Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-18-คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ม2-1

64-08-18-คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ม2-1

Published by elibraryraja33, 2021-08-18 04:03:06

Description: 64-08-18-คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ม2-1

Search

Read the Text Version

344 326 ใบงานที่ 15.1 เรอื่ งการปฏสิ นธิและการคลอด คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นเตมิ คาในชอ่ งว่างหลงั ตัวเลขในวงกลมจากข้อความท่กี าหนดใหใ้ ห้ถกู ต้อง การสบื พันธข์ุ องมนษุ ย์ อาศยั เซลล์สบื พนั ธ์เุ พศหญงิ ได้แก่ (1)..................................................... และเซลลส์ ืบพนั ธ์เุ พศชาย น่ันคือ (2)...................................โดยเซลลส์ ืบพนั ธุ์เพศหญิงสรา้ งจาก(3).................... สว่ นเซลลส์ ืบพันธ์ุเพศชาย สร้างจาก(4).................................. เม่ือเซลล์สบื พันธุ์เพศชาย คือ (5)........................ จะมีโครงสร้างที่ประกอบดว้ ย (6)......................................................................................................................... เมื่อเซลล์สืบพนั ธุ์เพศชายและเพศหญิง รวมตวั กนั ทาใหเ้ กดิ การ (7).................................................................... ซึ่งจะเกิดบรเิ วณ(8).....................................ของเพศหญิง เซลลไ์ ขท่ ่ีได้รบั การผสมเรยี กว่า(9)............................... จากนัน้ มนั จะแบ่งตวั แบบทวคี ูณกลายเป็นกลุ่มเซลลท์ เี่ รยี กว่า (10)…............................................................ แลว้ เคล่อื นไปฝังตวั บรเิ วณ (11)...........................ในขณะอยู่ในครรภ์มารดา ตัวอ่อนจะได้รับสารอาหาร ก๊าซ และขบั ถ่ายของเสยี ผ่านทาง (12).....................................และเจรญิ เตบิ โตอยู่ในครรภ์มารดา เปน็ เวลาประมาณ (13)...................................สปั ดาห์จึงคลอดออกมา โดยปกติ มนุษย์ต้งั ครรภแ์ ละคลอดทารก ครงั้ ละ 1 คน ดังน้ันการเกดิ ฝาแฝดจึงเปน็ การตงั้ ครรภท์ ี่ ผดิ ปกติ ฝาแฝดมี 2 ลกั ษณะ คอื ฝาแฝดรว่ มไข่ เรยี กวา่ (14) ....................................................................... ซ่งึ แฝดลักษณะน้ี เกดิ จากไข่ 1 ฟองกับอสจุ ิ 1 ตวั ส่วนฝาแฝดแบบที่ 2 เรยี กว่า (15)....................................... ซ่ึงฝาแฝดลกั ษณะน้ีอาจจะเป็นเพศเดยี วกนั หรือตา่ งเพศกนั กไ็ ด้

345 327 เกมบิงโก การปฏสิ นธแิ ละการคลอด ตารางบงิ โก ไซโกต เซลล์อสุจิ แฝดแท้ ผนงั มดลูก เอมบริโอ ท่อนาไข่ เซลล์ไข่ แฝดเทียม ฟีตัส คาถามเกมบงิ โก การปฏสิ นธิและการคลอด 1. เซลล์ท่ีเกิดจากการรวมตัวของนวิ เคลยี สของอสุจิกบั นวิ เคลียสของไข่ ภายในเวลา 12 ชั่วโมง เรียกวา่ อย่างไร (ไซโกต) 2. กลุ่มเซลล์ทีเ่ กดิ จากการแบ่งตวั แบบทวีคณุ ของไซโกต มีช่อื ว่าอย่างไร (เอมบริโอ) 3. การปฏสิ นธเิ กดิ ขนึ้ ทบ่ี ริเวณใด (ท่อนาไข่) 4. ระยะใดของทารกในครรภ์ที่เรมิ่ ปรากฏอวยั วะเพศ (ฟตี ัส) 5. เซลล์สืบพนั ธ์ุเพศหญงิ คือ (เซลลไ์ ข)่ 6. เซลลส์ บื พันธุเ์ พศชาย คอื (เซลลอ์ สจุ ิ) 7. แฝดท่ีเกิดจากเซลลไ์ ข่ 1 ใบ ผสมกบั เซลลอ์ สจุ ิ 1 ตวั เรยี กวา่ อยา่ งไร (แฝดแท้) 8. เซลล์ไข่ทไี่ ดร้ บั การปฏิสนธจิ ะฝงั ตวั อยู่บรเิ วณใด (ผนงั มดลูก) 9. แฝดทมี่ ีหน้าตาไมเ่ หมือนกัน คือแฝดประเภทใด (แฝดเทียม)

346 328 เฉลยใบงานที่ 15.1 เรือ่ งการปฏสิ นธิและการคลอด คาช้แี จง ให้นักเรียนเติมคาในช่องว่างหลังตัวเลขในวงกลมจากข้อความที่กาหนดให้ให้ถกู ต้อง การสบื พันธุ์ของมนุษย์ อาศัยเซลลส์ ืบพันธเ์ุ พศหญงิ ได้แก่ (1)......เซลล์ไข.่ ....................................... และเซลล์สบื พนั ธ์ุเพศชาย นน่ั คอื (2)...เซลลอ์ สุจิ...........โดยเซลลส์ บื พนั ธุเ์ พศหญงิ สรา้ งจาก(3)......รังไข่............ ส่วนเซลล์สืบพนั ธเุ์ พศชาย สรา้ งจาก(4).......อัณฑะ............... เมื่อเซลลส์ บื พนั ธุ์เพศชายและเพศหญงิ รวมตัวกันทาให้เกิดการ ( 5)........ปฏิสนธ.ิ ............................................. ซึ่งจะเกิดบริเวณ(6)....ท่อนาไข่หรอื ปีกมดลูก...................ของเพศหญงิ เซลลไ์ ข่ที่ไดร้ บั การผสมเรยี กวา่ (7)....ไซโกต จากนั้นมนั จะแบ่งตัวแบบทวีคณู กลายเป็นกลุ่มเซลลท์ ีเ่ รียกว่า (8)…..เอมบริโอ.......แล้วเคล่อื นไป ฝังตัวบรเิ วณ (9)....ผนังมดลูก....ในขณะอยใู่ นครรภม์ ารดา ตัวออ่ นจะได้รับสารอาหาร กา๊ ซและขบั ถา่ ยของเสยี ผา่ นทาง (10)...รก........และเจริญเติบโตอยูใ่ นครรภม์ ารดา เปน็ เวลาประมาณ 38 สปั ดาห์จึงคลอดออกมา

347 329 ที่มาของภาพ : ภาพถา่ ยโดย รุง่ นภา สังสอาด ถ่ายเม่ือ 20 พ.ค. 2561 ที่มาของภาพ : www.thaigoodview.com. สืบค้นเม่ือวันท่ี 14 มกราคม 2562, จาก https://sistacafe.com/summaries/13521 ทีม่ าของภาพ : www.thaigoodview.com. สบื ค้นเม่อื วันท่ี 14 มกราคม 2562, จาก https://sistacafe.com/Alinalan

348 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 16 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 รา่ งกายมนุษย์ เรือ่ ง การคมุ กาเนิดและเลือกวิธีการคมุ กาเนิดทเ่ี หมาะสม เวลา 1 ชัว่ โมง รายวิชารวาทิ ยยวาิชศาาวสทิ ตยรา์พศืน้าสฐตานร์ 3 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ขอบเขตเนอ้ื หา กิจกรรมการเรยี นรู้ ชว่ั โมงท่ี 35 แหล่งเรยี นรู้ การคมุ กาเนิด คือการป้องกนั ไมใ่ ห้ ข้ันนา 1. หอ้ งเรยี นวทิ ยาศาสตรโ์ รงเรยี น อสจุ ิของผ้ชู ายผสมกับไข่ หรือหากผสม 1. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยให้นกั เรยี นอา่ นขา่ ว เรอ่ื ง แม่ลูกดกวอนชว่ ย! เผยชีวติ แสนลาบาก 2. ห้องสมุดโรงเรียน ก็ป้องกันไม่ใหไ้ ขน่ ัน้ ฝังตวั ทม่ี ดลกู ลกู 15 คน ตอ้ งเล้ยี งดถู งึ 18 ชีวติ และถามนักเรยี น ดงั น้ี 3. แหล่งเรยี นรู้ออนไลน์ การคุมกาเนดิ โดยทัว่ ไปมอี ยสู่ องวิธี - เพราะเหตุใดครอบครวั นี้จงึ มีปญั หาเร่อื งความยากจน สอ่ื ใหญ่ ๆ คอื (มรี ายไดไ้ ม่เพียงพอกบั รายจา่ ย) 1. ข่าว เรือ่ ง แม่ลกู ดกวอนช่วย ! เผย 1. การคุมกาเนิดถาวร เปน็ การ - นักเรยี นคดิ ว่า เพราะเหตุใดครอบครวั น้ี จงึ มีลกู มาก ชวี ิตแสนลาบาก ลกู 15 คน ต้องเลย้ี งดู คมุ กาเนิดเมื่อไม่ตอ้ งการบตุ รอย่างถาวร (เพราะไม่มกี ารคุมกาเนดิ ) ถงึ 18 ชีวิต เชน่ การทาหมันชาย การทาหมันหญิง -นกั เรยี นคิดว่าทาไมตอ้ งมกี ารคุมกาเนิด 2. ใบความรู้ท่ี 16.1 เร่ืองความหมาย 2. การคมุ กาเนิดช่วั คราว เป็นวธิ ีทใ่ี ช้ (เพราะถ้าเกิดการต้งั ครรภโ์ ดยไม่พงึ ประสงค์ จะสง่ ผลกระทบในด้านตา่ ง ๆ เช่น ผลกระทบ ของการคุมกาเนดิ ปอ้ งกนั การตง้ั ครรภ์เมอ่ื ยังไม่พร้อมทจี่ ะ ดา้ นสขุ ภาพ เชน่ การตั้งครรภ์ขณะท่รี า่ งกายยังเตบิ โตไม่เต็มท่ี ส่งผลให้มคี วามเส่ียงตอ่ การ 3. ใบความรู้ที่ 16.2 เรอ่ื งการ มบี ุตร หรอื ตอ้ งการเว้นระยะเวลาการมี เสยี ชวี ิตจากภาวะครรภเ์ ป็นพิษ โลหิตจาง ภาวะตกเลอื ดหลังคลอด เยื่อบมุ ดลกู อักเสบ คมุ กาเนิดแบบช่วั คราว บตุ รเมอื่ เลกิ ใชก้ ส็ ามารถมบี ตุ รได้อีก ตลอดจนการเสียชีวติ จากการคลอดบุตร สว่ นทารกท่ีเกิดจากแมว่ ยั ร่นุ มักมีน้าหนกั แรกเกดิ ตา่ 4. ใบความรู้ท่ี 16.3 เรอ่ื งยาเมด็ ได้แก่ กวา่ เกณฑ์ปกติ ผลกระทบดา้ นการศึกษา เชน่ ปญั หาการออกกลางคนั ของนักเรียน ด้าน คุมกาเนิด การเลือกวิธีคุมกาเนิดข้นึ กับปัจจยั เศรษฐกจิ และด้านสังคม ย่งิ มเี ด็กหญิง/วัยรุ่นต้ังครรภ์จานวนมาก ต้นทุนการเสียโอกาสทาง 5. ใบความรู้ท่ี 16.4 เรอ่ื งการฉีดยา หลาย ๆ อยา่ งเชน่ สุขภาพ ความถี่ของ เศรษฐกิจจะย่ิงสง่ ผลกระทบต่อชุมชน ถ้ามวี ัยรนุ่ ทต่ี งั้ ครรภ์โดยไม่พึงประสงคจ์ านวนมาก จะทา คุมกาเนิด การใสห่ ่วงคุมกาเนิด การมีเพศสัมพันธ์ ความต้องการมีบุตร ใหป้ ระเทศตอ้ งสูญเสียตน้ ทุนค่าใช้จา่ ยท่ีต้องดแู ลแม่และเด็กในกลมุ่ นี้) และการฝังยาคมุ กาเนิด 330

349 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ร่างกายมนษุ ย์ เร่ือง การคมุ กาเนิดและเลือกวิธกี ารคุมกาเนดิ ที่เหมาะสม เวลา 1 ชว่ั โมง รายวิชารวาทิยวยชิาศาาวสทิ ตยราพ์ศาน้ื สฐตานร์ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ในอนาคต ขั้นสอน 5.ใบความรู้ที่ 16.5 เรื่องการคมุ กาเนิด 1. นักเรียนแบ่งกลุม่ ๆ ออกเป็น 5 กลุ่ม แตล่ ะกลมุ่ ประกอบด้วยคนเกง่ 1 คน ปานกลาง 2-3 แบบถาวร จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ คน และอ่อน 1 คน แตล่ ะกลุ่มเลอื กประธาน และเลขานกุ ารกลมุ่ เรียกวา่ กลมุ่ บา้ น (Home 6. แบบทดสอบที่ 16.1 เรอ่ื งการ 1) บอกความหมายของการคุมกาเนดิ group) คมุ กาเนิด ได้ 2. ครชู แี้ จงหน้าท่ีบทบาทและหน้าท่ีของนักเรียนในกลุ่มบ้าน (Home group) โดยให้แต่ละ 2) อธิบายวธิ ีคุมกาเนิดแบบต่าง ๆ ได้ กล่มุ มอบหมายภาระงานใหส้ มาชกิ รับผิดชอบดังน้ี 3) เลือกใช้วธิ กี ารคุมกาเนิดไดเ้ หมาะสม คนท่ี 1 รบั ผิดชอบใบความรู้ที่ 16.1 เรอ่ื งความหมายของการคมุ กาเนดิ กบั เพศ วยั และสถานการณ์ คนท่ี 2 รับผิดชอบใบความรู้ท่ี 16.2 เรื่องการคมุ กาเนิดแบบชว่ั คราว ดา้ นทักษะ/กระบวนการ คนที่ 3 รบั ผดิ ชอบใบความรู้ที่ 16.3 เรือ่ งยาเมด็ คุมกาเนิด 1. ทักษะการลงความเหน็ ข้อมลู คนที่ 4 รับผดิ ชอบใบความรู้ที่ 16.4 เรือ่ งการฉีดยาคมุ กาเนิด การใสห่ ว่ งคุมกาเนิด ทักษะการจาแนกข้อมูล และการฝงั ยาคมุ กาเนดิ ดา้ นคุณลักษณะ คนที่ 5 รบั ผิดชอบใบความรู้ท่ี 16.5 เรอ่ื งการคุมกาเนิดแบบถาวร 1. มีวินัย ระหวา่ งที่นกั เรยี นแตล่ ะคนศกึ ษาใบความรู้ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย ครผู ู้สอนต้องคอยดแู ล 2. ใฝเ่ รียนรู้ และอานวยความสะดวกให้กับนักเรยี น ถ้านักเรียนมีข้อสงสยั สามารถสอบถามครูไดต้ ลอดเวลา 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 3. เมือ่ จัดกลุ่มเชยี่ วชาญ (Expert group) โดยให้นกั เรยี นในกลุ่มบา้ นของแตล่ ะกลุม่ ท่ี รบั ผิดชอบเรอื่ งเดยี วกันไปรวมกลมุ่ ใหม่ แลว้ ศกึ ษา ทาความเขา้ ใจเน้ือหารว่ มกันจนมีความ เข้าใจในเรื่องนัน้ ๆ อยา่ งดี โดยกลุ่มเชี่ยวชาญแตล่ ะคน ศึกษาตามหัวข้อที่ตนไดร้ บั ผิดชอบ และมกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ซักถามจนเขา้ ใจในเร่อื งทร่ี บั ผิดชอบได้เปน็ อยา่ งดี จนสามารถ 331

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 รา่ งกายมนุษย์ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16 เวลา 1 ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่อื ง การคุมกาเนิดและเลือกวธิ ีการคมุ กาเนดิ ท่ีเหมาะสม ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 รายวิชารวาิทยยวาชิ ศาาวสทิ ตยราพ์ ศ้นืาสฐาตนร์ 3 ไปถา่ ยทอดเรื่องที่ศกึ ษาให้กับสมาชิกในกลุ่มบ้านได้ 4. กลบั กลุ่มบา้ น (Home group) โดยนักเรียนแตล่ ะคนกลับกลุม่ เดิม แล้วผลัดกันอธบิ ายให้ สมาชกิ ในกลุ่มฟงั เร่ิมจากเรื่องท่ี 1 2 3 ไปจนครบทกุ คน สมาชิกในกล่มุ ซกั ถามจนเปน็ ท่ีเขา้ ใจ ข้นั สรปุ 1. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มทดสอบรายบุคคล โดยใช้ แบบทดสอบ 16.1 เรือ่ งการคุมกาเนิด แล้วรวมคะแนน หรอื เฉลี่ยคะแนนเป็นคะแนนของกลุ่ม 332

351 333 การวดั และประเมินผล สิ่งที่ต้องการวดั /ประเมนิ วธิ ีการ เคร่อื งมือท่ใี ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ - ทดสอบ 1) บอกความหมายของการ - แบบทดสอบที่ 36.1 นักเรยี นตอบถูก เรื่องการคมุ กาเนิด ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60 คกุมารกคาุมเนกิดำ�ไเดน้ดิ ได้ ขนึ้ ไป 2) อธบิ ายวธิ คี ุมกาเนิดแบบ ตแบา่ งบๆตา่ ไงดๆ้ ได้ 3) เลอื กใชว้ ิธกี ารคุมกาเนิด ไดเ้ หมาะสมกับเพศ วยั และ สถานการณ์ ด้านทักษะ/กระบวนการ - ประเมนิ จากการทา - แบบทดสอบท่ี 16.1 นกั เรยี นตอบคาถาม 2. ทกั ษะการลงความเหน็ แบบทดสอบ 16.1 เร่อื ง เร่อื งการคมุ กาเนิด จากกิจกรรมระยะ การคุมกาเนดิ การเกดิ ประจาเดือน ข้อมลู ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 3. ทกั ษะการจาแนกขอ้ มลู ขึ้นไป ด้านคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมนิ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ 2 1. มวี นิ ัย คณุ ลกั ษณะ ทุกรายการขึ้นไป 2. ใฝเ่ รียนรู้ ถอื ว่าผ่าน 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน

352 334 บนั ทึกผลหลงั สอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ปัญหา/อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… (ลงชื่อ)…….............…………………..………… (...................................................) ตาแหนง่ ..................................................... วนั ที่.........เดอื น.........................พ.ศ............ ความเห็นของผู้บริหารสถานศกึ ษา ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… (ลงชื่อ)…….............…………………..………… (...................................................) ตาแหนง่ ..................................................... วันที่.........เดอื น.........................พ.ศ............

353 335 แมล่ ูกดกวอนชว่ ย ! เผยชีวิตแสนลาบาก ลกู 15 คน ตอ้ งเลย้ี งดูถึง 18 ชวี ิต คุณแมล่ ูกดกชาวตรงั ที่มีลูกมากถึง 15 คน วอนขอความชว่ ยเหลือ เผยชวี ิตแสนลาบาก ต้องเลี้ยงดู สมาชิกในครอบครัวถงึ 18 ชีวิต วนั ท่ี 30 สงิ หาคม 2559 ผสู้ อื่ ข่าวเปดิ เผยว่า ได้รบั แจ้งขอความช่วยเหลอื จากคูส่ ามีภรรยาลกู ดกท่ีมี ลูกมากถงึ 15 คน จึงเดนิ ทางไปตรวจสอบข้อเทจ็ จริงยังบ้านเลขท่ี 17/1 หมูท่ ่ี 4 ต.หาดสาราญ อ.หาดสาราญ จ.ตรงั เมื่อเดินนททาางงไไปปถถงึ ึงกกพ็ ็พบบกกับับนน.ส.ส.ศ.ศรรียยีุพุพาาฤฤททธิ์หธิ์หมนุมนุ อาอยาุย3ุ 939ปีปคี ุณคุณแมแ่ลมกู ล่ ดูกกดทก่ีมทลี ่มี ูกีลมกู ามกาถกึงถ1งึ 51ค5นคน โดย นโด.สย.ศนร.ียสพุ .ศารเยี ลุพา่ วา่าเลต่านวแา่ ตตง่ งนาแนตก่งับงสาานมกคี ับนสแารมกีคเนมแ่ือตรกอนเอมาอื่ ยตุ อ1น5อปาียแุ ล1ะ5มปีลกูี แดลว้ ะยมกลีันูก5ดว้ คยนกันหล5ังจคานกเหลกิลรงั าจกานักไเปลกิ ตรนาก็ มกานั พไบปรตกั นกับกส็มามพีคบนรปักัจกจบั บุ สนั ามคคีือนนปาัจยจปบุ รนัะภคาืออนิ าทยรป์ค�ำระอภาายุอ5ิน1ทปรี์คอายอ่กู ินายกุนั 5ม1าป1ี 4อยปูก่ ี ินมลีกูกันดมว้ ายก1นั4 ป10ี มคีลนูกดเ้วปยน็ กผันู้ชาย 810คนคนแลเปะผน็ ู้หผญชู้ งิาย78คนคนโดแยละกู ผคหู้นญโติงเป7็นผคหู้นญโงิดยอลายกู ุค2น2โตปเี ปแล็นะผคู้หนญเลิง็กอเปา็นยผุ 2้ชู 2ายปอี าแยลุ ะ2คเนดือเลน็กแเปลน็ะคผรูช้ อาบยคอราวัยขุ องตนมี ส2มเาดชือิกนอาแศลัยะอคยรู่ในอบา้คนรหัวขลงัอเงดตียนวกมันสี ถมงึาช1กิ8อชาวี ศติ ยั อปยระ่ใู นกบอบา้ นด้วหยลังตเนดียสวากมนัี ลถูกงึ 1158 คชนวี ติ แลปะรหะลกาอนบสดา้วอยีกต1นคสนามซี ่ึงเป็นลกู ขลอูกงล1ูก5สคาวนคแนลโตะหซลึ่งไาปนทสำ�างวาอนีกอย1ตู่ ่าคงนจงั ซหึ่งวเัดป็นลูกของลูกสาวคนโต ซึง่ ไปทางานอย่ตู า่ งจังหวดั น.ส.ศรยียุพพุ าาเเลลา่ า่ ตตอ่ ่อววา่ ่าตตนนแแลละสะาสมามี อีมาีอชาพี ชรพี บั รจับ้าจงกา้ รงีดกยราีดงยาแงต่ชแ่วตงช่น่ว้ีมงีฝนนม้ี ตฝี กนชตุกกจชึงุกไมจ่ไดึงไอ้ มอ่ไกดไ้อปอทกำ�ไงปานทาปงราะนกอบ กปบั รไะมก่มอรี บายกไับดไอ้ ม่ืนม่ เรีสารยมิ ไดท้อำ�ใ่ืนหเ้คสรอิมบทคารัวใหค้คอ่ นรอขบา้ งคลร�ำ ัวบคา่อกนตขอ้ า้ งงอลดามบอ้ื ากกินตม้อื งบอาดงมค้ือรกัง้ ไนิ มม่ม้ือแี มบ้เงาินงคจะรั้งซไ้อื มน่มมีแแมลเ้ะงขินา้ จวะสซาื้อรนแมละ ทแี่ผล่าะนขมา้ าวกสห็าลราแยลหะนทว่ ผ่ียง่าานนมเขากา้ ม็หาลใาหย้คหวานม่วชย่วงยาเนหเลขอื า้ มทาใ้งั หส้ค�ำ นวกัามงาชน่วพยฒัเหนลาือสงั ทค้งัมสแาลนะักคงวานมพม่ันฒคนงาขสองั คมมนแุษลยะ์ ค(พวมามจ.ม) ัน่ ตครงัง กขาอชงามดนจุษังหยว์ (ัดพตมรจงั .อ) บตตร.งั หกาดาสช�ำารดาจญังหรวมดั ถตึงรผัง้นู อำ�บในตพ.หน้ื าทดี่ แสตาก่รา็ไมญ่เพรยี วงมพถองึ ผเพนู้ ราาใะนนพาน้ื ทๆี่ แจตะ่กม็าไมส่เักพคียรงั้ พหนอ่ึงเตพนรจาะงึ อนยาานกจๆะ ขจอะใมหาห้ สนกั ว่ คยรงง้ั าหนนหงึ่รอื ตบนุคจคงึ ลอทย่สี าากมจาะรขถอชใ่วหย้หเหนล่วอื ยไงดา้ เนขห้ามราือใบหุค้ชคว่ ยลเทหี่สลาือมคารรอถบชคว่ รยัวเตหนลดือว้ ไยด้ เขา้ มาใหช้ ว่ ยเหลอื ครอบครัวตนด้วย ทม่ี าของข่าว : http://www.soccersuck.com/boards/topicstore/1405874

336 รหสั วิชา ว22101 เพราะคุณแม่จะ ลูกที่ต้องเลี้ยงดูอยู่เดิมและลูกซึ่ง จะช่วยเหลือตัวเองได้ คุณแม่ก็เริ่ม

355 337 คุมกาเนิด ฉีดยาคมุ กาเนิด ใส่ห่วงคมุ กาเนิด ฝงั ยาคมุ กาเนดิ แปะแผน่ ยาคุมกาเนิด ใส่ถุงยางอนามัย การนบั วัน การหลง่ั ภายนอก เปน็ ตน้ 2. การคุมกาเนิดถาวร เป็นวธิ ีคุมกาเนิดที่ทาคร้ังเดียวสามารถคุมกาเนิดได้ตลอด ไม่สามารถกลับมา ตั้งครรภ์ไดเ้ องอีก เหมาะสาหรบั ผู้ทไ่ี ม่ต้องการมีบตุ รอกี แลว้ ไดแ้ ก่ การทาหมันชายและหมนั หญงิ ภาพท่ี 16.1 แสดงประสทิ ธิภาพของการคุมกาเนดิ วธิ ีตา่ งๆ ทม่ี า: https://www.amarinbabyandkids.com/app/uploads/2017/06/0128125001482910562.jpg

338 รหสั วิชา ว22101 สามารถป้องกันโรคติดต่อ ทางเพศสัมพนั ธ์ได้

357 339 ถุงยางอนามัยสตรีจะมีความยาว 6.5 นิ้ว หรือยาวประมาณ 15 เซนติเมตร ที่ปลายถุงทั้งสองด้านมีห่วงยาง หรือวงแหวนยืดหยุ่น 2 วง ห่วงจะมีลักษณะแข็งกว่าส่วนอ่ืน มีไว้เพ่ือให้เกิดความกระชับและเพื่อให้คงรูปร่าง ไว้ได้ในขณะใช้งาน ปลายถุงด้านหน่ึงตันเพื่อใช้สอดเข้าไปในช่องคลอด ส่วนปลายถุงอีกด้านหนึ่งจะเป็น ปลายเปดิ ยืน่ ออกมานอกชอ่ งคลอด ภายในถงุ ยางจะมีนา้ ยาหล่อลน่ื แต่ไม่มียาฆา่ เชื้ออสจุ ิ ขอ้ ดี: สามารถป้องกนั โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพนั ธไ์ ด้ สามารถใช้ร่วมกบั เจลหล่อล่ืนท่ีเป็นนา้ มนั ได้ และ ไม่เก่ยี วข้องกบั ระดบั ฮอรโ์ มนในร่างกาย ขอ้ เสยี : ขัดจงั หวะการร่วมเพศ และต้องใช้ทุกคร้ังที่มเี พศสัมพนั ธ์ ภาพท่ี 16.3 แสดงถุงยางอนามยั สตรี ภาพที่ 16.4 แสดงวิธกี ารใส่ถงุ ยางอนามยั สตรี ทีม่ า : http://cdn.mamaexpert.com/files/content ท่ีมา : http://www.mujeres.co.cu/sitiolai /00052/250f7/conversions/big.jpg colocar-condon-femenino.jpg

340 รหัสวชิ า ว22101 เพราะต้องกินยาทุกวันจึงมี ซึ่งสามารถใช้ได้ตั้งแต่หลังคลอด ได้บ่อยยากินคุมกำ�เนิด การคุมกำ�เนิดโดยวิธีนี้ไม่ควรใช้เป็นวิธี รบกวนรอบระดูตามปกติทำ�ให้มาไม่สม่ำ�เสมอและออก

359 341 ภาพท่ี 16.7 แสดงวธิ กี ารปฏบิ ัติหากลืมกนิ ยาคมุ ท่มี า : https://med.mahidol.ac.th/ramapharmacy/sites/default/files/public/img/%E0%B8%A2 %E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%A12.JPG

342 รหัสวชิ า ว22101 การใส่ห่วงคุมกำ�เนดิ กลไกการคมุ ก�ำ เนดิ คือห่วงจะไปขัดขวางการฝังตวั ของตัวออ่ นในโพรงมดลกู แพทย์จะ ใส่หว่ งคุมก�ำ เนดิ เขา้ ไปในโพรงมดลูก แล้วเหลือสายหว่ งออกมาจากปากมดลูกยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ดงั น้นั จะตอ้ ง ตรวจสายหว่ งเป็นระยะ อายกุ ารใชง้ านของหว่ งคมุ ก�ำ เนิด คอื 3-5 ปีแล้วแตช่ นดิ ของหว่ งคมุ ก�ำ เนิด ข้อดีคอื ไมต่ ้องกินยา ทกุ วัน ไม่ต้องถูกฉีดยาทกุ 3 เดอื น ไม่มีปัญหาเร่ืองประจำ�เดอื นผิดปกตกิ ระปริกระปรอย ไม่มีผลตอ่ น�ำ้ หนกั ตวั ไม่คลนื่ ไส้ อาเจียน ไมท่ ำ�ให้เกดิ สวิ ฝา้ มากข้ึน แตข่ ้อเสยี คือ ตอ้ งคอยตรวจเช็คสายห่วงอย่างสม�่ำ เสมอ

361 343 ภาพท่ี 16.9 แสดงหว่ งอนามัยประเภทตา่ ง ๆ ท่ีมา: https://goo.gl/3auCb3 3.การฝงั ยาคมุ กาเนิด การฝังยาคุมกาเนิดสามารถทาได้ตง้ั แตร่ ะยะคลอดใหม่ ๆ ไมม่ ผี ลตอ่ ปรมิ าณนา้ นม แพทยจ์ ะฝังหลอด ยาเล็ก ๆ ยาวประมาณ 3 เซนตเิ มตร แบบจานวน 1หลอด, 2 หลอด หรอื 6 หลอด (แล้วแตช่ นดิ ของยา) เขเข้า้า ใต้ผวิ หนังบริเวณท้องแขนดา้ นใน (รูปที่ 3) ยาฝังคุมกาเนิดจะมฤี ทธคิ์ ุมกาเนิด 3-5 ปี แลว้ แตช่ นดิ ของยา ข้ออดดี ี คือสามารถคุมกาเนดิ ได้นาน ไม่ต้องกินยาทุกวนั ไมถ่ ูกฉีดยาบ่อย ๆ และ ไมต่ ้องเชค็ สายห่วง ไไมม่ม่มโี อีโอกกาาสสหหลลดุ ุด เหมือนหว่ งคุมกาเนิดแต่ผลขา้ งเคียงท่ีพบบ่อยคือ ประจาเดือนกระปรกิ ระปรอย นา้ หนักขึ้น ขอ้ ดี: สามารถคมุ กาเนิดได้ 3 - 5 ปี สามารถใชใ้ นผูท้ มี่ ขี ้อห้ามตอ่ การใชฮ้ อร์ โโมมนนเอเอสสโตโตรเรจเนจนและและ สามารถใช้ในผูท้ ม่ี ีอายุมากกว่า 35 ปที ีส่ บู บหุ ร่ี ขอ้ เสีย: ต้องได้รับการฝงั ยาจากบุคลากรทางการแพทย์ท่ีได้รับการฝกึ ฝนมา มหี ลักฐานการคุมกกาำ�เเนนดิ ิด โดยสามารถคลาแท่งยาได้ท่ีบริเวณท้องแขน อาจพบภาวะแทรกซ้อนจากการฝังยาเช่น มีกอ้ นเลือดคงั่ บรเิ วณที่ กรีดผวิ หนัง และอาจพบวา่ ตาแหนง่ ของแท่งยาเคลอื่ นไปจากตาแหน่งเดิม ภาพที่ 16.10 แสดงการฝังยาคมุ กาเนิด ทีม่ า: https://goo.gl/UciztQ

344 รหัสวิชา ว22101

345

364 346 แบบทดสอบที่ 16.1 เรอื่ งการคุมกาเนิด หน่วยท่ี 2 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 16 เรอื่ งที่ 6 การคุมกาเนดิ และเลอื กวธิ กี ารคมุ กาเนิดทเ่ี หมาะสม รายวริชาายวชิทายาวศทิ ายสาตศราพ์ ส้นื ตฐรา์ นร3หสั วรชิ หาัสวชิ2า21ว021110ภ3าคเภรยีานคเทรี่ย1นชทนั้ี่ 1มธัชย้ันมมศัธกึ ยษมาศปกึ ทีษี่ า2ปีท่ี 2 คาชีแ้ จง ให้นักเรียนเลือกคาตอบทีถ่ ูกตอ้ งท่สี ุดเพียงคาตอบเดียว 1. ข้อใดคือข้อดีของยาเมด็ คุมกาเนิดชนดิ ฮอร์โมนรวม ก. ไมม่ ีอีสโตรเจน ทาให้เส่ียงตอ่ โรคลม่ิ เลือดอดุ ตันเสน้ เลอื ด ลดน้อยลง ข. ทาให้ปวดประจาเดอื นนอ้ ยลง, เสยี เลือดประจาเดอื นน้อยลงลดอาการตา่ ง ๆ ที่มักเปน็ ช่วงก่อนมปี ระจาเดือน ค. ขอ้ ดีกวา่ ยาฉดี คุมกาเนิดตรงที่ เมื่อหยุดกนิ ยาแลว้ สามารถต้ังครรภ์ได้ทันที ง. ทาใหป้ ระจาเดอื นมาเป็นปกติมากขน้ึ สามารถคาดเดาได้ว่าประจาเดอื นจะมาวนั ใด 2. การใสห่ ่วงคมุ กาเนิดของผูห้ ญิงใส่บรเิ วณใด ก. รงั ไข่ ข. ท่อรงั ไข่ ค. ช่องคลอด ง. โพรงมดลูก 3. สม้ ต้องการคมุ กาเนิดชนดิ ถาวร ควรปฏบิ ัติอย่างไร ก. การใส่ห่วงอนามัย ข. การกนิ ยาคมุ กาเนิด ค. การฉีดยาคมุ กาเนิด ง. การทาหมนั 4. โตง้ ต้องการทาหมันชาย หมอจะทาให้โดยการทาอยา่ งไร ก. ผกู มดั และตดั ท่อนา้ เชอื้ อสุจิให้ขาดจากกัน ข. เยบ็ ทอ่ นา้ เชอื้ อสุจิใหต้ ิดกนั ค. ทาให้ตวั อสจุ ิเขา้ ออกไมไ่ ด้โดยผา่ ตัดต่อมลกู หมาก ง. ตัดทอ่ น้าเชอื้ อสจุ ิท้งิ ไป 5. การกินยาเม็ดคมุ กาเนิดมีอาการแทรกซ้อนอยา่ งไร ก. ทอ้ งอืด ข. ปวดศรี ษะ ค. มีฝ้าขึน้ ทีใ่ บหน้า ง. มีผดผ่ืนขนึ้ ตามรา่ งกาย

365 347 6. ขอ้ ใดเปน็ วิธีการคมุ กาเนิด ก. การเร่งกาเนิด ข. การเว้นระยะการมีบุตรชว่ั ระยะหน่งึ ค. การเลือกกาเนดิ บตุ รเพศชาย ง. การปอ้ งกนั การร่วมเพศ 7. ข้อใดกลา่ วถกู ต้องเกยี่ วกับการใช้ถุงยางอนามัย ก. ฝ่ายหญงิ สบายใจขน้ึ ข. ปอ้ งกันการตดิ เชอ้ื ค. คมุ กาเนดิ ไดน้ าน 1 เดือน ง. เสยี ค่าใชจ้ า่ ยมาก 8. การฉดี ยาคุมกาเนดิ คุมได้นานเทา่ ใด ก. 3 เดือน ข. 4 เดอื น ค. 5 เดือน ง. 6 เดอื น 9. การรบั ประทานยาคุมกาเนิด ควรรบั ประทานยาเม็ดแรกเมือ่ ใด ก. วนั แรกของการมีประจาเดือน ข. วันทส่ี ามของการมีประจาเดอื น ค. วนั ทห่ี ้าของการมปี ระจาเดือน ง. วนั ท่เี จด็ ของการมปี ระจาเดอื น 10. การคมุ กาเนดิ ทหี่ าระยะปลอดภัยในรอบเดือน หรือท่ีเรยี กวา่ \"กอ่ น 7 หลัง 7\" หมายถึง ก. การงดเว้นร่วมหลบั นอนในช่วงกอ่ นมปี ระจาเดอื น 7 วนั และหลงั จากเรม่ิ มปี ระจาเดอื นอกี 7 วัน จะ ไมม่ โี อกาสตัง้ ครรภ์ ข. การงดเว้นร่วมหลบั นอนในชว่ งก่อนมปี ระจาเดือน 7 วนั และหลงั จากวันเร่ิมหมดประจาเดือนอีก 7 วนั จะไม่มโี อกาสตง้ั ครรภ์ ค. การร่วมหลบั นอนในชว่ งกอ่ นมปี ระจาเดือน 7 วัน และหลังจากวันเรม่ิ มีประจาเดือนอีก 7 วนั จะไม่มี โอกาสตัง้ ครรภ์ ง. การรว่ มหลับนอนในช่วงก่อนมีประจาเดือน 7 วนั และหลังจากวันเรม่ิ หมดประจาเดอื นอีก 7 วัน จะไม่ มโี อกาสต้ังครรภ์

366 348 เฉลยแบบทดสอบท่ี 16.1 เร่ืองการคมุ กาเนิด หนว่ ยที่ 2 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 16 เร่ืองที่ 6 การคมุ กาเนิดและเลอื กวิธกี ารคมุ กาเนิดทเ่ี หมาะสม รายวรชิ าายวชิทายาวศทิ ายสาตศรา์พสืน้ ตฐรา์ นร3หสั วรชิ หาัสวิช2า21ว021110ภ3าคเภรยีานคเทร่ีย1นชทนั้ี่ 1มธัชย้ันมมศัธกึ ยษมาศปึกทีษ่ีา2ปีท่ี 2 1. ง 2. ง 3. ง 4. ก 5. ข 6. ง 7. ข 8. ก 9. ค 10. ค

367 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 17 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 รา่ งกายมนษุ ย์ เรอ่ื ง ตระหนกั ถึงผลกระทบต่อการต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร เวลา 1 ชว่ั โมง รราายยววชิ ชิ าาววิทิทยยาาศศาาสสตตรร์ พ์ ้นื ฐาน 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมงที่ 36 แหลง่ เรยี นรู้ การตงั้ ครรภก์ ่อนวัยอันควร ขั้นนา 1. หอ้ งเรยี นวทิ ยาศาสตรโ์ รงเรียน หมายถึง สถานการณ์การตงั้ ครรภ์ 1. ครนู าเขา้ สูบ่ ทเรยี นโดยให้นกั เรยี นชมวิดีโอคลปิ สถานการณ์ตามลงิ ก์ 2. ห้องสมุดโรงเรยี น ทไ่ี ม่ได้ตง้ั ใจ ทไี่ ม่ได้มีการวางแผน https://www.youtube.com/watch?v=1PIFGP-znrk 3. แหลง่ เรยี นรอู้ อนไลน์ ให้เกดิ ขนึ้ การไม่มคี วามรู้ในเร่อื ง หลังจากน้นั ครูถามคาถามว่า สอ่ื เพศศึกษา หรือเขา้ ใจเกี่ยวกับคมุ กาเนิด - อะไรคือปจั จัยทีท่ าให้เกดิ การต้ังท้อง 1. วดิ โี อคลปิ ผิดวธิ ี การถูกข่มขนื จนตง้ั ครรภ์ เปน็ ตน้ (การมีเพศสัมพันธ์) 2. ขา่ ว เรื่อง ม.6 ทาแท้งตกเลอื ด ซง่ึ เปน็ การต้ังครรภ์ก่อนวยั และคลอด - เกดิ อะไรขึ้นกบั นักเรียนหญิงในวดิ ีโอคลปิ นกั เรยี นคนนั้นพรอ้ มสาหรับการตงั้ ครรภห์ รอื ไม่ 3. ใบงานท่ี 17.1 การตง้ั ครรภก์ ่อนวยั บตุ รในชว่ งอายุ 10 – 19 ปี (นกั เรยี นหญงิ ต้ังครรภ์โดยไม่พร้อม ซึ่งเกิดจากการมเี พศสมั พันธ์แบบไม่ป้องกนั ) อนั ควร การตัง้ ครรภ์ในวยั รุ่นมักกระทบต่อ ขัน้ สอน 4. ใบความรู้ที่ 17.1 เรื่องการตั้งครรภ์ การเรยี น ฉะน้ันครอบครวั ควรให้ 1. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลมุ่ ๆ ละเทา่ ๆ กัน จากน้ันใหน้ ักเรยี นแต่ละกล่มุ อา่ นขา่ ว เรอ่ื ง ก่อนวัยอันควร ความรกั เอาใจใสบ่ ุตรหลาน ไม่ควร ม.6 ทาแท้งตกเลือด ปลอ่ ยให้อยลู่ าพัง สถานศึกษาควรมี 2. จากนั้นครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกนั อภิปรายเก่ยี วกบั ขา่ ว เรอ่ื ง ม.6 ทาแท้งตกเลอื ด กจิ กรรมส่งเสริมเพื่อให้ความรู้สาหรบั โดยสรปุ ผลการอภิปรายลงในใบงานที่ 17.1 การตง้ั ครรภ์ก่อนวัยอนั ควร นักเรียนทุกปี ซ่ึงเป็นแนวทาง 3. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการอภิปราย การปอ้ งกันปัญหาอย่างหน่งึ ที่ใกล้ชดิ 4. นักเรยี นศกึ ษาใบความรู้ เร่ือง 17.1 การต้งั ครรภ์ก่อนวยั อนั ควร เดก็ วยั เรยี น 349

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 17 368 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 รา่ งกายมนษุ ย์ เรือ่ ง ตระหนักถึงผลกระทบต่อการตงั้ ครรภ์กอ่ นวัยอนั ควร เวลา 1 ช่ัวโมง รารยาวยิชวิชาวาิทวทิยายศาศาสาสตตร์รพ์ นื้ ฐาน 3 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ข้ันสรุป 1) บอกความหมาย สาเหตุ และ 1. นกั เรยี นเขียนแผนผงั ความคดิ เรือ่ ง วิธกี ารปอ้ งกนั การต้ังครรภ์ก่อนวยั อันควร ผลกระทบจากการต้ังครรภ์ก่อนวยั อนั ควรได้ 2) นกั เรยี นบอกวธิ กี ารปอ้ งกันการ ต้งั ครรภก์ อ่ นวัยอนั ควรได้ 3) นกั เรยี นตระหนักถึงผลกระทบต่อ การตง้ั ครรภก์ ่อนวยั อนั ควร ด้านทักษะ/กระบวนการ 1. ทักษะการลงความเห็นข้อมูล ด้านคณุ ลักษณะ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน 350

369 351 การวดั และประเมินผล ส่ิงทีต่ ้องการวัด/ประเมิน วิธีการ เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ - การอภิปราย 1) บอกความหมาย สาเหตุ - ใบงานท่ี 17.1 การ นกั เรียนตอบถกู และผลกระทบจากการ - ประเมนิ จากการ ต้งั ครรภ์ก่อนวัยอันควร ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 ตั้งครรภ์กอ่ นวัยอันควรได้ อภิปราย 2) นักเรยี นบอกวิธกี าร ขน้ึ ไป ป้องกนั การตง้ั ครรภก์ อ่ นวัย อันควรได้ - ใบงานที่ 17.1 การ นักเรียนตอบคาถาม 3) นกั เรยี นตระหนกั ถึง ตัง้ ครรภ์ก่อนวัยอันควร จากกจิ กรรมการ ผลกระทบต่อการต้ังครรภ์ ตง้ั ครรภก์ ่อนวยั อนั ก่อนวัยอนั ควร ควร ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 60 ข้ึนไป ดา้ นทักษะ/กระบวนการ 2. ทกั ษะการลงความเห็น ข้อมลู ด้านคุณลักษณะ สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมิน ได้ระดบั คุณภาพ 2 1. มวี ินัย คณุ ลกั ษณะ ทุกรายการขึ้นไป ถือวา่ ผ่าน 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งม่ันในการทางาน

370 352 บันทึกผลหลงั สอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ปัญหา/อปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… (ลงช่ือ)…….............…………………..………… (...................................................) ตาแหน่ง ..................................................... วนั ที่.........เดือน.........................พ.ศ............ ความเห็นของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… (ลงชื่อ)…….............…………………..………… (...................................................) ตาแหน่ง ..................................................... วนั ท่ี.........เดือน.........................พ.ศ............

371 353 ม.6 ทาแท้งตกเลือด โดย เพลิงมรกต บบ่าา่ ยยววันันทท่ี ่ี1133ตต.ค.ค.. มมูลูลนนธิ ธิ ริ ิร่ว่วมมกกตตัญญั ญญู ไู ดได้รับ้รบัแจแง้จขง้ อขคอวคาวมาชม่วชย่วเหยลเหือลใหอื น้ ให�ำ เ้นดา็กเหดญก็ หงิ ทญม่ี งิ อี ทา่มีกีอาราตกกาเรลตือกดเใลนอื หด้องพกั ทใน่ีรัชหดอ้ างซพติ ัก้ี คทอรี่ นัชโดดาซแิตขี้วคงอแลนะโดเขตแหข้วยงขแวลาะงเขไตปหส่งว้ โยรขงพวายงาบไาปลสไง่ปโถรงึ พบยศาพบเาดลก็ ไทปาถรึงกพอบอศกพมาเดแ็กลทว้ ามรีแกขอนอ-กขามาอแวลยั ้ววะเกือบ คมรแี บขถน้ว-นขาอาอยวุใัยนวคะรเรกภือป์ บรคะรมบาณถ้วน6 อเดาือยนใุ นสค่วรนรผภู้เป์ ร็นะแมมา่อณยูใ่ น6หเ้อดงอื นน�ำ้ สส่วภนาผพเู้ เปลน็ือแดทม่วอมยต่ใู นวั หอ้อ่องนนแ้ารงสภแาลพะไเลมอื่ไดด้สทตว่ ิ มตีเดวั ก็ ผอู้ชอ่ านยแดรูแงลอแยลู่ ะสไอมบ่ไดถา้สมตเิดม็กีเผดชู้็กาผยู้ชไาดย้คดวูแามลวอ่ายู่ทส้งั อคบู่อถายามุ 1เด7็กปผเีชู้ ทา่ายกไนั ดเ้คปวน็ าแมฟวนา่ กทนั ง้ั คเปอู่ ็นาเยดุ ก็1น7ักปเรเี ยีทนา่ ชก้ันนั เมป.น็6แขฟอนงกโรนั งเรยี น มเปธั ยน็ มเดม็กชี อ่ืนแกั หเรง่ ยีหนช่ึงน้ั หอ้มง.เ6กิดขเอหงตโเุรปงน็เรหยี ้อนงมขธัอยงเมดม็กชีผือู่้ชแายห่งเหด็กนผึ่งหู้ หญ้องิ งมเักจดิ ะเหมาตหเุ ปาท็นีห่ห้ออ้ งงเขปอน็ งปเรดะ็กจผำ�ู้ชสา่วยนเทดา็กรผกู้หทญอ่ี อิงมกมักาจเะป็น เมดาก็ หทาีเ่ กทิด่หี จ้อางกเแปฟน็ นปเกระา่ ขจอางสฝ่วายนหทญาริงกทพ่อี ยอากยมามาบเปอน็ กเใดห็ก้ฝท่าย่ีเกหดิญจงิ าแกจแง้ ใฟหน้พเอ่กแ่ามขร่อูว้ งา่ ฝต่าัง้ ยทหอ้ ญง ิง ฝพ่ายยาหยญาิงมไบมอก่ ลกา้ใหจึงฝ้ ต่าดั ยสหนิ ญใจงิ แก้ ปแญั จหง้ ใาหกพ้นั ่อเอแงมดร่้วูว้ยา่กตา้ังรทซอื้ ยงาฝทา่ �ำ ยแหทญง้ ทิงาไงมเ่กวบ็ลไ้าซจตงึ ์ตใัดนสราินคใาจแแผกง้ปลัญะ ห5,า3ก0นั 0เอบงาดทว้ ยแกตา่ทราซงเ้ือวย็บาไซทตา์ลแดทใ้งหท้เหางลเอืว็บ5ไ,ซ00ต0์ ในบราาทคสา่ง มแาผทงาลงะพสั5ด,3ไุ ป00รษบณายีทเ์ มแื่อต2ท่ าวงนั เกว็บ่อนไซตล์ ดใหเ้ หลือ 5,000 บาท สง่ มาทางพัสดไุ ปรษณยี ์เม่ือ 2 วันก่อน จากจนาน้ั กกนท็ ัน้ ำ�กต็ทามาตคา�ำ แมนคะานแ�ำนทะม่ี นาาพทร่มี อ้ ามพกรับ้อแมผกงยบั าแใผชงย้ ยาาสอใชด้ยเขาา้ สไอปดในเขชา้อ่ ไงปคใลนอชด่อคงรค้ังละอด4คเมร้ั็ดงลหะา่ ง4กเันม2ด็ ชห่วั า่โงมกงนั แล2ะ คชร่วั ้ังโทม่ีสงามแสลอะดคเรขั้งา้ ทไป่สี อามีกส2อเดมเด็ ขา้กไรปะอทีกั่งเด2็กเหมลด็ ดุ อกอรกะมทา่ังเสดว่ ็กนหฝลา่ ดุยหออญกงิ หมามดสสว่ ตนไิ ฝป่าจยงึ หขญอใิงหหท้ มาดงสคอตนิไปโดจฯงึ แขจอ้งใรหถ้ทราพง.ราชวิถี มคาอรนับโตดัวฯไปแรจัก้งษราถทราพง.ครอานชโวดิถฯี มจางึรแับจต้งัวมไูลปนริธกั ริ ษ่วมากทตาัญงญคอูมนารโดบั ฯไปจสงึ่ แโรจงง้พมยลู านบิธาลริ ่วมแตกพ่ตบัญทญาูมรกาครับลอไปดสอ่งอโกรมงาพเยสียาบชวีาติลแลว้ จแึงตแ่พจง้บทสนาร.สกุทคธลิสอาดรอเอดก็ มสาวเสถียกู ชนวี�ำ ติสง่แลร้วพจ.รึงาแชจว้งถิ สี แนพ.สททุ ยธพ์ ิสบาวรา่ มเดีกก็ารสชาอ็วกถจกู านกากสาง่รตรกพเ.ลรือาดชวเิถสียแเลพือทดยม์พาบกวแ่าพมทกี ายร์ชช่ว็อยขกูด มจดาลกกู กาแรลตะกอเาลกอื าดรปเลสอียดเลภอืัยดแมล้วาก แพทยช์ ่วยขูดมดลูก และอาการปลอดภัยแลว้ คคดนี ้ีสะท้อนปปญั ัญหหาาสสังังคคมมททน่ี ่ีนาเ่าปเป็นน็ห่วหง่วงเดเ็กดนก็ ักนเรักียเรนยี จนบั จคบัอู่ คยกู่อันยแกู่ ลนั ว้ แเกลดิว้ เตกัง้ ิดทต้อัง้ ทข้นึอมงขาึ้นไม่กาลไ้ามบ่กอลก้าพบ่ออแกมพ่ต่อ้ แงแมก่ ้ ปตญั ้อหงแากนัป้ เญั องหดา้วกยันกเาอรงทดำ�ว้ แยทก้งาพรท่งึ เาวแบ็ ทไซ้งตพข์ าง่ึ ยเวย็บาเไถซอ่ืตนข์ าสย่งิ ยทาเี่ กเถิด่อื ขน้ึ อสา่ิงจทท่ีเ�ำกใดิหขเ้ ดึน้ ็กอทางั้ จคท่ตู า้อใงหเสเ้ ดยี ็กทาร้ังเครียู่ตน้อเงสเสียอียนกาครเตรยีทนง้ั คูย่ งั อเสาจียมอีคนวาาคมตผดิ ทใ้งันคขยู่้องัหอาารจว่ มีกคนัวาทม�ำ ผแทิด้งในทขสี่ ้อ�ำ หคาัญรหว่ ามกกตันดั ทสาินแใจทพง้ ลทาส่ีดไามคร่ ญั ีบหโทารกศตพั ัดทส์ขินอใคจวพาลมาชดว่ ไยมเห่รบีลือโทจราศกทพั าทง์ขคอคนวโดาฯมเดก็ ผช้หู ว่ ญยิงเหอลาจอื จจะาตก้อทงาถงงึ คกอับนเสโยีดชฯีวเดิต!็กผหู้ ญิงอาจจะต้องถงึ กบั เสยี ชวี ติ ! ที่มา : https://www.thairath.co.th/content/119029

รหัสวชิ า ว22101 354 จาก

355 รหสั วิชา ว22101 การตง้ั ครรภ์ในวยั รนุ่ หมายถึง การตงั้ ครรภแ์ ละคลอดบตุ รในชว่ งอายุ 10-19 ปี องคก์ ารสหประชาชาติได้ ตระหนกั ถึงปัญหานแ้ี ละก�ำ หนดใหก้ ารลดอัตราการคลอดในผหู้ ญิงอายุ 15-19 ปี เป็นหนึง่ ในตวั ชวี้ ัดของเปา้ หมาย การพัฒนาอย่างยง่ั ยนื ท่ีทกุ ประเทศตอ้ งบรรลุให้ไดภ้ ายในปี พ.ศ. 2573 ส�ำ หรับประเทศไทยนน้ั สำ�นกั อนามัยการเจริญ พันธุแ์ หง่ กรมอนามัยเปิดเผยวา่ ปี พ.ศ. 2558 อตั ราการ คลอดบุตร ในชว่ งอายุ 15-19 ปี ตอ่ ประชากรหญงิ ช่วงอายุ เดียวกนั น้ี คดิ เป็น 44.8 รายต่อ 1,000 ราย ลดลงจากปี พ.ศ. 2557 ที่คิดเปน็ 47.9 รายต่อ 1,000 ราย ซงึ่ เป็นผลจาก การรณรงคเ์ พื่อปอ้ งกนั การตง้ั ครรภใ์ นวัยรุน่ อยา่ งจรงิ จงั ของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รวมถงึ ประชาชน ส่วนใหญท่ ่เี ริม่ ตระหนักถึงปญั หาและให้ความรว่ มมือ

356 หากทราบแน่ชัดแล้วว่าตนเองท้อง สงิ่ แรกที่ควรตระหนักคอื การแบกรบั ปัญหาไวเ้ พียงผเู้ ดยี วไมไ่ ด้ช่วยใหท้ ุก อยา่ งดขี ้ึน ซ้ำ�รา้ ยยังทำ�ให้เครียดและอาจตัดสนิ ใจเลือกแก้ปัญหาด้วยวธิ ที ไ่ี ม่ถกู ตอ้ ง วัยร่นุ ทต่ี งั้ ครรภโ์ ดยไมพ่ ร้อมควร ปฏิบัตติ ามคำ�แนะน�ำ ตอ่ ไปนีเ้ พ่อื หาทางออกทด่ี ที สี่ ุด โดยพูดคยุ กับพอ่ แมห่ รอื ญาติผู้ใหญ่ทไ่ี ว้วางใจ ซง่ึ เปน็ ปกตทิ ีใ่ นช่วง แรกพ่อแม่อาจตกใจ ผดิ หวงั หรอื ต่อว่า แตส่ ดุ ทา้ ยแล้วพอ่ แมก่ ค็ อื คนทป่ี รารถนาดีและพรอ้ มชว่ ยเหลือเราท่ีสดุ พูดคยุ กบั คนรักหรือผชู้ ายทีเ่ ป็นพ่อของเดก็ หากอีกฝา่ ยรบั ผดิ ชอบ อาจช่วยใหก้ ำ�หนดแนวทางการแกป้ ัญหา ไดง้ า่ ยขึน้ เชน่ รว่ มกนั วางแผนเล้ียงดลู กู ในอนาคต ท้งั นี้ หากอกี ฝ่ายปฏเิ สธความรบั ผดิ ชอบ ควรตั้งสติและเขม้ แข็งเขา้ ไว้ เพราะยงั มพี อ่ แม่และคนในครอบครวั ทค่ี อยเป็นห่วงและเป็นทพ่ี ึงพาใหเ้ ราได้เสมอ วัยรนุ่ ท่ที ้องกอ่ นวยั อนั ควรบางรายอาจตัดสินใจแกป้ ัญหาด้วยวธิ ีการทำ�แทง้ ซง่ึ ถือเป็นความผดิ ทางอาญาฐาน ท�ำ ใหแ้ ทง้ ลูก นอกจากน้นั การซอ้ื ยาทำ�แท้งมารับประทานเองหรอื ท�ำ แทง้ ตามคลินกิ เถอ่ื นอาจเสย่ี งเกดิ ผลข้างเคียงร้าย แรง เชน่ ตกเลอื ด ติดเช้อื มดลูกทะลุ ซึง่ ล้วนอาจเปน็ อันตรายถึงชีวิต ทั้งนี้ ข้อบงั คับ แพทยสภาวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์การ ปฏบิ ัติเกีย่ วกบั การยตุ กิ ารต้ังครรภท์ างการแพทย์ตามมาตรา 305 แหง่ ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2548 กำ�หนดวา่ แพทยส์ ามารถทำ�แท้งให้สตรมี ีครรภไ์ ดโ้ ดยไม่ผิดกฎหมายใน 2 กรณีเท่านนั้ คอื หญงิ ตั้งครรภม์ ีปัญหาสุขภาพทางกาย หรือทางจติ หรอื การตั้งครรภ์จากการถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศหรือข่มขนื กระท�ำ ชำ�เรา

357

358

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 377 ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ การเคลื่อนทแี่ ละแรง 359 รหสั วชิ า ว2121031 รายวชิ า วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เวลา 24 ชั่วโมง ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 1.มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้วี ดั สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลกั ษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุ รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชีว้ ัด ว 2.2 ม.2/14 อธิบายและคานวณอัตราเร็วและความเร็วของ การเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยใช้สมการ และจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ว 2.2 ม.2/15 เขียนแผนภาพแสดงการกระจัดและความเรว็ ว 2.2 ม.2/1 พยากรณก์ ารเคลอ่ื นท่ีของวตั ถทุ ่ีเป็นผลของ แรงลัพธท์ ี่เกดิ จากแรงหลายแรงที่กระทาต่อ วัตถุในแนวเดียวกนั จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ว 2.2 ม.2/2 เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธ์ท่ีเกิดจาก แรงหลายแรงที่กระทาต่อวัตถุในแนว เดียวกัน ว 2.2 ม.2/6 อธิบายแรงเสียดทานสถิตและแรงเสยี ดทานจลน์ จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ว 2.2 ม.2/7 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่ เหมาะสมในการอธิบายปจั จยั ท่ีมีผลต่อขนาด ของแรงเสียดทาน ว 2.2 ม.2/8 เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอืน่ ๆ ทกี่ ระทาตอ่ วตั ถุ ว 2.2 ม.2/9 ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของความรเู้ รอื่ งแรงเสียดทาน โดยวเิ คราะห์สถานการณ์ปัญหาและ เสนอแนะ วิธกี ารลดหรอื เพิ่มแรงเสยี ดทานท่ีเป็นประโยชนต์ ่อการทากิจกรรมในชวี ติ ประจาวนั ว 2.2 ม.2/3 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายปัจจัยท่ีมีผลต่อความ ดันของของเหลว ว 2.2 ม.2/4 วเิ คราะหแ์ รงพยงุ และการจม การลอยของวัตถุ ในของเหลวจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ว 2.2 ม.2/5 เขียนแผนภาพแสดงแรงทก่ี ระทาตอ่ วัตถุในของเหลว ว 2.2 ม.2/10 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ีที่เหมาะสมในการอธิบายโมเมนตข์ องแรงเมื่อ วัตถุอยใู่ นสภาพสมดุลตอ่ การหมุนและคานวณโดยใช้สมการ M = FL ว 2.2 ม.2/11 เปรยี บเทียบแหลง่ ของสนามแมเ่ หลก็ สนามไฟฟา้ และสนามโน้มถว่ งและทศิ ทางของ แรงที่กระทาต่อวตั ถุทีอ่ ยใู่ นแต่ละสนาม จากข้อมูลทรี่ วบรวมได้ ว 2.2 ม.2/12 เขยี นแผนภาพแสดงแรงแมเ่ หลก็ แรงไฟฟ้า และแรงโนม้ ถว่ งทก่ี ระทาต่อวัตถุ

378 360 ว 2.2 ม.2/13 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงท่ี กระทาตอ่ วัตถทุ อี่ ยูใ่ นสนามน้นั ๆ กบั ระยะห่างจากแหล่งของสนามถงึ วัตถจุ ากข้อมลู ท่รี วบรวมได้ 2. สาระสาคัญ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ เม่ือมีแรงหลาย ๆ แรงกระทาต่อวัตถุ แล้วแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่า เป็นศูนย์ วัตถุจะไม่เปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่แต่ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะ เปล่ียนแปลงการเคล่ือนท่ี เมื่อวัตถุอยู่ในของเหลวจะมีแรงที่ของเหลวกระทาต่อวัตถุในทุกทิศทาง โดยแรงท่ี ของเหลว กระทาตั้งฉากกับผิววัตถุต่อหนึ่งหน่วยพ้ืนท่ีเรียกว่าความดันของของเหลวความดันของของเหลวมี ความสมั พนั ธก์ บั ความลึก จากระดับผิวหน้าของของเหลว โดยบรเิ วณทลี่ กึ ลงไปจากระดับผิวหน้าของของเหลว มากขึ้น ความดันของของเหลวจะเพ่มิ ข้ึน เนื่องจากของเหลวท่ีอยู่ลึกกวา่ จะมีน้าหนักของของเหลว ด้านบน กระทามากกว่า เม่ือวตั ถุอย่ใู นของเหลว จะมีแรงพยุงเนอื่ งจาก ของเหลวกระทาตอ่ วัตถุ โดยมีทิศขน้ึ ในแนวด่ิง การจมหรือการลอยของวตั ถุขนึ้ กับนา้ หนักของวัตถแุ ละแรงพยุง ถ้าน้าหนกั ของวัตถุและแรงพยงุ ของของเหลว มคี า่ เท่ากนั วัตถุจะลอยนงิ่ อยู่ใน ของเหลว แตถ่ ้าน้าหนักของวัตถมุ ีคา่ มากกวา่ แรงพยุงของของเหลววัตถุจะจม แรงเสียดทานเป็นแรงที่เกิดข้ึนระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ เพื่อต้านการเคล่ือนที่ของวัตถุน้ัน โดยถ้าออกแรง กระทาต่อวัตถุที่อยู่น่ิงบนพื้นผิว ให้เคลื่อนที่ แรงเสียดทานก็จะต้านการเคล่ือนที่ของวัตถุ แรงเสียดทานท่ี เกิดขึ้นในขณะที่วัตถุยังไมเ่ คลื่อนที่เรียก แรงเสียดทานสถติ แตถ่ ้าวัตถุ กาลงั เคลอ่ื นท่ี แรงเสียดทานก็จะทาให้ วตั ถุน้ัน เคลื่อนที่ชา้ ลงหรือหยุดนงิ่ เรียก แรงเสียดทานจลน์ ขนาดของแรงเสียดทานระหวา่ งผวิ สัมผัสของวตั ถุ ขึ้นกับลักษณะผิวสัมผัสและขนาดของแรงปฏิกิริยาต้ังฉากระหว่างผิวสัมผัส กิจกรรมในชีวิตประจาวันบาง กิจกรรมต้องการแรงเสียดทาน เช่น การเปิดฝาเกลียวขวดน้าการใช้แผ่นกันลื่นในห้องน้า บางกิจกรรมไม่ ต้องการแรงเสียดทาน เช่น การลากวัตถุบนพ้ืน การใช้น้ามันหล่อล่ืนในเคร่ืองยนต์ความรู้เรื่องแรงเสียดทาน สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวันได้ เมือ่ มีแรงท่ีกระทาต่อวตั ถุโดยไม่ผา่ นศนู ย์กลางมวลของวัตถุ จะ เกิดโมเมนต์ของแรง ทาให้วัตถุหมุนรอบศูนย์กลางมวลของวัตถุน้ัน โมเมนต์ของแรงเป็นผลคูณของแรงที่ กระทาต่อวัตถุกับระยะทางจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแนวแรง เมื่อผลรวมของโมเมนต์ของแรงมีค่าเป็นศูนย์ วตั ถุจะอยใู่ นสภาพสมดุลต่อการหมุน โดยโมเมนต์ของแรงในทิศทวนเข็มนาฬิกาจะมีขนาดเทา่ กบั โมเมนต์ของ แรงในทิศตามเข็มนาฬิกา ของเล่นหลายชนิดประกอบด้วยอุปกรณ์หลายส่วนท่ีใช้หลักการโมเมนต์ของแรง ความรเู้ ร่ืองโมเมนต์ของแรงสามารถนาไปใช้ออกแบบและประดิษฐ์ของเลน่ ได้ วัตถุที่มีมวลจะมีสนามโน้มถ่วง อยู่โู่โดดยยรรออบบแแรงรโงนโ้นมถ้ม่วถง่วทงกี่ ทรี่กะทระาตทอ่ำ�วตัต่อถวทุ ัต่ีอถยุทู่ในี่อสยนู่ใานมสโนา้มมถโ่วนงจ้มะถม่วที งิศจพะุ่งมเีทขา้ิศหพาุ่งวเัตขถ้าุทห่ีเาปว็นัตแถหุทล่ีงเปขอ็นงแสหนลาม่งขโนอ้มง ถส่วนงามวโัตนถม้ ุทถีม่วงีปวรตัะถจุทไฟ่มี ปีฟร้าะจจะุไมฟีสฟนา้ จาะมมไฟีสนฟา้ามอไยฟู่โฟด้ายอรยอู่โดบยแรรองบไฟแรฟง้าไฟทฟ่ีกา้รทะกี่ทราะตท่อ�ำ วตัต่อถวัตุทถ่ีมุทีปี่มรปี ะรจะุจจะจุ มะีทมีทิศศิพพุ่ง่งุเขเข้าา้ หหาาหรือ ออกจากววตั ัตถถทุ ุทม่ี ี่มปี ีประรจะทุจเ่ีุทปี่เน็ ปแ็นหแลหง่ ขลอ่งขงสอนงาสมนไาฟมฟไา้ ฟวฟตั ้าถทุวัเ่ตี ปถน็ ุทแี่เมปเ่ ็นหลแก็มจ่เหะมลสี็กนจาะมมแีสมนเ่ หามลก็แอมย่เหโู่ ดลย็กรอยบู่โดแรยงรแอมบเ่ หลแก็ รทงี่ แกมร่เะหทล�ำ ็กตทอ่ ่ีกขร้ัวะแทมาเ่ตหอ่ ลข็กวั้ จแะมม่เหีทลศิ ก็ พจุ่งะเมขีทา้ หิศาพหงุ่ เรขือ้าอหอากหจราือกอขอ้ัวกแจมาก่เหขล้วั แ็กมท่เี หปลน็ ็กแทหเ่ี ปลง่็นขแอหงลส่งนขาอมงสแนมาเ่ หมแลมก็ ่เหขลนก็าดขขนอางด ขแอรงโแนรม้ งถโน่ว้มงถแ่วรงไแฟรฟง้าไฟแฟล้าะแรลงะแแมร่เงหแลมก็ เ่ ทหกี่ลร็กะททก่ี �ำ รตะ่อทวาัตตถอ่ ทุ วอี่ัตยถูใ่ ุทน่อี สยนู่ใานมสนน้ันามๆนจ้ันะมๆีคจา่ ะลมดีคลา่งลเดมล่ืองวัตเมถอืุ่ วยัต่หู ถา่ ุองยจาู่หก่าง จแาหกลแ่งหขอลง่ สขนอางมสน้ันามๆนั้นมาๆกขมึ้นากขาร้ึนเคกลาื่อรนเคทลข่ี ่ืออนงวทตั่ีขถอุเงปวน็ ัตกถาุเรปเ็นปกลย่ีารนเตปำ�ลแ่ียหนนตง่ าขแอหงวนตั ่งถขเุอทงยี วบัตกถับุเทตีย�ำ แบหกนับง่ตอาา้ แงหอนงิ ่ง อโด้ายงอมิงปี รโิมดายณมีปทร่ีเกิมี่ยาวณขทอ้ ี่เงกี่ยับวกขา้อรงเคกลับื่อกนาทรซี่เค่งึ ลมื่อีทนง้ั ปทร่ีซมิ ึ่งามณีทส้ังปเกรลิมาารณแ์ ลสะเกปลรามิ รา์แณลเะวปกเรติมอารณ์ เชเว่นกเรตะอยระ์ ทเชา่นง ระยะทาง

379 361 อัตราเร็ว การกระจัด ความเร็ว ปริมาณสเกลาร์ เป็นปริมาณที่มีขนาด เช่น ระยะทาง อัตราเร็ว ปริมาณ เวกเตอรเ์ ปน็ ปริมาณท่มี ที งั้ ขนาดและทิศทาง เชน่ การกระจดั ความเรว็ เขยี นแผนภาพแทนปรมิ าณเวกเตอรไ์ ด้ ด้วยลูกศรโดยความยาวของลูกศรแสดงขนาดและหัวลูกศรแสดงทิศทางของเวกเตอร์นั้น ๆ ระยะทางเป็น ปริมาณสเกลาร์ โดยระยะทางเป็นความยาวของเส้นทางที่เคลื่อนที่ได้ การกระจดั เป็นปริมาณเวกเตอร์ โดย การกระจัดมีทิศช้ีจากตาแหน่งเริ่มต้นไปยังตาแหน่งสุดท้ายและมีขนาดเท่ากับระยะที่ส้ันท่ี สุดระหว่างสอง ตาแหน่งนั้น อัตราเรว็ เป็นปริมาณสเกลาร์ โดยอัตราเร็วเป็นอตั ราส่วนของระยะทางต่อเวลาความเร็วปริมาณ เวกเตอรม์ ีทิศเดียวกบั ทิศของการกระจดั โดยความเร็วเป็นอตั ราสว่ นของการกระจดั ตอ่ เวลา 3. สาระการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ 1. กกาารรเเคคลล่ือ่ือนนททข่ี ี่ขอองวงัตวัตถเุถปุเป็นก็นากราเรปเลป่ยี ลนี่ยตน�ำ ตแาหแนหง่ นข่งองขวอัตงถวเุัตทถียุเบทกียบั บตก�ำ ับแตหานแง่ หอนา้ ง่ อองิ ้าโงดอยิงมโีปดรยิมมาีปณรทิม่ีเากณ่ยี วที่ ขเกอ้ ่ียงกวขบั ้อกงากรเับคกลาื่อรนเคทลซ่ี ื่องึ มนที ทั้งี่ซป่ึงรมมิ ีทาั้งณปรสิมเกาลณารส์แเลกะลปาร์ิมแลาณะปเวรกิมเาตณอรเว์ เกชเน่ ตรอะรย์ ะเชท่นางระอยัตะรทาเารง็ว อกัตารกาเรระ็วจดักาครวการมะเรจว็ัด รคะวยาะมทเรา็งวเปร็นะยปะรมิทาณงเสปเ็นกลปารรมิ ์ โาดณยสรเะกยละาทรา์ งโดเปย็นระคยวะามทยาางวเขปอ็นงเคสวน้ าทมายงาทวเี่ ขคอลงื่อเนสท้นไ่ี ทดา้ กงาทรเี่ กครละ่อื จนัดทเปไ่ี ด็น้ปกราิมรากณรเะวจกัดเตเปอร็น์ โปดรยิมกาาณรกเวรกะเจตัดอรม์ ีทโดิศยชกี้จาารกกตรำ�ะแจหัดนม่งีทเริศิ่มชตี้จ้นาไกปตยาังแตหำ�นแ่งหเรน่ิม่งตสุ้ดนทไป้ายงั แตลาแะหมีขนน่งสาุดทเท้า่ายกแับลระมยีขะนทาี่สดั้นเที่สากุดับระรหะยวะ่างที่ สอ้ันงทตี่สำ�ุดแรหะนหง่ วนา่ ั้นงสอง ตาแหนง่ นัน้ 2. ปรมิ าณสเกลาร์ เป็นปรมิ าณณทท่ีมีม่ ขี ขี นนาาดดเเชชน่ ่นรระะยยะะททาางงออัตัตรราาเรเร็วว็ ปริมาณเวกเตอร์ เปน็ ปรมิ าณทีม่ ี ท้งั ขนาดแปลระมิ ทาิศณทเวากงเเตชอ่นร์กเปารน็ กปรระมิ จาดั ณคทวม่ี าีทม้ังเรข็วนาดและทิศทาง เชน่ การกระจัด ความเรว็ 3. เขียนแผนภาพแทนปรมิ าณเวกเตอร์ได้ด้วยลูกศร โดยความยาวของลูกศรแสดงขนาดและหวั ลูกศร แสดงทิศทางของเวกเตอรน์น้ัน ๆ ระยะทางเป็นปริมาณสเกลาร์ โดยระยะทาง เป็นความยาวของเส้นทางท่ี เคล่อื นทไี่ ด้ 4. แรงเปน็ ปริมาณเวกเตอร์ เม่ือมีแรงหลายๆ แรงกระทาตอ่ วัตถุ แล้วแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่า เป็นศูนย์ วัตถุจะไม่เปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ แต่ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าไม่เป็นศูนย์วัตถุจะ เปลี่ยนแปลงการเคลอื่ นที่ 5. แรงเสียดทานเป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่างผวิ สมั ผัสของวัตถุ เพือ่ ต้านการเคลือ่ นที่ของวตั ถนุ ั้น โดยถ้า ออกแรงกระทาต่อวัตถทุ ่อี ยู่น่ิงบนพื้นผวิ ให้เคล่อื นท่ี แรงเสียดทานกจ็ ะตา้ นการเคลื่อนทข่ี องวัตถุ แรงเสยี ดทาน ที่เกิดขึ้นในขณะท่ีวัตถุยงั ไม่เคลื่อนท่ีเรียก แรงเสียดทานสถิต แตถ่ า้ วตั ถุกาลังเคล่อื นท่ี แรงเสียดทานก็จะทาให้ วตั ถนุ นั้ เคลอื่ นท่ชี ้าลงหรือหยดุ นิ่ง เรียกวา่ แรงเสียดทานจลน์ 6. เม่ือวัตถุอยู่ในของเหลวจะมีแรงพยงุ เนื่องจาก ของเหลวกระทาต่อวตั ถุ โดยมีทศิ ข้ึนในแนวด่ิงการ จมหรือการลอยของวัตถขุ ้ึนกบั น้าหนกั ของวัตถแุ ละแรงพยงุ ถ้านา้ หนักของวัตถุและแรงพยุงของของเหลวมคี ่า เทา่ กันวตั ถุจะลอยน่งิ อยใู่ นของเหลว แตถ่ า้ นา้ หนกั ของวตั ถมุ คี ่ามากกวา่ แรงพยงุ ของของเหลววตั ถุจะจม 7. โมเมนตข์ องแรง เมื่อมแี รงท่ีกระทาต่อวัตถโุ ดยไม่ผา่ นศนู ย์กลาง มวลของวัตถุ จะเกิดโมเมนตข์ อง แรง ทาให้วัตถุ หมุนรอบศูนย์กลางมวลของวัตถุนั้น โมเมนต์ของแรงเป็นผลคูณของแรงที่กระทาต่อ วัตถุกับ ระยะทางจากจุดหมุนไปต้ังฉากกับแนวแรงเมื่อผลรวมของโมเมนต์ของแรงมีค่าเป็นศูนย์ วัตถุจะอยู่ในสภาพ

380 362 380 สสมมดดุุลลตต่่ออกกาารรหหมมุุนนโโดดยยโโมมเเมมนนตต์์ขขอองงแแรรงงใในนททิิศศททววนนเเขข็็มมนนาาฬฬิิกกาาจจะะมมีขขี นนาาดด เเทท่่าากกบัับโโมมเเมมนนตต์ข์ขอองงแแรรงงใในนททศิิศตตาามมเเขข็็มม นนาาฬฬิกิกาา 88.. ววตััตถถุุทท่ี่ีมมีีปปรระะจจุุไไฟฟฟฟ้้าาจจะะมมีีสสนนาามมไไฟฟฟฟ้้าาออยยูู่่โโดดยยรรออบบ แแรรงงไไฟฟฟฟ้้าาทท่ี่ีกกรระะททาาตต่อ่อววััตตถถุุทที่่ีมมปีีปรระะจจุุจจะะมมทีที ิิศศพพุุ่่งงเเขข้้าา หหาาหหรรืืออออออกกจจาากกววััตตถถุุทที่่ีมมีีปปรระะจจุุเเปป็็นนแแหหลล่่งงขขอองงสสนนาามมไไฟฟฟฟา้้า ขขนนาาดดขขอองงแแรรงงโโนน้้มมถถว่่วงง แแรรงงไไฟฟฟฟ้้าา แแลละะแแรรงงแแมม่่เเหหลล็็กกทที่ี่ กกรระะททาาตตอ่อ่ ววตัตั ถถุททุ อ่ี่ีอยยู่ใูใ่ นนสสนนาามมนน้ัน้นั ๆๆ จจะะมมคีีค่า่าลลดดลลงงเเมมื่ออื่ ววัตตั ถถุอุอยยหูู่ห่ ่า่างงจจาากกสสนนาามมนน้ัน้นั ๆๆ มมาากกขขึน้ึ้น ดด้าา้ นนททักักษษะะ 1--.ทททักักักษษษะะกกาารรททดดลลอองงง 2--.ทททักักกั ษษษะะะกกาารรคคาา�ำ นนววนณณ 3-ด-ด.้าา้ทททนนักกั กั เเษษษจจะะตตะกกคคาาตตรริิแแกกโ้้โจจทททยยยป์ ป์ป์ ญั ัญญั หหหาาา 11.. ตตรระะหหนนกักั ถถึงงึ คคววาามมสสาาคคัญญั ขขอองงกกาารรเเคคลล่ืออื่ นนททแี่่แี ลละะแแรรงง 22.. ตตรระะหหนนักกั ถถึงงึ ปปรระะโโยยชชนนข์ข์ อองงกกาารรนนาาคคววาามมรร้ไูู้ไปปใใชช้ใใ้ นนชชวีีวิติตปปรระะจจาาววนััน 44.. สสมมรรรรถถ11นน..ะะคคสสววาาาาคคมมญััญสสาาขขมมออาางงรรผผถถเู้้เูใใรรนนียียกกนนาารรสสือ่่อื สสาารร 22.. คคววาามมสสาามมาารรถถใในนกกาารรคคดิิด 33.. คคววาามมสสาามมาารรถถใในนกกาารรใใชช้ทท้ กัักษษะะชชีววี ิตติ 55.. คคณุณุ ลลักกั 11ษษ..ณณมมะะวีวี ออินินนันััยัยพพึงงึ ปปรระะสสงงคค์์ 22.. ใใฝฝเ่่เรรียียนนรรูู้้ 33.. ออยยู่อู่อยย่าา่ งงพพออเเพพียียงง 44.. มม่งุุง่ มมน่ัั่นใในนกกาารรททาางงาานน 55.. มมจีจี ติติ สสาาธธาารรณณะะ 66.. กกาารรปปชชรริ้น้นิ ะะงงเเมมาานนนินิ หหผผรรลลืออืรรภภววบบาารรยยะะอองงดดาานน 1100 คคะะแแนนนน -- ใใบบกกิจจิ กกรรรรมมทที่ี่ 11..11 เเรร่ืออื่ งง รระะยยะะททาางง แแลละะกกาารรกกรระะจจดดัั -- ใใบบบบนันั ททึกกึ กกิิจจกกรรรรมมทท่ี่ี 11..22 เเรร่อืื่องง กกาารรททดดลลอองงเเดดินินเเพพือ่่ือกกาารรเเรรยีียนนรรรูู้้ระะยยะะททาางง แแลละะกกาารรกกรระะจจัดัด ---- ใใใใบบบบงงงงาาาานนนนทททที่ี่่ีี่ 2222....2121 กเกเรราาอ่ื่ือรรงงเเขขปปียียรรนนมิิมปปาารรณณิมิมเเาาววณณกกเเเเตตววกอกอเรเรตต์แ์แออลลรระะ์์ สสเเกกลลาารร์์ -- ใใบบกกจิจิ กกรรรรมมทท่ีี่ 33..11 เเรร่อืื่องง ออตัตั รราาเเรรว็ว็ ขขอองงววัตัตถถุุ -- ใใบบกกิจจิ กกรรรรมมทที่่ี 44..11

381 363 - แบบฝกึ หัดท้ายกจิ กรรม - ใบกจิ กรรมที่ 5.1 เร่อื ง มวลจะไปทางไหน? - งานกลุ่มในกระดาษวาดแบบ - ใบงานที่ 6.1 แรงเสยี ดทาน - ใบกจิ กรรมที่ 7.1 เร่ือง ปัจจยั ท่ีมีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน - งานกลุ่มในกระดาษวาดแบบ - ใบความรู้ท่ี 8.1 เร่ือง ประโยชน์ของแรงเสียดทานในชีวติ ประจาวนั - ใบกจิ กรรมท่ี 8.1 เร่ือง ประโยชน์ของแรงเสยี ดทานในชวี ิตประจาวนั - ใบบันทกึ กจิ กรรมท่ี 9.1 เร่อื ง ปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ ความดันของของเหลว - ใบบันทกึ กิจกรรมที่ 10.1 เร่อื ง อันไหนจมอนั ไหนลอย - ใบบันทกึ กจิ กรรมที่ 10.2 เร่อื ง แรงพยงุ - ใบงานท่ี 10.1 เรื่อง แรงพยงุ - ใบกิจกรรมท่ี 1 เรือ่ ง แรงกระทาตอ่ วัตถใุ นของเหลว - ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื งโมเมนต์ของแรง - แบบฝกึ หดั 1 เรอ่ื ง โมเมนตข์ องแรง - ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ งของเลน่ โมเมนตข์ องแรง - แบบฝกึ หัดที่ 1 เร่อื ง ของเล่นโมเมนต์ของแรง - ใบกิจกรรมที่ 15.1 เรือ่ ง การตกของวัตถุในสนามโนม้ ถว่ ง - ใบกิจกรรมที่ 15.2 เร่อื ง เส้นแรงแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก - ใบกิจกรรมท่ี 15.3 เปรียบเทียบสนามโนม้ ถว่ งและสนามไฟฟา้ - ใบกจิ กรรมท่ี 16.1 สนามไฟฟา้ - ใบกิจกรรมท่ี 16.2 ขนาดของแรงกบั ระยะห่างในสนามแตล่ ะชนิด - ใบกิจกรรมที่ 16.3 เรื่อง เปรยี บเทียบสนามโน้มถว่ ง สนามแมเ่ หล็กและสนามไฟฟา้ - แผนผงั มโนมติ เกณฑ์การประเมินช้ินงานหรือภาระงาน ประเด็น ระดบั คณุ ภาพ การประเมนิ 4 (ดมี าก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรบั ปรุง) 1. ความครอบคลุม สาระการเรียนร้มู ี สาระการเรยี นรู้มี สาระการเรียนรมู้ ี ผลงานไม่ ของสาระการ ความครอบคลุมทุก ความครอบคลุม ความครอบคลุม สอดคล้องกับสาระ เรียนรู้ ประเดน็ เปน็ ส่วนใหญ่ เปน็ บางประเดน็ การเรยี นรู้ 2. 2. ความถกู ต้อง เนอ้ื หามีความ เนื้อหามคี วาม เนอื้ หามคี วาม เนอ้ื หาไมม่ คี วาม ของเนือ้ หาสาระ ถกู ตอ้ งทกุ ประเด็น ถกู ตอ้ งเปน็ สว่ น ถกู ต้องบาง ถกู ต้อง ประเดน็ ใหญ่

382 364 ประเด็น ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน 3. 3. ความคิด 4 (ดีมาก) 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรุง) สรา้ งสรรค์ในการ ออกแบบชน้ิ งาน มกี ารออกแบบ มปีมรปี ะรเะดเ็นดน็ การ มีปมรีปะรเะดเน็ ดน็ การ เปน็ การออกแบบ ชน้ิ งานท่ีแปลกใหม่ กอาอรอกอแกบแบบชบิ้นชงนิ้ างนาทนี่ที่ กอาอรอกอแกบแบบชบ้นิ ชงิ้นางนาทนี่ท่ี ชนิ้ งานที่ไม่แปลก 4. 4. ความสวยงาม ทกุ ประเดน็ แแปปลลกกใหใหมม่เป่เปน็ ็นส่วสน่วน แแปปลลกกใหใหมมเ่ ป่บ็นาสงว่ น ใหม่ ของชน้ิ งาน ใใหหญญ่ ่ ใปหญระ่ เดน็ ชนิ้ งานมีการ มกี ารตกแต่ง มีการตกแตง่ ไม่มกี ารตกแต่ง ตกากรแตตกง่ แคตว่งาคมวาม ชิ้นงานเปน็ ส่วน ช้นิ งานบางจดุ ชิน้ งาน สวยงามทง้ั ชิน้ งาน ใหญ่ เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน 14-16 หมายถึง ดมี าก 10 คะแนน คะแนน 10- 13 หมายถงึ ดี 7 คะแนน คะแนน 6-9 หมายถึง พอใช้ 5 คะแนน คะแนน 1-5 หมายถงึ ปรับปรงุ 3 คะแนน เกณฑ์การผ่าน ตงั้ แต่ระดับดี

383 แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 การเคลือ่ นทแ่ี ละแรง เรือ่ ง ระยะทาง และการกระจัด เวลา 2 ชั่วโมง รายวรชิ าายววทิ ชิ ยาาวศทิ ายสาตศรา์พส้ืนตฐรา์ น 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ขอบเขตเน้ือหา กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่ัวโมงท่ี 1 แหลง่ เรยี นรู้ กาารรเคเลคอ่ื ลน่ือท่ีขนอทงี่วขัตอถงเุ ปว็นัตกถาุรเเปป็นล่ยีกนาร ข้นั นา 1. สนามหญา้ หรอื ลานกิจกรรม เตป�ำ แลห่ียนน่งตขาอแงวหัตนถุเ่งทยี ขบอกงบั วตัตำ�แถหุเนทง่ ียอบ้างกอัิงบ 1. ครูสร้างความสนใจ เก่ียวกับการบอกตาแหนง่ โดยใช้สถานการณ์จากภาพที่เตรียมมา 2. หอ้ งสมดุ โรงเรียน ตโดายแมหีปนร่งมิ อาา้ณงทอิงเ่ี กีย่ โวขด้องยกมบั ีกปารรเคิ มล่อื านณท่ี ที่ ให้นกั เรยี นสังเกต และตอบคาถามรว่ มกนั วา่ “ลูกเสือยืนอย่ทู ่ีใด “ 3. แหล่งเรียนรูอ้ อนไลน์ เซกึง่ ่ียมวีทข้ังอ้ปงรกมิ ับาณกาสรเกคลลา่ือรน์แลทะ่ีซป่ึงรมิมที าั้งณปเรวมิกาณ สเตเอกรล์ เชา่นร์รแะลยะทปารงิมอาัตณราเรวว็ กกเตารอกร์ะจเชัด่น สอ่ื รควะายมะเรทว็ า ง อัตร าเ ร็ว กา รกร ะจั ด 1. รูปเกมบนั ใดงู ควารมะเรยว็ะทางเปน็ ปริมาณสเกลาร์ โดย 2. ใบความร้ทู ่ี 1.1 เรอ่ื ง ระยะทาง ระยระะทยาะงทเปา็นงคเปว็านมปยราิมวขาอณงเสสเน้ กทลาางรท์ ่ี โดย และการกระจดั รเคะลยอ่ื ะนททาไ่ี งด้ เป็นความยาวของเส้นทางที่ 3. ใบกจิ กรรมที่ 1.1 เร่ือง ระยะทาง เคลือ่กนารทกไ่ี รดะ้ จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ โดย และการกระจดั การกกราะรจกดั รมะที จศิ ัดชเจี้ ปา็นกตปำ�รแิมหานณ่งเรเมิ่วตก้นเตไปอยรัง์ รูปที่ 1.1 การบอกตาแหนง่ ของลกู เสือโดยใช้เสาธงเป็นจุดอ้างอิง 4. ใบกิจกรรมที่ 1.2 เร่ือง การทดลอง โตด�ำ แยหกนา่งรสกุดรทะา้ ยจัดแลมะมีทขี ิศนชา้ีดจเาทก่าตกบัารแะหยนะท่ง่ี ทม่ี า: (แท้ นามแก้ว, 2 เม.ย. 2558) เดินเพื่อการเรียนรูร้ ะยะทาง และ เสรัน้ ิ่มทต่สี ุ้ดนรไะปหยวังา่ งตสาอแงหตน�ำ แ่งหสนุด่งทน้นัาย และมี การกระจดั ขนาดเท่ากับระยะทสี่ ั้นท่ีสุดระหว่างสอง ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปได้ว่า ลูกเสือยืนห่างจากเสาธงไปทางขวา 10 เมตร มี ตาแหนง่ น้ัน เสาธง เป็นจุดอ้างอิง ดังรูปที่ 1.1 จะเห็นได้ว่า การบอกตาแหน่งของวัตถุใด ๆ ที่ทาให้แต่ละ ภาระงาน/ชนิ้ งาน คนเข้าใจได้ตรงกันน้ัน จะต้องบอก จุดอ้างอิง ระยะห่าง และทิศทางของตาแหน่งของวัตถุ กบั จดุ อ้างอิง เพื่อให้ทราบตาแหนง่ ของวตั ถไุ ดอ้ ย่างถูกต้องชดั เจน 1. ใบกิจกรรมท่ี 1.1 เรอื่ ง ระยะทาง และการกระจดั 365

384 แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 การเคล่อื นทแ่ี ละแรง เรือ่ ง ระยะทาง และการกระจัด เวลา 2 ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวรชิ าายววทิ ชิ ยาาวศทิ ายสาตศรา์พสนื้ตฐรา์ น 3 ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2. ค2รูท. บทวนคครวูทาบมทรู้เวดนมิ คเวกาย่ี มวรกู้เับดิกมาเกร่ียเควลกื่อับนกทารขี่ เอคงลวื่อัตนถทุ โี่ขดอยงใวหัตน้ถักุ โเดรยี ในหร้นว่ ักมเกรันียรนะรบ่วมุวา่กันระบุ 2. ใบบนั ทกึ กจิ กรรมที่ 1.2 เรื่อง ดา้ นความรู้ (K) วก่ารทกล่ีารูกทเสี่ลอื ูกเเปสลือีย่ เปนลตี่ยำ�แนหตนาแ่งจหานก่งเจสากธงเสแาลธงว้ หแยลุด้วยหืนยอุดยยู่ ืนณอยตู่ำ�ณแหตนา่งแหดงันก่งลดา่ ัวงกมลีแ่ารวงใมดีแมรางใดมา การทดลองเดินเพื่อการเรียนรู้ กระทา ระยะทาง และการกระจดั 1. อธบิ ายระยะทางและการกระจดั ของ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ได้ว่า นกั เรียนออกแรงยกเทา้ ก้าวเดินจาก เสาธง ไปทางขวา วตั ถุทเี่ ปล่ียนตาแหนง่ ได้ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) มรี ะยะห่างจากเสาธง 10 เมตร จะเห็นได้วา่ ลูกเสือเปลี่ยนตาแหนง่ จากเดมิ นั่นคอื ลูกเสอื มี 1. ทดลองเพื่อศึกษาระยะทางและ การเคลอ่ื นท่ี และการบแอลกะรกะายระบหอ่ากงแรละยะทะหศิ ทา่ งาแงขลอะงทติศ�ำ ทแาหงนขง่ อขงอตงาวแัตหถุตน้อง่ งขเอทงียวบตั กถบั ุต้องเทยี บกบั การกระจัดของวตั ถุได้ จดุ อ้างอิงเสมอ ซึ่งจุดอา้ งอิงจะเปน็ จุดที่อยู่นิง่ และเด่นชดั ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) 3. นกั เรียนสังเกตรูปเกมบันใดงูที่ครูนามาแสดงบนจอโปรเจกเตอร์ จากนั้นครูใช้คาถาม 1. มีวินยั นานักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการเปล่ียนตาแหน่ง จากตาแหน่งหน่ึงไปยังอีก 1. ใฝเ่ รียนรู้ ตาแหนง่ จะมีเส้นทางการเคลื่อนท่อี ย่างไร แต่ละเสน้ ทางเหมือนหรอื ตา่ งกนั อย่างไร 3. ม่งุ มั่นในการทางาน ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปได้ว่า “การเปล่ียนตาแหน่งของวัตถุจากตาแหน่งหนึ่งไปยัง อกี ตาแหนง่ หนงึ่ เส้นทางการเคลื่อนท่ีแตล่ ะเส้นทางอาจเหมือนหรอื แตกต่างกันกไ็ ด้” ขั้นสอน 4. แบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน แบบคละผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (ระดับ เกง่ ปานกลาง ออ่ น) ท้งั ชายและหญิงรวมกัน และให้นกั เรียนคัดเลอื กตัวแทนกลุม่ เพื่อ เปน็ ผูน้ าในการทากิจกรรม (โดยไมซ่ ้ากับคนเดมิ ) 5. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มรับเอกสารประกอบการทากิจกรรม ประกอบด้วย ใบ ความรู้ และใบกิจกรรม 366

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 1 385 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 การเคลอ่ื นที่และแรง เรอ่ื ง ระยะทาง และการกระจดั เวลา 2 ชั่วโมง รายวิชรายววทิ ชิยาวศิทาสยตาศร์พาสน้ื ตฐรา์ น 3 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมการทดลองในใบกิจกรรมท่ี 1.2 เร่ือง การทดลองเดิน เพ่ือการเรียนรู้ระยะทาง และการกระจัด และให้นักเรียนบันทึกผลในใบกิจกรรมของ ตนเอง 7. นักเรียนแลกเปล่ียนใบกิจกรรมของตนกับสมาชิกในกลุ่มตรวจสอบ แล้วแก้ไขหรือ เพิม่ เติม เพอื่ ให้ถูกต้องตรงกัน และในระหว่างทน่ี กั เรียนทากิจกรรม ครูคอยสังเกต ให้ คาปรกึ ษาและตอบขอ้ คาถามเพิม่ เติม 8. นักเรียนภายในกลุ่มร่วมกันตอบคาถามท้ายกิจกรรม 1.2 และสรุปความรู้ท่ีได้จาก การทากิจกรรม 1.2 ซึ่งควรสรุปได้ว่า ระยะที่วัดตามเส้นทางการเคลื่อนท่ี จะยาว กว่า ระยะทว่ี ัดตามแนวตรงจากจุดเรม่ิ ตน้ ไปยังจุดสุดทา้ ย 9. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง ระยะทาง และการกระจัด และทำ�าใบ ใกบิจกกจิ รกรรมรทมี่ ท1.่ี 1.1เรื่อเรงอื่ งระรยะะยทะาทงางแลแะลกะการากรกระระจจดั ัดโดโดยยมมีคคี รรูคูคออยยสสังังเเกกตตใใหห้ค้คา�ำ ปปรรึกึ ษาและ ตอบขอ้ คาถามเพมิ่ เตมิ 10. นักเรียนแลกเปล่ียนใบกิจกรรมท่ี 1.1 ของกลุ่มตนกับกลมุ่ ข้างเคียง แล้วตรวจคาตอบ ทีถ่ ูกต้องจากเฉลยที่ครูแสดงบนจอโปรเจกเตอร์ เปิดโอกาสให้นักเรียนอภิปรายแสดง ความเหน็ และสอบถามเพิ่มเติม โดยมคี รคู อยตอบคาถามให้เขา้ ใจถูกต้องตรงกนั 11. นักเรียนนาข้อมูลจากการศึกษาใบความรู้ท่ี 1.1 ใบกิจกรรมท่ี 1.1 อภิปรายสะท้อน ความคิดของตนเองให้เพื่อนในห้องไดแ้ สดงความคิดเห็นร่วมกบั ครู เพื่อนาไปสู่ข้อสรุป สาระสาคัญ ดังน้ี 367

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 386 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 การเคล่อื นท่ีและแรง เรือ่ ง ระยะทาง และการกระจดั เวลา 2 ชั่วโมง รายวิชราวยทิวยิชาศวาิทสยตารศ์พาส้นื ตฐรา์น 3 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 12. การเปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุจากจุดหน่ึงไปอีกจุดหนึ่ง ระยะท่ีวัดตามเส้นทางการ เคลื่อนที่ เรียกวา่ ระยะทาง 133.. การเปล่ียนตาแหน่งของวัตถุจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหน่ึง ระยะที่วัดตามแนวตรงจาก จดุ เรม่ิ ต้นไปยงั จุดสุดทา้ ย เรียกว่า การกระจดั ขั้นสรุป 144.. นักเรียนนาข้อมูลจากการศึกษาใบความรู้ท่ี 1.1 ใบกิจกรรมท่ี 1.1 และใบกิจกรรมที่ 1.2 อภิปรายสะท้อนความคิดของตนเองให้เพื่อนในห้องได้แสดงความคิดเห็นร่วมกับ ครู เพอ่ื นาไปสูข่ ้อสรปุ สาระสาคัญ ดงั นี้ 15. การเปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในเส้นท่างต่าง ๆ กัน ระยะทางที่วัดได้ตามเส้นทางต่าง ๆ จะแตกต่างกัน แต่ระยะทางในแนวตรงจะ เท่ากนั 16. การเปล่ียนตาแหน่งของวัตถุจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง ระยะท่ีวัดตามเส้นทางการ เคลื่อนท่ี เรยี กว่า ระยะทาง 177.. การเปล่ียนตาแหน่งของวัตถุจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหน่ึง ระยะที่วัดตามแนวตรงจาก จุดเริ่มตน้ ไปยงั จดุ สดุ ทา้ ย เรียกว่า การกระจัด 188.. นักเรียนร่วมกันแสดงความเห็นหรือสะท้อนความคิดเกี่ยวกับการนาความรู้เร่ือง ระยะทาง และการกระจดั ไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ ซ่ึงครอู าจช้ีแนะเพ่ิมเตมิ เช่น การ นาไปใช้เก่ียวกับ การหาระยะทางในเส้นทางท่ีส้ันท่ีสุดในการเดินทาง เป็นต้น และ 368

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 387 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 การเคลื่อนทีแ่ ละแรง เรื่อง ระยะทาง และการกระจัด เวลา 2 ช่วั โมง รายวชิ ราาวยิทวยิชาศวาทิ สยตารศ์พาืน้สตฐาร์น 3 ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นอกจากนี้จะนาความรู้ เรื่อง ระยะทาง และการกระจัด ไปศึกษาต่อในเรื่อง ปริมาณ เวกเตอร์ ปริมาณ สเกลาร์ ความเรว็ และอตั ราเร็วตอ่ ไป 369

388 370 การวัดและประเมินผล สงิ่ ทต่ี ้องการวดั /ประเมนิ วิธีการ เครื่องมือทใี่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ - ประเมนิ การตอบ ใบกิจกรรมท่ี 1.1 1. การอธบิ ายระยะทางและ คาถามในใบกิจกรรมท่ี นักเรียนทาถูก 1.1 ใบกจิ กรรมที่ 1.2 ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 80 การกระจัดของวตั ถทุ ี่ - ประเมนิ การบนั ทกึ ใน ขน้ึ ไป ใบกิจกรรมท่ี 1.2 แบบประเมนิ เปลี่ยนตาแหนง่ คณุ ลกั ษณะ นักเรยี นทาถูก สงั เกตพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 80 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ขนึ้ ไป 1. การทดลองเพื่อศึกษา ได้ระดบั คณุ ภาพ 3 ระยะทาง และการกระจดั ทุกรายการขน้ึ ไป ถือว่าผา่ น ของวัตถุ 2. ทกั ษะการวัด 3. ทักษะการใชต้ ัวเลข ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) 1. มีวนิ ัย 1. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทางาน

389 บนั ทึกผลหลงั สอน 389 371 บันทกึ ผลหลงั สอน ผลการสอน ผ…ล…ก…า…รส…อ…น………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………..…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………..…………………………………………………………………… …ปัญ…ห…า…/…อปุ…ส…ร…รค…………………………………………………………………………………….…………….………………………………… …ปัญ…ห…า…/…อุป…ส…ร…รค…………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………..…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………..…………………………………………………………………… …ขอ้ …เ…สน…อ…แ…น…ะ/…แ…น…วท…า…งแ…ก…ไ้ …ข………………………………………………………………….…………….………………………………… ข…้อ…เ…สน…อ…แ…น…ะ/…แ…น…วท…า…งแ…ก…้ไ…ข………………………………………………………………….…………….………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………..…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… ความเหน็ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา (ลงช่อื )…….............…………………..………… วตตัน(าาลทแแง.่ีชหห..อ่ื.นน.((.)..ง่่ง.…..........เ…....ด...........อื.............น.........................................................…...............…...............…...............…...............…...............…............พ..…..............ศ.......…..............…...............….............))….............. วันท.่ี ........เดือน.........................พ.ศ............ ค…ว…า…ม…เห…น็ …ข…อ…งผ…ู้บ…ร…ิห…าร…ส…ถ…าน…ศ…กึ …ษ…า……………………………………………………….…………….………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………..…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………….………………………………… (ลงช่ือ)…….............…………………..………… ตตวันาา(ลแแทงหห่.ีช.นน.อ่ื..่งง่((.)...…............เ…....ด.............อื...........น.........................................................…...............…...............…...............…...............…...............…..............พ…..............ศ.........…..............…...............….............))….......... วันท่ี.........เดอื น.........................พ.ศ............

372 รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว22101 ภาคเรยี นที่ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ขนาดของการกระจัด หาได้จากการวดั ระยะตามแนวเส้นตรงจากจุดเรม่ิ ตน้ ถงึ จุดสดุ ทา้ ยของกาเคลอื่ นท่ี โดยไม่คำ�นงึ ถึงเส้นทางการเคลื่อนท่ี และการกระจดั มที ิศจากจุดเรมิ่ ต้นไปยงั จดุ สุดท้ายของการเคลือ่ นที่

373

374

393 375 ใบกจิ กรรมที่ 1.1 ระยะทาง และการกระจดั หน่วยที่ 3 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 เรือ่ งท่ี 2 ระยะทาง และ การกระจดั รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 รหัสวิชา ว2211013 ภาคเรียนที่ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 1. ใหน้ กั เรียนเลือกคาท่ีกาหนดใหม้ าเตมิ ลงในชอ่ งว่าง ให้ถกู ตอ้ ง (ข้อละ 1 คะแนน) การกระจัด ระยะทาง จดุ อา้ งองิ ปรมิ าณสเกลาร์ ตาแหน่ง ปริมาณเวกเตอร์ 1.1 ระยะทางเป็นปรมิ าณ ........................................ 1.2 การกระจดั เปน็ ปรมิ าณ ........................................ 1.3 ความยาวตามเสน้ ทางที่วัตถุเคลอ่ื นท่ี เรียกวา่ ........................................ 1.4 ระยะตามแนวเส้นตรงจากจุดเร่มิ ต้นถงึ จุดสุดทา้ ย เรยี กวา่ ........................................ 2. ให้นักเรียนเขียนแผนภาพเวนน์ (Venn Diagram) เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของ ระยะทางและการกระจัด (3 คะแนน)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook