มข้ึน) เจรญิ เตบิ โตของ วยั เรียน ๒. บัตรคําลักษณะ เรยี น ๒. นกั เรียนฟงครูใหความรเู พ่ิมเตมิ การเจรญิ เติบโต อยา งต้งั ใจ วยั เรยี น ยเรยี น ยเรียน

๑๘ ลาํ ดับ จดุ ประสงค ข้ันตอนการจัด เวลา แน ท่ี การเรียนรู การเรียนรู ทีใ่ ช กิจกรรมครู ๒. บอกลกั ษณะ การเจริญเตบิ โต ๓. ครูชี้แจงการทํากิจกรรมติดบ ของวัยเรียน โดยครูจะแจกบัตรคําใหน ักเรีย คนละ ๑ ใบ จากนน้ั ใหน ักเรยี น ๓. พจิ ารณาวาบตั รคาํ ทน่ี กั เรยี นได เปน ลกั ษณะการเจริญเติบโตขอ วยั เรยี นหรือไม ขั้นปฏบิ ตั ิ ๑๕ ๔. ครูใหน กั เรียน ออกมาติดบัต นาที ลงในชอง โดยแยกเปนชองทใี่ ช ลกั ษณะการเจริญเตบิ โตของวัย และชอ งท่ีไมใชล กั ษณะ การเจริญเตบิ โตของวัยเรียน ๔. ๓. ตระหนกั ถึง ขัน้ สรปุ ๕. เมื่อนักเรียนตดิ ครบทกุ คนแ ความสาํ คญั ของ ครูมาตรวจสอบความถกู ตอ งแล การมพี ฒั นาการ อธิบายเพมิ่ เติม เกีย่ วกบั ลักษณ ทด่ี สี มวัย การเจริญเตบิ โตของวยั เรียน ๕ ๑. ครแู ละนักเรยี นสรปุ ความรู นาที ลักษณะการเจริญเตบิ โตของวยั น้ัน คอื ชวงอายุ ๖-๑๒ ป โดยเ และเด็กหญิงมลี ักษณะรปู รางไ แตกตางกัน เดก็ หญิงจะมีลกั ษ

คมู ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) นวการจดั การเรียนรู สอื่ การเรยี นรู การประเมิน กจิ กรรมนักเรียน การเรียนรู บัตรคาํ ๓. นกั เรียนรับบัตรคาํ และพิจารณาวา ยน บัตรคําท่ีไดร ับเปนลกั ษณะ น การเจรญิ เตบิ โตของวยั เรยี นหรอื ไม ดร ับ อง ตรคํา ๔. นกั เรยี นออกมาติดบัตรคาํ ช หนาหองเรยี น ยเรยี น แลว ๕. นักเรยี นและครรู ว มกันตรวจสอบ ละ ความถกู ตอ งและฟงครูอธบิ าย ณะ เพิ่มเติม ดังนี้ ๑. นักเรยี นรว มกนั สรปุ ความรู เร่ือง ๑. PowerPoint ยเรยี น ลกั ษณะการเจรญิ เติบโตของวยั เรยี น สรุป เรอื่ ง ลกั ษณะ เดก็ ชาย การเจรญิ เติบโต ไม ของวัยเรียน ษณะทาง

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรอ่ื ง สุขภาพดีชวี ีมีสขุ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๓ ลําดับ จดุ ประสงค ข้นั ตอนการจัด เวลา แน ที่ การเรียนรู การเรยี นรู ท่ใี ช กิจกรรมครู เพศชัดเจนกวาเพศชาย คือ หน ใหญข ึน้ เอวเลก็ ลง สะโพกผาย เปน ตน สว นเดก็ ชายจะมกี ลาม แข็งแรง ไหลก วา ง ทําใหเดก็ วัย มคี วามคลองแคลว วองไว

๑๙ นวการจัดการเรยี นรู ส่อื การเรยี นรู การประเมิน การเรยี นรู กิจกรรมนกั เรยี น นา อก ย มเนือ้ ยเรยี น

๒๐ คูม อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) ๘. ส่อื การเรียนรู/แหลง เรียนรู ๑. สือ่ PowerPoint เร่อื ง ลกั ษณะการเจรญิ เติบโตของวยั เรยี น ๒. ภาพเดก็ ชายและเด็กหญงิ วัยเรยี น ๓. บัตรคาํ ลักษณะการเจริญเตบิ โตของเพศหญิงและเพศชายในวยั ตาง ๆ ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน กจิ กรรมติดบัตรคําตามลักษณะการเจริญเติบโต เกณฑการประเมินผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ประเด็น ระดับคณุ ภาพ การประเมิน ๑. ความรว มมือ ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรบั ปรุง) ในการปฏิบตั ิงาน สมาชิกทกุ คนมี สมาชิกสว นใหญไ มมี สวนรวมในการปฏบิ ตั ิ สมาชกิ สวนใหญมี สมาชกิ ในกลุม สวนรว มในการปฏบิ ตั ิ ๒. เนื้อความ กิจกรรมอยางเต็มที่ สว นรว มในการปฏิบัติ บางสวนไมมีสว นรว ม กิจกรรม ถกู ตองของผลงาน กิจกรรม ในการปฏิบตั กิ ิจกรรม นักเรียนรอ ยละ ๘๐ นกั เรยี นไปติดบัตรคาํ ข้ึนไปติดบตั รคาํ นกั เรียนรอยละ นักเรยี นรอ ยละ ไดถ ูกตองตา่ํ กวา ไดถ ูกตอง ๗๐-๗๙ ติดบตั รคํา ๕๐-๖๙ ตดิ บัตรคาํ รอ ยละ ๕๐ ไดถ ูกตอ ง ไดถ ูกตอง เกณฑการตัดสิน หมายถงึ ดีมาก คะแนน ๗-๘ หมายถงึ ดี คะแนน ๕-๖ หมายถงึ พอใช คะแนน ๔-๓ หมายถึง ปรับปรุง คะแนน ๑-๒ เกณฑการผา น ต้ังแตระดบั พอใช

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๑ เร่อื ง สขุ ภาพดชี วี ีมสี ุข ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ๒๑ ๑๐. บันทึกผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาํ เรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญ หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ จํากัดการใชแ ผนการจัดการเรยี นรู และขอ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงแกไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................................ผูสอน (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคิดเหน็ /ขอเสนอแนะของผบู ริหารหรือผทู ่ไี ดร ับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ...................................................... ผูตรวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

๒๒ คูมอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) สือ่ สาํ หรบั ครู หนวยการเรียนรูท ี่ ๑ สุขภาพดีชีวเี ปน สุข แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๒ เร่อื ง ลกั ษณะการเจริญเติบโตของวยั เรยี น รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศกึ ษา) รหัสวิชา พ๑๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษา ๓ ภาพ เด็กชายและเด็กหญิงในวัยเรียน บัตรคําลกั ษณะการเจรญิ เติบโตดานตาง ๆ ในวยั เรยี น ตัวสงู กวาเพศตรงขา ม

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรื่อง สขุ ภาพดชี วี มี ีสขุ ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๓ ๒๓ คลองแคลววอ งไว ใชกลามเนอ้ื มดั เล็กไดด ี เลน กบั เพ่ือนเพศเดียวกัน เร่มิ เขา สวู ยั รุนเรว็ กวา เพศตรงขา ม สามารถควบคมุ อารมณข องตนเองได

๒๔ คูมือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๓ เรือ่ ง การปฏบิ ัตติ นเพอ่ื ใหม กี ารเจรญิ เติบโตตามวยั หนวยการเรยี นรูท่ี ๑ เรอื่ ง สขุ ภาพดชี วี มี ีสุข เวลา ๑ ชั่วโมง รายวิชา สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชี้วัด พ ๑.๑ เขา ใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย พ ๑.๑ ป.๓/๑ อธิบายลกั ษณะและการเจรญิ เตบิ โตของรางกายมนุษย ๒. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด การปฏิบัติตนเพื่อใหมีการเจริญเติบโตตามวัยเปนเร่ืองที่สําคัญมากเพราะจะทําใหรางกายสมบูรณ แขง็ แรงรวมถึงจติ ใจแจม ใสทาํ กิจกรรมในชวี ิตไดอ ยา งคลองแคลว วองไวและมีความสุข ๓. จุดประสงคการเรยี นรู ๓.๑ ดานความรู ความเขาใจ (K) ๑. บอกวธิ ีการปฏบิ ัตติ นเพอื่ ใหมีการเจริญเตบิ โตตามวยั ๓.๒ ดานทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. ปฏิบัติตนเพอ่ื ใหมีการเจริญเติบโตทางดานรา งกาย จิตใจ อารมณ และสติปญ ญาทเ่ี หมาะสม ตามวัย ๓.๓ ดานคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คานยิ ม (A) ๑. เหน็ ความสาํ คญั ของการปฏิบตั ิตนเพือ่ ใหม ีการเจริญเติบโตตามวัย ๔. สาระการเรียนรู ๑. การปฏบิ ตั ิตนเพ่ือใหมีการเจรญิ เตบิ โตตามวยั ๕. สมรรถนะสําคญั ของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ ๖. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินยั ๒. ใฝเ รยี นรู ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู

หนวยการเรียนรูท่ี ๑ เรอ่ื ง สขุ ภาพดีชวี มี ีสขุ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ การจัดกจิ กรรมการเรยี น แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๓ เรอื่ ง การปฏ รายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (สุขศกึ ษา) หนวยการ แ ลําดับ จดุ ประสงค ข้ันตอนการจดั เวลา ท่ี การเรียนรู การเรียนรู ทใ่ี ช กิจกรรมครู ๑. ขัน้ นาํ ๕ ๑. ครใู หน กั เรยี นดภู าพเด็กทวีป นาที ทเี่ ปน โรคขาดสารอาหาร แลว ใ รว มกันแสดงความรสู ึกตอ ภาพ ความคิดเห็นเก่ียวสาเหตขุ องล รปู รางบคุ คลในภาพ ๒. ๑. บอกวธิ กี าร ข้ันสอน ๒. ครเู ชื่อมโยงเขาสบู ทเรยี นใน ปฏบิ ัติตนเพอ่ื ใหมี “การปฏิบตั ิตนเพื่อใหม กี ารเจร การเจรญิ เตบิ โต ตามวยั ” ตามวัย ๒๕ ๑. ใหน ักเรียนรวมกนั แสดงควา นาที โดยครูตง้ั คําถามชวนคดิ ดงั น้ี - นักเรยี นมวี ธิ ีการปฏิบตั ิตนอย เพ่ือใหม ีการเจรญิ เตบิ โตตามวัย ๒. ครใู หน ักเรยี นจนิ ตนาการ ว ตวั เองในอนาคต ลงในกระดาษ แจกให


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook