Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัส 3204-2004

ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัส 3204-2004

Published by Hathaikan Loekyindee, 2022-02-11 01:36:07

Description: แผนการสอนที่ 1-18

Search

Read the Text Version

1



1 แผนการจดั การเรียนรูแ้ บบบูรณาการที่ 1 หน่วยท่ี 1 รหสั 3204-2004 ระบบจดั การฐานขอ้ มูล (2-2-3) สอนครงั้ ที่ 1 (1-1) ชือ่ หน่วย/เรือ่ ง ปฐมนิเทศ จำนวนชวั่ โมง 1 ช.ม. สาระสาคญั การศกึ ษาวชิ าระบบจดั การฐานขอ้ มลู เป็นวชิ าทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั เพ่อื ปลกู ฝังใหพ้ ฒั นาตนเองเขา้ สู่ อาชพี อยา่ งสม่าเสมอ และยงั เป็นการใหผ้ เู้ รยี นไดม้ โี อกาสฝึกทกั ษะความชานาญการเรยี นรดู้ า้ นความรู้ ความ สามารถพ่อื มสี ว่ นรว่ มในการเรยี นอย่างเตม็ ทใ่ี นการฝึกทกั ษะการปฏบิ ตั จิ รงิ เพ่อื พฒั นาทกั ษะ ความรู้ และ ความสามารถรวมทงั้ สตปิ ัญญาเพ่อื แกป้ ัญหาได้ ผเู้ รยี นวชิ าน้นี อกจากจะไดค้ วามรทู้ ถ่ี ูกตอ้ งแลว้ ยงั สามารถนาไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานเพ่อื เป็นเครอ่ื งมอื ทส่ี าคญั ในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของงาน และสามารถแกป้ ัญหาใน ชวี ติ ประจาวนั อกี ดว้ ย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกจุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ าตามหลกั สตู รฯ ได้ 2. บอกแนวทางวดั ผลและการประเมนิ ผลการเรยี นรไู้ ด้ 3. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง 3.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 3.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั 3.2 ความมวี นิ ยั 3.9 ความรกั สามคั คี 3.3 ความรบั ผดิ ชอบ 3.10 ความกตญั ญกู ตเวที 3.4 ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ 3.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง 3.6 การประหยดั 3.7 ความสนใจใฝ่รู้ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การระบบจดั การฐานขอ้ มลู 2. ออกแบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธต์ ามหลกั การของ การจดั รปู แบบบรรทดั ฐาน 3. ใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการจดั การฐานขอ้ มลู เนื้อหำสำระ 1.บอกจุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ าตามหลกั สตู รฯ ได้ 2.บอกแนวทางวดั ผลและการประเมนิ ผลการเรยี นรไู้ ด้

2 กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ขนั้ นำเข้ำส่ทู ทเรียน 1.ครผู สู้ อนแนะนาจดุ ประสงคท์ ผ่ี เู้ รยี นจะไดจ้ ากหลกั สตู ร โดยกาหนดใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลกั การของระบบฐานขอ้ มลู สถาปัตยกรรมฐานขอ้ มลู ขนั้ ตอนการพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ รปู แบบบรรทดั ฐานของรเี ลชนั ภาษามาตรฐานบนระบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ ปัญหาใน การใชร้ ะบบฐานขอ้ มลู การประยุกตใ์ ชฐ้ านขอ้ มลู เพ่อื พฒั นาระบบงาน และกรณีศกึ ษา ขนั้ สอน 2.ครใู ชเ้ ทคนคิ วธิ สี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) ซง่ึ เป็นวธิ สี อนทผ่ี สู้ อนใหค้ วามรตู้ ามเน้อื หา สาระดว้ ยการเลา่ อธบิ ายแสดงสาธติ โดยทผ่ี ูเ้ รยี นเป็นผฟู้ ัง และเปิดโอกาสใหซ้ กั ถามปัญหาไดบ้ า้ งในตอนทา้ ยของ การบรรยายเกย่ี วกบั การศกึ ษาเร่อื งระบบจดั การฐานขอ้ มลู เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นทราบเน้อื หาทต่ี อ้ งศกึ ษาอย่างครา่ วๆ เพอ่ื นาไปวางแผนการเรยี นต่อไป 3.ผเู้ รยี นรบั ฟังคาชแ้ี จงสงั เขปรายวชิ าและการวดั ประเมนิ ผล ซกั ถามขอ้ ปัญหารวมทงั้ แสดงความ คดิ เหน็ เกย่ี วกบั การเรยี นวชิ าน้ี ขนั้ สรปุ และกำรประยุกต์ 4.ผเู้ รยี นวางแผนการนาความรทู้ จ่ี ะไดร้ บั จากการศกึ ษาเร่อื งระบบจดั การฐานขอ้ มลู ไปใชใ้ นการเรยี น และ การปฏบิ ตั งิ าน พ่อื นาไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั งานในชวี ติ ประจาวนั ทจ่ี าเป็นโดยทวั่ ไป ซง่ึ ทุกคนจะตอ้ งวางแผนการ ทางานต่าง ๆ ในอนาคต สื่อและแหล่งกำรเรียนรู้ 1.หนงั สอื เรยี น วชิ าระบบจดั การฐานขอ้ มลู ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2.สอ่ื แผน่ ใส, สอ่ื คอมพวิ เตอร์ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน หลกั ฐำน 1.บนั ทกึ การสอน 2.ใบเชค็ รายชอ่ื 3.แผนจดั การเรยี นรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

3 กำรวดั ผลและกำรประเมินผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 4. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครือ่ งมอื วดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ 3. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น ร่วมกนั ประเมนิ เกณฑก์ ำรประเมินผล 1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ 2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั การ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ แนะนาใหศ้ กึ ษาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั เร่อื งระบบการจดั การฐานขอ้ มลู

4 บนั ทึกหลงั การสอน ขอ้ สรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาท่ีพบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแกป้ ัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

5 แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการท่ี 1(ตอ่ ) หน่วยท่ี 1 รหสั 3204-2004 ระบบจดั การฐานขอ้ มูล (2-2-3) สอนครงั้ ที่ 1 (2-4) ชื่อหน่วย/เรือ่ ง หลกั การของระบบฐานขอ้ มูล จำนวน 3 ชวั่ โมง สาระสาคญั ฐานขอ้ มลู เป็นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใชข้ อ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในระบบงานต่างๆ รว่ มกนั ได้ โดยทจ่ี ะไม่เกดิ ความซา้ ซอ้ นของขอ้ มลู และยงั สามารถหลกี เลย่ี งความขดั แยง้ ของขอ้ มลู อกี ทงั้ ขอ้ มลู ในระบบกจ็ ะถูกตอ้ งเชอ่ื ถอื ได้ และเป็นมาตรฐานเดยี วกนั โดยจะมกี ารกาหนดระบบความปลอดภยั ของขอ้ มลู ขน้ึ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความเป็นมาของการจดั การฐานขอ้ มลู ได้ 2. แสดงความรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั ระบบฐานขอ้ มลู ได้ 3. อธบิ ายนิยามและคาศพั ทพ์ น้ื ฐานเกย่ี วกบั ระบบฐานขอ้ มลู ได้ 4. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง 4.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 4.2 ความมวี นิ ยั 4.3 ความรบั ผดิ ชอบ 4.4 ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ 4.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง 4.6 การประหยดั 4.7 ความสนใจใฝ่รู้ 4.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั 4.9 ความรกั สามคั คี 4.10 ความกตญั ญกู ตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การระบบจดั การฐานขอ้ มลู 2. ออกแบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธต์ ามหลกั การของ การจดั รปู แบบบรรทดั ฐาน 3. ใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการจดั การฐานขอ้ มลู เนื้อหาสาระ 1. ความเป็นมาของการจดั การฐานขอ้ มลู 2. ความรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั ระบบฐานขอ้ มลู

6 3. นยิ ามและคาศพั ทพ์ น้ื ฐานเกย่ี วกบั ระบบฐานขอ้ มลู กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าส่ทู ทเรยี น 1.ครกู ลา่ ววา่ ฐานขอ้ มลู เป็นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใชข้ อ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งใน ระบบงานต่างๆ รว่ มกนั ไดโ้ ดยทจ่ี ะไม่เกดิ ความซ้าซอ้ นของขอ้ มลู และยงั สามารถหลกี เลย่ี งความขดั แยง้ ของ ขอ้ มลู อกี ทงั้ ขอ้ มลู ในระบบกจ็ ะถกู ตอ้ งเชอ่ื ถอื ได้ และเป็นมาตรฐานเดยี วกนั โดยจะมกี ารกาหนดระบบความ ปลอดภยั ของขอ้ มลู ขน้ึ 2.ครแู ละผเู้ รยี นสนทนาเกย่ี วกบั ความสาคญั ของขอ้ มลู ขา่ วสาร สารสนเทศ วา่ มคี วามสาคญั กบั งานแทบ ทุกดา้ นความจาเป็นของการใชข้ อ้ มลู มมี ากขน้ึ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู จงึ เป็นเรอ่ื งสาคญั ขององคก์ ร การนาคอมพวิ เตอร์ มาใชเ้ ป็น เคร่อื งมอื ชว่ ยในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ในลกั ษณะของฐานขอ้ มลู จงึ มบี ทบาทอย่างมาก จงึ ควรทจ่ี ะตอ้ งทา ความเขา้ ใจกบั เรอ่ื งของฐานขอ้ มลู ตงั้ แต่ระดบั พน้ื ฐาน ตลอดจนการออกแบบและพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ขน้ึ ใชใ้ น ระบบงาน 3.ผเู้ รยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ ่อนเรยี น แลว้ สลบั กนั ตรวจเพอ่ื เกบ็ คะแนนสะสมไว้ ขนั้ สอน 4.ครใู ชเ้ ทคนิควธิ สี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) เพ่อื เล่าความเป็นมาของการจดั การฐานขอ้ มลู ดงั น้ี ระบบฐานขอ้ มลู กาเนิดขน้ึ จากโครงการอพอลโลของสหรฐั อเมรกิ าทส่ี ง่ มนุษยอ์ วกาศไปลงดวงจนั ทร์ เม่อื ประมาณ 30 ปีท่ผี ่านมา ซง่ึ ขอ้ มูลท่ใี ชใ้ นโครงการดงั กล่าวจะต้องมจี านวนมากมาย การจดั การระบบขอ้ มูลใน โครงการดงั กล่าวจงึ เกดิ ขน้ึ โดยบรษิ ทั IBM ไดร้ บั จา้ งในการพฒั นาระบบขอ้ มลู ขน้ึ เรยี กว่า GUAM (Generalized Update Access Method) ต่อมาได้พัฒนาการจดั การข้อมูลข้นึ เพ่ือใช้ในงานธุรกิจ ได้แก่ ระบบ DL/I (Data Language I) และพฒั นาจนมาเป็นระบบ IMS (Information Management System) ทใ่ี ชก้ นั จนถงึ ปัจจุบนั นอกจากน้ยี งั มบี รษิ ทั GE (General Electric) ทไ่ี ดพ้ ฒั นาระบบฐานขอ้ มลู IDS (Integrated Data Store) โดย Charles Bachmanและ IDS ถอื เป็นตน้ กาเนิดระบบ CODASYL หรอื Network Model ท่ี นยิ มใชจ้ นถงึ ปัจจบุ นั ต่อมา E.F. Codd กไ็ ดเ้ สนอโมเดลเชงิ สมั พนั ธ์ ซง่ึ บรษิ ทั IBM ไดน้ าแนวคดิ ของ Codd มาสรา้ งเป็น ระบบ R ซง่ึ ต่อมาไดพ้ ฒั นาเป็นระบบ DB2 ขน้ึ แทน ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2525 เป็นตน้ มา ไดม้ ซี อฟตแ์ วรเ์ กดิ ขน้ึ เพอ่ื สนบั สนุนการทางานของระบบการจดั การ ฐานขอ้ มลู มากมาย เช่น ซอฟตแ์ วรท์ ช่ี ่วยในการออกแบบ ตลอดจนภาษาทใ่ี ชใ้ นการเรยี กใชข้ อ้ มลู รวมทงั้ ความ เจรญิ ทางดา้ นเทคโนโลยี คอมพวิ เตอรต์ ลอดจนซอฟต์ แวร์ ท่ี ช่ วยในการประมวลผลขอ้ มลู ไดเ้ กดิ ขน้ึ อยู่ ตลอดเวลา ทงั้ ภาษารนุ่ ท่ี 4 (4th Generation Language) หรอื แมแ้ ต่ CASE TOOL (Computer Aided Software Engineering) จนนบั ไดว้ ่าเป็นยคุ ทร่ี ะบบฐานขอ้ มลู ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในงานคอมพวิ เตอรอ์ ย่างเตม็ ตวั

7 5.ครใู ชเ้ ทคนิควธิ กี ารจดั การเรยี นรแู้ บบอภปิ ราย (Discussion Method) โดยใหผ้ เู้ รยี นช่วยกนั อภปิ ราย ความหมายและประโยชน์ของระบบฐานขอ้ มลู ซง่ึ มสี าระสาคญั ดงั น้ี ระบบฐานขอ้ มลู (Database System) หมายถงึ โครงสรา้ งสารสนเทศทป่ี ระกอบขน้ึ จากขอ้ มลู ต่างๆท่ี เกย่ี วขอ้ งสมั พนั ธก์ นั และนามาใชใ้ นระบบงานต่างๆ ร่วมกนั ระบบฐานขอ้ มลู จงึ เป็นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู อย่างเป็นระบบ ผใู้ ชจ้ ะสามารถจดั การกบั ขอ้ มลู ไดใ้ นลกั ษณะ ต่างๆ ปัจจบุ นั การจดั ทาระบบฐานขอ้ มลู สว่ นใหญ่เป็นการประยกุ ตน์ าระบบคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มาช่วยในการจดั การ ฐานขอ้ มลู อย่างเป็นระบบทงั้ การเพม่ิ ขอ้ มลู การแกไ้ ขขอ้ มลู การลบขอ้ มลู และ การเรยี กดขู อ้ มลู 6.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายนยิ ามและคาศพั ทพ์ น้ื ฐานเกย่ี วกบั ระบบฐานขอ้ มลู ดงั น้ี 1). บติ (Bit) หมายถงึ หน่วยของขอ้ มลู ทม่ี ขี นาดเลก็ ทส่ี ดุ บติ มาจากคาวา่ BinaryDigit เป็นขอ้ มลู ทจ่ี ดั เกบ็ อยใู่ นสอ่ื บนั ทกึ ขอ้ มลู ในลกั ษณะของเลขฐานสอง มคี า่ เป็น 0 หรอื 1 2). ไบต์ (Byte) หมายถงึ หน่วยของขอ้ มลู ทเ่ี กดิ จากการนาหลายๆ บติ มารวมกนั แลว้ มคี วามหมาย เป็นตวั อกั ขระ (Character) 3). เขตขอ้ มลู (Field) หมายถงึ หน่วยของขอ้ มลู ทป่ี ระกอบขน้ึ จากตวั อกั ขระตงั้ แต่หน่งึ ตวั ขน้ึ ไป เมอ่ื นามารวมกนั แลว้ จะหมายถงึ สง่ิ ใดสงิ่ หน่งึ เช่น ชอ่ื อายุ เพศ เป็นตน้ 4). ระเบยี น (Record) หมายถงึ หน่วยของขอ้ มลู ทเ่ี กดิ จากการนาเอาเขตขอ้ มลู ตงั้ แต่หน่งึ เขต ขอ้ มลู ขน้ึ ไปมารวมกนั เกดิ เป็นขอ้ มลู เรอ่ื งใดเร่อื งหน่งึ เช่น ขอ้ มลู ของสนิ คา้ 1 ระเบยี น (1 รายการ) จะ ประกอบดว้ ย รหสั สนิ คา้ ชอ่ื สนิ คา้ ราคาต่อหน่วย เป็นตน้

8 5). แฟ้มขอ้ มลู (File) หมายถงึ หน่วยของขอ้ มลู ทเ่ี กดิ จากการนาขอ้ มลู ตงั้ แต่หน่งึ ระเบยี นขน้ึ ไปท่ี เป็นเร่อื งเดยี วกนั มารวมกนั เชน่ แฟ้มขอ้ มลู สนิ คา้ แฟ้มขอ้ มลู ผปู้ ่วย แฟ้มขอ้ มลู นกั ศกึ ษา เป็นตน้ 6). ฐานขอ้ มลู (Database) หน่วยของขอ้ มลู ทเ่ี กดิ จากการนาแฟ้มขอ้ มลู หลายๆ แฟ้ม ขอ้ มลู ท่ี เกย่ี วขอ้ งสมั พนั ธก์ นั มารวมไวใ้ นระบบเดยี วกนั ในระบบฐานขอ้ มลู จงึ มคี าศพั ทต์ า่ งๆ ทค่ี วรรจู้ กั ดงั น้ี -เอนทติ ี (Entity) เป็นช่อื ของสงิ่ หน่งึ สง่ิ ใด เปรยี บเสมอื นคานาม ไดแ้ ก่ คน สง่ิ ของต่างๆ การ กระทาทม่ี กี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู ไว้ เชน่ เอนทติ สี นิ คา้ เอนทติ นี กั ศกึ ษา เป็นตน้ -แอททรบิ วิ ต์ (Attribute) เป็นรายละเอยี ดของขอ้ มลู ทแ่ี สดงลกั ษณะและคณุ สมบตั ขิ องเอนทติ ี ใดๆ เชน่ เอนทติ สี นิ คา้ ประกอบดว้ ย แอททรบิ วิ ตร์ หสั สนิ คา้ ชอ่ื สนิ คา้ ราคาต่อหน่วย เป็นตน้ -ความสมั พนั ธ์ (Relationships) เป็นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ที ม่ี คี วามเกย่ี วขอ้ งสมั พนั ธ์ กนั เช่น ความสมั พนั ธร์ ะหว่างเอนทติ สี นิ คา้ และเอนทติ กี ารสงั่ ซอ้ื สนิ คา้ ในลกั ษณะวา่ ใบสงั่ ซอ้ื สนิ คา้ แต่ละใบ อาจ มกี ารสงั่ ซอ้ื สนิ คา้ รายการใดรายการหน่งึ หรอื หลายรายการ เป็นตน้ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างเอนทติ ี แบ่งไดเ้ ป็น 3 ลกั ษณะ คอื 1). ความสมั พนั ธแ์ บบหน่งึ ต่อหน่งึ (One-to-One Relationship) เป็นการแสดง ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู ในเอนทติ หี น่งึ กบั ขอ้ มลู ในอกี เอนทติ หี น่งึ ในลกั ษณะหน่งึ ต่อหน่งึ (1:1) ตวั อย่างเช่น จากรปู ขา้ งตน้ จะพบวา่ พนกั งานแต่ละคนจะสงั กดั อยแู่ ผนกใดกต็ ามไดเ้ พยี งแผนกเดยี วเทา่ นนั้ ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู ในเอนทติ พี นกั งานไปสเู่ อนทติ แี ผนก จงึ เป็นแบบหน่งึ ต่อหน่งึ ขณะเดยี วกนั แต่ละแผนกก็ จะมพี นกั งานทท่ี าหน้าทเ่ี ป็นผบู้ รหิ ารแผนก (หวั หน้าแผนก) ไดเ้ พยี งหน่งึ คน

9 2). ความสมั พนั ธแ์ บบหน่งึ ต่อกลมุ่ (One-to-Many Relationship) เป็นการแสดง ความสมั พนั ธ์ ของขอ้ มลู ในเอนทติ หี น่งึ ทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั ขอ้ มลู หลายๆ ขอ้ มลู ในอกี เอนทติ หี น่งึ ในลกั ษณะหนง่ึ ต่อกลุม่ (1:m) ตวั อยา่ งเช่น จากรปู ขา้ งตน้ พบวา่ ขอ้ มลู ในเอนทติ พี นกั งานขายจะไปสมั พนั ธก์ บั ขอ้ มลู ในเอนทติ ลี กู คา้ ในลกั ษณะ หน่งึ ต่อกลมุ่ หมายความวา่ พนกั งานขายแต่ละคนจะสามารถมลี กู คา้ ในความดแู ลไดห้ ลายคน ในขณะทค่ี วามสมั พนั ธ์ ของขอ้ มลู ในเอนทติ ลี กู คา้ ไปยงั เอนทติ พี นกั งานขาย จะเป็นแบบหน่งึ ต่อหน่งึ หมายความวา่ ลกู คา้ แต่ละคนจะ ตดิ ต่อกบั พนกั งานขายทด่ี แู ลตนไดเ้ พยี งหนง่ึ คนเท่านนั้ 3). ความสมั พนั ธแ์ บบกลมุ่ ต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship) เป็นการแสดง ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู ในเอนทติ หี น่งึ กบั ขอ้ มลู ในอกี เอนทติ หี น่งึ ในลกั ษณะกลุม่ ต่อกลุม่ (m:n) ตวั อย่างเช่น จากรปู ขา้ งตน้ จะพบวา่ ขอ้ มลู ในเอนทติ ใี บสงั่ ซอ้ื แต่ละใบจะสามารถสงั่ ซอ้ื สนิ คา้ ในเอนทติ สี นิ คา้ ไดม้ ากกว่า หน่งึ ชนิด ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู จากเอนทติ ใี บสงั่ ซอ้ื ไปยงั เอนทติ สี นิ คา้ จงึ เป็นแบบหน่งึ ต่อกลุ่มในขณะทส่ี นิ คา้ แต่ละชนิด อาจจะไปปรากฏว่าถกู สงั่ อยใู่ นใบสงั่ ซอ้ื หลายใบ ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู จากเอนทติ สี นิ คา้ ไปยงั เอนทิ ตใี บสงั่ ซอ้ื จงึ เป็นแบบหน่งึ ต่อกล่มุ เช่นกนั ดงั นนั้ ความสมั พนั ธข์ องเอนทติ ที งั้ สอง ในรปู ท่ี 1.6 จงึ เป็นแบบกลมุ่ ต่อกลุ่ม จงึ อาจใหน้ ิยามของฐานขอ้ มลู ในอกี ความหมายหน่งึ ไดว้ า่ ฐานขอ้ มลู หมายถงึ โครงสรา้ งสารสนเทศ ท่ี ประกอบดว้ ยหลายๆ เอนทติ ที ม่ี คี วามสมั พนั ธก์ นั

10 7.ผเู้ รยี นยกตวั อย่างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี ทงั้ 3 ลกั ษณะ เขยี นบนั ทกึ ลงในกระดาษ A4 และ นาเสนอหน้าชนั้ เรยี น 1). ความสมั พนั ธแ์ บบหน่งึ ต่อหน่งึ (One-to-One Relationship) 2). ความสมั พนั ธแ์ บบหน่งึ ต่อกลมุ่ (One-to-Many Relationship) 3). ความสมั พนั ธแ์ บบกลมุ่ ต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship) 8..ครแู นะนาเพมิ่ เตมิ ใหผ้ เู้ รยี นรจู้ กั บนั ทกึ บญั ชรี ายรบั -รายจา่ ยในชวี ติ ประจาวนั ของตนเอง เพอ่ื สรา้ งนสิ ยั ความประหยดั ความพอเพยี งใหแ้ กต่ นเองและครอบครวั ขนั้ สรปุ และกำรประยกุ ต์ 9.ครแู ละผูเ้ รยี นร่วมกนั สรปุ เน้อื หาทเ่ี รยี น 10.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน 11.สรปุ โดยการถาม-ตอบ เพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั และประเมนิ ผเู้ รยี นตามแบบฟอรม์ ต่อไปน้ี ช่อื ผเู้ รยี น ประสบการณ์พน้ื ฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน 1. 2. 3. 4. 5.

11 ส่ือและแหล่งกำรเรียนรู้ 1.หนงั สอื เรยี น วชิ าระบบจดั การฐานขอ้ มลู ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2.รปู ภาพ 3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.แผน่ ใส 5.สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส,์ สอ่ื PowerPoint 6.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หลกั ฐำน 1.บนั ทกึ การสอนของผสู้ อน 2.ใบเชค็ รายชอ่ื 3.แผนจดั การเรยี นรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน การวดั ผลและการประเมินผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม 4 ตรวจกจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรมนาความรู้ 5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. ตรวจกจิ กรรมใบงาน 7. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครอ่ื งมอื วดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผูเ้ รยี น รว่ มกนั ประเมนิ

12 เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรุง 2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรมู้ เี กณฑผ์ า่ น และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 50% 5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงานมเี กณฑผ์ ่าน 50% 6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่ กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ 1.ผเู้ รยี นวางแผนศกึ ษาวชิ าระบบจดั การฐานขอ้ มลู 2.ผเู้ รยี นศกึ ษาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ จากสอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็

13 บนั ทึกหลงั การสอน ข้อสรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาท่ีพบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแก้ปัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

14 แผนการจดั การเรียนรูแ้ บบบูรณาการท่ี 2 หน่วยท่ี 1 รหสั 3204-2004 ระบบจดั การฐานขอ้ มูล (2-2-3) สอนครงั้ ท่ี 2 (5-8) ชื่อหน่วย/เรือ่ ง หลกั การของระบบฐานขอ้ มูล จำนวน 4 ช.ม. สาระสาคญั ฐานขอ้ มลู เป็นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู อย่างเป็นระบบ ทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใชข้ อ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในระบบงานต่างๆ รว่ มกนั ได้ โดยทจ่ี ะไมเ่ กดิ ความซา้ ซอ้ นของขอ้ มลู และยงั สามารถหลกี เลย่ี งความขดั แยง้ ของขอ้ มลู อกี ทงั้ ขอ้ มลู ในระบบกจ็ ะถูกตอ้ งเช่อื ถอื ได้ และเป็นมาตรฐานเดยี วกนั โดยจะมกี ารกาหนดระบบความปลอดภยั ของขอ้ มลู ขน้ึ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 4. บอกชนิดและรปู แบบลกั ษณะของขอ้ มลู ได้ 5. อธบิ ายความสาคญั ของการประมวลผลแบบ ระบบฐานขอ้ มลู ได้ 6. อธบิ ายรปู แบบของระบบฐานขอ้ มลู ได้ 7. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั โปรแกรมฐานขอ้ มลู ท่ี นิยมใชไ้ ด้ 8. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง 8.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 8.6 การประหยดั 8.2 ความมวี นิ ยั 8.7 ความสนใจใฝ่รู 8.3 ความรบั ผดิ ชอบ 8.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั 8.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 8.9 ความรกั สามคั คี 8.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง 8.10 ความกตญั ญกู ตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การระบบจดั การฐานขอ้ มลู 2. ออกแบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธต์ ามหลกั การของ การจดั รปู แบบบรรทดั ฐาน 3. ใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการจดั การฐานขอ้ มลู เน้ อื หาสาระ 4. ชนิดและรปู แบบลกั ษณะของขอ้ มลู 5. ความสาคญั ของการประมวลผลแบบระบบ ฐานขอ้ มลู 6. รปู แบบของระบบฐานขอ้ มลู 7. โปรแกรมฐานขอ้ มลู ทน่ี ยิ มใช้

15 กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน 1.ครแู นะนาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบโมเดลซปิ ปา (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรู้ เดมิ จากสปั ดาหท์ แ่ี ลว้ เพอ่ื ดงึ ความรเู้ ดมิ ของผเู้ รยี นในเร่อื งทจ่ี ะเรยี น เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นมคี วามพรอ้ มในการ เชอ่ื มโยงความรใู้ หมก่ บั ความรูเ้ ดมิ ของตน ซง่ึ ผสู้ อนใชก้ ารสนทนาซกั ถามใหผ้ เู้ รยี นเล่าประสบการณ์เดมิ หรอื ให้ ผเู้ รยี นแสดงโครงความรเู้ ดมิ (Graphic Organizer) ของตน 2.ครกู ล่าวว่าในการใชง้ านโปรแกรมฐานขอ้ มลู นอกเหนือจากการกาหนดชอ่ื ของเขตขอ้ มลู (Field) ทจ่ี ะทา การจดั เกบ็ แลว้ การกาหนดชนิดของขอ้ มลู ใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมกม็ คี วามจาเป็นเช่นกนั ซง่ึ การกาหนดชนิดของ ขอ้ มลู นนั้ อาจทาใหเ้ กดิ ความสบั สนขน้ึ ได้ ตวั อย่างเชน่ หากกาหนดชนิดของ Field เป็นแบบ Text ขอ้ มลู ทส่ี ามารถ เกบ็ ในเขตขอ้ มลู น้ไี ดจ้ ะมเี พยี งตวั อกั ษรและตวั เลขเทา่ นนั้ ดงั นนั้ จงึ มคี วามจาเป็นทจ่ี ะตอ้ งทาความเขา้ ใจเกย่ี วกบั สมบตั ขิ องขอ้ มลู แต่ละชนิด 3.ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ ว่าชนดิ ขอ้ มลู ของแต่ละ Field สามารถบง่ บอกสมบตั ทิ ส่ี าคญั ของ Field นนั้ ๆ ไดอ้ ย่างไร ขนั้ สอน 4.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายเร่อื งชนดิ และรปู แบบลกั ษณะของขอ้ มลู ดงั น้ี 1) Basic Types ขอ้ มลู รปู แบบพน้ื ฐาน

16 2) Number ขอ้ มลู รปู แบบตวั เลข 3) Date and Time ขอ้ มลู รปู แบบวนั และเวลา 4) Yes/No ขอ้ มลู รปู แบบใช่หรอื ไม่ใช่ (Boolean)

17 5) QuickStart ขอ้ มลู รปู แบบเรม่ิ ตน้ ใชง้ านดว่ น 5.ครใู ชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารจดั การเรยี นรแู้ บบอภปิ ราย (Discussion Method) อภปิ รายรว่ มกบั ผเู้ รยี นเรอ่ื ง ความสาคญั ของการประมวลผลแบบระบบฐานขอ้ มลู ซง่ึ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ในรปู แบบของฐานขอ้ มลู ทาใหเ้ กดิ ประโยชน์กบั ขอ้ มลู ในระบบฐานขอ้ มลู ดงั น้ี 1). สามารถลดความซ้าซอ้ นของขอ้ มลู ได้ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ในแฟ้มขอ้ มลู ธรรมดานนั้ อาจจาเป็นทผ่ี ใู้ ชแ้ ต่ละคนจะตอ้ งมแี ฟ้มขอ้ มลู ของตนไว้ เป็นสว่ นตวั จงึ อาจเป็นเหตุใหม้ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ชนิดเดยี วกนั ไวห้ ลายๆ ทท่ี าใหเ้ กดิ ความซา้ ซอ้ น (Redundancy) การนาขอ้ มลู มารวมเกบ็ ไวใ้ นฐานขอ้ มลู จะชว่ ยลดปัญหาการเกดิ ความซ้าซอ้ นของขอ้ มลู ไดโ้ ดยระบบจดั การ ฐานขอ้ มลู (Database Management System : DBMS) จะชว่ ยควบคมุ ความซา้ ซอ้ นได้ เน่อื งจากระบบจดั การ ฐานขอ้ มลู จะทราบไดต้ ลอดเวลาว่ามขี อ้ มลู ซ้าซอ้ นกนั อยทู่ ใ่ี ดบา้ ง 2). ช่วยใหส้ ามารถหลกี เลย่ี งความขดั แยง้ ของขอ้ มลู หากมกี ารเกบ็ ขอ้ มลู ชนิดเดยี วกนั ไวห้ ลายๆ ทใ่ี นลกั ษณะทท่ี าใหเ้ กดิ ความซ้าซอ้ นของขอ้ มลู ดงั นนั้ เมอ่ื มกี ารปรบั ปรงุ ขอ้ มลู กจ็ ะตอ้ งกระทาใหค้ รบทกุ ทท่ี ม่ี ขี อ้ มลู เหล่านนั้ ไปเกบ็ อยู่ หากปรบั ปรงุ ไมค่ รบทุกทก่ี จ็ ะทา ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ของขอ้ มลู (Inconsistency) ตามมา เน่อื งจากขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ อยแู่ ต่ละท่ี อาจมคี า่ ไม่ตรงกนั 3). ชว่ ยใหส้ ามารถใชข้ อ้ มลู รว่ มกนั ได้ ดงั ทไ่ี ดก้ ล่าวตอนตน้ แลว้ วา่ ดว้ ยลกั ษณะของฐานขอ้ มลู ทจ่ี ะมกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไวด้ ว้ ยกนั แลว้ นนั้ ผใู้ ชค้ นใดตอ้ งการใชข้ อ้ มลู จากฐานขอ้ มลู ท่มี อี ยู่ กจ็ ะสามารถทาไดโ้ ดยง่าย 4). ชว่ ยรกั ษาความถกู ตอ้ งเชอ่ื ถอื ไดข้ องขอ้ มลู การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ในฐานขอ้ มลู บางครงั้ อาจมขี อ้ ผดิ พลาดเกดิ ขน้ึ ได้ เน่อื งมาจากการป้อนขอ้ มลู ผดิ พลาด เช่น การป้อนขอ้ มลู ราคาสนิ คา้ ทถ่ี กู ตอ้ ง คอื 350 บาท อาจป้อนผดิ เป็น 530 บาท เป็นตน้ มผี ลทาให้ ผใู้ ชค้ นอ่นื ทม่ี าใชข้ อ้ มลู ร่วมกนั ไดร้ บั ขอ้ มลู ทไ่ี มถ่ ูกตอ้ งตามไปดว้ ย ในระบบฐานขอ้ มลู จงึ ไดจ้ ดั ใหม้ ี ระบบจดั การ ฐานขอ้ มลู (Database Management System) เพ่อื ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใสเ่ ง่อื นไขหรอื กฎเกณฑ์ เพ่อื ชว่ ยควบคมุ ความผดิ พลาดทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ 5). ช่วยใหข้ อ้ มลู เป็นมาตรฐานเดยี วกนั

18 การเกบ็ ขอ้ มลู ในฐานขอ้ มลู จะสามารถกาหนดมาตรฐานของขอ้ มลู ใหม้ ลี กั ษณะเดยี วกนั ได้ เชน่ การ กาหนดรปู แบบของขอ้ มลู อาจกาหนดรปู แบบทจ่ี ดั เกบ็ เป็น ปี/เดอื น/วนั หรอื วนั /เดอื น/ปี กไ็ ด้ โดย จะตอ้ งมผี ทู้ ท่ี า หน้าทก่ี าหนดมาตรฐานเหล่าน้ี ซง่ึ จะเรยี กผทู้ ท่ี าหน้าทน่ี ้วี ่าเป็นผบู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู (Database Administrator หรอื DBA) 6). ชว่ ยกาหนดระบบความปลอดภยั ของขอ้ มลู ระบบความปลอดภยั ของขอ้ มลู ในระบบฐานขอ้ มลู จะเป็นการป้องกนั ไมใ่ หผ้ ใู้ ชท้ ไ่ี มม่ สี ทิ ธมิ าเหน็ หรอื ใชข้ อ้ มลู บางอยา่ งในระบบ โดยทผ่ี บู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู จะต้องเป็นผกู้ าหนดความสามารถในการเรยี กใช้ ขอ้ มลู ของผใู้ ชแ้ ต่ละคน เพราะผใู้ ชแ้ ตล่ ะคนจะสามารถมองเหน็ ขอ้ มลู หรอื ใชข้ อ้ มลู ในฐานขอ้ มลู ไดใ้ นระดบั ทต่ี ่างกนั ดว้ ย ภาพ (View) ทต่ี ่างกนั 7). ช่วยใหเ้ กดิ ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ในการเขยี นโปรแกรมจดั เกบ็ ขอ้ มลู ลงในระบบแฟ้มขอ้ มลู ทวั่ ไปจะตอ้ งมกี ารกาหนดโครงสรา้ ง ของ แฟ้มขอ้ มลู ทจ่ี ะใชง้ าน หากมกี ารเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งขอ้ มลู ในแฟ้มขอ้ มลู ใดกจ็ ะตอ้ งแกไ้ ขโปรแกรม ทุก โปรแกรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเรยี กใชข้ อ้ มลู ในแฟ้มขอ้ มลู เหลา่ นนั้ ดว้ ย แต่ในระบบฐานขอ้ มลู จะมี ตวั จดั การ ฐานขอ้ มลู ทท่ี าหน้าทเ่ี ป็นตวั เชอ่ื มโยงฐานขอ้ มลู กบั โปรแกรมต่างๆ จงึ อาจไม่จาเป็นตอ้ งมโี ครงสรา้ งขอ้ มลู ทุกครงั้ การแกไ้ ขขอ้ มลู จงึ อาจกระทาเฉพาะกบั โปรแกรมทเ่ี รยี กใชข้ อ้ มลู ทเ่ี ปลย่ี นแปลง เท่านนั้ สว่ นโปรแกรมทไ่ี ม่ได้ เรยี กใชข้ อ้ มลู ดงั กล่าว กจ็ ะเป็นอสิ ระจากการเปลย่ี นแปลงทก่ี ลา่ วมา 6.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายเรอ่ื งรปู แบบของระบบฐานขอ้ มลู ซง่ึ มอี ยดู่ ว้ ยกนั 3 ประเภท คอื 1). ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ (Relational Database) เป็นการเกบ็ ขอ้ มลู ในรปู แบบทเ่ี ป็นตาราง (Table) หรอื เรยี กว่า รเี ลชนั (Relation) มลี กั ษณะเป็น 2 มติ ิ คอื เป็นแถว (Row) และเป็นคอลมั น์ (Column) การ เชอ่ื มโยงขอ้ มลู ระหว่างตาราง จะเชอ่ื มโยงโดยใชแ้ อททรบิ วิ ต์ (Attribute) หรอื คอลมั น์ท่ี เหมอื นกนั ทงั้ สองตาราง เป็นตวั เช่อื มโยงขอ้ มลู ตวั อย่างเชน่ จากรปู ท่ี 1.7 ขา้ งตน้ ถา้ ตอ้ งการทราบว่า พนกั งานรหสั 105 ทางานอยแู่ ผนกใด กจ็ ะตอ้ งนารหสั แผนกใน ตารางพนกั งานไปตรวจสอบกบั รหสั แผนก ซง่ึ เป็นคยี ใ์ นตารางแผนกเพ่อื ดงึ ชอ่ื แผนกออกมา ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธน์ ้จี ะเป็นรปู แบบของฐานขอ้ มลู ทน่ี ยิ มใชใ้ นปัจจุบนั

19 2). ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ขา่ ย (Network Database) ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ขา่ ยจะเป็นการรวม ระเบยี น ต่างๆ และความสมั พนั ธร์ ะหว่างระเบยี น แต่จะต่างกบั ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธค์ อื ในฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธจ์ ะแฝง ความสมั พนั ธเ์ อาไว้ โดยระเบยี นทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ นั จะตอ้ งมคี า่ ของขอ้ มลู ในแอททรบิ วิ ต์ ใดแอททรบิ วิ ตห์ น่งึ เหมอื นกนั แต่ในฐานขอ้ มลู แบบเครอื ขา่ ย จะแสดงความสมั พนั ธอ์ ยา่ งชดั เจน โดยแสดงไวใ้ นโครงสรา้ ง จากรปู ท่ี 1.8 จะเหน็ ไดว้ ่า กรอบสเ่ี หลย่ี มแสดงถงึ เอนทติ ใี นฐานขอ้ มลู ลกู ศรเป็นการแสดง ความสมั พนั ธ์ จากรปู เป็นการแสดงความสมั พนั ธแ์ บบหน่งึ ต่อกลุ่ม การคน้ หาขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการ เชน่ ถา้ ตอ้ งการคน้ หารายชอ่ื พนกั งานทท่ี างานอย่แู ผนกท่ี 5 กท็ าโดยออกคาสงั่ บอก DBMS ใหค้ น้ หาแผนกท่ี 5 จากระเบยี นของแผนก แลว้ วงิ่ ตามลกู ศรซง่ึ จะเชอ่ื มขอ้ มลู ของแผนกท่ี 5 เขา้ กบั ขอ้ มลู ของพนกั งาน ซง่ึ ไดแ้ กร่ ะเบยี นของพนกั งานทท่ี างานใน แผนกท่ี 5 เป็นการคน้ โดยใชล้ กู ศรเชอ่ื มโยงไปถงึ ความสมั พนั ธ์ จงึ ไมจ่ าเป็นตอ้ งเกบ็ แอททรบิ วิ ต์รหสั แผนกไวใ้ น ระเบยี นของพนกั งาน เช่นทท่ี าในฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ 3). ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ (Hierarchical Database) ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ เป็นโครงสรา้ ง ท่ี จดั เกบ็ ขอ้ มลู ในลกั ษณะความสมั พนั ธแ์ บบพอ่ -ลกู (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรอื เป็น โครงสรา้ งรปู แบบตน้ ไม้ (Tree) ขอ้ มลู ทจ่ี ดั เกบ็ ในทน่ี ้ี คอื ระเบยี น (Record) ซง่ึ ประกอบดว้ ย ค่าของเขตขอ้ มลู (Field) ของเอนทติ หี น่งึ ๆ นนั่ เอง ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ น้คี ลา้ ยคลงึ กบั ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ขา่ ยแต่ต่างกนั ทฐ่ี านขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ มกี ฎ เพมิ่ ขน้ึ มาหนง่ึ ประการ คอื ในแต่ละกรอบจะมลี กู ศรวง่ิ เขา้ หาไดไ้ มเ่ กนิ 1 หวั ลกู ศร ดงั นนั้ จากตวั อยา่ งรปู ท่ี 1.8 จะพบวา่ กรอบพนกั งานจะมลี กู ศรเขา้ มา 2 ทาง ดงั นนั้ จงึ ไมอ่ าจสรา้ งฐานขอ้ มลู สาหรบั ตวั อย่างรปู ท่ี 1.8 โดยใช้ ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ ดว้ ยวธิ ปี กตไิ ด้

20 จากรปู ท่ี 1.9 ขา้ งตน้ แสดงตวั อยา่ งฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ ประกอบดว้ ย 1. ระเบยี น 3 ระเบยี น คอื แผนก พนกั งาน และโครงงานทร่ี บั ผดิ ชอบ 2. ความสมั พนั ธแ์ บบ PCR 2 ประเภท คอื ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู แผนกกบั พนกั งาน และ ความสมั พนั ธ์ ของขอ้ มลู แผนกกบั โครงงานทร่ี บั ผดิ ชอบโดยมแี ผนกเป็นระเบยี นประเภทพ่อ-แม่ สว่ นพนกั งานและโครงงานท่ี รบั ผดิ ชอบเป็นระเบยี นประเภทลกู ความสมั พนั ธข์ องทงั้ สองประเภทเป็นแบบ หน่งึ ต่อกลุ่ม (1:m) ตวั อยา่ งขอ้ มลู เช่น สรปุ เป็นคณุ สมบตั ขิ องฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ ไดด้ งั น้ี 1). หากระเบยี นใดเป็นประเภทพอ่ -แม่ (Parent Record Type) แลว้ จะมคี ณุ สมบตั เิ ป็นประเภทลกู (Child Record Type) ไมไ่ ด้ 2). ทกุ ระเบยี นยกเวน้ ระเบยี นทเ่ี ป็นพอ่ -แม่ สามารถมคี วามสมั พนั ธก์ บั ระเบยี นทเ่ี ป็นประเภท พ่อ-แม่ ได้ หน่งึ ความสมั พนั ธ์ 3). ทุกระเบยี นสามารถมคี ณุ สมบตั เิ ป็นระเบยี นประเภทพ่อ-แมไ่ ด้

21 4). ถา้ ระเบยี นหน่งึ มรี ะเบยี นลกู มากกวา่ หน่งึ ระเบยี นแลว้ การลาดบั ความสมั พนั ธข์ องระเบยี นท่ี เป็นลกู จะลาดบั จากซา้ ยไปขวา 7.ผเู้ รยี นคน้ หาตวั อย่างรปู แบบของระบบฐานขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ทงั้ 3 ประเภท คอื ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ (Relational Database) ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ขา่ ย (Network Database) และฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ (Hierarchical Database) ประเภทละอย่างน้อย 2 ตวั อยา่ ง เขยี นบนั ทกึ ลงในกระดาษ A4 8.ครกู ล่าวว่าโปรแกรมฐานขอ้ มลู จะชว่ ยใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถคน้ หาขอ้ มลู ทจ่ี ดั เกบ็ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ซง่ึ โปรแกรม ฐานขอ้ มลู ทน่ี ยิ มใชม้ อี ยดู่ ว้ ยกนั หลายโปรแกรม เช่น Microsoft Access, MySQL, SQL Server เป็นตน้ แต่ละ โปรแกรมกจ็ ะมคี วามสามารถต่างกนั บางโปรแกรมใชง้ านงา่ ย บางโปรแกรมใชง้ านยาก แต่กจ็ ะมคี วามสามารถใน การทางานสงู กว่าดว้ ย 9.ครใู ชส้ อ่ื Power Point และสอ่ื วดิ ที ศั น์เพอ่ื อธบิ ายโปรแกรมฐานขอ้ มลู ทน่ี ยิ มใชก้ นั ไดแ้ ก่ - Microsoft Access 2010 เป็นโปรแกรมฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ (Relational Database) ทน่ี ิยมใชก้ นั มากในปัจจบุ นั โดย สามารถ ใช้ เกบ็ และตดิ ตามขอ้ มลู สาคญั ๆ ขอ้ มลู นอกจากจะจดั เกบ็ ไวใ้ นคอมพวิ เตอรส์ ว่ นตวั แลว้ ยงั สามารถ ตพี มิ พ์ ลงในเวบ็ เพอ่ื ใหผ้ อู้ ่นื ใชง้ านฐานขอ้ มลู ของเราผา่ นทางเวบ็ เบราวเ์ ซอรไ์ ดอ้ กี ดว้ ย Microsoft Access 2010 สามารถสรา้ งแบบฟอรม์ ทต่ี อ้ งการจะใชป้ ้อนขอ้ มลู และใชเ้ รยี กดขู อ้ มลู ใน ฐานขอ้ มลู หลงั จากบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงในฐานขอ้ มลู เรยี บรอ้ ยแลว้ จะสามารถคน้ หาหรอื เรยี กดขู อ้ มลู เพยี ง เขตขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการได้ การแสดงผลกส็ ามารถแสดงทางจอภาพ หรอื สงั่ พมิ พอ์ อกทางเคร่อื งพมิ พ์ นอกจากน้ี Microsoft Access ยงั มรี ะบบรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู ดว้ ยการกาหนดรหสั ผ่านเพ่อื ป้องกนั ความปลอดภยั ของขอ้ มลู ในระบบไดด้ ว้ ย และทส่ี าคญั โปรแกรม Microsoft Access เป็นโปรแกรม ทเ่ี หมาะจะใชก้ บั ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ และในหน่วยต่อๆ ไปจะไดก้ ลา่ วถงึ วธิ กี ารใชโ้ ปรแกรม Microsoft Access 2010 -MySQL เป็นระบบจดั การฐานขอ้ มลู แบบ open source ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นา และสนบั สนุนโดยบรษิ ทั Oracle ใชก้ ารจดั การขอ้ มลู ในรปู แบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ โดยภาษาทใ่ี ชใ้ นการจดั การขอ้ มลู จะเป็นภาษา มาตรฐานท่ี ใชส้ าหรบั การเขา้ ถงึ และจดั การขอ้ มลู MySQL เป็นโปรแกรมแบบ open source จงึ สามารถ ดาวน์โหลดมาใชไ้ ด้ แบบไมม่ คี า่ ใชจ้ ่าย นอกจากน้ยี งั สามารถปรบั ปรงุ หรอื แกไ้ ขโปรแกรมใหเ้ หมาะสมกบั การทางานของผใู้ ชไ้ ด้ อย่างอสิ ระอกี ดว้ ย -SQLServer เป็นโปรแกรมฐานขอ้ มลู ซง่ึ พฒั นาโดยบรษิ ทั Microsoft มโี ครงสรา้ งของภาษาทเ่ี ขา้ ใจง่าย ไม่ ซบั ซอ้ น สามารถทางานทซ่ี บั ซอ้ นไดโ้ ดยใชค้ าสงั่ เพยี งไม่กค่ี าสงั่ โปรแกรม SQL เหมาะทจ่ี ะใชก้ บั ระบบ ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ เป็นโปรแกรมทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการทางานสงู จงึ เป็นภาษาทม่ี ผี นู้ ยิ มใชก้ นั มาก ปกติ โปรแกรมฐานขอ้ มลู ทบ่ี รษิ ทั ต่างๆ ผลติ ขน้ึ ใชก้ นั อยใู่ นปัจจุบนั และเป็นทน่ี ิยมใชก้ นั เช่น Oracle, DB2 และ แมก้ ระทงั่ Microsoft Access เอง กจ็ ะมคี าสงั่ SQL ทเ่ี ป็นมาตรฐาน และเสรมิ บางคาสงั่ ทต่ี ่างไปจาก มาตรฐาน บา้ งเพอ่ื ใหเ้ ป็นจุดเด่นของแต่ละโปรแกรมไป

22 10. ผเู้ รยี นบอกโปรแกรมฐานขอ้ มลู ทผ่ี เู้ รยี นเคยใชง้ าน และแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การใชง้ าน หรอื ปัญหา 11. ผเู้ รยี นบอกโปรแกรมฐานขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ จากทค่ี รกู ลา่ วไว้ 12.ครสู อนเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั การทาหน้าทเ่ี ป็นพลเมอื งดขี องสงั คมไทย รจู้ กั เออ้ื เฟ้ือเผอ่ื แผต่ ่อผอู้ น่ื สรปุ และกำรประยกุ ต์ 13.ครแู ละผเู้ รยี นสรุปเน้อื หาทเ่ี รยี น 14.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน แบบฝึกหดั และแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 15.ผเู้ รยี นวเิ คราะหเ์ น้อื หาการเรยี นการสอนและหาขอ้ สรปุ เป็นความคดิ รวบยอดเพอ่ื นาไปประยกุ ตใ์ ช้ ต่อไป พรอ้ มขอ้ เสนอแนะตนเอง สื่อและแหล่งกำรเรียนรู้ 1.หนงั สอื เรยี น วชิ าระบบจดั การฐานขอ้ มลู ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2.รปู ภาพ 3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส,์ สอ่ื PowerPoint และสอ่ื วดิ ที ศั น์ 5.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หลกั ฐำน 1.บนั ทกึ การสอน 2.ใบเชค็ รายช่อื 3.แผนจดั การเรยี นรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน กำรวดั ผลและกำรประเมินผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ 4. ตรวจใบงาน 5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครอื่ งมอื วดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู

23 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น ร่วมกนั ประเมนิ เกณฑก์ ำรประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรุง 2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) เกณฑก์ ารประเมนิ มเี กณฑ์ 4 ระดบั คอื 4= ดมี าก, 3 = ด,ี 2 = พอใช้ , 1= ควรปรบั ปรุง 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรมู้ เี กณฑ์ แบบฝึกปฏบิ ตั ผิ า่ น 50% 6 แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยกู่ บั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ 1.แนะนาใหผ้ เู้ รยี นอ่านทบทวนเน้อื หาเพมิ่ เตมิ 2.ทากจิ กรรมใบงาน

24 จงเลือกคำตอทที่ถกู ต้องที่สดุ เพียงคำตอทเดียว 1. หน่วยของขอ้ มลู ทม่ี ขี นาดเลก็ ทส่ี ดุ ก. บติ ข. ไบต์ ค. ตวั อกั ขระ ง. รายการ 2. หน่วยของขอ้ มลู ทเ่ี กดิ จากการนาบติ มารวมกนั คอื ก. Field ข. Byte ค. File ง. Database 3. ระเบยี น หมายถงึ ก. หน่วยขอ้ มลู ทม่ี ขี นาดเลก็ ทส่ี ดุ ข. หน่วยขอ้ มลู ทเ่ี กดิ จากการนาบติ มารวมกนั ค. หน่วยขอ้ มลู ทเ่ี กดิ จากการนาตวั อกั ขระมารวมกนั ง. หน่วยขอ้ มลู ทเ่ี กดิ จากการนาเขตขอ้ มลู มารวมกนั 4. รายละเอยี ดขอ้ มลู ทแ่ี สดงคณุ สมบตั ขิ องเอนทติ ี คอื ก. Attribute ข. Relationship ค. Field ง. File 5. บรษิ ทั แหง่ หน่งึ กาหนดกฎเกณฑไ์ วว้ า่ พนกั งาน 1 คน จะตดิ ต่อลกู คา้ ไดห้ ลายคน แต่ลกู คา้ แต่ละคน จะตดิ ต่อ พนกั งานไดเ้ พยี งคนเดยี ว ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพนกั งานกบั ลกู คา้ จดั เป็นความสมั พนั ธแ์ บบใด ก. หน่งึ ต่อหน่งึ ข. หน่งึ ต่อกลมุ่ ค. กลมุ่ ต่อหนง่ึ ง. กลุ่มต่อกลุ่ม 6. เอนทติ ี A และเอนทติ ี B มคี วามสมั พนั ธก์ นั ดงั รปู แสดงว่าเป็นความสมั พนั ธแ์ บบใด ก. 1 : 1 ข. 1 : m ค. m : 1 ง. m : n 7. หน่วยของขอ้ มลู ทป่ี ระกอบขน้ึ จากตวั อกั ขระตงั้ แต่หน่งึ ตวั ขน้ึ ไปมารวมกนั เรยี กว่า ก. ไบต์ ข. เขตขอ้ มลู ค. ระเบยี น ง. แฟ้มขอ้ มลู 8. หน่วยของขอ้ มลู ทเ่ี กดิ จากการนาขอ้ มลู หลายๆ ระเบยี นทเ่ี ป็นเร่อื งเดยี วกนั มารวมกนั เรยี กวา่ ก. ฐานขอ้ มลู ข. แฟ้มขอ้ มลู

25 ค. เขตขอ้ มลู ง. ไบต์ 9. เอนทติ ี (Entity) หมายถงึ ก. ชอ่ื ของสง่ิ หน่งึ สง่ิ ใด ซง่ึ จดั เกบ็ ขอ้ มลู ได้ ข. รายละเอยี ดขอ้ มลู ทแ่ี สดงลกั ษณะและคณุ สมบตั ิ ค. ขอ้ มลู หลายๆ สว่ นมารวมกนั ง. ถกู ทุกขอ้ 10. ชนดิ ของความสมั พนั ธต์ ่อไปน้ี ขอ้ ใดไม่ถกู ตอ้ ง ก. ความสมั พนั ธแ์ บบหน่งึ ต่อหนง่ึ ข. ความสมั พนั ธแ์ บบกลุ่มต่อกลมุ่ ค. ความสมั พนั ธแ์ บบกลมุ่ ต่อหน่งึ ง. ความสมั พนั ธแ์ บบหน่งึ ต่อกลุ่ม 11. โครงสรา้ งสารสนเทศทป่ี ระกอบดว้ ยหลายๆ เอนทติ ที ม่ี คี วามสมั พนั ธก์ นั เรยี กวา่ ก. แฟ้มขอ้ มลู ข. เขตขอ้ มลู ค. ฐานขอ้ มลู ง. ระเบยี น 12. ขอ้ ใดไม่ใชป่ ระโยชน์ของการประมวลผลแบบระบบฐานขอ้ มลู ก. หลกี เลย่ี งความขดั แยง้ ของขอ้ มลู ได้ ข. ลดความซา้ ซอ้ นของขอ้ มลู ลงได้ ค. สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ชนดิ เดยี วกนั ไวห้ ลายๆ ทไ่ี ด้ ง. กาหนดระบบความปลอดภยั ของขอ้ มลู ได้ 13. รปู แบบของระบบฐานขอ้ มลู แบ่งไดเ้ ป็น ก. ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ ข. ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ขา่ ย ค. ฐานขอ้ มลู แบบเชงิ สมั พนั ธ์ ง. ถกู ทกุ ขอ้ 14. การเกบ็ ขอ้ มลู ในรปู แบบตาราง 2 มติ ิ เป็นการเกบ็ ขอ้ มลู ในรปู แบบของระบบฐานขอ้ มลู ชนดิ ใด ก. ฐานขอ้ มลู แบบเชงิ สมั พนั ธ์ ข. ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ขา่ ย ค. ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ ง. ถกู ทงั้ ขอ้ ข. และ ค. 15. ฐานขอ้ มลู ทม่ี โี ครงสรา้ งเป็นรปู แบบตน้ ไม้ (Tree) คอื ฐานขอ้ มลู รปู แบบใด ก. ฐานขอ้ มลู แบบเชงิ สมั พนั ธ์ ข. ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ขา่ ย ค. ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชนั้ ง. ถกู ทงั้ ขอ้ ก. และ ข. 16. กรณที ก่ี าหนดวา่ นกั ศกึ ษาแต่ละคนสามารถลงทะเบยี นเรยี นไดห้ ลายวชิ า ในขณะทร่ี ายวชิ าแต่ละวชิ า นกั ศกึ ษาสามารถเลอื กเรยี นไดห้ ลายคน จงหาว่าความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ นี กั ศกึ ษากบั เอนทติ ี รายวชิ า เป็น ความสมั พนั ธแ์ บบใด ก. แบบหน่งึ ต่อกลุ่ม ข. แบบกลมุ่ ต่อกลุ่ม ค. แบบหน่งึ ต่อหน่ึง ง. แบบกลมุ่ ต่อหน่งึ 17. “ความสมั พนั ธ”์ ทก่ี ล่าวถงึ ไวใ้ นระบบฐานขอ้ มลู หมายถงึ ก. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างแอททรบิ วิ ต์

26 ข. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี ค. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรเี ลชนั ง. ถกู ทงั้ ขอ้ ข. และ ค. 18. โปรแกรมใดทไ่ี ม่ใชโ่ ปรแกรมฐานขอ้ มลู ก. FoxPro ข. Access ค. SQL ง. Word Processing 19. Access เป็นระบบจดั การฐานขอ้ มลู ในรปู แบบใด ก. แบบลาดบั ชนั้ ข. แบบเครอื ขา่ ย ค. แบบเชงิ สมั พนั ธ์ ง. ใชไ้ ดก้ บั ทุกแบบ 20. ฐานขอ้ มลู Access มกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู ในลกั ษณะใด ก. ลกั ษณะตาราง 2 มติ ิ ข. ลกั ษณะตาราง 3 มติ ิ ค. ลกั ษณะตารางกม่ี ติ กิ ไ็ ดข้ น้ึ กบั การออกแบบของระบบ ง. ลกั ษณะแนวนอนหรอื แนวตงั้ อยา่ งใดอย่างหนง่ึ

27 ทนั ทึกหลงั กำรสอน ข้อสรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาท่ีพบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแก้ปัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

28 แผนการจดั การเรียนรูแ้ บบบูรณาการท่ี 3 หน่วยท่ี 2 รหสั 3204-2004 ระบบจดั การฐานขอ้ มูล (2-2-3) สอนครงั้ ที่ 3 (9-12) ชื่อหนว่ ย/เรือ่ ง สถาปัตยกรรมฐานขอ้ มูล จำนวน 4 ช.ม. สาระสาคญั การสรา้ งระบบฐานขอ้ มูล จะทาใหผ้ ใู้ ช้สามารถใชข้ อ้ มูลซง่ึ อย่บู นฐานขอ้ มูลเดยี วกันโดยไม่ตอ้ งทราบว่า การจดั เกบ็ ขอ้ มูลภายในเคร่อื งจะเป็นอย่างไร มกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ใดบา้ งไวใ้ นระบบ หรอื ใชเ้ ทคนิควธิ ใี ดใน การจดั เกบ็ หรอื เรยี กใชข้ อ้ มลู ทงั้ น้ีผบู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู จะเป็นผคู้ วบคมุ การบรหิ ารงานของระบบฐานขอ้ มลู ทงั้ หมด รวมทงั้ กาหนด ความปลอดภยั ความบูรณภาพของขอ้ มลู แผนการสร้างระบบขอ้ มูลสารองและการกู้ ตลอดจน เป็นผปู้ ระสานงานกบั ผใู้ ช้ เพ่อื ปรบั ฐานขอ้ มลู ใหเ้ หมาะสมอย่ตู ลอดเวลา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายระดบั ของขอ้ มลู ได้ 2. อธบิ ายความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ได้ 3. อธบิ ายเคา้ ร่างฐานขอ้ มลู ได้ 4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง 4.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 4.6 การประหยดั 4.2 ความมวี นิ ยั 4.7 ความสนใจใฝ่รู้ 4.3 ความรบั ผดิ ชอบ 4.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั 4.4 ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ 4.9 ความรกั สามคั คี 4.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง 4.10 ความกตญั ญกู ตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การระบบจดั การฐานขอ้ มลู 2. ออกแบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธต์ ามหลกั การของ การจดั รปู แบบบรรทดั ฐาน 3. ใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการจดั การฐานขอ้ มลู เน้ ือหาสาระ 1. ระดบั ของขอ้ มลู 2. ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู 3. เคา้ รา่ งของฐานขอ้ มลู

29 กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น 1.ครสู นทนากบั ผเู้ รยี นเกย่ี วกบั การสรา้ งระบบฐานขอ้ มลู ซง่ึ ทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใชข้ อ้ มลู ซง่ึ อยบู่ นฐานขอ้ มลู เดยี วกนั โดยไมต่ อ้ งทราบวา่ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ภายในเครอ่ื งจะเป็นอย่างไร มกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ใดบา้ งไวใ้ น ระบบ หรอื ใชเ้ ทคนิควธิ ใี ดในการจดั เกบ็ หรอื เรยี กใชข้ อ้ มลู ทงั้ น้ผี บู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู จะเป็นผคู้ วบคมุ การ บรหิ ารงานของระบบฐานขอ้ มลู ทงั้ หมด รวมทงั้ กาหนดความปลอดภยั ความบรู ณภาพของขอ้ มลู แผนการสรา้ ง ระบบขอ้ มลู สารองและการกู้ ตลอดจนเป็นผปู้ ระสานงานกบั ผใู้ ชเ้ พอ่ื ปรบั ฐานขอ้ มลู ใหเ้ หมาะสมอย่ตู ลอดเวลา 2.ครกู ลา่ วทบทวนเร่อื งระบบฐานขอ้ มลู ว่าเป็นการนาเอาขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั มารวมกนั ไวใ้ นระบบ เดยี วกนั เพอ่ื ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใชข้ อ้ มลู ทอ่ี ยบู่ นฐานขอ้ มลู เดยี วกนั ได้ แมจ้ ะมคี วามตอ้ งการทต่ี ่างกนั กต็ าม ผใู้ ชแ้ ต่ ละคนจะมองขอ้ มลู ในแงม่ มุ หรอื ววิ (View) ทต่ี ่างกนั ผใู้ ชบ้ างคนอาจตอ้ งการเรยี กใชข้ อ้ มลู จากทงั้ แฟ้มขอ้ มลู ในขณะทผ่ี ใู้ ชบ้ างคนอาจตอ้ งการเรยี กใชข้ อ้ มลู เพยี งบางสว่ นของแฟ้มขอ้ มลู ระดบั การมองของผใู้ ชจ้ งึ มุง่ ใหก้ าร เรยี กใชข้ อ้ มลู ของตนมปี ระสทิ ธภิ าพโดยไมจ่ าาเป็นตอ้ งสนใจว่าการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ทแ่ี ทจ้ รงิ ภายในเคร่อื งหรอื ขอ้ มลู ทต่ี นไมต่ อ้ งการเรยี กใชน้ นั้ จะเป็นอยา่ งไร ดงั นนั้ การเลอื กใชว้ ธิ จี ดั เกบ็ ขอ้ มลู ทเ่ี หมาะสม จงึ เป็นสว่ นทท่ี าใหก้ าร เรยี กใชข้ อ้ มลู เกดิ ประสทิ ธภิ าพ 3.ผเู้ รยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ นเรยี น สลบั กนั ตรวจเพอ่ื สะสมคะแนนเกบ็ ไว้ ขนั้ สอน 4.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายเรอ่ื งระดบั ของขอ้ มลู ซง่ึ แบ่งเป็น 3 ระดบั ดงั น้ี 1). ระดบั ภายนอกหรอื ววิ (External Level หรอื View) เป็นระดบั ของขอ้ มลู ทอ่ี ยสู่ งู ทส่ี ดุ ประกอบดว้ ยภาพทผ่ี ใู้ ชแ้ ต่ละคนจะมองขอ้ มลู หรอื ววิ (View) ของตน 2). ระดบั แนวคดิ (Conceptual Level) เป็นระดบั ของขอ้ มลู ทอ่ี ยถู่ ดั ลงมา เป็นการมองเอนทติ ี และ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี รวมทงั้ กฎเกณฑแ์ ละขอ้ จากดั ต่างๆ ขอ้ มลู ในระดบั น้เี ป็นขอ้ มลู ทผ่ี า่ นการ วเิ คราะหแ์ ละออกแบบโดยผบู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู หรอื นกั วเิ คราะหร์ ะบบมาแลว้ เพอ่ื ใหผ้ ใู้ ชข้ อ้ มลู ในระดบั ภายนอกสามารถเรยี กใชข้ อ้ มลู ไดใ้ นรปู แบบต่างๆ กนั ตามทผ่ี ใู้ ชต้ อ้ งการ

30 3). ระดบั ภายใน (Internal Level หรอื Physical Level) เป็นระดบั ของขอ้ มลู ทอ่ี ย่ลู า่ งสุดเป็นระดบั ของการจดั เกบ็ ขอ้ มลู จรงิ ๆ วา่ มโี ครงสรา้ งการจดั เกบ็ อยา่ งไร วธิ กี ารเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ในฐานขอ้ มลู ทาอยา่ งไร 5.ครูใช้เทคนิควิธีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) อธิบายความเป็ นอิสระของข้อมูล (Data Independence) ว่าแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ชนดิ คอื 1). ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ในเชงิ กายภาพ (Physical Data Independence) หมายถงึ การเปลย่ี นแปลง แกไ้ ขโครงสร้างในระดบั ภายใน จะไม่กระทบต่อโครงสร้างในระดบั แนวคดิ และระดบั ภายนอก เช่น การเปลย่ี น วธิ กี ารเรยี กใชข้ อ้ มลู จากเดมิ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ จะไมก่ ระทบต่อระดบั แนวคดิ หรอื ระดบั ผใู้ ช้ 2). ความเป็นอิสระของขอ้ มูลในเชงิ ตรรกะ (Logical Data Independence) หมายถึง การเปล่ยี นแปลง โครงสรา้ งในระดบั แนวคดิ จะไม่กระทบต่อโครงสรา้ งในระดบั ภายนอก หรอื โปรแกรมท่ี ประยกุ ต์ใชง้ าน เช่น การ เพมิ่ แอททรบิ วิ ตห์ รอื เอนทติ ใี หมเ่ ขา้ ไปในฐานขอ้ มลู เป็นตน้ 6.ครใู ชเ้ ทคนิคการจดั การเรยี นรแู้ บบใชค้ าถาม (Questioning Method) เป็นกระบวนการเรยี นรทู้ ม่ี งุ่ พฒั นา กระบวนการทางความคดิ ของผเู้ รยี น โดยใหผ้ เู้ รยี นหาคาตอบว่าเหตุใด Instance ของฐานขอ้ มลู จงึ เปลย่ี นแปลง ไดต้ ลอดเวลา 7.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายเคา้ ร่างของฐานขอ้ มลู (Database Schema) เป็นเคา้ ร่างทไ่ี ด้ จากการออกแบบฐานขอ้ มลู ซง่ึ เป็นตวั กาหนดว่าในระบบฐานขอ้ มลู นัน้ ๆ จะประกอบดว้ ยเอนทติ อี ะไรบา้ ง แต่ละ เอนทติ ีจะประกอบด้วย แอททรบิ วิ ต์อะไรบ้าง ความสมั พนั ธ์ระหว่างเอนทิตีจะเป็นอย่างไร ดงั นัน้ เค้าร่างของ ฐานขอ้ มลู จงึ ไม่ควร ทจ่ี ะมกี ารเปลย่ี นแปลง หรอื หากตอ้ งมกี ารเปลย่ี นแปลงกไ็ ม่ควรเกดิ ขน้ึ บอ่ ย จากการทม่ี กี ารแบง่ ระดบั ของขอ้ มลู ออกเป็น 3 ระดบั จงึ ทาใหเ้ กดิ เคา้ รา่ งของฐานขอ้ มลู ขน้ึ เป็น 3 ระดบั ดว้ ย คอื 1). เคา้ รา่ งภายนอก (External Schema หรอื Subschema หรอื View) เป็นเคา้ รา่ งในระดบั ภายนอก ทจ่ี ะแสดงรายละเอยี ดของขอ้ มลู ทผ่ี ใู้ ชแ้ ต่ละคนตอ้ งการ 2). เคา้ รา่ งแนวคดิ (Conceptual Schema) เป็นเคา้ รา่ งซง่ึ จะแสดงรายละเอยี ดของฐานขอ้ มลู ทส่ี รา้ งขน้ึ ไดแ้ ก่ ช่อื เอนทติ ี โครงสรา้ งของขอ้ มลู ตลอดจนความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี 3). เคา้ ร่างภายใน (Internal Schema) เป็นเคา้ รา่ งซง่ึ จะแสดงรายละเอยี ดการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ลงใน แฟ้มขอ้ มลู ในสอ่ื บนั ทกึ

31 8.ครใู หค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ นอกเหนอื จากเน้อื หาการเรยี นการสอน เกย่ี วกบั เงอ่ื นไขตำมหลกั เศรษฐกิจ พอเพียง ในการตดั สนิ ใจและการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งนนั้ ตอ้ งอาศยั ทงั้ ความรู้ และ คุณธรรมเป็นพน้ื ฐาน กล่าวคอื (1) เง่อื นไขความรู้ เป็นความรอบรเู้ กย่ี วกบั วชิ าการต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ความรอบคอบทจ่ี ะนาความรู้ เหลา่ นนั้ มาพจิ ารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกนั เพ่อื การวางแผน และความระมดั ระวงั ในขนั้ ปฏบิ ตั ิ (2) เง่อื นไขคณุ ธรรม เป็นสงิ่ ทต่ี อ้ งเสรมิ สรา้ งใหม้ คี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซ่อื สตั ยส์ จุ รติ และมี ความอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชวี ติ ขนั้ สรปุ และกำรประยกุ ต์ 9.ครแู ละผเู้ รยี นชว่ ยกนั สรปุ เน้อื หาทเ่ี รยี น 10.ผเู้ รยี นทาใบงาน และแบบฝึกหดั สือ่ และแหล่งการเรียนรู้ 1.หนงั สอื เรยี น วชิ าระบบจดั การฐานขอ้ มลู ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2.รปู ภาพ 3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.แผ่นใส 5.สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส,์ PowerPoint 6.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หลกั ฐาน 1.บนั ทกึ การสอน 2.ใบเชค็ รายช่อื 3.แผนจดั การเรยี นรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

32 การวดั ผลและการประเมินผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ 4. ตรวจใบงาน 5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครอื่ งมือวดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น ร่วมกนั ประเมนิ เกณฑก์ ำรประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ 2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั มิ เี กณฑผ์ ่าน 50% 6 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยกู่ บั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ 1.ทากจิ กรรมใบงาน 2.อา่ นและทบทวนบทเรยี น

33 บนั ทึกหลงั การสอน ขอ้ สรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาที่พบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแกป้ ัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

34 แผนการจดั การเรียนรูแ้ บบบูรณาการที่ 4 หน่วยท่ี 2 รหสั 3204-2004 ระบบจดั การฐานขอ้ มูล (2-2-3) สอนครงั้ ที่ 4 (13-16) ชื่อหน่วย/เรือ่ ง สถาปัตยกรรมฐานขอ้ มูล จำนวน 4 ช.ม. สาระสาคญั การสรา้ งระบบฐานขอ้ มูล จะทาให้ผใู้ ชส้ ามารถใชข้ อ้ มูลซ่งึ อย่บู นฐานขอ้ มูลเดยี วกนั โดยไม่ต้องทราบว่า การจดั เกบ็ ขอ้ มูลภายในเคร่อื งจะเป็นอย่างไร มกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ใดบา้ งไวใ้ นระบบ หรอื ใชเ้ ทคนิควธิ ใี ดใน การจดั เกบ็ หรอื เรยี กใชข้ อ้ มลู ทงั้ น้ีผบู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู จะเป็นผคู้ วบคมุ การบรหิ ารงานของระบบฐานขอ้ มลู ทงั้ หมด รวมทงั้ กาหนด ความปลอดภยั ความบูรณภาพของขอ้ มลู แผนการสรา้ งระบบขอ้ มลู สารองและการกู้ ตลอดจน เป็นผปู้ ระสานงานกบั ผใู้ ช้ เพ่อื ปรบั ฐานขอ้ มลู ใหเ้ หมาะสมอยตู่ ลอดเวลา จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 4. บอกภาษาทใ่ี ชใ้ นระบบจดั การฐานขอ้ มลู ได้ 5. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั ระบบจดั การฐานขอ้ มลู ได้ 6. บอกหน้าทข่ี องผบู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู ได้ 7. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง 7.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 7.2 ความมวี นิ ยั 7.3 ความรบั ผดิ ชอบ 7.4 ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ 7.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง 7.6 การประหยดั 7.7 ความสนใจใฝ่รู้ 7.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั 7.9 ความรกั สามคั คี 7.10 ความกตญั ญกู ตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การระบบจดั การฐานขอ้ มลู 2. ออกแบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธต์ ามหลกั การของ การจดั รปู แบบบรรทดั ฐาน 3. ใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการจดั การฐานขอ้ มลู

35 เน้ อื หาสาระ 4. ภาษาทใ่ี ชใ้ นระบบจดั การฐานขอ้ มลู 5. ระบบจดั การฐานขอ้ มลู 6. ผบู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน 1.ครใู ชเ้ ทคนคิ การสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรเู้ ดมิ จากสปั ดาหท์ ผ่ี ่าน มา โดยดงึ ความรเู้ ดมิ ของผเู้ รยี นในเรอ่ื งทจ่ี ะเรยี น เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นมคี วามพรอ้ มในการเชอ่ื มโยงความรใู้ หมก่ บั ความรเู้ ดมิ ของตน ผสู้ อนใชก้ ารสนทนาซกั ถามใหผ้ เู้ รยี นเล่าประสบการณ์เดมิ หรอื ใหผ้ เู้ รยี นแสดงโครงความรู้ เดมิ (Graphic Organizer) ของตน โดยสว่ นประกอบโปรแกรมและการใชโ้ ปรแกรมสรา้ งภาพกราฟิกแบบ Raster 2.ครสู นทนากบั ผเู้ รยี นเกย่ี วกบั ระบบจดั การฐานขอ้ มลู จะมภี าษาทใ่ี ชใ้ นการจดั การฐานขอ้ มลู ซง่ึ จะเรยี ก ผ่านระบบจดั การ ฐานขอ้ มลู ภาษาดงั กลา่ วแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ชนดิ คอื ภาษาสาหรบั นยิ ามขอ้ มลู ภาษาสาหรบั ดาเนนิ การกบั ขอ้ มลู และภาษาสาหรบั การควบคมุ ขอ้ มลู ขนั้ สอน 3.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายเร่อื งภาษาทใ่ี ชใ้ นระบบจดั การฐานขอ้ มลู ซง่ึ แบ่งไดเ้ ป็น 3 ชนิด คอื 1). ภาษาสาหรบั นยิ ามขอ้ มลู (Data Defi nition Language หรอื DDL) ภาษาสาหรบั นยิ ามขอ้ มลู เป็นคาาสงั่ ทใ่ี ชก้ าหนดโครงสรา้ งของฐานขอ้ มลู ทส่ี รา้ งขน้ึ ว่าประกอบดว้ ย แอททรบิ วิ ตอ์ ะไรบา้ ง แอททรบิ วิ ต์ นนั้ ๆ ใชเ้ กบ็ ขอ้ มลู ชนดิ ใด เป็นตน้ จากโครงสรา้ งของ ฐานขอ้ มลู ทก่ี าหนดขน้ึ จะเกบ็ เป็นแฟ้มทเ่ี รยี กวา่ พจนานุกรมขอ้ มลู ตวั อยำ่ ง การใชภ้ าษา SQL (Structure Query Language) ในการกาหนดโครงสรา้ งของตาราง นกั ศกึ ษาซง่ึ ประกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ตต์ ่อไปน้ี - รหสั ลกู คา้ เป็นชนดิ อกั ขระ จานวน 3 ไบต์ - ช่อื ลกู คา้ เป็นชนดิ อกั ขระ จานวน 20 ไบต์ - ทอ่ี ยลู่ กู คา้ เป็นชนดิ อกั ขระ จานวน 30 ไบต์ โดยใชค้ าาสงั่ ในภาษา SQL จะสามารถทาได้ ดงั น้ี CREATE TABLE CUSTOMER , (CID CHAR(3) , CNAME CHAR (20), CADDRESS CHAR (30)); 2). ภาษาสาหรบั ดาเนินการกบั ขอ้ มลู (Data Manipulation Language หรอื DML) ภาษาสาหรบั ดาเนินการกบั ขอ้ มลู เป็นคาสงั่ ทใ่ี ชใ้ นการเรยี กใชข้ อ้ มลู ตลอดจนการปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ซง่ึ จะเป็นการใชค้ าสงั่ ใน DML แลว้ ระบบจดั การฐานขอ้ มลู กจ็ ะเรยี กใชข้ อ้ มลู ผา่ นพจนานุกรมขอ้ มลู ตวั อยำ่ ง คาสงั่ เพอ่ื เรยี กดขู อ้ มลู - รหสั ลกู คา้ และช่อื ลกู คา้ ทงั้ หมดโดยใชภ้ าษา SQL SELECT CID, CNAME FROM CUSTOMER ;

36 3). ภาษาสาหรบั การควบคมุ ขอ้ มลู (Data Control Language หรอื DCL) ภาษาสาหรบั การควบคมุ ขอ้ มลู เป็นคาสงั่ ทใ่ี ชใ้ นการควบคุมความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ควบคุม ภาวะการใชข้ อ้ มลู พรอ้ มกนั จากผใู้ ชห้ ลายคน ในเวลาเดยี วกนั และคาสงั่ ควบคมุ ความปลอดภยั ของขอ้ มลู โดยการใหส้ ทิ ธอิ านาจแก่ผใู้ ชแ้ ต่ละคนในการ เรยี กดหู รอื ปรบั ปรุงขอ้ มลู ตวั อยำ่ ง คาสงั่ เพอ่ื กาหนดสทิ ธอิ านาจใหแ้ กผ่ ใู้ ชท้ ช่ี ่อื PRANEE ในการเรยี กดขู อ้ มลู จากตาราง CUSTOMER GRANT SELECT ON CUSTOMER TO PRANEE ; 4.ครใู ชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารจดั การเรยี นรแู้ บบอภปิ ราย (Discussion Method) เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นอธบิ ายเกย่ี วกบั พจนานุกรมขอ้ มลู (Data Dictionary) บอกความหมายและลกั ษณะการทางาน 5.ผเู้ รยี นคน้ หาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ภาษาทใ่ี ชใ้ นระบบจดั การฐานขอ้ มลู ทงั้ 3 ชนิด บนั ทกึ สรปุ ลงใน กระดาษ A4 6.ครใู ชส้ อ่ื Power Point เพ่อื สรปุ หน้าทข่ี องระบบจดั การฐานขอ้ มลู ไดด้ งั น้ี 1). กาหนดและเกบ็ โครงสรา้ งฐานขอ้ มลู ระบบจดั การฐานขอ้ มลู จะสรา้ งพจนานุกรมขอ้ มลู ขน้ึ เมอ่ื มี การกาหนดโครงสรา้ งของฐานขอ้ มลู ขน้ึ มาเพอ่ื เกบ็ รายละเอยี ดต่างๆ ทเ่ี กย่ี วกบั ฐานขอ้ มลู เชน่ ชอ่ื ตาราง ชอ่ื ฟิลด์ ตลอดจนคยี ต์ ่างๆ เป็นตน้ 2). รบั และเกบ็ ขอ้ มลู ในฐานขอ้ มลู ระบบจดั การฐานขอ้ มลู จะทาการรบั และเกบ็ ขอ้ มลู ลงใน ฐานขอ้ มลู เพอ่ื ใชใ้ นการประมวลผล ต่อไป 3). ดแู ลรกั ษาขอ้ มลู ระบบจดั การฐานขอ้ มลู จะดแู ลรกั ษาขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมไวใ้ นระบบฐานขอ้ มลู 4). ตดิ ต่อกบั ตวั จดั การระบบแฟ้มขอ้ มลู โดยระบบจดั การฐานขอ้ มลู จะประสานกบั ตวั จดั การระบบ แฟ้มขอ้ มลู (File Management) ซง่ึ เป็นฟังกช์ นั การทางานหน่งึ ของระบบการดาเนินงาน (Operating System : OS) ในการคน้ หาว่าขอ้ มลู ทเ่ี ราตอ้ งการนนั้ เกบ็ อยใู่ นตาแหน่งใดในดสิ ก์ โดยระบบจดั การฐานขอ้ มลู จะคอย ประสานกบั ตวั จดั การระบบ แฟ้มขอ้ มลู ในการจดั เกบ็ การปรบั ปรุงขอ้ มลู และการเรยี กใชข้ อ้ มลู 5). ควบคมุ ความบรู ณภาพของขอ้ มลู (Integrity Control) ระบบจดั การฐานขอ้ มลู จะตอ้ งควบคมุ คา่ ของขอ้ มลู ในระบบใหถ้ ูกตอ้ งตามทค่ี วรจะเป็น เชน่ รหสั สนิ คา้ ทป่ี รากฏในใบสงั่ ซอ้ื สนิ คา้ จะตอ้ งเป็นรหสั ทม่ี ี อยใู่ นระเบยี นของสนิ คา้ ทงั้ หมดในรา้ น เป็นตน้ 6). ควบคมุ ความปลอดภยั (Security Control) ระบบจดั การฐานขอ้ มลู จะสามารถป้องกนั ความ เสยี หายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ กบั ฐานขอ้ มลู โดยจะป้องกนั ไมใ่ หผ้ ทู้ ไ่ี มม่ สี ทิ ธไิ ดเ้ ขา้ มาเรยี กใชห้ รอื แกไ้ ขขอ้ มลู ในสว่ นท่ี ตอ้ งการปกป้องไว้ 7). การสรา้ งระบบสารองและการกู้ (Backup and Recovery) ระบบจดั การฐานขอ้ มลู จะจดั ทา ขอ้ มลู สารองเมอ่ื มปี ัญหาเกดิ ขน้ึ เช่น ระบบแฟ้ม ขอ้ มลู เสยี หาย หรอื เครอ่ื งเสยี หาย ระบบจดั การฐานขอ้ มลู กจ็ ะ ใชร้ ะบบขอ้ มลู สารองน้ีในการกสู้ ภาพการทางานของระบบ ใหเ้ ขา้ สสู่ ภาวะปกตไิ ด้ 8). ควบคมุ ภาวะการใชข้ อ้ มลู พรอ้ มกนั ของผใู้ ช้ (Concurrency Control) ระบบจดั การฐานขอ้ มลู ท่ี มคี ณุ สมบตั ใิ นการควบคมุ ภาวะการใชข้ อ้ มลู พรอ้ มกนั น้ีจะทาการควบคมุ การใชข้ อ้ มลู พรอ้ มกนั ของผใู้ ชห้ ลายคน ในเวลาเดยี วกนั ได้ เช่นกรณี ถา้ ผใู้ ชค้ นหน่งึ กาาลงั ทาการแกไ้ ขขอ้ มลู รายการใดอย่รู ะบบจะไมอ่ นุญาตใหผ้ ใู้ ช้

37 คนอน่ื เขา้ มาเรยี กใชข้ อ้ มลู รายการนนั้ จนกว่าการแกไ้ ข จะเสรจ็ เรยี บรอ้ ย เพ่อื ป้องกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ปัญหาการ เรยี กใชข้ อ้ มลู ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง 7.ครใู ชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารจดั การเรยี นรแู้ บบอภปิ ราย (Discussion Method) โดยใหผ้ เู้ รยี นชว่ ยกนั อภปิ ราย หน้าทข่ี องผบู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู ซง่ึ ครจู ะเป็นผสู้ รุปเน้อื หาหลงั การอภปิ รายของผเู้ รยี น ซง่ึ สาระสาคญั มดี งั น้ี ผบู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู (Database Administrator หรอื DBA) มหี น้าทบ่ี รหิ ารการใชง้ านของระบบ ฐานขอ้ มลู เป็นผทู้ จ่ี ะตดั สนิ ใจว่าจะตอ้ งเกบ็ รวมขอ้ มลู ใดไวใ้ นระบบบา้ ง จะใชว้ ธิ กี ารจดั เกบ็ และเรยี กใชข้ อ้ มลู วธิ ี ใด รวมทงั้ เป็นผทู้ ต่ี อ้ งกาหนดระบบความปลอดภยั ของขอ้ มลู กาหนดแผนการสารองขอ้ มลู ตลอดจน ประสานงานกบั ผใู้ ชใ้ นการปรบั ปรงุ ฐานขอ้ มลู เม่อื ผใู้ ชม้ กี ารเปลย่ี นแปลงความตอ้ งการ 8.ครใู หค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ ในการทาทญั ชีรำยรทั -รำยจำ่ ย ซง่ึ เป็นการจดบนั ทกึ เหตุการณ์ต่าง ๆ เกย่ี วกบั การเงนิ หรอื บางสว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การเงนิ โดยผ่านการวเิ คราะห์ จดั ประเภทและบนั ทกึ ไวใ้ นแบบฟอรม์ ทก่ี าหนด เพอ่ื แสดงฐานะการเงนิ และผลการดาเนนิ งานของตนเองหรอื ครอบครวั ในช่วงระยะเวลาหน่งึ เป็นวธิ ชี ว่ ย ตรวจสอบการใชจ้ า่ ยของครอบครวั วา่ มรี ายจา่ ยสมดลุ กบั รายรบั และใชจ้ า่ ยอยา่ งมเี หตุผลตามความจาเป็น พอเหมาะกบั สภาพครอบครวั หรอื ไม่ หากสามารถปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการบรโิ ภค เพ่อื ลดรายจา่ ยทไ่ี มจ่ าเป็น เกนิ ตนได้ จะช่วยใหม้ เี งนิ เกบ็ ออมเพ่อื เป็นรากฐานสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั ทดี ใี นชวี ติ ได้ ข้นั สรุปและการประยุกต์ 9.ครแู ละผเู้ รยี นสรุปเน้อื หาทเ่ี รยี น 10.ครสู มุ่ ถามผเู้ รยี นรายบคุ คลเกย่ี วกบั เน้อื หาทเ่ี รยี นเพ่อื ทดสอบความเขา้ ใจของผเู้ รยี น 11.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน และแบบประเมนิ ผลการเรยี นรหู้ ลงั เรยี น ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ 1.หนงั สอื เรยี น วชิ าระบบจดั การฐานขอ้ มลู ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2.รปู ภาพ 3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.แผน่ ใส 5.สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส,์ สอ่ื PowerPoint 6.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หลกั ฐาน 1.บนั ทกึ การสอน 2.ใบเชค็ รายช่อื 3.แผนจดั การเรยี นรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

38 กำรวดั ผลและกำรประเมินผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ 4. ตรวจใบงาน 5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครอ่ื งมือวดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น รว่ มกนั ประเมนิ เกณฑก์ ำรประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรุง 2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั มิ เี กณฑผ์ ่าน 50% 6 แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ 1.ครแู นะนาใหผ้ เู้ รยี นอ่านทบทวนเน้อื หา และทากจิ กรรมใบงาน 2.ผเู้ รยี นควรศกึ ษาหาความรเู้ พมิ่ เตมิ

39 จงเลอื กคำตอทที่ถกู ต้องท่ีสุดเพียงคำตอทเดียว 1. ในระบบฐานขอ้ มลู มกี ารจดั แบง่ ระดบั ของขอ้ มลู เป็นกร่ี ะดบั ก. 2 ระดบั ข. 3 ระดบั ค. 4 ระดบั ง. 5 ระดบั 2. ระดบั ขอ้ มลู ทผ่ี ใู้ ชแ้ ต่ละคนจะมองขอ้ มลู ของตนเอง จดั เป็นระดบั ใด ก. ระดบั ภายใน ข. ระดบั แนวคดิ ค. ระดบั ภายนอก ง. ระดบั กายภาพ 3. ระดบั ของขอ้ มลู ในระดบั ใดทผ่ี ใู้ ชไ้ มจ่ าเป็นตอ้ งทราบรายละเอยี ด ก. ระดบั ภายนอกและระดบั แนวคดิ ข. ระดบั แนวคดิ และระดบั ภายใน ค. ระดบั ภายนอกและระดบั ภายใน ง. ระดบั ภายนอก ระดบั แนวคดิ และระดบั ภายใน 4. การพจิ ารณาว่าระบบจะตอ้ งประกอบดว้ ยเอนทติ อี ะไรบา้ ง และความสมั พนั ธร์ ะหว่างเอนทติ แี ต่ละ เอนทติ เี ป็น แบบใด จดั ว่าเป็นการพจิ ารณาในระดบั ใดของขอ้ มลู ก. ระดบั ภายใน ข. ระดบั แนวคดิ ค. ระดบั ภายนอก ง. ระดบั กายภาพ 5. ระดบั ใดของขอ้ มลู ทเ่ี ป็นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู จรงิ ก. ระดบั ภายนอก ข. ระดบั แนวคดิ ค. ระดบั ภายใน ง. ทงั้ ระดบั แนวคดิ และระดบั ภายใน 6. การมองเอนทติ ี และความสมั พนั ธร์ ะหว่างเอนทติ ี จดั เป็นการมองในระดบั ใด ก. ระดบั ผใู้ ช้ ข. ระดบั ภายนอก ค. ระดบั ภายใน ง. ระดบั แนวคดิ 7. การเปลย่ี นแปลงแกไ้ ขโครงสรา้ งในระดบั ภายใน โดยไมก่ ระทบต่อโครงสรา้ งในระดบั แนวคดิ และระดบั ภายนอก จดั เป็นลกั ษณะความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ชนดิ ใด ก. ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ภายใน ข. ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ในเชงิ กายภาพ ค. ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ในเชงิ ตรรกะ

40 ง. ถกู ทงั้ ขอ้ ข. และ ค. 8. การเปลย่ี นแปลงขอ้ มลู ในระดบั แนวคดิ ทไ่ี ม่กระทบกบั โครงสรา้ งในระดบั ภายนอก จดั ว่ามคี วามเป็นอสิ ระของ ขอ้ มลู ในแบบใด ก. ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ภายใน ข. ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ในเชงิ ตรรกะ ค. ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ภายนอก ง. ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ในเชงิ กายภาพ 9. คา่ ของขอ้ มลู ณ ขณะเวลาใดเวลาหน่งึ เรยี กว่าอะไร ก. Schema ของฐานขอ้ มลู ข. View ค. Instance ของฐานขอ้ มลู ง. Internal Level 10. เคา้ รา่ งของฐานขอ้ มลู แบ่งเป็นกร่ี ะดบั ก. 2 ระดบั ข. 3 ระดบั ค. 4 ระดบั ง. 5 ระดบั 11. เคา้ รา่ งของฐานขอ้ มลู ระดบั ใดทแ่ี สดงรายละเอยี ดของฐานขอ้ มลู เช่น ช่อื เอนทติ ี ความสมั พนั ธ์ ก. ระดบั ภายนอก ข. ระดบั ภายใน ค. ระดบั ววิ ง. ระดบั แนวคดิ 12. เคา้ ร่างของฐานขอ้ มลู ระดบั ใดทแ่ี สดงรายละเอยี ดการจดั เกบ็ ขอ้ มลู จรงิ ๆ ก. ระดบั ภายนอก ข. ระดบั ภายใน ค. ระดบั ววิ ง. ระดบั แนวคดิ 13. เคา้ รา่ งของขอ้ มลู ในระดบั ใดทอ่ี าจมไี ดห้ ลายๆ ตวั ก. ระดบั ภายนอก ข. ระดบั แนวคดิ ค. ระดบั ภายใน ง. ถกู ทงั้ ขอ้ ข. และ ค. 14. ภาษาทใ่ี ชใ้ นระบบจดั การฐานขอ้ มลู แบ่งเป็นกช่ี นิด ก. 2 ชนิด ข. 3 ชนดิ ค. 4 ชนดิ ง. 5 ชนิด 15. คาสงั่ ทใ่ี ชก้ าหนดโครงสรา้ งของฐานขอ้ มลู ว่าประกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ตใ์ ดบา้ งจดั เป็นภาษาประเภทใด ก. ภาษาสาหรบั นยิ ามขอ้ มลู ข. ภาษาสาหรบั ดาเนินการกบั ขอ้ มลู ค. ภาษาสาหรบั การควบคมุ ขอ้ มลู ง. ภาษาจดั การฐานขอ้ มลู 16. คาสงั่ ทใ่ี ชเ้ พ่อื การเรยี กใชห้ รอื ปรบั ปรงุ ขอ้ มลู จดั เป็นภาษาประเภทใด ก. ภาษาสาหรบั นยิ ามขอ้ มลู ข. ภาษาสาหรบั ดาเนนิ การกบั ขอ้ มลู ค. ภาษาสาหรบั การควบคมุ ขอ้ มลู ง. ภาษาจดั การฐานขอ้ มลู

41 17. ซอฟตแ์ วรท์ ท่ี าหน้าทจ่ี ดั การฐานขอ้ มลู คอื ขอ้ ใด ก. ระบบปฏบิ ตั กิ าร ข. ซอฟตแ์ วรภ์ าษาต่างๆ ค. ระบบจดั การฐานขอ้ มลู ง. ระบบควบคุมขอ้ มลู 18. ระบบจดั การฐานขอ้ มลู (DBMS) มหี น้าทอ่ี ย่างไร ก. ดแู ลรกั ษาขอ้ มลู ข. ตดิ ต่อกบั ตวั จดั การระบบแฟ้มขอ้ มลู ค. ควบคมุ ภาวะการใชข้ อ้ มลู พรอ้ มกนั ง. ถกู ทกุ ขอ้ 19. ผบู้ รหิ ารฐานขอ้ มลู มหี น้าทอ่ี ย่างไร ก. ควบคมุ การบรหิ ารงานของระบบฐานขอ้ มลู ข. ออกแบบว่าระบบควรประกอบดว้ ยขอ้ มลู ใดบา้ ง ค. กาหนดระบบความปลอดภยั ของขอ้ มลู ง. ถูกทกุ ขอ้ 20. ผทู้ ท่ี าหน้าทบ่ี รหิ ารฐานขอ้ มลู จะทาหน้าทค่ี ลา้ ยคลงึ กบั ใคร ก. เจา้ หน้าทเ่ี ขยี นโปรแกรม ข. ผใู้ ช้ ค. หวั หน้าฝ่ายคอมพวิ เตอร์ ง. นกั วเิ คราะหร์ ะบบ

42 บนั ทึกหลงั การสอน ข้อสรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาที่พบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแกป้ ัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

43 แผนการจดั การเรียนรูแ้ บบบูรณาการท่ี 5 หน่วยท่ี 3 รหสั 3204-2004 ระบบจดั การฐานขอ้ มูล (2-2-3) สอนครงั้ ท่ี 5 (17-20) ชือ่ หน่วย/เรือ่ ง ข้นั ตอนการพฒั นาระบบฐานขอ้ มูล จำนวน 4 ช.ม. สาระสาคญั ในการจดั การกบั ขอ้ มลู ในระบบอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพนนั้ จาเป็นทจ่ี ะตอ้ งมรี ะบบฐานขอ้ มลู ทเ่ี หมาะสม ดงั นนั้ ขนั้ ตอนในการพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ใหต้ รงกบั ความตอ้ งการจงึ มคี วามสาคญั เป็นอย่างมาก จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายวงจรพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ได้ 2. อธบิ ายขนั้ ตอนการออกแบบระบบฐานขอ้ มลู ได้ 3. อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหว่างค่าแอททรบิ วิ ตใ์ นแต่ละรเี ลชนั ได้ 4. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั โมเดลจาลองความสมั พนั ธร์ ะหว่างขอ้ มลู ได้ 5. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง 5.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 5.7 ความสนใจใฝ่รู้ 5.2 ความมวี นิ ยั 5.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั 5.3 ความรบั ผดิ ชอบ 5.9 ความรกั สามคั คี 5.4 ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ 5.10 ความกตญั ญกู ตเวที 5.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง 5.6 การประหยดั สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การระบบจดั การฐานขอ้ มลู 2. ออกแบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธต์ ามหลกั การของ การจดั รปู แบบบรรทดั ฐาน 3. ใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการจดั การฐานขอ้ มลู เน้ อื หาสาระ 1. วงจรพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู 2. การออกแบบฐานขอ้ มลู 3. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างคา่ แอททรบิ วิ ตใ์ นแต่ละ รเี ลชนั 4. โมเดลจาลองความสมั พนั ธร์ ะหว่างขอ้ มลู

44 กิจกรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น 1.ครสู นทนากบั ผเู้ รยี นวา่ ในการจดั การกบั ขอ้ มลู ในระบบอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพนนั้ จาเป็นทจ่ี ะตอ้ งมรี ะบบ ฐานขอ้ มลู ทเ่ี หมาะสม ดงั นนั้ ขนั้ ตอนในการพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ใหต้ รงกบั ความตอ้ งการจงึ มคี วามสาคญั เป็น อยา่ งมาก 2.ครกู ล่าวว่าระบบฐานขอ้ มลู คอื สว่ นประกอบพน้ื ฐานของระบบสารสนเทศ โดยเฉพาะระบบสารสนเทศ ขนาดใหญ่ และโดยเน้อื หาแลว้ วงจรการพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู มคี วามสมั พนั ธแ์ ละสบื ทอดมาจากวงจร การ พฒั นาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) 3.ผเู้ รยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ นเรยี น สลบั กนั ตรวจเพ่อื สะสมคะแนนเกบ็ ไว้ ขนั้ สอน 4.ครใู ชเ้ ทคนคิ วธิ สี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) บอกวงจรพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู การพฒั นา ระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) ซง่ึ SDLC ประกอบดว้ ยระยะต่างๆ ดงั น้ี 1). การศกึ ษาเบอ้ื งตน้ (Database Initial Study) 2). การออกแบบฐานขอ้ มลู (Database Design) 3). การนาไปใช้ (Implementation) 4). การทดสอบและประเมนิ ผล (Testing and Evaluation) 5). การปฏบิ ตั งิ าน (Operation) 6). การบาารุงรกั ษา (Maintenance Phase) ซง่ึ ในวงจรน้ี ขนั้ ตอนการออกแบบถอื ไดว้ า่ มี ความสาาคญั มากทส่ี ดุ 5.ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ ว่าในการพฒั นาระบบงานบนคอมพวิ เตอรน์ นั้ สง่ิ สาคญั ทส่ี ดุ คอื อะไร และ เพราะเหตุใด 6.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายการออกแบบในระดบั แนวคดิ (Conceptual Level) ซง่ึ เป็น การศกึ ษาวเิ คราะห์ และรวบรวม ความตอ้ งการของผใู้ ช้ เพอ่ื ทาการออกแบบฐานขอ้ มลู ว่าควรจะประกอบดว้ ยรี เลชนั อะไรบา้ ง เคา้ ร่าง ของแต่ละรเี ลชนั ควรจะประกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ตอ์ ะไรบา้ ง แต่ละรเี ลชนั ใชแ้ อททรบิ วิ ตใ์ ด เป็นคยี ์ โดยเน้นวา่ การออกแบบเคา้ รา่ งของรเี ลชนั ทด่ี จี ะตอ้ งสามารถลดปัญหาต่างๆ ทอ่ี าจเกดิ กบั ฐานขอ้ มลู เช่น ปัญหาขอ้ มลู ซา้ ซอ้ น ความขดั แยง้ ของขอ้ มลู การรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู เป็นตน้ จงึ จะพอกลา่ ว รายละเอยี ดของการออกแบบในระดบั แนวคดิ ไดด้ งั น้ี 1). สรา้ งเอนทติ จี ากความตอ้ งการ 2). ปรบั รเี ลชนั ต่างๆ ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบบรรทดั ฐาน (Normalization) 3). ระบุคยี ท์ ต่ี อ้ งใชใ้ นแต่ละรเี ลชนั 4). ระบุกฎเกณฑ์ ขอ้ จากดั ทต่ี อ้ งคานงึ ถงึ 5). นาผลทไ่ี ดจ้ าก 4 ขนั้ ตอนแรกมารวบรวมเขา้ ดว้ ยกนั

45 7.ครใู ชส้ อ่ื Power Point และสอ่ื วดิ ที ศั น์แสดงขนั้ ตอนการออกแบบฐานขอ้ มลู อย่างละเอยี ด ดงั น้ี ขนั้ ตอนท่ี 1 สรา้ งเอนทติ จี ากความตอ้ งการ หลงั จากทาการศกึ ษารายละเอยี ดของระบบงานทอ่ี อกแบบแลว้ จงึ กาหนดเอนทติ ที เ่ี กย่ี วขอ้ งวา่ ควรจะมี เอนทติ อี ะไรบา้ ง ในแต่ละเอนทติ นี นั้ ควรจะมแี อททรบิ วิ ตใ์ ดเป็นคยี ์ ตวั อย่างเช่น ถา้ ตอ้ งการเกบ็ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั พนกั งานขายและลกู คา้ ทพ่ี นกั งานขายนนั้ ดแู ลอยู่ ฐานขอ้ มลู กค็ วรจะประกอบดว้ ย 2 เอนทติ ี คอื เอนทติ ขี อง พนกั งานขาย และเอนทติ ขี องลกู คา้ โดยกาหนดว่า พนกั งานแต่ละคนมลี กู คา้ ไดห้ ลายคน และลกู คา้ แต่ละคนจะมี พนกั งานขายเพยี ง 1 คนเท่านนั้ ดงั น้ี จากตวั อย่างดงั กลา่ วจะเหน็ ไดว้ า่ หลงั จากกาหนดเอนทติ ที ต่ี อ้ งใชแ้ ลว้ เราจะสรา้ งรเี ลชนั ขน้ึ มาสาหรบั แต่ ละเอนทติ ี แลว้ พจิ ารณาว่าในแตล่ ะเอนทติ นี นั้ ควรจะประกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ตอ์ ะไรบา้ ง จะใชแ้ อททรบิ วิ ตใ์ ดเป็นคยี ์ หลกั รวมทงั้ พจิ ารณาความสมั พนั ธใ์ นแต่ละเอนทติ ี วา่ มคี วามสมั พนั ธก์ นั แบบใดใน 3 ชนิดทไ่ี ดเ้ คยกลา่ วใน รายละเอยี ดมาแลว้ ในหน่วยทผ่ี ่านมา คอื ความสมั พนั ธ์ แบบหน่งึ ต่อหน่งึ แบบหน่งึ ต่อกล่มุ หรอื แบบกลมุ่ ต่อกล่มุ ขนั้ ตอนที่ 2 ปรบั รเี ลชนั ต่างๆ ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบบรรทดั ฐาน (Normalization) เป็นการปรบั รเี ลชนั แต่ละตวั ใหอ้ ย่ใู นรปู แบบบรรทดั ฐาน เพอ่ื ใหโ้ ครงสรา้ งของขอ้ มลู ไม่มี ความซา้ ซอ้ น ขอ้ มลู ถกู ตอ้ งเชอ่ื ถอื ได้ ในการออกแบบฐานขอ้ มลู จงึ ตอ้ งพจิ ารณาว่า จะตอ้ งทาใหอ้ ยใู่ น รปู แบบบรรทดั ฐานถงึ ขนั้ ไหนซง่ึ โดยปกตแิ ลว้ อยา่ งน้อยจะตอ้ งทาการปรบั ถงึ รปู แบบ บรรทดั ฐานระดบั ท่ี 3 แต่ในบางกรณกี อ็ าจตอ้ งปรบั ถงึ รปู แบบบรรทดั ฐานระดบั ท่ี 4 และระดบั ท่ี 5 ในการปรบั รเี ลชนั ใหอ้ ยู่ ในรปู แบบบรรทดั ฐาน จะไดก้ ล่าว รายละเอยี ดในหวั ขอ้ ต่อไป ขนั้ ตอนท่ี 3 ระบุคยี ท์ ต่ี อ้ งใชใ้ นแต่ละรเี ลชนั จากทก่ี ลา่ วมาในขนั้ ตอนท่ี 1 เมอ่ื กาหนดเอนทติ แี ละระบคุ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ แี ลว้ กต็ อ้ งทาการ ระบุแอททรบิ วิ ตต์ ่างๆ ทใ่ี ชเ้ ป็นคยี ์ ไดแ้ ก่ คยี ห์ ลกั คยี ส์ ารอง คยี น์ อก เชน่ พจิ ารณาวา่ คยี ห์ ลกั ของ แต่ละเอนทติ ี ควรจะเป็นแอททรบิ วิ ตใ์ ด มแี อททรบิ วิ ตม์ ากกวา่ 1 แอททรบิ วิ ตห์ รอื ไม่ ทจ่ี ะสามารถใชเ้ ป็น คยี ห์ ลกั ได้ 8.ผเู้ รยี นสบื ตวั อย่างการออกแบบฐานขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ มา 1 ตตตวั อย่าง บนั ทกึ ลงกระดาษ A4 9.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการสอนเรอ่ื งความสมั พนั ธร์ ะหว่างค่าของแอททรบิ วิ ตใ์ นแต่ละรเี ลชนั มอี ยหู่ ลายลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคา่ ของแอททรบิ วิ ตแ์ บบฟังกช์ นั (Functional Dependency) เป็น ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งค่าของแอททรบิ วิ ตใ์ นลกั ษณะทแ่ี อททรบิ วิ ตต์ งั้ แตห่ น่งึ แอททรบิ วิ ต์ ทม่ี าประกอบกนั สามารถไประบุคา่ ของแอททรบิ วิ ตอ์ น่ื ๆ ในทเู พลิ นนั้ ๆ ได้ แอททรบิ วิ ตท์ เ่ี ป็นตวั ไประบุ ค่าของแอททรบิ วิ ตอ์ น่ื ๆ เราเรยี กวา่ Determinant ดงั นนั้ เมอ่ื พดู ถงึ คุณสมบตั ขิ องคยี ห์ ลกั ทก่ี ลา่ วไวใ้ นหน่วยทผ่ี ่านมาจะเหน็ ไดว้ ่าคยี ห์ ลกั กจ็ ะเป็น แอททริ บวิ ตท์ ส่ี ามารถไประบคุ ่าของแอททรบิ วิ ตอ์ น่ื ๆ ในแต่ละทเู พลิ ได้ คยี ห์ ลกั จงึ เป็น Determinant ดว้ ยเชน่ กนั

46 ตวั อยำ่ ง กรณรี หสั ลกู คา้ เป็นคยี ห์ ลกั ของรเี ลชนั ลกู คา้ ดงั นนั้ รหสั ลกู คา้ กจ็ ะสามารถไประบคุ า่ ของ แอททรบิ วิ ต์ ชอ่ื ลกู คา้ และทอ่ี ยลู่ กู คา้ ได้ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคา่ ของแอททรบิ วิ ต์ แบบฟังกช์ นั สามารถ เขยี นโดย ใชส้ ญั ลกั ษณ์ แสดงได้ ตวั อยา่ งน้จี งึ อาจเขยี นไดเ้ ป็น ซง่ึ มคี วามหมายวา่ ชอ่ื ลกู คา้ ขน้ึ อยกู่ บั รหสั ลกู คา้ และทอ่ี ยลู่ กู คา้ กข็ น้ึ อยกู่ บั รหสั ลกู คา้ ดว้ ยเช่นกนั 2). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคา่ ของแอททรบิ วิ ตแ์ บบบางสว่ น (Partial Dependency) เป็นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคา่ ของแอททรบิ วิ ตแ์ บบบางสว่ น จะเกดิ เมอ่ื คยี ม์ ลี กั ษณะเป็น คยี ผ์ สมแลว้ แอ ททรบิ วิ ตท์ เ่ี ป็นบางสว่ นของคยี ห์ ลกั สามารถไประบคุ า่ ของแอททรบิ วิ ตอ์ ่นื ๆ ทไ่ี มใ่ ชค่ ยี ห์ ลกั (Non-Key Attribute) ในรเี ลชนั นนั้ ได้ ตวั อยำ่ ง ถา้ รเี ลชนั การสงั่ ซอ้ื ประกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ต์ รหสั ใบสงั่ ซอ้ื รหสั สนิ คา้ ทส่ี งั่ ซอ้ื ชอ่ื สนิ คา้ และ จานวนทส่ี งั่ ซอ้ื โดยมแี อททรบิ วิ ต์ รหสั ใบสงั่ ซอ้ื และรหสั สนิ คา้ ทส่ี งั่ ซอ้ื เป็นคยี ห์ ลกั สามารถเขยี น โครงสรา้ ง ตารางไดด้ งั น้ี จะพบวา่ รเี ลชนั ดงั กลา่ วน้มี คี วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคา่ ของแอททรบิ วิ ตแ์ บบบางสว่ นเกดิ ขน้ึ คอื แอททริ บวิ ตร์ หสั สนิ คา้ ซง่ึ เป็นสว่ นหน่งึ ของคยี ห์ ลกั สามารถไประบุช่อื สนิ คา้ ได้ เขยี นไดเ้ ป็น ความสมั พนั ธใ์ นลกั ษณะน้ี จะทาใหเ้ กดิ ปัญหาในเร่อื งของการปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ตามมา ดงั จะได้ กล่าว รายละเอยี ดในเร่อื งของการทารเี ลชนั ใหอ้ ย่ใู นรปู แบบบรรทดั ฐานต่อไป 3). ความสมั พนั ธร์ ะหว่างคา่ ของแอททรบิ วิ ตแ์ บบทรานซทิ ฟี (Transitive Dependency) เป็นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งค่าของแอททรบิ วิ ต์ ในลกั ษณะทเ่ี กดิ จากการออกแบบฐานขอ้ มลู ยงั ไม่ เหมาะสม เชน่ ในบางรเี ลชนั แมจ้ ะมแี อททรบิ วิ ตท์ เ่ี ป็นคยี ห์ ลกั ซง่ึ สามารถระบคุ า่ ของแอททรบิ วิ ต์ อน่ื ๆ ในทเู พลิ นนั้ แลว้ กต็ าม แต่กย็ งั พบว่ามบี างแอททรบิ วิ ตท์ ไ่ี มใ่ ชค่ ยี ห์ ลกั แตจ่ ะสามารถไประบคุ า่ ของ แอททรบิ วิ ตอ์ ่นื ๆ ในทู เพลิ นนั้ ไดด้ ว้ ย ความสมั พนั ธร์ ะหว่างคา่ ของแอททรบิ วิ ตใ์ นลกั ษณะน้เี ราจะเรยี กว่า เป็นแบบทรานซทิ ฟี ตวั อยำ่ งเช่น ถา้ รเี ลชนั การสงั่ ซอ้ื ประกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ตต์ ่างๆ ดงั โครงสรา้ งต่อไปน้ี จะพบว่ารเี ลชนั ดงั กล่าวน้มี คี วามสมั พนั ธร์ ะหว่างค่าของแอททรบิ วิ ต์ เขยี นไดเ้ ป็น

47 จากตวั อยา่ งขา้ งตน้ จะพบวา่ แอททรบิ วิ ตร์ หสั ลกู คา้ ในรเี ลชนั การสงั่ ซอ้ื ไมใ่ ชค่ ยี ห์ ลกั แต่สามารถ ไประบคุ ่าของแอ ททรบิ วิ ตช์ ่อื ลกู คา้ ได้ 4). ความสมั พนั ธร์ ะหว่างคา่ ของแอททรบิ วิ ตแ์ บบหลายค่า (Multivalued Dependency) เป็นความสมั พนั ธร์ ะหว่างค่าของแอททรบิ วิ ตท์ เ่ี กดิ ในกรณที ร่ี เี ลชนั นนั้ ประกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ต์ อย่าง น้อย 3 แอททรบิ วิ ต์ โดยแอททรบิ วิ ตห์ น่งึ จะสามารถไประบุค่าของแอททรบิ วิ ตอ์ น่ื ๆ ไดห้ ลายคา่ เราจะเรยี กรเี ล ชนั นนั้ วา่ มคี วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งค่าของแอททรบิ วิ ตแ์ บบหลายคา่ ตวั อยำ่ ง รเี ลชนั การผลติ ประกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ต์ รหสั ผผู้ ลติ รหสั โครงการทร่ี บั มาผลติ และ ช่อื จงั หวดั ทผ่ี ผู้ ลติ มโี รงงานตงั้ อยู่ โดยผผู้ ลติ แต่ละรายจะสามารถรบั งานไดห้ ลายโครงการพรอ้ มกนั ในขณะท่ี ผผู้ ลติ แต่ละรายกอ็ าจมโี รงงานตงั้ อย่ทู ห่ี ลายจงั หวดั ดว้ ย ดงั ตวั อยา่ งขอ้ มลู ต่อไปน ความสมั พนั ธร์ ะหว่างคา่ ของแอททรบิ วิ ตแ์ บบหลายคา่ สามารถเขยี นโดยใชส้ ญั ลกั ษณ์ แสดงได้ ตวั อยา่ งนจ้ี งึ อาจเขยี นไดเ้ ป็น และโดยทแ่ี อททรบิ วิ ตร์ หสั โครงการ และทต่ี งั้ โรงงาน ไม่ไดม้ คี วามสมั พนั ธเ์ กย่ี วขอ้ งกนั เลย แต่เป็น ขอ้ มลู ทม่ี าอยใู่ นรเี ลชนั เดยี วกนั จงึ ทาใหค้ า่ ของแอททรบิ วิ ตท์ ต่ี งั้ โรงงานปรากฏอยซู่ า้ กนั ในหลายทเู พลิ เพ่อื ให้ ขอ้ มลู ครบถว้ น ความสมั พนั ธใ์ นลกั ษณะน้จี ะทาใหเ้ กดิ ปัญหาในเรอ่ื งของการปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ตามมารายละเอยี ดใน เร่อื งน้จี ะขอนาไปกลา่ วไวใ้ นเร่อื งของการทารเี ลชนั ใหอ้ ย่ใู นรปู แบบบรรทดั ฐานต่อไป 10.ผเู้ รยี นยกตวั อยา่ งเพมิ่ เตมิ เรอ่ื งความสมั พนั ธร์ ะหว่างค่าของแอททรบิ วิ ตใ์ นแต่ละรเี ลชนั ทงั้ 4 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างคา่ ของแอททรบิ วิ ตแ์ บบฟังกช์ นั ความสมั พนั ธร์ ะหว่างค่าของแอททรบิ วิ ต์ แบบบางสว่ น ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งค่าของแอททรบิ วิ ตแ์ บบทรานซทิ ฟี และความสมั พนั ธร์ ะหว่างค่าของแอ ททรบิ วิ ตแ์ บบหลายคา่

48 11.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายเรอ่ื งโมเดลจาลองความสมั พนั ธร์ ะหว่างขอ้ มลู (Entity- Relationship Model : E-R Model) ซง่ึ เป็นอกี แนวคดิ ทใ่ี ชเ้ ป็นเคร่อื งมอื อยา่ งหน่งึ ในการออกแบบฐานขอ้ มลู ซง่ึ ไดร้ บั ความนยิ มเชน่ เดยี วกบั โมเดลเชงิ สมั พนั ธใ์ นหน่วยนจ้ี ะกล่าวถงึ แนวคดิ และขนั้ ตอนในการเขยี นโมเดลแบบ E-R แนวคิดเก่ียวกทั โมเดลแทท E-R การสรา้ งโมเดลแบบ E-R จะมแี นวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ เรอ่ื งของเอนทติ ี คณุ ลกั ษณะและ ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งเอนทติ ี รวมทงั้ สญั ลกั ษณ์ในโมเดลแบบ E-R 1). เอนทติ ี ในการสรา้ งโมเดลแบบ E-R จะตอ้ งกาหนดวา่ ในระบบทอ่ี อกแบบนนั้ ๆ จะประกอบดว้ ยเอนทติ ี อะไรบา้ ง เช่น ในระบบฐานขอ้ มลู งานทะเบยี นนกั ศกึ ษาจะประกอบดว้ ยเอนทติ นี กั ศกึ ษา เอนทติ ี การลงทะเบยี น เอนทติ วี ชิ า และเอนทติ อี าจารย์ เป็นตน้ 2). คณุ ลกั ษณะของเอนทติ ี เป็นการกาหนดแอททรบิ วิ ตต์ ่างๆ ในแต่ละเอนทติ นี นั่ เอง นอกจากน้ยี งั อาจประกอบดว้ ย รายละเอยี ด เชน่ แอททรบิ วิ ตใ์ ดเป็นคยี ์ หรอื เป็นขอ้ มลู ทแ่ี ปลค่ามา เป็นตน้ 3). ความสมั พนั ธร์ ะหว่างเอนทติ ี เป็นการระบวุ ่าเอนทติ ตี ่างๆ มคี วามสมั พนั ธก์ นั อย่างไร ลกั ษณะความสมั พนั ธอ์ าจเป็นแบบหนง่ึ ต่อหน่งึ หน่งึ ต่อกลมุ่ หรอื แบบกลุม่ ต่อกลุม่ โดยคานึงถงึ การทข่ี อ้ มลู ทกุ ขอ้ มลู หรอื เพยี งบางขอ้ มลู ของเอนทติ หี น่งึ มคี วามสมั พนั ธก์ บั ขอ้ มลู ของอกี เอนทติ หี น่งึ ซง่ึ พอจะกลา่ วใหล้ ะเอยี ดลงไปไดด้ งั น้ี 3.1 แบบ Total Participation เป็นลกั ษณะทข่ี อ้ มลู ทกุ ขอ้ มลู ของเอนทติ หี น่งึ มคี วามสมั พนั ธ์ กบั ขอ้ มลู ของอกี เอนทติ หี น่งึ ตวั อยา่ งเช่น ถา้ กาหนดวา่ อาจารยแ์ ต่ละคนจะสงั กดั คณะวชิ าใดคณะวชิ าหนง่ึ เทา่ นนั้ จะสามารถแสดงดงั รปู ท่ี 3.1 จากตวั อย่างขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ ถา้ ไมม่ เี อนทติ อี าจารยก์ ย็ อ่ มจะไม่มเี อนทติ คี ณะวชิ าในลกั ษณะ เช่นน้เี ราเรยี กเอนทติ คี ณะวชิ าวา่ เป็นเอนทติ ชี นิดอ่อนแอ (Weak Entity) เอนทติ อี ่อนแอจะมคี วามสมั พนั ธก์ บั อกี เอนทติ หี น่งึ ทม่ี คี วามหมายกบั ตวั มนั (Owner Entity) และ เราเรยี กความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ อี ่อนแอกบั เอนทติ ที ม่ี คี วามหมายกบั ตวั มนั ว่าเป็นความสมั พนั ธช์ นิด Identifying Relationship


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook