คูม อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู (สาํ หรับครผู ูส อน) เพอื่ การจดั การเรยี นรูโ ดยใชก ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูสขุ ศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๕ (ฉบบั ปรับปรุงครง้ั ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
คูม อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู (สาํ หรับครผู ูส อน) เพอื่ การจดั การเรยี นรูโ ดยใชก ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูสขุ ศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๕ (ฉบบั ปรับปรุงครง้ั ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
ก คำนำ ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสาคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติที่ดีและ ถูกต้อง ๒) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทา ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราชปณิธาน ในการสืบสาน รักษา พัฒนาต่อยอดโครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนาการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกด้านอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากร และกระบวน การจดั การศึกษา เพ่อื แก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเลก็ สร้างโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของประชาชนทุกเพศทกุ วยั ผา่ นการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมจานวน ๑๕ ชอ่ งสัญญาณ ไปยงั โรงเรียนตา่ ง ๆ และผูส้ นใจทั่วประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นสังคมแห่งปัญญามีจิตอาสาในการสรรค์สร้างและพัฒนาประเทศ ใหม้ น่ั คง การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็บไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTV ของมลู นิธิ และมีคู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรรู้ ายช่วั โมงครบท้งั ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ซึ่งครูปลายทางสามารถปรบั กิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับชุมชน ท้องถิ่น วัฒนธรรม และบริบทของแตล่ ะ โรงเรียน คู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ โดยใช้กำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ระดับประถมศึกษำ ภำคเรียนที่ ๑ ฉบับนี้ เป็นกำรปรับปรุงครั้งที่ ๒ ซึ่งดำเนินกำรโดยมูลนิธิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ในพระบรมรำชูปถัมภ์ โดยความร่วมมือจากคณะทางาน ประกอบด้วย สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานเิ ทศก์ และครผู เู้ ชยี่ วชาญ ทง้ั ๘ กล่มุ สาระ การเรียนรู้ เพื่อใหค้ รปู ลายทางใช้ในการเตรยี มการสอนล่วงหน้า รวมทัง้ สามารถจัดเตรียมเอกสาร ไดแ้ ก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝกึ หดั เพอื่ ใหก้ ารจัดการเรียนการสอนเกิดประสิทธผิ ล นาไปส่กู ารพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเลก็ ต่อไป นับเปน็ พระมหากรุณาธคิ ุณอย่างหาทีส่ ุดมไิ ด้ ทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงมงุ่ มัน่ พฒั นา ยกระดบั คุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให้เข้มแข็ง สมดังพระราชปณธิ าน “...การศกึ ษาคือความมัน่ คงของประเทศ...” ขอพระองค์ทรงพระเจริญ มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ข
ค สารบญั คูม่ ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ วิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ระดับประถมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาที่ ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนา้ คานา ก หนังสือรับรองความรว่ มมือการพัฒนาคู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ เพอื่ การสอนออกอากาศทางไกล ผ่านดาวเทยี ม ข สารบัญ ค คาชแี้ จงการรบั ชมรายออกอากาศด้วยระบบทางไกลผา่ นดาวเทยี ม จ คาช้แี จงรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช คาอธบิ ายรายวิชา กล่มุ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ภาคเรยี นที่ ๑ ด มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั ต โครงสร้างรายวชิ าสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ ภาคเรยี นที่ ๑ ถ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ การเดนิ ทางของอาหาร ๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง ระบบย่อยอาหาร (๑) ๕ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง ระบบย่อยอาหาร (๒) ๑๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ เรอ่ื ง ระบบขับถา่ ย ๒๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรอื่ ง การขบั ถ่ายของเสยี ออกมาในรูปของเหงอื่ ๓๐ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๕ เรอ่ื ง วธิ ีดแู ลระบบย่อยอาหาร ๓๗ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๖ เรอื่ ง วิธดี แู ลระบบขบั ถา่ ย ๔๔ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๗ เรอ่ื ง วธิ ีดูแลระบบย่อยอาหาร ๕๔ แบบประเมินตนเอง ๕๙ แบบบนั ทึกการเรียนรู้ (Learning Logs) ๖๐ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ พฤตกิ รรมดมี ีวธิ แี กป้ ญั หา ๖๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรอื่ ง การเปล่ียนแปลงดา้ นร่างกาย ๖๕ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๒ เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงดา้ นอารมณ์ ๗๔ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ เรอื่ ง การเปล่ียนแปลงด้านสังคม ๘๐ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เรอื่ ง การปรบั ตวั ตอ่ การเปล่ยี นแปลงดา้ นร่างกาย ๘๕ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๕ เรอื่ ง การปรบั ตัวต่อการเปลย่ี นแปลงด้านจติ ใจ อารมณ์ ๙๐ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๖ เรอื่ ง ครอบครัวที่อบอุน่ ๙๗ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๗ เรอื่ ง การปฏิบัติตนเป็นสมาชกิ ท่ดี ีของครอบครัว ๑๐๒
ง สารบัญ (ต่อ) ๑๑๐ ๑๑๗ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๘ เรอื่ ง ประโยชน์ของการมคี รอบครวั ทอี่ บอุ่น ๑๒๔ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๙ เรอ่ื ง ความขดั แย้งในครอบครัว ๑๓๑ แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๑๐ เร่อื ง ความขัดแย้งในกลุ่มเพอื่ น ๑๓๘ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑๑ เรอื่ ง พฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค์ ๑๔๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๒ เรื่อง พฤติกรรมทไี่ ม่พึงประสงค์ ๑๔๙ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑๓ เรอ่ื ง แนวทางการแก้ไขปัญหาพฤตกิ รรมวยั รนุ่ ๑๕๐ แบบประเมนิ ตนเอง ๑๕๑ แบบบนั ทึกการเรียนรู้ (Learning Logs) ๑๕๖ บรรณานกุ รม ๑๕๖ ภาคผนวก ๑๕๘ ภาคผนวก ก แบบประเมินรวม ๑๖๗ ภาคผนวก ข แผนผงั ความคดิ (Graphic Organizers) ภาคผนวก ค บันทึกการเรยี นรู้ (Learning Logs) ๑๗๓ คณะกรรมการปรับปรงุ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ระดบั ประถมศึกษา
จ คำชแี้ จง กำรรับชมรำยกำรออกอำกำศดว้ ยระบบทำงไกลผ่ำนดำวเทยี ม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้บริการการจัดการเรียนการสอน จากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม จานวน ๑๕ ช่องรายการ ทั้งรายการสด (Live) และ รายการยอ้ นหลงั (On demand) สามารถรับชมผ่านช่องทาง ตอ่ ไปน้ี ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV – ระบบ Android เข้าที่ Play Store/Google Play พมิ พค์ าว่า DLTV – ระบบ iOS เขา้ ที่ App Store พมิ พค์ าว่า DLTV หมำยเลขชอ่ งออกอำกำศสถำนวี ทิ ยุโทรทศั น์กำรศกึ ษำทำงไกลผำ่ นดำวเทียม ๑๕ ชอ่ งรำยกำร ชอ่ ง (DLTV) ช่อง (TRUE) รำยกำรในเวลำเรยี น รำยกำรนอกเวลำ (ช่วงเวลำ ๐๘.๓๐ น. - ๑๔.๓๐ น.) (ชว่ งเวลำ ๑๔.๓๐ น. - ๐๘.๓๐ น.) DLTV ๑ ชอ่ ง ๑๘๖ รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ DLTV ๒ ชอ่ ง ๑๘๗ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ความรู้รอบตัว DLTV ๓ ช่อง ๑๘๘ รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี DLTV ๔ ชอ่ ง ๑๘๙ รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม DLTV ๕ ช่อง ๑๙๐ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ ศลิ ปวฒั นธรรมไทย DLTV ๖ ช่อง ๑๙๑ รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง DLTV ๗ ชอ่ ง ๑๙๒ รายการสอนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สาร DLTV ๘ ช่อง ๑๙๓ รายการสอนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาษาตา่ งประเทศ DLTV ๙ ช่อง ๑๙๔ รายการสอนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ การเกษตร DLTV ๑๐ ชอ่ ง ๑๙๕ รายการสอนชน้ั อนบุ าลปที ี่ ๑ รายการสาหรับเด็ก-การเลย้ี งดูลกู DLTV ๑๑ ชอ่ ง ๑๙๖ รายการสอนชน้ั อนุบาลปที ่ี ๒ สขุ ภาพ การแพทย์ DLTV ๑๒ ช่อง ๑๙๗ รายการสอนช้ันอนบุ าลปที ี่ ๓ รายการสาหรบั ผูส้ งู วัย DLTV ๑๓ ช่อง ๑๙๘ รายการของการอาชพี วังไกลกงั วล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล DLTV ๑๔ ช่อง ๑๙๙ รายการของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช DLTV ๑๕ ช่อง ๒๐๐ รายการพฒั นาวชิ าชพี ครู *หมำยเหตุ : รำยกำรสอนออกอำกำศในเวลำเรียนระดบั ช้ันปฐมวยั ช่วงเวลำ ๐๘.๓๐ น. - ๑๑.๓๐ น.
ฉ กำรตดิ ตอ่ รบั ข้อมูลขำ่ วสำร ๑. มลู นธิ ิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทยี ม ในพระบรมรำชูปถัมภ์ เลขท่ี ๒๑๔ ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศตั รูพา่ ย กรงุ เทพมหานคร โทร. ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถำนีวิทยโุ ทรทัศนก์ ำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทยี ม ซอยหัวหิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตาบลหวั หิน อาเภอหัวหนิ จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗-๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอ่ เรอื่ งเว็บไซต)์ [email protected] (ติดต่อเรื่องทัว่ ไป) ๓. โรงเรยี นวงั ไกลกงั วล ในพระบรมรำชูปถมั ภ์ อาเภอหวั หิน จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗, ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถัมภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ชอ่ งทำงกำรตดิ ตำมขำ่ วสำร Facebook : มูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th
ช คำช้แี จง กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ สขุ ศึกษำและพลศกึ ษำ ……………………………………………………………. ๑. แนวคิดหลกั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดสาระการเรียนรู้ จานวน ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนาความรู้ด้านเนื้อหาวิชามาจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการฝกึ ทกั ษะใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความรู้ ความเข้าใจ และเกดิ สมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั น้ี ๑) ความสามารถในการสอื่ สาร เป็นความสามารถในการรับสาร และสื่อสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ๒) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อใช้ในการตัดสินใจเก่ยี วกับตนเอง สงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสังคม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการเข้าใจและเคารพตนเอง สามารถนา กระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ นการดาเนินชวี ิตประจาวัน การเรยี นร้ดู ้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเนอื่ ง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ ขัดแยง้ ตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ถูกต้องเหมาะสม มีคุณธรรมด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนา ตนเอง สังคมในด้านการเรียนรู้ การส่อื สาร การทางาน นอกจากนห้ี ลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุง่ พฒั นาผ้เู รยี นใหม้ ีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลเมอื งโลก ดังนี้ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒) ซอื่ สัตย์ สจุ ริต ๓) มวี ินยั ๔) ใฝเ่ รยี นรู้ ๕) อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ๖) มุ่งมั่นในการทางาน ๗) รกั ความเป็นไทย ๘) มีจติ สาธารณะ
ซ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพกาย สุขภาพ จิต มีเป้าหมายเพื่อการดารงสุขภาพ มีสุขนิสัยและรักการออกกาลังกาย พัฒนาองค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีเจตคติที่ดี เห็นคุณค่าด้วยการนาไปใช้สร้างเสริมสุขภาพพัฒนาตนเอง ครอบครัวและชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน ดังนั้นการจัดการเรียนรู้จึงเป็นเรื่องสาคัญเพื่อนาทางไปสู่ เปา้ หมายดงั กลา่ ว ๒. กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศกั ยภาพ เนน้ การจัดการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ให้ความสาคญั ของการบรู ณาการ ความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา ในส่วนของการจัดกระบวนการ เรยี นรูไ้ ด้ระบใุ หส้ ถานศึกษาและหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง ดาเนินการ ดังนี้ ๑. สถำนศึกษำและหน่วยงำนท่เี กย่ี วข้อง (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจความถนัดของผู้เรียน และบริบทของ โรงเรียน โดยคานึงถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพือ่ ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รกั การอา่ น และเกิดการใฝ่รู้อยา่ งต่อเนื่อง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ัง ปลูกฝังคุณธรรม คา่ นยิ มทีด่ งี าม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนการสอน และ อานวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการ ประเภทตา่ ง ๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และบคุ คลในชุมชนทุกฝ่าย เพอื่ ร่วมกนั พัฒนาผูเ้ รยี นตามศกั ยภาพ ๒) กำรจดั สภำพแวดล้อมส่งเสริมกำรเรยี นรู้ (๑) จัดสภาพแวดล้อมห้องเรียน หรือภายนอกห้องเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ สะอาด มีความเป็น ระเบียบ ตกแตง่ ห้องเรียนให้นา่ อยู่ มีมมุ ต่าง ๆ ในหอ้ งเรยี น มที ่ีเก็บวัสดุอุปกรณ์ และงา่ ยตอ่ การนามาใช้ มีป้าย นิเทศให้ความรู้ ภายนอกห้องเรียนจัดบรรยากาศให้เปน็ ธรรมชาติน่าอยู่ ร่มรน่ื และเหมาะกบั กิจกรรมการเรียนรู้ ถูกสุขลกั ษณะและปลอดภยั (๒) จดั สภาพแวดลอ้ มหรอื ห้องใหผ้ ูเ้ รียนไดฝ้ กึ ปฏิบตั ิการ
ฌ (๓) จดั ส่ือ อปุ กรณ์ ท่ีเกี่ยวกับการเรยี นรู้อยา่ งเพียงพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเครื่องมือแสวงหาความรู้ หรือช่องทางเสนอข่าวสารต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับรู้ข้อมูล ขา่ วสารที่ทันสมยั ปจั จบุ นั อยูเ่ สมอ ๓. ครูผู้สอน การจัดการเรียนรู้ตามแนวดังกล่าว จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนทั้งของ ผู้เรียนและผู้สอน กล่าวคือลดบทบาทของครูผู้สอน จากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็นการวางแผน จดั กิจกรรมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ กิจกรรมต่าง ๆ จะตอ้ งเน้นที่บทบาทของผูเ้ รียนตัง้ แต่เร่ิม คือ ร่วมวางแผน การเรียน การวดั ผล ประเมินผล และตอ้ งคานึงวา่ กิจกรรมการเรียนนัน้ เนน้ การพฒั นากระบวนการคดิ วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน การสร้างคาอธิบายเกี่ยวกับข้อมูลที่สืบค้นได้ เพื่อนาไปสู่คาตอบ ของปัญหาหรือคาถามต่าง ๆ และสร้างองค์ความรู้ ทั้งนี้กิจกรรมการเรียนรู้เหล่านี้ต้องพัฒนาผู้เรียนให้มี พฒั นาการเหมาะสมตามวัย ท้ังทางร่างกาย อารมณส์ ังคม และสติปัญญา โดยคานงึ ถงึ เร่อื งตา่ ง ๆ ดังน้ี ๑. ควรให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดเวลาด้วย การกระตุ้นให้ผู้เรียนลงมือ ทดลองและอภิปรายผล โดยใช้เทคนคิ ต่าง ๆ ของการสอน เช่น การนาเขา้ ส่บู ทเรียน การใชค้ าถาม การเสริมพลัง มาใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ที่จะทาให้การเรยี นการสอนนา่ สนใจและมชี ีวติ ชีวา ๒. ครูควรมีการวางแผนการใช้คาถามอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อจะนาผู้เรียนเข้าสู่บทเรียน และ ลงข้อสรุปได้โดยที่ไม่ใช้เวลานานเกินไป ครูควรเลือกใช้คาถามที่มีความยากง่ายพอเหมาะกับความสามารถของ ผเู้ รยี น ๓. เมื่อผู้เรียนถาม อย่าบอกคาตอบทันที ควรให้คาแนะนาที่จะช่วยให้ผู้เรียนหาคาตอบได้เอง ครู ควรให้ความสนใจต่อคาถามของผู้เรียนทุก ๆ คน แม้ว่าคาถามนั้นอาจจะไม่เกี่ยวกับเรื่องที่กาลังเรียนอยู่ก็ตาม ครูควรจะชี้แจงให้ทราบและเบนความสนใจของผู้เรียนกลับมาสู่เรื่องที่กาลังอภิปรายอยู่ สาหรับปัญหาที่ผู้เรียน ถามมานนั้ ควรจะไดน้ ามาอภิปรายในภายหลงั ๔. การสารวจตรวจสอบซา้ เปน็ สง่ิ จาเปน็ เพอื่ ใหไ้ ดข้ ้อมูลท่นี ่าเช่ือถือ ดังนัน้ ในการจัดการเรียนรู้ ครู ควรย้าให้ผูเ้ รยี นไดส้ ารวจตรวจสอบซา้ เพอ่ื นาไปสู่ขอ้ สรุปที่ถกู ตอ้ งและเชอื่ ถอื ได้ กิจกรรมการเรยี นรูร้ ายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาชนั้ ประถมศึกษา ใช้กระบวนการเรียนรู้หลากหลาย ผสมผสาน เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการจัดกิจกรรมบูรณาการแบบกลมกลืน ทั้งการปฏิบัติด้านพฤติกรรม สขุ ภาพ และความเขา้ ใจองค์ความรู้ที่ถกู ต้อง ตลอดจนการเสริมแรงตามวัยของผู้เรียน เพ่อื นาไปใช้ในชีวิตประจา วัน ปรับปรุงพฤติกรรมสุขภาพผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์ปลอดภัย ตามความแตกต่างของแต่ละบุคคล และ ส่วนรวม ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ คานึงถึงความสอดคล้องกับคุณลักษณะที่มุ่งหวังไปสู่เจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ จนเป็นนิสัย มีคุณธรรม จริยธรรม เช่น มีความซื่อสัตย์ ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย รับผิดชอบ มีความมุ่งมั่นในการทางาน มจี ติ สาธารณะ เปน็ ต้น ตวั อย่างกระบวนการการเรยี นรทู้ นี่ ามาประยุกต์ใชต้ ามธรรมชาติวิชา มีดังนี้
ญ ๑. กระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ ฝึกทักษะการคิด คล่อง คิดหลากหลาย วิเคราะห์ข้อเท็จจริง หรือข้อคิดเห็นเชื่อมโยงรอบด้านที่เกี่ยวกับการดาเนินชีวิตด้าน สขุ ภาพอยา่ งปลอดภัยในชวี ติ ประจาวัน เปน็ ระบบตอ่ เน่อื ง มุมมองดา้ นบวก ด้านลบ ผลกระทบที่เกิดขน้ึ การค้นหา เหตุผลของการปฏิบัติตน และสังเคราะห์ สร้างแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนาส่งเสริมสุขภาพระดับตนเอง ครอบครวั อยา่ งเหมาะสม โดยการใช้เทคนิคพฒั นาความสามารถในการคดิ เช่น - แผนภาพความคดิ แบบตา่ ง ๆ (Graphic Organizers) - เทคนิคการฝึกเปรียบเทียบข้อมูล PMI บอกข้อดี (Plus) บอกข้อเสีย (Minus) ข้อมูลที่สนใจ ศึกษาคน้ ควา้ ตอ่ (Interesting) - เทคนคิ การต้ังคาถามโดยใชส้ ่ือ สถานการณป์ จั จุบัน ๒. การตั้งคาถามเชิงสะท้อนคดิ เทคนิคคาถาม Reflect-Connect-Apply (R-C-A) เพื่อพัฒนาด้าน ทกั ษะชีวติ เตรยี มพร้อมสาหรบั ใช้ในสถานการณ์ใหมท่ ่อี าจต้องเผชญิ ในชีวติ ประจาวันและอนาคต โดยให้ผเู้ รยี น ทบทวนความรู้สึก พฤติกรรมการปฏิบัติของตนเอง (R) คิดเชื่อมโยง (C) และคาถามนาไปสู่การอภิปรายเสนอ วิธกี าร แนวทาง พรอ้ มทั้งนาไปปฏบิ ตั ิให้เหมาะสมกบั ปัจจบุ ันและเตรยี มอนาคต (A) ๓. กระบวนการปฏิบัติ ได้แก่ การรับรู้ การปฏิบัติตามแบบ การปฏิบัติด้วยตนเองอย่างธรรมชาติ และนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั จนเป็นนิสัย ๔. การจัดการเรยี นรูใ้ นแผนการจัดการเรยี นรู้ ประกอบด้วยขนั้ นา ข้นั สอน และขัน้ สรุป ดงั น้ี ๑) ขั้นนา เป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน เช่น ทบทวน ตรวจสอบความรู้ที่เรียนผ่านมา แล้ว ด้วยคาถามเชื่อมโยง ร่วมอภิปราย การปฏิบัติตนด้านสุขภาพของตนเอง ไม่จากัดคาตอบ ครูช่วยให้ นกั เรยี นเชอ่ื มโยงคาตอบดว้ ยตวั เอง เพ่ือนาไปสจู่ ุดประสงค์ ๒) ขั้นสอน เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาใหม่ มีหลากหลายวิธีการ โดยใช้กระบวนการ เรยี นรทู้ ก่ี ล่าวข้างต้น เช่น - ครูใชส้ ือ่ เหตุการณป์ จั จบุ ัน คลปิ ภาพยนตรส์ ัน้ ต้งั คาถามใหน้ ักเรียนคิดวเิ คราะหใ์ ห้เวลาคิด แกผ่ ้เู รยี น - ครสู นใจคาตอบของผเู้ รียน และนาคาตอบของผเู้ รยี นมาเชอ่ื มโยงประสบการณ์ - ผเู้ รยี นศึกษาข้อมลู เพิ่มจากใบงาน แลกเปลยี่ นประสบการณ์ โดยเชอื่ มโยงกับความรู้ท่ีจาเป็น กบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพในชวี ิตประจาวนั เปรยี บเทยี บกบั พฤตกิ รรมสุขภาพของตนเอง - ผูเ้ รยี นวิเคราะห์ ฝกึ ทกั ษะการสังเกตขอ้ เทจ็ จริง หรอื ขอ้ คิดเหน็ เช่ือมโยงรอบดา้ นที่เก่ียวกับ การดาเนินผลทางบวกและลบ ชีวิตด้านสุขภาพอย่างปลอดภัยในชีวิตประจาวัน โดยใช้กิจกรรมที่เหมาะสม กับวัย พัฒนาทักษะการคิดสร้างชิ้นงาน/ภาระงาน สรุปความรู้จากการปฏิบัติจริงเป็นแผนภาพความคิดแบบ ตา่ ง ๆ - ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ กิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมเดี่ยว และนาเสนอผลงานหรือผลการปฏิบัติ แลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ะหวา่ งกลุ่ม ระหว่างเพ่ือน
ฎ - มีการประเมินพฤติกรรมผู้เรียนระหว่างเรียน ทั้งด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ ตามจุดประสงค์ ด้วยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ตรวจสอบความรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับเมื่อนักเรียนเข้าใจ คลาดเคลือ่ น รวมทงั้ ใหแ้ รงเสรมิ ๓) ข้นั สรปุ เป็นข้นั ต่อเนือ่ งจากขั้นสอน เชน่ - ผเู้ รียนสรปุ ส่ิงท่ไี ดเ้ รียนรู้ดว้ ยตนเองผา่ นการใชค้ าถามของครู - ครอู าจจะช่วยสรปุ อกี ครั้งดว้ ยการใช้กระดานหรือ Graphic Organizer - ครูใช้คาถามเชื่อมโยงกับชีวิตจริง เทคนิคคาถาม Reflect-Connect-Apply (R-C-A) เพ่ือ พัฒนาด้านทักษะชีวติ ให้ผู้เรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ ทบทวนการปฏบิ ัติตน และเน้นการนาไปใช้ปฏิบัติในชวี ติ ประจาวัน ตลอดจนสร้างเสริมสุขภาพของครอบครัว ชมุ ชน เปน็ ตน้ - นกั เรยี นบนั ทกึ การเรยี นรู้ หรือใช้ผงั กราฟิก (ตวั อยา่ งในภาคผนวก ข และ ค) ๓. ส่อื กำรจดั กำรเรยี นรู/้ แหลง่ เรยี นรู้ สื่อกำรจัดกำรเรียนรู้ เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึง ความรู้ ทักษะกระบวนการ ได้ง่ายในระยะเวลาสั้น และช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดอย่างถูกต้องและรวดเร็ว สอื่ ทีป่ รากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ มลี ักษณะดงั นี้ ๑) ใบความร/ู้ แผนภาพนาเสนอข้อมลู ๒) คลิป/วดี ทิ ัศน์/ภาพขา่ วสถานการณ์ปจั จบุ ัน ๓) สถานการณ์สมมติ ๔) สือ่ บคุ คล แหลง่ เรยี นรู้ เปน็ เครื่องมอื สร้างคณุ ลักษณะการใฝร่ ู้ที่ทกุ คนตอ้ งใฝ่รตู้ ลอดชีวิต มีลักษณะดังนี้ ๑) แหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรียน ๒) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน ท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของ ชวี ิต ด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ๓) แหลง่ เรยี นร้อู อนไลน์ที่เกี่ยวกบั การสร้างเสริมสขุ ภาพ - สานกั งานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน - สสส. - กรมควบคมุ โรค - กรมอนามัย - กรมสุขภาพจติ - มหาวทิ ยาลัยต่าง ๆ - กระทรวงสาธารณสขุ - กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ฯลฯ
ฏ ๔. กำรวดั และประเมินผลกำรเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดประสงค์สาคัญของการประเมินการเรียนรู้คือการช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนหรือหลักสูตรวางไว้ ปัญหาที่พบในปัจจุบันก็คือ ผู้บริหาร ผู้สอน ตลอดจนผู้ปกครองเป็นจานวนมากยังให้ความสาคัญกับการประเมินผลสรุปรวม ที่เน้นการทาข้อสอบ รวมถึง การให้ความสาคัญกับผลลัพธ์ของการประเมินผลสรุปรวมที่ปรากฏในรูปของระดับผลการเรียน (Grade) หรือ ลาดับของผู้เรียนในชั้นเรียน (Rank) ซึ่งได้จากการเปรียบเทียบคะแนนระหว่างผู้เรียนมากกว่าการประเมิน การเรียนรู้ระหว่างเรียนที่เน้นการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาการเรียนรู้ ของตนเองของผู้เรียนแต่ละคน สง่ิ ตา่ ง ๆ เหลา่ น้ีจงึ กอ่ ให้เกดิ วัฒนธรรมการเรียนรู้แบบท่องจาเพ่ือสอบ หรือการ เรยี นรเู้ พื่อแขง่ ขัน ซงึ่ ถอื เป็นการเรยี นรู้แบบผิวเผินมากกว่าการเรยี นรูเ้ พือ่ พัฒนาตนเองซ่งึ ผลลพั ธ์ของการเรยี นรู้ จะย่ังยนื กว่า (กุศลิน มุสิกลุ , ๒๕๕๕; ขจรศกั ด,ิ์ เพ็ญจันทร์ และวรรณทิพา รอดแรงค้า, ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนร้เู พอ่ื พฒั นาสมรรถนะด้านตา่ ง ๆ ของผเู้ รียนน้นั จาเป็นตอ้ งมีการประเมินการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เริ่มต้นระหว่างและสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้การประเมินในรูปแบบที่หลากหลาย สอดคล้องตามวัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นรู้ รปู แบบการประเมินการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การประเมินการเรยี นร้รู ะหวา่ ง เรยี น (Formative Assessment) การประเมินการเรยี นร้สู รุปรวม (Summative Assessment) และการประเมิน การเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และการประเมิน ตามสภาพจริงนั้น ผู้สอนจาเป็นต้องสะท้อนการประเมินให้ผู้เรียนรับทราบเพื่อปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และ ผู้สอนต้องนาผลการประเมินมาพิจารณาเพื่อทบทวนและปรับแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้สามารถดาเนินการ แก้ไข ช่วยเหลือ หรือหาวิธีการต่าง ๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนแต่ละคนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตามแต่ละ จุดประสงค์การเรยี นร้หู รอื เปา้ หมายของตวั ชวี้ ัดต่าง ๆ (กุศลิน มุสกิ ลุ , ๒๕๕๕) กำรวัดและประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ของผู้เรียน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียนและการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จ นั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อน สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมิน การเรยี นรู้ในทกุ ระดับ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ความสาคัญของการประเมิน พฤตกิ รรมการปฏิบตั ิ ดงั นี้ ๑) วิธีกำรประเมิน (๑) กำรวัดและประเมนิ ก่อนเรยี น เพื่อตรวจสอบความพรอ้ มและความรู้เดมิ ของผู้เรียน (ผสมผสาน ในกจิ กรรมการเรยี นรู้ขนั้ นา) (๒) กำรวดั และประเมนิ ระหวำ่ งเรยี น ได้แก่ ด้านความรู้ ทกั ษะการปฏิบตั ิ และคณุ ลักษณะ โดยวิธี การสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพร้อมแสดงเหตุผล ตรวจชน้ิ งาน การนาเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนรู้
ฐ ขัน้ สอน) จดุ มุง่ หมายของการประเมนิ ระหวา่ งเรยี น มีดงั น้ี (๒.๑) เพ่ือคน้ หาและวินิจฉัยวา่ ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเนอ้ื หา มีทกั ษะความชานาญ รวมถึง มีเจตคติทางการเรียนรู้อย่างไรและในระดับใด เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สอนสามารถวางแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้ของผเู้ รียนได้อยา่ งเตม็ ศักยภาพ (๒.๒) เพอื่ ใช้เปน็ ข้อมลู ป้อนกลับใหก้ ับผู้เรยี นวา่ มีผลการเรยี นรูอ้ ยา่ งไร (๒.๓) เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้านการ เรยี นรขู้ องผ้เู รียนแตล่ ะคน (๓) กำรวดั และประเมนิ หลังเรียน เพอ่ื ตรวจสอบความสาเรจ็ ตามจดุ ประสงค์รายแผน เปน็ การพัฒนา ในจุดที่ผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และเพื่อตัดสิน ผลการจัดการเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผู้เรียนได้เรียนไปแล้ว ผลจากการประเมินประเภทนี้ใช้ประกอบ การตดั สินผลการจัดการเรียนการสอน หรอื ตดั สินใจว่าผเู้ รยี นคนใดควรจะได้รับระดบั คะแนนใด (๔) ประเมินรวบยอดเมอ่ื ส้ินสดุ หน่วยกำรเรียนรู้ ดาเนนิ การดังนี้ การประเมินโดยครูผู้สอน เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนว่าบรรลุเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และเจตคติหรือไม่ เช่น การทาโครงงาน การนาความรู้ไปใช้เพ่ือ พฒั นาสงั คมในรปู แบบตา่ ง ๆ การประเมินโดยผู้เรียนแต่ละคน โดยกำรทำแบบบันทึกกำรเรียนรู้ (Learning Log) ควรให้ ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อเปิดโอกาสได้สะท้อนคิดสิ่งที่เรียนรู้ทั้งที่ทาได้ดีและยังต้องพัฒนา (ตัวอย่างแบบบันทึกการเรียนรู้ ดูภาคผนวก ค) ควรใหผ้ ู้เรยี นได้ประเมนิ การเรยี นรู้ย่อยหลังจบการเรียนรู้แต่ละ หน่วยการเรียนรู้ และประเมินการเรียนรู้รวมในช่วงกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน โดยครูสามารถเลือกใช้ ชุดคาถามและจานวนขอ้ ใหเ้ หมาะสมกับบรบิ ทของผเู้ รียน ช่วงเวลา และธรรมชาตขิ องแตล่ ะวิชา ทัง้ นี้ในครัง้ แรก ครูควรทารว่ มกบั นกั เรยี นเพือ่ แนะนาวิธีการเขียนแบบสะท้อนคิด และควรอ่านสิง่ ท่นี กั เรียนบันทกึ พร้อมให้ข้อมูล ย้อนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสร้างสรรค์ รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลในแบบบันทึกเพื่อพัฒนาการสอน ของตัวเองและชว่ ยเหลือนกั เรียนเป็นรายบคุ คลตอ่ ไป ๒) ผู้ประเมิน ได้แก่ เพื่อนประเมินเพื่อน ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมนิ ตนเอง และผู้ปกครองร่วม ประเมิน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาได้ออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ปรากฏใน แผนการจัดการเรียนรู้ โดยให้ความสาคัญของประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติผู้เรียนด้านสุขภาพระหว่างเรียน เพื่อพัฒนาเรยี นรู้ของผเู้ รยี นไปสเู่ ป้าหมายของหนว่ ยการเรียนร้ทู ่กี าหนด รายละเอยี ด ดงั นี้ ๑. วธิ ีการประเมิน ๑) ประเมินก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและความรู้เดิมของผู้เรียน (ผสมผสานในกิจกรรม การเรียนรูข้ ้ันนา)
ฑ ๒) ประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพร้อมแสดงเหตุผล ตรวจชิ้นงาน การนาเสนอ และประเมินด้านความ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ คุณภาพผู้เรียนตามจุดประสงค์ ซึ่งนาไปสู่การปรับปรุง หรือส่งเสริมการเรียนรู้ต่อไป (ผสมผสานในกิจกรรม การเรียนร้ขู ้ันสอน) ๓) ประเมินหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความสาเร็จตามจุดประสงค์รายแผน จากบันทึกการเรียนรู้ และบันทึกการปฏิบัติด้านสุขภาพของผู้เรียนรายบุคคลเพื่อพัฒนาในจุดที่ผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือ ปฏิบตั ไิ มถ่ กู ต้อง (ผสมผสานในกจิ กรรมขนั้ สรปุ ) ๔) ประเมินรวบยอดเมื่อสิ้นสุดหน่วยการเรียนรู้ เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนบรรลุเป้าหมายของ หน่วยการเรียนรู้ ตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด สมรรถนะคุณลักษณะ และเจตคติ เช่น การจัดนิทรรศการ การนา ความรไู้ ปใชเ้ พื่อพฒั นาสังคมในรปู แบบตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ตลอดจนปลายภาคเพือ่ การตดั สนิ ผลการเรยี น ๒. เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ มิติคุณภาพ (Rubric Score) ซึ่งได้อธิบายระดับคุณภาพปรากฏในท้ายหน่วย การเรยี นรู้ทุกหน่วย โดยแสดงเครื่องมือที่สามารถนาไปใช้รายแผนการเรียนรู้ ในภาคผนวก ก ได้แก่ แบบสังเกต พฤติกรรมการปฏบิ ตั ิ แบบตรวจคาตอบ แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะและเจตคติ ๓. ผ้ปู ระเมนิ ไดแ้ ก่ เพ่ือนประเมินเพอื่ น ครปู ระเมนิ ผู้เรียน ผปู้ กครองรว่ มประเมิน ๕. คำแนะนำบทบำทครปู ลำยทำงในกำรจัดกำรเรียนรู้ ครปู ลายทางควรมีบทบาทการสอนค่ขู นานกับครตู น้ ทางในการกากับดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนในทุกข้ันตอน การสอน ดังน้ี ๑) ข้นั เตรยี มตวั ก่อนสอน (๑) ศึกษาทาความเข้าใจคาชี้แจงและทาความเข้าใจเชื่อมโยงทั้งเป้าหมาย กิจกรรม และการวัดผล และประเมินผลระหวา่ งหน่วยการเรยี นร้กู ับแผนการจัดการเรยี นรรู้ ายช่วั โมง (๒) ศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ หน่วยงาน องค์กรที่ให้ความรู้ที่เชื่อถือได้ รวมท้ัง เทคนิคการจัดการเรียนรู้เพอื่ พัฒนาความสามารถของผู้เรียนอย่างรอบดา้ น (๓) ปรับ/ประยุกต์หรือเพิ่มเป้าหมายทั้งเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่เป็นจุดเน้น และ ที่เป็นปัจจุบันตามบริบทของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู้ ตาม ศกั ยภาพของผู้เรยี น และตามสภาพจรงิ (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัพโหลดล่วงหน้าเพื่อทาความเข้าใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และสื่อต่าง ๆ ที่ครูใช้ประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกิจกรรมในข้ันตอนช่วงการปฏิบัติ ทั้งด้านวิธีการ สื่อที่ใช้ และช่วงเวลาของการทาแต่ละกิจกรรมเพื่อนามาวิเคราะห์และหาแนวทางเตรียมนักเรียน/ช่วยเหลือ ส่งเสริม/อานวยความสะดวกนักเรียนตามบริบทของห้องเรียนของตนให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเต็มตามศกั ยภาพ (๕) เตรยี มใบงาน (ทีค่ ดั เลอื กสาหรบั มอบหมายให้นกั เรยี นได้ทาตามเหน็ ควรและเหมาะสม) รวมท้ัง การเตรียมอปุ กรณ์ตามระบุในแผนฯ และ/หรอื ทีป่ รากฏในคลปิ (ในกรณมี ีการปรับเปล่ยี นเพ่มิ เตมิ )
ฒ (๖) ติดตามข้อมูลรายละเอียดการจัดกจิ กรรมในช่วงการปฏิบัติตามกาหนดการสอนที่มีรายละเอียด ของส่อื การสอน ใบงาน ใบความรู้ บนเวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th ๒) ข้ันกำรจดั กำรเรยี นรู้ (๑) สร้างการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการทากิจกรรม เช่น กระตุ้นให้นักเรียนคิด ตอบคาถามของ ครูต้นทาง ฟังเฉลยและช่วยเสริม/อธิบาย/ในสง่ิ ท่ีนักเรยี นยังไม่เขา้ ใจ ชมเชย/ให้กาลังใจหากนกั เรียนทาได้ดี (๒) ใหค้ วามชว่ ยเหลือนกั เรียนที่ตามไม่ทัน เช่น อธิบายเพ่มิ เติมเพอื่ ให้นกั เรยี นสามารถเรียนรู้ตอ่ ไป อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (๓) กากับดูแลให้มีวินัยในการเรียน เช่น ไม่เล่นหรือพูดคุยกัน ปฏิบัติตามคาสั่งในการทากิจกรรม ฯลฯ (๔) อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ เช่น จัดเตรยี มสื่อการเรียนร้/ู อุปกรณ์ (๕) สังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี น เชน่ คุณลกั ษณะผู้เรียน สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้/ การปฏิบัติงาน ความรู้ในบทเรียน และบันทึกข้อมูลตามแนวทางประเมินที่แนะนาไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือนาข้อมูลไปพฒั นานักเรียนและให้ความช่วยเหลือนกั เรยี นท้งั ช้นั /กล่มุ /รายบคุ คลตามกรณี ๓) ขน้ั กำรปฏบิ ัติ (๑) ทบทวนขั้นตอนการทากิจกรรมตามที่ครูต้นทางแนะนา และตามข้อแนะนาการปฏิบัติที่ระบุใน PowerPoint ตรวจสอบความเขา้ ใจ และเตรยี มนักเรียนก่อนทากจิ กรรม (การแบง่ กลมุ่ ฯลฯ) (๒) กากบั ให้การทากิจกรรมเป็นไปตามลาดับเวลาตามแนวทางท่รี ะบุบน PowerPoint (๓) ใหค้ วามชว่ ยเหลือนกั เรยี นในระหว่างการทากิจกรรม (๔) เตรยี มพรอ้ มนักเรยี นสาหรับกิจกรรมในข้นั ตอนสรปุ การเรยี น (ถ้ามี) เชน่ การสรปุ ผลปฏิบัติงาน เพือ่ เทียบเคยี งกับผลงานทน่ี ักเรยี นต้นทางจะนาเสนอ เป็นตน้ ๔) ขั้นสรปุ (๑) กากับนักเรยี นใหม้ ีส่วนรว่ มในการเฉลยใบงาน/สรปุ ผลการทากจิ กรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเดน็ สาคญั ทีม่ กี ารสรุปทา้ ยชั่วโมง และงาน/ใบงานทีค่ รูต้นทางมอบหมายให้ทาเปน็ การบา้ น/หรอื ใบงานท่คี รูปลายทางได้เลอื กมาใชก้ บั ชั้นเรยี นของตน (๓) จัดให้นักเรียนได้ทาแบบประเมินตามระบุในหัวข้อ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (เฉพาะ หลังจบแต่ละหน่วยการเรยี นรแู้ ละคร่งึ /ปลายภาคเรียน) ๕) กำรบนั ทึกผลหลงั สอน (๑) บันทึกการจัดการเรียนรู้ของตนเอง โดยใช้ข้อมูลจากแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนระหว่างเรียน และแบบประเมินตนเอง บันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนเพื่อวิเคราะห์เทคนิค หรือวิธีการใด ที่ทาให้ผู้เรียน มีสว่ นร่วม มคี วามรู้ มีทักษะ และคณุ ลกั ษณะตามจุดประสงค์ (๒) บันทึกสาเหตขุ องความสาเร็จ อุปสรรค และ/หรือข้อจากดั ทีเ่ กิดขึน้ เช่น เทคนิค หรือวิธกี ารใด การบริหารจัดการชั้นเรียน การจัดบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมอย่างไร ฯลฯ ที่ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความรู้ มี
ณ ทกั ษะ และคุณลักษณะตามจดุ ประสงค์ โดยใชค้ าถามท่ใี ห้ไวใ้ น “คาถามบนั ทกึ ผลหลงั สอนสาหรับครูปลายทาง” (ดภู าคผนวก ค) เปน็ แนวทางในการย้อนคิด ไตรต่ รองสงิ่ ท่เี กิดขึ้นและนาไปบนั ทกึ ผลหลงั สอนของชวั่ โมงนัน้ ๆ (๓) วเิ คราะห์และสรุปผลจากข้อมูลตามปญั หา/ความสาเร็จที่เกิดข้นึ และเสนอแนวทางการปรับปรุง เพื่อนามาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และช่วยเหลือ/ส่งเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ในครั้งต่อไป รวมทั้งนา ไปใช้เปน็ ข้อมลู เพอ่ื พัฒนาเป็นงานวจิ ยั ในชนั้ เรยี นต่อไป
ด คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน รหสั วชิ ำ พ๑๕๑๐๑ รำยวิชำ สุขศึกษำและพลศึกษำ(สขุ ศึกษำ) กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ ช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๕ เวลำ ๘๐ ช่ัวโมง/ปี ศึกษาความสาคัญและวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย การเปลี่ยนแปลงทางเพศและ การปฏิบัติตนที่เหมาะสม ความสาคัญของครอบครัวที่อบอุ่นและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน การจัดรูปแบบและการควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการเคลื่ อนไหว แบบผสมผสาน การเล่นเกมที่นาไปสู่กีฬาและกิจกรรมการเคลือ่ นไหวแบบผลดั การเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรง การใช้แรงและความสมดุล การใช้ทักษะกลไกการปฏิบัติตามกฎกติกา สิทธิของตนเอง และยอมรับใน ความแตกต่างระหว่างบุคคล หลักการ รูปแบบ การสร้างทางเลือกของตนเองในการปฏิบัติกิจกรรมทางกาย กิจกรรมนันทนาการ ออกกาลังกาย เล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีม และ การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา การทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย ตามผล การทดสอบสมรรถภาพทางกาย การปฏิบัติตนตามสขุ บญั ญตั แิ ห่งชาติ การคน้ หาข้อมลู ข่าวสารเพ่อื การตัดสินใจ เลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ อิทธิพลของสื่อที่มีต่อพฤติกรรมและการปฏิบัติตนในการป้องกันโรค ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด ผลกระทบและการปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยาและ สารเสพตดิ โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ การมีส่วนร่วม เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์ การดูแลและรักษาระบบของร่างกาย การดารงสุขภาพ การป้องกันโรคและ ความปลอดภัยที่เกิดจากการปฏิบัติ มีและใช้ทักษะในการดาเนินชีวิตประจาวัน รวมทั้งการออกกาลังกาย และ หลีกเลี่ยงจากภัยอันตรายต่าง ๆ มีความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การแสวงหาความรู้ และการใชเ้ ทคโนโลยี เห็นคุณค่าในการการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรม เสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ ใฝ่หาความรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีระเบียบ วินัย และนาความรู้ไปใช้ปฏิบัติการดูแล รกั ษาสขุ ภาพกาย และสุขภาพจิต ในชวี ติ ประจาวันของตนเองและผูอ้ ่นื ตวั ช้วี ัด พ ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, พ ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ พ ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖ พ ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ พ ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ พ ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ รวมท้ังหมด ๒๕ ตวั ชวี้ ดั
ต มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด รหัสวิชา พ๑๕๑๐๑ รายวิชา สุขศึกษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ รวมเวลา ๒๐ ชัว่ โมง สาระท่ี ๑ การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์ ตวั ช้ีวัด พ ๑.๑ ป.๕/๑ อธิบายความสาคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญ เตบิ โตและพฒั นาการ พ ๑.๑ ป.๕/๒ อธบิ ายวิธีดแู ลระบบยอ่ ยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทางานตามปกติ สาระที่ ๒ ชีวติ และครอบครัว มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา และมีทกั ษะในการดาเนินชีวิต ตัวช้ีวัด พ ๒.๑ ป.๕/๑ อธบิ ายการเปลี่ยนแปลงทางเพศ และปฏบิ ัติตนไดเ้ หมาะสม พ ๒.๑ ป.๕/๒ อธิบายความสาคญั ของการมีครอบครวั ทอี่ บอุ่นตามวฒั นธรรมไทย พ ๒.๑ ป.๕/๓ ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ในครอบครัวและกลุ่มเพอื่ น
ถ โครงสร้างรายวชิ า รหสั วิชา พ๑๕๑๐๑ รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา (สขุ ศึกษา) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ รวมเวลา ๒๐ ช่วั โมง หน่วย ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา นา้ หนกั ที่ เรยี นรู้/ตัวช้ีวดั (ช่ัวโมง) คะแนน ๑ การเดนิ ทางของอาหาร พ ๑.๑ ป.๕/๑ ระบบย่อยอาหารและระบบ ๗ ๒๐ พ ๑.๑ ป.๕/๒ ขับถ่ายมคี วามสาคัญต่อ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ จงึ จาเปน็ ตอ้ งรู้วิธกี ารดแู ล อยา่ งถูกต้อง ๒ พฤติกรรมดีมีวธิ ี พ ๒.๑ ป.๕/๑ วัยรนุ่ เป็นวยั ทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลง ๑๓ ๓๐ แก้ปญั หา พ ๒.๑ ป.๕/๒ ทางเพศ ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งรู้จักดแู ล พ ๒.๑ ป.๕/๓ ตนเอง ปฏบิ ตั ิตนใหเ้ หมาะสม ตลอดจนมพี ฤติกรรมที่พึงประสงค์ ชว่ ยแกไ้ ขปญั หาความขัดแยง้ ในครอบครัวและเพือ่ น เพอ่ื ให้ สามารถปฏิบัติตน ในชวี ิตประจาวันไดอ้ ย่างมี ความสุขและเกิดความอบอุ่น ในครอบครวั รวมตลอดภาคเรียน ๒๐ ๕๐
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ เรื่อง การเดนิ ทางของอาหาร ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ ๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ การเดินทางของอาหาร
๒ คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สขุ ศกึ ษา ป.๕) หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ การเดินทางของอาหาร รหสั วชิ า พ๑๕๑๐๑ รายวิชา สขุ ศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๗ ชว่ั โมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั สาระท่ี ๑ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์ ตวั ชี้วัด พ ๑.๑ ป.๕/๑ อธิบายความสาคญั ของระบบย่อยอาหารและระบบขับถา่ ยที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญ เตบิ โต และพฒั นาการ พ ๑.๑ ป.๕/๒ อธิบายวธิ ีดแู ลระบบย่อยอาหารและระบบขบั ถ่ายให้ทางานตามปกติ ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายมีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการจึงจาเป็นต้องรู้ วิธกี ารดแู ลอย่างถูกตอ้ ง ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ๑) อธบิ ายระบบการย่อยอาหารของปากและฟันได้ ๒) อธบิ ายระบบการยอ่ ยอาหารของหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก และลาไสใ้ หญ่ ได้ ๓) อธิบายขัน้ ตอนการยอ่ ยอาหารได้ ๔) ระบกุ ารทางานของอวยั วะขบั ถ่ายท่สี าคญั ได้ ๕) อธบิ ายการขับของเสียจากผวิ หนงั ออกมาในรปู ของเหงื่อ ๖) อธบิ ายวิธีดแู ลระบบย่อยอาหารให้ทางานตามปกตไิ ด้ ๗) อธบิ ายวิธดี แู ลระบบขบั ถ่ายใหท้ างานตามปกตไิ ด้ ทกั ษะ/กระบวนการ ๑) ดแู ลตนเองเมือ่ เหง่อื ออกไดอ้ ย่างถูกต้อง ๒) ดแู ลระบบยอ่ ยอาหารของตนเองใหท้ างานตามปกติได้ ๓) ดูแลระบบขับถา่ ยของตนเองให้ทางานตามปกติ ๔) จัดและนาเสนอนิทรรศการ เร่ือง การเดนิ ทางของอาหาร เจตคติ ๑) เห็นประโยชน์ของการดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายใหท้ างานตามปกติ ๒) เหน็ ความสาคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขบั ถา่ ย
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรือ่ ง การเดินทางของอาหาร ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๓ ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๑) ความสามารถในการสอื่ สาร ๒) ความสามารถในการคดิ ๕. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑) ใฝ่เรียนรู้ ๒) มงุ่ ม่ันในการทางาน ๖. การประเมินผลรวบยอด ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ชนิ้ งานเร่อื ง การเดนิ ทางของอาหาร เกณฑ์การประเมินผลชน้ิ งานหรือภาระงาน ประเดน็ การประเมิน ๔ (ดมี าก) ระดบั คณุ ภาพ ๑ (ปรับปรงุ ) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑. อธบิ ายความสาคัญ อธบิ าย เน้ือหา อธบิ าย เนื้อหา อธบิ ายเนอื้ หา อธบิ ายเน้ือหา ของระบบยอ่ ยอาหารและ ตามที่กาหนดให้ ตามทีก่ าหนดให้ ตามทีก่ าหนดให้ ตามท่ีกาหนดให้ ระบบขบั ถ่ายท่ีมีผลต่อ ไดถ้ ูกต้องละเอียด ไดถ้ ูกต้องละเอียด ไดถ้ ูกต้องละเอยี ด ไดถ้ กู ต้องละเอยี ด สขุ ภาพ การเจรญิ เตบิ โต ชัดเจน ร้อยละ ชัดเจน ร้อยละ ชัดเจน รอ้ ยละ ชัดเจน น้อยกวา่ และพัฒนาการ ๘๐ ข้นึ ไป ๖๐-๗๙ ๔๐-๕๙ รอ้ ยละ ๔๐ ๒. อธิบายวธิ ีดูแลระบบ อธิบายวิธดี ูแล อธิบายวิธดี แู ล อธบิ ายวิธีดูแล อธิบายวิธดี ูแล ย่อยอาหารและระบบ ระบบย่อยอาหาร ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบยอ่ ยอาหาร ขบั ถา่ ยให้ทางาน และระบบขับถา่ ย และระบบขบั ถา่ ย และระบบขับถา่ ย และระบบขับถา่ ย ตามปกติ ใหท้ างานตาม ให้ทางานตาม ใหท้ างานตาม ใหท้ างานตาม ปกติ ได้ ๕ ข้อ ปกติ ได้ ๓-๔ ขอ้ ปกติ ได้ ๒ ข้อ ปกติ ได้ ๑ ข้อ ข้นึ ไป ๓. ความสามารถใน สือ่ สารให้ผอู้ น่ื ส่อื สารให้ผอู้ ่ืน ส่ือสารใหผ้ อู้ ่ืน สือ่ สารให้ผู้อืน่ การส่ือสาร ความสามารถ เข้าใจไดอ้ ยา่ งมี เข้าใจไดอ้ ยา่ งมี เข้าใจได้อยา่ งมี เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งมี ในการคดิ เหตุผลเช่อื มโยง เหตุผลเชอ่ื มโยง เหตผุ ลเชือ่ มโยง เหตผุ ลเชื่อมโยง อย่างเปน็ ระบบ อย่างเป็นระบบ อย่างเปน็ ระบบ อยา่ งเปน็ ระบบ ครบถว้ นชดั เจน ครบถว้ นชัดเจน ครบถ้วนไมช่ ดั เจน ไมไ่ ด้ อย่างต่อเน่อื ง ไมต่ ่อเนือ่ ง
๔ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (สขุ ศึกษา ป.๕) เกณฑ์ในการวดั และประเมินผล ดีมาก คะแนน ๑๐-๑๒ หมายถงึ ดี คะแนน ๗-๙ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๖ หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน ๑-๓ หมายถงึ เกณฑ์การผ่าน ตงั้ แตร่ ะดบั พอใชข้ นึ้ ไป
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เร่อื ง การเดนิ ทางของอาหาร ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ๕ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง ระบบย่อยอาหาร (๑) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่อื ง การเดนิ ทางของอาหาร เวลา ๑ ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา รายวชิ า สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ ๑. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชีว้ ดั พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ ป.๕/๑ อธิบายความสาคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายท่ีมีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และ พฒั นาการ ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ระบบย่อยอาหารมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตและการเจริญเติบโต ปากและฟันเป็นขั้นตอนแรก ของระบบยอ่ ยอาหาร ฉะนั้นจึงควรร้รู ะบบการทางานและขนั้ ตอน เพ่ือใหร้ า่ งกายทางานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) อธบิ ายระบบการย่อยอาหารของปากและฟนั ได้ ๓.๒ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - ๓.๓ ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) เหน็ ความสาคัญของระบบยอ่ ยอาหาร ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ ความหมายของระบบยอ่ ยอาหารและระบบขบั ถา่ ย ๔.๒ อวัยวะที่เกย่ี วข้องในระบบการยอ่ ยอาหาร (ปาก ฟนั ) ๕. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ๕.๑ ความสามารถในการคดิ ๕.๒ ความสามารถในการส่ือสาร ๕.๓ ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรยี นรู้ ๖.๒ มุ่งม่นั ในการทางาน ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๖ การจดั กิจกรรมการเรยี น แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ เ ลาดบั หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ เร่ือง การเดินทางของอาหาร รายว ที่ ๑. จุดประสงค์ ข้ันตอนการจดั เวลา การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กจิ กรรมค ๑๐ - ครูกาหนดขอ้ ตกลงใ ข้นั นา นาที - ครแู จ้งหน่วยการเรีย เรยี นในภาคเรยี นที่ - ครูแจกขา้ วสวยให้น คนละ ๑ คา - ครตู งั้ คาถาม ๑. “รสชาติของขา้ ว และหลงั เคย้ี วเป ๒. “ลักษณะของขา้ และหลงั เค้ียวเป
คูม่ ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (สขุ ศกึ ษา ป.๕) นรู้ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เรื่อง ระบบยอ่ ยอาหาร (๑) วชิ า สุขศึกษาและพลศกึ ษา (สุขศกึ ษา) จานวน ๑ ชวั่ โมง แนวการจัดการเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ ประเมนิ ครู กิจกรรมนักเรยี น การเรียนรู้ ในการเรยี น - นกั เรยี นสรา้ งขอ้ ตกลง - สื่อ - แบบ ยนรู้ท่จี ะ สงั เกต ๑ ในการเรียน PowerPoint พฤติกรรม นกั เรียน - นกั เรยี นนาขา้ วสวยมาเค้ียว - ข้าวสวย วสวย กอ่ น ป็นอยา่ งไร” ให้ละเอยี ดอย่างช้า ๆ ประมาณ ๓๐ ครงั้ - นกั เรยี นตอบคาถามชวนคดิ ๑. “รสชาตขิ องข้าวสวย ก่อน และหลงั เค้ยี วเป็นอย่างไร” าวสวย กอ่ น (แนวคาตอบ : ก่อนเคย้ี วมี ปน็ อย่างไร” รสชาตจิ ดื หลงั เค้ียวมี รสชาตหิ วานข้ึน) ๒. “ลกั ษณะของขา้ วสวย ก่อน และหลงั เค้ียวเปน็ อย่างไร”
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอื่ ง การเดนิ ทางของอาหาร ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ ลาดับ จุดประสงค์ ขั้นตอนการจดั เวลา กิจกรรมค ที่ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ ๒. ๑. อธิบายระบบการ ข้นั สอน ๒๕ - ครูสนทนาเกี่ยวกับร ย่อยอาหารของปาก นาที อาหารและระบบขับ และฟันได้ (K) โดยต้งั ประเด็นคาถา ๑. นกั เรยี นคิดวา่ กา ของอาหารที่เรา ผา่ นอวยั วะใดบ้า ๒. อวัยวะเหลา่ น้ันท อาหารที่ทานเขา้ ๓. แลว้ อาหารออกม รา่ งกายทางไหน - ครเู ช่ือมโยงคาตอบข เข้าสู่ เรือ่ ง ความหม ระบบยอ่ ยอาหาร ก อาหารของปากและ
๗ แนวการจดั การเรียนรู้ สอื่ การเรยี นรู้ ประเมนิ ครู กจิ กรรมนักเรียน การเรียนรู้ (แนวคาตอบ : กอ่ นเค้ียวเปน็ เมด็ หลังเค้ยี วถูกบด จนละเอียด) ระบบย่อย - นกั เรยี นสนทนาเกย่ี วกบั ระบบ - สอ่ื - แบบ บถ่าย ย่อยอาหารและระบบขบั ถา่ ย PowerPoint สังเกต ามชวนคดิ - นกั เรยี นตอบถามคาถามตาม พฤตกิ รรม ารเดนิ ทาง ประเด็น าทานเขา้ ไป ๑. นกั เรยี นคิดวา่ การเดนิ ทาง าง ของอาหารทีเ่ ราทานเข้าไป ทาอะไรกับ ผา่ นอวัยวะใดบ้าง าไป (แนวคาตอบ : ปาก มาจาก หลอดอาหาร กระเพาะ น อาหาร ลาไสเ้ ลก็ ลาไสใ้ หญ่ ของนกั เรยี น ทวารหนัก) มายของ ๒. อวัยวะเหล่าน้นั ทาอะไรกบั การย่อย อาหารท่ที านเข้าไป ะฟัน (แนวคาตอบ : ยอ่ ยอาหาร)
๘ จุดประสงค์ ขน้ั ตอนการจดั เวลา กจิ กรรมค การเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ ลาดบั ที่ ๓. ขั้นปฏิบัติ ๑๐ - ครแู บ่งกลุ่มนกั เรยี น นาที “คนเกง่ ตดิ ดาว” - ครูพดู เชื่อมโยงเข้าส “หลักจากนักเรยี น เรอื่ งระบบย่อยอาห กจิ กรรมตอ่ ไปนี้นกั เ ความรนู้ ัน้ มาใชใ้ นก กิจกรรม นักเรยี นพ กบั กิจกรรมรยึ งั คะ” - ครูอ่านคาถามต่อไป ๑. อาหารเขา้ สู่ระบ ที่อวยั วะใดเป็นท
คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สขุ ศกึ ษา ป.๕) แนวการจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ ประเมนิ ครู กจิ กรรมนักเรยี น การเรียนรู้ ๓. แล้วอาหารออกมาจากร่างกาย ทางไหน (แนวคาตอบ : ทวารหนกั ) - นกั เรยี นศึกษาเรอ่ื งความหมาย ของระบบยอ่ ยอาหาร การยอ่ ย อาหาร ของปากและฟัน นทากจิ กรรม - นักเรียนแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ ๔ คน - สอื่ - แบบ ทากิจกรรม “คนเก่งติดดาว” PowerPoint บันทึก สู่กิจกรรม - นกั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี - อุปกรณ์ การตอบ ไดเ้ รียนรู้ ๑. อาหารเข้าสู่ระบบยอ่ ย กิจกรรม “คน คาถาม หารเบ้อื งต้น อาหารท่อี วยั วะใดเปน็ ที่ เกง่ ติดดาว” กิจกรรม เรียนจะไดน้ า แรก (แนวคาตอบ : ปาก “คนเกง่ การทา และฟัน) ติดดาว” พรอ้ มจะสนุก ๒. ฟันมหี นา้ ทอี่ ย่างไรในระบบ ” ยอ่ ยอาหาร (แนวคาตอบ : ปน้ี บดเคย้ี วอาหาร) บบย่อยอาหาร ท่ีแรก
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรอ่ื ง การเดินทางของอาหาร ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ ลาดับ จดุ ประสงค์ ข้ันตอนการจดั เวลา ที่ การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กิจกรรมค ๒. ฟนั มีหนา้ ทอี่ ย่าง ยอ่ ยอาหาร ๓. นา้ ลายมีหนา้ ที่ใด ยอ่ ยอาหาร ๔. แปง้ ถูกยอ่ ยเบือ้ ง ในอวยั วะใด ๕. ล้นิ มสี ว่ นชว่ ยในก อาหารอยา่ งไร ๔. ๒. เหน็ ความสาคญั ขัน้ สรุป ๕ ครูตง้ั ประเดน็ คาถามจ ของระบบย่อย นาที การเรยี นรู้ท่ีได้จาก คา อาหาร (A) กจิ กรรม “คนเก่งตดิ ด
๙ แนวการจัดการเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ ประเมนิ การเรยี นรู้ ครู กจิ กรรมนกั เรียน - ส่ือ PowerPoint - แบบ งไรในระบบ ๓. นา้ ลายมหี นา้ ที่ใดในระบบ สงั เกต พฤติกรรม ดในระบบ ย่อยอาหาร (แนวคาตอบ : ยอ่ ยแป้งใหเ้ ปน็ นา้ ตาล) ๔. แปง้ ถูกย่อยเบือ้ งตน้ ใน งตน้ อวยั วะใด (แนวคาตอบ : ปาก) การยอ่ ย ๕. ลนิ้ มสี ่วนช่วยในการย่อย อาหารอย่างไร (แนว คาตอบ : คลกุ เคล้าอาหาร กบั นา้ ลาย) จากประเด็น นกั เรยี นสรปุ บทเรยี นจาก าถามใน กิจกรรมทีน่ กั เรียนตอบคาถามใน ดาว” ประเดน็ ระบบการย่อยอาหาร ของปากและฟันลงในสมดุ บนั ทึก
๑๐ ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สขุ ศึกษา ป.๕) ๘. ส่ือการเรียนรู/้ แหล่งเรียนรู้ ๑. ส่อื PowerPoint เร่อื ง ระบบย่อยอาหาร (๑) ๒. ข้าวสวย ๓. อุปกรณก์ ิจกรรม “คนเกง่ ติดดาว” ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน เกณฑ์การประเมนิ ผลชน้ิ งานหรือภาระงาน ประเดน็ การประเมนิ ๔ (ดมี าก) ระดบั คณุ ภาพ ๑ (ปรับปรงุ ) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑. การตอบคาถาม สามารถตอบ สามารถตอบ สามารถตอบ สามารถตอบ คาถามไดถ้ ูกตอ้ ง คาถามได้ถกู ต้อง คาถามไดถ้ ูกต้อง คาถามไดถ้ ูกตอ้ ง ๔ ขอ้ ข้ึนไป ๓ ข้อขน้ึ ไป ๒ ข้อขน้ึ ไป ๑ ข้อข้ึนไป ๒. ความมสี ว่ นรว่ ม นกั เรยี นทกุ คน นกั เรยี นในกลมุ่ นกั เรยี นในกลมุ่ นกั เรยี นในกลมุ่ ของสมาชิก ในกลุ่มมสี ่วน มีส่วนรว่ มใน มสี ว่ นร่วมใน มสี ว่ นร่วมใน รว่ มในการตอบ การตอบคาถาม การตอบคาถาม การตอบคาถาม คาถาม จานวน ๓ คน จานวน ๒ คน จานวน ๑ คน เกณฑ์การตัดสนิ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถึง ดี คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรงุ คะแนน ๑-๒ คะแนน เกณฑก์ ารผา่ น ต้งั แตร่ ะดบั พอใช้
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เร่อื ง การเดนิ ทางของอาหาร ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ๑๑ ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ความสาเร็จ ปญั หาและอปุ สรรค ขอ้ จากดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ลงชือ่ ผ้สู อน ( ) พ.ศ. วนั ที่ เดอื น ๑๑. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ ารหรอื ผ้ทู ีไ่ ด้รับมอบหมาย ลงชื่อ ผตู้ รวจ ( ) พ.ศ. วนั ที่ เดือน
๑๒ คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สขุ ศกึ ษา ป.๕) สื่อสาหรบั ครู ตวั อย่างส่ือ กจิ กรรมคนเก่งตดิ ดาว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่อื ง การเดนิ ทางของอาหาร แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง ระบบยอ่ ยอาหาร (๑) รายวิชา สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สุขศึกษา) รหสั วชิ า พ๑๕๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ คนเก่งตดิ ดาว กลุม่ ที่ คะแนน ** คณุ ครูอาจปรบั ใช้อปุ กรณต์ ามความเหมาะสม เชน่ กระดาษแขง็ ฟวิ เจอร์บอร์ด *** การใหค้ ะแนนคุณครูอาจเลือกใช้อปุ กรณ์ตามความเหมาะสม เช่น สติ๊กเกอร์รปู ดาว หรือการวาดภาพดาว
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง การเดนิ ทางของอาหาร ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ๑๓ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เร่อื ง ระบบยอ่ ยอาหาร (๒) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่อื ง การเดนิ ทางของอาหาร เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวิชา สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ ๑. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชว้ี ดั พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ ป.๕/๑ อธิบายความสาคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และ พัฒนาการ ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ระบบย่อยอาหารมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตและการเจริญเติบโต หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้ เล็ก ลาไส้ใหญ่เป็นขั้นตอนของระบบย่อยอาหาร ฉะนั้นจึงควรรู้ระบบการทางาน เพื่อให้ร่างกายทางาน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) อธบิ ายหนา้ ท่ขี องระบบการย่อยอาหารของหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เลก็ และลาไสใ้ หญ่ได้ ๓.๒ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - ๓.๓ ด้านคุณลกั ษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) เห็นความสาคัญของระบบย่อยอาหาร ๔. สาระการเรียนรู้ - อวยั วะทเี่ กีย่ วขอ้ งในระบบการย่อยอาหาร (หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไสเ้ ล็ก ลาไส้ใหญ่) ๕. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๒ ความสามารถในการสือ่ สาร ๕.๓ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ๖. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มงุ่ ม่นั ในการทางาน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๑๔ การจัดกจิ กรรมการเรยี น แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๒ เ รายวชิ า สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) หนว่ ยการเรีย ลาดบั จุดประสงค์ ขัน้ ตอนการจดั เวลา ที่ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ กจิ กรรม ๑. ขน้ั นา ๑๐ นาที - ครถู ามส่งิ ท่นี ักเร จากสัปดาห์ท่ผี า่ น - ครแู จกกระดาษใ กลุ่มละ ๑ แผ่น โ ว่า นักเรยี นคิดวา่ เราเดนิ ทางผ่านอ - ครรู ่วมกบั นกั เรยี จากคาตอบของน เชอ่ื มโยงบทเรียน ๒. ๑. อธบิ ายหนา้ ที่ของ ข้ันสอน ๒๕ นาที - ครูความรู้จากสือ่ ระบบการย่อยอาหาร เรือ่ ง การทางาน ของหลอดอาหาร อาหารของอวยั ว กระเพาะอาหาร ลาไส้ เลก็ และลาไส้ใหญ่ได้
คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สขุ ศกึ ษา ป.๕) นรู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ เรอ่ื ง ระบบย่อยอาหาร (๒) ยนรทู้ ี่ ๑ เรื่อง การเดินทางของอาหาร จานวน ๑ ชัว่ โมง แนวการจัดการเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ ประเมนิ มครู กิจกรรมนกั เรยี น การเรียนรู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ - นกั เรยี นทบทวนบทเรยี นจาก - สือ่ นมา สัปดาหท์ ผี่ า่ นมา PowerPoint ใหน้ ักเรียน - นกั เรยี นมเี วลากลมุ่ ละ ๑ นาที - ภาพบัตรคา โดยตัง้ คาถาม ในการวาดรูปเพอ่ื ตอบคาถาม าอาหารของ (แนวคาตอบ : ปาก หลอดอาหาร อวัยวะใดบ้าง กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ ยนสรปุ ขอ้ มูล ใหญ)่ นกั เรียนเพ่ือ - ตัวแทนนกั เรยี นนาเสนอคาตอบ น ของตนเอง อ PowerPoint - นกั เรยี นศึกษาการทางานระบบ - สอื่ - แบบ นระบบการยอ่ ย การย่อยอาหารของอวยั วะที่ PowerPoint บนั ทึก วะทีเ่ ก่ยี วข้อง เกย่ี วข้องจากสอ่ื PowerPoint การตอบ คาถาม กจิ กรรม
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่ือง การเดินทางของอาหาร ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ลาดบั จุดประสงค์ ขน้ั ตอนการจดั เวลา กจิ กรรม ที่ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ ๓. ข้นั ปฏิบัติ ๑๐ นาที - ครูแจกใบงานท่ี อธบิ ายวิธีการทา - ครเู ริ่มกิจกรรม “ โดยทบทวนกตกิ สะสมจากสัปดาห - ครูอา่ นคาถาม จ โดยให้เวลาในกา นกั เรยี น ขอ้ ละ ๑ - ใหน้ ักเรยี นเรีย ยอ่ ยอาหารใน อยา่ งถกู ตอ้ ง ๑. ในปากมกี า สารอาหาร ๒. กระเพาะอ ทาหนา้ ทอี่
๑๕ แนวการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ ประเมนิ มครู กิจกรรมนักเรยี น การเรียนรู้ “คนเก่งติด ดาว” ๑ พรอ้ ม - นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ เพอ่ื ทาใบงาน - อปุ กรณ์ า ท่ี ๑ กจิ กรรม “คนเก่งตดิ ดาว” - ตัวแทนกล่มุ นาเสนอ “คนเกง่ ติด กาและคะแนน การวิเคราะห์ใบงานของกลุ่ม ดาว” ห์ท่แี ลว้ - นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ ๔ คน จานวน ๕ ข้อ โดยเปน็ กลมุ่ เดมิ จากชัว่ โมงทแ่ี ล้ว ารตอบคาถาม เพอ่ื ทากิจกรรม “คนเกง่ ติด ๑ นาที ดาว” แบบสะสมคะแนน ยงลาดบั ระบบ ต่อเนอ่ื งกนั นอวัยวะต่าง ๆ - นกั เรยี นตวั แทนรบั กระดาน ดังน้ี สาหรบั เขียนตอบคาถาม ารย่อย พรอ้ มอปุ กรณ์ รใด - นกั เรยี นตง้ั ใจฟงั คาถาม มเี วลา อาหาร ข้อละ ๑ นาที อย่างไร
๑๖ จุดประสงค์ ข้นั ตอนการจดั เวลา การเรียนรู้ ลาดับ การเรยี นรู้ ที่ใช้ กิจกรรม ที่ ๓. การยอ่ ยอา ที่อวัยวะใด ๔. การทางาน ยอ่ ยอาหาร เปน็ อย่างไร ครูเฉลย พร้อมอธบิ และสรุปคะแนน พ นกั เรยี น
คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สขุ ศึกษา ป.๕) แนวการจัดการเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้ ประเมนิ การเรยี นรู้ มครู กิจกรรมนกั เรียน าหารสิ้นสุด - ให้นักเรยี นเรียงลาดบั ระบบ ด ยอ่ ยอาหารในอวัยวะต่าง ๆ นของระบบ อย่างถูกต้อง (แนวคาตอบ : รที่ลาไสใ้ หญ่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะ ร อาหาร ลาไส้เลก็ ลาไสใ้ หญ่ บายคาตอบ ทวารหนกั ) พรอ้ มกบั ๑. ในปากมกี ารย่อยสารอาหารใด (แนวคาตอบ : แป้ง คาร์โบไฮเดรต) ๒. กระเพาะอาหารทาหนา้ ที่ อยา่ งไร (แนวคาตอบ : รับ อาหารจากหลอดอาหาร ยอ่ ย โปรตนี ยอ่ ยอาหารใหม้ ีขนาด เลก็ ลง ดูดซมึ ยาและ แอลกอฮอล)์ ๓. การย่อยอาหารสิ้นสุดที่อวยั วะ ใด (แนวคาตอบ : ลาไสเ้ ลก็ ) ๔. การทางานของระบบยอ่ ย อาหารที่ลาไสใ้ หญเ่ ป็นอย่างไร
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง การเดินทางของอาหาร ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ ลาดบั จดุ ประสงค์ ข้ันตอนการจดั เวลา กจิ กรรม ที่ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ ๔. ๒. เหน็ ความสาคัญ ข้นั สรุป ๕ นาที - ครกู บั นักเรียนร่ว ของระบบยอ่ ยอาหาร บทเรยี นหลงั จาก “คนเกง่ ติดดาว”
๑๗ แนวการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ ประเมนิ การเรียนรู้ มครู กจิ กรรมนกั เรียน - ส่อื (แนวคาตอบ : ดดู ซบั น้า เกลือ PowerPoint - แบบ แร่ และวิตามิน) สังเกต พฤติกรรม วมกันสรุป - นักเรยี น สรุปเรอ่ื ง ระบบการย่อย กจบกจิ กรรม อาหารของล้นิ คอหอย ” หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไสเ้ ล็กและลาไสใ้ หญ่
๑๘ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (สขุ ศึกษา ป.๕) ๘. ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้ ๑. สือ่ PowerPoint เรอ่ื ง ระบบย่อยอาหาร (๒) ๒. อปุ กรณก์ ิจกรรม “คนเก่งติดดาว” ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน เกณฑ์การประเมนิ ผลชน้ิ งานหรือภาระงาน ประเดน็ การประเมนิ ๔ (ดมี าก) ระดับคณุ ภาพ ๑ (ปรบั ปรงุ ) ๓ (ดี) ๒ (พอใช)้ สามารถตอบ ๑. การตอบคาถาม สามารถตอบ สามารถตอบ สามารถตอบ คาถามไดถ้ กู ตอ้ ง คาถามไดถ้ กู ตอ้ ง คาถามไดถ้ ูกตอ้ ง ๑ ขอ้ ข้ึนไป คาถามไดถ้ ูกต้อง ๓ ข้อขนึ้ ไป ๒ ข้อข้นึ ไป นกั เรยี นในกลมุ่ นกั เรยี นในกลมุ่ นกั เรยี นในกลมุ่ มีสว่ นรว่ มใน ๔ ข้อขึน้ ไป มสี ่วนรว่ มใน มีสว่ นร่วมใน การตอบคาถาม การตอบคาถาม การตอบคาถาม จานวน ๑ คน ๒. ความมีสว่ นรว่ ม นกั เรยี นทกุ คนใน จานวน ๓ คน จานวน ๒ คน ของสมาชกิ กลุ่มมสี ว่ นร่วมใน การตอบคาถาม เกณฑ์การตัดสิน หมายถึง ดีมาก คะแนน ๗-๘ คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน ๕-๖ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๓-๔ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง คะแนน ๑-๒ คะแนน เกณฑ์การผา่ น ตง้ั แตร่ ะดับ พอใช้
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เร่อื ง การเดนิ ทางของอาหาร ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ๑๙ ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ความสาเร็จ ปญั หาและอปุ สรรค ขอ้ จากดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ลงชือ่ ผ้สู อน ( ) พ.ศ. วนั ที่ เดอื น ๑๑. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ ารหรอื ผ้ทู ีไ่ ด้รับมอบหมาย ลงชื่อ ผตู้ รวจ ( ) พ.ศ. วนั ที่ เดือน
๒๐ ค่มู ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (สขุ ศกึ ษา ป.๕) สอ่ื สาหรบั ครู ตัวอยา่ งสอ่ื กจิ กรรมคนเก่งติดดาว หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เร่อื ง การเดนิ ทางของอาหาร แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๒ เรอื่ ง ระบบย่อยอาหาร (๒) รายวิชา สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (สุขศึกษา) รหสั วชิ า พ๑๕๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ คนเกง่ ติดดาว กล่มุ ท่ี คะแนน ** คุณครูอาจปรับใช้อุปกรณ์ตามความเหมาะสม เชน่ กระดาษแขง็ ฟิวเจอรบ์ อร์ด *** การใหค้ ะแนนคณุ ครูอาจเลือกใชอ้ ุปกรณต์ ามความเหมาะสม เช่น สต๊กิ เกอร์รปู ดาว หรือการวาดภาพดาว
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื ง การเดินทางของอาหาร ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ๒๑ ใบงานท่ี ๑ เรอื่ ง การยอ่ ยอาหารของฉัน หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เรือ่ ง การเดินทางของอาหาร แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ เร่อื ง ระบบย่อยอาหาร (๒) รายวิชา สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สุขศกึ ษา) รหสั วิชา พ๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ คาชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการย่อยอาหาร แล้วตอบคาถามในใบงานของตนเอง โดยเตมิ คาในช่องวา่ งใหถ้ กู ต้อง ให้สัมพันธ์กบั ภาพ อวยั วะนค้ี อื ............................. ทาหนา้ ท่ี ................................................. ................................................. อวัยวะนีค้ อื ............................. ทาหนา้ ท่ี ................................................. ................................................. อวยั วะนีค้ ือ............................. อวยั วะนคี้ ือ............................. ทาหน้าที่ ทาหน้าที่ ................................................. ................................................. ................................................. ................................................. อวัยวะนี้คือ............................. ขอขอบคุณภาพจาก : Pixabay, ทาหน้าท่ี sites.google.com/site/kobclassroom ................................................. ................................................. ชอ่ื -สกลุ ........................................................................ ชั้น ................................ เลขท่ี ...................
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255