Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2562

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2562

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2562

Keywords: SAR62

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report) ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ สํานกั งาน กศน. กรุงเทพมหานคร สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

ก คํานํา ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ กําหนดระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สาํ หรบั สถานศกึ ษาที่จดั การศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ท่อี าศยั อาํ นาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และ มาตรา 25 วรรคหน่ึง แหงพระราชบัญญัตสิ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ซงึ่ กําหนดใหส ถานศึกษาตอ งดําเนินการ ดงั น้ี (1) จดั ใหม มี าตรฐานการศึกษานอกระบบที่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกําหนด (2) จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจําป (3) ดําเนินงานตาม แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาํ ป (4) จัดใหมีการตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา (5) จัดใหมี การประเมินคณุ ภาพภายในมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (6) จัดทํารายงานการประเมินตนเองประจําป (7) เสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในตอคณะกรรมการสถานศึกษา หนวยงานตนสังกัด และภาคี เครือขาย และเผยแพรตอสาธารณชน (8) นําผลการประเมินคุณภาพภายในมาเปนสวนหน่ึงของการวางแผน เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยการมีสวนรว มของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคเี ครือขาย (9) จัดระบบ บริหารและสารสนเทศ (10) ยึดหลักการมี สวนรวมของสถานศึกษา บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ภาคี เครอื ขา ย และผรู ับบริการ เพื่อเปนการดําเนินงานใหส อดคลอ งกับกฎกระทรวงฯ ดงั กลาว ศูนยการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ จึงไดดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา เพอ่ื ประเมนิ คุณภาพการจัดการศกึ ษาของศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ โดยคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา วิเคราะหจากแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติ การประจําปรวมกับผลการดําเนินงานของสถานศึกษา และสอบทานขอมูลจากผูปฏิบัติงาน คณะกรรมการ สถานศึกษา และผูที่เกี่ยวของ เพื่อจัดทํารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา และรวมกันกําหนดแนว ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาตอ ไป (นางสาวมาลี ธญั ธนนนท) ผอู าํ นวยการศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เขตสัมพนั ธวงศ 25 ตุลาคม 2562 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ

ข คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ไดประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2560 ระหวางวันท่ี 3-5 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2561 และจัดทํารายงานการประเมินตนเอง ประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2561 เสร็จสิน้ เรียบรอยแลว ลงชอื่ .............................................ประธานคณะกรรมการ (นางสาวมาลี ธญั ธนนนท) ลงชอื่ .............................................กรรมการ (นายศนุ ันทพิ ฒั น ออ นศร)ี ลงชอื่ .............................................กรรมการ (นางพนั ธนันท เกิดมี) ลงช่อื .............................................กรรมการ (นายกยี รติศกั ด์ิ ไชยฉิม) ลงชอ่ื .............................................กรรมการ (นางสาววาสนา สรอยสุนทร) ทั้งน้ี คณะกรรมการสถานศึกษาไดรับทราบผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเปนที่ เรียบรอ ยแลว และหวงั เปนอยา งยิ่งวาสถานศึกษาจะนําขอมูลผลการประเมินน้ีไปใชในการพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของสถานศกึ ษาตอ ไป ลงช่ือ.............................................ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (นางพรรณทพิ า ชินชัชวาล) วนั ท่ี 25 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2562 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสมั พันธวงศ

สารบญั ค คํานาํ หนา สารบัญ บทสรปุ สําหรับผูบรหิ าร และขอ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นา ก ✍ บทท่ี 1 ขอมูลทัว่ ไปของสถานศึกษา ค ✍ บทที่ 2 ทิศทางและผลการดําเนินงานของสถานศึกษา ง ✍ บทที่ 3 ผลการประเมนิ ตนเอง 1 26 ผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน 42 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รียน/ผรู ับบรกิ าร มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษา/การใหบ ริการ 42 มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การการศึกษา 77 ✍ บทที่ 4 สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพฒั นาสถานศึกษา 104 สรุปผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 124 เกณฑระดับคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 124 สรุปผลการวิเคราะหผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเพอื่ การพฒั นา 126 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 127 ภาคผนวก 130 คณะผจู ัดทาํ ญ ฎ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เขตสมั พันธวงศ

ง บทสรปุ สําหรับผูบริหาร ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ ต้ังอยูเลขท่ี 798/2 ถนนเจริญกรุง แขวงตลาดนอย เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพมหานคร สํานักงาน กศน. กรุงเทพมหานคร สังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซ่ึงจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษา ตามอัธยาศยั โดยมีบคุ ลากรจาํ นวน 7 คน มผี ูเรยี น ผเู ขา รบั การอบรม และผูรับบริการ จาํ นวน 3,446 คน ทั้งนี้ คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ไดดําเนินการประเมินคุณภาพการจัด การศกึ ษาของสถานศึกษา ตงั้ แตวนั ที่ 1 – 22 ตุลาคม 2562 ซ่ึงจากการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมิน ไดดงั น้ี ผลการประเมินตนเองในภาพรวม มีคะแนนรวม เทากับ 87.00 คะแนน ซ่ึงอยูในระดับ คุณภาพ ดมี าก และเมือ่ พิจารณาผลการประเมนิ ตนเองตามรายมาตรฐาน พบวา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รียน/ผูร ับบรกิ าร มคี ะแนนรวม เทา กับ 29.50 คะแนน ซึ่งอยูใน ระดบั คุณภาพ ดมี าก มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษา/การใหบริการ มีคะแนนรวม เทากับ 40.50 คะแนน ซึ่งอยใู นระดับคณุ ภาพ ดีมาก มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการการศึกษา มีคะแนนรวม เทากับ 17.50 คะแนน ซง่ึ อยใู นระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ตามรายละเอยี ด ดงั นี้ มาตรฐาน/ตวั บงช้ี นาํ้ หนัก ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) คะแนน ระดบั ทไี่ ด คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น/ผรู บั บริการ 35 29.50 ดมี าก การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ตัวบง ชี้ที่ 1.1 ผูเรยี นการศึกษาข้นั พนื้ ฐานมคี ุณธรรม 5 4.50 ดมี าก ตัวบงชท้ี ่ี 1.2 ผเู รยี นการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมที ักษะ กระบวนการคดิ 5 4.50 ดีมาก ทกั ษะการแสวงหาความรู เรยี นรูอยางตอ เนือ่ ง และ สามารถนําไปประยกุ ตใชใ นการดํารงชีวติ ตัวบงชี้ที่ 1.3 ผเู รยี นการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรูพนื้ ฐาน 5 2.50 พอใช การศึกษาตอ เนอื่ ง ตัวบง ช้ีที่ 1.4 ผเู รยี นหรอื ผูเขา รบั การอบรมมคี วามรู ความสามารถ 5 5.00 ดีมาก และทกั ษะในการประกอบอาชีพ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขตสัมพนั ธวงศ

จ มาตรฐาน/ตวั บง ช้ี นา้ํ หนัก ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) คะแนน ระดับ ตวั บงชท้ี ี่ 1.5 ผเู รยี นหรอื ผูเขา รบั การอบรมปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรัชญา ที่ได คุณภาพ ของเศรษฐกจิ พอเพียง 5 4.50 ดมี าก ตัวบง ชี้ท่ี 1.6 ผูเรยี นหรอื ผเู ขา รับการอบรมสามารถใชเ ทคโนโลยีได 5 4.50 ดมี าก อยา งเหมาะสม 5 4.00 ดี การศึกษาตามอัธยาศยั ตัวบง ชี้ท่ี 1.7 ผูรบั บรกิ ารไดร บั ความรแู ละ/หรอื ประสบการณจ ากการ 45 40.50 ดีมาก เขารวมกจิ กรรม/โครงการการศึกษาตามอธั ยาศัย 5 4.50 ดีมาก มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศึกษา/การใหบ รกิ าร 5 4.50 ดมี าก การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 5 4.50 ดมี าก ตัวบง ช้ีท่ี 2.1 คณุ ภาพครูการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 5 4.50 ดมี าก ตัวบงชที้ ่ี 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศกึ ษา ตวั บงชท้ี ี่ 2.3 คุณภาพสอื่ ตามหลกั สูตรสถานศึกษา 5 4.50 ดีมาก ตัวบง ชท้ี ่ี 2.4 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรียนรูต ามหลกั สตู ร 5 4.50 ดีมาก 5 4.50 ดมี าก สถานศกึ ษา การศึกษาตอ เนอื่ ง 5 4.50 ดีมาก ตวั บงชี้ที่ 2.5 คุณภาพวิทยากรการศกึ ษาตอเนือ่ ง 5 4.50 ดมี าก ตวั บงชีท้ ่ี 2.6 คุณภาพหลกั สตู รและสื่อการศกึ ษาตอ เนื่อง 20 17.50 ดมี าก ตัวบง ชี้ท่ี 2.7 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรียนรกู ารศึกษาตอเนอื่ ง 5 4.50 ดมี าก การศึกษาตามอัธยาศยั ตวั บง ชี้ที่ 2.8 คณุ ภาพผูจ ดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 5 4.00 ดี ตัวบงชีท้ ่ี 2.9 คณุ ภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการการศึกษา 5 4.50 ดมี าก ตวั บงชี้ที่ 3.1 การบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ 5 4.00 ดี 100 87.00 ดมี าก พอเพยี ง และหลักธรรมาภิบาล ตัวบง ชี้ที่ 3.2 การสงเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษาของภาคี เครอื ขาย ตัวบงชี้ที่ 3.3 การมสี ว นรวมของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ตวั บงชท้ี ่ี 3.4 การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา รวม รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขตสมั พันธวงศ

ฉ ทั้งนี้ จากการวิเคราะหผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพ่ือการพัฒนาการศึกษา สามารถสรุปจุดเดน จุดท่ีควรพัฒนา และวิธีปฏิบัติที่ดี หรือนวัตกรรม หรือตัวอยางที่ดี หรือตนแบบของ สถานศกึ ษา ไดดงั น้ี สรปุ ผลการวเิ คราะหผ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพอื่ การพฒั นา จดุ เดน 1. สถานศึกษาบริหารงานดานวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และดานบริหารท่ัวไป ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ หลักธรรมาภบิ าล สง เสรมิ สนับสนนุ ใหค ณะกรรมการสถานศึกษา และ ภาคีเครือขายรวมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แบบมสี ว นรวม ตรงตามความตอ งการ และศักยภาพของผูเรียน ผูเขา รับการอบรม และผูรับบริการแตละคน และสอดคลองกับนโยบาย และจุดเนนของสํานักงาน กศน. นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และยุทธศาสตร/เปาหมายของแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป 2. สถานศึกษามีปจจัยและกระบวนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย เหมาะสมกับสภาพปญหา และความตอ งการของผเู รียน ผเู ขารับการอบรม และผูร ับบริการ ดวย หลักสูตรสถานศึกษาท่ีมีกระบวนการพัฒนาอยางเปนข้ันตอน ครูผูสอน วิทยากร และผูจัดมีความรูความสามารถ ไดรับการพัฒนา ตอยอดอยางตอเน่ือง ใชส่ือ เอกสารประกอบหลักสูตรท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การใช Google Classroom เปนสื่อการเรียนการ สอนในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การเรียนรูแบบโครงงาน การใช เทคนิคการสอนแบบสาธิตและใหผูเรียนลงมือปฏิบัติจริงของ การศึกษาตอเน่ือง การสนับสนุนงบประมาณในการจัดซ้ือจัดหาส่ือ เพ่ือบริการการศึกษาตามอธั ยาศยั เปน ตน 3. ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนผูมีคุณธรรม มีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู เรียนรูอยางตอเน่ือง และ สามารถนําไปประยุกตใชในการดํารงชีวิต และมีความรูพื้นฐานตาม หลักสูตร ผูเรียนการศึกษาตอเน่ือง มีความรู ความสามารถ และ ทกั ษะในการประกอบอาชีพ ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถใชเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม ผูรับบริการ การศึกษาตามอัธยาศัย มีความรูและประสบการณจากการเขารวม กิจกรรม/โครงการของสถานศกึ ษา ซงึ่ ผูเรยี น ผูรับบริการสามารถเปน ตัววอยางที่ดี หรือเปนตนแบบได รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตสมั พนั ธวงศ

ช สรปุ ผลการวิเคราะหผ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพอื่ การพัฒนา จุดทีค่ วรพฒั นา สถานศกึ ษามผี ูเรียนการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานทม่ี ีความรู ความสามารถ และทักษะตามสาระการเรียนรู รายวิชาวิทยาศาสตร และศาสนา และหนาท่ีพลเมือง ในระดับประถมศึกษา รายวิชาทักษะการเรียนรู รายวิชาภาษาไทย และรายวิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน ใน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน รายวิชาภาษาไทย และภาษาอังกฤษเพ่ือ ชวี ิตและสังคม ในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ซ่งึ รายวชิ าแตละระดับ เหลาน้ี มีคาเฉลี่ยคะแนนสอบปลายภาคเรียนของสถานศึกษาต่ํากวา คาเปาหมายที่สถานศึกษากําหนด ผูเรียนนําความรูพ้ืนฐานไปใชใน การดํารงชีวิต การทํางาน หรือการประกอบอาชีพ (คํานวณจากรอย ละของผูเรียนเขาสอบปลายภาคเรียน) ตํ่ากวาคาเปาหมายท่ีกําหนด ผลการดําเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาความรูพื้นฐานของผูเรียน มี ลักษณะเดมิ ๆ ไมแ ตกตาง วิธปี ฏบิ ัตทิ ด่ี ี หรอื นวัตกรรม หรอื 1. สถานศึกษาสงเสริมสนับสนุนใหเครือขายรวมจัดการศึกษา ตวั อยา งท่ดี ี หรอื ตนแบบ ตั้งแตกระบวนการแรกจนถึงกระบวนการสุดทาย คือ รวมวางแผน รวมปฏิบัติ รวมติดตามตรวจสอบ และรวมใหคําแนะนําหรือ ขอเสนอแนะในการจัดการศึกษาคร้ังตอไป พัฒนาระบบประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอยางเปนระบบ ตามแนวทาง การประกันคูณภาพภายในศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยอําเภอ/เขต ท่สี าํ นักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยกําหนด คือ ประกาศมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ช้ีแจงสรางความเขาใจในมาตรฐาน และตัวบงชี้ตาม ประกาศมาตรการศึกษาของสถานศึกษาใหกับผูเกี่ยวของท้ังหมด แตงต้ังคําส่ังมอบหมายเจาหนาท่ีงานประกันคุณภาพชัดเจน ดําเนนิ งานและประเมินตนเองในรูปแบบคณะกรรมการ และเผยแพร รายงานการประเมินตนเองภายในสถานศึกษาใหกับสาธารณชนอยาง เปด เผย 2. มีการจัดกิจกรรมที่สงเสริมสนับสนุนใหครูจัดทํา และพัฒนา สื่อตามหลักสูตรสถานศึกษาสําหรับนําไปใชในการจัดกระบวนการ เรียนรู และยังมีกระบวนการหาหรือจัดทําส่ือการเรียนการสอน สอดคลองกับการจัดกระบวนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 โดย ครูทุกคนผานการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนการสอนจาก รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เขตสัมพันธวงศ

ซ สรุปผลการวิเคราะหผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นา โครงการพัฒนาบุคลากร ออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรูอยางมี ขั้นตอน โดยครูทุกคนไดมีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดทําแผนการจัดการเรียนรูทุกระดับช้ัน และรวมกันพัฒนาข้ึน เปนแผนการจัดการเรยี นรูสําหรับพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนการ สอน เพื่อนํามาบูรณาการในการจัดทําแผนการเรียนรูตามหลักสูตร สถานศกึ ษา มีกระบวนการพฒั นาหลกั สูตร และสื่อการศึกษาตอเน่ือง ท่ีพัฒนาขึ้นโดยบุคลากร กศน. เขตสัมพันธวงศ รับรองโดย ผูอํานวยการ กศน.เขตสัมพันธวงศ โดยความเห็นชอบของกรรมการ สถานศึกษา โดยไดสํารวจความตองการคุณภาพของหลักสูตรและ สื่อการศึกษาตอเนื่องที่กําหนดในหลักสูตรการศึกษาตอเน่ือง เพ่ือ จัดทําสื่อการสอนท่ีเหมาะกับสภาพพื้นที่ ชุมชน และความตองการ ของประชาชน และวิทยากรไดพัฒนาตนเองอยางสม่ําเสมอเพื่อนํา ความรูม าพฒั นาผูเ รยี นใหเ กดิ ประโยชนสงู สดุ 3. มีวิทยากรตน แบบในการจัดการศึกษาตอเนื่องที่มีคุณภาพ เปน ผูท่ีศึกษาและพัฒนาตนเองอยางสม่ําเสมอ มีจิตอาสาและเสียสละ พัฒนาผูเรียนโดยไมหวังผลตอบแทน มีการติดตามดูแลผูเรียนอยาง ตอเน่ืองและสรางผูเรียนที่มีคุณภาพนําความรูไปตอยอดในการ ประกอบอาชพี เพือ่ สรา งรายไดแ ละสรางภาคเี ครือขา ยทดี่ ีตอองคกร 4. ผูเ รยี น ผรู บั บริการ ทน่ี ําความรูไปใช/ ประยกุ ตใชใ นการ ดํารงชวี ติ ท่เี ปนตนแบบ และเปน ตวั อยา งทดี่ ี 5. ผเู รยี นท่นี าํ ความรทู ไ่ี ดไปใชในการลดรายจา ย หรือเพมิ่ รายได หรอื ประกอบอาชพี หรอื พฒั นาตอยอดอาชพี หรอื เพ่มิ มูลคา ของ สนิ คาหรือบริการ ที่สามารถเปน ตนแบบ 6. ผูเ รยี นหรอื ผเู ขารบั การอบรมท่นี ําความรู ความเขาใจตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชในการดํารงชวี ติ ที่สามารถเปน ตน แบบ 7. ผเู รยี นหรอื ผเู ขา รบั การอบรมทีน่ าํ ความรูไปใชใ นการแกป ญหา และพฒั นาการดํารงชวี ิตหรือการประกอบอาชีพ และสามารถเปน ตนแบบ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เขตสัมพันธวงศ

ฌ จากจุดเดน จุดที่ควรพัฒนา และวิธีปฏิบัติท่ีดี หรือนวัตกรรม หรือตัวอยางท่ีดี หรือตนแบบ ของสถานศึกษา เห็นควรใหสถานศึกษาจัดโครงการ/กิจกรรมเพ่ือการปรับปรุงหรือพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยกาํ หนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ดงั น้ี 1. โครงการพัฒนาผูเ รียนดา นผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 2. โครงการพฒั นาผเู รยี นดา นคณุ ธรรมและลักษณะอันพ่งึ ประสงค ดว ยกีฬา หรอื ลูกเสอื หรือ ยวุ กาชาด 3. โครงการสัมมนาวิชาการวิทยากรการศกึ ษาตอ เนือ่ ง เพ่อื พัฒนาศักยภาพ 4. โครงการสงเสริม สนับสนนุ บทบาทคณะกรรมการสถานศกึ ษา และภาคีเครอื ขาย 5. โครงการพฒั นาศักยภาพครกู ารศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน และผูจดั การศึกษาตามอัธยาศัย รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตสัมพันธวงศ

บทที่ 1 ขอมูลทว่ั ไปของสถานศกึ ษา สภาพทัว่ ไปของสถานศึกษา ชอ่ื สถานศึกษา : ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขตสัมพันธวงศ ทอ่ี ยู : 798/2 ถนนเจริญกรงุ แขวงตลาดนอ ย เขตสัมพนั ธวงศ กรงุ เทพมหานคร 10100 หมายเลขโทรศัพท : 02 233 7521 หมายเลขโทรสาร : 02 233 7522 E-mail ตดิ ตอ : [email protected] สังกัด : สํานักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กรงุ เทพมหานคร สาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ประวตั คิ วามเปน มาของสถานศึกษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ เดิมมีช่ือวา “ศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนเขตสัมพันธวงศ” สังกัด ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนกรุงเทพมหานคร 2 สํานกั บริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ตอมาในป พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 มีผล บังคับใช สงผลใหศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนเขตสัมพันธวงศ ตองเปลี่ยนสถานะเปน ศูนยการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ ในสังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในปจ จุบนั โดยมอี ํานาจและหนา ที่ดงั ตอ ไปนี้ 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. สง เสริม สนบั สนุน และประสานภาคเี ครอื ขาย เพอ่ื การจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย 3. ดาํ เนนิ การตามนโยบายพเิ ศษของรฐั บาล และงานเสรมิ สรา งความมัน่ คงของชาติ 4. จัด สงเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนอ่ื งมาจาก พระราชดาํ รใิ นพ้นื ท่ี 5. จดั สงเสรมิ สนับสนนุ พฒั นาแหลงเรยี นรู และภูมิปญ ญาทอ งถิน่ 6. วจิ ัยและพฒั นาคณุ ภาพหลักสูตร ส่ือ กระบวนการเรียนรู และมาตรฐานการศกึ ษา นอกระบบ 7. ดําเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรแู ละประสบการณ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตสัมพนั ธวงศ

2 8. กํากบั ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 10. ระดมทรพั ยากรเพอ่ื ใชในการจัดและพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 11. ดําเนนิ การประกันคณุ ภาพภายใน ใหสอดคลอ งกบั ระบบ หลักเกณฑแ ละวธิ กี ารทีก่ ําหนด 12. ปฏบิ ัติงานอ่ืน ๆ ตามทไ่ี ดรบั มอบหมาย สภาพชมุ ชน เขตสัมพันธวงศ เปนเขตท่ีเล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยูในกลุมเขตกรุงเทพกลาง สภาพ พ้ืนทป่ี ระกอบไปดวยแหลงการคาหนาแนน และแหลงทอ งเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและศิลปวฒั นธรรม เขตสัมพันธวงศ มชี าวจีนอาศัยอยูมาตั้งแตตอนแรกเริ่มกรุงรัตนโกสินทรแลว พวกเขาไดยาย มาจากเขตพระนครในปจจุบัน โดยมีถนนวานิช 1 หรือ \"ถนนสําเพ็ง\" เปนศูนยกลางของชุมชนชาวจีน จวบจน สรางถนนเยาวราชในสมัยรชั กาลที่ 5 เมือ่ ป พ.ศ. 2435 ไดกลายมาเปนศูนยกลางชาวจีนจนถงึ ปจ จบุ นั อําเภอสมั พันธวงศ สรางท่ีวาการอาํ เภอข้นึ เมอื่ ป พ.ศ. 2475 ตงั้ อยูที่สามแยกถนนทรงวาดตัด กับถนนปทมุ คงคา ตําบลศาลเจาแมทับทมิ ซ่ึงอยใู นเขตวดั สัมพันธวงศาราม จึงสันนิษฐานไดวาอําเภอสัมพันธวงศ คงตัง้ ชอื่ ตามวดั ที่ตงั้ นน่ั เอง (ปจจุบนั สาํ นกั งานเขตยา ยไปต้ังที่ถนนโยธา แขวงตลาดนอย) โดยแบงการปกครอง ออกเปน 14 ตําบล ตอมาไดมีการยุบรวม \"อําเภอสามแยก\" ซ่ึงตั้งที่วาการอําเภออยูที่ตึกแถวสี่แยกถนนทรงวาด กบั ถนนเยาวราช มีเขตปกครอง 6 ตําบล และ \"อําเภอจักรวรรดิ\" ซึ่งต้ังที่วาการอําเภออยูขางสถานีตํารวจนคร บาลจักรวรรดิ มีเขตปกครอง 18 ตําบล มาข้ึนกับอําเภอสัมพันธวงศ แลวแบงเขตปกครองใหมออกเปน 3 ตําบล คอื ตาํ บลสมั พันธวงศ ตาํ บลจักรวรรดิ และตาํ บลตลาดนอ ย ตอมาในป พ.ศ. 2515 มีประกาศคณะปฏิวัติจัดการบริหารราชการใหมในเขตนครหลวง อําเภอสัมพันธวงศไดรับการเปล่ียนแปลงฐานะเปน เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพมหานคร แบงเขตปกครองยอย ออกเปน 3 แขวง การแบง เขตการปกครอง เขตสัมพันธวงศแ บงเขตการปกครองยอยออกเปน 3 แขวง ดงั แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงการแบงเขตการปกครอง พ้ืนที่ จาํ นวนประชากร และความหนาแนนประชากร รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เขตสมั พนั ธวงศ

3 ชมุ ชนภายในเขตสมั พนั ธวงศ เขตสมั พันธวงศ แบง ชุมชนออกเปน 18 ชมุ ชน ดังน้ี 1. ชุมชนรมิ คลองโองอา ง 2. ชมุ ชนสะพานหัน 3. ชมุ ชนภิรมย 4. ชุมชนทานํา้ จักรวรรดิ 5. ชุมชนมิตรชัยภูมิ 6. ชมุ ชนอิสรานภุ าพ 7. ชมุ ชนเลอื่ นฤทธิ์ 8. ชมุ ชนตรอกโพธ์ิ 9. ชุมชนพาดสาย 10. ชมุ ชนกรมภูธเรศร 11. ชมุ ชนวานชิ สมั พันธ 12. ชมุ ชนตลาดนอ ย 13. ชุมชนจงสวัสดิ์ 14. ชุมชนเลงปว ยเอีย้ ะ 15. ชมุ ชนโปลิศสภา 16. ชมุ ชนผูค า อะไหลเ กา 17. ชมุ ชนโชฏึก 18. ชุมชนกศุ ลสามคั คี การคมนาคม การคมนาคมในเขตสมั พันธวงศ มที งั้ ทางบกและทางเรอื ทางบก เสน ทางหลัก มีดว ยกนั 6 สาย ดังน้ี 1. ถนนจักรวรรดิ 2. ถนนเจริญกรุง 3. ถนนแปลงนาม 4. ถนนเยาวราช 5. ถนนราชวงศ 6. ถนนมหาจักร (คลองถม) รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตสัมพนั ธวงศ

4 เสนทางรอง มีดว ยกนั 11 สาย ดงั นี้ 1. ถนนพระรามท่ี 4 2. ถนนโยธา 3. ถนนขา วหลาม 4. ถนนลาํ พนู ไชย 5. ถนนอนุวงศ 6. ถนนผดุงดา ว 7. ถนนทรงสวัสดิ์ 8. ถนนแปลงนาม 9. ถนนตรีมติ ร 10. ถนนมงั กร 11. ถนนบรพิ ัตร ทางเรือ มีทาเทยี บเรือ 7 ทา ดังนี้ 1. ทา จักรวรรดิ 2. ทาเรือดวนราชวงศ 3. ทาเรอื สวัสด์ิ 4. ทา เรือราชวงศ 5. ทาศาลเจา 6. ทาเทยี บเรือซอย 7. ทาคลองถมปทุมคงคา การประกอบอาชีพ ประชากรในเขตสมั พันธวงศ สวนใหญมอี าชพี ประกอบธรุ กจิ เชน คาขาย ศาสนา ประชากรในเขตสัมพันธวงศ มีทั้งนับถือศาสนาพุทธ คริสต และอิสลาม โดยประชากรสวน ใหญ นบั ถือศาสนาพุทธ วดั และศาลเจา วัด ในเขตสัมพันธวงศ สามารถจําแนกประเภทของวัดได 3 ลักษณะ คือ วัดไทย วัดญวน และวัดจีน ดงั นี้ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตสัมพนั ธวงศ

5 วดั ไทย จํานวน 7 วัด ประกอบดวย 1.วัดไตรมิตรวทิ ยารามวรวหิ าร 2.วัดปทุมคงคาวนาราม 3.วัดสัมพันธวงศาราม 4.วดั จักรวรรดริ าชาวาสวรมหาวหิ าร 5.วัดบพติ รพมิ ขุ 6.วัดชยั ชนะสงคราม 7.วดั กนั มานตุ าราม วัดญวน จาํ นวน 5 วัด ประกอบดว ย 1.วดั โลกานเุ คราะห 2.วัดชยั ภูมิ 3.วดั กุศลสมาคร 4.วดั อุภัยราชบาํ รุง 5.วดั มงคลสมาคม วัดจีน จาํ นวน 2 วัด ประกอบดวย 1.วดั มงั กรกมลาวาส (วัดเลง เนยยี่) 2.วดั บําเพญ็ จีนพรต ศาลเจา ในเขตสมั พนั ธวงศ มดี วยกนั 22 ศาลเจา แตทส่ี าํ คญั ๆ มี 4 ศาล ดวยกนั 1. ศาลเจาเลงบวยเอย๊ี ะ 2. ศาลเจา อาเน้ียเก็ง 3. ศาลเจาโรงเจบุญสมาคม 4. ศาลเจา มูลนธิ เิ ทยี นฟา มัสยิด เขตสัมพนั ธวงศ มมี สั ยิด จํานวน 1 แหง คอื ยมตี ุลอสิ ลาม (หลวงโกชาอศิ หาก) โบสถค ริตส เขตสัมพันธวงศ มีโบสถคริตสโรมันคาทอลิก จํานวน 1 แหง คือ โบสถแมพระประคํา (กาลหวา ร) การบรกิ ารดา นสาธารณสุข เขตสมั พันธวงศ มสี ถานพยาบาล 2 แหง คือ 1. โรงพยาบาลเทยี นฟามลู นิธิ 2. ศนู ยบรกิ ารการสาธารณสขุ 13 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตสัมพันธวงศ

6 สถาบนั การศึกษา ในเขตสัมพนั ธวงศ ท้งั ของภาครัฐ และเอกชน มดี วยกนั 12 แหง ประกอบดวย 1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตบพติ รพมิ ขุ 2. วิทยาลัยสารพัดชางสีพ่ ระยา 3. โรงเรียนไตรมติ รวทิ ยาลยั 4. โรงเรียนกุหลาบวฒั นา 5. โรงเรยี นวดั จักรวรรดิ์ 6. โรงเรียนวดั สัมพนั ธวงศ 7. โรงเรยี นเผยองิ 8. โรงเรยี นกุหลาบวิทยาลัย 9. โรงเรยี นวัดปทุมคงคา 10. โรงเรียนมหาวีรานุวตั ร 11. โรงเรียนวัดชนะชัยสงคราม 12. ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตสัมพันธวงศ สถานีตํารวจ เขตสัมพนั ธวงศ มสี ถานตี ํารวจ จํานวน 1 แหง คือ สถานีตํารวจนครบาลจกั รวรรดิ สภาพทางภมู ศิ าสตร เขตสัมพนั ธวงศ มีพ้ืนที่ท้ังหมดประมาณ 1.416 ตารางกิโลเมตร นับเปนเขตกลุมช้ันในขนาด เล็กท่ีมีพื้นท่ีนอยท่ีสุดของกรุงเทพมหานคร เปนที่ราบริมฝงแมนํ้าเจาพระยาตอนเหนือ มีอาณาเขตติดตอ ดังตอไปน้ี ทศิ เหนือ จรดถนนเจรญิ กรงุ จากสะพานเจรญิ สวสั ดถ์ิ ึงสะพานดํารงสถิต ทิศใต จรดแมน ํ้าเจาพระยาชวงปากคลองผดุงกรุงเกษมถึงปากคลองโองอาง (คลองรอบกรุง) ทศิ ตะวนั ออก จรดคลองผดงุ กรงุ เกษมชวงสะพานเจริญสวัสดถ์ิ ึงปากคลองผดุงกรงุ เกษม ดา นทศิ ใต ทิศตะวันตก จรดคลองโองอา งชวงสะพานดาํ รงสถิตถงึ ปากคลองโองอา งดา นทศิ ใต รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตสมั พนั ธวงศ

7 ภาพที่ 1 แผนทเี่ ขตสัมพันธวงศ ที่มา : http://www.bma-cpd.go.th/db/doc/khetmap_A3/samphantawong.pdf รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เขตสัมพันธวงศ

8 สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม สภาพทางเศรษฐกิจในเขตสัมพันธวงศมียา นการคา ทสี่ ําคัญหลายแหง ซึง่ เปน ยา นการคาทีเ่ คย รงุ เรอื งมาตง้ั แตสมยั รัตนโกสนิ ทรต อนตน เชน ยา นธรุ กิจการคา และอุตสาหกรรมทสี่ าํ คญั ๆ ในเขตสมั พันธวงศ มกี ารรวมตัวของธรุ กจิ ประเภทเดยี วกนั แบงแยกเปนยานไดอ ยา งชดั เจน ดงั นี้ - ยา นคา ทองคาํ อยบู รเิ วณชวงกลางทั้งสองฟากของถนนเยาวราช ลักษณะเชนน้ีทําใหมีผูคน เรียกขานถนนเยาวราชในชวงน้ีวา ถนนทองคํา นอกจากน้ันยังพบรานคาเพชรพลอยอยูบริเวณถนนจักรวรรดิ์ สว นในเวลากลางคืนบริเวณทางเทา จะเปลยี่ นเปน ทตี่ ง้ั รานอาหาร ซึ่งมีมากมายหลายชนิดและเปนท่ีขึ้นชื่อมาก โดยเริม่ จากส่ีแยกถนนทรงสวัสดิ์จนถงึ ส่ีแยกราชวงศ เยาวราช เปนยานสรรพสินคาชั้นนํา สถานเริงรมย แหลง สนิ คา อุปโภคบริโภคจากเมอื งจนี เกอื บทุกชนดิ - ยานเวิ้งนครเกษม เปนยานรานคาของเกา ประเภทเคร่ืองประดับและวัตถุโบราณ เฟอรน ิเจอรราคาแพง หนังสอื อานเลน เคร่อื งดนตรี เคร่อื งจกั รกล - ยานทรงวาดและริมแมน้ําเจาพระยา เปนพ้ืนท่ีเกาแกเชนกัน เดิมเปนทาเรือใหญระหวาง จังหวัด ซ่ึงมีผลทําใหมีโกดังเก็บรักษาพืชผลและเมล็ดพืช เชน ขาว ขาวโพด ปจจุบันยานคาสงขาว แปงและ พืชผลทางการเกษตร - ยานคากระสอบและอะไหล ผาและของเบ็ดเตล็ด บรเิ วณรอบวดั สมั พนั ธวงศ - ยานคา เคร่ืองเหลก็ อุปกรณแ ละเครอ่ื งมอื ตา งๆ บรเิ วณวงเวยี นโอเดยี น - ยา นคา เครอื่ งหนัง กระเปา รองเทา ในถนนสําเพง็ หรอื ถนนวานชิ ๑ - ยานสนิ คา ของเด็กเลน บริเวณถนนมังกร เปนยานที่มขี นาดเลก็ และผูคนไมพ ลุกพลา นเทา สาํ เพง็ แตมผี ูซ ือ้ ผขู ายตลอดเวลา - ยานตลาดเกา มีตลาดสด อาหารสด อาหารแหง และผลไมจากประเทศจีน บริเวณถนน มังกรตรอกอิสรานุภาพและถนนแปลงนามมีท้ัง 2 ฝงถนนเยาวราช เปนยานท่ีสะทอนความเปนไชนาทาวนได เปนอยา งดี - ยานสถาบันการเงิน บริเวณส่ีแยกราชวงศ ปจจุบันยังคงมีสถานบันการเงินทั้งธนาคารและ บริษัทเงินทุนหลักทรัพยอยูลักษณะความเปนยานท่ีมี นอกจากจะมีความหลากหลายในแตละพื้นที่ใน เขตสัมพันธวงศแลว ยังมีการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมในแตละชวงเวลาดวย ลักษณะอันเปนเอกลักษณน้ี จะมีผล ตอการวางแผนจัดการระบบโครงการสรางพื้นฐานและดํารงอยูซ่ึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจของพ้ืนที่ เขตสมั พนั ธวงศ ลกั ษณะทางสงั คมและชุมชน การรวมกลุมในเขตสัมพันธวงศมีลักษณะ ไดแก องคกรชุมชน กลุมอาชีพทางการคา กลุม วฒั นธรรมและศาสนา และกลมุ บาํ เพ็ญประโยชนซ่ึงท้ังหมดจะไมแยกกันชัดเจน แต บางครัง้ จะเปน กลมุ ที่ซอนกนั บาง เชน เปนสว นหนึง่ ของกลุม ชมุ ชนจะมกี ลมุ อาชพี อยู รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตสมั พนั ธวงศ

9 กลุมชุมชน ในปจจุบันมี 18 ชุมชนที่ไดจดทะเบียนกับสํานักพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานคร เปนชมุ ชนทเี่ รยี กวา ชุมชนเมอื ง มีทง้ั ท่ีเชาและเปน เจาของเอง สว นใหญม ฐี านะดแี ละรวมมอื กบั ทางราชการเปน อยางดี กลุมอาชีพ จะรวมกลุมกันตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจและไมจําเปนวาจะตองอยูภายใน เขตสัมพนั ธวงศเ ทา นน้ั เชน สมาคมพอ คาผา สมาคมพอ คายา สมาคมผคู า ทอง กลุมวฒั นธรรมและศาสนา ทเี่ ห็นชัดเจน คือ สมาคมตระกลู ตางๆ ซึ่งไมไดจําเพราะเจาะจงวา จะเปนผูอยูอาศัยในเขตสัมพันธวงศเทาน้ัน แตในเขตจะเปนศูนยกลางท่ีนับไดวาใหญที่สุดในประเทศไทย รวมทั้งกลมุ ศาลเจา มสั ยดิ โบสถครสิ ตด วย นอกจากนั้นยังมีสมาคมที่บําเพ็ญประโยชน เชน สมาคมกุศลสงเคราะห สมาคมสงเคราะห มิตรชัยภูมิ ความสัมพันธวงศของชุมชนกับวัดในศาสนาตางๆ ยังมีอยูมาก และสวนใหญจากการสังเกตและ สมั ภาษณกย็ งั มีความอยูเย็นเปนสุข ในสวนของชุมชนประมาณ 1 ใน 3 จะไมเคยรวมกิจกรรมในชุมชนเลยแต สวนใหญ 60% จะรวมเปน บางครั้ง ท่ีนาสนใจ คือ ความสัมพันธในชุมชนท้ังเขต ประมาณ 30% จะรูจักกันดีในละแวก(มากกวา 20 หลัง) และในปจจุบันชุมชนไดมีสัญลักษณของศูนยรวมความเปนไชนาทาวนท่ีย่ิงใหญและมีความหมายสื่อ ถึงการรวมกลุมทางสังคมของชุมชนคือ ซมุ ประตูไทย – จนี เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา ซึง่ ต้ังอยบู ริเวณวงเวียน โอเดียน รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เขตสมั พันธวงศ

10 โครงสรางการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ผูอ าํ นวยการ คณะกรรมการสถานศกึ ษา กลุม อํานวยการ กลุม สง เสรมิ ปฏบิ ัติการ กลุมประสานเครอื ขา ยและ กิจการพเิ ศษ - งานธุรการ และสารบรรณ - งานสงเสริมการรหู นงั สือ - งานการเงนิ - งานการศึกษาพ้นื ฐาน - งานการศกึ ษาตอเน่อื ง - งานบัญชี นอกระบบ - งานการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นา - งานงบประมาณ - งานพฒั นาหลักสูตร อาชีพ - งานพัสดุ - งานทะเบียน - งานการศึกษาเพือ่ พฒั นา - งานบคุ ลากร - งานวัดผล ทักษะชีวติ - งานอาคารสถานที่ - งานศูนยบ รกิ ารใหค าํ ปรกึ ษา - งานการศึกษาเพื่อพฒั นา - งานแผนงานและโครงการ แนะนาํ สังคมและชุมชน - งานประชาสมั พันธ - งานกองทนุ กยู มื เพ่อื การศกึ ษา - งานขอมูลสารสนเทศและ - งานจดั กระบวนการเรียนรู การรายงาน เศรษฐกจิ พอเพียง - งานควบคมุ ภายใน - งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย - งานนเิ ทศภายใน ตดิ ตาม (พัฒนาแหลงเรยี นรู และประเมนิ ผล ภมู ปิ ญ ญาทองถนิ่ ) - งานประกันคณุ ภาพภายใน - งานพฒั นาสื่อ นวตั กรรม สถานศึกษา และเทคโนโลยี - งานเลขานุการคณะกรรมการ - งานกิจการนักศกึ ษา - งานสงเสรมิ สนบั สนนุ ภาคี สถานศึกษาและอาสาสมคั ร เครอื ขา ย กศน. - งานกจิ การพิเศษ - งานกจิ การลูกเสอื และ ยวุ กาชาด รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เขตสมั พนั ธวงศ

11 จาํ นวนผเู รียน/ผูเขรบั การอบรม/ผูรบั บรกิ าร และจํานวนคร/ู วทิ ยากร/ผูจัดกจิ กรรม หลักสูตร/ประเภท จาํ นวนผูเ รยี น จาํ นวนคร/ู วิทยากร/ผูจดั (คน) รวม กจิ กรรม (คน) ชาย หญงิ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน - ระดบั ประถมศึกษา 11 24 35 1 - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน 185 96 281 2 - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 233 147 380 3 รวมจํานวน 429 267 696 6 การศึกษาตอ เนอื ง การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต - โครงการทกั ษะชีวิตในศตวรรษที่ 21 22 41 63 3 - โครงการสง เสริมดูแลสุขภาวะละสขุ อนามัย 25 37 62 3 ของประชาชนในชมุ ชนเก่ียวกบั โรคไมตดิ ตอ (NCDs) รวมจํานวน 47 78 125 6 การศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คม และชุมชน - โครงการแยกขยะกอ นทง้ิ ลดขยะ ลดโลกรอน 24 12 36 2 - โครงการอบรมประชาธิปไตย 9 11 20 1 - โครงการเตรยี มความพรอ มกอ นเขาสวู ยั ผูสูงอายุ 0 16 16 1 - โครงการผลิตภณั ฑสาํ หรบั ใชใ นครัวเรอื น 7 9 16 1 - โครงการอบรมการใชกฎจราจรอยา งถกู วิธี 16 14 30 1 รวมจาํ นวน 56 62 118 6 การศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 17 18 35 3 - โครงการอบรมเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การ 7 24 31 3 ดาํ เนนิ ชวี ติ ประจาํ วนั 24 42 66 6 - โครงการเพาะเหด็ ฟางในตะกรา ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมจาํ นวน รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เขตสมั พนั ธวงศ

12 หลกั สตู ร/ประเภท จํานวนผเู รยี น จํานวนคร/ู วิทยากร/ผจู ัด (คน) รวม กิจกรรม (คน) การศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ กลุมสนใจ ชาย หญงิ 1 - หลักสูตรทําพวงมาลัยจากรบิ บิน้ 3 - หลกั สูตรโคมไฟลายสบั ปะรดจากลูกปด 088 2 - หลักสูตรเครอ่ื งประดบั จากคริสตัลโมดาร 1 27 28 3 - หลกั สูตรอาหารวาง 0 21 21 1 - หลกั สูตรการทาํ ซชู ิ 1 26 27 1 - หลักสูตรเครอ่ื งประดับผมจากผา 5 12 17 1 - หลักสูตรเครอื่ งดื่มสมทู ต้ี 0 18 18 1 - หลักสูตรตนไมโ คมไฟ 0 11 11 13 0 12 12 รวมจาํ นวน 7 135 142 2 กลุม 1 อาํ เภอ 1 อาชพี 1 - หลกั สูตรเบเกอรร่ี 1 26 27 3 - หลกั สตู รขนมไทย 0 12 12 1 12 39 1 รวมจาํ นวน 1 กลมุ ชนั้ เรยี น 31 ชวั่ โมงขึน้ ไป 0 15 15 1 - หลกั สตู รศิลปะประดิษฐจากผา 0 20 20 1 - หลักสูตรผลิตภณั ฑส านจากเสน พลาสตกิ 2 14 16 1 - หลกั สตู รธุรกจิ รา นกาแฟ 0 20 20 1 - หลกั สตู รตะกรา เมครา เมจากเชอื กฟาง 0 18 18 6 - หลกั สูตรผลติ ภณั ฑถักจากเชอื กรม 15 0 15 - หลักสตู รชางไม 17 87 104 3 รวมจํานวน 37 23 60 3 โครงการอนื่ ๆ ตามนโยบาย - โครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สารดาน 32 60 92 อาชพี - โครงการสรางเครอื ขายดจิ ทิ ลั ชมุ ชนระดบั ตําบล รวมจาํ นวน 69 83 152 6 รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เขตสัมพนั ธวงศ

13 หลกั สตู ร/ประเภท จาํ นวนผูเรียน รวม จํานวนคร/ู วทิ ยากร/ผูจ ัด (คน) กิจกรรม (คน) การศึกษาตามอัธยาศยั 1,062 - โครงการสงเสริมการอานรปู แบบหนังสือพิมพ ชาย หญงิ 1,062 3 แขวง 3 425 637 รวมจาํ นวน 425 637 จาํ นวนบคุ ลากร ตํ่ากวา ป.ตรี จาํ นวน (คน) รวม 0 ป.ตรี ป.โท ป.เอก 1 ประเภท/ตาํ แหนง 0 010 1 0 100 4 1. ผูบริหารสถานศึกษา 0 300 0 2. ขาราชการครู 1 000 1 3. พนกั งานราชการ 1 000 6 4. ครศู ูนยการเรียนชมุ ชน 410 5. เจา หนาท่ีบรหิ ารงานทั่วไป รวมจาํ นวน งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณทใี่ ช ประเภทงบประมาณ ทไ่ี ดร บั จํานวน (บาท) คดิ เปน รอ ยละ เงินงบประมาณ 10,000.00 9,929.00 99.29 1. งบดาํ เนนิ งาน 5,000.00 5,000.00 100.00 12,000.00 11,996.35 99.97 - คา เบยี้ เลีย้ ง 360,000.00 360,000.00 100.00 - คา ปฏบิ ัตงิ านนอกเวลาราชการ 3,000.00 2,998.00 99.93 - คาสาธารณูปโภค 13,800.00 13,800.00 100.00 - คา เชาสาํ นกั งาน 19,200.00 19,200.00 100.00 - คา วสั ดุสาํ นักงาน 36,000.00 36,000.00 100.00 - ทักษะชวี ติ 3,300.00 3,297.00 99.91 - เศรษฐกจิ พอเพยี ง 20,400.00 11,652.30 57.12 - พฒั นาสังคมและชมุ ชน - สง เสริมการรหู นังสอื - คาอินเทอรเ นต็ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตสัมพนั ธวงศ

14 ประเภทงบประมาณ งบประมาณ งบประมาณทใ่ี ช ท่ไี ดรบั จํานวน (บาท) คดิ เปนรอ ยละ - คาหนังสือพมิ พแ ขวง 7,350.00 7,350.00 100.00 2. งบเงนิ อดุ หนุน 159,427.00 159,373.00 99.96 - คา หนังสอื เรียน 200,060.00 180,150.00 90.04 - คา กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเรียน 474,968.00 471,091.64 99.18 - คาจัดการเรยี นการสอน 3. งบรายจายอน่ื 79,800.00 79,800.00 100.00 - โครงการศูนยฝ ก อาชีพชมุ ชน กลมุ สนใจ 81,000.00 81,000.00 100.00 - โครงการศนู ยฝกอาชีพชมุ ชน วิชาชพี พ้ืนฐาน 31 ชวั่ โมงขึน้ ไป 30,600.00 30,600.00 100.00 - โครงการศนู ยฝ ก อาชีพชมุ ชน 1 อําเภอ 1 อาชพี 26,274.00 26,274.00 100.00 - โครงการสรางเครอื ขายดจิ ทิ ลั ชุมชนระดับตาํ บล 93,000.00 93,000.00 100.00 - โครงการภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สารดา นอาชีพ เงนิ นอกงบประมาณ 117.00 0.00 0.00 - เงินรายไดสถานศกึ ษา แหลงเรียนรแู ละภาคีเครอื ขาย ท่ตี ั้ง ผูรบั ผิดชอบ กศน.ตาํ บล กศน. เขตสมั พนั ธวงศ นางสาวพรญาณี สนคาํ วดั ไตรมติ รวทิ ยาราม 1. จักรวรรดิ กศน. เขตสัมพนั ธวงศ นางสาววาสนา สรอ ยสนุ ทร 2. ตลาดนอย 3. สัมพันธวงศ 3 นายเกียรตศิ กั ด์ิ ไชยฉมิ ที่ตัง้ รวมจาํ นวน วัดไตรมิตรวิทยาราม 3 ศูนยการเรียนชมุ ชน ผูรับผิดชอบ ศูนยการเรยี นชมุ ชนวัดไตรมติ ร 1 1. นางพันธนนั ท เกดิ มี ประเภทแหลง เรยี นรู 2. นางสาววาสนา สรอ ยสนุ ทร รวมจํานวน ส่งิ ทีม่ นุษยสรา งข้นึ 3. นายเกยี รติศักด์ิ ไชยฉิม แหลงเรยี นรอู น่ื 1. วัดไตรมติ รวทิ ยารามวรวหิ าร 3 ที่ตั้ง วดั ไตรมิตรวทิ ยาราม ถนนตรีมิตร แขวงตลาดนอ ย เขตสมั พนั ธวงศ กรุงเทพฯ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ

15 แหลงเรยี นรอู ่ืน ประเภทแหลงเรยี นรู ทต่ี งั้ 2. ตลาดเยาวราช กจิ กรรมทางสงั คม ถนนมังกร แขวงสมั พันธวงศ เขตสัมพนั ธวงศ กรุงเทพฯ 3. ตลาดสาํ เพ็ง กจิ กรรมทางสังคม ถนนมังกร แขวงสัมพันธวงศ เขตสมั พนั ธวงศ กรุงเทพฯ 4. โบสถก าลหวาร ส่ิงทมี่ นษุ ยสรา งขึน้ แขวงตลาดนอย เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพฯ 5. ซุม ประตูเฉลิมพระเกยี รติ 6 รอบพระ ส่งิ ทม่ี นษุ ยสรางข้นึ ถนนมังกร แขวงสัมพันธวงศ ชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เขตสมั พนั ธวงศ กรุงเทพฯ ภูมิพลอดลุ ยเดช 5 ความรคู วามสามารถ 5 รวมจํานวน ที่อยู ภูมปิ ญญาทอ งถิ่น ซ.วานชิ 2 แขวงตลาดนอ ย เขตสมั พันธวงศ กทม. 1. นางพรทิพย เตมิ โรจนสนิ การทาํ ซาลาเปา ซ.ผูอ ะไหลเกา แขวงตลาด นอ ย เขตสัมพันธวงศ กทม. 2. นางวชั รี แซลี้ การทาํ บะจาง 3. นางอรณุ ี จักษต รีมงคล ภาษาจีนกลาง 86 ถ.ศภุ มติ ร แขวงวดั โสมนัส 4. นายสรัชญนนท บณุ ยวริ ยิ านนท คอมพวิ เตอร เขตปอ มปราบศตั รูพา ย กทม. 5. นางสาวกนกพร คงเกษม สรอ ยขอ มือ ลกู ปด 6. นางนิรมล ขนั ธนิเทศ ภาษาองั กฤษ 12 ซ.สุกร แขวงตลาดนอย เขตสัมพนั ธวงศ กทม. 7. นายเกยี รตศิ กั ด์ิ ไชยฉิม ตน ไมม งคล,รมการบรู 265 ถ.เจรญิ รกั แขวงคลองสาน 8. นางสาววาสนา สรอ ยสุนทร เหรยี ญโปรยทาน,ดอกไมจาก เขตคลองสาน กทม. 9. นายศนุ ันทพิ ัฒน ออ นศรี เกร็ดปลา 11/11 ซ.สลี ม ถนน.สีลม พานบายศร,ี กรวยดอกไมธ ปู แขวงสลี ม เขตบางรกั กทม. เทยี นแพ, เครอื่ งทองนอ ย กศน.เขตสมั พนั ธวงศ 798/2 อาคารณัฐภูมิ แขวงตลาดนอย เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพฯ กศน.เขตสมั พนั ธวงศ 798/2 อาคารณฐั ภูมิ แขวงตลาดนอ ย เขตสัมพันธวงศ กรงุ เทพฯ กศน.เขตสมั พนั ธวงศ 798/2 อาคารณัฐภมู ิ แขวงตลาดนอย เขตสัมพนั ธวงศ กรงุ เทพฯ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขตสมั พนั ธวงศ

16 ภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่นิ ความรคู วามสามารถ ทอี่ ยู 10. นางพนั ธนนั ท เกดิ มี เหรยี ญโปรทาน กศน.เขตสมั พันธวงศ 798/2 อาคารณฐั ภูมิ แขวงตลาดนอย เขตสัมพันธวงศ กรงุ เทพฯ 11. นางสาวพรญาณี สนคาํ ศลิ ปะประดษิ ฐจากผา กศน.เขตสมั พันธวงศ 798/2 อาคารณัฐภูมิ แขวงตลาดนอ ย เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพฯ รวมจาํ นวน 11 11 ภาคเี ครอื ขา ย ทอ่ี ย/ู ทตี่ ้งั แขวงจักรวรรดิ 1. ชมุ ชนริมคลองโองอา ง 94 ตรอกสะพานหนั แขวงจกั วรรดิ เขตจกั รวรรดิ กรงุ เทพฯ 2. ชมุ ชนสะพานหัน 175 ตรอกสะพานหัน แขวงจกั วรรดิ เขตจกั รวรรดิ กรุงเทพฯ 3. ชุมชนภิรมย 96 ถนนทรงวาส แขวงจักวรรดิ เขตจกั รวรรดิ กรุงเทพฯ 4. ชุมชนอิสรานุภาพ 439 ตรอกอิสรานุภาพ แขวงจกั วรรดิ เขตจกั รวรรดิ กรุงเทพฯ 5. ชมุ ชนเลอ่ื นฤทธ์ิ 166 ซอยเลอ่ื นฤทธ์ิ แขวงจักวรรดิ เขตจกั รวรรดิ กรงุ เทพฯ 6. ชมุ ชนมิตรชัยภูมิ 146 ตรอกชัยภูมิ แขวงจักวรรดิ เขตจักรวรรดิ กรงุ เทพฯ แขวงตลาดนอย 7. ชมุ ชนโปลศิ สภา 199 ตรอกโปลิสภา แขวงตลาดนอย เขตตลาดนอ ย กรุงเทพฯ 8. ชุมชนผูคาอะไหลเ กา 857/6 ตรอกวานชิ 2 แขวงตลาดนอย เขตตลาดนอย กรุงเทพฯ 9. ชุมชนโชฎกึ 44/40-41 ตรอกโพธ์ิ แขวงตลาดนอ ย เขตตลาดนอ ย กรงุ เทพฯ 10. ชุมชนจงสวัสดิ์ 61/17 ตรอกโปลศิ สภา แขวงตลาดนอย เขตตลาดนอย กรงุ เทพฯ 11. ชมุ ชนวานชิ สมั พันธ 161 ตรอกวานชิ 2 แขวงตลาดนอย เขตตลาดนอ ย กรุงเทพฯ 12. ชุมชนตลาดนอ ย 282 ตรอกตลาดนอ ย แขวงตลาดนอย เขตตลาดนอย กรุงเทพฯ แขวงสมั พันธวงศ 13. ชุมชนตรอกโพธิ์ 60 ตรอกโพธ์ิ แขวงสัมพนั ธวงศ เขตสมั พนั ธวงศ กรงุ เทพฯ 14. ชุมชนกุศลสามัคคี 44 ตรอกวัดกศุ ลสมาคร แขวงสมั พันธวงศ เขตสัมพันธวงศ กรงุ เทพฯ 15.ชุมชนพาดสาย 65 ตรอกขาวสาร แขวงสัมพนั ธวงศ เขตสัมพันธวงศ กรงุ เทพฯ 16. ชุมชนพิพากษา 44 ตรอกพิพากษา แขวงสัมพนั ธวงศ เขตสมั พันธวงศ กรงุ เทพฯ 17. ชุมชนกรมภูธเรศร 1/71 ตรอกภธู เรศร แขวงสัมพนั ธวงศ เขตสมั พนั ธวงศ กรงุ เทพฯ 18. ชมุ ชนเลงบว ยเอี้ยะ 146 ซอยเจรญิ 16 แขวงสัมพันธวงศ เขตสมั พันธวงศ กรงุ เทพฯ 19. สาํ นกั งานเขตสัมพันธวงศ 37 ถนนโยธา แขวงตลาดนอย เขตสัมพนั ธวงศ กรุงเทพฯ 20. ศนู ยบ ริการสาธารณสุข 13 ไมตรวี านชิ ถนนไมตรวี านชิ แขวงสมั พนั ธวงศ เขตสัมพันธวงศ กรรงุ เทพฯ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเขตสมั พนั ธวงศ

17 ภาคเี ครอื ขา ย ทีอ่ ย/ู ที่ตัง้ 21. สถานีตาํ รวจนครบาลพลบั พลาไชย 447 ถนนพลบั พลาไชย แขวงปอ มปราบ เขตปอมปราบศัตรพู า ย กรงุ เทพมหานคร 10100 1-2 22. สถานตี ํารวจนครบาลจักรวรรดิ 324 ถนนจกั รวรรดิ แขวงจักรวรรด์ิ เขตสมั พนั ธวงศ กรุงเทพมหานคร 10100 รวมจาํ นวน 22 รางวัล เกียรตบิ ตั ร และผลงานดเี ดน ของสถานศกึ ษา 1. เกียรติบัตรแสดงวา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ เปน สถานศกึ ษาดเี ดน ทม่ี กี ารบรหิ ารจัดการและจัดการเรียนรู ดวยความมุงม่ันต้ังใจและความเสียสละไดอยางดีย่ิง ใหไว ณ วนั ที่ 13 กนั ยายน 2562 โดยสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 2. เกียรติบัตรแสดงวา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ ใหการ สนับสนุนสงนักศึกษาเขารวมประกวดโครงงานสะเต็มศึกษาสูการประกอบอาชีพตามแนวทางพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง พ.ศ. 2562 ใหไ ว ณ วนั ที่ 11 สิงหาคม 2562 โดยสาํ นกั งาน กศน. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ทผี่ า นมา 1. ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปงบประมาณทผ่ี า นมา มาตรฐาน/ตวั บงช้ี นํ้าหนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนน ระดบั ท่ไี ด คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รยี น/ผูร บั บริการ 35 29.50 ดมี าก การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ตัวบง ชีท้ ี่ 1.1 ผเู รยี นการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานมคี ุณธรรม 5 4.50 ดมี าก 5 4.50 ดีมาก ตวั บงชี้ท่ี 1.2 ผูเรยี นการศึกษาขัน้ พื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคดิ ทกั ษะการแสวงหาความรู เรยี นรูอยางตอเนื่อง และ สามารถนาํ ไปประยุกตใ ชใ นการดํารงชีวติ ตัวบง ชี้ที่ 1.3 ผูเ รยี นการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานมีความรูพ ้นื ฐาน 5 3.00 พอใช การศึกษาตอ เนอ่ื ง 5 4.50 ดมี าก ตวั บงช้ที ่ี 1.4 ผเู รยี นหรอื ผเู ขา รับการอบรมมีความรู ความสามารถ 5 4.50 ดีมาก และทักษะในการประกอบอาชพี ตัวบง ชี้ที่ 1.5 ผเู รยี นหรอื ผเู ขา รับการอบรมปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตสมั พนั ธวงศ

18 มาตรฐาน/ตวั บง ช้ี น้ําหนกั ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนน ระดบั ตัวบงชท้ี ่ี 1.6 ผูเ รยี นหรอื ผูเ ขา รบั การอบรมสามารถใชเ ทคโนโลยีได ทไ่ี ด คณุ ภาพ อยา งเหมาะสม 5 4.50 ดีมาก การศึกษาตามอัธยาศยั 5 4.00 ดี ตัวบง ชท้ี ่ี 1.7 ผูรับบรกิ ารไดร บั ความรูแ ละ/หรอื ประสบการณจ ากการ 45 40.50 ดีมาก เขารวมกิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษา/การใหบ ริการ 5 4.50 ดมี าก การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 5 4.50 ดีมาก ตวั บงชที้ ่ี 2.1 คุณภาพครูการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 5 4.50 ดมี าก ตัวบง ชท้ี ่ี 2.2 คุณภาพของหลกั สูตรสถานศึกษา 5 4.50 ดีมาก ตัวบง ชที้ ี่ 2.3 คณุ ภาพส่ือตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ตวั บง ช้ีท่ี 2.4 คุณภาพการจดั กระบวนการเรยี นรูตามหลักสตู ร 5 4.50 ดมี าก 5 4.50 ดีมาก สถานศึกษา 5 4.50 ดีมาก การศึกษาตอ เนอื่ ง ตัวบง ชี้ที่ 2.5 คุณภาพวิทยากรการศกึ ษาตอเนอ่ื ง 5 4.50 ดมี าก ตัวบงชี้ท่ี 2.6 คณุ ภาพหลักสตู รและสอื่ การศกึ ษาตอ เนือ่ ง 5 4.50 ดีมาก ตวั บง ชี้ที่ 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรูก ารศึกษาตอเนอ่ื ง 20 17.00 ดมี าก การศึกษาตามอธั ยาศยั 5 4.50 ดมี าก ตัวบง ชีท้ ี่ 2.8 คุณภาพผจู ดั กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ตวั บง ชีท้ ี่ 2.9 คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั 5 4.00 ดี มาตรฐานที่ 3 ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการการศกึ ษา ตัวบงช้ที ี่ 3.1 การบริหารสถานศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ 5 4.50 ดีมาก 5 4.00 ดี พอเพียง และหลักธรรมาภบิ าล 100 87.00 ดีมาก ตัวบง ช้ีท่ี 3.2 การสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคี เครอื ขาย ตวั บงชี้ที่ 3.3 การมีสว นรว มของคณะกรรมการสถานศึกษา ตวั บงช้ีที่ 3.4 การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา รวม รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตสมั พนั ธวงศ

19 ขอ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นาจากผลการประเมินตนเอง จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เห็นควรใหสถานศึกษาจัดโครงการ/กิจกรรม เพื่อ การปรบั ปรุง หรอื พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตามลาํ ดับความสาํ คัญ ดังน้ี 1. โครงการพฒั นาผูเรยี นดา นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ดว ยวิธีสอนเสรมิ 2. โครงการพัฒนาผูเ รียนดา นคณุ ธรรมและลกั ษณะอันพ่ึงประสงค ดว ยกฬี า หรอื ลกู เสือ ยุวกาชาด 3. โครงการสมั มนาวิชาการวิทยากรการศึกษาตอเน่อื ง เพ่อื พัฒนาศกั ยภาพ 4. โครงการสง เสรมิ สนับสนุนบทบาทคณะกรรมการสถานศึกษา และภาคีเครอื ขาย 5. โครงการพฒั นาศกั ยภาพครูการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน และผูจ ัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยตนสังกัด ครัง้ ลาสุด มาตรฐาน น้ําหนกั ผลการประเมนิ คุณภาพ (คะแนน) สถานศกึ ษาโดยตนสงั กัด คะแนนทไ่ี ด ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู รียน/ผูรบั บรกิ าร 35 29.11 ดี ตวั บงชี้ที่ 1.1 ผเู รยี นมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 3 2.44 ดี ตัวบงชที้ ่ี 1.2 ผเู รยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และ 3 2.80 ดี คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค 3 2.60 ดี ตวั บง ช้ที ี่ 1.3 ผเู รยี นมีความใฝรู และเรียนรู 3 2.60 ดี 10 7.50 ดี อยา งตอ เนอ่ื ง 5 4.17 ดี ตัวบง ชท้ี ่ี 1.4 ผูเรยี น คดิ เปน ทําเปน ตวั บง ชี้ท่ี 1.5 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผูเรียนการศกึ ษา 5 4.00 ดี นอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 3 3.00 ดมี าก ตวั บง ชี้ท่ี 1.6 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผเู รยี น การศึกษาตอ เนอ่ื ง ตวั บง ช้ีท่ี 1. 7 ผเู รียนมงี านทําหรอื มีรายไดเ สริม มีทักษะใน การทาํ งาน สามารถทาํ งานรว มกับผอู ่ืนได และ มเี จตคตทิ ีด่ ตี อ อาชพี สุจรติ ตัวบงชท้ี ่ี 1.8 ความพงึ พอใจตอ การใหบริการ การศึกษาตามอธั ยาศัย รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตสัมพันธวงศ

20 มาตรฐาน นํา้ หนกั ผลการประเมินคุณภาพ (คะแนน) สถานศกึ ษาโดยตน สังกัด มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศึกษา/การ คะแนนที่ได ระดบั คณุ ภาพ ใหบ รกิ าร 25 20.40 ดี ตัวบงชท้ี ี่ 2.1 คณุ ภาพของหลกั สูตร 4 ตวั บง ช้ที ่ี 2.2 คุณภาพของครู 4 3.20 ดี ตวั บง ช้ีที่ 2.3 คณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และ 3.20 ดี 4 ผูส อนท่ีเนน ผูเรยี นเปน สําคญั 3.40 ดี ตัวบง ชีท้ ี่ 2.4 คณุ ภาพผสู อน/วิทยากรการศึกษาตอ เนอ่ื ง 3 ตวั บง ชี้ท่ี 2.5 คณุ ภาพสอ่ื ที่เออ้ื ตอ การเรียนรูข องผเู รยี นและ 2.40 ดี 3 ผรู บั บริการ 2.40 ดี ตวั บง ชี้ท่ี 2.6 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาอธั ยาศัย 4 ตัวบงชท้ี ี่ 2.7 การสรา งสงั คมแหงการเรยี นรู 3 3.40 ดี มาตรฐานที่ 3 การบริหารการศกึ ษา 10 2.40 ดี ตัวบงชที้ ี่ 3.1 คุณภาพของการบรหิ ารสถานศกึ ษา 2 8.40 ดี ตัวบงชท้ี ่ี 3.2 ระบบฐานขอ มลู เพอ่ื การบรหิ ารจัดการ 2 1.60 ดี ตวั บง ช้ที ่ี 3.3 ผลการบรหิ ารความเส่ยี ง 2 1.60 ดี ตัวบง ชี้ที่ 3.4 ผลการปฏบิ ตั ิหนาท่ขี องผูบ ริหาร 1.60 ดี 2 สถานศึกษา 2.00 ดีมาก ตัวบงชีท้ ่ี 3.5 ผลการปฏบิ ัตติ ามบทบาทของคณะกรรมการ 2 1.60 ดี สถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 4 การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 10 8.00 ดี ตัวบงชี้ท่ี 4.1 การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 5 4.00 ดี 5 4.00 ดี ตัวบงชท้ี ี่ 4.2 การประเมนิ คณุ ภาพสถานศึกษาโดยตน 10 8.00 ดี สงั กัด 5 4.00 ดี มาตรฐานที่ 5 อตั ลักษณข องสถานศกึ ษา ตัวบงชี้ที่ 5.1 ผลการพฒั นาใหบรรลเุ ปา หมายตาม 5 4.00 ดี ปรัชญา พนั ธกจิ และวตั ถปุ ระสงคการ จัดตง้ั สถานศกึ ษา ตวั บงช้ที ี่ 5.2 ผลการพัฒนาตามจดุ เนน และจดุ เดท ส่ี ะทอ น รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตสมั พนั ธวงศ

21 มาตรฐาน น้าํ หนัก ผลการประเมนิ คณุ ภาพ (คะแนน) สถานศกึ ษาโดยตน สงั กดั เอกลกั ษณข องสถานศกึ ษา คะแนนที่ได ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 6 มาตรการสงเสรมิ 10 8.00 ดี ตวั บง ช้ีท่ี 6.1 ผลการสง เสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพอ่ื 5 4.00 ดี ยกระดบั มาตรฐาน รกั ษามาตรฐานและ 5 พฒั นาสคู วามยงั่ ยืน เพ่ือใหส อดคลอ งกบั 100 4.00 ดี นโยบายทางศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 81.91 ดี ตวั บง ชที้ ี่ 6.2 ผลท่เี กดิ จากการสง เสริมการจัดการศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใน ชมุ ชน รวมคะแนน ขอ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนาจากผลการประเมินสถานศกึ ษาโดยตนสงั กัด 1. ควรมีการประเมนิ หลักสตู รสถานศึกษาอยา งตอเนื่อง เพื่อนําผลการประเมินไปปรบั ปรงุ หลักสูตรให สมบรู ณแ ละเหมาะสมกับความตอ งการของผูเรียน/ผูร บั บรกิ ารมากขึน้ 2. บุคลากรควรไดรับการพัฒนาในดานทักษะการจัดกระบวนการการเรียนในรายวิชาหลักและการ วดั ผลประเมนิ ผล สงผลตอ การพัฒนาผูเ รียนใหม คี ุณภาพ 3. สถานศึกษาควรพัฒนากระบวนการประกันคุณภาพ อยางตอเนื่อง โดยเฉพาะขั้นตอนการนําผล การนิเทศติดตามประเมินผลไปพัฒนาปรับปรุงแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําปใหครบทุกภาระงาน จะทาํ ใหก ารประกันคุณภาพมีประสทิ ธภิ าพ 3. ผลการประเมินคุณภาพภายนอก (ครงั้ ลาสดุ ) นํา้ หนกั คาคะแนน ระดบั คณุ ภาพ (คะแนน) ตวั บงช้ี 10.00 8.47 ดี กลุม ตัวบงชพี้ นื้ ฐาน 10.00 9.45 ดีมาก 1. ผเู รยี นมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทีด่ ี 10.00 8.72 2. ผเู รียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมที่พงึ ประสงค 10.00 8.66 ดี 3. ผเู รียนมคี วามใฝรู และเรียนรูอยา งตอ เนื่อง 20.00 14.77 ดี 4. ผูเ รยี น คดิ เปน ทาํ เปน ดี 5. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผเู รียน รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตสัมพันธวงศ

22 ตัวบง ชี้ นํา้ หนัก คา คะแนน ระดบั คณุ ภาพ (คะแนน) 8.00 ดี 6. ประสทิ ธิภาพของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปน 10.00 สาํ คญั 4.10 ดี 7. ประสภิ าพของการบริหารจดั การและการพัฒนาสถานศกึ ษา 5.00 8. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา 5.00 4.55 ดมี าก และตนสังกัด ผลรวมคะแนนการประเมินของตัวบงช้พี นื้ ฐาน 80.00 66.72 ดี กลมุ ตัวบง ช้อี ัตลักษณ 5.00 4.33 9. ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน พนั ธกจิ และวตั ถปุ ระสงคข องการจดั ต้ังสถานศกึ ษา 10. ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปน 5.00 4.33 ดี เอกกลักษณข องสถานศึกษา ผลรวมคะแนนการประเมินของตัวบงชอ้ี ัตลกั ษณ 10.00 8.66 ดี กลุม ตวั บงช้ีมาตรการสง เสรมิ 5.00 4.00 11. ผลการดําเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือสงเสริมบทบาทของ สถานศึกษา 12. ผลการสงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน 5.00 4.00 ดี รักษามาตรฐาน และพัฒนาสคู วามเปนเลศิ ทสี่ อดคลอ งกับแนว ทางการปฏริ ูปการศกึ ษา ผลรวมคะแนนการประเมนิ ของตัวบงชี้มาตรการสง เสริม 10.00 8.00 ดี ผลรวมคะแนนการประเมนิ ของทุกตวั บงชี้ 100.00 83.38 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสมั พนั ธวงศ

23 ขอเสนอแนะเพือ่ การพัฒนาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก 1. ดา นผลการจัดการศกึ ษา สถานศกึ ษามผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรยี นการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (N-NET) ซ่งึ อยูในระดับคุณภาพ ตอ งปรบั ปรุงเรงดว น สถานศกึ ษาควรพัฒนาเปา หมาย หรอื ตัวช้ีวัดทช่ี ดั เจนในการเพิ่มระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนของผูเรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกะดับชั้น สรางทัศนคติและความเขาใจท่ีถูกตองใหกับผูเรียนเกี่ยวกับ การสอบ (N-NET) จดั ทาํ โครงการรองรบั เพื่อพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน โดยพัฒนาเทคนิคการสอน คน ควา และจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอนใหสอดคลองกับเปาหมายท่ีสอ พัฒนาผูเรียนใหมีความเขาใจเนื้อหาการ เรียนการสอนตามหลักสูตร จัดทําคลังขอสอบ N-NET ใหผูเรียนฝกทักษะการทําขอสอบ N-NET อยาง สมํ่าเสมอ สถานศึกษาควรมีการเปรียบเทียบพัฒนาการทุกป และควรมีการพัฒนา ปรับปรุง แกไข เพ่ือ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนอยางตอเน่ือง ในดานการศึกษาตอเน่ืองสถานศึกษาควรสํารวจ ทิศทาง และแนวโนมความตองการของชุมชน การสนับสนุนจากภาครัฐในดานสงเสริมเศรษฐกิจและการ ทองเท่ียว เพ่ือเปนขอมูลในการพิจารณาพัฒนาหลักสูตรการศึกษาตอเนื่อง ซึ่งปจจุบันเร่ิมมีนักทองเที่ยว ตางชาติจากท่ัวโลก นิยมเขามาทองเที่ยวในชุมชนมากขึ้น โดยเฉพาะการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และการ รับประทานอาหารที่มีช่ือเสียงในทองถ่ินยานเยาวราช ดังน้ันหลักสูตรดานภาษา การประกอบอาหาร การ ประดิษฐของที่ระลึก นวดแผนไทย เปนตน ซึ่งอาจสอดคลองกับความตองการของตลาด และพิจารณา กลุมเปาหมายใหครอบคลุมทั้งกลุมวัยทํางาน และกลุมผูสูงอายุ โดยประสานความรวมมือกับภาคีเครือขาย และองคกรภาครัฐ ที่มีนโยบายสนับสนุนดานองคความรูการสงเสริมอาชีพและการทองเท่ียว เชน สํานักงาน พัฒนาชุมชน กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กรมสงเสริมอุตสาหกรรม การทองเท่ียวแหงประเทศไทย เปนตน สถานศึกษาควรพัฒนาดานการสงเสริมความมีวินัย ความรับผิดชอบโดยองคกรนักศึกษาท่ีมีการบริหารเปน รูปธรรม เชน การสรางขอตกลงรวมกันปฏิบัติ ผูเรียนควรไดรับการสงเสริมบันทึกการอาน กําหนดใหมี โครงสรางการบันทึก และบันทึกการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยครูเปนผูวิเคราะหผลการบันทึก นํามาใช ประกอบในการจัดทําแผนพัฒนาการสงเสริมการอานโดยผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการในทุกข้ันตอน สถานศกึ ษาควรพฒั นาดานการสงเสริมการคิดอยา งเปนระบบ คาํ นงึ ถงึ เหตผุ ลและความเปนไปได ภายใตขอมูล ท่ีเปนจริง ดวยกิจกรรมการคิดท่ีหลากหลาย ควรมีการสอดแทรกในกิจกรรมการเรียนรูทุกกิจกรรม และ เหมาะสมกับผูเรียนแตละระดับช้ัน ใหทั่วถึงและครอบคลุมผูเรียนทุกคน สถานศึกษาควรพัฒนาโครงการเพ่ือ สงเสริมอัตลักษณใ หม คี วามชดั เจนย่งิ ขึน้ และสรางการยอมรับจากชุมชนอยางตอเนื่อง สถานศึกษาควรพัฒนา เอกลกั ษณท ี่สะทอนจุดเนน จุดเดน ใหมคี วามชดั เจนตามบรบิ ทของชุมชนมากยิ่งขึน้ รวมท้งั ควรสงเสริมบทบาท ของชุมชนและขยายกลุมใหมีการดําเนินงานโครงการ/กิจกรรม เพื่อสงเสริมเอกลักษณใหเปนที่ยอมรับของ ชุมชน และองคกรภายนอกอยางตอเน่ือง สถานศึกษามีการดําเนินงานโครงการพิเศษเปนท่ียอมรับจากชุมชน และองคกรภายนอก ไดแ ก โครงการภาษาจีนเพอ่ื การสอ่ื สาร มีชุมชนขับเคล่อื นโครงการทีเขมแข็ง สถานศึกษา ควรจดั ทําโครงการ/กิจกรรมตามความตองการของชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพตามเปาหมาย เพื่อใหมีศักยภาพ เพิ่มข้ึนสถานศึกษาควรสงเสริมผูนําชุมชนโปลิศสภา ในการขยายเครือขายจัดการเรียนรูภาษาจีนกลางใหกับ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเขตสมั พนั ธวงศ

24 ชุมชนอ่ืน โดยรวมกับผูนําชุมชนอื่น ขอรับการสนับสุนนจากสํานักงานเขตสัมพันธวงศ สมาคมตางๆ ในเขต สัมพันธวงศ เพื่อใหบริการชุมชนอยางตอเนื่อง โดยมีศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เขตสัมพนั ธวงศใ หคําแนะนํา สนบั สนนุ งบประมาณและทรพั ยากรในสว นที่จาํ เปน และใหชุมชนบรหิ ารจัดการ 2. ดา นการบริหารจดั การศกึ ษา สถานศกึ ษาควรจดั ทาํ โครงงาน/กิจกรรมใหครอบคลุมขอเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่สอง สถานศึกษาควรมีความชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามแนวทางการปฎิรูปการศึกษา สถานศกึ ษาควรจดั ทําแผนปฎบิ ัตกิ ารเรยี นรทู ี่นาํ ไปใชไ ดจ รงิ การบันทกึ หลงั การสอนควรใหมคี วามชัดเจน เพ่ือ นาํ ไปสกู ารพฒั นาคุณภาพทางการศกึ ษาและนาํ มาใชเ ปน ขอมูลในการพัฒนาหลกั สูตร รวมท้ังการทําวจิ ัย ในชั้น เรียนตามรายวิชาที่สอน สถานศึกษาควรสงเสริมใหครูจัดกิจกรรมพบกลุมตามแผนการจัดการเรียนรวมกับ ผูเรียนใหครบ 9 ช่ัวโมงตอสัปดาห โดยรวมกับผูเรียน เครือขาย สํารวจสถานที่พบกลุมสํารองเพื่อใหมีการพบ กลุมไดตามกําหนด สถานศึกษาควรจัดระบบการนิเทศงานทุกงาน สถานศึกษาควรจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษาใหแลวเสร็จตามปงบประมาณและความตอเนื่อง จัดใหมีการนําโครงการ/กิจกรรมทั้งที่มี งบประมาณ ใหม ีการดาํ เนินการจรงิ และปรากฎในแผนปฎบิ ัติการประจําป จัดใหมีการตั้งเปาหมายเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เปนคารอยละในการดําเนินการ ประเมินผลและประมวลผล รายงานผลใหสอดคลองกับสภาพจริง สถานศึกษาควรจดั ทําสมุดบันทกึ การสง งานทกุ ประเภท เพื่อใชเ ปน ขอมูลในการติดตามงานและการประมวลผล งานรายบุคคล สถานศึกษาควรจัดใหมีระบบการตรวจสอบขอมูลสารสนเทศใหถูกตอง มีการจัดเก็บอยางเปน ระบบ สะดวกในการคน หา จัดทาํ สารบญั คาํ สง่ั ตรวจสอบการรายงานการประเมนิ ตนเองใหถกู ตอ ง จดั ใหมีการ รายงานผลการดําเนินงาน สถานศึกษาควรจัดใหมีการประชุมทําความเขาใจเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของ คณะกรรมการสถานศึกษา รวมกันพัฒนาสถานศึกษา รวมกันจัดทําหลักสูตรทองถ่ิน แตงตั้งคณะทํางานเพื่อ ติดตามการทาํ งานของสถานศึกษา จัดทํารายงานการประชุมสง ตน สงั กัดหลงั ประชมุ ภายใน 15 วัน สถานศึกษา ควรใหความสําคัญกับรายละเอียดของขอเสนอแนะและจัดทําโครงการ/กิจกรรมรองรับ ใหครอบคลุม ขอเสนอแนะ ใหมีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางชัดเจนทั้งดานผูเรียน ครู ผูบริหาร แหลงเรียนรูยุคใหม ตามแนวทางปฎริ ูปการศกึ ษาอยา งแทจ ริง 3. ดานการจดั การเรียนการสอนท่เี นนผูเ รียนเปนสําคัญ ครูมีประสิทธิผลในการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ แตสถานศึกษาควรวางระบบใน การพัฒนาครูและบุคลากร โดยนําผลการประเมินไปพัฒนาครูเปนรายบุคคล รวมกับสํานักงานสงเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อใหครูและบุคลากรพัฒนาความรู ดา นทักษะและเทคนิคในการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะสาระความรูพ้ืนฐานเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการ- เรียนของผูเรียน พัฒนาความรูดานการพัฒนาส่ือและนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน เทคนิคการเขียน แผนการจัดการเรียนรูรวมทั้งการพัฒนาความรูดานเทคนิคและกระบวนการวิจัยในชั้นเรียน ครูควรจัดทําการ วจิ ัยเพ่ือพฒั นาสื่อและการจัดการเรียนการสอนใหมากขึน้ สถานศกึ ษาควรจัดใหมกี ารนิเทศ การวัดผลการสอน อยางตอเน่ือง เพื่อนําไปสูการพัฒนาครูตามสภาพจริง สถานศึกษาควรจัดใหมีการพัฒนาสงเสริมการใช รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตสมั พนั ธวงศ

25 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนการสอนใหมากข้ึน ครูควรพัฒนาหรือรวบรวม และจัดทําคลังสื่อการเรียน การสอนอิเลคทรอนิกสเพื่อเปนเคร่ืองมือในการจัดการเรียนการสอน และชวยใหผูเรียนมีความเขาใจดียิ่งขึ้น เผยแพรผานระบบเครือขาย Social Network หรือ Website เพ่ือเปนทางเลือกใหกับผูเรียนท่ีไมมีเวลา ไดใช ในการศึกษาและทบทวนบทเรียน ครูควรพัฒนาเทคนิคการระดมสมองสําหรับกิจกรรมกลุม เพื่อสราง บรรยากาศการเรยี นการสอนแบบผเู รยี นมีสวนรว มมากขึ้น 4. ดา นการประกนั คณุ ภาพภายใน สถานศึกษาควรจัดใหมีการอบรมเชิงปฎิบัติการดานการประกันคุณภาพภายใน ใหกับบุคลากรทุกคน โดยบุคลากรทุกคนตองเขาสูกระบวนการประกันคุณภาพภายใน และมีการประเมินคุณภาพครู ผูเรียน สถานศึกษา จากงานที่รับผิดชอบตามสภาพจริง จัดทําโครงงาน/กิจกรรมท่ีต้ังเปาหมายรองรับตัวบงช้ี มาตรฐาน และเปรียบเทียบผลการดําเนินงานกับเปาหมาย นําผลการประเมินคุณภาพภายในไปพัฒนาผูเรียน บคุ ลากร/ครแู ละสถนศึกษาใหมีคณุ ภาพ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เขตสมั พันธวงศ

บทที่ 2 ทศิ ทางและผลการดําเนินงานของสถานศึกษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ ไดกําหนดทิศทางการ ดาํ เนนิ งานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําป โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี ทิศทางการดําเนนิ งานขขงสถานศกึ ษา ปรัชญา “พอเพยี ง คดิ เปน” วสิ ยั ทศั น “คนไทยในพ้ืนท่ีเขตสัมพันธวงศ ไดรับโอกาสการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมี คุณภาพ สามารถดํารงชวี ิตทีเ่ หมาะสมกบั ชวงวยั สอดคลอ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมีทักษะ ท่ีจําเปนในโลกศตวรรษที่ 21” พันธกจิ ของสถานศกึ ษา 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพ่ือยกระดับการศึกษา พฒั นาทกั ษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย และพรอมรับการเปลี่ยนแปลง บรบิ ททางสังคม และสรา งสงั คมแหงการเรยี นรตู ลอดชีวติ 2. ประสานภาคีเครือขาย ในการมีสวนรวมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งการดําเนินกิจกรรมของศูนยการเรียนและแหลงการเรียนรูอ่ืน ใน รปู แบบตางๆ 3. พัฒนาบุคลากร เพื่อการนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชใหเกิด ประสิทธภิ าพในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยใหก บั ประชาชนอยางทัว่ ถงึ 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ส่ือและนวัตกรรม การวัดและ ประเมนิ ผลในทกุ รูปแบบใหส อดคลอ งกับบรบิ ทในปจ จบุ ัน 5. พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา และระบบการบริหารจัดการภายในใหมี ประสทิ ธภิ าพ เพ่ือมงุ จดั การศกึ ษาและการเรียนรทู ี่มีคุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เปาประสงค และตัวชีว้ ัดความสาํ เรจ็ เปา ประสงค ตัวชวี้ ัดความสําเรจ็ 1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทาง 1. จํานวนผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษา รวมท้ังประชาชนทั่วไปไดรับโอกาสทาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ไดรับการสนับสนุนคาใชจาย การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับ ตามสิทธทิ กี่ าํ หนดไว การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาตอเน่ืองและ 7. จํานวนประชาชนกลุมเปาหมายที่เขารับการฝก รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตสมั พันธวงศ

27 เปา ประสงค ตวั ช้วี ดั ความสําเร็จ การศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ อยางเทาเทียม อาชพี เหน็ ชองทางในการประกอบอาชพี และทั่วถึง เปนไปตามสภาพ ปญหา และความ 8. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ลงทะเบียน ตองการของแตล ะกลมุ เปาหมาย เรียนท่ีมีรายไดเพ่ิมขึ้นจากการพัฒนาอาชีพตาม โครงการศูนยฝ กอาชีพชมุ ชน 18. รอยละท่ีเพิ่มขึน้ ของคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) 2. ประชาชนไดรบั การยกระดับการศกึ ษา สรางเสริม 2. จํานวนของคนไทยในพ้ืนทเ่ี ขตสัมพนั ธวงศ และปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม และความเปน กลุมเปา หมายตางๆ ที่เขารว มกจิ กรรมการเรียนร/ู พลเมืองอันนําไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตและ ไดร บั บรกิ ารกจิ กรรมการศกึ ษาตอเนอ่ื ง และ เสริมสรางความเขมแข็งใหชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู การศกึ ษาตามอธั ยาศัยทีส่ อดคลองกบั สภาพ ปญหา ความมั่นคงและย่ังยืนทางดานเศรษฐกิจ สังคม และความตอ งการ วฒั นธรรม ประวัติศาสตร และสง่ิ แวดลอ ม 4. จํานวนผูรับบริการในพ้ืนที่เขตสัมพันธวงศไดรับ การสงเสริมดานการรูหนังสือและการพัฒนาทักษะ ชีวติ 3. ประชาชนไดรบั โอกาสในการเรยี นรูแ ละมีเจตคติ 3. รอยละผูจบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอก ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมสามารถ ระบบสามารถนําความรูความเขาใจไปใชไดตาม คดิ วเิ คราะห และประยกุ ตใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั จดุ มงุ หมายของหลกั สตู ร/กจิ กรรมที่กําหนด รวมท้ังแกปญหาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ไดอ ยาง สรา งสรรค 4. ประชาชนไดร ับการสรางและสงเสริมใหม นี ิสัยรกั 5. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมท่ีสามารถอานออก การอา นเพอื่ การแสวงหาความรดู วยตนเอง เขยี นไดแ ละคิดเลขเปน ตามจดุ มงุ หมายของกิจกรรม 10. รอ ยละการอา นของประชาชนในเขตสัมพันธวงศ เพม่ิ ขึน้ 5. ชุมชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน รวมจัด 6. จาํ นวนแหลงเรียนรูในระดับตําบลท่ีมีความพรอม สงเสริม และสนับสนุนการดําเนินงานการศึกษานอก ในการใหบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการ ตามอธั ยาศยั ขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรยี นรขู องชมุ ชน 11. จาํ นวนองคก รภาคสว นตา งๆ ในเขตสัมพันธวงศ ทร่ี วมเปนภาคเี ครือขายในการดาํ เนินงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขตสมั พนั ธวงศ

28 เปาประสงค ตวั ชว้ี ัดความสําเรจ็ 6. สถานศึกษาพฒั นาเทคโนโลยีทางการศึกษา 9. จาํ นวนผูผา นการอบรมตามหลักสูตรท่กี ําหนดของ เทคโนโลยีดิจทิ ัล มาใชใ นการยกระดบั คณุ ภาพใน โครงการสรา งเครอื ขายดจิ ทิ ลั ชุมชนระดบั ตาํ บล การจัดการเรยี นรแู ละเพ่มิ โอกาสการเรยี นรูใหกบั 13. จํานวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่วั ไปท่ี ประชาชน เขาถึงบริการความรูนอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยผานชองทางสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีการสื่อสาร 16. สถานศึกษา กศน. มีการใชระบบเทคโนโลยี ดิจิทัลในการจัดทําฐานขอมูลชุมชนและการบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานการศึกษานอก ระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 7. สถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการ 12. จํานวน/ประเภทของส่ือ ท่ีมีการจัดทํา/พัฒนา เรียนรูเพื่อแกปญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ท่ี และนําไปใชเพื่อสงเสริมการเรียนรูของผูเรียน/ ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ ผูรับบริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และ อัธยาศัย สิ่งแวดลอ ม รวมทั้งตามความตองการของประชาชน และชมุ ชนในรปู แบบท่หี ลากหลาย 8. บุคลากรของสถานศึกษาไดรับการพัฒนาเพ่ือเพิ่ม 14. จํานวนบุคลากรของสถานศกึ ษาไดร ับการพัฒนา สมรรถนะในการปฏิบัตงิ านการศกึ ษานอกระบบและ เพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก การศึกษาตามอธั ยาศยั อยา งมีประสิทธิภาพ ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 9. สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการตามหลัก 15. สถานศึกษาในสังกัดท่ีมีระบบประกันคุณภาพ ธรรมาภิบาล ภายในและมกี ารจดั ทํารายงานการประเมินตนเอง 17. สถานศึกษา กศน. ทีส่ ามารถดําเนนิ งาน โครงการ/กจิ กรรม ตามบทบาทภารกิจทรี่ ับผดิ ชอบ ไดสาํ เรจ็ ตามเปา หมายทีก่ าํ หนดไวอยา งโปรงใส ตรวจสอบได โดยใชท รพั ยากรอยางคุมคา /ตามแผน ทีก่ าํ หนดไว รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสมั พนั ธวงศ

29 กลยทุ ธ กลยทุ ธที่ 1 ลุยถงึ ท่ี (การเขาถึงกลมุ เปาหมายทหี่ ลากหลายและทั่วถงึ ) สรางความเขา ใจและ ความสาํ คญั ของการเรียนรูก ารศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานนอกระบบ การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย โดย เขาถึงกลุม เปาหมาย เพื่อเจาะลึกการจดั กจิ กรรมประสานสรางเสริมเช่ือมโยงภาคีเครือขายใหเขามามีสวนรวม ในการจัดกิจกรรม ประชาสัมพันธใหบริการขอมูลขาวสารกับกลุมเปาหมายอยางทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว ตรง ตามความตอ งการในการเรียนรูของกลมุ เปาหมาย และจัดใหมกี ารทาํ แผนการเรียนรรู ายบคุ คลและรายชุมชน กลยุทธท่ี 2 ปรับกิจกรรมใหหลากหลายโดนใจผูเรียน (ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ให สอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการของกลุมเปาหมาย) จัดใหมีการพัฒนาหลักสูตร ส่ือ กระบวนการ เรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ สอดคลองกับสภาพปญหา และความตองการของกลุมเปาหมายใหมีความ หลากหลาย จัดทําขอมูลการเรียนรูรายบุคคล และรายชุมชนเพ่ือสะสมการเรียนรู และประสบการณ และให ผูเรียนสามารถเรียนรูสามารถเรียนรูดวยตนเองตามศักยภาพ จากแหลงเรียนรูท่ีหลากหลายเขาถึงไดงายและ สะดวก สามารถเรียนไดทุกที่ตลอดเวลา และสามารถเรียนรูจากการฝกปฏิบัติจริง โดยยึดหลักคุณธรรมนํา ความรู หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม หลักปรัชญาคิดเปน ภายใตการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ กลยุทธท ่ี 3 ผนึกกาํ ลงั ภาคีเครือขายและกระจายบรกิ ารการศึกษา (ผนึกกําลังเครือขายให มสี ว นรว ม) ประสานสรา งเสริมภาคเี ครือขายใหม คี วามตระหนกั ความเขา ใจ ใหความสําคัญ และมีสวนรวมใน การจัดกระบวนการเรียนรูการศึกษาขั้นพ้ืนฐานนอกระบบ การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน รูปแบบตางๆ สรางแรงจูงใจใหเกิดความรวมมือ รวมคิด รวมวางแผน รวมปฏิบัติ และรวมแกไขปญหา ตลอดจนพฒั นาการเรียนรูในชุมชน กลยทุ ธท่ี 4 พัฒนาประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการ (จดั ระบบบริหารเพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพ การบริหาร) พัฒนาบคุ ลากรใหม ีความรู ความสามารถในการบรหิ ารจดั ความรู สรา งเสริมวฒั นธรรมองคกรดวย หลักธรรมาภิบาล ปรบั วธิ ีการบริหารจัดการทรพั ยากรระหวางหนวยงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เอื้ออํานวย ตอ การบรกิ ารประชาชน ประสานการจดั การบรหิ ารดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือนําไปสูการบริการที่มี คุณภาพ พัฒนาระบบการทํางานเปนทีมงานมืออาชีพ จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาท่ีไดมาตรฐาน การศึกษานอกระบบ กลยุทธที่ 5 พัฒนาการเรียนรูดวยเทคโนโลยีทางการศึกษาและภูมิปญญา มีการพัฒนา นวตั กรรมการเรียนรู และเทคโนโลยที างการศกึ ษา จากองคความรูของภมู ปิ ญ ญา และแหลงเรียนรูมาใชในการ จัดกระบวนการเรียนรู ท้ังการศึกษาข้ันพื้นฐานนอกระบบ การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนการวิจัยและพฒั นาคุณภาพของการบรกิ าร รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตสัมพันธวงศ

30 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เปา ประสงค กลยุทธ โครงการ/กจิ กรรม จาํ นวนเปา หมาย ตัวช้วี ัด (คน) ความสาํ เรจ็ 1. ประชาชนในพน้ื ท่ี -เพิ่มและกระจายโอกาส 1. โครงการจัดการศกึ ษา เขตสมั พนั ธวงศสามารถ ใ น ก า ร เ ข า ถึ ง บ ริ ก า ร นอกระบบระดับ 280 รอยละ 80 ของผูเ ขา รว ม เขา ถึงบรกิ ารการศกึ ษา การศึกษาและการเรียนรู การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กิจกรรมมีความรูค วาม นอกระบบและการศกึ ษา ที่มีคุณภาพ 2.โครงการพัฒนาคุณภาพ 280 เขาใจตามวตั ถประสงค ตามอัธยาศยั รวมทัง้ ผเู รยี น กศน.เขตสมั การเรียนรตู ลอดชีวิตทมี่ ี -พั ฒ น า แ ล ะ เ ส ริ ม ส ร า ง พนั ธวงศ 659 รอ ยละ 80 ของผูเขารวม คณุ ภาพ และมาตรฐาน ศักยภาพคนทุกชวงวัยให 3. โครงการจดั หาหนังสือ กจิ กรรมมีความรูความ อยางท่วั ถึง มี ส ม ร ร ถ น ะ แ ล ะ ทั ก ษ ะ เรียน 12 เขาใจตามวตั ถประสงค เหมาะสม มีคุณภาพชีวิต กศน.เขตสัมพนั ธวงศ 238 2. ประชาชนในพน้ื ที่ ทด่ี ี 4. โครงการสง เสรมิ การรู รอ ยละ 80 ของผเู ขารวม เขตสมั พนั ธวงศมี หนงั สอื 150 กจิ กรรมมคี วามรูความ สมรรถนะและทกั ษะใน -สงเสรมิ และพฒั นาระบบ 5. โครงการศูนยฝก อาชพี 102 เขา ใจตามวตั ถประสงค การดาํ รงชวี ติ ทเี่ หมาะสม เทคโนโลยีดิจิทัลเ พื่อ ชุมชน 48 กบั ชว งวัย สอดคลอ งกบั การศึกษาสําหรับคนทุก โ ค ร ง ก า ร จั ด ก กิ จ ก ร ร ม รอ ยละ 80 ของผเู ขารวม หลักปรชั ญาของ ชว งวยั สํ า ห รั บ ผู รั บ บ ริ ก า ร 90 กจิ กรรมมีความรคู วาม เศรษฐกิจพอเพียง และ การศึกษานอกระบบ เขาใจตามวตั ถปุ ระสงค พรอมรบั การเปลยี่ นแปลง -พัฒนาระบบบริหารจัด -พัฒนาทักษะชวี ิต 43 ของโลกในศตวรรษที่ 21 การศึกษาและสงเสริมให -พฒั นาสังคมและชมุ ชน 90 รอยละ 80 ของผูเขา รว ม 3. สถานศึกษามรี ะบบ ทกุ ภาคสว นมบี ทบาทและ -หลักปรชั ญาของ 7 กจิ กรรมมีความรูความ เทคโนโลยที ่ีทนั สมยั และ มี ส ว น ร ว ม ใ น ก า ร จั ด เศรษฐกจิ พอเพยี ง เขา ใจตามวตั ถประสงค มปี ระสทิ ธภิ าพเพือ่ ให การศึกษา 15 บริการการศกึ ษาและการ -พัฒนาระบบบริหารจัด 1. โครงการสราง เรยี นรูตลอดชีวิตใหกบั การศึกษาและสงเสริมให เครอื ขา ยดจิ ติ ัลชมุ ชน ประชาชนอยางท่ัวถงึ และ ทุกภาคสว นมีบทบาทและ ระดบั ตาํ บล มีประสทิ ธภิ าพ มี ส ว น ร ว ม ใ น ก า ร จั ด 2. โครงการ Smart ONIE 4. สถานศกึ ษามรี ะบบ การศกึ ษา เพื่อสรา ง Smart Famer บรหิ ารจดั การทม่ี ี 3. โครงการภาษาเพื่อการ ประสทิ ธิภาพ ภายใตก าร ส่อื สารดา นอาชพี บริหารจัดการตามหลัก โครงกาพัฒนาบุคลากร ธรรมาภบิ าล ดานการประกันคุณภาพ 5. ทกุ ภาคสว นมบี ทบาท การศึกษาและการเขียน และมีสว นรวมในการ รางานการประเมินตนเอง สงเสรมิ สนบั สนนุ และ ของสถถานศึกษา จัดการศกึ ษาและ ประชุมคณะกรรมการ การเรยี นรตู ลอดชวี ติ สถานศึกษา รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เขตสัมพันธวงศ

31 แผนปฏิบตั ิการประจาํ ป โครงการ/ วตั ถุประสงค กลมุ เปา หมาย จาํ นวน พื้นท่ี ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรม เปา หมาย นกั ศึกษา กศน. เขตสมั พนั ธวงศ 1 วนั 6,640.00 1. โครงการ เพอ่ื ใหน กั ศึกษา 300 บคุ ลากร กศน. จังหวัดจันทบรุ ี 1 วนั 25,520.00 ปฐมนเิ ทศและมอบ กศน. มีความรู เขตสมั พนั ธวงศ 8 จงั หวดั นครนายก 3 วัน 2 คืน 38,020.00 บุคลากร กศน. 6 เขตสมั พนั ธวงศ ประกาศนยี บตั ร ความเขา ใจใน เขตสัมพันธวงศ 1 วนั 33,555.00 150 ผสู ําเรจ็ การศกึ ษา โครงสรา งหลักสูตร นกั ศึกษา กศน. การจัดการเรียนรู การเทียบโอนผลการ เรียน กจิ กรรม พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต การลงทะเบยี นเรียน การวดั ผล ประเมนิ ผลการเรยี น เกณฑการจบ หลกั สตู ร และนาํ ความรู ความเขา ใจ ไปใชใ นการศกึ ษา เรียนรใู หป ระสบ ความสําเรจ็ 2. โครงการพัฒนา เพ่ือใหบ ุคลากรมี บุคลากรดานจดั ความรูค วามเขาใจ การศึกษา “สะเต็ม และสามารถจดั ศกึ ษา” (STEM กระบวนการเรยี นรู Education) ดวย “สะเต็ม ศึกษา” (STEM Education) 3. โครงการพฒั นา เพอ่ื เตรยี มความ บคุ ลากรดา นการ พรอมของระบบการ จัดทาํ ระบบการ จดั ทาํ รายงานการ ประกนั คณุ ภาพ ประเมนิ ตนเองของ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษา และ การประเมินคุณภาพ สถานศึกษาโดยตน สังกดั 4. โครงการ เพ่ือใหผเู รียนมี ประวัตศิ าสตรช าติ ความรูเ รือ่ งประวติ ิ ไทยและบุญคณุ ศาสตรชาตไิ ทย และ พระมหากษัตริยไ ทย เกิดความสาํ นึกใน บญุ คณุ ของ พระมหากษัตริยไทย รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเขตสัมพนั ธวงศ

32 โครงการ/ วตั ถุประสงค กลมุ เปา หมาย จํานวน พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรม เปาหมาย เพื่อใหน ักศกึ ษาได นักศกึ ษา กศน. เขตพระนคร 2 วัน 1 คนื 36,760.00 5. โครงการสงเสรมิ ตระหนักและเหน็ 80 คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ความสําคญั ของการ นกั ศกึ ษา กศน. เขตสมั พนั ธวงศ 2 วนั 37,826.00 ภายในสถานศกึ ษา มีคุณธรรม นกั ศึกษา กศน. 150 เขตสมั พนั ธวงศ 1 วนั 15,520.00 จรยิ ธรรม นักศกึ ษา กศน. 150 เขตดสุ ติ 1 วัน 7,640.00 6. โครงการพฒั นา เพ่ือใหน กั ศึกษามี ชาติ ดว ยยทุ ธศาสตร ความรูความเขาใจ นกั ศกึ ษา กศน. 24 เขตปทุมวนั 1 วัน 30,710.00 20 ป สําหรับผเู รียน ในยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป 148 7. โครงการสบื สาน เพ่ืออบรมใหความรู ศิลปวฒั นธรรม เกีย่ วกบั มารยาท ประเพณพี ธิ ไี หวครู ไทย การกราบ การ ประจําป 2562 ไหว ในโอกาสตางๆ 8. โครงการ เพ่ือใหผเู รยี นมี ประวัตศิ าสตรช าติ ความรเู รอ่ื งประวิติ ไทยและบุญคณุ ศาสตรช าติไทย และ พระมหากษตั รยิ ไทย เกิดความสาํ นกึ ใน 2 บญุ คุณของ พระมหากษัตริยไทย 9. โครงการกีฬา เพือ่ ใหน ักศึกษา กศน. ตอ ตานยาเสพ ความเขา ใจเก่ยี วกบั ติด กศน. เขตสมั กีฬาสากล กฬี า พันธวงศ พื้นบา น และนาํ กฬี า มาพัฒนาตนเองไม เขา ไปยุง เก่ยี วกับยา เสพตดิ 10. โครงการจติ เพอ่ื สง เสรมิ ให นักศกึ ษา กศน. 52 จังหวัดสมทุ รสาคร 1 วัน 13,220.00 อาสาเราทําความดี บุคลากร นกั ศกึ ษา และจังหวัด ดวยหวั ใจ กศน. และนักเรยี น ได ปลูกปา เฉลิมพระ ศึกษาเรยี นรูแนว พระนครศรีอยุธยา เกยี รติ เน่ืองใน พระราชดําริ ดา น โอกาสมหามงคลพระ การอนุรกั ษและ ราชพิธีบรม ฟน ฟู ราชาภเิ ษก ทรพั ยากรธรรมชาติ พุทธศักราช 2562 และส่งิ แวดลอ ม ตลอดจนมสี วนรวม ในการอนรุ กั ษแ ละ ฟน ฟทู รพั ยากรปาไม ของชาติ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขตสมั พันธวงศ

33 โครงการ/ วัตถปุ ระสงค กลมุ เปา หมาย จํานวน พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรม เปาหมาย เพอ่ื ถวายเปน พระ 1 วัน 23,150.00 11. โครงการอบรม ราชกศุ ล และเฉลิม นักศกึ ษา กศน. 80 เขตสัมพนั ธวงศ คุณธรรม จริยธรรม พระเกยี รติ เฉลมิ พระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระ นักศึกษา กศน. 300 เขตสมั พนั ธวงศ 1 วนั 6,640.00 พระบาทสมเดจ็ พระ เจา อยูห วั ประชาชนท่ัวไป 6 เขตสมั พนั ธวงศ วชิระเกลา เจา อยหู วั ประชาชนทวั่ ไป 60 เขตสมั พนั ธวงศ ภาคเรยี นท่ี 3,300.00 28 กรกฎาคม 2562 เพอ่ื ใหผ เู รียนมี 2/61 6,900.00 12. โครงการปจ ฉมิ ความรคู วามเขา ใจ และ นิเทศและแสดง แนวทางการจัดสอบ นทิ รรศการผลงาน วัดผลสมั ฤทธป์ิ ลาย ภาคเรยี นที่ นักศึกษา กศน. ภาคเรียน 1/62 เพอื่ สงเสรมิ ให 13. โครงการสง เสรมิ ประชาชนในพนื้ ที่ 1 วนั การรูหนังสอื สามารถอา นออก เขยี นภาษาไทยได 14. โครงการทกั ษะ เพือ่ สงเสริมให ประชาชนทั่วไป 60 เขตสมั พนั ธวงศ 1 วนั 6,900.00 ชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 ประชาชนในพน้ื ทมี่ ี ความรคู วามเขาใจ ประชาชนทว่ั ไป 24 เขตสมั พนั ธวงศ 1 วัน 9,600.00 15. โครงการสง เสรมิ ทกั ษะที่สาํ คัญ ประชาชนทัว่ ไป 24 เขตสมั พนั ธวงศ 1 วนั 9,600.00 ดูแลสขุ ภาวะและ จาํ เปน ในศตวรรษที่ สขุ อนามัยของ 21 ประชาชนในชมุ ชน เกี่ยวกบั โรคไมต ดิ ตอ เพอ่ื ใหป ระชาชนใน (NCDs) มคี วามรูความเขา ใจ และสามารถดแู ล 16. โครงการอบรม สุขอนามัยของ เศรษฐกิจพอเพียงกับ ตนเองและ การดาํ เนนิ ครอบครวั ให ชีวติ ประจาํ วนั ปลอดภัยจากโรคไม ติดตอ (NCDs) 17. โครงการเพาะ เห็ดฟางในตะกรา เพอื่ ใหผเู ขารว ม ตามหลักปรชั ญาของ โครงการมคี วามรู เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความเขา ในการทา บญั ชีครัวเรอื นและ สามารถทําบัญชไี ด เพื่อผรู บั การอบรมมี ความรูและสามารถ เพาะเหด็ ฟางเอง และเปนอาชพี เสรมิ ได รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตสัมพันธวงศ

34 โครงการ/ วัตถปุ ระสงค กลมุ เปา หมาย จํานวน พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรม เปาหมาย เพอ่ื ใหประชาชนมี ประชาชนท่ัวไป เขตสมั พนั ธวงศ 3 วัน 12,000.00 18. โครงการแยก ความรูความเขา ใจ 30 ขยะกอ นท้ิง ลดขยะ การบริหารจัดการ ประชาชนทั่วไป เขตสมั พนั ธวงศ 3 วัน 6,000.00 ลดโลกรอน ขยะมลู ฝอยทถ่ี ูกตอง ประชาชนท่วั ไป 15 เขตสมั พนั ธวงศ 1 วนั 6,000.00 สามารถลดปรมิ าณ 15 19. โครงการพัฒนา ขยะไดอยา งเปน ประชาชนทว่ั ไป เขตสมั พนั ธวงศ 1 วนั 6,000.00 สังคมและชมุ ชน รปู ธรรม ประชาชนทวั่ ไป 15 เขตสมั พนั ธวงศ 1 วัน 6,000.00 อบรมประชาธิปไตย เพอ่ื สงเสริมให 20. โครงการเตรียม ประชาชนมีความรู ประชาชนทั่วไป 15 เขตสมั พนั ธวงศ 1 ต.ค. 61 190,900.00 ความพรอ มกอนเขา ความเขาใจเกี่ยวกบั ถงึ 30 ก.ย. สูว ยั ผสู งู อายุ การเลือกต้งั ส.ส. 249 62 21. โครงการ เพื่อสงเสริมให ผลติ ภัณฑสําหรบั ใช ประชาชนมีความรู ในครัวเรอื น ความเขา ใจ และการ เตรยี มความพรอ ม 22. โครงการอบรม กอ นเขาสูวัยผสู ูงอายุ การใชก ฎจราจร และสามารถดาํ เนิน อยางถูกวธิ ี ชวี ติ ตามชว งวยั ได อยางมคี วามสขุ 23. โครงการศนู ยฝ ก อาชพี ชมุ ชน เพอ่ื อบรมให ประชาชนมีความรู ความเขา ใจ และฝก ทักษะการทํา ผลติ ภณั ฑสําหรบั ใช ในครัวเรอื น เพ่อื อบรมให ประชาชนมีความรู ความเขาใจในกฎ จราจร และสามารถ ขับขไ่ี ดอยาง ปลอดภัย ตามกฎ จราจร 1. เพื่อใหป ระชาชน ไดมีความรู ความ เขา ในงานอาชีพ สามารถลดรายจา ย เพิ่มรายไดและนาํ ไป ประกอบอาชีพได รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขตสัมพนั ธวงศ

35 โครงการ/ วตั ถปุ ระสงค กลมุ เปา หมาย จาํ นวน พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรม เปาหมาย 2. เพื่อใหป ระชาชน เขา ใจในการเลือก อาชพี เหน็ ชองทาง อาชีพ และแนวทาง ในการประกอบ อาชพี 3. เพ่ือใหป ระชาชน เขา ใจเกี่ยวกบั การ บริหารจดั การและ การตลาด 24. โครงการ 1. เพ่อื ฝกอบรม ประชาชนทัว่ ไป 40 เขตสมั พนั ธวงศ 30 ชว่ั โโมง 48,000.00 ภาษาองั กฤษเพ่อื การ ภาษาองั กฤษเพอ่ื สือ่ สารดา นอาชพี การสอื่ สารดา น อาชีพใหก บั ประชาชนในพ้นื ที่ ของสถานศกึ ษา 2. เพ่อื ใหป ระชาชน กลมุ เปา หมายท่ผี า น การอบรมตาม โครงการ สามารถ นําความรทู ่ไี ดร บั ไป ใชในการดํารงชพี และการประกอบ อาชีพ 25. โครงการสรา ง 1. เพอื่ ใหผ เู ขารวม ประชาชนทว่ั ไป 90 เขตสมั พนั ธวงศ 18 ชั่วโมง 26,274.00 เครอื ขายดิจิตลั โครงการมคี วามรู ชุมชนระดบั ตาํ บล ความเขา ใจ ประชาชน เก่ยี วกับ การทาํ ธรุ กิจและ การคาออนไลน (พาณิชย อิเล็กทรอนิกส) 2. เพอ่ื ใหผ ูเขารวม โครงการมีทักษะ พืน้ ฐานเก่ยี วกับการ ทําธรุ กจิ และการคา ออนไลน (พาณชิ ย อเิ ลก็ ทรอนกิ ส) รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตสัมพันธวงศ

36 โครงการ/ วตั ถุประสงค กลมุ เปา หมาย จํานวน พื้นท่ี ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรม เปา หมาย เพื่อสงเสริมให เขตสมั พนั ธวงศ 26. โครงการสง เสรมิ ประชาชนมีนิสยั รกั ประชาชนทั่วไป 900 ต.ค. 61 7,350.00 การอา น กศน. แขวง การอา น และ – ก.ย. 62 (หนังสือพมิ พแขวง) ติดตามขา วสาร เพ่ือใหการดําเนินการประกันคุณภาพเปนไปดวยความเรียบรอย สถานศึกษาจึงไดรวมกันกําหนด คาเปาหมายซงึ่ เปน คาความสาํ เรจ็ หรอื ระดับผลการดําเนนิ งานทส่ี ถานศกึ ษาคาดหวังวาสามารถทาํ ใหเ กดิ ขน้ึ ได ในมาตรฐานท่ี 1 ดงั น้ี ประเด็น คา เปาหมาย (จาํ นวน หรอื รอยละ หรอื คา เฉลีย่ ) การศึกษาขัน้ พื้นฐาน ตัวบงชี้ 1.1 ผูเรียนการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมคี ุณธรรม ประเด็นท่ี 1 ผูเรียนมคี ุณธรรม รอยละ 34.50 ประเดน็ ท่ี 5 ผูเ รยี นที่เปน ตัวอยา งท่ดี ี หรือตนแบบดานคุณธรรม 18 คน ตวั บง ชี้ 1.2 ผูเรยี นการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานมที กั ษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหา ความรู เรียนรูอยางตอเนื่อง และสามารถนําไปประยุกตใชใน การดํารงชีวติ ประเด็นที่ 1 ผูเ รียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู เรยี นรู รอ ยละ 93.50 อยา งตอเน่อื ง และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชในการดํารงชีวติ ประเด็นท่ี 5 ผูเรียนท่ีเปนตัวอยางที่ดี หรือตนแบบดานทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู เรียนรูอยางตอเน่ือง และสามารถนําไป 20 คน ประยกุ ตใ ชใ นการดํารงชีวติ ตัวบงช้ี 1.3 ผเู รยี นการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมคี วามรูพน้ื ฐาน ประเดน็ ที่ 1 ผูเ รียนมีความรูพน้ื ฐาน คาเฉลี่ยของคะแนนสอบปลายภาคแตละรายวิชาสถานศึกษาใน ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ดังน้ี ระดับประถมศกึ ษา 1. ภาษาไทย คาเฉลยี่ 24.64 2. คณติ ศาสตร คาเฉลีย่ 18.67 3. วทิ ยาศาสตร คา เฉลี่ย 19.64 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตสมั พันธวงศ

37 ประเด็น คาเปาหมาย (จาํ นวน หรอื รอยละ 4. ภาษาองั กฤษพื้นฐาน 5. ชองทางการเขาสูอาชีพ หรอื คาเฉล่ยี ) 6. สขุ ศึกษา พลศกึ ษา 7. ศาสนา และหนาท่พี ลเมอื ง คา เฉลี่ย 23.50 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน คา เฉลย่ี 17.00 1. ทกั ษะการเรยี นรู คาเฉลี่ย 28.25 2. ภาษาไทย คาเฉลี่ย 19.29 3. ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาํ วัน 4. ชองทางการพฒั นาอาชพี คาเฉลี่ย 25.68 5. สขุ ศึกษา พลศกึ ษา คาเฉลี่ย 27.30 6. ศาสนา และหนาท่พี ลเมือง คาเฉลยี่ 20.51 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คา เฉลย่ี 18.70 1. ภาษาไทย คา เฉลย่ี 19.92 2. เศรษฐกิจพอเพียง คา เฉลย่ี 16.56 3. ศลิ ปศึกษา 4. ภาษาองั กฤษเพอื่ ชวี ิตและสังคม คาเฉลย่ี 26.03 5. ชอ งทางการขยายอาชพี คา เฉลย่ี 19.87 6. สุขศกึ ษา พลศึกษา คาเฉลีย่ 18.12 7. ศาสนา และหนาทพ่ี ลเมอื ง คาเฉลี่ย 19.65 ประเด็นที่ 2 ผูเรียนนําความรูพ้ืนฐานไปใชในการดําเนินชีวิต การทํางาน คา เฉลี่ย 18.00 หรอื การประกอบอาชพี คาเฉลีย่ 19.29 ประเด็นท่ี 5 ผเู รียนทเี่ ปน ตัวอยา งท่ดี ี หรือตน แบบในการนําความรูไ ปใช/ คาเฉลี่ย 18.57 ประยกุ ตใ นการดาํ รงชีวติ รอยละ 65.00 การศึกษาตอเน่อื ง ตัวบงช้ี 1.4 ผูเรียนหรือผูเขารับการอบรมมีความรู ความสามารถ และทักษะ 70 คน ในการประกอบอาชีพ ประเด็นท่ี 1 ผเู รยี นมคี วามรู ความสามารถตามวตั ถปุ ระสงคข องหลักสูตร รอ ยละ 75.00 ประเด็นที่ 2 ผูเรียนนําความรูไปใชในการลดรายจาย หรือเพิ่มรายได หรือประกอบ อาชีพ หรอื พัฒนาตอยอดอาชีพ หรือการเพม่ิ มูลคาของสนิ คา หรือบริการ รอยละ 80.00 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตสมั พนั ธวงศ

38 ประเด็น คาเปาหมาย (จํานวน หรือ รอยละ ประเดน็ ท่ี 5 ผูเรียนเปน ตัวอยางทีด่ ี หรอื ตนแบบในการนาํ ความรูไ ปใช ตัวบงชี้ 1.5 ผูเรียนหรือผูเขารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ หรอื คา เฉลย่ี ) พอเพียง 14 คน ประเด็นท่ี 1 ผูเรียนหรือผูเขารับการอบรมมีความรู ความเขาใจ ในหลักปรัชญา รอยละ75.00 ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รอ ยละ 87.76 ประเด็นที่ 2 ผูเรียนหรือผูเขารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 10 คน พอเพียง ประเด็นที่ 5 ผูเรียนเปนตัวอยางท่ีดี หรือตนแบบในการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา รอยละ 92.00 รอยละ 82.00 ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตวั บงช้ี 1.6 ผเู รียนหรอื ผเู ขารับการอบรมสามารถใชเทคโนโลยีไดอ ยา งเหมาะสม 7 คน ประเด็นที่ 1 ผูเรียนหรือผูเขารับการอบรมมีความรู ความเขาใจและมีความสามารถ รอ ยละ 89.37 ในการใชเทคโนโลยี รอยละ 82.00 ประเด็นท่ี 2 ผูเรียนหรือผูเขารับการอบรมสามารถนําความรูไปใชในการแกปญหา 15 คน และพฒั นาการดํารงชวี ติ หรือประกอบอาชพี ไดอยางเหมาะสม ประเด็นที่ 5 ผเู รยี นเปนตวั อยา งทีด่ ี หรือตน แบบในการใชเ ทคโนโลยไี ดอ ยา งเหมาะสม การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบงชี้ 1.7 ผูรับบริการไดรับความรูและ/หรือประสบการณจากการเขารวม กจิ กรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศยั ประเดน็ ท่ี 1 ผรู บั บรกิ ารเขารวมกจิ กรรม/โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั ประเด็นท่ี 2 ผรู ับบรกิ ารท่ีไดรบั ความรูและ/หรือประสบการณจ ากการเขา รว ม กจิ กรรม/โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั ประเด็นที่ 5 ผรู บั บริการเปนตวั อยา งทีด่ ี หรือตนแบบในการนําความรูจากการเขารวม กจิ กรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั ไปใช รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตสัมพันธวงศ

39 ผลการดาํ เนนิ งาน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ที่ โครงการ/กิจกรรม จาํ นวน (คน) รอ ยละ ระดับความพงึ พอใจ งบประมาณ ที่ใช เปา หมาย ผลผลิต ความสําเรจ็ โดยรวม 6,640.- 1 โครงการปฐมนเิ ทศและมอบ 300 300 100 มากท่สี ดุ 25,520.- ประกาศนยี บัตรผูสาํ เรจ็ การศกึ ษา 38,020.- 2 โครงการพฒั นาบุคลากรดานจดั 8 8 100 มากท่สี ดุ 33,555.- การศกึ ษา “สะเตม็ ศึกษา” (STEM 6 6 36,760.- Education) 150 150 100 มากทส่ี ดุ 37,826.- 15,520.- 3 โครงการพัฒนาบุคลากรดานการ 100 มากท่ีสดุ 7,640.- จัดทาํ ระบบการประกนั คณุ ภาพ 112.50 มากที่สดุ 30,710.- ภายในสถานศึกษา 101.33 มากท่ีสดุ 100.66 มากทส่ี ดุ 13,220.- 4 โครงการประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 100 มากทส่ี ดุ และบญุ คณุ พระมหากษตั รยิ ไ ทย 102.70 23,150.- มาก 5 โครงการสง เสรมิ คณุ ธรรม 80 90 6,640.- จริยธรรมภายในสถานศกึ ษา 6 โครงการพัฒนาชาติ ดว ย 150 152 ยุทธศาสตร 20 ป สาํ หรบั ผเู รียน 7 โครงการสบื สานศิลปวัฒนธรรม 150 151 ประเพณีพธิ ีไหวค รู ประจาํ ป 2562 8 โครงการประวัตศิ าสตรชาติไทย 24 24 และบุญคุณพระมหากษตั ริยไ ทย 9 โครงการกฬี า กศน. ตอตา นยาเสพ 148 152 100 มากทส่ี ดุ ตดิ กศน. เขตสมั พันธวงศ 52 52 112.50 มากที่สดุ 10 โครงการจติ อาสาเราทาํ ความดี 80 90 ดวยหัวใจ กศน. ปลกู ปา เฉลมิ พระ 300 300 100 มาก เกยี รติ เนอ่ื งในโอกาสมหามงคล พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 11 โครงการอบรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระวชริ ะเกลา เจา อยูหวั 28 กรกฎาคม 2562 12 โครงการปจ ฉิมนเิ ทศและแสดง นทิ รรศการผลงานนกั ศึกษา กศน. รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเขตสัมพันธวงศ