Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป

การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป

Description: การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป

Keywords: ทัศนศิลป,ความคิดสร้างสรรค์

Search

Read the Text Version

นฤทธ์ิ วัฒนภู / Narit Vadhanabhu โครงการสง่ เสรมิ การวิจยั และสรา้ งสรรค์นวัตกรรม ประจำ� ปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนสาธติ “พบิ ูลบ�ำเพญ็ ” มหาวิทยาลัยบรู พา

โครงการส่งเสริมการวิจยั และสร้างสรรค์นวตั กรรม ประจ�ำปงี บประมาณ 2563 การพฒั นาความคิดสร้างสรรคท์ างทัศนศลิ ป์ The development of creativity in visual arts ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data นฤทธิ์ วัฒนภู. การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรคท์ างทศั นศลิ ป์ = The development of creativity in visual arts.--ชลบรุ ี : สาธติ บรู พา, 2564. 192 หน้า. 1.ทศั นศิลป.์ I. ปราโมทย์ ขวญั กลาง, ผวู้ าดภาพประกอบ. II. ดาราวรรณ ศรีตะปนั ย์. ผูว้ าดภาพประกอบร่วม. III. ชอ่ื เรอ่ื ง. 700 ISBN 978-616-582-008-0 จดั ท�ำโดย : นฤทธ์ิ วัฒนภู โรงเรียนสาธติ “พิบลู บำ� เพญ็ ” มหาวทิ ยาลัยบรู พา 73 ถ.บางแสนลา่ ง ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบรุ ี 20131 ออกแบบปกและรูปเล่ม : กติ ติคณุ หตุ ะมาน, วัชรพงศ์ บุญต้น ภาพประกอบ : ปราโมทย์ ขวัญกลาง, ดาราวรรณ ศรีตะปันย์ พิมพค์ ร้ังที่ 1 (ฉบบั ปรับปรุง) : ตุลาคม 2564 พมิ พท์ ่ี : สาธติ บรู พา 73 ถ.บางแสนลา่ ง ต.แสนสขุ อ.เมือง จ.ชลบรุ ี 20131

ค�ำนำ� หนงั สือ เร่ือง การพฒั นาความคดิ สร้างสรรคท์ างทัศนศิลปเ์ กดิ ขึน้ เพื่อใช้ เป็นเอกสารทางวิชาการ ในการน�ำเสนอเทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำ� หรับผ้สู อนนำ� ไปปรบั ใช้กบั ผเู้ รยี นทางดา้ นทัศนศลิ ป์ทกุ แขนงวชิ า และสามารถ น�ำไปปรับใช้กับทัศนศิลป์ในทุกระดับการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นระดับการศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน การอุดมศึกษา และรวมไปถึงผ้เู รยี นในระบบการศึกษาตามอธั ยาศัย หรือผู้ปฏิบัติงานทางทัศนศิลป์โดยเนื้อหาท่ีปรากฏอยู่ในหนังสือ ประกอบด้วย บทน�ำ เป็นบทท่ีอธิบายถึงภาพรวม ความสัมพันธ์และความส�ำคัญของความคิด สรา้ งสรรค์ทีม่ ตี ่อสังคม บทท่ี ๑ ความคิดสรา้ งสรรค์ อธบิ ายเกยี่ วกบั ความคิด สร้างสรรคต์ ามมมุ มองทางการศึกษาคน้ คว้าจากนกั วชิ าการ ทัง้ ชาวต่างชาตแิ ละ ชาวไทย บทท่ี ๒ ความคิดสร้างสรรค์กับทัศนศิลป์ โดยกล่าวถึงผลงาน ทศั นศลิ ปแ์ ตล่ ะรปู แบบแตล่ ะลกั ษณะ ทเี่ กดิ จากกระบวนการความคดิ สรา้ งสรรค์ บทที่ ๓ การเตรียมความพร้อมสู่การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ทางทศั นศลิ ป์ เป็นการอธิบายเก่ียวกับการเตรียมความพร้อมในประเด็นต่างๆ ของการพัฒนา บทท่ี ๔ เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ ผู้เขียนน�ำเสนอ เทคนคิ วธิ กี ารเพอื่ เปน็ แนวทางในการพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรคท์ างทศั นศลิ ปด์ ว้ ย กระบวนวธิ แี บบตา่ งๆ และบทสรปุ สำ� หรบั การประมวลเนอ้ื หาความรทู้ ง้ั หมดโดย องค์ความรู้ที่ปรากฏในหนังสือน้ีมีความเหมาะสมกับผู้สอนทางด้านทัศนศิลป์ทุก ระดับการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้สอนที่จัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เนื่องจากผู้เรียนระดับน้ีเป็นเยาวชนที่จะเติบโตข้ึน เปน็ ผใู้ หญใ่ นอนาคต หากไดพ้ ฒั นาความคดิ สรา้ งสรรคท์ างทศั นศลิ ปใ์ หก้ บั ผเู้ รยี น กลุ่มนี้ เมื่อเข้าสู่การศึกษาระดับที่สูงข้ึน หรือตลาดแรงงานตามสายงาน และ ศักยภาพของผู้เรียน จะสามารถพัฒนากระบวนการคิดสร้างสรรค์ตามสายงาน ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงสอดคล้องตามเจตนารมณ์ในหลักสูตร และ สนองตอบแนวนโยบาย ประเทศไทย ๔.๐ ของรฐั บาล ทมี่ งุ่ เนน้ การสรา้ งนวตั กรรม ดว้ ยความคดิ สร้างสรรค์ เน้ือหาสาระท่ีผู้เขียนน�ำมาใช้ในหนังสือนี้ได้รับแนวคิดและความรู้จาก เอกสารทางวชิ าการฉบบั ตา่ งๆ อนั เป็นผลผลติ ทางปญั ญาของนกั คิด นกั วิชาการ แตล่ ะทา่ น ผเู้ ขยี นจงึ ขอขอบคณุ ในการเผยแพรข่ อ้ มลู ทมี่ ปี ระโยชนน์ ี้ รวมทงั้ ผทู้ รง

คุณวุฒิท่ีให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับเน้ือหาในการจัดท�ำหนังสือเล่มนี้ ได้แก่ รอง ศาสตราจารย์ ดร.ฉลอง ทบั ศรี ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการผลติ สอื่ และออกแบบการเรยี น การสอน และรองศาสตราจารย์ ดร.บญุ เสริม วฒั นกิจ ผู้เช่ียวชาญทางทัศนศลิ ป์ ด้านจิตรกรรมร่วมสมัย หากพบข้อมูลหรือความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนผู้เขียนต้อง ขออภัยในท่ีน้ี ผเู้ ขยี นขอน้อมรบั และปรับปรงุ ในโอกาสต่อไป สดุ ท้ายนีผ้ ู้เขยี น หวงั วา่ รายละเอยี ดและแนวทางในหนงั สอื นจ้ี ะเปน็ ประโยชนแ์ ละมคี ณุ คา่ ตอ่ การ พฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ทางทศั นศิลป์ของเยาวชนไมม่ ากกน็ ้อย นฤทธิ์ วัฒนภู ตุลาคม ๒๕๖๔

ค�ำนำ� ๓ บทนำ� ๗ บทที่ หน้า ความคิดสร้างสรรค ์ ๑๕ ความคดิ สร้างสรรคค์ ืออะไร ? ๑๖ การศึกษาเกยี่ วกบั ความคิดสรา้ งสรรคท์ ผี่ ่านมา ๒๐ สมองกบั ความคิดสร้างสรรค ์ ๒๖ ผลงานที่เกดิ จากความคดิ สรา้ งสรรค ์ ๒๙ ความสำ� คัญของความคิดสร้างสรรค์ ๓๕ ความคดิ สรา้ งสรรค์กบั ความคดิ ที่ใกล้เคยี ง ๓๗ แนวคิดทฤษฎีเก่ยี วกับความคิดสรา้ งสรรค ์ ๔๓ ลักษณะของผู้ท่มี ีความคดิ สรา้ งสรรค ์ ๕๒ ความคิดสรา้ งสรรคก์ บั ทศั นศิลป ์ ๕๕ ภาพรวมเก่ียวกบั ทศั นศลิ ป์ ๕๖ ความหมายของ สรา้ งสรรค์ทีเ่ กีย่ วข้องกบั ทัศนศิลป์ ๖๑ ลักษณะงานทศั นศิลปก์ ับระดบั การใช้ความคิดสร้างสรรค์ ๖๓ หลักการ แนวคดิ ทฤษฎีทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับทัศนศิลป ์ ๗๒ การเตรยี มความพรอ้ มสู่การพัฒนาความคดิ สร้างสรรค์ ๙๑ ทางทศั นศลิ ป ์ ๙๒ การปรบั สภาพรา่ งกาย จิตใจ และทัศนคติ ๑๐๔ การจดั เตรียมสภาพแวดลอ้ มและสร้างบรรยากาศ ๑๐๙ การจัดเตรยี มขอ้ มูล ๑๑๓ การจัดเตรียมวสั ดุอปุ กรณ์ ๑๑๔ การจดั เตรียมระยะเวลา ๑๑๖ การเตรยี มการประเมนิ

บทท่ี หนา้ เทคนิคการพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรคท์ างทัศนศลิ ป์ ๑๒๗ การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ทางทศั นศิลป์โดยใช้วิธกี าร ๑๒๙ อปุ นัย (Induction Method) ๑๓๕ การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ทางทศั นศลิ ปด์ ้วยแนวคิด ๑๔๑ “ไอเดียเกา่ +ไอเดียเก่า = ไอเดยี ใหม”่ ๑๔๖ การพัฒนาความคิดสร้างสรรคท์ างทศั นศลิ ป์ โดยใช้แบบ ๑๔๙ ตรวจสอบของออสบอร์น (Osborn’s Checklist) ๑๕๕ การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรคท์ างทศั นศลิ ป์โดยใช้ ๑๕๗ บญั ชรี ายการ (Catalog) ๑๖๔ การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางทศั นศิลป์โดยการ ๑๗๒ ระดมสมองตามแนวคิดของทฤษฎี Synectic การพฒั นาความคิดสร้างสรรคท์ างทัศนศลิ ปด์ ว้ ยเทคนคิ ๑๗๖ การเปรียบเทียบ (Comparison technique) ๑๗๗ การพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ทางทศั นศลิ ป์โดยใช้ วฒั นธรรมเปน็ ฐาน การพัฒนาความคดิ สร้างสรรค์ทางทศั นศิลปด์ ้วยการ วจิ ารณศ์ ลิ ปะ การพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ทางทศั นศลิ ปด์ ้วย คอนทัวรด์ รออิง้ (Contour drawing) การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ทางทศั นศลิ ปแ์ บบ ข้ามกระบวนการ (Cross Method) การพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ทางทศั นศิลป์ด้วย สีคตู่ รงขา้ ม (Negative style) การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคท์ างทัศนศิลป์จากภาวะวกิ ฤต บทสรุป ๑๘๑ บรรณานุกรม ๑๘๕ ประวัติผเู้ ขยี น ๑๘๙

บทนำ�

๘ การพัฒนาความคิดสร้างสรรคท์ างทศั นศลิ ป์ บท บทนำ� น�ำ การเปลย่ี นแปลงของโลกทกุ วนั นเี้ ปน็ ไปแบบกา้ วกระโดด แตกตา่ งจากใน อดตี เมอ่ื ๒๐-๓๐ ปกี อ่ น ทม่ี ลี กั ษณะเปน็ แบบคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป เนอ่ื งดว้ ยความเจรญิ ก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีท่ีหล่อหลอมให้ผู้คนจากทุกมุมโลกใกล้ชิดกันมากขึ้น ข้อมลู สารสนเทศจากแหล่งหนง่ึ แพร่กระจายสูอ่ ีกแหล่งเพยี งช่วั พริบตา มนุษย์จงึ ตอ้ งปรบั ตวั ใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ หากผใู้ ดปรบั ตวั ไมท่ นั กเ็ ทา่ กบั เดนิ ถอยหลงั ย้อนกลบั ไปสอู่ ีกโลกหนึ่ง การพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่งผลต่อการปรับ เปลย่ี นในมติ อิ ืน่ ด้วย เชน่ ระบบเศรษฐกิจ การเมือง การทหาร สาธารณสุข และ เมอ่ื ระบบเหลา่ นี้ตอ้ งปรับ ระบบการศกึ ษา ทเ่ี ป็นกลไกสำ� คัญ ก็ต้องปรับตวั ตาม เพ่ือเตรียมความพร้อมให้กับมนุษย์สู่การเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน ระบบเหล่าน้ีจึง จ�ำเป็นต้องพัฒนาตามให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลก ซึ่งส่ิงหนึ่งท่ีสามารถ กระตนุ้ และผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ คอื ความคดิ สรา้ งสรรคข์ อง มนุษย์

๙ การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ทางทัศนศลิ ป์ ความคิดสร้างสรรค์ เป็นศักยภาพของมนุษย์ท่ีแตกต่างจากสิ่งมีชีวิตอ่ืน มีคุณประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์สรรพส่ิง ไม่ว่าจะเป็นวิธีการ ระบบ แนวทาง ผลผลิต สิ่งประดิษฐ์ เพ่ือการแก้ปัญหาหรือพัฒนาให้มนุษย์สามารถด�ำรงชีพอยู่ บนโลกได้อย่างมีคุณภาพ ดังน้ัน ความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นสิ่งที่มีความส�ำคัญ และจำ� เป็น ตอ่ การเกิดขนึ้ ของนวตั กรรม เพอ่ื พฒั นาสงั คมโลกใหเ้ จรญิ งอกงาม จากการเปลยี่ นแปลงในทกุ ดา้ นบนโลกปจั จบุ นั ซงึ่ มคี วามรวดเรว็ กวา่ ในอดตี เป็นอย่างมากนั้น โดยการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงท้ังปวง จึงถูกริเริ่ม แนวคิดบางประการ เพื่อให้เยาวชนรุ่นใหม่สามารถใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางความ เปลีย่ นแปลงได้ในอนาคต CREATIVE ปัจจุบนั ค.ศ. ๒๐๒๐ ผ่านชว่ งเวลาของศตวรรษที่ ๒๑ มาเพยี ง ๒๐ ปี แตช่ ว่ งศตวรรษท่ี ๒๑ ยงั เหลอื เวลาอกี ชวั่ อายคุ น ดงั นน้ั เพอ่ื เปน็ การเตรยี มความ พร้อมให้กับมนุษย์ ซึ่งเป็นทรัพยากรที่ส�ำคัญท่ีสุด จึงเกิดการร่วมมือกันก�ำหนด แนวทางและวสิ ยั ทศั น ์ นำ� โดยกลมุ่ บรษิ ทั เอกชนชน้ั นำ� ระดบั โลก เพอ่ื วางพนื้ ฐาน ใหก้ ับเยาวชนรนุ่ ใหม่ เกดิ เป็นทักษะที่จ�ำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ข้นึ โดยแบง่ ออก เป็น ๓ ส่วน ได้แก่ ทักษะชีวิตและการท�ำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม และทักษะดา้ นสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี ทักษะเหลา่ น้ไี ด้หลอมรวมทักษะ หรือคุณลักษณะย่อยไว้อีกหลากหลายประการ โดย ๑ ในน้ัน คือ ความคิด สร้างสรรค์ (Creative Thinking) แทรกอยู่ในทักษะด้านการเรียนรู้และ นวตั กรรม เนอ่ื งจากการทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ของนวตั กรรม จำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทตี่ อ้ งเกดิ ความ คิดสร้างสรรค์เป็นหลัก และเป็นส่วนที่ก�ำหนดไว้เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับ เยาวชน เข้าสรู่ ะบบการทำ� งานท่ซี บั ซอ้ นมากกว่าในอดตี ท่ีผา่ นมา รวมทง้ั ได้วาง กรอบแนวคดิ ดา้ นการเรียนรแู้ ละนวตั กรรม ออกเปน็ ๓ ประเดน็ ย่อย ประกอบ ด้วย ความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและการ แกป้ ญั หา สดุ ทา้ ยคอื การสอื่ สารและการรว่ มมอื จะเหน็ ไดว้ า่ ความคดิ สรา้ งสรรค ์ เปน็ ลกั ษณะหนง่ึ ของความคดิ ทมี่ คี วามสำ� คญั และแทรกอยใู่ นวสิ ยั ทศั นก์ ารพฒั นา ประเทศของทุกชาติ

๑๐ การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรคท์ างทศั นศลิ ป์ บท น�ำ ส�ำหรับประเทศไทย มีการก�ำหนดแนวนโยบายเพื่อเตรียมรับการ เปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วเชน่ เดียวกัน โดยใชแ้ นวคิด ประเทศไทย ๔.๐ ท่มี งุ่ เน้น การใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์ เพอ่ื ใหเ้ กดิ นวตั กรรม แทนนโยบายเดมิ ทเ่ี นน้ เพยี งความ สำ� คญั ของอตุ สาหกรรมหนกั เทา่ นนั้ จะพบวา่ ประเทศไทยเรม่ิ ตนื่ ตวั และใหค้ วาม ส�ำคัญต่อความคิดสร้างสรรค์ในทุกวงการมากกว่าในอดีต ในประเด็นน้ีสามารถ ยืนยันไดจ้ ากการก�ำหนดเนือ้ หาสาระการเรียนร้ขู องหลักสูตรในระดบั ต่าง ๆ โดย เฉพาะอย่างยิง่ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ที่ใช้ กนั อยใู่ นปจั จบุ นั เพอื่ ใหเ้ ยาวชนทจี่ ะเตบิ โตไปเปน็ พลเมอื งไทยทม่ี คี ณุ ภาพ และมี ทกั ษะดา้ นการเรยี นรแู้ ละนวตั กรรม ตามกรอบแนวคดิ ทกั ษะทจ่ี ำ� เปน็ ในศตวรรษ ที่ ๒๑ ที่ตนื่ ตวั กันท่วั โลก CREATIVE เม่ือความคิดสรา้ งสรรค์มคี วามส�ำคัญ และจำ� เปน็ ต่อการพัฒนาประเทศ จงึ มกี ารสรา้ งหลกั สตู รเพอื่ กำ� หนดทศิ ทางการเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี น โดยมงุ่ เนน้ การเกดิ ความคดิ สร้างสรรค์ โดยแบ่งออกเปน็ หลายกล่มุ สาระการเรยี นร ู้ ซง่ึ กลมุ่ สาระ การเรียนรู้ท่ีมีลักษณะเน้ือหาสาระเหมาะสมกับการส่งเสริม พัฒนา และ กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ คอื กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ เนอ่ื งจาก ลักษณะวชิ าและธรรมชาติของกิจกรรมการเรียนร ู้ มคี วามผอ่ นคลาย ไม่ยึดติด กบั หลกั เกณฑม์ ากเกนิ ควร มผี ลติ ผลเปน็ ชน้ิ งานศลิ ปะ ทส่ี ามารถวดั และประเมนิ ไดช้ ดั เจน รวมทง้ั ผเู้ รยี นมอี สิ ระตอ่ การใชก้ ระบวนการคดิ อยา่ งสรา้ งสรรคต์ าม ศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล จงึ ปรากฏเนอื้ ความในมาตรฐานการเรยี นรู้ โดยเฉพาะ ที่เกี่ยวข้องกับสาระทัศนศิลป์ ซึ่งมีความเด่นชัดมากกว่าสาระอื่น คือ “มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความร้สู ึก ความคดิ ต่องานศิลปะอยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และ ประยุกตใ์ ช้ใน ชวี ิตประจำ� วัน” จากเนือ้ ความนส้ี ังเกตเหน็ วา่ มีคำ� วา่ “สร้างสรรค์” ถงึ ๒ จดุ คอื สรา้ งสรรค์ งานทศั นศิลปต์ ามจนิ ตนาการและ ความคิดสรา้ งสรรค์ แสดงให้ เห็นถึง ความแตกต่างตามนัยยะของ ๒ ค�ำนี้ กล่าวคือ สร้างสรรค์ตัวแรก หมายถึง การผลิต การสร้างช้นิ งานเท่านัน้ แม้เป็นงานคัดลอกผลงานศลิ ปะตาม

๑๑ การพัฒนาความคดิ สร้างสรรคท์ างทัศนศลิ ป์ แมแ่ บบ กถ็ ือวา่ เป็นวิธีการสร้างสรรค์ ส่วนสร้างสรรคต์ ัวหลงั มีนยั ยะถึงการใช้ กระบวนการคดิ เพอื่ ใหไ้ ด้มาซง่ึ ส่งิ ใหม่ที่แตกต่างจากรูปแบบเดมิ ทม่ี อี ยู ่ ดงั นน้ั ในความหมายนกี้ ารผลติ ผลงานตามตน้ แบบ จงึ ไมถ่ อื วา่ เปน็ ความคดิ สรา้ งสรรค์ เนื่องจากเปน็ การใชส้ ายตาและมอื เพอื่ คดั ลอกหรอื COPY งานเท่านน้ั โดย เนื้อหาที่ปรากฏในหนังสือน้ีเป็นการมุ่งเน้นเฉพาะ สร้างสรรค์ ท่ีมีนัยยะถึง กระบวนการคิดให้เกิดสิ่งใหม่ที่แปลกแตกต่างจากสิ่งเดิมที่มีอยู่แล้ว และเม่ือ พจิ ารณาวเิ คราะหต์ วั ชว้ี ดั ในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ สาระทศั นศิลป์ทุกระดบั ชนั้ มกั เนน้ ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ กระบวนการคดิ สรา้ งสรรคต์ าม ศกั ยภาพของผเู้ รยี นแตล่ ะระดบั ดงั ตวั อยา่ งเชน่ ม.๑.๑ ป.๑/๔ สรา้ งงานทศั นศลิ ป์ โดยการทดลองใชส้ ดี ว้ ยเทคนคิ งา่ ยๆ เปน็ ตวั ชว้ี ดั ของสาระทศั นศลิ ป ์ ชนั้ ประถม ศกึ ษาปที ่ี ๑ เนน้ การทดลองสรา้ งผลงานทศั นศลิ ปโ์ ดยใชส้ ดี ว้ ยเทคนคิ งา่ ยๆ เปน็ ๓ สงิ่ ทจี่ ะกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นใชค้ วามคดิ อยา่ งอสิ ระ เพอ่ื ทดลองสรา้ งงานศลิ ปะ การ ทดลองน้ีจะได้ผลงานตามเทคนิคที่หลากหลาย ไม่ซ�้ำแบบกัน ผู้เรียนจะเกิด กระบวนการคิดสร้างสรรค์ได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล หรือตัวช้ีวัดระดับ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ม.๑.๑ ม.๓/๕ มที กั ษะในการผสมผสานวสั ดตุ า่ งๆ ในการสรา้ ง งาน ทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ ตัวช้ีวัดนี้มีความชัดเจนมากท่ีจะพัฒนา ความคดิ สร้างสรรค์ของผูเ้ รยี นไดเ้ ป็นอยา่ งดี

๑๒ การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ทางทศั นศลิ ป์ บท จากตัวอย่างของตัวช้ีวัดในสาระทัศนศิลป์ข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความ น�ำ ส�ำคัญของความคิดสร้างสรรค์ ที่เน้นให้กับผู้เรียนในระดับพ้ืนฐานของระบบการ ศกึ ษา เมอ่ื ผเู้ รยี นกลมุ่ นม้ี กี ารศกึ ษาทสี่ งู ขนึ้ จะรจู้ กั และคนุ้ เคยกบั กระบวนการคดิ สร้างสรรค์ แม้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานฉบับนี้ จะใช้งานมาเป็น เวลากว่า ๑๐ ปีแลว้ ก็ตาม แต่หากมีการปรับปรงุ หลกั สตู รใหมใ่ นอนาคต ก็คาด เดาได้ว่า กระบวนการคิดสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ คงยังปรากฏในเน้ือหาของ หลักสตู ร และอาจจะเนน้ หนักมากขึน้ กวา่ ฉบับที่ใชก้ ันอย่ใู นปัจจบุ นั แน่นอน โดย ปัจจุบันจะเห็นได้จากการน�ำกระบวนการสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ บูรณาการเข้า กบั เน้อื หาและกจิ กรรมการเรยี นรู้ในสาขาวชิ าอื่นๆ ตัวอยา่ งเชน่ วิธจี ัดการเรียนรู้ แบบ STEM ที่ประยุกต์ลักษณะของศาสตร์ต่างๆ ที่ประกอบด้วย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรม และคณิตศาสตร์มาใช้ในการสร้างนวัตกรรม ผลการศกึ ษา การใช้วธิ กี ารดังกลา่ ว พบว่า ผลผลิตท่เี กดิ ข้นึ ยงั ขาดบางสว่ นท่ีทำ� ให้เกดิ ผลงานที่ สมบูรณ ์ จึงนำ� ลักษณะความร้ทู างทศั นศลิ ปเ์ ข้ารว่ มด้วย กลายเป็น STEAM เพ่อื ใหผ้ ลผลติ ทเี่ กดิ จากศาสตรท์ ง้ั สี่ มคี วามสมบรู ณแ์ ละเปน็ นวตั กรรมทส่ี ามารถขยาย ผลเชงิ เศรษฐกิจได้ นอกเหนอื จากการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานทคี่ รอบคลมุ ผเู้ รยี นในระดบั ชน้ั ประถม ศกึ ษาปที ี่ ๑ จนถงึ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ แลว้ การศกึ ษาในระดบั ทสี่ งู กวา่ คอื ระดบั อุดมศึกษา ปัจจุบันมีหลักสูตรทางด้านศิลปะหรือสาขาวิชาท่ีต้องใช้ความรู้ทาง ทัศนศิลป์ในหลากหลายสถาบัน โดยแต่ละแห่งจัดท�ำและเปิดสอนหลักสูตรทาง ศลิ ปกรรม สถาปตั ยกรรม ศิลปะการออกแบบ ศลิ ปศึกษา ฯลฯ สาขาวิชาทกี่ ลา่ ว มานี้ เน้นหนักใหน้ ักศกึ ษาไดผ้ ลิตผลงานภายใตก้ ระบวนการคิดสร้างสรรค์ทัง้ ส้ิน และเมอ่ื ผเู้ รยี นกลมุ่ นศ้ี กึ ษาในระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ไมว่ า่ จะเปน็ ปรญิ ญามหาบณั ฑติ หรือดุษฎีบัณฑิตทางด้านศิลปะ ทัศนศิลป์ หรือการออกแบบ ฯลฯ ยังคงมีความ จ�ำเป็นต้องพึ่งพากระบวนการคิดสร้างสรรค์และอาจมากกว่าทุกระดับการศึกษา ที่กลา่ วมา

๑๓ การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ทางทัศนศลิ ป์ จากการกล่าวอ้างข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาทางด้านทัศนศิลป์ทั้งหมดนี้ เพ่ือแสดงให้เห็นและเกิดความเข้าใจต่อคุณประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์ว่า มคี วามสำ� คญั และจำ� เปน็ ต่อการใชช้ ีวติ มากเพียงใด แม้ผปู้ ระกอบอาชีพทางดา้ น ทศั นศลิ ป์ เชน่ นกั ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ นกั ออกแบบตกแตง่ ศลิ ปนิ หรอื แมแ้ ตเ่ หลา่ ชา่ งศลิ ปไ์ ทยแบบประเพณี ลว้ นสรา้ งสรรคผ์ ลงานดว้ ยกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ทงั้ สน้ิ สำ� หรบั ผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั ทศั นศลิ ปแ์ ตล่ ะคนลว้ นเคยประสบปญั หาอยา่ งหนงึ่ คือ บางคร้ังไม่สามารถสร้างสรรค์ผลงานได้แปลกใหม่แตกต่างจากรูปแบบเดิม มากนกั หรอื ทมี่ คี ำ� พดู วา่ ตนั หมายถงึ ไมม่ คี วามคดิ ใหม่ ไมส่ ามารถคดิ สรา้ งสรรค์ ได้แล้ว มืดมน เป็นต้น สถานการณ์ดังกล่าว เป็นภาวะที่ผู้เรียนหรือผู้ประกอบ อาชพี ทางทศั นศลิ ปท์ กุ คน ตอ้ งประสบพบเจอ หรอื กวา่ จะคดิ ไดต้ อ้ งใชร้ ะยะเวลา นานเกินควร บางคนตอ้ งรอใหค้ วามคิดสร้างสรรค์เกดิ ขน้ึ มาเอง หรือบางคนต้อง ใช้บรรยากาศ สง่ิ แวดลอ้ มกระต้นุ ให้เกิดความคดิ ทเี่ รยี กวา่ ตอ้ งบ้วิ ท์ สิง่ เหลา่ น้ี เป็นอุปสรรคท่ีคุ้นเคยกันดีส�ำหรับนักศิลปะทุกคน และทุกคนต้องการเดินออก จากวงั วนทวี่ า่ น้ี

๑๔ การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคท์ างทัศนศิลป์ ผเู้ ขยี นตระหนกั ดตี อ่ ปญั หาดงั กลา่ ว ทง้ั มโี อกาสไดป้ ระสบดว้ ยตนเองหรอื ใกลช้ ดิ กบั ผู้เรยี นท่กี ำ� ลังเผชิญกบั ปัญหานอ้ี ยู่ จึงเรม่ิ ท�ำการศึกษาค้นควา้ เกี่ยวกบั ความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นหลายมมุ มองและหลายความเชอื่ จนไดแ้ นวทางหรอื เทคนคิ วธิ ีการ ทีส่ ามารถน�ำไปปรับใช้ เพ่อื กระตุ้นความคิดสรา้ งสรรคไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม บางเทคนคิ เปน็ ผลผลติ จากงานวจิ ยั ทผ่ี า่ นการทดลองมาแลว้ วา่ ไดผ้ ลดี ทงั้ นเี้ พราะ ตระหนกั ดวี า่ ความคดิ สรา้ งสรรคน์ น้ั มคี วามสำ� คญั และมคี ณุ ประโยชนต์ อ่ ชวี ติ รวม ถงึ การพฒั นาชาตมิ ากเพยี งใด เมอ่ื ความคดิ สรา้ งสรรคส์ ำ� คญั ถงึ เพยี งน้ี จดุ มงุ่ หมาย หลกั ของหนงั สอื น้ี จงึ เนน้ การนำ� เสนอแนวทางเพอ่ื กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นทางทศั นศลิ ป์ หรอื ผ้ปู ระกอบอาชพี ทางศลิ ปะ เกดิ ความคิดสรา้ งสรรคด์ ้วยเทคนิควิธกี ารตา่ งๆ ที่ผู้เขียนได้ศึกษา และน�ำแนวคิด ทฤษฎี ผลการวิจัย มาปรับใช้ให้เป็นเทคนิค แนวทาง วธิ กี ารท่เี หมาะแก่การสง่ เสรมิ และพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ให้เหมาะ กบั แต่ละบคุ คล โดยมคี วามเชื่อวา่ ความคดิ สร้างสรรค์ มิใชพ่ รสวรรคท์ ่ีติดตวั มา ตั้งแตเ่ กดิ ไม่เกย่ี วข้องกบั กรรมพนั ธ์ุ แต่เป็นความคดิ ทส่ี ามารถฝึกฝน และสรา้ ง ขึ้นได้กบั ทกุ คน หากได้รบั การส่งเสริมอย่างเหมาะสม

การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคท์ างทัศนศิลป์ ความคดิ สรา้ งสรรค์

๑๖ การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ทางทศั นศิลป์ ความคิดสรา้ งสรรค์ การคดิ เปน็ สง่ิ ทม่ี นษุ ยม์ แี ตกตา่ งจากสงิ่ มชี วี ติ อนื่ ตงั้ แตป่ รากฏมนษุ ยเ์ กดิ ข้ึนบนโลก ซึ่งไม่สามารถค้นหาหลกั ฐานไดแ้ น่ชัดวา่ เมอื่ ใด แต่จากหลกั ฐานที่เปน็ บท วัตถุ สามารถกล่าวได้ว่า มนุษย์มีความคิดเพ่ือการด�ำรงอยู่ของตนเอง และหาก ที่ ศกึ ษาพฒั นาการของวตั ถโุ บราณเหลา่ นี้ จะเขา้ ใจไดว้ า่ ความคดิ ของมนษุ ยโ์ บราณ ไมไ่ ดม้ เี พียงรูปแบบเดียว หากแต่มีความหลากหลายตามมติ ิของเวลา และบริบท ๑ สงิ่ แวดลอ้ มในแตล่ ะยคุ สมยั ซงึ่ ความแตกตา่ งทางดา้ นรปู แบบของโบราณวตั ถเุ หลา่ นี้ เปน็ ผลมาจากความคิดลกั ษณะหนึ่ง ท่ีกำ� หนดช่ือเรยี กวา่ ความคดิ สร้างสรรค์ (Creative Thinking) ความคิดสร้างสรรค์คืออะไร ? ในปัจจบุ ันมกี ารกลา่ วถึง ความคดิ สรา้ งสรรคอ์ ยา่ งกว้างขวาง แต่คำ� น้มี ี นัยยะที่หลากหลายแง่มุม ตามแต่ประสบการณ์และทัศนะของแต่ละบุคคล ใน หัวข้อนี้ จะท�ำความเข้าใจความหมายของค�ำว่า ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้ตรง กบั นิยามตามจุดมงุ่ หมายของหนังสือนี้ องค์ความรู้เกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ถูกค้นคว้าขึ้นจากนักคิดทฤษฎี รวมท้ังนักวิชาการท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติ โดยนักวิชาการจากโลกตะวันตก ให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์เป็นเวลาหลายทศวรรษ ต่อมา ความตื่นตัวต่อความส�ำคัญของกระบวนการคิดสร้างสรรค์ได้แพร่กระจายสู่นัก วิชาการชาวไทย แต่ส่วนใหญ่ยังก่อตัวข้ึนจากกลุ่มนักวิชาการทางด้านจิตวิทยา หรือนักการศึกษา โดยอธิบายถึงความเช่ือมโยงระหว่างความคิดสร้างสรรค์ที่ส่ง ผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ รวมทั้งศักยภาพของสมอง โดยอธิบายเป็นข้อสรุป หลายทศั นะ ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี

๑๗ การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์ทางทศั นศิลป์ กลิ ฟอรด์ (Guilford) เป็นนักจติ วทิ ยาของอเมริกา ท่ีให้ความสนใจตอ่ การศึกษาความคดิ สร้างสรรค ์ โดยอธิบายวา่ ความคดิ สร้างสรรค ์ เปน็ ความคดิ ที่กวา้ งไกล หลายแง่มมุ ท่จี ะน�ำไปสแู่ นวทางของการแกป้ ัญหาทหี่ ลากหลาย ท้ัง แตกตา่ งไปจากเดมิ ทใ่ี ชก้ นั อยู่ คำ� อธบิ ายนตี้ รงกบั ลกั ษณะของความคดิ หนง่ึ ทเี่ รยี ก ว่า“ความคดิ แบบอเนกนัย” (Divergent Thinking) (อุษณยี ์ อนรุ ุทธวงศ์. มปป., หน้า ๑๔๐–๑๔๑) สว่ น วนิช สุธารัตน์ (๒๕๔๗, หน้า ๑๖๕) ไดข้ ยายความเก่ยี ว กบั ความคดิ สรา้ งสรรคต์ ามทศั นะของกลิ ฟอรด์ วา่ ความคดิ สรา้ งสรรคก์ บั ความคดิ แบบอเนกนยั เป็นลกั ษณะการคดิ แบบเดยี วกนั ทั้งยงั แจกแจงความคิดลกั ษณะน้ี ออกเปน็ ๔ ชนดิ ไดแ้ ก่ ความคดิ คล่องแคลว่ (Fluency) ความคิดยดื หย่นุ หรือ ความคิดแบบกระจาย (Flexibility) ความคิดริเริ่ม (Originality) และความคิด ละเอียดลออ (Elaboration) ความคิดทงั้ ๔ ชนิดนีจ้ ะเปน็ ตวั ชว้ี ัดทแ่ี สดงวา่ ผู้ใดมี ความคิดสรา้ งสรรค์

๑๘ การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ทางทศั นศลิ ป์ ต่อมา ในปี ค.ศ. ๒๐๐๑ อลิ ิส พอล ทอร์แรนซ์ (Ellis Paul Torrance) เป็นนกั จติ วิทยาทางสตปิ ญั ญาอีกผหู้ นึ่ง มอี ายอุ ยใู่ นช่วง ค.ศ. ๑๙๑๕ – ๒๐๐๓ ไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ บดิ าแหง่ การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ ไดน้ ำ� ความรเู้ กย่ี ว กับความคิดย่อยทั้งส่ีชนดิ ของความคิดสร้างสรรคท์ ก่ี ิลฟอรด์ เคยอธบิ ายไว้มาเป็น พนื้ ฐาน และสรา้ งเปน็ แบบทดสอบเพอ่ื ประเมนิ ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องบคุ คล รวม ทงั้ ไดอ้ ธบิ ายถงึ คำ� จำ� กดั ความของความคดิ สรา้ งสรรคว์ า่ เปน็ กระบวนการทบ่ี คุ คล มคี วามไวตอ่ ปญั หา และไวตอ่ การคน้ หาวธิ กี ารแกไ้ ข จนในทสี่ ดุ สามารถใชแ้ นวทาง บท ทีค่ ิดขึ้นแกไ้ ขปัญหาท่หี ลากหลายได้อยา่ งเหมาะสม (Torrance,๑๙๙๕) ที่ จากตัวอย่างข้างต้น เป็นความหมายหรือค�ำจ�ำกัดความของความคิด ๑ สร้างสรรค์ท่ีเป็นผลจากประสบการณ์การศึกษาค้นคว้าของนักวิชาการชาวต่าง ชาติ และสงั เกตได้วา่ นกั วิชาการทงั้ สองทา่ นนี้ เป็นนักจติ วทิ ยาทางสตปิ ญั ญา ดงั นัน้ อาจอนุมานในเบื้องต้นไดว้ ่า ความคิดสร้างสรรค์ อาจมีความเชือ่ มโยงกบั สติ ปญั ญาของแตล่ ะบุคคล ส่วนนักวิชาการชาวไทย ที่ให้ความสนใจในการศึกษาเก่ียวกับความคิด สรา้ งสรรค์ เปน็ กลมุ่ นกั วชิ าการทางดา้ นจติ วทิ ยาโดยสว่ นใหญซ่ ง่ึ เนน้ การเชอ่ื มโยง กับการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และมีบางท่านเป็นนักศิลปะ ท่ีเน้นการ สร้างสรรค์ผลงานภายใตก้ ระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ โดย วนิช สธุ ารัตน์ (๒๕๔๗) นักวิชาการท่ีศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการคิด กล่าวถึงความหมายของความคิด สรา้ งสรรค์ว่า เป็นความคิดทเ่ี กิดขนึ้ ต่อเนื่องจากจนิ ตนาการ มลี กั ษณะที่แตกต่าง จากความคิดของบุคคลอื่น โดยอาศัยประสบการณ์เดิม ได้แก่ ความรู้ ข้อมูล ขา่ วสาร การศกึ ษา เหตุผล การใช้สติปญั ญาสร้างรูปแบบความคดิ ใหม่ รวมไปถงึ ความทรงจำ� เก่าๆ จากความหมายของความคิดสรา้ งสรรคท์ ่ี วนชิ สธุ ารตั น์ เสนอน้นั แสดง ว่า จินตนาการกับความคิดสร้างสรรค์เป็นคนละอย่างกัน ท้ังน้ีต้องเกิดผลผลิตที่ สามารถวดั ไดถ้ ึงความคดิ สรา้ งสรรค์เสยี กอ่ น แลว้ จึงเชอ่ื มโยงถงึ จนิ ตนาการของ บคุ คลนนั้ เนอื่ งจากจนิ ตนาการเปน็ เพยี งความคดิ หนงึ่ ทยี่ งั อยภู่ ายในสมอง ตอ่ เมอ่ื มกี ารจดั สรา้ งเปน็ สง่ิ ตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ผลงานแตล่ ะรปู แบบ วธิ กี าร แนวทางใหม่ สิง่ เหล่านีจ้ ึงเปน็ ตวั บง่ ชถ้ี งึ ความคิดสรา้ งสรรค์ของแต่ละบคุ คล

๑๙ การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางทัศนศลิ ป์ อารี รังสินนั ท์ (๒๕๒๗) เปน็ นกั วิชาการทา่ นแรกๆ ของไทย ท่ใี หค้ วาม สนใจศึกษาเก่ยี วกับความคิดสร้างสรรค์ ไดอ้ ธิบายความหมายไวว้ ่า เป็นกระบวน การทางสมองทค่ี ดิ ในลกั ษณะอเนกนยั นำ� ไปสกู่ ารคน้ พบสงิ่ แปลกใหมด่ ว้ ยการคดิ ดดั แปลง ปรบั แตง่ จากความคดิ เดมิ ผสมผสานใหเ้ กดิ เปน็ สง่ิ ใหม่ จากคำ� อธบิ ายน้ี แสดงใหเ้ หน็ ถึงความคดิ สรา้ งสรรคม์ ีความเชือ่ มโยงกับสมอง และมีความสมั พนั ธ์ กับกระบวนการคิด รวมถึงสามารถพัฒนาไปถึงกระบวนการเรียนรู้และยังกล่าว ถึงการคดิ แบบอเนกนยั ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ผลการศึกษาของกิลฟอร์ดอกี ด้วย CREATIVE ต่อมามีนกั วิชาการไทยอีกทา่ นหน่ึง ที่ใหค้ วามสนใจในการศกึ ษาเกย่ี วกบั กระบวนการคิดลักษณะต่างๆ คือ อุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์ (มปป.) ได้อธิบายความ หมายของความคดิ สรา้ งสรรคโ์ ดยสงั เคราะหจ์ ากผลการศกึ ษาของนกั จติ วทิ ยาชาว ตา่ งชาติ สามารถสรปุ ได้ว่า ความคดิ สร้างสรร คเ์ ปน็ กระบวนการทางความคดิ ท่ี เร่ิมจากการมองเห็นประเด็นของปัญหา หรือสิ่งที่เป็นช่องว่างท่ีส่งผลให้เกิดการ แก้ปัญหาในรูปแบบใหม่ หรือมีความคิดใหม่ที่เป็นประโยชน์ เหมาะสม และ สามารถใชง้ านไดจ้ รงิ นอกจากนี้ ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ (๒๕๔๖) เป็นนกั วิชาการทางดา้ น ศิลปะ ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ ได้กล่าวว่า ความคิด สรา้ งสรรค์แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คอื ความสามารถในการคดิ หรอื ความคดิ เปน็ ผลผลติ จากกระบวนการทางสมอง และยกตวั อยา่ งดว้ ยวา่ โดยปกตเิ รามกั เกิดความคิดตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นจุดมุ่งหมายใดก็ตาม อีกส่วนหนึ่ง คือ ความสามารถในการสร้างสรรค์ หมายถงึ การสร้าง การกระทำ� ทำ� ให้เกดิ ข้นึ เป็นทั้งกระบวนการ วิธีการ รวมไปถึงลักษณะทางผลิตผลหรือช้ินงาน จาก ทศั นะของ ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ เก่ียวกับความคดิ สรา้ งสรรคน์ ั้น ยงั ไม่คอ่ ย ตรงตามลกั ษณะของความคดิ สรา้ งสรรคท์ เ่ี ปน็ จดุ มงุ่ หมายของหนงั สอื นเ้ี ทา่ ท่ี ควร เน่ืองจากค�ำจ�ำกัดความข้างต้น ให้ความหมายเพียงการสร้าง การ ประดษิ ฐส์ งิ่ ตา่ งๆ เทา่ นน้ั หากเชอื่ ตามทศั นะของ ชาญณรงค ์ พรรงุ่ โรจน์ การ สร้างช้ินงานศลิ ปะที่คัดลอกตามแมแ่ บบ กจ็ ดั วา่ เป็นความคิดสร้างสรรค์ด้วย เช่นกัน

๒๐ การพัฒนาความคิดสร้างสรรคท์ างทัศนศิลป์ จากความหมายและคำ� อธบิ ายของนกั วชิ าการทไี่ ดเ้ สนอไวข้ า้ งตน้ สามารถ สรุปได้ว่า ความคิดสร้างสรรค์ มีความหมายที่ครอบคลุมถึงกระบวนการคิด ลักษณะหนึ่งท่ีส่งผลต่อการคิดค้นประดิษฐ์สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ที่มีความแตกต่าง จากรปู แบบเดมิ และมคี วามเหมาะสมตามบรบิ ทหรอื สถานการณต์ า่ ง ๆ ทงั้ นอี้ าจ ออกเปน็ ในรูปของผลงานแต่ละลักษณะ เช่น บทกวีทำ� นองเพลง ศิลปกรรม ฯลฯ หรือเป็นระบบวิธีการ แนวทางอย่างใหม่ ท่ีอาจได้รับการพัฒนาจากส่ิงเดิมให้มี คณุ ลักษณะทดี่ กี วา่ เดิมในแตล่ ะมิติ บท ท่ี ๑ การศึกษาเกีย่ วกบั ความคดิ สร้างสรรคท์ ่ีผ่านมา ผลงานสร้างสรรค์หรือประดิษฐกรรมของมนุษย์มีหลักฐานทางด้านวัตถุ เป็นประจักษ์พยานมากมายที่แสดงให้เห็นว่า มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ตั้งแต่ ยคุ โบราณ การสรา้ งสง่ิ ประดษิ ฐต์ า่ งๆ เกดิ ขน้ึ เพอ่ื การดำ� รงอยขู่ องชวี ติ จนสบื เนอื่ ง มาถงึ ปัจจบุ นั พฒั นาการของส่งิ ต่างๆ มีความซับซอ้ นในดา้ นการคิด จนเกดิ เปน็ นวตั กรรมทางเทคโนโลยที ี่กา้ วล้ำ� มากมาย การให้ความสนใจต่อการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับความคิดสร้างสรรค์เกิด ขนึ้ ในซกี โลกตะวนั ตกทมี่ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทางวทิ ยาการกวา่ อกี ซกี โลกหนง่ึ จน เกดิ เปน็ ผลงานการศกึ ษา วจิ ยั เพอ่ื สรา้ งข้อสรุปหรอื องค์ความรเู้ ก่ยี วกับความคดิ สรา้ งสรรคท์ งั้ นเี้ พอื่ การพฒั นาการเรยี นรขู้ องมนษุ ยใ์ หเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรคต์ าม

๒๑ การพัฒนาความคิดสร้างสรรคท์ างทัศนศลิ ป์ ตอ้ งการ สำ� หรับการสร้างสรรค์ความเจรญิ ให้กับคุณภาพชวี ิต ผลงานการศึกษาที่ มหี ลกั ฐานทางด้านเอกสารที่ปรากฏในปัจจบุ ัน ในชว่ งระยะแรกเป็นการกลา่ วถงึ กระบวนการทางการคดิ ในลกั ษณะตา่ งๆ ซงึ่ ยงั ไมต่ รงกบั ความคดิ สรา้ งสรรคม์ าก นกั โดยส่วนใหญ่จะเน้นหนกั ไปในเรือ่ งความคดิ เหน็ ทางการเมือง จนในชว่ ง ค.ศ. ๑๗๐๐ – ๑๘๐๐ เร่มิ มคี วามชัดเจนถึงการถกเถียงเกยี่ วกบั ความคิดลักษณะหนง่ึ ทเี่ ปน็ ผลผลติ จากการสรา้ งผลงานทางศลิ ปะ ดนตรี บทกวหี รอื ประดษิ ฐกรรมทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข้อถกเถียงดังกล่าว ส่งผลให้เกิดการคิด พิจารณา ทบทวนข้อเสนอ จนเกิดเป็นมวลความรู้จ�ำนวนหนึ่งที่ช่วยอธิบายถึงความคิด ลักษณะน้ี โดยคุณลักษณะของความคิดสร้างสรรค์ท่ีเกิดจากการปะทะสังสรรค์ ทางความคิด ของแต่ละบุคคล ในขณะนัน้ สามารถสรุปได้ ๔ ประเดน็ ไดแ้ ก่ ๑. อัจฉริยภาพถกู แยกออกจากพรสวรรคอ์ ยา่ งส้นิ เชงิ แสดงให้เหน็ ถงึ กระบวนการของความคิดสร้างสรรค์ เป็นเครื่องวัดศักยภาพของมนุษย์ รวมท้ัง สามารถพัฒนา ส่งเสริมแต่ละบุคคลให้เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ได้เพราะเชื่อ ว่าความคิดสร้างสรรค์ไม่ใช่พรสวรรค์ หากแต่เป็นศักยภาพของสมองท่ีมีอิทธิพล ต่อกระบวนการคิด จากความเชอื่ นี้ นกั วชิ าการ นกั วิจัย จงึ พยายามศกึ ษาความ ลับของความคดิ สร้างสรรค์ท่ี สง่ ผลตอ่ กระบวนการคิดของผเู้ รยี น ๒. อัจฉริยภาพเป็นศักยภาพภายในของมนุษย์แต่ละบุคคล ดังน้ัน กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ของแตล่ ะคนจงึ มไี มเ่ ทา่ กัน ข้นึ อยู่กบั ศกั ยภาพภายใน อาจหมายถึง ความสามารถของสมอง ประสบการณก์ ารรับรขู้ องมนุษย์แตล่ ะคน จากค�ำอธิบายน้ีชี้วัดได้ว่าหากบุคคลใดมีความสมบูรณ์ทางสมอง และได้รับการ กระตุ้นที่เหมาะสม จะเกดิ ความคิดสร้างสรรคข์ ึน้ ได้ ๓. พรสวรรคม์ คี วามแตกตา่ งจากอจั ฉรยิ ภาพ เนอ่ื งจากอจั ฉรยิ ภาพเกดิ ข้ึนจากการฝึกฝน บ่มเพาะปลูกฝังตามแนวทางท่ีเหมาะสม ส่วนผู้ท่ีได้รับการ ยกย่องว่ามีพรสวรรค์ อาจกระท�ำส่ิงต่างๆ ท่ีตนถนัดได้ดีเย่ียมในครั้งแรก แต่ใน คร้ังต่อไปผลงานที่เคยท�ำได้ดี อาจล้มเหลวก็ได้ จากตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า พรสวรรคก์ บั อจั ฉรยิ ภาพมีความแตกตา่ งกันโดยส้นิ เชงิ

๒๒ การพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ทางทศั นศลิ ป์ ๔. ศักยภาพและกิจกรรมที่แสดงออกของบุคคล อยู่ภายใต้บรรยากาศ ทางการเมอื ง การปกครองในแตล่ ะชว่ งของเวลา ในประเดน็ นนี้ กั คดิ นกั ทฤษฎเี นน้ ลกั ษณะทางการเมอื ง ซงึ่ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ความคดิ ของคนเปน็ อยา่ งมาก เนอ่ื งจาก ช่วงเวลาดังกล่าว ปัญหาหรือความขัดแย้งทางการเมือง ผลักดันให้มนุษย์เกิด กระบวนการคิดหรือความคิดเห็นที่มีแง่มุมแตกต่างกัน ทั้งน้ีก็เพ่ือให้ตนสามารถ หลดุ พน้ จากข้อขดั ข้องทัง้ ปวง โดยความขัดแย้งตา่ งๆ ทีเ่ กิดขน้ึ มกั ชว่ ยใหส้ งั คม เกิดการพัฒนา สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง ซ่ึงเป็นทฤษฎีหลักทาง บท สังคมศาสตร์ทกี่ ล่าวว่า หากกลุ่มชนใดเกดิ ความขดั แย้ง หรือมีความคดิ เหน็ ที่ขัด ท่ี กนั มากๆ จะเปน็ เครอ่ื งกระตนุ้ ใหส้ งั คมนนั้ พฒั นาไดก้ า้ วไกลกวา่ สงั คมอน่ื ทรี่ าบรน่ื จากค�ำอธิบายนี้เอง ตรงกับแนวคิดของ กอร์ดอน (Gordon) ท่ีเป็นผู้คิดทฤษฎี ๑ ซนิ เนคติค โดยเสนอวา่ หากรวมกลุ่มคนทมี่ คี วามแตกตา่ งทางความคิดมาก ๆ จะ ชว่ ยใหเ้ กดิ ความคิดทหี่ ลากหลายมากขน้ึ อน่ึง ในช่วง ค.ศ. ๑๗๐๐–๑๘๐๐ ที่นักคิดได้ก�ำหนดคุณลักษณะทั้งสี่ ประเด็นน้ีข้ึนมาน้ัน ยังไม่มีการบัญญัติค�ำว่า ความคิดสร้างสรรค์ ท่ีใช้กันอยู่ใน ปัจจบุ นั หากแต่ใชค้ �ำท่มี คี วามหมายกวา้ งๆ เพ่อื พยายามอธิบายคุณลักษณะของ ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ท่าน้นั ตอ่ มาในชว่ งปลายคริสตศตวรรษที่ ๒๐ มีนักจติ วิทยาทางสติปัญญาคน ส�ำคัญผู้หน่ึง เร่ิมใช้ค�ำว่า ความคิดสร้างสรรค์ โดยเชื่อมโยงกับคุณลักษณะของ กระบวนการคิดแบบนี้และเป็นรากฐานของการศึกษาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ นบั แต่นน้ั เปน็ ต้นมา กลิ ฟอรด์ (Guilford, ๑๘๙๗–๑๙๘๗) เป็นบคุ คลแรกทกี่ ลา่ วถงึ ความคิด สร้างสรรค์อย่างตรงประเด็น รวมท้ังผลการศึกษาของกิลฟอร์ด ถูกน�ำมาใช้ ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ผลงานการศึกษาของกิลฟอร์ดที่เก่ียวกับความคิด สร้างสรรค์น้ัน ถูกเชื่อมโยงเข้ากับความคิดแบบอเนกนัย คือ พฤติกรรมท่ีไวต่อ ปัญหา จนเกิดหลากหลายแนวทางในการแก้ปัญหา ภายใต้มิติด้านเวลาที่จ�ำกัด โดยระยะแรกมกี ารใชค้ ำ� วา่ ความสรา้ งสรรค์ ในวงการจติ วทิ ยาทางสตปิ ญั ญา ภาย หลังมีความชัดเจนขึ้นและแพร่หลายสู่วงวิชาการด้านอื่นๆ โดยเฉพาะวงการการ ศึกษาท่ีให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (อษุ ณยี ์ อนรุ ุทธ์วงศ,์ มปป., หนา้ ๑๔๑)

๒๓ การพัฒนาความคิดสร้างสรรคท์ างทัศนศิลป์ ในช่วงเวลาต่อมา มีนักจติ วทิ ยารุน่ หลังอีกมากมาย ท่ีใช้องค์ความรูเ้ กี่ยว กับความคิดสร้างสรรค์ของกิลฟอร์ด (Guilford) มาพัฒนาและต่อยอดจนกลาย เปน็ แนวคิดทฤษฎที ี่ใชก้ ันอย่างแพรห่ ลายในปจั จุบัน เชน่ อลี ีส พอล ทอร์แรนซ์ (Ellis Paul Torrance : ๑๙๑๕–๒๐๐๓) เป็นนักจติ วทิ ยาทางสตปิ ญั ญา เช่น เดยี วกบั กิลฟอร์ด (Guilford) ผลงานการศกึ ษาของทอรแ์ รนซท์ ำ� ใหเ้ ขาไดร้ บั การ ยกย่องให้เป็นบิดาด้านการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ผลงานที่ส�ำคัญคือ การน�ำ แนวคดิ ของกลิ ฟอรด์ (Guilford) มาขยายความ และอธบิ ายเกยี่ วกบั องคป์ ระกอบ ของความคดิ สรา้ งสรรค์ โดยแบง่ ออกเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ ความคลอ่ งแคล่ว ความ ยดื หยนุ่ ความแปลกใหม่ และความละเอยี ดลออ (อษุ ณยี ์ อนรุ ทุ ธว์ งศ,์ มปป., หนา้ ๑๔๒) ภายหลังนิยมเรียกองค์ประกอบทั้งสี่น้ีว่า ความคิดคล่องแคล่ว ความคิด ยืดหยนุ่ ความคดิ รเิ ร่ิม และความคิดละเอยี ดลออ องคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั ความคดิ สรา้ งสรรคท์ ก่ี อ่ ตวั ขน้ึ ในซกี โลกตะวนั ตก เรม่ิ กระจายเปน็ วงกว้างสู่ทุกมมุ โลก จนเขา้ มาสูว่ งวิชาการของประเทศไทย โดยมีนัก วชิ าการหลายทา่ นทเี่ ดนิ ทางศกึ ษายงั ตา่ งประเทศ ตวั อยา่ งเชน่ อารี รงั สนิ นั ทส์ ำ� เรจ็ การศึกษาระดับปริญญาเอกทางด้านจิตวิทยาการศึกษาจากประเทศสหรัฐอเมริกา เป็น อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ และเป็นนักวิชาการร่นุ แรกๆ ทีใ่ ห้ความสนใจต่อ การศึกษาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ในมิติด้านจิตวิทยาการศึกษา ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ได้เรียบเรียงและจัดท�ำ หนังสือ เร่ือง ความคิดสร้างสรรค์ออกเผยแพร่ หนังสือนี้มีเนื้อหาท่ีครอบคลุมเกี่ยวกับพ้ืนฐานความคิดสร้างสรรค์รวมท้ังกลยุทธ์ การพัฒนาผูเ้ รียนให้เกดิ ความคดิ สร้างสรรค์ โดยใชก้ จิ กรรมหลายรปู แบบ

๒๔ การพัฒนาความคิดสร้างสรรคท์ างทศั นศิลป์ นอกจากน้ียังมีงานเขียนอีกหลายเรื่องที่มีความเก่ียวข้องกับความคิดสร้างสรรค์ เชน่ การสง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ พฒั นาการความคดิ สรา้ งสรรคห์ ลกั ในการสง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ ตน้ แตเ่ อกสารทง้ั หมดทก่ี ลา่ วมานเ้ี นน้ เกย่ี วกบั ความ คิดสร้างสรรค์ตามหลักทฤษฎีและแนวคดิ จากตะวันตก รวมท้งั การพัฒนาผู้เรยี น ใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรคโ์ ดยทวั่ ๆ ไป มไิ ดเ้ นน้ เจาะจงทางดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์ ทางทัศนศิลป์แต่อย่างใด อีกทั้งเอกสารเหล่าน้ีถูกเรียบเรียงข้ึนหลายสิบปีที่ผ่าน มา แตส่ ังคมโลกเปล่ียนแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ ดงั นั้น ขอ้ มลู บางส่วนของหนงั สอื บท เหลา่ น้ี อาจไมท่ ันตอ่ การปรบั ตวั ของผเู้ รยี นในยุคนก้ี ็เป็นได้ ที่ ระยะตอ่ มามนี กั วชิ าการอกี หลายทา่ นทใ่ี หค้ วามสนใจศกึ ษาเกย่ี วกบั ความ ๑ คดิ สรา้ งสรรค์ แตล่ ะทา่ นลว้ นเกย่ี วขอ้ งกบั มติ ทิ างการศกึ ษา เนอื้ หาสาระโดยสว่ น ใหญ่จึงเน้นการศึกษาเพ่ือหาแนวทางพัฒนาศักยภาพทางสมองของผู้เรียนให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์ โดย อารี พันธ์มณี (๒๕๔๐) เขียนหนังสือเรื่อง ความคิด สร้างสรรค์กับการเรียนรู้ ออกเผยแพร่และใช้เป็นต�ำราเรียนในระดับอุดมศึกษา โดยใชข้ อบขา่ ยแนวความคดิ จากทอรแ์ รนซเ์ ปน็ พนื้ ฐานในการเรยี บเรยี งหนงั สอื เลม่ นนี้ ำ� เสนอสถานการณท์ ใี่ ชเ้ ปน็ กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องผเู้ รยี น ที่มีความหลากหลายกว่า อารี รังสินันท์ แต่ก็ยังคงยึดเน้ือหาสาระบางส่วนของ อารี รังสินนั ท์ เปน็ กรอบความคิดในการนำ� เสนอด้วย ตอ่ มาอกี ๗ ปี วนชิ สธุ า รตั น์ (๒๕๔๗) ไดน้ ำ� เสนอเนอื้ หาเกย่ี วกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์ ในหนงั สอื เรอ่ื ง ความ คิดและความคดิ สรา้ งสรรค์ เน้อื ความในหนังสอื นี้แตกต่างจาก ๒ เล่มทก่ี ลา่ วมา คอื ใชอ้ งคค์ วามรทู้ ไ่ี ดจ้ ากตะวนั ตกและความรจู้ ากซกี โลกตะวนั ออกผนวกกนั โดย เฉพาะการอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการทางปัญญาและการเกิดขึ้นของโยนิโส มนสกิ าร การนำ� เสนอความรเู้ กย่ี วกบั สหชั ญาณหรอื ญาณทศั นะ ลว้ นแตเ่ ปน็ ความ รทู้ างพระพุทธศาสนา แสดงให้เห็นในเบอื้ งตน้ วา่ สจั ธรรมทางพทุ ธศาสนา ไม่ได้ มุง่ เน้นเพียงการละชว่ั ท�ำดี และทำ� ใจให้บรสิ ทุ ธ์ิ อนั เปน็ หวั ใจแหง่ พระศาสนา แต่ ยงั อธบิ ายเกย่ี วกบั กระบวนการคดิ หรอื การเกดิ ปญั ญาอกี ดว้ ย สว่ น อษุ ณยี ์ อนรุ ทุ ธ์ วงศ์ (มปป.) เป็นนกั วชิ าการอีกท่านทม่ี ผี ลงานการศกึ ษาเกีย่ วกบั กระบวนการคดิ หนังสือเล่มหน่ึงท่ี อุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์เรียบเรียงข้ึนเพื่อใช้ประกอบการสอน คือ การพฒั นาทกั ษะความคดิ ระดบั สงู อธบิ ายถงึ ความคดิ ระดบั สงู หลายลกั ษณะ เชน่ ความคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ การคดิ แก้ปัญหา ความคดิ สร้างสรรคฯ์ ลฯ จากราย ละเอยี ดในหนงั สอื นที้ ำ� ใหท้ ราบวา่ กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ ความคดิ ระดบั

๒๕ การพฒั นาความคดิ สร้างสรรคท์ างทัศนศิลป์ สงู ท่มี ีลักษณะพเิ ศษ และมคี วามส�ำคญั เปน็ อย่างมาก ในส่วนการอธบิ ายถึงความ คิดสร้างสรรค์นั้น อุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์ ใช้ข้อมูลจากนักวิชาการชาวต่างชาติเป็น หลกั เนอื้ หาครอบคลมุ ภาพรวมทคี่ วรศกึ ษา กอ่ นนำ� ไปตอ่ ยอดตามบรบิ ทของแตล่ ะ บุคคล CREATIVE องค์ความรู้เก่ียวกับความคิดสร้างสรรค์ที่กล่าวข้างต้น ล้วนเป็นผลผลิต จากการศกึ ษาของนกั วิชาการด้านจติ วทิ ยาการศึกษาแทบทั้งส้นิ สว่ นนกั วิชาการ ศาสตรอ์ นื่ มคี วามสนใจตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรคด์ ว้ ยเชน่ กนั ตวั อยา่ งเชน่ เกรยี งศกั ด์ิ เจรญิ วงศศ์ กั ด์ิ ไดเ้ รยี บเรยี งหนงั สอื ชดุ หนง่ึ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั กระบวนการคดิ ใชช้ อ่ื วา่ ผชู้ นะ ๑๐ คิด และน�ำลักษณะความคิดแต่ละแบบ มาน�ำเสนอเฉพาะเร่อื ง ๑ ใน นน้ั คือ การคิดเชิงสรา้ งสรรค์ เปน็ หนังสือทอี่ า่ นง่าย ไมเ่ นน้ วิชาการมากนกั ท�ำให้ ผู้อ่านเข้าใจและสามารถเห็นภาพอย่างชัดเจน เนื้อหาในหนังสือน้ีไม่เน้นข้อมูล อ้างอิงเชิงวิชาการ แต่เป็นทัศนะจากประสบการณ์ของผู้เขียนที่มองเห็นแง่มุมท่ี ต่างจากคนอื่น ท้ังยังน�ำเสนอแนวทางการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไว้หลาก หลายมมุ มอง บางสว่ นสามารถปรับใชก้ บั งานด้านทัศนศลิ ปอ์ ยา่ งได้ผล นักวิชาการอีกท่านหน่งึ ที่มีพื้นฐานทางทัศนศลิ ปโ์ ดยตรง คือ ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ (๒๕๔๖) เป็นอาจารย์ประจ�ำคณะศิลปกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ไดเ้ ปดิ รายวชิ าหนง่ึ ในหลกั สตู รระดบั อดุ มศกึ ษา ใชช้ อ่ื วา่ วชิ า ความ คดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) เปน็ รายวิชาหนงึ่ ทเี่ ปดิ กว้างสำ� หรบั นิสติ ทกุ คณะ เพราะเชอื่ ในความจรงิ ทวี่ า่ ความคดิ สรา้ งสรรคม์ คี วามสำ� คญั ตอ่ ทกุ สายงาน ไมเ่ พยี งเฉพาะสายทศั นศลิ ปเ์ ทา่ นน้ั เนอื้ หาในหนงั สอื ไดก้ ลา่ วถงึ ภาพรวมเกยี่ วกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์ การจดั การเรยี นการสอนในวชิ าความคดิ สรา้ งสรรคท์ เ่ี ปดิ สอน รวมทง้ั เสนอกจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื สง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ โดยเปน็ กจิ กรรมทไี่ ด้ พ้ืนฐานจากองค์ประกอบท้ังสี่ด้านของความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของทอร์ แรนซ์ สำ� หรบั กจิ กรรมทง้ั สด่ี า้ นทน่ี ำ� เสนอในหนงั สอื นี้ ไมไ่ ดเ้ นน้ เฉพาะการสง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างทศั นศลิ ปเ์ ปน็ การเฉพาะ หากเปน็ กจิ กรรมโดยทว่ั ไปทที่ กุ ศาสตร์ สามารถฝึกฝน และปรับใช้ได้ในทกุ สถานการณ์

๒๖ การพฒั นาความคิดสร้างสรรคท์ างทศั นศิลป์ ทงั้ หมดท่ีกลา่ วมานี้ เป็นการศึกษาเก่ยี วกับความคิดสร้างสรรค์ ทัง้ ความ รทู้ ี่ได้จากนักวิชาการตะวันตก แล้วแพร่หลายมายงั ประเทศไทย ขยายองคค์ วาม รู้ตามบริบทของไทย ซึ่งเอกสารท่ียกมาเป็นตัวอย่างทั้งหมดนี้ ผู้เขียนใช้เป็น พ้ืนฐานเพื่อเรียบเรียงหนังสือเล่มนี้ บางข้อมูลต้องใช้เน้ือหาจากเอกสารเหล่าน้ี เนอื่ งจากความรเู้ กยี่ วกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์ มใิ ชค่ วามรทู้ ผ่ี เู้ ขยี นคดิ ไดเ้ อง หากแต่ มกี ารศกึ ษามายาวนานแลว้ จงึ หลกี เลยี่ งไมไ่ ดท้ ตี่ อ้ งศกึ ษาเปน็ เบอ้ื งตน้ และอา้ งองิ ถงึ แต่สง่ิ ทีแ่ ตกตา่ งจากเนือ้ หาที่เคยเผยแพรแ่ ลว้ คือ เทคนคิ การสง่ เสรมิ ความคิด บท สรา้ งสรรคท์ างทศั นศลิ ปส์ ำ� หรบั เปน็ แนวทางการพฒั นา สง่ เสรมิ กระตนุ้ ความคดิ ที่ ของบคุ คลในสายงานทศั นศลิ ปเ์ ปน็ การเฉพาะ ทง้ั นเี้ พอื่ ผเู้ รยี น นกั ศกึ ษา นกั ศลิ ปะ ๑ ศลิ ปิน นักออกแบบ ได้ใชเ้ ป็นแนวทางปรบั ใช้ตามบรบิ ทของแต่ละบคุ คล สมองกับความคิดสรา้ งสรรค์ จากขอ้ มลู หรอื ผลการศกึ ษาการวจิ ยั ในหวั ขอ้ ทผ่ี า่ นมา สงั เกตไดว้ า่ ความ คิดสร้างสรรค์ เปน็ ศักยภาพของมนษุ ยม์ ากกว่าทจ่ี ะเกีย่ วข้องกบั พรสวรรคอ์ กี ทง้ั วงการที่ให้ความสนใจและกล่าวถึงความคิดสร้างสรรค์ มักเป็นกลุ่มนักวิชาการ ดา้ นจติ วทิ ยาทางสตปิ ญั ญาหรอื การเรยี นรู้ ดงั นนั้ จงึ มคี วามสมั พนั ธก์ บั อวยั วะสว่ น หน่ึงของมนุษย์ คอื สมอง สมอง เป็นอวัยวะท่ีมีความส�ำคัญอย่างมากต่อร่างกาย มีผลการศึกษา มากมายทย่ี ืนยนั ว่า เม่อื หัวใจหยุดเตน้ แต่ยังไม่สามารถสรปุ ไดว้ า่ บุคคลน้นั ตาย แล้วหรือไม่ เน่ืองจากสมองยังท�ำงานอยู่ระยะหน่ึง ต่อเมื่อสมองหยุดท�ำงานเมื่อ ใด วงการแพทยจ์ งึ ถือว่า บุคคลนนั้ ไดต้ ายอย่างสมบูรณ์หรือบางกรณีท่ีมักพบวา่

๒๗ การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคท์ างทัศนศลิ ป์ บุคคลที่มีความบกพร่องในอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง เช่น ตาบอด หูหนวก แขน ขาพิการ ฯลฯ หากแต่สมองยังเป็นปกติ บุคคลน้ันสามารถสร้างใช้ความคิด สรา้ งสรรคท์ ี่เปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและผอู้ ืน่ ได้ จากกรณีเชน่ นสี้ ามารถยืนยันได้ ว่าสมองเป็นอวัยวะที่ส�ำคัญต่อร่างกายเพียงใด การศึกษาเกี่ยวกับสมองในระยะ แรกๆ เนน้ เพอื่ การแพทยเ์ ปน็ หลกั ผลการศกึ ษาทไ่ี ดค้ อ่ ยๆ ขยายสวู่ งวชิ าการดา้ น จิตวทิ ยาการเรียนรู้ จึงปรากฏว่ามีการก�ำหนดช่ือเรยี กสาขาหนงึ่ ว่า จิตวิทยาการ รู้คดิ (Cognitive Psychology) ซงึ่ ให้ความส�ำคัญกบั สมองเป็นหลัก คนเรามักจดจำ� กันเสมอว่า สมอง แบ่งออกได้ ๒ ซีก แตล่ ะซกี ถกู เชอ่ื ม โยงกันด้วยมัดเส้นใยแอกซอน (Axon) เพื่อให้สมองทั้งสองซีกท�ำงานได้อย่าง สมั พนั ธก์ นั สมองแตล่ ะซกี มหี นา้ ทค่ี วบคมุ กลา้ มเนอื้ ซกี ตรงขา้ ม โดยสมองซกี ขวา จะควบคมุ การทำ� งานของรา่ งกายซกี ซา้ ย สว่ นสมองซกี ซา้ ย (Left hemisphere) ควบคุมการท�ำงานของร่างกายซีกขวา นอกจากการควบคุมการท�ำงานของ ร่างกายแล้ว ยังมีความสามารถสั่งการในหน้าที่ต่างๆ ด้วย คือ สมองซีกขวา (Right hemisphere) ควบคุมเกี่ยวกับความสามารถด้านการมองภาพแบบมิติ สัมพันธ์ การรับรู้มิติ การรู้ความหมายของภาษา การประเมินผลแผ่นร่างมิติ สมั พนั ธแ์ ละการประเมนิ ผลแบบองคร์ วม สว่ นสมองซกี ซา้ ย ทำ� หนา้ ทค่ี วบคมุ เกยี่ ว กับภาษา การประมวลผลภาษา การเคลื่อนไหวร่างกาย การวิเคราะห์ส่ิงต่างๆ (จฑุ ามาศ แหนจอน, ๒๕๕๙, หนา้ ๔๕-๔๖) ดังนน้ั สมองในสว่ นซีกทมี่ ีความสัมพนั ธ์กบั การสรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์ หรือการใช้ความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นหน้าท่ีของสมองซีกขวา และในส่วนที่มี ความเก่ียวข้องระหว่างสมองกับความคิดสร้างสรรค์ทางด้านทัศนศิลป์ คือ การ จนิ ตภาพ หรอื การจนิ ตนาการเกย่ี วกบั ภาพ บางทา่ นอาจเรยี กวา่ มโนภาพ ซงึ่ เปน็ ความสามารถในการสร้างภาพในสมองหรือการจินตนาการด้วยภาพ ส่งผลต่อ ความสามารถในการใชจ้ นิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ อกี ทง้ั การจนิ ตภาพ ยงั มสี ว่ นชว่ ยพฒั นาระบบความจำ� ของมนษุ ยใ์ หด้ ขี น้ึ (จฑุ ามาศ แหนจอน, ๒๕๕๙, หน้า ๒๑๓) ความเช่อื นี้สอดคลอ้ งกับผลการศกึ ษาของ ซวิ เวยี ร์ (กิจจา ฤดขี จร, ๒๕๕๕, หนา้ ๓๘) ท่ีกลา่ ววา่ การจดจำ� ภาพจะท�ำให้บุคคลสามารถจ�ำได้มากถึง ๖๕% ส่วนการจำ� เสยี ง จ�ำไดเ้ พยี ง ๒๕% ที่เหลือคือ จ�ำการเคลอ่ื นไหว แมก้ ารจ�ำ ท่าทางการเคล่ือนไหวจะจดจ�ำได้น้อย แต่เม่ือจดจ�ำได้แล้วจะฝังลึกอยู่ได้คงทน ยาวนานมากกวา่ การจ�ำแบบอ่ืนๆ

๒๘ การพัฒนาความคดิ สร้างสรรค์ทางทศั นศลิ ป์ บท ที่ ๑ อน่ึง ศักยภาพของสมองต่อการเกิดความคิดสร้างสรรค์ นอกจากองค์ ความรู้ที่ได้จากโลกตะวันตกที่อธิบายถึงการจินตภาพในสมองแล้ว ยังคงมีความ สอดคล้อง กับหลักปฏิบัติสมาธิทางพระพุทธศาสนา อีกแนวทางหน่ึงที่เรียกว่า มโนมยิทธิ ซ่ึงนอกจากจะคิดเป็นภาพเพื่อช่วยในการจดจ�ำได้ดีแล้ว ยังเป็นการ ทบทวนและพิจารณาภาพในรูปแบบใหม่ รูปแบบใหม่ท่ีกล่าวน้ีจะก่อให้เกิดการ สรา้ งสรรค์ทง้ั ทางทัศนศลิ ป์ รวมทั้งเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมอย่างใหม่อกี ด้วย เมอื่ ผลการศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตรร์ ะบวุ า่ ความคดิ ลกั ษณะตา่ งๆ เปน็ ผล จากการทำ� งานของสมองเป็นหลัก จงึ มกี ารศกึ ษาและวจิ ยั ถึงแนวทางการพฒั นา สมอง เพอื่ น�ำไปส่พู ฤตกิ รรมและคุณลักษณะการคดิ ของบุคคล และเป็นทีย่ อมรับ กันแล้วว่า ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ไม่เกี่ยวข้องกับพรสวรรค์ แต่เป็น ประสบการณ์การรับรู้และความสามารถของสมอง น�ำมาสู่การคิดที่สร้างสรรค์ ฉะน้ัน มนุษยท์ ีม่ ีความสมบูรณ์ทางสมอง จึงสามารถไดร้ ับการฝึกฝน ปลกู ฝัง ส่ง เสริมให้เกิดกระบวนการคิดสรา้ งสรรคไ์ ด้ ส่วนผลการคิดจะออกมาเป็นเชน่ ไรน้ัน ข้ึนอยู่กับศักยภาพในส่วนอื่นๆ ด้วย เช่น ผู้ที่มีความสามารถทางทัศนศิลป์หรือ

๒๙ การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรคท์ างทศั นศลิ ป์ บรรดาศลิ ปนิ ทผ่ี ลติ ผลงานศลิ ปกรรม นอกจากจะมจี นิ ตนาการและสรา้ งสรรคร์ ปู แบบงานไดแ้ ปลกใหม่ ไมซ่ ำ้� แบบใครแลว้ ทกั ษะฝมี อื เปน็ อกี ศกั ยภาพเฉพาะบคุ คล ที่ต้องได้รับการฝึกฝนจนเกิดความเชี่ยวชาญด้วย และการพัฒนาทักษะ การ เคล่ือนไหว ก็คอื ความสามารถของสมองทมี่ ีหน้าท่ีควบคมุ รา่ งกาย และสง่ ผลต่อ การจดจ�ำที่ยาวนานอกี ดว้ ย ผลงานทเี่ กิดจากความคดิ สรา้ งสรรค์ ผลงานที่แสดงถึงความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ มีขึ้นต้ังแต่มนุษย์ถือ ก�ำเนิดขึ้นมาบนโลก แตข่ ณะน้นั ยงั ไม่มผี ู้ใดบญั ญัติและคิดถึงความคดิ สร้างสรรค์ เนื่องจากมนุษย์โบราณ หาแนวทางสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมาเพ่ือการด�ำรงชีพเท่าน้ัน และยังไม่มีมนุษย์โบราณคนใดท่ีให้ความส�ำคัญและสนใจศึกษากระบวนการทาง สมอง เพอื่ สง่ เสรมิ ความคดิ สร้างสรรคเ์ ชน่ ยคุ หลังนี้ ในยคุ ดึกด�ำบรรพ์ปรากฏวา่ มมี นุษย์อาศัยอยู่ตามดนิ แดนตา่ งๆ ก�ำหนด อายลุ ่วงมาแลว้ หลายพนั ปี ส่ิงที่เปน็ หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ที่แสดงออกถึงความคดิ สร้างสรรคไ์ ด้น้นั คอื โบราณวตั ถทุ ่ใี ชส้ ำ� หรบั การดำ� รงชีวติ แม้จะใชป้ ระโยชน์ได้ ผลดเี พยี งใด แตใ่ นยคุ นนั้ กม็ ไิ ดล้ ว่ งรหู้ รอื สนใจวา่ ผสู้ รา้ งวตั ถเุ หลา่ นนั้ เปน็ ใคร มชี อื่ อะไรหรือเป็นบุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์หรือไม่ ซ่ึงต่างจากผู้มีความคิด สร้างสรรค์ในยุคหลัง ส่งิ ประดษิ ฐ์โบราณท่ใี ช้แกป้ ญั หาหรือเพ่อื ดำ� รงชพี ปรากฏ หลกั ฐานหลากหลายชนดิ ดงั ตวั อยา่ งเชน่ เครอ่ื งมอื ลา่ สตั วร์ ะยะแรกมลี กั ษณะเปน็ ก้อนหิน รูปร่างกลมมน ใช้ส�ำหรับขว้างปาสัตว์เพ่ือล่าเป็นอาหาร ต่อมามีการ

๓๐ การพัฒนาความคดิ สร้างสรรค์ทางทัศนศลิ ป์ ขดั แตง่ เครอื่ งมอื เหลา่ นนั้ ใหม้ คี ม สามารถตดั ชน้ิ เนอื้ ออกเปน็ สว่ นๆ ยคุ สมยั นเี้ นน้ การใช้ก้อนหินเป็นหลัก เน่ืองจากเป็นวัตถุที่หาได้ง่ายท่ัวไป ไม่ต้องน�ำมาผ่าน กระบวนการมากนัก จึงก�ำหนดช่ือเรียกว่า ยุคหิน ต่อมามนุษย์เริ่มเรียนรู้และมี ประสบการณต์ อ่ การใชว้ สั ดุมากขึน้ รู้จักกรรมวธิ ีแปรรปู วสั ดุ เกิดรูปแบบการนำ� โลหะมาแปรรูปเป็นเคร่ืองมือมีคมแทนการใช้ก้อนหินอย่างสมัยก่อนหน้า ประดษิ ฐกรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหมน่ ้ี มคี วามเหมาะสมตอ่ การใชง้ านมากกวา่ เกา่ สงิ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ ใหมน่ เี้ อง ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ระดบั ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องมนษุ ยใ์ นสมยั โบราณ บท ท่ี ๑ เมอ่ื ความเจรญิ ทางดา้ นเทคโนโลยคี อ่ ยๆ กา้ วหนา้ มากขนึ้ มคี วามทนั สมยั ทป่ี รากฏในทกุ สรรพสง่ิ เกดิ ขน้ึ มาจากการตอ่ ยอดสง่ิ ทม่ี อี ยเู่ ดมิ แลว้ นำ� มาตอ่ ยอด ดดั แปลง และพฒั นาขน้ึ เรอ่ื ยๆ ผสู้ ร้างสรรคผ์ ลงานทแ่ี สดงถงึ ความคิดสร้างสรรค์ ปรากฏตัวข้ึนอย่างมากมาย รวมท้ังให้ความส�ำคัญต่อผู้สร้างสรรค์หรือเจ้าของ ความคิดมากกว่าในสมัยดึกด�ำบรรพ์ จนบางคนแสดงเอกลักษณ์เฉพาะตัวจาก สิ่งประดิษฐ์ท่ีสร้างสรรค์ขึ้น ตัวอย่างเช่น นักวิทยาศาสตร์ท่ีมีช่ือเสียงระดับโลก โดยเป็นผปู้ ระดิษฐ์คดิ คน้ เคร่อื งอ�ำนวยความสะดวกให้แก่มวลมนษุ ยชาติ เช่น

๓๑ การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ทางทัศนศิลป์ โทมสั เอลวา เอดสิ นั (Thomas Elva Adison) นกั วิทยาศาสตรแ์ ละนกั ประดิษฐ์ ชาวอเมรกิ นั ทมี่ ชี อื่ เสยี งเปน็ ทรี่ จู้ กั ระดบั โลก เปน็ ผคู้ ดิ คน้ หลอดไฟฟา้ รวมทงั้ เครอ่ื ง ใช้ไฟฟ้าหลายอย่าง หรือการสร้างเครื่องจักรไอน�้ำเครื่องแรก ท่ีเกิดจากความ คิดสร้างสรรค์ของเจมส์วตั ต์ (James Watt) นักประดิษฐ์ชาวสก๊อตแลนด์ ถือได้ ว่าเป็นจุดเริ่มต้นแห่งวงการอุตสาหกรรม หรือในปีพ.ศ. ๒๔๑๙ การก�ำเนิดของ โทรศัพท์เคร่ืองแรกของโลก โดย อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ (Alexander Graham Bell) นักวิทยาศาสตร์ชาวสก๊อตแลนด์ นับเป็นรากฐานให้กับวงการ โทรคมนาคม และการสอ่ื สารแบบกา้ วกระโดดในโลกยคุ ปจั จบุ นั (ธนากติ , ๒๕๕๙) ผลผลติ จากความรทู้ างดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี เปน็ สว่ นชว่ ยสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ให้ด�ำรงอยู่ได้อย่างทันสมัย ส่วนความคิด สรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะ มหี ลกั ฐานตงั้ แตย่ คุ โบราณ และสบื เนอื่ งตอ่ กนั มา โดยพฒั นา ใหม้ รี ปู แบบทลี่ งตวั และเหมาะกบั ยคุ สมยั ไมว่ า่ จะเปน็ ผลติ ผลทางดนตรกี ารแสดง หรือวรรณกรรมเรื่องต่างๆ ท่ีกล่าวมานี้แม้จะไม่สามารถวัดได้จากวัตถุ แต่ ความคิดที่ปรากฏในเน้ืองาน สามารถแสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ของ ผู้ประพันธ์ได้อย่างชัดเจน ส�ำหรับผลงานทางศิลปะอีกแขนงหนึ่ง คือ ทัศนศิลป์ ที่ต้องอาศัยการมองเห็นเพื่อรับรู้ความงดงามและเนื้อหาสาระ สามารถจับต้องและสัมผัสได้โดยตรง ปรากฏหลักฐานเป็นผลงานศิลปกรรม ต้ังแต่โบราณ และอาจเก่าแกก่ วา่ ผลงานหลายประเภทด้วย เช่น ผลงานภาพวาด บนฝาผนงั ถำ�้ หรอื เพิงผา รปู แบบของตวั ภาพบางแหล่งยงั มคี วามรว่ มสมัย จนถงึ ปจั จบุ นั

๓๒ การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ทางทัศนศิลป์ ผลงานภาพวาดบางลกั ษณะของศลิ ปนิ ตะวนั ตก เปน็ ต้นกำ� เนดิ ของวทิ ยากรท่ี ล�้ำยคุ ในสมัยตอ่ มา เชน่ ภาพวาดลายเส้นสง่ิ ประดิษฐ์ตา่ งๆ ฝีมอื ของ ลีโอนาโด ดาวินซี (Leonardo da Vinci) สถาปัตยกรรมหลายยุคของโลกตะวันตก แสดง ถงึ ความคดิ ปรชั ญา แทรกอยใู่ นรปู แบบอาคารต่างๆ ดว้ ย ตัวอย่างท้ังหลายเหลา่ น้ีเป็นส่ิงท่ีแสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์จากความคิดของชาว ตะวนั ตก บท ที่ ๑ ส�ำหรับผลงานศิลปกรรมไทย ที่หลายท่านกล่าวว่า มีลักษณะเป็นแบบ ประเพณนี ยิ ม คอื ทำ� ตามอยา่ งกนั และสบื ทอดตอ่ กนั มานน้ั แทท้ จี่ รงิ ไมเ่ ปน็ ไปเชน่ นั้นทั้งหมด ผลงานแต่ละช้ินแสดงถึงความคิดสร้างสรรค์ของช่างผู้สร้าง ผลงานดว้ ยเชน่ กนั บางชนิ้ ปรากฏเปน็ รปู แบบผลงานใหม่ บางกรณคี ดิ คน้ วสั ดใุ หม่ และบางคราวสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการสร้างอย่างใหม่ ตัวอย่างผลงาน ศิลปะไทยท่ีแสดงออกถึงจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของช่างผู้สร้างได้ ชดั เจนมาก คือ การออกแบบตัวภาพสตั วผ์ สม ท่ีเรียกวา่ สัตวห์ มิ พานต์ ท่ไี ม่มอี ยู่ จรงิ ในธรรมชาติ เกดิ จากการนำ� รปู แบบและลกั ษณะเดน่ ของสตั วแ์ ตล่ ะชนดิ ผสม ผสานจนเกดิ เปน็ ภาพสตั วช์ นดิ ใหม่ รวมทงั้ มคี วามสอดคลอ้ งกบั ชอื่ เรยี กและแหลง่ ท่ีอยูต่ ามเนอื้ หาในวรรณกรรม เชน่ กุญชรวารี มีรูปแบบผสมระหวา่ งช้างกับปลา

๓๓ การพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ทางทัศนศลิ ป์ โดยออกแบบให้มีท่อนบนเป็นช้าง ส่วนท่อนหางเป็นหางปลา อาศัยและแหวก วา่ ยอยู่ในแหล่งนำ�้ ลกั ษณะเชน่ นอ้ี าจสัมพนั ธก์ ับค�ำกลา่ วท่ีวา่ “จับแพะชน แกะ“ หมายถงึ การดดั แปลงโดยนำ� สง่ิ ตา่ งๆ ทส่ี ามารถเขา้ กนั ไดม้ าไวด้ ว้ ยกนั ชา่ ง ผสู้ รา้ งจะเปน็ ผอู้ อกแบบใหต้ วั ภาพเกดิ ความงามดว้ ยทรวดทรงและรายละเอยี ดท่ี เหมาะสมลงตัว ลักษณะเช่นน้ีตรงกับความคิดหนึ่งที่เรียกว่า ความคิดยืดหยุ่น ซ่ึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งของความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของทอร์แรนซ์ (Torrance) ภาพท่ี ๑ ประตมิ ากรรมรปู กญุ ชรวารีทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการผสมผสานระหวา่ งชา้ งและปลา

๓๔ การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ทางทัศนศิลป์ บท ท่ี ๑ ภาพที่ ๒ เจดียท์ รงพุ่มขา้ วบณิ ฑภ์ ายในวดั เจดีย์เจด็ แถว จงั หวดั สโุ ขทยั เกดิ ขนึ้ จากการผสมผสานรูปแบบทางศิลปะ อีกตัวอย่างหน่ึงท่ีสามารถแสดงให้เห็นถึงจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ของชา่ งศลิ ป์ไทยได้อยา่ งชดั เจน คอื รปู แบบเจดีย์ยอดทรงดอกบัวตมู หรอื ที่เรียกอีกหลายช่อื ว่า เจดียท์ รงพมุ่ ข้าวบิณฑ์ เจดยี ์ทรงทะนาน ฯลฯ เปน็ รปู แบบเจดีย์ในรสนิยมของสมัยสุโขทัย ที่ได้รับการออกแบบจากส่วนประกอบของ เจดีย์ต่างสมัย ต่างรสนยิ ม รวมไว้เปน็ เจดยี ์ยอดทรงดอกบวั ตูม จากลักษณะขา้ ง ต้น เปน็ ตวั อยา่ งของความคดิ สร้างสรรค์ของช่างศิลปะไทย ทน่ี ำ� ลกั ษณะเด่นจาก หลายแหลง่ มาผสมผสาน ดดั แปลง ปรบั แตง่ และปรงุ ใหม่ จนเกดิ เปน็ รปู แบบใหม่ ทแ่ี สดงถงึ เอกลกั ษณแ์ ละเกดิ ความงดงามทลี่ งตวั ในแงท่ ศั นศลิ ป์ ตวั อยา่ งทนี่ ำ� เสนอ มาทั้งหมดนี้เป็นการช้ีให้เห็นถึงลักษณะของกระบวนการคิดสร้างสรรค์ในหลาย ศาสตร์ เพื่อให้เห็นความส�ำคัญของความคิดสร้างสรรค์และมีความจ�ำเป็นที่ต้อง สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ศกั ยภาพทางการคดิ สรา้ งสรรคใ์ หม้ ากตามความสามารถของ แตล่ ะบคุ คล แม้ผ้เู รียนบางคนจะมิได้มงุ่ เน้นการเปน็ นกั ศิลปะในอนาคตกต็ าม

๓๕ การพฒั นาความคิดสร้างสรรคท์ างทัศนศิลป์ ความส�ำคญั ของความคิดสรา้ งสรรค์ จากข้อมูลที่กล่าวไปในหัวข้อท่ีผ่านมา แสดงให้เห็นถึงผลผลิตที่เกิดขึ้น จากจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์แต่ละยุคสมัย เป็นส่วนท่ีช่วย ให้เกิดการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงความเจริญทางด้าน วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สง่ิ เหลา่ นม้ี ผี ลใหช้ วี ติ ของมนษุ ยม์ คี ณุ ภาพทดี่ แี ละยนื ยาว มากกว่าในอดตี มีค�ำกล่าวหนง่ึ ที่ว่า ปัจจุบนั เป็นผลมาจากอดีต ซึง่ อดีตทผี่ า่ นมา มนี กั คดิ นกั ประดษิ ฐ์ นกั สรา้ งสรรคม์ ากมายทพ่ี ยายามมองและคาดการณอ์ นาคต (ซึ่งหมายถึงปัจจุบัน) โดยเรียกกลุ่มบุคคลนี้ว่า นักอนาคตนิยมหรือนักวิจัยเชิง อนาคต ซ่ึงขณะนนั้ เปน็ ปี ค.ศ. ๑๙๗๔ หรอื เมื่อ ๔๐ ปกี อ่ น ได้พยากรณ์เก่ยี วกบั การเปลี่ยนแปลงของโลก โดยมีพลังขับเคล่ือนหนึ่ง คือ ความคิดสร้างสรรค์ ว่า เด็กทีเ่ กิดมาใน ปคี .ศ. ๑๙๗๕ เมื่อเตบิ โตเป็นผใู้ หญ่และจะด�ำรงชีวติ อยู่บนโลกนี้ ไดน้ ัน้ จำ� เปน็ ต้องคำ� นงึ ถงึ ปัจจยั ต่างๆ ไดแ้ ก่ ๑. จ�ำเป็นตอ้ งพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ๒. ตอ้ งคดิ สรา้ งสรรคง์ านอยา่ งหลากหลาย และ ๓. จะตอ้ งใชเ้ วลาสำ� หรบั พกั ผอ่ น เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม (Newell, ๑๙๗๔) ในช่วงระยะเวลาท่ี นิวเวล (Newell) ให้ขอ้ คดิ ถึงเดก็ ทเ่ี กดิ เมื่อ ๔๐ กวา่ ปที แ่ี ลว้ นน้ั สะทอ้ นถงึ ความสำ� คัญ ของความคิดสร้างสรรค์ต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมโลก การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ในยุคปัจจุบันย่ิงทวีความรุนแรงมากกว่าอดีตที่ผ่านมา อันเป็นผลมาจากความ เจรญิ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ หรอื ก็คอื ผลจากความคดิ สร้างสรรค์ของมนุษย์ ในอดีตนัน่ เอง

๓๖ การพัฒนาความคดิ สร้างสรรคท์ างทศั นศลิ ป์ ผู้เขียนอยากชี้ชวนให้ผู้อ่านจินตนาการนึกภาพตามไปด้วย ซ่ึงจะเข้าใจ และเห็นความส�ำคัญของความคิดสร้างสรรค์ได้ชัดเจนมากขึ้น ยกตัวอย่างกรณี โทรศัพทม์ อื ถือหรอื ท่ีปจั จุบนั เรยี กวา่ สมาร์ทโฟน (Smartphone) หากไมม่ ีการ ตอ่ ยอดดว้ ยความคดิ สรา้ งสรรค์ เรายงั คงใชโ้ ทรศพั ทร์ นุ่ ปมุ่ กดทมี่ ขี นาดใหญโ่ ตและ หนาเทอะทะ และหากไร้กระบวนการคิดสร้างสรรค์ เรายังคงใช้โทรศัพท์มือถือ เพ่ือการโทรออกและรับสายเท่านั้น อาจใช้ต้ังปลุกและเล่นเกมบ้างในบางกรณี และเราจะไมม่ โี ทรศพั ทท์ ม่ี ศี กั ยภาพครอบคลมุ อปุ กรณห์ ลายสงิ่ รวมกนั ในสมารท์ บท โฟน (Smartphone) เพียงเคร่ืองเดียว ไม่ว่าจะเป็นกล้องถ่ายภาพที่ปัจจุบันมี ท่ี ความสามารถเทียบเท่ากล้องบันทึกภาพแท้ๆ เคร่ืองคิดเลขที่มีรูปแบบหน้าตา ๑ สีสันสวยงาม รวมทั้งการส่ือสารผ่านแอพพลิเคช่ัน ซึ่งต่างจากการติดต่อหากัน เหมือนเช่นอดีต ท้ังยังเป็นเคร่ืองแสดงระดับฐานะของผู้เป็นเจ้าของด้วย ดังนั้น ประโยชน์การใช้งานของโทรศัพท์จะไม่ใช่อุปกรณ์ส่ือสาร แต่กลายเป็นเคร่ือง ประดบั อกี ดว้ ย ความคิดตา่ งๆ ถกู พัฒนาและต่อยอดขนึ้ เรอื่ ยๆ จากโทรศพั ท์ ๑ เคร่ืองสู่สมาร์ทโฟน (Smartphone) ที่สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก อนื่ ๆ ไดอ้ ย่างหลากหลาย เชน่ หฟู ังแบบไรส้ ายหรอื นาฬิกาเพอื่ สขุ ภาพ เปน็ ต้น ส่ิงเหล่าน้ีท�ำให้มนุษย์ใช้ชีวิตง่ายขึ้น และในอนาคตผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์คงจะมี อปุ กรณ์ท่ีทนั สมยั และสร้างความตื่นเตน้ ให้กบั ผคู้ นอยา่ งสม่ำ� เสมอ และนค่ี อื ๑ ตวั อยา่ งของการใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรคท์ เี่ หน็ ภาพไดช้ ดั เจนและใกลต้ วั เรามากทสี่ ดุ

๓๗ การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรคท์ างทศั นศิลป์ ความคดิ สร้างสรรค์กบั ลกั ษณะความคดิ ท่ีใกลเ้ คียง จากผลการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับกระบวนการคิด ทั้งมีนักวิชาการ นัก วิจัยมากมายน�ำเสนอลักษณะการคิดไว้หลายอย่าง ลักษณะการคิดบางอย่างมี ความสอดคล้องกับคุณลักษณะของความคิดสร้างสรรค์ บางอย่างมีความ ใกลเ้ คยี งกนั แตก่ ำ� หนดชอื่ เรยี กแตกตา่ งกนั ออกไป ในหวั ขอ้ นจี้ ะนำ� เสนอเกยี่ วกบั ลักษณะการคดิ ท่มี ีความสมั พันธ์และใกล้เคยี งกับความคิดสรา้ งสรรค์ ดงั ต่อไปนี้ ๑. จินตนาการกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์ ค�ำว่า จินตนาการ มีผู้ก�ำหนดนิยามเอาไว้ค่อนข้างมาก แต่ละบุคคลให้ ความหมายทอี่ าจมคี วามแตกตา่ งกนั ไปตามประสบการณแ์ ละฐานคดิ ของตน เชน่ ดบั บลิว ทแู มน (Toman, ๑๙๗๒, หนา้ ๑๐๔) กล่าวถึง จินตนาการ ว่าเป็นการ สรา้ งภาพขนึ้ ในใจ จากสง่ิ ทเ่ี คยประสบพบเจอรอบตวั สว่ น คารเ์ ตอร์ วกี ดู (Good, ๑๙๗๓, หน้า ๒๙๑) กล่าววา่ จนิ ตนาการ เปน็ ศกั ยภาพทางสมองที่จะสร้างภาพ หรอื สญั ลกั ษณท์ เี่ กดิ จากการคดิ ฝนั หรอื สงิ่ ตา่ งๆ ทเ่ี คยจดจำ� และมปี ระสบการณ์ ในอดีตที่ผ่านมา จากนิยามของท้ังสองท่านที่กล่าวมานี้ จะเห็นความสอดคล้อง ของความหมายได้อย่างชัดเจน ดังน้ัน จินตนาการ จึงน�ำพาซึ่งการสร้างสรรค์ ผลงานทม่ี ลี กั ษณะแปลกแตกตา่ งจากของเดมิ นอกจากนน้ี กั วชิ าการชาวไทย เชน่

๓๘ การพัฒนาความคิดสร้างสรรคท์ างทศั นศลิ ป์ ชลดู นม่ิ เสมอ (๒๕๓๔, หนา้ ๓๐๘) ผเู้ ปน็ ศลิ ปนิ แหง่ ชาตทิ ม่ี ชี อ่ื เสยี งและ เผยแพร่ผลงานศิลปะไปทว่ั โลก มีทศั นะเกีย่ วกับค�ำว่า จนิ ตนาการ ว่า พลังของ จติ ทสี่ รา้ งภาพใหมภ่ ายในใจ มคี วามงดงามกวา่ เปน็ ระเบยี บมากกวา่ หรอื เลวรา้ ยก ว่าสิง่ ท่มี อี ยูจ่ ริง จนิ ตนาการจะท�ำใหเ้ กิดภาพในส�ำนกึ เรียกว่า จนิ ตภาพ (image) จากแนวคดิ ของ ชลดู นมิ่ เสมอ มคี วามสอดคลอ้ งกบั นิยามที่กูด และทูแมนได้ให้ ไวป้ ระเดน็ หนง่ึ คอื จนิ ตนาการ มฐี านะเปน็ เพยี งความคดิ เทา่ นนั้ เนอ่ื งจากยงั เปน็ ภาพที่อยู่ในใจ ยังไม่ผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ออกมาเป็นรูปธรรม ดังน้ัน บท จินตนาการ จงึ เป็นนามธรรมค่อนขา้ งสูง ท่ี วนิช สธุ ารตั น์ (๒๕๔๗, หนา้ ๑๕๕) นกั วิชาการทา่ นหนง่ึ ทไี่ ดใ้ หค้ วาม ๑ หมายของจินตนาการไว้ โดยประมวลผลการศึกษาจากหลายท่านกล่าวว่า จินตนาการ เป็นศักยภาพของสมองที่เกิดจากการน�ำข้อมูลต่างๆ มาบูรณาการ เข้าด้วยกัน แล้วสร้างรูปแบบใหม่ จินตนาการที่เกิดขึ้นท้ังหลายได้จากการผสม ผสานระหวา่ งผลจากการคดิ ทไี่ ดจ้ ากความรหู้ ลายศาสตร์ เชน่ วทิ ยาศาสตรศ์ ลิ ปะ ศาสตร์ เปน็ ต้น ทกี่ ่อให้เกิดผลงานทัง้ ทางวรรณกรรม ศลิ ปกรรม สิง่ ประดษิ ฐ์ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ ดังน้ัน จินตนาการ จึงเป็นองค์รวมของสรรพ ความรทู้ ก่ี อ่ ตวั ขนึ้ ในสมอง หรอื ทชี่ าวพทุ ธ หมายถงึ จติ หรอื ใจ คำ� วา่ ใจ ในทน่ี มี้ ไิ ด้ หมายความถงึ หวั ใจ เพราะหวั ใจเปน็ อวยั วะทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การสบู ฉดี โลหติ ไปหลอ่ เลย้ี งทุกส่วนในร่างกายเท่าน้ัน แตใ่ จในความหมายนมี้ ีนิยามถงึ ศกั ยภาพของการ คิด ซึง่ กค็ ือ หน้าทหี่ ลกั ของสมองมนษุ ย์ ทัง้ นจี้ นิ ตนาการยังไม่สามารถบ่งบอกได้ วา่ บคุ คลนนั้ มคี วามคดิ สรา้ งสรรคห์ รอื ไม่ เพราะยงั เปน็ เพยี งความคดิ ในสมอง เปน็ นามธรรม แต่ตราบใดท่ียังไม่ลงมือกระท�ำตามความคิดนั้นให้ออกมาเป็นผลงาน อยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ที่สามารถวดั ผลได้ กย็ งั ไมถ่ อื ว่ามีความคดิ สรา้ งสรรค์ ประเดน็ นี้ตรงกับทัศนะของ เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักดิ์ (๒๕๔๙) ท่ีกล่าวว่า ความคิด สร้างสรรค์ต้องมีเป้าหมายการคิดที่ชัดเจนและไม่ใช่เพียงจินตนาการอย่างไร้จุด หมาย หากจนิ ตนาการทไ่ี รว้ ตั ถปุ ระสงคอ์ าจเปน็ เพยี งความคดิ เพอ้ ฝนั ซงึ่ เปน็ ความ คดิ ที่เลอ่ื นลอย ไรส้ าระ (สมิต สชั ฌุกร, ๒๕๕๕, หน้า ๑๒)

๓๙ การพัฒนาความคิดสร้างสรรคท์ างทัศนศลิ ป์ ๒. ความคดิ นอกกรอบกับความคดิ สร้างสรรค์ ในปัจจุบันปรากฏหนังสือประเภทการพัฒนาตนเองหรือเทคนิคการ ท�ำงานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ออกส่ทู อ้ งตลาดอยา่ งกว้างขวาง แม้หนังสือประเภทน้ี จะมิได้เรียบเรียงจากความรู้ทางวิชาการ แต่ข้อเขียนบางส่วนที่ปรากฏ เป็น ประโยชน์ และสามารถนำ� มาพจิ ารณาปรบั ใชไ้ ดใ้ นชวี ติ จรงิ ในบรรดาหนงั สอื เหลา่ นีม้ ีประเดน็ ทีก่ ล่าวถึงเกี่ยวกับความคิดอยูห่ ลายแบบ ความคิดแบบหน่งึ ท่ีมีความ ใกล้เคียงกบั ลักษณะของความคิดสร้างสรรค์คอื การคิดนอกกรอบ เมอ่ื แรกไดย้ ิน ค�ำนร้ี สู้ ึกถงึ ความหมายเชิงบวกและลบ กลา่ วคอื หากหมายถึงแนวทางของความ คิดที่แปลกใหม่ น่าจะเป็นสิ่งท่ีดี แต่บางมุมมองอาจเข้าใจว่า เป็นการแหกกฎ ระเบียบ ไม่อยู่ในหลกั เกณฑท์ ี่กำ� หนดไว้ แตค่ วามหมายของความคิดนอกกรอบที่ เป็นนยิ ามแท้จริงของ สมิต สัชฌกุ ร (๒๕๕๕, หนา้ ๑๒) คือ ความคิดที่อสิ ระ ไม่ ยดึ ตดิ กบั เงอื่ นไขใดๆ เพราะหากเรายงั คดิ วนเวยี นอยกู่ บั ความคดิ แบบเดมิ การแก้ ปัญหาด้วยแนวทางเก่าๆ และมักคิดขัดแย้งในใจว่า ความคิดใหม่จะขัดต่อความ คิดดั้งเดิมแบบประเพณี จะไม่สามารถออกจากกรอบความคิดเดิมได้เลย ดังน้ัน ความคิดนอกกรอบตามความหมายน้ี จึงมีบางส่วนที่มีความสัมพันธ์กับลักษณะ ความคิดสร้างสรรค์คือ การไม่ยึดติดอยู่กับเง่ือนไขใด มีความหมายตรงกับความ คดิ ยดื หยนุ่ ซงึ่ เปน็ องคป์ ระกอบหนง่ึ ของความคดิ สรา้ งสรรคต์ ามแนวคดิ ของทอร์ แรนซ์ และหากเชื่อตามแนวคิดนี้ การคดิ นอกกรอบ อาจกลายเป็นส่วนหนึ่งและ มีความใกล้เคยี งกับความคิดสรา้ งสรรค์ด้วย

๔๐ การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ทางทศั นศิลป์ ๓. สหชั ญาณกับความคิดสรา้ งสรรค์ บท ท่ี ๑ วนชิ สธุ ารัตน์ (๒๕๔๗, หน้า ๑๕๘–๑๕๙) ได้ท�ำการศึกษาและเผยแพร่ คำ� วา่ สหัชญาณ ไว้ในหนงั สอื เรอ่ื ง ความคดิ และความคิดสรา้ งสรรค์ จากรูปคำ� ของสหชั ญาณ โนม้ เอยี งไปในแนวทางพระพทุ ธศาสนา แตจ่ ากขอ้ มลู ทนี่ ำ� เสนอ มี นักวิชาการชาวตะวันตกได้ให้ความหมายของค�ำน้ีไว้ด้วย คือ บาบารา คล้าก (Clark,๑๙๘๖) กล่าววา่ สหชั ญาณ ก็คือความคิดสร้างสรรค์ เปน็ ลกั ษณะการคิด ของมนุษย์แบบเดียวกัน โดยสหัชญาณเกิดจากการรับรู้เหนือธรรมดา (higher sense perception) ซงึ่ เปน็ ศกั ยภาพของมนุษย์ที่เขา้ สกู่ ารคดิ สร้างสรรค์ (ณฏั ฐ พงษ์ เจริญพิทย์, ๒๕๔๗, หนา้ ๑๐๗) ส่วนพลตรีหลวงวิจติ รวาทการ (๒๕๓๑, หน้า ๑๒๖–๑๒๗) เรียกสหชั ญาณวา่ ไหวพริบ ซง่ึ เป็นความสามารถของจิตทม่ี อง เหน็ และท�ำนายสง่ิ ท่เี กดิ ขึน้ ลว่ งหน้าได้ ส่วน วนิช สุธารัตน์ (๒๕๔๗) สรุปเกย่ี วกับ ค�ำวา่ สหัชญาณ ไวห้ มายถึง ความสามารถหย่ังรูพ้ ิเศษหรอื ความสามารถกำ� หนด สง่ิ ตา่ งๆ ทงั้ รบั รองดว้ ยวา่ มนษุ ยท์ กุ คนมสี หชั ญาณตดิ ตวั มาตงั้ แตเ่ กดิ และจะมผี ล เม่ือจิตเป็นสมาธิ จากขอ้ มลู ขา้ งต้น สหชั ญาณ อาจมคี วามหมายถึง จนิ ตนาการ เป็นเบื้องตน้ ตอ่ เมอ่ื น�ำจนิ ตนาการนน้ั มาสร้างใหเ้ กิดรปู ธรรม เม่ือน้นั จงึ สามารถ วัดได้วา่ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ในระดบั ใด

๔๑ การพฒั นาความคิดสร้างสรรคท์ างทัศนศลิ ป์ ๔. การคดิ แนวขา้ งกบั ความคิดสรา้ งสรรค์ ค�ำวา่ การคดิ แนวขา้ ง (Lateral thinking) เปน็ คำ� ทแ่ี ปลกใหม่ จนสรา้ ง ความสับสนต่อผู้สนใจเกี่ยวกับกระบวนการคิด การคิดแนวข้าง เป็นแนวคิดท่ี เอ็ดเวริ ์ด เดอ โบโน (Edward de Bono) ได้น�ำเสนอไว้ มลี กั ษณะตรงกนั ขา้ มกับ การคดิ แนวตั้ง รวมทง้ั ยงั มีความใกลเ้ คียงกบั ความคิดสรา้ งสรรค์ด้วย การคดิ แนว ขา้ ง มีความสัมพันธ์กับความคิดสรา้ งสรรค์และการเข้าใจอยา่ งลกึ ซึ้ง หรอื ทเี่ รยี ก วา่ การรูแ้ จ้ง (insight) รวมท้ังอารมณข์ นั (humour) โดยการเกิดข้นึ ของความ คดิ สรา้ งสรรคก์ ารหยง่ั รู้ และอารมณข์ นั เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าทเ่ี กดิ ขนึ้ ไดเ้ องอยา่ งอตั โนมตั ิ และไมส่ ามารถคาดเดาการเกดิ ขน้ึ ได้ แตส่ ำ� หรบั การคดิ แนวขา้ ง เปน็ กระบวนการ ทเี่ กดิ ขนึ้ ดว้ ยความตง้ั ใจหรอื เจตนาทจ่ี ะใหเ้ กดิ ขน้ึ จงึ แสดงใหเ้ หน็ วา่ การคดิ แนว ข้าง ตามแนวคิดนี้ มีลักษณะเหมือนกับความสามารถทางสมองท่ีต้อง ผ่านกระบวนการฝึกฝน และคาดหวังผลสมั ฤทธไิ์ ด้ เอด็ เวิรด์ เดอ โบโน (Edward de Bono) ยงั ได้อธบิ ายเพม่ิ เติมเปรียบ เทยี บใหเ้ หน็ ความแตกตา่ งระหวา่ งความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละการคดิ แนวขา้ งวา่ การ คดิ ท้ังสองลกั ษณะ มีความใกลเ้ คียงกนั มาก โดยความคิดสรา้ งสรรค์เป็นผลทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการคดิ สว่ นการคดิ แนวขา้ ง เปน็ กระบวนการทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ผลทส่ี ามารถชวี้ ดั

๔๒ การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ทางทศั นศลิ ป์ ถงึ ระดบั ความคดิ สรา้ งสรรคไ์ ด้ ทง้ั ยงั ไดอ้ ธบิ ายความตา่ งของการคดิ แนวขา้ งกบั การคดิ แนวต้ัง เพ่อื ให้เข้าใจและเห็นภาพไดช้ ัดเจนยงิ่ ข้ึน โดยสรุปได้ในตารางต่อ ไปนี้ (เอ็ดเวิรด์ เดอ โบโน, ๒๕๔๘) การคิดแนวต้ัง การคดิ แนวข้าง ๑. เป็นการคิดเพ่ือการสรรหา ๑. เป็นการคิดเพื่อการสรรค์ บท ๒. เปน็ การคิดทเี่ ลอื กแนวทาง สร้าง ท่ี ทด่ี ที ส่ี ุดเพียงแนวทางเดียว ๒. เป็นการคิดทีเ่ น้นการพฒั นา ๓. เปน็ การคดิ ท่จี ะเคลอ่ื นไป ต่อยอด ทางเลอื กใหม่ๆ ที ่ ๑ ตามทิศทางทม่ี อี ยเู่ ทา่ นน้ั หลากหลาย ๔. เปน็ การคดิ ทมี่ ลี ำ� ดบั ต่อ ๓. เปน็ การคิดทเี่ คลือ่ นที่เพ่ือ เน่อื ง สร้างทิศทางใหม่ๆ ๕.เปน็ การคดิ ที่มีขอบเขต ๔. เป็นการคิดแบบกระโดด อยา่ งแน่นอน มกี ารแบง่ หมวด ขา้ มขัน้ ตารางท่ี ๑ การคิดแนวตง้ั และการคิดแนวขา้ ง จากรายละเอียดเก่ียวกับความแตกต่างระหว่างการคิดทั้งสองข้างต้น มี ความสอดคล้องกับลักษณะการคิดที่กิลฟอร์ด (Guilford) ได้เคยอธิบายไว้คือ ความคดิ แบบเอกนยั (การคดิ แนวตงั้ ) และความคดิ แบบอเนกนยั (การคดิ แนวขา้ ง) ดังนน้ั ลักษณะของการคิดแนวขา้ ง จึงมีลักษณะความใกล้เคียงกับลักษณะของ ความคิดสร้างสรรคเ์ ป็นอยา่ งมาก และอาจน�ำไปปรบั ใชเ้ ปน็ กระบวนการท่กี อ่ ให้ เกิดความคดิ สร้างสรรคข์ องมนษุ ย์ได้ด้วย

๔๓ การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรคท์ างทัศนศลิ ป์ แนวคดิ ทฤษฎที ่ีเกยี่ วขอ้ งกับความคิดสรา้ งสรรค์ เมอื่ เขา้ ใจเกยี่ วกบั เรอื่ งราวของความคดิ สรา้ งสรรคจ์ ากแตล่ ะหวั ขอ้ ทผ่ี า่ น มา และเพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นเกดิ ความรเู้ กยี่ วกบั ตน้ กำ� เนดิ ของความคดิ สรา้ งสรรคม์ ากขน้ึ จงึ ไดเ้ สนอแนวคดิ ทฤษฎที ไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้ ของนกั คดิ นกั ปรชั ญา นกั วจิ ยั ตา่ งๆ องค์ความรทู้ ี่ไดร้ บั สืบทอดมานนั้ เปน็ พ้ืนฐานสง่ ต่อใหก้ ับรุ่นหลังไดต้ อ่ ยอด จนเกดิ เปน็ มวลความรหู้ ลายชดุ ทงั้ เปน็ ทฤษฎที ใี่ ชอ้ า้ งองิ กนั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง แตเ่ นอ่ื ง ดว้ ยดว้ ยทฤษฎี แนวความคดิ หรอื องคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ มมี ากมายหลายกลมุ่ ดงั นนั้ จงึ ขอยกตวั อยา่ งแนวคดิ และทฤษฎเี ดน่ ๆ และมคี วาม เกี่ยวเน่ืองด้วยความคิดสร้างสรรค์ ทั้งสามารถน�ำมาปรับใช้ในกิจกรรมทางทัศน ศลิ ป์ โดยมีรายละเอยี ดต่อไปนี้ ๑. ทฤษฎจี ิตวเิ คราะห์ (Psychoanalysis Theory) นักวิชาการผู้ริเร่ิมทฤษฎีจิตวิเคราะห์ คือ ซิกมันต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) กลา่ วเกยี่ วกบั ความคดิ สรา้ งสรรคไ์ วอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ แหลง่ กำ� เนดิ ของความ คิดสร้างสรรค์มาจากพลังผลักดนั ทางเพศ ท่เี รยี กวา่ ลิปโิ ด (Libido) เปน็ แรงผลกั ดนั ทที่ ำ� ใหม้ นษุ ยเ์ กดิ แรงบนั ดาลใจ และนำ� ไปสเู่ ปา้ หมายทต่ี อ้ งการ โดยมกี ารขยาย ความดว้ ยวา่ เมอื่ ลิปิโดก่อตัวขึน้ จะมพี ลงั จ�ำนวนมหาศาล โดยเปรียบไดก้ บั ถุงท่ี มีลมอัดอยู่เต็ม และพยายามที่จะดันออกมาภายนอก มันจะปรับตัวเองให้มี รูปแบบใหม่ที่สามารถดันออกมาจากการถูกบีบอัดภายในถุง (วนิช สุธารัตน์, ๒๕๔๗, หน้า ๑๘๖) นอกจากน้ยี งั ไดอ้ ธิบายอกี ว่า การแสดงออกของบุคลกิ ภาพ ขนึ้ อยกู่ บั ลปิ โิ ดเปน็ พลงั ผลกั ดนั ทอ่ี ยภู่ ายในจติ ใจ ซง่ึ ลปิ โิ ดถกู แบง่ ออกเปน็ ๓ ชนดิ โดยมีแหล่งก�ำเนิดและชื่อเรยี กท่ตี ่างกนั ดงั ตอ่ ไปน้ ี

๔๔ การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์ทางทศั นศลิ ป์ ๑.๑ ลิปิโดแหง่ ความรกั มแี หล่งกำ� เนิดมาจาก อิด (id) เปน็ ลิปิโดทเ่ี กิด ข้นึ จากอารมณ์ ความรกั และความตอ้ งการทางเพศ ผลกั ดันใหส้ นใจเฉพาะความ รกั และปรารถนาใหผ้ อู้ น่ื รกั ตน การแสดงความรกั คอ่ นขา้ งรนุ แรง ไมม่ คี วามยบั ยงั้ ชงั่ ใจ หว่ันไหวตอ่ ความรักได้งา่ ย เปน็ ผลมาจากลิปโิ ดทีเ่ กดิ จากอิด (id) ๑.๒ ลปิ ิโดแห่งความหลงรกั ตนเอง มแี หล่งกำ� เนดิ มาจากอีโก้ (Ego) เปน็ แรงผลักดันท่ีท�ำให้มนุษย์ปกป้องตนเองให้เกิดความปลอดภัยในชีวิต มีความ กระตือรอื ร้น มักกระท�ำทกุ ส่ิงเพอ่ื ความส�ำเรจ็ ของตนเปน็ หลกั บท ๑.๓ ลิปิโดแห่งความศรัทธาหลงใหล มีแหล่งก�ำเนิดมาจากซุเปอร์อีโก้ ที่ (Super Ego) ทำ� ใหม้ นษุ ยเ์ กดิ ความศรทั ธาเลอื่ มใสตอ่ สงิ่ ตา่ งๆ มกั หวนั่ ไหวตอ่ เรอ่ื ง ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั คณุ ธรรมความดี มคี วามเชอื่ มน่ั ในตนเอง บางครงั้ อาจสง่ ผลตอ่ ความ ๑ ยึดม่นั ถอื ม่นั ในบางเรื่องอย่างรุนแรง จากรายละเอยี ดขา้ งตน้ ซกิ มนั ต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ยงั ไดอ้ ธบิ าย เพม่ิ เติมวา่ หากลิปิโด ๒ ตวั มาผสมกนั จะเกิดเป็นลิปโิ ดชนิดผสม ตัวอย่างเช่น ลิปิโดแห่งความศรัทธาหลงใหลรวมกับลิปิโดแห่งความหลงรักตัวเอง จะส่งเสริม ใหเ้ กดิ การสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมตา่ งๆ ของหมมู่ วลมนษุ ยชาติ เพราะเปน็ สงิ่ ทเี่ ชอื่ ม โยงกนั ระหวา่ งคณุ ธรรมกบั สงั คม จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ นกั คดิ ทมี่ คี วามคดิ ทอี่ สิ ระ สามารถ สร้างผลงานทางศิลปะหรือเทคโนโลยีต่างๆ มากมาย ดังนัน้ ต้นก�ำเนิดของความ คิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ตามแนวคิดทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมันต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) จึงสรปุ ทมี่ าได้ว่า

๔๕ การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรคท์ างทศั นศลิ ป์ เป็นผลจากลิปิโด (อาจมีความหมายตรงกับแรงบันดาลใจในทางศิลปะ) ซึ่งเป็น ท่มี าของอดิ และซเุ ปอรอ์ ีโก้ เปน็ เครอ่ื งผลกั ดันให้มนุษย์คิดและกระท�ำสง่ิ ตา่ งๆ ให้ เกิดขึ้นแต่จะมีคุณค่าต่อมวลมนุษย์หรือไม่ หรือมีมากน้อยเพียงใดน้ัน ขึ้นอยู่ว่า เป็นการรวมตัวของลิปโิ ดระดบั ใด จากรายละเอยี ดของทฤษฎจี ิตวเิ คราะห์สอดคลอ้ งกับการสรา้ งสรรค์ผล งานทางวิจิตรศิลป์ เนื่องด้วยศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงานมักเกิดจินตนาการ และ สรา้ งงานเพอ่ื สนองตอบความตอ้ งการของตนเปน็ หลกั สว่ นเนอ้ื หาของผลงานบาง ช้ิน ก็อาจเกิดขึน้ จากลปิ ิโดแหง่ ความรกั (Id) จงึ แสดงออกมาในรปู หญงิ สาวหรือ อาจมีการเปลือยกายดว้ ย ส่วนผลงานทีส่ อ่ื ถงึ ความเชอื่ ทางศาสนา จงึ มีท่มี าจาก ลิปโิ ดแห่งความศรัทธาหลงใหลเป็นหลัก และอาจรวมตัวกับลิปิโดแหง่ ความหลง รกั ตัวเอง จงึ เกิดเป็นผลงานท่แี สดงออกถึงอารยธรรมในแต่ละยุคสมัย ๒. ทฤษฎีจติ วทิ ยาวเิ คราะห์ ทฤษฎจี ติ วทิ ยาวเิ คราะหถ์ กู ตง้ั ขนึ้ ดว้ ย คารล์ กสุ ตาฟ จงุ (Garl Gustav jung : ๑๘๗๕ – ๑๙๗๑) เปน็ นกั จิตวิทยาชาวสวิส ที่มีความเชือ่ ว่า มนษุ ย์เกิดมาพร้อม กับการเกิดขึ้นของประสบการณ์ต่างๆ โดยประสบการณ์ท้ังหลายของมนุษย์เคย ปรากฏขน้ึ แลว้ ในอดตี ทผ่ี า่ นมา ทกุ สรรพสงิ่ ทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ ลว้ นเปน็ ประสบการณ์ เดิมที่มนุษย์เคยพบเห็นมาก่อนท้ังสิ้น นอกจากนี้ ลอเรนซ์ เพอร์วิน (Pervin, ๑๙๘๙, หน้า ๑๔๖) ได้ขยายความจากแนวคิดของ จุง ว่า มนุษย์เก็บสะสม ประสบการณ์มาจากบรรพบุรุษ โดยบันทึกไว้ในจิตไร้ส�ำนึกส่วนลึกท่ีเรียกว่า จติ ไรส้ �ำนกึ องค์รวม ซงึ่ เปน็ ส่วนที่เชอ่ื มโยงระหว่างความรู้ ความรูส้ ึก และความ คิดที่ได้รับจากบรรพบุรุษในอดีตกับจิตใจของบุคคลปัจจุบัน ส่วนน้ีจึงเป็นตัว กำ� หนดวธิ กี ารรบั รเู้ ร่อื งราวในโลก ชีวติ ความเปน็ มนุษย์ ความเชื่อศรัทธา รวมท้งั การระลึกชาติ จึงเปน็ ศูนยร์ วมของปัญญาอันยง่ิ ใหญท่ สี่ ามารถใชแ้ กป้ ัญหาได้ วนิช สุธารัตน์ (๒๕๔๗, หน้า ๑๙๑) สรุปแนวคิดของทฤษฎีจิตวิทยา วิเคราะห์เอาไว้ว่า ความคิดสร้างสรรค์ท่ีย่ิงใหญ่ของมนุษย์มีที่มาจากจิตไร้สำ� นึก ความเฉลียวฉลาดของมนุษย์ไม่ใช่สิ่งใหม่ หากเป็นประสบการณ์ที่มนุษย์แต่ละ บุคคลได้ส่ังสมมาในภพชาติก่อน ถ้าเชื่อตามค�ำอธิบายน้ีแสดงว่า ความคิด สรา้ งสรรคข์ องมนษุ ยเ์ ปน็ พรสวรรคท์ ตี่ ดิ ตวั มาตง้ั แตเ่ กดิ หรอื มนษุ ยอ์ าจมคี วามคดิ

๔๖ การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ทางทศั นศลิ ป์ สร้างสรรค์ติดตัวมาอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งอาจจะสังเกตได้จากการแก้ไขปัญหาโดย สญั ชาตญาณ และเมอ่ื ไดร้ บั ประสบการณใ์ หม่ สงิ่ แวดลอ้ มใหม่ จะทำ� ใหค้ วามคดิ มีรูปแบบที่แปลกแตกต่างจากบุคคลอื่น เน่ืองจากแต่ละบุคคลมีประสบการณ์ท่ี ตา่ งกนั นั่นเอง จากคำ� อธิบายของ วนิช สุธารัตน์ มีความโน้มเอียงไปทางพระพุทธ ศาสนาเปน็ หลกั ทกี่ ลา่ วถึง การสัง่ สมมวลประสบการณจ์ ากภพก่อน ซึ่งสัมพันธ์ กับการระลึกชาติตามแนวคิดของ ลอเรนซ์ เพอร์วิน (Lawrence Purwin) แม้ ประเด็นนี้จะไม่สามารถยืนยันด้วยเคร่ืองมือทางวิทยาศาสตร์ แต่ตัวอย่างบุคคล บท ผทู้ รงสมาธทิ ่ดี �ำเนนิ ตามหลกั พระพุทธศาสนาก็ปรากฏใหเ้ ห็นอยา่ งมากมาย ท่ี ๑ ๓. ทฤษฎโี ครงสร้างทางปัญญา ทฤษฎนี ถี้ อื วา่ เปน็ พน้ื ฐานของการศกึ ษาเกยี่ วกบั ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละ มคี วามเปน็ วทิ ยาศาสตร ์ ทสี่ ามารถอธบิ ายและมหี ลกั ฐานอา้ งองิ ได้ โดย กลิ ฟอรด์ (Guilford) ซง่ึ เปน็ นกั จติ วทิ ยาดา้ นสตปิ ญั ญาของอเมรกิ า มชี อื่ เสยี งจากการอธบิ าย ทฤษฎเี กี่ยวกบั ความคดิ และสติปัญญา ๒ เรื่อง ไดแ้ ก่ ความคิดแบบเอกนยั และ ความคิดแบบอเนกนัย ทงั้ สองความคิดนี้มีลกั ษณะทีแ่ ตกต่างกันอย่างส้ินเชงิ โดย ความคิดแบบเอกนยั เป็นความคดิ เพยี งมมุ มองเดียว ส่วนความคิดแบบอเนกนัย มีความเก่ียวข้องกับคุณลักษณะของความคิดสร้างสรรค์ หรือเป็นศักยภาพของ สมองทสี่ ามารถคิดไดห้ ลายทิศทาง หลายแง่มุม คดิ ไดก้ วา้ งไกล ซ่งึ จะนำ� ไปสกู่ าร สร้างสรรค์ทแี่ ปลกใหม่ ขอ้ เสนอของ กลิ ฟอรด์ (Guilford) เกย่ี วกบั ความคดิ แบบ อเนกนัยน้ัน เป็นพ้ืนฐานของทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์ในระยะต่อมา และนอก จากนี้ กลิ ฟอรด์ (Guilford) ยงั ไดจ้ ำ� แนกคณุ ลกั ษณะของความคดิ สรา้ งสรรคอ์ อก เป็น ๔ ส่วน ดังนี้ ๑. ความไวตอ่ ปัญหา เป็นการมองเห็นปัญหา รบั รไู้ ดร้ วดเรว็ ว่าปัญหา คอื อะไร อยูต่ รงไหน ๒. ความคิดคล่องตัว เป็นความสามารถของการคิดที่หลั่งไหลออกมา อยา่ งไม่จำ� กัด ๓. ความยดื หย่นุ เป็นความสามารถทค่ี ิดได้หลากหลาย แม้วา่ ไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งคิดหรอื มเี หตกุ ารณ์ทต่ี อ้ งแกป้ ญั หา ๔. ความแปลกใหม่ เปน็ ความคิดทีแ่ ตกตา่ งไปจากความคดิ ธรรมดา ท่วั ไป (อษุ ณยี ์ อนรุ ุทธว์ งศ,์ มปป., หน้า ๑๕๓)

๔๗ การพัฒนาความคิดสร้างสรรคท์ างทัศนศลิ ป์ ต่อมามีนักจิตวิทยาอีกหลายท่าน ได้น�ำทฤษฎีที่กิลฟอร์ด (Guilford) อธิบายไว้มาต่อยอด เกิดเป็นองค์ความรู้เก่ียวกับความคิดสร้างสรรค์อีกมากมาย ตัวอย่างเชน่ พอล ทอร์แรนซ์ (Paul Torrance) ได้นำ� คุณลกั ษณะของความคดิ สร้างสรรคท์ ้ังส่ีของกลิ ฟอรด์ (Guilford) มาจดั ระบบและอธิบายใหม่ ไดแ้ ก่ ความคิดคล่องแคลว่ (Fluency) หมายถงึ ความสามารถของการคดิ ตอบสนองต่อปัญหาให้ไดจ้ �ำนวนมากท่สี ุดภายใตเ้ งอ่ื นไขดา้ นเวลาท่จี �ำกัด ความคิดยืดหยนุ่ (Flexibility) หมายถงึ ความสามารถในการปรบั สภาพความคิดภายใต้สถานการณ์ที่หลากหลาย ไมย่ ึดติดว่าสง่ิ นน้ั ตอ้ งใช้คกู่ ับอกี สง่ิ เพยี งอยา่ งเดยี ว มลี กั ษณะของการปรบั ใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมและลงตวั เชน่ ขวด น�้ำพลาสติก ไม่เพียงแต่มีหน้าท่ีบรรจุน�้ำด่ืม แต่ยังสามารถน�ำมาประดิษฐ์เป็น นวัตกรรมอ่ืนได้ เปน็ ต้น ความคดิ ริเร่ิม (Originality) หมายถึง ความสามารถของความคิดท่ี แปลกใหม่แตกต่างจากสิ่งเดิมที่มีอยู่แล้ว ซึ่งอาจน�ำความคิดเดิมมาปรับปรุง ดดั แปลง ต่อยอดใหม่ใหด้ ีกวา่ เดมิ ความคดิ ละเอยี ดลออ (Elaboration) หมายถงึ ความสามารถท่มี อง เห็นและใส่ใจกับรายละเอียดที่สลับซับซ้อน และบุคคลอื่นมองไม่เห็น (อุษณีย์ อนรุ ทุ ธว์ งศ์, มปป., หน้า ๑๕๔)

๔๘ การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางทศั นศิลป์ จากคุณลักษณะของความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของทอร์แรนซ์ (Torrance) สามารถน�ำมาปรับใช้เป็นหลักเกณฑ์การพิจารณาระดับความคิด สร้างสรรค์ของแต่ละบุคคลได้ว่า มีความคิดสร้างสรรค์ลักษณะใดมากหรือน้อย เพียงใด เพราะน้อยคนท่ีจะมีความสามารถครบท้ังสี่ด้าน บางคนอาจคิดได้ คล่องแคลว่ มคี วามหลากหลายทางด้านความคิด แต่อาจไมส่ นใจในรายละเอยี ด หรืออาจมีความคิดยืดหยุ่นมาก แต่ยังมีลักษณะของความคิดเดิมปะปนอยู่มาก เป็นตน้ บท ที่ ๔. ทฤษฎีซนิ เนคตคิ ของกอร์ดอน (Synectic) ๑ ทฤษฎนี ้ีเกดิ ข้ึนจากศาสตราจารยว์ ลิ เลียม เจ เจ กอรด์ อน (William J.J. Gordon) แหง่ มหาวทิ ยาลยั ฮารว์ ารด์ โดยเสนอแนวคดิ ทส่ี ำ� คญั เกยี่ วกบั ความคดิ สร้างสรรค์เอาไว้ว่า ความคิดสร้างสรรค์จะเกิดข้ึนได้ดี ต่อเมื่อให้บุคคลท่ีมี คณุ ลกั ษณะแตกตา่ งกนั มากๆ มาทำ� งานรว่ มกนั รวมทง้ั ไดอ้ ธบิ ายขยายความดว้ ย ว่า ความคิดสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อผลผลิตที่ดีเยี่ยม ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่หลากหลาย เชน่ ความชำ� นาญ ความรู้ ทกั ษะ ประสบการณข์ องแตล่ ะบคุ คล การรวมกลมุ่ ของ บคุ คลจะเนน้ สภาพทางอารมณม์ ากกวา่ สตปิ ญั ญา เนอ่ื งจากสภาพทางอารมณจ์ ะ เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าไดร้ วดเรว็ และงา่ ย เมอ่ื ไดเ้ ผชญิ หนา้ กบั ปญั หา รวมทงั้ แตล่ ะบคุ คลใน กลมุ่ ยงิ่ มคี วามแตกตา่ งกนั มากเทา่ ไร จะสง่ ผลตอ่ การคดิ อยา่ งรอบคอบและถถ่ี ว้ น มากขึ้นตามไปดว้ ย

๔๙ การพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ทางทศั นศิลป์ ๕. ทฤษฎีความคิดสรา้ งสรรคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมนิยม นกั จติ วทิ ยากลมุ่ นม้ี คี วามเชอื่ วา่ ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ พฤตกิ รรมทเี่ กดิ ขน้ึ จากการเรยี นรแู้ ละใหค้ วามสำ� คญั กบั การกระตนุ้ หรอื เสรมิ แรง จากทฤษฎคี วาม คดิ สร้างสรรค์เชงิ พฤติกรรมนยิ ม ยังแบ่งแนวความคิดออกอีก ๒ กลุ่ม คือ กลมุ่ ทเี่ ชอ่ื วา่ ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ กระบวนการทางจติ วทิ ยา โดยเชอ่ื วา่ ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ป็นคณุ ลกั ษณะภายในใจของแตล่ ะบุคคล กลมุ่ ทเี่ ชอื่ วา่ ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ กระบวนการทางความคดิ โดยเชอ่ื ว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการคิดท่ีสามารถส่งเสริมหรือพัฒนาให้เพ่ิม ขึ้นได้ จากความเช่ือของท้ังสองกลุ่มข้างต้น มีความคิดรวบยอดเดียวกันอย่าง หนง่ึ คอื การพฒั นาศกั ยภาพของความคดิ สรา้ งสรรค์ ตอ้ งอาศยั กระบวนการฝกึ ฝน จงึ จะสามารถปรบั เปลย่ี นหรอื เพิม่ ความสามารถในการคิดสรา้ งสรรค์ได้ ๖. ทฤษฎอี งคป์ ระกอบของเออรเ์ บน ทฤษฎนี ถี้ กู คิดขน้ึ โดย เออร์เบน (Urban, ๒๐๐๔) ผู้มชี ่อื เสยี งด้านความ คิดสร้างสรรค์อีกผู้หนึ่ง ที่คิดท�ำแบบทดสอบการวัดความคิดสร้างสรรค์ และคิด วิธีการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วย ได้อธิบายเกี่ยวกับแนวคิดของทฤษฎีการ ศึกษาและจติ วทิ ยาเก่ยี วกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์วา่ เมอ่ื ใดกต็ ามทม่ี นษุ ยเ์ กิดความ คิดสร้างสรรค์ เมื่อน้ันต้องพิจารณาถึงกระบวนการเกิดท่ีอยู่ภายใต้ผู้คิดค้น รวม ถึงผลที่เกิดขึ้นจากความคิด จะสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับโลกภายนอกด้วย สำ� หรบั แนวคดิ นเี้ ปน็ มมุ มองของการพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ให้กบั บคุ คล รวม ทงั้ เสนอทฤษฎอี งค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ โดยแบ่งออกเปน็ ๒ กล่มุ ใหญ่และมี ๖ ดา้ นย่อย ดังนี้

๕๐ การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางทศั นศิลป์ องคป์ ระกอบทางความคิด ความรู้ 1. ความคดิ และการปฏบิ ัติทม่ี ีความหลากหลาย มลี ักษณะเปน็ อเนกนยั 2. ความรู้ท่วั ไป และความคิดที่เป็นพื้นฐาน 3. ความรเู้ ฉพาะทาง และทกั ษะเฉพาะทาง องค์ประกอบด้านบคุ ลิกภาพ 4. ความจดจ่อตอ่ งาน มคี วามมุ่งมนั่ ใหป้ ระสบความสำ� เรจ็ 5. มีแรงจูงใจและแรงผลกั ดนั สงู 6. เปน็ คนเปิดเผย อดทน พยายามหาทางพิสูจน์ขอ้ สงสยั บท ท่ี จากองค์ประกอบท้ัง ๖ ข้อย่อยข้างต้น แสดงให้เห็นว่า มนุษย์ทุกคน ๑ สามารถเปน็ ผู้มคี วามคดิ สร้างสรรค์ โดยผ่านกระบวนการการฝกึ ฝน เรียนรู้ และ มีจิตใจท่ีอยากเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีข้ึน ซึ่งทฤษฎีองค์ประกอบของ เออรเ์ บน (Urban) จงึ เนน้ ความสำ� คญั ตอ่ องคค์ วามรจู้ นิ ตนาการ ความคดิ ทแ่ี ปลก ใหม่ และองคป์ ระกอบทางจติ วทิ ยาทม่ี ผี ลตอ่ ความสำ� เร็จ ๗. แนวคดิ เก่ียวกับความคิดสรา้ งสรรค์และการทำ� งานของสมอง ในปัจจุบันมีผลการศึกษามากมายและมีความเป็นวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ การทำ� งานของสมองและพฤติกรรมของมนษุ ย์ ท�ำใหท้ ราบวา่ สมองมี ๒ ซีก ทีม่ ี ผลตอ่ การคาบคมุ การทำ� งานของรา่ งกาย โดยสมองซกี ซา้ ยควบคมุ การทำ� งานของ รา่ งกายซกี ขวา สว่ นสมองซีกขวา ควบคุมการทำ� งานของรา่ งกายซกี ซา้ ย รวมท้ัง มผี ลการศกึ ษาถึงการประมวลขอ้ มลู ท่แี ตกต่างกันด้วย โดยสมองซีกซา้ ย มีความ สามารถต่อการเขา้ ใจความหมาย การจดั ระบบ ขั้นตอน คดิ ค�ำนวณ เปน็ เรื่องท่ี เก่ียวข้องกับเหตุผล ซึ่งมีความสัมพันธ์กับนักภาษาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์นัก คณติ ศาสตรฯ์ ลฯ สว่ นสมองซกี ขวา มคี วามสามารถตอ่ การมองสง่ิ ตา่ งๆ แบบภาพ รวม การสรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ การแสดงอารมณ์ การจดจำ� ดว้ ยภาพ มติ สิ มั พนั ธ์ สนุ ทรยี ภาพ ดงั นนั้ ความคดิ สรา้ งสรรค์ จงึ สมั พนั ธก์ บั ความสามารถของสมองสว่ น ซกี ขวามากกวา่ อกี ซึกหนึ่ง ซงึ่ หากอยากไดค้ วามคิดสร้างสรรค์ท่มี ีคณุ ประโยชน์ที่ เหมาะสมอย่างเตม็ ที่ คงตอ้ งพงึ่ พาความสามารถของสมองซีกซา้ ยด้วย