แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา นราธวิ าส เขต 2 เอกสารลาดบั ท่ี 4/2564 กล่มุ นโยบายและแผน สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำนรำธิวำส เขต 2 มีหน้ำที่ต้องจัดทำแผนปฎิบัติกำร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 เพ่ือกำหนดเป้ำหมำยกำรพัฒนำใช้เป็นกรอบทิศทำงในกำรดำเนินงำนของ หน่วยงำนท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยที่กำหนดไว้อย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล โดยเช่ือมโยง สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ พ.ศ. 2564-2580 แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม แห่งชำติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนปฎิรูปประเทศด้ำนกำรศึกษำ (ฉบับปรับปรุง) แผนกำรศึกษำ แห่งชำติ พ.ศ. 2560-2579 แผนปฎิบัติรำชกำรระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563-2565) กระทรวงศึกษำธิกำร แผนปฎิบัติ รำชกำรระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563-2565) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน นโยบำยกำรจัดกำรศึกษำ ของกระทรวงศึกษำธิกำร ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564-2565 นโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564-2565 นโยบำยสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำนรำธิวำส เขต 2 ปี พ.ศ. 2563-2565 และนโยบำยอืน่ ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งทุกระดับ ดังน้ัน สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำนรำธิวำส เขต 2 จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติกำร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำนรำธิวำส เขต 2 โดยมี สำระสำคัญประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนท่ี 2 นโยบำยที่เกี่ยวข้องด้ำนกำรจัดกำรศึกษำ ส่วนท่ี 3 สำระสำคัญแผนปฏิบัติกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ ประถมศึกษำนรำธิวำส เขต 2 ส่วนท่ี 4 รำยละเอียดโครงกำร/งบประมำณ และส่วนท่ี 5 กำรนำแผนไปสู่กำร ปฏบิ ตั ิ สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำนรำธิวำส เขต 2 ขอขอบคุณทุกท่ำนท่ีทำให้กำรจัดทำ แผนปฎิบัติกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำนรำธิวำส เขต 2 สำเรจจลลุ ่วงและบรรลตุ ำมวตั ถุประสงค์ทวี่ ำงไว้ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำนรำธวิ ำส เขต 2
สารบญั หน้า เรื่อง 1 1 คานา 2 2 ส่วนที่ 1 บทนา 4 ความเปน็ มา 5 สภาพท่ัวไป 6 อานาจหนา้ ท่ีของสพป.นราธวิ าส เขต 2 8 โครงสรา้ งการบริหารงานของ สพป.นราธวิ าส เขต 2 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน 10 ข้อมลู ทางการศึกษา 10 ผลการดาเนนิ งานทผ่ี ่านมา 10 11 ส่วนที่ 2 นโยบายท่เี กยี่ วขอ้ งด้านการจดั การศึกษา 11 พระบรมราโชบายด้านการศึกษาในสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั รัชกาลที่ 10 12 รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 12 ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) 13 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 13 แผนการปฏริ ูปประเทศ 14 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 15 นโยบายและแผนระดับชาติว่าดว้ ยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 - 2565) 15 นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา) แผนการศกึ ษาแห่งชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) 16 แผนปฏิบตั ิราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร แผนปฏบิ ัตริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษา 17 ข้ันพ้ืนฐาน ประกาศคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธิวาส เร่อื ง นโยบาย จุดเนน้ ฯ 17 17 สว่ นที่ 3 สาระสาคญั แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานเขตพนื้ ท่ี 17 การศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 18 18 วิสัยทัศน์ 18 พันธกิจ เป้าประสงค์ คา่ นยิ ม ประเด็นกลยุทธ์ เปา้ หมาย คา่ เป้าหมาย ตัวชี้วดั แนวทางการพัฒนา ตามประเดน็ กลยุทธ์
สว่ นที่ 4 รายละเอียดโครงการ/งบประมาณ 45 1 งบประมาณประจาปี พ.ศ. 2565 46 2 แผนการใช้จา่ ยงบประมาณประจาปี พ.ศ. 2565 46 3 รายละเอียดแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 46 4 สรุปโครงการตามภารกจิ กลุ่มเพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 47 5 สรปุ โครงการและงบประมาณตามประเด็นกลยุทธ์ 49 6 รายละเอยี ดโครงการ 50 1. จัดงานเน่อื งในวนั สาคัญทางการลกู เสือ เนตรนารแี ละยวุ กาชาด 51 2. งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น คร้งั ท่ี 70 (ระดับเขตพื้นท่ี) 57 3. พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 61 ประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 4. เสริมสรา้ งความรู้ความเข้าใจแก่ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครู และบุคลากรทางการ 68 ศึกษา 5. การสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี เพ่ือพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู 73 ภาษาไทย สงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 6. พัฒนาศักยภาพผู้บริหารทางการศึกษา ในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา 79 ประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2 7. การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาวิถีใหม่วิถีคุณภาพด้วยการเรียนรู้แบบองค์รวมสาหรับ 85 ครูผ้สู อนภาษาองั กฤษในสงั กดั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 8. พัฒนานวัตกรรมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในศตวรรษท่ี 21ผ่านการเรียนรู้เชิง 92 รุก ( Active Learning ) เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ในสังกัดสานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 98 9. การพัฒนาการจดั การศกึ ษาปฐมวัยเพือ่ ความลดความเลื่อมล้าระหว่างบุคคล 103 10. พัฒนาศักยภาพครูผู้สอน ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือเตรียมรับการประเมินสมรรถนะ นักเรียนมาตรฐานสากล (Program for International Assessment หรือ PISA) สาหรับ 109 นักเรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ในโรงเรยี นขยายโอกาส 115 11. โครงการพัฒนาศักยภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาการคานวณ และสะเตม็ ศกึ ษา 121 12. พฒั นาดา้ นการวดั ผลและประเมินผลสถานศึกษา 128 13. คณิตคดิ สร้างสรรค์ 133 14. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาดิจิทัลแพลตฟอรม์ สาหรับการเรียนรดู้ ว้ ยเทคโนโลยี 138 15. การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาเรยี นรวม 145 16. การบรหิ ารจดั การกลุ่มนโยบายและแผน 17. การอบรมพัฒนาบุคลากรด้านการจัดทาข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาปีการศึกษา 150 2565 18. พัฒนาเครือขา่ ยความรว่ มมอื การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาเพ่ือ 157 พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ของสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 19. พฒั นาประสิทธิภาพดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา
20. พฒั นาสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามกี ารบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพมี 164 ความโปร่งใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ บริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล 21. พัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารจัดการของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและระบบ 170 สนบั สนุนการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา 22. สร้างการรบั รคู้ วามเขา้ ใจสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 179 23. ประชุมเชิงปฏิบัติการระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ My Office 2565 187 24. โครงการพัฒนาระบบการประเมนิ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา 191 25. โครงการนเิ ทศ ติดตามการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สพป.นธ.2 197 สว่ นที่ 5 การนาแผนไปสกู่ ารปฏบิ ัติ และการติดตามและประเมินผล 203 การนาแผนไปสู่การปฎิบตั ิ 203 การตดิ ตามและประเมนิ ผล 204 ภาคผนวก 206 คาสัง่ แต่งตัง้ คณะกรรมการจดั ทาแผน ฯ 207 ประกาศคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส เรื่อง นโยบาย จุดเน้น และตัวช้ีวัดการ 211 ดาเนินงานพัฒนาการศึกษาจังหวัดนร าธิว าส ตามนโ ยบายและจุดเน้นขอ ง กระทรวงศึกษาธิการ โดยผ่านกลไกของคณะกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส 216 ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ 216 การขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส 217 - หนงั สอื ราชการขอความเห็นชอบแผน ฯ - หนงั สือราชการผ่านความเหน็ ชอบแผน ฯ
สว่ นท่ี 1 บทนำ ควำมเปน็ มำ พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดในมาตรา 10 ถงึ การจดั การศกึ ษาที่ “ตอ้ งจัด ให้บคุ คลมสี ิทธแิ ละโอกาสเสมอกันในการรับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานไม่นอ้ ยกว่าสบิ สองปีท่รี ฐั ตอ้ งจดั ให้อย่างทวั่ ถึงและ มีคณุ ภาพโดยไม่เกบ็ คา่ ใช้จ่าย” และต่อมาในปี พ.ศ. 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 กาหนดในมาตรา 54 ให้ “รัฐต้องดาเนนิ การใหเ้ ด็กทุกคนได้รบั การศึกษาเป็นเวลาสบิ สองปี ตงั้ แตก่ ่อนวัยเรยี นจน จบการศกึ ษาภาคบังคับอย่างมคี ุณภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จ่าย” สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ใน ฐานะตน้ สงั กดั ของสถานศึกษาของรฐั กว่า 29,948 แหง่ (ข้อมลู ณ 10 มิถนุ ายน 2562) ซงึ่ มีที่ต้ังในทกุ จังหวดั ท่ัว ประเทศ จงึ มีภารกจิ สาคัญในการจัดและส่งเสริมการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตั้งแตร่ ะดับกอ่ นประถมศกึ ษาจนถึง มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เพื่อสิทธโิ อกาสในการได้รับการจัดการศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพของผูเ้ รียน และเพื่อบรรลภุ ารกิจ ข้างตน้ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน จงึ ได้มีการจดั ทาแผนและดาเนนิ การพัฒนาการจดั การศึกษา ขั้นพืน้ ฐานในทิศทางดังกล่าว โดยสอดคล้องกับตามนโยบายและแผนระดับชาตขิ องรฐั บาลมาอยา่ งต่อเน่ือง ทง้ั น้ี มตคิ ณะรัฐมนตรีจากการประชุมวันที่ 4 ธันวาคม 2560 เหน็ ชอบการจาแนกแผนออกเป็น 3 ระดบั ประกอบด้วย แผนระดับท่ี 1 ยทุ ธศาสตร์ชาติ เปน็ เป้าหมายการพฒั นาประเทศ ใชเ้ ปน็ กรอบในการจัดทา แผนตา่ งๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน แผนระดบั ที่ 2 ไดแ้ ก่ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ แผนการปฏริ ูปประเทศ และแผนความม่นั คง และแผนระดับท่ี 3 หมายถงึ แผนท่ี จัดทาข้ึนเพ่อื สนับสนนุ การดาเนนิ งานของแผนระดบั ที่ 1 และ 2 ให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ หรอื จัดขึ้นตามท่ี กฎหมายกาหนด หรือจัดทาขึ้นตามพันธกรณีหรอื อนสุ ัญญาระหว่างประเทศ ท้งั น้ี แผนระดับที่ 1 และ 2 เปน็ แผน ทีส่ านกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติเสนอ นอกจากน้ี พระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562 กาหนดให้ส่วนราชการจดั ทาแผนปฏิบัตริ าชการ โดยจดั ทาเป็นแผนหา้ ปี และแผนปฎิบัตริ าชการรายปีท่สี อดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ แผนการปฏริ ูป ประเทศด้านตา่ งๆ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ นโยบายของคณะรฐั มนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผน อ่ืนๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง โดยในวาระเร่มิ แรก ให้แผนปฏิบัติราชการการของสว่ นราชการเป็นแผนหา้ ปี โดยในวาระแรกให้ จดั ทาเปน็ แผนสามปี โดยมีหว้ งระยะเวลาตง้ั แตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2565 ดงั นั้น สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต ๒ จึงได้จดั ทาแผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ท่ีสอดคล้องเช่ือมโยงกับแผนระดบั ที่ 1 แผนระดบั ที่ 2 และแผนระดับท่ี 3 นโยบายรัฐบาลทเ่ี กี่ยวข้องด้านการศึกษา และนโยบายทเ่ี ก่ียวข้องทุกระดบั ตามหลกั การความสัมพนั ธ์เชิงเหตุ และผล (XYZ) ท่ีสอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงานทีเ่ กย่ี วข้อง สภาพปญั หา ความตอ้ งการ และศักยภาพของ หนว่ ยงาน
2 สภำพทั่วไป ด้ำนกำยภำพ สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 เป็นหน่วยงานในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจหลักท่ีสาคัญ คือ จัดการศึกษาในพื้นท่ีบริการ 5 อาเภอ ของ จังหวัดนราธวิ าส ไดแ้ ก่ อาเภอตากใบ อาเภอสุไหงโก-ลก อาเภอแว้ง อาเภอสไุ หงปาดี และอาเภอสุคริ นิ สภำพภูมิศำสตร์ ภูมิประเทศ : พื้นท่ีประมาณ 2 ใน 3 เป็นป่าและภูเขา ซึ่งมีภูเขาหนาแน่นแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรด เทือกเขาสันกาลาคีรี ซ่ึงเป็นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะของพ้ืนที่มีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ ทิศตะวันออก พื้นท่ีราบส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณติดกับอ่าวไทย โดยเฉพาะอาเภอตากใบ และมีที่ราบลุ่มบริเวณ แมน่ ้า 2 สาย คือ แม่น้าสุไหงโก-ลก และแมน่ า้ ตากใบ มีพ้ืนที่พรุประมาณ 200,000 ไร่ ภูมิอำกำศ : เป็นแบบมรสุมเขตร้อน แบ่งฤดูกาลออกเป็น 2 ฤดู ได้แก่ ฤดูฝน ฝนตกชุกในช่วง เดือน พฤศจิกายน – มกราคม ฤดรู อ้ น อยรู่ ะหว่างเดอื นกมุ ภาพันธ์ – เมษายน สภำพสังคม เศรษฐกจิ กำรปกครอง สภำพสงั คม : ประชากรส่วนใหญร่ อ้ ยละ 85 นับถือศาสนาอิสลาม การตดิ ต่อสื่อสารในชีวติ ประจาวนั ใช้ ภาษามาลายูท้องถิน่ ปนกบั ภาษาไทย เศรษฐกิจ : รายได้ประชากรส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับผลผลิตทางด้านการเกษตร และการค้า อาชีพหลักคือ การทาสวนยางพารา การปลกู ผลไม้ การทานา การทาสวนมะพรา้ ว การประมง และการเล้ียงสตั ว์ กำรปกครอง : ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 มีพ้ืนท่ีรับผิดชอบท้ังหมด 5 อาเภอ ได้แก่ อาเภอตากใบ อาเภอสไุ หงโก-ลก อาเภอแว้ง อาเภอสุไหงปาดี อาเภอสคุ ริ นิ อำนำจหนำ้ ท่สี ำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำนรำธิวำส เขต 2 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลาง ที่ตั้งอยู่ใน ส่วนภูมิภาค สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีอานาจหน้าท่ี ดังต่อไปนี้ 1. จัดทานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา ให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน และความตอ้ งการของท้องถิน่ 2. วิเคราะห์การจัดต้ังงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมท้ังกากับตรวจสอบ ติดตามการใช้จ่าย งบประมาณของหน่วยงานดังกล่าว 3. ประสาน ส่งเสรมิ สนับสนุน และพฒั นาหลกั สูตรร่วมกบั สถานศกึ ษาในเขตพืน้ ท่ีการศึกษา 4. กากบั ดแู ล ตดิ ตาม และประเมนิ ผลสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐานและในเขตพืน้ ท่ีการศึกษา 5. ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ยั และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศดา้ นการศึกษา ในเขตพื้นท่กี ารศึกษา 6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนการจัดและ พัฒนาการศกึ ษาในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 7. จดั ระบบประกนั คุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศกึ ษาในเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
3 8. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอื่นท่ีจัดการศึกษา รูปแบบทห่ี ลากหลายในเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา 9. ดาเนนิ การและประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การวิจยั และพัฒนาการศกึ ษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา 10. ประสาน สง่ เสริม การดาเนินการของคณะอนกุ รรมการ และคณะทางานด้านการศกึ ษา 11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชนและองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในฐานะสานักงานผแู้ ทนกระทรวงศึกษาธิการในเขตพ้นื ท่ีการศึกษา 12. ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนเก่ียวกับกิจการภายในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีมิได้ระบุให้เป็นหน้าท่ีของหน่วยงานใด โดยเฉพาะ หรือปฏบิ ตั งิ านอ่นื ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
4 โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรงำนสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศกึ ษำนรำธวิ ำส เขต 2 สำนกั งำนเขตพนื้ ท่ี กำรศึกษำประถมศกึ ษำ นรำธิวำส เขต 2 หนว่ ยตรวจสอบภายใน กล่มุ กฎหมายและคดี กลุ่มอานวยการ กลมุ่ นโยบายและแผน กลมุ่ ส่งเสรมิ การศกึ ษาทางไกล กลุม่ บรหิ ารงานการเงนิ เทคโนโลยสี ารสนเทศและ และสนิ ทรัพย์ การสอื่ สาร กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล กลมุ่ พัฒนาครูและ กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตาม และ กลุม่ สง่ เสรมิ บคุ ลากรทางการศกึ ษา ประเมินผลการจัดการศึกษา การจดั การศกึ ษา สถำนศึกษำ 117 แหง่ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน ศนู ย์เครอื ข่ายสถานศึกษา 16 ศูนย์
ข้อมูลพืน้ ฐำน 5 1. จำนวนบุคลำกรในสังกดั 116 คน 30 คน ข้ำรำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำในสถำนศึกษำ 1440 คน ผอู้ านวยการสถานศึกษา 1 คน รองผู้อานวยการสถานศึกษา 4 คน ครูผู้สอน 435 คน ครผู ูส้ อน (มาช่วยราชการ) - คน ครูผู้สอน (ไปช่วยราชการ) 22 คน พนักงานราชการ 12 คน พนักงานราชการ ไปชว่ ยราชการ ลกู จา้ งประจา 1 คน ลกู จ้างรายชั่วโมง 3 คน 1 คน ขำ้ รำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำในสำนักงำน 11 คน ผอู้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา 38 คน รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา - คน รองผ้อู านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา (ไปช่วยราชการ) 6 คน บุคลากรทางการศึกษา มาตรา 38 ค (1) ศึกษานิเทศก์ 3 คน บคุ ลากรทางการศึกษา มาตรา 38 ค (2) - คน ครู (มาช่วยราชการ) 7 คน ลกู จา้ งประจา - คน พนักงานราชการ พนักงานราชการ (มาชว่ ยราชการ) คน ลกู จ้างรายเดือน (งบสพฐ.) ลูกจา้ งรายเดือน (งบสานกั งาน) รวม แหล่งข้อมูล : จากกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล ข้อมลู ณ วนั ที่ 1 ก.ย. 2564
ข้อมลู ทำงกำรศึกษำ 6 1. จานวนสถานศึกษาในสังกัดแยกเปน็ รายอาเภอ 8,598 6,267 ตากใบ อำเภอ จำนวนโรง 3,307 แว้ง รวม 31 5,199 สไุ หงโก-ลก 27 5,709 สุไหงปาดี 13 29,080 สุคิริน 31 15 117 2. ระดับการศึกษาทเี่ ปดิ สอน ประเภทที่เปดิ สอน จำนวนโรง ระดับประถมศึกษา 99 ระดบั ขยายโอกาส 18 117 รวม 3. ขนาดโรงเรียน (ข้อมูล ณ 25 มถิ นุ ายน 2564) ที่ ขนำดโรงเรยี น จำนวน 1. ขนาดเล็ก 29 2. ขนาดกลาง 78 3. ขนาดใหญ่ 9 4. ขนาดใหญ่พิเศษ 1 117 รวม 4. จานวนโรงเรยี น นกั เรยี น ครู แยกเป็นรายอาเภอ (ข้อมลู ณ 25 มิถนุ ายน 2564) ท่ี อำเภอ จำนวน ระดับ ม.ต้น รวม โรงเรยี น กอ่ นประถม ประถม 482 1. ตากใบ 200 2. แวง้ 31 1,783 6,333 277 3. สคุ ิรนิ 27 1,325 4,742 491 4. สไุ หงโก-ลก 15 667 2,363 191 5. สุไหงปาดี 13 860 3,848 1641 31 1,143 4,375 รวม 117 5,778 21,661
7 5. จานวนนักเรยี นจบการศึกษาปกี ารศกึ ษา 2563 และศึกษาตอ่ ปีการศึกษา 2564 ท่ี ระดับชน้ั นร.ภาคเรยี นท่ี 2 นร.ท่เี รยี นจบ นร.ท่ศี ึกษาต่อ อัตราการเรยี นต่อ(ร้อยละ) ปกี ารศกึ ษา 2563 1. ช้ัน ป. 6 100.00 2. ช้ัน ม. 3 3,554 3,492 3,492 98.68 99.87 รวม 395 379 374 3,949 3,871 3,866 6. เปรยี บเทียบอตั รานักเรียนออกกลางคัน ปีการศกึ ษา 2562-2563 ปีการศกึ ษา จานวนนกั เรียน จานวนนกั เรยี นออก คิดเปน็ รอ้ ยละ กลางคนั 2562 30,339 0 0.00 2563 29,441 2 0.01 ผลต่าง ปี 62-63 2 -0.01 898 7. ค่าร้อยละคะแนนเฉล่ยี ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษานกั เรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2562 วชิ ำ รอ้ ยละคะแนนเฉล่ีย (NT) หมำยเหตุ ด้านคณิตศาสตร์ 27.72 ด้านภาษาไทย 32.43 รวม/เฉลีย่ 30.08 8. ผลการสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 – 2563 รอ้ ยละคะแนนเฉลยี่ (O-NET) วิชำ ปี 2562 ปี 2563 เปรยี บเทียบร้อยละ หมำยเหตุ คะแนนเฉลี่ย ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ 35.64 40.80 5.16 วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ 23.72 23.92 0.20 รวม/เฉล่ีย 28.01 31.81 2.80 27.33 32.02 4.69 28.68 31.89 3.21
8 9. ผลการสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 – 2563 ร้อยละคะแนนเฉลย่ี (O-NET) วิชำ ปี 2562 ปี 2563 เปรียบเทยี บรอ้ ยละ หมำยเหตุ คะแนนเฉล่ีย ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ 41.01 41.06 0.05 วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ 18.68 18.87 0.19 รวม/เฉลยี่ 26.85 26.10 -0.75 26.42 27.74 1.32 28.24 28.44 0.20 ผลกำรดำเนินงำนทผ่ี ำ่ นมำ กำรตดิ ตำมและประเมนิ ผลกำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำนของสำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำ ตำม ตัวชวี้ ดั แผนปฎบิ ัติรำขกำรของสำนักงำนคณะกรรมกำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำน ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไดด้ าเนนิ การตดิ ตาม ประเมินผลการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานของสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาตามตัวช้วดั แผนปฎิบตั ิราชการของสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 10 ตัวชว้ี ดั โดยให้สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา รายงานขอ้ มูลทางระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (electronic Monitoring and Evaluation System : e-MES) การตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานของสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามตัวช้ีวัด แผนปฎิบัติราขการของสานกั งานคณะกรรมการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงาน เขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 ยุทธศำสตร์ ค่ำเป้ำหมำย ผลกำรประเมนิ ร้อยละ 85 บรรลุ กลยทุ ธท่ี 1 จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ รอ้ ยละ 80 บรรลุ ตวั ชี้วดั ท่ี 1 รอ้ ยละของผเู้ รียนทีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทสี่ ง่ เสริม สนับสนุน ใน เพมิ่ ขน้ึ - การสร้างภูมิคุม้ กนั พร้อมรบั มือกับการเปลีย่ นแปลงและภยั คกุ คามรปู แบบ รอ้ ยละ 70 ใหม่ในทุกรปู แบบ ร้อยละ 100 บรรลุ ไมบ่ รรลุ กลยทุ ธ์ที่ 3 การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ตัวช้ีวดั ที่ 5 ร้อยละของผเู้ รียนปฐมวยั มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม สตปิ ญั ญา ตัวชวี้ ัดที่ 6 ร้อยละของนกั เรียนทม่ี ีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET) รอ้ ยละ 50 ขึ้นไป ตวั ชีว้ ดั ที่ 8 ร้อยละของนักเรยี นทผี่ า่ นการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึง ประสงค์ตามหลกั สูตรระดับดีขนึ้ ไป ตัวชี้วดั ที่ 10 ร้อยละของครูสอนภาษาองั กฤษในระดับชัน้ ประถมศึกษา และมันธยมศึกษาได้รบั การพัฒนาและยกระดบั ความร้ภู าษาองั กฤษโดย ใชร้ ะดับการพัฒนาทางดา้ นภาษา (CEER) ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด
9 ตัวช้วี ดั ท่ี 11 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่สอนในระดับ ม.ตน้ ทไ่ี ด้รบั การ รอ้ ยละ 100 ไม่บรรลุ เตรยี มความพร้อม ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ในการ ประเมินระดบั นานาชาติตามโครงการ PISA ตัวชว้ี ดั ที่ 14 ร้อยละของผเู้ รียนได้รับการพฒั นาให้มีความรู้ สมรรถนะ หรือทกั ษะอาชีพในด้านต่าง ๆ เพอื่ การประกอบอาชีพ การดารงชีวติ อยู่ รว่ มกันในสงั คมอยา่ งสอดคล้องตามสภาพความต้องการและบรบิ ทของแต่ ละพ้ืนท่ี ตลอดจนความทา้ ทายทเ่ี ปน็ พลวัตรของโลกในทศวรรษที่ 21 ตวั ช้ีวัดที่ 14.1 ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-6 รอ้ ยละ 80 บรรลุ ตัวช้วี ดั ที่ 14.2 ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1-3 รอ้ ยละ 80 บรรลุ กลยุทธท์ ี่ 4 การสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพ มีมาตรฐานและลดความเหลือ่ มล้าทางการ ศกึ ษา ตัวชีว้ ัดท่ี 15 อตั ราการเขา้ เรยี นของผู้เรยี นแตล่ ะระดบั การศึกษาต่อ ประชากรกลุ่มอายุ ตวั ชวี้ ัดท่ี 15.1 ประชากรวยั เรียนทีม่ ีอายุถึงเกณฑ์การศึกษาภาค ร้อยละ 100 บรรลุ บงั คับเข้าเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ตัวช้ีวัดท่ี 15.2 นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ทจี่ บหลักสตู รในปีการ ร้อยละ 100 บรรลุ ศกษา 2563 ตวั ชว้ี ัดท่ี 15.3 นักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ทจ่ี บหลักสูตรในปี ร้อยละ 100 - การศกึ ษา 2563 ได้ศกึ ษาต่อช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 หรือเทียบเท่า กลยทุ ธท์ ่ี 5 การจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม ตวั ชว้ี ัดท่ี 19 ร้อยละของนกั เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจและตระหนกั ในการ รอ้ ยละ 80 บรรลุ อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม หมำยเหตุ : กลยุทธท่ี 2 การจัดการศึกษาเพ่อื เพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ และกลยทุ ธท์ ่ี 6 การ ปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา ใชข้ ้อมลู จากสานกั /หนว่ ย/กลุม่ /ศูนยใ์ นส่วนกลาง สพฐ.
ส่วนท่ี 2 นโยบายทีเ่ ก่ยี วขอ้ งดา้ นการจดั การศกึ ษา พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รชั กาลท่ี 10 การศึกษาตอ้ งมุ่งพื้นฐานให้แก่ผเู้ รียน 4 ด้าน คอื ด้านที่ 1 มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีความรู้ความเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง ยึดม่ันในศาสนา มัน่ คงในสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ และมกี ารเอือ้ อาทรตอ่ ครอบครวั และชมุ ชนของตน ด้านท่ี 2 มีพ้ืนฐานชีวิตท่ีม่ันคง - มีคุณธรรม รู้จักแยกแยะส่ิงผิด–ชอบ/ชั่ว ดี ปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบ สิ่งทดี่ ีงาม ปฏเิ สธส่ิงทผี่ ดิ ส่ิงทช่ี ่ัว ชว่ ยกนั สร้างคนดีให้แกบ่ า้ นเมอื ง ด้านท่ี 3 มีงานทา และมีอาชีพ การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรมใน สถานศึกษาต้องมุ่งม่ันให้เด็กและเยาวชนรักงาน สู้งานทางานจนสาเร็จ การฝึกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรแล ะนอก หลักสูตรต้องมีจุดหมายให้ผู้เรียนทางานเป็นและมีงานทาในท่ีสุด ต้องสนับสนุนผู้สาเร็จหลักสูตรมีอาชีพ มีงานทา จนสามารถเลีย้ งตนเองและครอบครวั ด้านท่ี 4 การเป็นพลเมืองดี การเป็นพลเมืองดี เป็นหน้าที่ของทุกคน ครอบครัว สถาบันการศึกษา และสถานประกอบการต้องเสริมสร้างใหท้ ุกคนมโี อกาสทาหน้าทเี่ ปน็ พลเมืองดี การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรที่ จะทาเพื่อบ้านเมืองได้ก็ต้องทา” เช่น งานอาสาสมัคร งานบาเพ็ญประโยชน์ งานสาธารณกุศล ให้ทาด้วยความมี น้าใจ และความเอ้อื อาทร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 เป็นกฎหมายสูงสดุ ในการปกครองประเทศ ทีย่ งั คงเจตนารมณ์ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข โดยได้ระบุข้อมาตราทต่ี ้อง นาไปใช้บังคับในการจัดการศึกษา การส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การศกึ ษา และการเขา้ รับบริการการศึกษาของ ประชาชน ในประเด็นสาคัญที่เกยี่ วข้องกับสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดงั นี้ 1. รัฐต้องดาเนินการใหเ้ ด็กทุกคนได้รับการศึกษาเปน็ เวลาสิบสองปี ต้งั แต่ก่อนวัยเรยี น จนจบการศึกษาภาคบงั คับอย่างมคี ณุ ภาพโดยไม่เกบ็ ค่าใชจ้ ่าย 2. รฐั ตอ้ งดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา เพ่ือพัฒนาร่างกาย จติ ใจ วินยั อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญาให้สมกบั วัย โดยสง่ เสริมและสนับสนนุ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ และ ภาคเอกชนเข้ามามสี ว่ นร่วมในการดาเนนิ การ 3. รฐั ตอ้ งดาเนินการใหป้ ระชาชนไดร้ ับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มี การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต และจดั ให้มกี ารร่วมมือระหวา่ งรัฐ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน และภาคเอกชน ในการจดั การศึกษาทุกระดบั โดยรฐั มหี น้าท่ีดาเนินการ กากับ ส่งเสริมและสนบั สนุนให้การจดั การศกึ ษาดังกล่าวมี คุณภาพและได้มาตรฐานสากล 4. การศึกษาทง้ั ปวงต้องมุ่งพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนดี มวี ินัย ภมู ิใจในชาติ สามารถเช่ียวชาญไดต้ าม ความถนดั ของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ 5. ในการดาเนินการใหเ้ ด็กเล็กไดร้ บั การดแู ลและพัฒนา หรอื ให้ประชาชนได้รบั การศึกษา รฐั ต้องดาเนินการใหผ้ ู้ขาดแคลนทนุ ทรัพย์ไดร้ บั การสนบั สนุนคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาตาม ความถนดั ของตน
11 6. ให้จดั ต้งั กองทนุ เพือ่ ใชใ้ นการช่วยเหลอื ผขู้ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ เพื่อลดความเหล่ือมลา้ ในการศึกษา และเพื่อสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพและประสิทธภิ าพครู 7. ให้ดาเนินการปฏิรปู ประเทศในดา้ นการศึกษา ดงั ต่อไปน้ี 7.1 ดาเนินการใหเ้ ด็กเลก็ ไดร้ ับการดแู ลและพัฒนาก่อนเข้ารบั การศกึ ษา เพ่ือให้เด็กเลก็ ได้รับ การพฒั นาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญาให้สมกับวยั โดยไมเ่ ก็บคา่ ใชจ้ า่ ย 7.2 ดาเนนิ การตรากฎหมายเพือ่ จดั ต้ังกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา ตามวตั ถุประสงคข์ ้อ 1.6 7.3 ใหม้ ีกลไกและระบบการผลิต คดั กรองและพฒั นาผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ครูและอาจารย์ ให้ไดผ้ มู้ จี ติ วญิ ญาณแหง่ ความเปน็ ครู มีความรู้ความสามารถอยา่ งแทจ้ รงิ ได้รับค่าตอบแทน ท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมท้ังมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบรหิ ารงานบคุ คลของผู้ ประกอบวิชาชพี ครู 7.4 ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดบั เพื่อใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรียนได้ตามความถนัด และ ปรับปรุงโครงสร้างของหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้องเพ่ือบรรลเุ ป้าหมายดงั กล่าว โดยใหส้ อดคล้องกันท้งั ในระดบั ชาติ และ ระดับพน้ื ที ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กาหนดใหร้ ฐั มยี ทุ ธศาสตร์ชาติ เป็นเปา้ หมายการพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยืนตามหลักธรรมาภบิ าล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจดั ทาแผนต่างๆ ใหส้ อดคล้องและบรู ณาการกัน ตอ่ มาได้มีการตราพระราชบญั ญัติการจัดทายทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ซง่ึ กาหนดใหห้ น่วยงานรัฐทุกหนว่ ยมหี น้าทีด่ าเนินการเพ่ือใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายที่กาหนดไวใ้ นยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 - 2580 โดยมีวสิ ัยทัศน์คือ “ประเทศไทยมคี วามมนั่ คง มงั่ คงั่ ย่ังยืน เป็นประเทศท่ีพฒั นาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” โดยการประเมนิ ผลการพฒั นาตามยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 - 2580 ประกอบดว้ ยความอย่ดู มี ีสุขของคนไทยและสงั คมไทย ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน การพัฒนา เศรษฐกจิ และการกระจายรายได้ การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ความเท่าเทยี มและความเสมอภาคของ สงั คม ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสงิ่ แวดล้อมและความย่งั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติ และ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการและการเขา้ ถงึ การใหบ้ ริการของภาครฐั การพัฒนาประเทศในชว่ งเวลาของ ยทุ ธศาสตร์ชาติ จะม่งุ เน้นการสรา้ งสมดลุ ระหว่างการพัฒนาความมั่นคง เศรษฐกิจ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม โดยการ มีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนในรปู แบบ “ประชารฐั ” ซง่ึ ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ 6 ยทุ ธศาสตร์ ประกอบดว้ ย 1) ยทุ ธศาสตรด์ ้านความมน่ั คง 2) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั 3) ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา และเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิตท่เี ปน็ มิตรต่อส่งิ แวดลอ้ ม และ 6) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการปรับ สมดุล และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เปน็ แผนแมบ่ ทเพอ่ื บรรลุเป้าหมายตามทีก่ าหนดไว้ในยุทธศาสตรช์ าติ ซ่ึงแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนที่จดั ทาไว้เพ่ือให้บรรลุเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตรช์ าติ โดยจะมีผล ผกู พนั ต่อหน่วยงานของรฐั ทีเ่ ก่ียวข้องจะต้องปฏิบตั ิใหเ้ ปน็ ไปตามน้ัน รวมท้ังการจดั ทางบประมาณรายจ่ายประจาปี
12 งบประมาณจะต้องสอดคล้องกับแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ซง่ึ ประเด็นแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ 23 ประเด็น ประกอบดว้ ย 1) ความมน่ั คง 2) การตา่ งประเทศ 3) การพฒั นาการเกษตร 4) อุตสาหกรรมและบริการ แหง่ อนาคต 5) การทอ่ งเทยี่ ว 6) การพฒั นาพ้ืนท่ีและเมืองนา่ อยอู่ จั ฉรยิ ะ 7) โครงสร้างพื้นฐานระบบโลจสิ ตกิ ส์ และดจิ ทิ ัล 8) ผ้ปู ระกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอ่ มยุคใหม่ 9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10) การ ปรับเปล่ยี นคา่ นยิ มและวัฒนธรรม 11) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ 12) การพัฒนาการเรียนรู้ 13) การ สร้างให้คนไทยมีสขุ ภาวะทดี่ ี 14) ศักยภาพการกีฬา 15) พลังทางสังคม 16) เศรษฐกิจฐานราก 17) ความเสมอภาค และหลักประกนั ทางสังคม 18) การเตบิ โตอยา่ งยั่งยืน 19) การบรหิ ารจัดการนา้ ทงั้ ระบบ 20) การบริการประชาชน และประสทิ ธภิ าพภาครัฐ 21) การต่อต้านการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ 22) กฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม และ 23) การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม แผนการปฏิรูปประเทศ แผนการปฏิรูปประเทศ จัดทาขน้ึ เพ่ือกาหนดกลไก วธิ กี าร และขนั้ ตอนการปฏิรูปประเทศในดา้ นต่างๆ โดยการปฏริ ปู ประเทศตอ้ งดาเนินการเพ่ือใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามทบ่ี ัญญัติไวใ้ นรฐั ธรรมนูญ ประกอบดว้ ย ประเทศชาติมีความสงบเรียบรอ้ ย มคี วามสามคั คี สงั คมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอนั ทัดเทียมกนั เพ่ือ ขจดั ความเหลื่อมลา้ มคี ุณภาพชวี ติ ที่ดี และมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ การปฏริ ูปประเทศต้องสอดคลอ้ ง และเป็นไปในทิศทางเดยี วกันกับยทุ ธศาสตร์ชาติ ซึ่งแผนการปฏิรูปประเทศ ประกอบด้วย 12 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ดา้ น การเมือง 2) ดา้ นการบริหารราชการแผน่ ดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุตธิ รรม 5) ดา้ นเศรษฐกิจ 6) ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 7) ดา้ นสาธารณสุข 8) ดา้ นสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ 9) ดา้ นสงั คม 10) ด้านพลงั งาน 11) ด้านการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ 12) ด้าน การศกึ ษา โดยแผนการปฏิรปู ประเทศด้านการศึกษามีแผนงานเพ่ือการปฏิรูป 7 เรอื่ ง ได้แก่ 1) ระบบการศึกษา และการเรยี นรโู้ ดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติฉบับใหม่ และกฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง 2) การ พฒั นาเด็กเล็กและเด็กก่อนวยั เรยี น 3) การลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา 4) กลไกและระบบการผลิต คดั กรอง และพฒั นาผ้ปู ระกอบวิชาชีพครู และอาจารย์ 5) การจัดการเรียนการสอนเพ่ือตอบสนองการเปลีย่ นแปลงใน ศตวรรษท่ี 21 6) การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพ่ือบรรลเุ ป้าหมายในการปรับปรงุ การจัดการ เรยี นการสอน และ 7) การปฏิรูปการศกึ ษาและการเรียนร้โู ดยการพลิกโฉมดว้ ยระบบดิจิทัล แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ได้กาหนดวตั ถุประสงค์ และ เปา้ หมาย รวมทง้ั ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา 10 ยทุ ธศาสตร์ โดยมี 6 ยุทธศาสตรต์ ามกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 และอีก 4 ยุทธศาสตร์เพม่ิ เติม คือ 1) การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย์ 2) การสร้าง ความเปน็ ธรรมและลดความเหลื่อมลา้ ในสังคม 3) การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยนื 4) การเติบโตทเ่ี ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาทีย่ ่งั ยืน 5) การเสรมิ สรา้ งความมัน่ คงแหง่ ชาติ เพ่ือการพฒั นา ประเทศสู่ความม่ังค่ัง และย่ังยนื 6) การบริหารจดั การในภาครัฐ การปอ้ งกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ ธรรมาภบิ าลในสังคมไทย 7) การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์ 8) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรม 9) การพัฒนาภาค เมือง และพื้นท่ีเศรษฐกิจ และ 10) ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ เพอื่ การพฒั นา
13 นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ ่าดว้ ยความมัน่ คงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 - 2565) นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าด้วยความม่นั คงแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2562 - 2565) เปน็ นโยบายและแผนหลักของ ชาตทิ เี่ ป็นกรอบหรือทิศทางการดาเนินการป้องกัน แจ้งเตือน แก้ไข หรือระงับยบั ยั้งภยั คุกคาม เพ่ือธารงไว้ซง่ึ ความ ม่นั คงแหง่ ชาติ โดยกาหนดให้คณะรัฐมนตรีหรือหน่วยงานของรฐั ใช้เปน็ กรอบแนวทาง หรอื ดาเนินการตามอานาจ หน้าท่ี ในการจัดทาแผนการบริหารราชการแผน่ ดนิ แผนนิตบิ ัญญตั ิ การกาหนดยทุ ธศาสตร์หรอื แผนดา้ นความ มน่ั คงเฉพาะเรอ่ื ง แผนเตรียมพรอ้ มแหง่ ชาติ แผนบรหิ ารวกิ ฤตการณ์ทีเ่ กยี่ วข้องกบั ความมนั่ คงแห่งชาติ หรือกาหนด แผนงานหรือโครงการที่เก่ียวกับนโยบายและแผนระดับชาติ วา่ ดว้ ยความม่ันคงแหง่ ชาติหรอื การปฏบิ ตั ิราชการอน่ื ใด ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายและแผนระดบั ชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ ซ่งึ มแี ผนระดบั ชาติว่าด้วยความม่ันคง แห่งชาติ 19 แผน ได้แก่ 1) การเสรมิ สรา้ งความมั่นคงของมนุษย์ 2) การข่าวกรองและการประเมินสถานการณด์ ้าน ความม่ันคง 3) การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข 4) การพัฒนาระบบการเตรียมความพร้อมแหง่ ชาติ 5) การพัฒนาศักยภาพการ ป้องกนั ประเทศ 6) การสรา้ งความสามัคคีปรองดอง 7) การป้องกนั และแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวดั ชายแดน ภาคใต้ 8) การบริหารจัดการผู้หลบหนีเขา้ เมือง 9) การป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ 10) การป้องกนั และ ปราบปรามยาเสพตดิ 11) การเสริมสร้างความม่ันคงของชาติจากภยั ทจุ ริต 12) การรักษาความม่ันคงพื้นที่ชายแดน 13) การรกั ษาความม่ันคงทางทะเล 14) การป้องกนั และแก้ปัญหาภยั คุกคามขา้ มชาติ 15) การป้องกนั และแก้ไข ปญั หาความมัน่ คงทางไซเบอร์ 16) การรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ 17) การรกั ษาความมั่นคงทาง พลงั งาน 18) การรักษาความม่ันคงด้านอาหารและนา้ 19) การรักษาความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดล้อม นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา) คาแถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตร)ี แถลงต่อรัฐสภา วันพฤหสั บดี ท่ี 25 กรกฎาคม 2562 โดยรฐั บาลได้กาหนดนโยบายในการบริหารราชการแผน่ ดิน จาแนกเป็นนโยบายหลัก 12 ดา้ น และ นโยบายเร่งด่วน 12 เรอ่ื ง ซ่งึ นโยบายหลัก 12 ด้าน ประกอบด้วย 1) การปกปอ้ งและเชดิ ชสู ถาบันพระมหากษัตริย์ 2) การ สร้างความมน่ั คงและความปลอดภยั ของประเทศและความสงบสุข ของประเทศ 3) การทานบุ ารงุ ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม 4) การสรา้ งบทบาทของไทยในเวทีโลก 5) การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขนั ของไทย 6) การพัฒนาพื้นที่ เศรษฐกจิ และการกระจายความเจริญสู่ภูมภิ าค 7) การพฒั นาสรา้ งความเข้มแข็งจากฐานราก 8) การปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรู้ และการพฒั นาศักยภาพของคนไทยทกุ ชว่ งวยั 9) การพัฒนาระบบสาธารณสขุ และหลกั ประกันทางสังคม 10) การฟื้นฟู ทรพั ยากรธรรมชาติและการรักษาส่ิงแวดล้อมเพอื่ สร้างการเติบโตอย่างย่ังยนื 11) การปฏริ ปู การบรหิ ารจดั การภาครัฐ 12) การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ และกระบวนการยตุ ิธรรม และนโยบายเรง่ ดว่ น 12 เรื่อง ไดแ้ ก่ 1) การแก้ไขปญั หาในการดารงชีวติ ของประชาชน 2) การปรบั ปรุงระบบสวสั ดิการและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน 3) มาตรการเศรษฐกิจเพ่ือรองรบั ความผนั ผวนของเศรษฐกิจโลก 4) การใหค้ วามชว่ ยเหลอื เกษตรกรและพฒั นานวัตกรรม 5) การยกระดับศักยภาพของแรงงาน 6) การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต 7) การเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษ ที่ 21 8) การแกไ้ ขปญั หาทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการทัง้ ฝ่ายการเมืองและฝ่ายราชการประจา 9) การแก้ไขปญั หายา เสพติดและสร้างความสงบสขุ ในพนื้ ทช่ี ายแดนภาคใต้ 10) การพัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชน 11) การจัดเตรยี ม มาตรการรองรบั ภัยแลง้ และอุทกภยั 12) การสนับสนุนให้มกี ารศกึ ษา การรับฟังความเหน็ ของประชาชน และการดาเนินการเพื่อ แก้ไขเพิ่มเติมรฐั ธรรมนญู
14 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษาไดจ้ ดั ทาแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2574 เพ่ือใช้เป็นแผน ยุทธศาสตร์ระยะยาวสาหรับหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการศึกษาของประเทศ ได้นาไปใช้เป็นกรอบและแนวทางการ พฒั นาการศึกษาและเรยี นรสู้ าหรับพลเมืองทุกช่วงวัยตั้งแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิต โดยจุดมุ่งหมายที่สาคัญของแผนคือ การมงุ่ เนน้ การประกนั โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาและการศึกษาเพื่อการมีงานทาและสร้างงานได้ ภายใต้ บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ รวมท้ังความ เป็นพลวัตร เพื่อให้ประเทศไทยสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซ่ึง ภายใต้กรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2567 ได้กาหนดสาระสาคัญสาหรับบรรลุเป้าหมายของการพัฒนา การศกึ ษาใน 5 ประการ ได้แก่ 1) การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) คนไทยทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ และมาตรฐานได้อย่างทั่วถึง 2) ความเท่าเทียมทางการศึกษา (Equity) สถานศึกษาทุกแห่งให้บริการการศึกษาแก่ ผเู้ รียนทกุ คนทุกกลุ่มเปา้ หมาย ได้อยา่ งมีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียม 3) คุณภาพการศึกษา (Quality) ระบบ การศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ 4) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ระบบการบริหารจดั การศกึ ษาทีม่ ีประสทิ ธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาท่ีคุ้มค่าและบรรลุเป้าหมาย 5) ตอบโจทย์ การเปลี่ยนแปลง (Relevancy) ระบบการศึกษาท่ีสนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและ บรบิ ททีเ่ ปล่ยี นแปลง วิสัยทัศน์ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่าง เป็นสขุ สอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21” วัตถุประสงค์ของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ (Objective) 1. เพือ่ พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มคี ุณภาพและมีประสทิ ธิภาพ 2. เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ 3. เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรมจริยธรรม รู้รักสามัคคี และ ร่วมมอื ผนกึ กาลงั ม่งุ สู่การพฒั นาประเทศอย่างย่งั ยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เพ่ือนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้า ภายในประเทศลดลง ยทุ ธศาสตร์ 1. การจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2. การผลติ และพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ 3. การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวัย และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ 4. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษา 5. การจัดการศึกษาเพือ่ สรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา เปา้ หมายสุดท้าย (Ends) 1. ผู้เรียนทุกระดับการศึกษาได้รับการพัฒนาขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ ท่ีมีอยู่ในตัวตนของแต่ละบุคคล มีคุณลักษณะนิสัย/พฤติกรรมที่พึงประสงค์และอยู่อย่างพอเพียง มีองค์ความรู้ ที่สาคญั และทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับการทางานในศตวรรษที่ 21 มีทักษะการดารงชีวิต และทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะในการปฏิบัติงานท่ีตอบสนองความต้ องการของตลาดแรงงานและ การพฒั นาประเทศ
15 2. ประชากรทกุ ช่วงวยั สามารถเขา้ ถงึ โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาและการเรียนรู้ จากระบบการศึกษาท่ีมีความยืดหยุ่น หลากหลาย และสนองตอบความต้องการของผู้เรียน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ผ่านกระบวนการศึกษาและการเรียนรู้ มีระบบการทดสอบ วัดและประเมินผลลัพธ์ การเรียนรู้ (Learning Outcome) ทง้ั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้จากประสบการณ์การทางาน เพ่ือยกระดับ คุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ภายใต้ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge based Economy) ที่เอ้ือต่อการ สรา้ งสงั คมแหง่ ปัญญา และการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ท่ีประชาชนสามารถแสวงหาความรู้และเรียนรู้ได้ ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ 3. สถานศึกษามีระบบการบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ด้วยคุณภาพและ มาตรฐานระดับสากล สามารถให้บรกิ ารการศกึ ษาทต่ี อบสนองความต้องการของบริบทเชิงพ้ืนที่ระดับประเทศและ ระดับภูมิภาคตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะท่ีเป็นศูนย์กลางของการบริการด้านการศึกษาใน ภูมิภาคอาเซียน (Hub for Education) และเป็นภาคเศรษฐกิจหน่ึงของระบบเศรษฐกิจของประเทศและของ ภูมิภาคที่สรา้ งรายได้ใหก้ ับประเทศไทย 4. ภาคการศึกษามีทุนและทรัพยากรท่ีเพียงพอ สาหรับการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน จากการมีส่วนร่วมในการระดมทนุ และสนองทนุ เพือ่ การศึกษาจากทุกภาคสว่ นของสังคม ผ่านการเสียภาษีตามสิทธิ และหนา้ ทข่ี องพลเมือง การบรจิ าค การระดมทุนและการร่วมรบั ภาระค่าใชจ้ ่ายทางการศึกษา 5. ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ สามารถเป็นกลไกในการพัฒนาศักยภาพและ ขีดความสามารถ รวมท้ังเพ่ิมผลิตภาพของทุนมนุษย์ (productivity) ท่ีตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ เพ่ือให้ประเทศสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศท่ีพัฒนา แล้วอยา่ งย่งั ยนื ภายใตพ้ ลวัตของโลกศตวรรษท่ี 21 แผนปฏิบตั ิราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ ไดจ้ ดั ทาแผนปฏบิ ัตริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ที่สอดคล้องเชอื่ มโยง กบั ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพฒั นา เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ ่าด้วยความมั่นคง เพอื่ ให้ ทุกส่วนราชการในสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ใช้เปน็ กรอบแนวทางในการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการ ซึ่งมสี าระสาคญั 5 เรอ่ื ง ได้แก่ 1) การจัดการศึกษาเพื่อความม่นั คงของสงั คมและประเทศชาติ 2) การผลิตและพฒั นากาลงั คน การ วจิ ัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 3) การพฒั นาศักยภาพคน ทกุ ช่วงวยั และการ สรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 4) การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มทางการศึกษา และ 5) การพฒั นา ประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา โดยมเี ป้าหมาย ตวั ชี้วดั แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการสาคญั ในแผนปฏิบัตริ าชการแตล่ ะเร่ืองดังกล่าว แผนปฏบิ ัตริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน สาระสาคัญของแผนปฏบิ ัตริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ และแผนปฏบิ ัตริ าชการท้ังหมด 6 เรือ่ ง ได้แก่ 1) การจัดการ ศกึ ษาเพื่อความมัน่ คงของสังคมและประเทศชาติ 2) การจัดการศึกษาเพื่อเพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของ ประเทศ 3) การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 4) การสรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาท่ี มีคณุ ภาพ มมี าตรฐานและลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา 5) การจัดการศึกษา เพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวิตทีเ่ ป็นมิตร กบั ส่ิงแวดลอ้ ม และ 6) การปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา โดยมีเป้าหมาย ตัวชี้วัด แนว ทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการสาคญั ในแผนปฏบิ ัตริ าชการแต่ละเรื่องดังกล่าว อีกทั้งได้เสนอแนวทางการ
16 บรหิ ารแผนส่กู ารปฏิบตั ิ โดยการสรา้ งการรับรู้และเขา้ ใจให้กบั ผู้บริหารและบุคลากร การเนน้ ย้าใหผ้ ู้บรหิ าร หนว่ ยงานใช้แผนดังกลา่ วเป็นกรอบในการกาหนดนโยบายและแผนที่เกย่ี วขอ้ ง การบรู ณาการแผนดงั กล่าว สู่ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีของหนว่ ยงานในสงั กัด และการกากับ ตดิ ตาม รายงานผลการปฏิบัตงิ านโดยหนว่ ยงานที่ เกย่ี วขอ้ งอยา่ งเป็นระบบ ประกาศคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธิวาส เรือ่ ง นโยบาย จดุ เน้น และตัวชี้วัดการดาเนนิ งานพัฒนา การศกึ ษาจงั หวัดนราธิวาส ตามนโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยผา่ นกลไกของ คณะกรรมการศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส ประจาปีการศกึ ษา 2563 -2565 นโยบาย 1. การพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพครู และบคุ ลากรทางการศึกษา 2. การพัฒนาการศกึ ษาเพ่ือส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และทักษะชวี ิตในสังคมพหวุ ฒั นธรรม 3. การสรา้ งสมรรถนะด้านอาชีพ และภาษารองรับตลาดแรงงาน 4. การยกระดับคณุ ภาพ โอกาสทางการศกึ ษา และสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ 5. การเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ิตทเี่ ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม 6. การบริหารเชิงบูรณาการ สรา้ งการรับรูอ้ ย่างต่อเนอื่ ง และเปน็ ระบบ จุดเนน้ 1. ผเู้ รยี นมีความสามารถอา่ นออก เขียนได้ตามระดับการศกึ ษา 2. ผูเ้ รียนมที กั ษะการคิดวเิ คราะห์ และมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 3. ผเู้ รียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเข้าถึงการศึกษาทุกประเภทอย่างท่ัวถึงและเท่า เทียม 4. ผเู้ รียนมีทักษะอาชพี และความสามารถทางภาษาตา่ งประเทศสตู่ ลาดแรงงาน 5. ผู้เรียนมีทักษะชีวิต มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันตนเอง มีจิตอาสา และใช้ชีวิตอย่างมีความสุขใน สงั คมพหุวฒั นธรรม 6. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผล ประเมนิ ผล 7. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล นวัตกรรมทางการศึกษา และ ภาษาอังกฤษในการยกระดบั คณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ 8. สถานศกึ ษามภี ูมิทศั น์ แหล่งเรียนรู้ที่เสริมสรา้ งคณุ ภาพชีวิตทีด่ แี ละเปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม 9. หน่วยงานการศึกษา สถานศึกษามกี ารบริหารจัดการเชิงบรู ณาการ และดาเนนิ การตามนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ
สว่ นที่ 3 สาระสาคัญของแผนปฎิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 2 วิสยั ทัศน์ (Vision) “เป็นองคก์ รท่ีมคี ุณภาพ ผู้เรียนมที กั ษะในศตวรรษท่ี 21” พันธกจิ (Mission) 1. จัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างความม่ันคงของสถาบนั หลักของชาติ และการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ 2. ส่งเสริมการพฒั นาศกั ยภาพผ้เู รียนที่มีความสามารถพิเศษตามพหปุ ัญญา 3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพใหม้ ีความก้าวหน้าและพัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมลา้ ใหผ้ เู้ รียนทุกคนไดร้ ับบริการทางการศึกษาจน จบการศึกษาภาคบังคับอยา่ งท่ัวถึงและเทา่ เทียม 5. จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อมโดยยดึ หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 6. เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การศึกษาของสา้ นักงานเขตพนื ที่การศึกษา และเครือขา่ ยตาม หลักธรรมาภิบาล และเสริมสร้างการมีสว่ นร่วมภาคเี ครือข่ายจากทกุ ภาคส่วน เปา้ ประสงค์ (Goal) 1. ผูเ้ รยี นมคี วามรกั ในสถาบันหลกั ของชาติยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ มีทัศนคตทิ ่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลกั คิดที่ถกู ต้อง เป็นพลเมืองทดี่ ีของชาติ มี คณุ ธรรมจรยิ ธรรม มคี า่ นยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ มจี ติ สาธารณะ จิตอาสา สามารถรับมอื กับภยั คุกคามทุกรปู แบบ ดา้ รงชวี ติ ในสังคมพหุวัฒนธรรมอยา่ งสนั ติสุข 2. ผูเ้ รยี นมคี วามมคี วามสามารถพิเศษ ตามพหปุ ัญญา ได้รับการพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ และ พรอ้ มการรองรับเขตพืนที่เศรษฐกจิ พเิ ศษ 3. ผเู้ รียนเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้ และสรา้ งสรรค์นวตั กรรมและความกา้ วหนา้ ตามหลักสูตร 4. ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ มคี วามรแู้ ละจรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวชิ าชีพ 5. ประชากรวยั เรียนในเขตบรกิ ารทุกคนไดร้ ับการศึกษาอย่างท่วั ถึงและเหมาะสม จนจบหลักสตู ร ตามเวลาทก่ี ้าหนด 6. สา้ นักงานเขตพืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 มีคุณภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มิตรต่อ สิง่ แวดล้อม และส่งเสริมก้ากบั ตดิ ตามใหส้ ภานศึกษาด้าเนนิ การภายในสถานศึกษา 7. โรงเรียนสรา้ งนวตั กรรมที่ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจในการอนุรักษส์ ิ่งแวดล้อม 8. ส้านักงานเขตพืนท่ีการศึกษา สถานศึกษา และเครือข่ายบริหารจัดการเชงิ บรู ณาการจากภาคี เครือข่ายทกุ ภาคส่วน ยึดหลกั ธรรมาภิบาล โดยใช้เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษา
18 คา่ นยิ ม “ถกู ต้อง รวดเร็ว บรกิ ารดี มคี วามรับผิดชอบ” ประเดน็ กลยุทธ์ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของชาติ 2 การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน เพือ่ สรา้ งขดี ความสามารถทสี่ อดคลอ้ งกับพหุปัญญา 3 การสง่ เสริมศักยภาพผ้เู รียน ผบู้ ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งย่ังยืน 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาภาคบังคบั 5 การจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม 6 การพฒั นาระบบบริหารจดั การเสรมิ สร้างการมสี ่วนร่วมและใชเ้ ทคโนโลยีในการบริหารจัด การศกึ ษา เปา้ หมาย ค่าเป้าหมาย ตวั ช้วี ัด แนวทางการพฒั นาตามประเดน็ กลยทุ ธ์
1. ประเดน็ กลยทุ ธ์ท่ี 1 การจดั การศกึ ษาเพ่อื ความมน่ั คงของชาติ เปา้ หมาย ค่าเปา้ หมาย ตวั ชี้วัด แนวทา แผนแมบ่ ทท่ี : 12 การพัฒนาการเรียนรู้ เป้าหมาย : คนไทยได้รับการพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพตามความถนดั และค แผนย่อยท่ี : 12.2 การตระหนักถงึ พหุปัญญาของมนษุ ย์ที่หลากหลาย เป้าหมาย : ประเทศไทยมรี ะบบข้อมูลเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพ ศกั ยภาพ ตัวช้ีวดั : 1.สดั ส่วนสถานศึกษาที่สามารถจัดการเรียนการสอนท่สี ร้างส 2.สัดส่วนเด็กและเยาวชนทไ่ี ดร้ ับการสง่ ต่อและพัฒนาตามศัก นโยบายสพป.นธ. 2 ประเดน็ กลยุทธท์ ่ี : 1 จัดการศกึ ษาเพื่อความม่ันคงของชาติ เปา้ ประสงค์รวม : 1. ผู้เรียนมีความรกั ในสถาบันหลักของชาติยึดม่ันการปกคร บา้ นเมอื ง มีหลักคดิ ทีถ่ ูกต้อง เป็นพลเมอื งท่ีดขี องชาติ มีคุณ ภยั คกุ คามทกุ รูปแบบดารงชีวิตในสงั คมพหุวัฒนธรรมอย่างส เป้าประสงค์เชิงกลยทุ ธ์ ตวั ชวี ดั 1. ผู้เรียนทุกคนท่ีมีพฤติกรรมที่ 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมท่ีแสดงออก แสดงออกถึงความรักในสถาบัน ความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปก หลักของชาติ ยึดมั่นการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง ระบอบประชาธิปไตยอันมี ประมุข พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
19 างการพฒั นา แผนงาน/โครงการสาคญั ความสามารถของพหุปญั ญาดขี น้ึ พตามพหปุ ัญญา เพอ่ื ประโยชน์ในการพัฒนาและการส่งต่อการพัฒนาให้เต็มตาม สมดลุ ทุกดา้ นและมกี ารจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาพหปุ ัญญารายบคุ คล กยภาพ/พหุปัญญา รองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคตทิ ี่ดีต่อ ณธรรมจริยธรรม มคี ่านยิ มทพ่ี ึงประสงค์ มีจติ สาธารณะ จติ อาสา สามารถรบั มอื กับ สนั ตสิ ุข ข้อมูลฐาน คา่ เปา้ หมาย แนทางการพัฒนา 2561 2562 2563 2564 2565 กถึง 100 100 100 100 100 1.พฒั นาผูเ้ รียนให้เปน็ พลเมือง ครอง ทด่ี ขี องชาติและพลโลกท่ีดี งเป็น
2. ผู้เรียนทุกคนมีทัศนคติที่ดีต่อ 2. ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีพฤติกรรมท่ีแสดงออก บ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็น มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้องเป พลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม พลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่าน จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ พึงประสงค์ มีคุณธรรม อัตลักษณ์ มีจิตสาธารณ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา จิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อื่น และสัง รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อื่น โดยรวม ซ่ือสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ และสังคมโดยรวม ซื่อสัตย์ สุจริต อารี มีวินัย และรักษาศีลธรรม มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มี วินัย และรักษาศีลธรรม 3. จา้ นวนสถานศึกษาที่น้อมนา้ พระบรมราโชบ ด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนท รามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวช เจ้าอยู่หัว และหลักปรัชญา 4. จา้ นวนสถานศึกษาที่จัดบรรยากาศสิ่งแวดล และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงออก ความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปก ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง ประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถ เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม 3. ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ ความ 5. ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และ เข้าใจ และมีความพร้อมสามารถ ความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแ รับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่มี มีผลกระทบต่อความม่ันคง เช่น ภัยจากยาเสพ ผลกระทบต่อความมั่นคง เช่น ภัย ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
20 กถึงการ 100 100 100 100 100 ป็น นิยมท่ี ณะ มี งคม อ้อม บาย 100 100 100 100 100 ทร 2.ปลกู ฝังผเู้ รียนให้มคี ุณธรรม ชิรเกล้า และจริยธรรม ล้อม 117 117 117 117 117 ถึง ครอง งเป็น ถูกต้อง ะมี 100 100 100 100 100 3. พัฒนาผู้เรยี นมีความพร้อม แบบท่ี สามารถรับมือกับภยั คุกคามทุก พติด รูปแบบ ทุกระดับ ความรุนแรง การค้า ที่มผี ลกระทบต่อความมัน่ คง
จากยาเสพติด ความรุนแรง การ มนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพิบัติต่าง คุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซ เบอร์ และภัยพิบัติต่าง ๆ
21 ของประเทศ ๆ
แผนแมบ่ ทที่ : 12 การพัฒนาการเรยี นรู้ เปา้ หมาย : คนไทยได้รับการพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพตามความถนดั และค แผนย่อยท่ี : 12.2 การตระหนักถงึ พหุปญั ญาของมนุษย์ที่หลากหลาย เปา้ หมาย : ประเทศไทยมีระบบข้อมูลเพ่ือการส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพ ศักยภาพ ตวั ช้ีวดั : 1.สดั ส่วนสถานศึกษาท่ีสามารถจัดการเรยี นการสอนทีส่ ร้างส 2.สดั ส่วนเด็กและเยาวชนท่ไี ดร้ บั การส่งต่อและพัฒนาตามศกั นโยบายสพป.นธ. 2 ประเด็นกลยทุ ธท์ ี่ : 1 การจัดการศึกษาเพ่อื ความม่นั คงของชาติ เป้าประสงค์รวม : 1. ผู้เรยี นมคี วามรักในสถาบันหลกั ของชาติยึดมั่นการปกคร บ้านเมือง มหี ลักคิดทถี่ กู ต้อง เปน็ พลเมอื งทดี่ ขี องชาติ มีคุณ ภัยคุกคามทุกรปู แบบดารงชีวิตในสงั คมพหวุ ัฒนธรรมอย่างส แนวทางการพัฒนาตาม แนวทางการพัฒนาตาม ความสอดคล้องกับ ประเด็นกลยุทธ์ท่ี 1 แผนแมบ่ ทย่อย องค์ประกอบ 1.พัฒนานักเรียนใหเ้ ปน็ 1. เสรมิ สร้างความรคู้ วาม พลเมอื งของชาติ เข้าใจเกี่ยวกับสถาบนั หลัก กลไกการบริหารจัดการ น และการปกครองในระบบ เพือ่ สรา้ งสภาพแวดล้อมท่ี ด ประชาธิปไตยผา่ น เอือต่อการพัฒนาเด็ก ( กระบวนการเรยี นรู้และ ตงั แตว่ ยั เรียนวยั รุ่น กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร (V05) 2. ปลูกฝังผ้เู รียนให้มี 2. เสริมสรา้ งสนบั สนนุ คณุ ธรรมและจริยธรรม สถานศกึ ษาใหจ้ ดั กจิ กรรม
22 ความสามารถของพหุปญั ญาดขี ึน้ พตามพหปุ ัญญา เพ่อื ประโยชนใ์ นการพัฒนาและการส่งตอ่ การพฒั นาใหเ้ ตม็ ตาม สมดุลทุกดา้ นและมกี ารจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาพหุปัญญารายบุคคล กยภาพ/พหุปัญญา รองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มที ัศนคติที่ดตี ่อ ณธรรมจริยธรรม มีค่านิยมท่พี งึ ประสงค์ มีจติ สาธารณะ จิตอาสา สามารถรับมอื กบั สนั ตสิ ขุ Value Chain โครงการ กิจกรรมหลัก ปจั จัย 1. โครงการจัดระบวนการ ผลิตและสรา้ งส่อื เรียนรู้และกิจกรรม สรา้ งสรรค์ตน้ แบบ นโยบาย/แผนการ เสริมสร้างความรักใน เก่ยี วกับการเสรมิ สร้าง ดา้ เนนิ งานตอ่ เนอื่ ง สถานบันหลกั ของชาติ ความรกั ในสถาบันหลัก ( F0501) การปกครองในระบอบ ของชาติ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยเ์ ปน็ 2.1 กิจกรรมอบรมเชิง ประมุข ปฏิบัติการเพมิ่ การทบทวน 2. โดรงการขบั เคลอื่ น โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ สู่
ทหี่ ลากหลายทังในและ นอกห้องเรยี นท่เี อือต่อการ พัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะและอนั พึง ประสงค์ 3. พฒั นาผ้เู รยี นให้มคี วาม 3. ส่งเสรมิ สถานศึกษาจดั พร้อม สามารถรบั กับการ กระบวนการเรียนรู้ให้ คกุ คามทุกรปู แบบ ทุก ผ้เู รยี นดา้ นกจิ กรรมท่ี ระดับความรนุ แรงท่มี ี หลากหลายเพ่ือเสริมสรา้ ง ผลกระทบต่อความมง่ั คง ความรู้ ความเข้าใจการ ของประเทศ ป้องกันเก่ียวกับภัยคุกคาม ทกุ รปู แบบ เช่น สาธาณ ภยั ภยั จากโลกไซเบอร์ ภยั ยาเสพตดิ และภัยบุคคล
23 สถานศึกษา การได้มาซึง่ คุณธรรมอัต ลักษณ์ระดบั โรงเรียน 2.2 กิจกรรมประกวดหนงั สัน/กิจกรรม วาดภาพ เพื่อเทดิ ทนู สถานบนั พระมหากษัตริย์ 2.3 กิจกรรมนิเทศ กา้ กับ ตดิ ตามโรงเรียนคณุ ธรรม 3. โครงการเสริมสร้าง กิจกรรมเสรมิ สรา้ งทักษะ ทักษะชีวิต เพ่ือป้องกนั ภัย ชีวิต รู้เท่าทันภัยไกลตัว - กจิ กรรมสาธารณภัย - กิจกรรมภยั โซเชียล - กจิ กรรมภยั ยาเสพติด - กิจกรรมภัยบคุ คล
2. ประเดน็ กลยทุ ธ์ที่ 2 การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น เพอื่ สรา้ งขีดความสามารถ แผนแมบ่ ทท่ี : 12 การพัฒนาการเรียนรู้ เป้าหมาย : คนไทยได้รับการพฒั นาเต็มตามศักยภาพตามความถนัดและค แผนย่อยท่ี : 12.2 การตระหนักถึงพหุปญั ญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย เปา้ หมาย : ประเทศไทยมรี ะบบข้อมูลเพ่ือการส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพ ศักยภาพ ตวั ชี้วดั : 1.สดั ส่วนสถานศกึ ษาท่ีสามารถจดั การเรียนการสอนท่ีสร้างส 2.สดั ส่วนเดก็ และเยาวชนที่ได้รบั การส่งต่อและพัฒนาตามศกั นโยบายสพป.นธ. 2 ประเด็นกลยทุ ธท์ ่ี : 2. พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น เพือ่ สร้างขีดความสามารถทสี่ อดค เปา้ ประสงคร์ วม : 2. ผู้เรียนมคี วามมคี วามสามารถพเิ ศษ ตามพหุปัญญา ไดร้ บั เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตัวชวี ัด 1.รอ้ ยละของผู้เรียนไดร้ ับการสง่ เสริมพัฒนา 1.ผ้เู รียนมีความเป็นเลิศตามความ ศักยภาพตามพหปุ ัญญา ถนัดและความสนใจนา้ ไปสู่การ พฒั นาทกั ษะวชิ าชีพเปน็ นักคิดบน 2. ร้อยละของผู้เรียนท่มี ีศักยภาพได้รบั โอกาส ฐานพหปุ ัญญา เข้าสู่เวทีการแขง่ ขันระดบั นานาชาติ 2.ผู้เรียนไดร้ ับโอกาสเขา้ สู่เวทีการ แข่งขันระดบั นานาชาติ
24 ถท่สี อดคลอ้ งกบั พหปุ ญั ญา ความสามารถของพหุปัญญาดขี ึ้น พตามพหปุ ัญญา เพอื่ ประโยชนใ์ นการพัฒนาและการส่งต่อการพัฒนาใหเ้ ตม็ ตาม สมดลุ ทุกด้านและมกี ารจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาพหุปัญญารายบคุ คล กยภาพ/พหุปญั ญา คลอ้ งกับพหุปัญญา บการพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ และพร้อมการรองรับเขตพ้นื ท่ีเศรษฐกจิ พเิ ศษ ขอ้ มลู ฐาน ค่าเป้าหมาย แนวทางการพฒั นา 2561 2562 2563 2564 2565 100 100 100 100 100 1.พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการกลไกการคดั กรองและการสง่ ต่อเพ่ือการส่งเสรมิ การ พัฒนาคนไทยตามพหปุ ัญญาให้เตม็ ตาม ศักยภาพ 100 100 100 100 100 2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ระบบสถานศกึ ษาและ การจัดหลักสูตรกระบวนการเรยี นการสอน กิจกรรมเสริมและสภาพแวดล้อมท่เี อือต่อ การสรา้ งและพัฒนาเด็กและเยาวชนท่ีมี ความสามารถพเิ ศษบนฐานพหปุ ัญญา
แผนแมบ่ ทที่ : 12 การพัฒนาการเรียนรู้ เป้าหมาย : คนไทยไดร้ ับการพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพตามความถนัดและค แผนย่อยที่ : 12.2 การตระหนกั ถงึ พหุปัญญาของมนษุ ยท์ ่ีหลากหลาย เป้าหมาย : ประเทศไทยมรี ะบบข้อมูลเพ่ือการส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพ ศักยภาพ ตัวช้ีวัด : 1.สัดส่วนสถานศกึ ษาที่สามารถจัดการเรยี นการสอนทส่ี รา้ งส 2.สัดส่วนเดก็ และเยาวชนทไ่ี ดร้ ับการส่งต่อและพัฒนาตามศกั นโยบายสพป.นธ. 2 2. ส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รียนท่มี ีความสามารถ ประเดน็ กลยทุ ธ์ที่ : เป้าประสงคร์ วม : 2. ผู้เรยี นมีความมีความสามารถพเิ ศษ ตามพหุปัญญา ได้รบั แนวทางการพัฒนาตาม แนวทางการพัฒนาตาม ความสอดคล้องกับ ประเด็นกลยุทธ์ที่ 2 แผนแมบ่ ทย่อย องค์ประกอบ 1.พัฒนาระบบบรหิ าร 1.พฒั นาระบบบรหิ าร จดั การกลไกการคัดกรอง จดั การกลไกการคัดกรอง V02 ผูส้ อน F และการสง่ ต่อเพ่ือการ และการสง่ ต่อเพ่ือส่งเสริม สง่ เสรมิ การพัฒนาคนไทย การพัฒนาคนไทย ตามพหุ (ครู/อาจารย์) เ ตามพหปุ ัญญาให้เตม็ ตาม ปญั ญาใหเ้ ต็มตาม ศักยภาพ ศกั ยภาพ ใ ร V03 ระบบข้อมลู F ร ป F ท
25 ความสามารถของพหุปัญญาดีข้ึน พตามพหุปัญญา เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาและการส่งตอ่ การพฒั นาให้เต็มตาม สมดลุ ทุกด้านและมกี ารจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาพหุปัญญารายบุคคล กยภาพ/พหุปญั ญา ถพิเศษตามพหุปญั ญา บการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และพรอ้ มการรองรบั เขตพน้ื ทีเ่ ศรษฐกิจพเิ ศษ Value Chain โครงการ กิจกรรมหลัก ปัจจัย F0201 ความรู้ ความเข้าใจ 1.โครงการอบรมเชงิ -กิจกรรมอบรมเชิง เรอ่ื งพหปุ ัญญาของมนุษย์ ปฏบิ ัตกิ ารสร้างความรู้ ปฏบิ ตั ิการเร่ืองพหปุ ัญญา ในการสา้ รวจ/คัดกรองวัด ความเข้าใจเร่ืองพหุปญั ญา ระดับ F0303 สา้ รวจคัดกรองวดั -โครงการสา้ รวจคัดกรอง -ครสู ้ารวจ/คดั กรองเด็กพหุ ระดบั ติดตามและ เด็กพหุปญั ญา ปญั ญา ประเมนิ ผล -นเิ ทศกา้ กบั ตดิ ตาม -โครงการจดั ท้าระบบ F0304 การใชเ้ ทคโนโลยที ่ี ฐานข้อมูล Deep -จัดท้าฐานข้อมูล ทนั สมัยเพ่ือประมวลผล
2. สง่ เสริมสนับสนุนระบบ V01 แหล่งเรยี นรู้ ข สถานศึกษาและการจัด ว หลกั สูตรกระบวนการเรยี น ต การสอนกิจกรรมเสริมและ สภาพแวดล้อมทเ่ี อือตอ่ F การสร้างและพัฒนาเด็ก ค และเยาวชนทมี่ ี ค ความสามารถพิเศษบนฐาน พหุปญั ญา
26 ข้อมูลและเรียกใช้เพ่อื การ วางแผนพฒั นาอยา่ ง ตอ่ เน่ือง F0102 เวทีในการแสดง -โครงการส่งเสริมศักยภาพ -กจิ กรรมแขง่ ขันทักษะ ความสามารถส้าหรับผู้ท่ีมี ผ้เู รียนท่ีมีความสามารถ วชิ าการ ความพิเศษ พิเศษ -กจิ กรรมแข่งขันวิชาการ นานาชาตสิ สู่ ากล -กจิ กรรมพัฒนา อัจฉรยิ ภาพวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
3. ประเด็นกลยทุ ธ์ท่ี 3 ผู้เรยี นเป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้ และสรา้ งสรรคน์ วัตก แผนแมบ่ ทท่ี : 12 การพัฒนาการเรียนรู้ เป้าหมาย : 1. คนไทยมีการศึกษาที่มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขน้ึ และทางานร่ ่วมกับผ้อู นื่ ได้อย่างมีประสิทธผิ ลเพมิ่ ขึ้น มนี สิ ยั ใ แผนยอ่ ยท่ี : 12.1 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรทู้ ต่ี อบสนองต่อการเปลยี่ น เปา้ หมาย : คนไทยได้รบั การศกึ ษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มที กั ษะการ ตอ่ เนื่องตลอดชีวติ ดีข้ึน ตัวชี้วัด : 1. สดั ส่วนครผู า่ นทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสูงตาม 2. อตั ราความแตกต่างของคะแนน PISA ในแต่ละกลุ่มโรงเร 3. อัตราการเข้าเรียนสทุ ธริ ะดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ นโยบายสพป.นธ. 2 ประเด็นกลยุทธท์ ่ี : 3. ผู้เรยี นเปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ และสร้างสรรค์นวัตกรร เปา้ ประสงคร์ วม : 3. ผู้เรียนเป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ และสรา้ งสรรคน์ วตั กรร 4. ผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเปน็ บคุ คลแห่งก เปา้ ประสงค์เชิงกลยทุ ธ์ ตัวชวี ดั 1.เดก็ ปฐมวยั มีพัฒนาการ 1.ร้อยละของเด็กปฐมวยั ที่มีพัฒนาการสมวยั ดา้ น สมวยั ดา้ นร่างกาย อารมณ์ ร่างกาย อารมณ์จติ ใจ สงั คมและสติปญั ญาตามเกณฑ์ จิตใจ สังคมและสตปิ ัญญา ทก่ี า้ หนด 2.ผู้เรยี นมคี วามกา้ วหน้าตาม 2.ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉล่ียใน 8 หลกั สูตร กลุ่มสาระตังแต่ระดับ 3 ขึนไป
27 กรรมและความก้าวหน้าตามหลกั สตู ร น มีทกั ษะทีจ่ าเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรับตวั ส่ือสาร ใฝเ่ รยี นรู้อย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 รเรียนรู้ และทักษะท่ีจาเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรูอ้ ย่าง มมาตรฐานนานาชาติ รยี น รมและความก้าวหนา้ ตามหลักสูตร รมและความก้าวหนา้ ตามหลักสูตร การเรียนรู้ มีความรู้และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพ ขอ้ มูลฐาน ค่าเปา้ หมาย แนทางการพฒั นา 2561 2562 2563 2564 2565 80 80 90 90 90 1.พฒั นาการจัดประสบการณ์เด็กปฐมวยั ให้ มพี ฒั นาการสมวยั ด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคมและสติปัญญาด้วยหลักสูตรการ จดั ประสบการณ์และการจดั กิจกรรมพฒั นา ท่ีหลากหลาย 70 70 80 80 80 2.พัฒนาหลักสตู รการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวดั ผลประเมินผลที่เหมาะสมกบั ผู้เรยี น
3. ผเู้ รยี นมที ักษะ 3.ร้อยละของผู้เรียนชันประถมศึกษาปีท่ี 3 ท่ีมี ความสามารถทจ่ี ้าเปน็ ใน คะแนนผลการทดสอบความสามารถพืนฐาน ศตวรรษท่ี 21 ระดับชาติ (NT) ผ่านเกณฑ์ที่กา้ หนด 4. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขันพืนฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ในแต่ละวิชาเพ่ิมขึนจากปี การศึกษาที่ผ่านมา 5. ผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะ ของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถด้ารงชีวิต อย่างมีความสุขทังด้านร่างกายและจิตใจ 6.ร้อยละของนักเรยี นทมี่ สี มรรถนะตามหลกั สูตรขัน พนื ฐานผา่ นเกณฑ์ในระดบั ดีขึนไป 1. ร้อยละผู้เรียนที่จบการศึกษาชันประถมศึกษาปี ท่ี 6 ชันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีทักษะการเรียนรู้ท่ี เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทา้ ตามความถนัด และความต้องการของตนเอง 4. ครไู ด้รับการพัฒนาและ 1.ร้อยละของครูที่ไดร้ ับการพัฒนาในรปู แบบ เปลยี่ นบทบาทให้เปน็ ครูยคุ ตา่ ง ๆ ไมน่ ้อยกว่า 30 ชั่วโมงตอ่ ปี ใหม่ 2. ร้อยละของครูที่มีแลกเปล่ยี นเรียนรู้ภายใน โรงเรยี นในรูปแบบของ PLC ไม่นอ้ ยกวา่ 50 ชวั่ โมง 3. รอ้ ยละของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท่ีมี
28 N/A N/A N/A N/A N/A และเน้นผู้เรยี นเปน็ สา้ คัญตามสภาพจริง N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A 3.พฒั นากระบวนการเรียนรู้ของผูเ้ รยี นทกุ ระดับ พร้อมทังจัดกจิ กรรมเสรมิ ทักษะ สง่ เสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 4.พัฒนาระบบการเรียนร้เู ชงิ บูรณาการท่ี เนน้ การปฏิบัติเพื่อเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตและ ตอ่ ยอดในการประกอบอาชพี ได้ N/A N/A N/A N/A N/A 5.ส่งเสริมการสนบั สนนุ การพัฒนาศักยภาพ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา อยา่ งต่อเนื่อง N/A N/A N/A N/A N/A 6.พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา อย่างเป็นระบบ N/A N/A N/A N/A N/A 7.สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการ
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยแี ละภาษาอังกฤษใน การส่ือสาร แผนแม่บทท่ี : 12 การพัฒนาการเรียนรู้ เปา้ หมาย : 1. คนไทยมีการศึกษาท่มี คี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพ่ิมขึน้ และทางาน่ร่วมกับผอู้ ืน่ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิผลเพ่ิมข้นึ มีนสิ ัยใ แผนยอ่ ยที่ : 12.1 การปฏริ ูปกระบวนการเรียนร้ทู ตี่ อบสนองตอ่ การเปล่ียน เป้าหมาย : คนไทยไดร้ ับการศกึ ษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มที ักษะการเร ต่อเนื่องตลอดชวี ติ ดขี นึ ตัวช้ีวัด : 1. สดั ส่วนครูผา่ นการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดบั สูงต 2. อัตราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแตล่ ะกลุ่มโรงเรยี นโยบายสพป.นธ. 2 3. อตั ราการเขา้ เรียนสุทธิระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ประเด็นกลยุทธ์ท่ี : เป้าประสงคร์ วม : 3. ผูเ้ รยี นเปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ และสรา้ งสรรค์นวัตกรร 3. ผเู้ รยี นเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ และสรา้ งสรรค์นวัตกรร 4. ผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเปน็ บคุ คลแห่งก แนวทางการพัฒนาตาม แนวทางการพัฒนาตาม ความสอดคลอ้ งกับ ประเด็นกลยุทธท์ ่ี 3 แผนแม่บทย่อย องค์ประกอบ 1.พัฒนาหลักสตู รทุกระดับ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ การศึกษา ในทุกระดบั ชนั ท่ีใช้ V01 หลักสตู รการจดั F ฐานความรแู้ ละระบบคดิ การศึกษา ส ค
29 ความรเู้ พื่อการเรยี นการสอนและการบริหาร น มีทักษะท่จี าเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป้ ญั หา ปรับตัว สอ่ื สาร ใฝ่เรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 รยี นรู้ และทักษะทจ่ี ้าเป็นของโลกศตวรรษที่ 21สามารถเข้าถงึ การเรยี นรู้อยา่ ง ตามมาตรฐานนานาชาติ ยนลดลง รมและความก้าวหน้าตามหลักสูตร รมและความกา้ วหน้าตามหลกั สตู ร การเรยี นรู้ มคี วามรแู้ ละจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชพี Value Chain โครงการ กจิ กรรมหลัก ปจั จยั โครงการพัฒนาหลักสตู ร - สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ ฐานสมรรถนะ หลักสูตรฐานสมรรถนะ F0102 หลักสูตรฐาน - น้ารอ่ งโรงเรียนสนใจใน สมรรถนะที่ตอบโจทย์ ความต้องการของประเทศ
ในลักษณะสหวิทยาการมี วจิ ัยและพัฒนาหลกั สูตร แกนกลาง การศึกษาขัน พืนฐานทเ่ี ป็นหลกั สูตรฐาน สมรรถนะให้ได้มาตรฐาน 2. พัฒนากระบวนการ พฒั นากระบวนการเรยี นรู้ รปู แบบและองคป์ ระกอบ ก เรยี นรขู้ องผเู้ รียนทกุ ระดับ ของผเู้ รียนทุกระดบั การเรยี นรู้ เ พร้อมทังจดั กจิ กรรม การศึกษารวมถงึ จัด ท ส่งเสรมิ ทักษะในศตวรรษท่ี กิจกรรมเสริมทักษะเพือ่ 21 พฒั นาทกั ษะส้าหรบั ศตวรรษที่ 21 รูปแบบและองคป์ ระกอบ ส การเรยี นรู้ ท ส
30 การจัดการเรยี นการสอนที่ โครงการพัฒนาทักษะการ การพฒั นาการใชห้ ลกั สูตร เน้นการลงมือปฏบิ ัตแิ ละ เรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ฐานสมรรถนะ ทกั ษะอาชีพ - ดา้ เนินการแลกเปล่ียน วจิ ยั การน้าหลักสูตรไปใช้ - นิเทศติดตามโรงเรียนนา้ ร่องการใชห้ ลกั สูตร - ประเมินผลการใช้ หลกั สูตรฐานสมรรถนะ - ขยายผล - สร้างความร้คู วามเข้าใจ การจัดการเรยี นรูใ้ น ศตวรรษที่ 21 - แลกเปล่ยี นเรยี นรู้เทคนิค การสอนเสริมทักษะใน ศตวรรษที่ 21 - นิเทศติดตามการใช้ ให้ ข้อเสนอแนะ - ประเมินผลการพัฒนา กระบวนการเรยี นรู้ของ สถานศึกษา - รายงานผลการประเมนิ สือ่ และแหลง่ เรยี นรูท้ ่ี โครงการพัฒนาสื่อ - สร้างความรคู้ วามเข้าใจ ทันสมยั สอดคลอ้ งกบั เทคโนโลยีดิจิทัส การสร้างสื่อดิจิทสั ที่ สถานการณ์ปจั จุบนั และ ทันสมัย
ค 3. พัฒนาระบบการเรยี นรู้ พัฒนากระบวนการเรยี นรู้ รปู แบบและองค์ประกอบ พ ย เชงิ บูรณาการที่เนน้ การ เชิงบูรณราการทเ่ี นน้ การ การเรยี นรู้ ปฏบิ ตั เิ พ่ือเสรมิ สร้างทักษะ ลงมอื ปฏบิ ัตมิ ีการสะท้อน ชวี ิตและต่อยอดการ ความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง ประกอบอาชีพได้ โดยเน้นการเรียนการสอน ท่เี สรมิ สรา้ งทักษะชวี ิตและ สามารถนา้ มาใช้ต่อยอดใน การประกอบอาชีพไดจ้ ริง 4. ส่งเสริมสนบั สนุนการ ส่งเสริมสนับสนุนระบบ ผสู้ อน(คร/ู อาจารย์) แ พัฒนาศกั ยภาพผบู้ ริหาร การพัฒนาศักยภาพและ เ ครแู ละบคุ ลากรทางการ สมรรถนะครอู ย่างต่อเน่ือง ศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง ครอบคลุมทังเงินเดือน สายอาชีพและระบบ สนับสนนุ อื่นๆ
31 คนทุกช่วงวยั โครงการโรงเรยี นพนื ท่ี - สรา้ งสื่อดิจทิ สั ที่ นวตั กรรม หลากหลายตามความถนัด พนื ทนี่ วตั กรรมเพื่อการต่อ และความสนใจ ยอดและการขยายผล 1.โครงการพฒั นาศักยภาพ -แลกเปล่ยี นเรยี นรู้(open และยกย่องเชิดชูเกยี รติ class) แรงจูงใจและสวัสดกิ ารที่ บุคลากรในสงั กัด -นิเทศ ติดตามปรบั ปรุง เพยี งพอและเหมาะสม 2. โครงการประชุมเชงิ พฒั นา ปฏบิ ตั กิ ารเก่ียวกับการ -จดั นิทรรศการ นวัตกรรม บริหารงานบุคคล ส้าหรบั -สรปุ รายงานผล - สรา้ งความรู้ความเข้าใจ โรงเรียนพืนทีน่ วัตกรรม - ขยายผลโรงเรยี นพืนท่ี นวตั กรรม - นิเทศติดตามการใช้ ให้ ข้อเสนอแนะ เพ่ือการ พัฒนานวตั กรรม - แลกเปลยี่ นเรียนรูแ้ ละ นา้ เสนอนวัตกรรม - ปรบั ปรุงพัฒนาต่อยอด - คัดเลอื ก/ยกย่องเชิดชู เกียรติเพ่ือรับรางวัล - สนทนาการจัดการเรียนรู้ ทางวชิ าชีพเพ่ือพฒั นางาน พฒั นาคน(PLC) - พฒั นาศักยภาพบุคลากร
การบรหิ ารจดั การระบบ ก การเรียนรู้ ก ใ การบริหารจัดการระบบ ส การเรยี นรู้ ช น 5. พฒั นาระบบประกนั พฒั นาระบบประกนั การบริการจัดการระบบ ก คุณภาพการศึกษาอย่าง เป็นระบบ คณุ ภาพการศึกษาอยา่ ง การเรยี นรู้ ร ก เปน็ ระบบโดยแยกการ ประกนั คุณภาพการศึกษา ออกจากการประเมนิ คุณภาพและการรับรอง คณุ ภาพและการกา้ กับดูแล คุณภาพการศึกษา 6. สง่ เสริมการใช้ สง่ เสรมิ การวิจยั และใช้ การบรหิ ารจดั การระบบ ด เทคโนโลยใี นการจดั การ เทคโนโลยใี นการสร้างและ การเรียนรู้ จ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250