Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์นักเรียน

รายงานการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์นักเรียน

Published by เอกวิทย์ ชัยลังกา, 2021-02-23 03:26:06

Description: รายงานการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์นักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนบ้านหนองกวาง ปีการศึกษา 2562
(นางนภสร พุทธรักษา ผู้อำนวยการสถานศึกษา)

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินโครงการพัฒนาคณุ ธรรมอัตลักษณนกั เรียน ตามแนวทางโรงเรยี นคุณธรรมของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562 นางนภสร พุทธรักษา ผูอำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผูอำนวยการชำนาญการ โรงเรยี นบานหนองกวาง สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ก บทสรุปสำหรับผบู ริหาร รายงานการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียน คุณธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 โดยใชร ูปแบบการประเมินแบบซิปป โมเดล (CIPP Model) ตามแนวคดิ ของ แดเนียล แอล สตัฟเฟล บีม (Stuffelbeam.D.L.) ดา นบริบทโครงการ (Context Evaluation) ดานปจจัยนำเขาโครงการ (Input Evaluation) ดานกระบวนการดำเนิน โครงการ (Process Evaluation) และดานผลผลิตโครงการ (Product Evaluation) มีวัตถุประสงค เพ่ือ 1) เพ่ือประเมินบริบทโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรม ของโรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 2) เพื่อประเมินปจจัยนำเขาโครงการพัฒนา คุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 3) เพื่อประเมินกระบวนการดำเนินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทาง โรงเรียนคุณธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 และ 4) เพ่ือประเมินผลผลิต โครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของโรงเรียนบานหนอง กวาง ปการศึกษา 2562 เคร่ืองมือที่ใชเปนแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ (Rating Scale) จำนวน 4 ฉบับ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ โดยการหาคาความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และคาดัชนีความสอดคลอง IOC (Index of item Objective Congruence) รายขอ โดยเลือกขอคำถามที่มีคาตั้งแต 0.5 ข้ึนไป โดยนำไปทดลองใช (Try out) ที่โรงเรียนบานโปงโก สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 1 กบั คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน จำนวน 7 คน ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จำนวน 6 คน ผูปกครอง จำนวน 7 คน ไดค า ความเชื่อม่ันแบบสอบถามฉบับที่ 1- 4 ตามลำดับดังน้ี 0.81 0.83 0.93 และ 0.85 นำแบบสอบถาม ไปเก็บรวบรวมขอมูล ประชากร คือ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จำนวน 7 คน ขาราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 6 คน ผูปกครอง จำนวน 67 คน รวมท้ังส้ิน 80 คน วิเคราะห ขอมูลโดยใชโปรแกรมสำเรจ็ รปู ทางสถติ ิ สรปุ ผลการประเมนิ ผลการประเมินโครงการพัฒนาคณุ ธรรมอัตลักษณน ักเรียนตามแนวทางโรงเรยี นคุณธรรมของ โรงเรยี นบา นหนองกวาง ปก ารศึกษา 2562 มีดังนี้ 1. ดานบริบทโครงการพัฒนาคุณธรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของ โรงเรยี นบา นหนองกวาง ปก ารศกึ ษา 2562 มีความหมาะสมและจำเปนอยใู นระดับมาก เม่ือพิจารณา เปนรายขอ พบวา ขอท่ีมีความเหมาะสมและจำเปนอยูในระดับมากท่ีสุด ไดแก โครงการมีความ สอดคลองกับสภาพปญหาของโรงเรียนและความตองการของครู ผูปกครองและชุมชน และมีการ

ข ประชุมรวมกันของผูที่มีสวนเก่ียวของในการกำหนดคุณธรรมอัตลักษณและพฤติกรรมบงชี้/ขอปฏิบัติ คุณธรรมอตั ลกั ษณข องโรงเรยี น 2. ดานปจจัยนำเขาโครงการพัฒนาคณุ ธรมอตั ลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรม ของโรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 มีความพรอมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนราย ขอ พบวา ขอที่มีความพรอมดานปจจัยนำเขาอยูในระดับมากท่ีสุด ไดแกคณะกรรมการดำเนิน โครงการมีความรูความเขาใจเก่ยี วกับแนวทาง เปาหมายและความสำคญั ของโครงการ 3. ดานกระบวนการโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียน คุณธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 มีการดำเนินการอยูในระดับมาก เมื่อ พิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่มีผลการดำเนินการอยูในระดับมากที่สุด ไดแก จัดกิจกรรมพัฒนา คุณธรรมอัตลักษณน กั เรียน เหมาะสมกบั ระดบั ความรูค วามสามารถของนักเรยี น 4. ดานผลผลิตโครงการพฒั นาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคณุ ธรรมของ โรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 นักเรียนมีการปฏิบัติตามคุณธรรมอัตลักษณอยูในระดับ มากที่สุด เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา ดานที่นักเรียนมีการปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด ไดแก ดาน ความรบั ผิดชอบ และดานความพอเพยี ง สว นดานความซ่ือสตั ย มกี ารปฏบิ ัติอยูในระดับมาก

ค กิตติกรรมประกาศ รายงานการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียน คุณธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 สำเร็จไดดวยดีเพราะ ไดรับรวมมือในการ ดำเนินโครงการจนประสบผลสำเร็จ และไดรับความอนุเคราะหขอมูลผลการประเมินโครงการจาก คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานและผูปกครองนักเรียนโรงเรยี นบานหนองกวาง ขอขอบพระคุณผูเช่ียวชาญทั้ง 5 ทาน คือ ดร.สมพงษ เตชรัตนวรกุล ผูอำนวยการโรงเรียน เทพมงคลรังษี นายสำเนาว นาคพิรุณ ผูอำนวยการโรงเรียนบานไทรทอง นายนรากร กาลสุวรรณ ผูอำนวยการโรงเรียนบานวังสิงห นางจันทนา สกุลวัฒนะ ผูอำนวยการโรงเรยี นบานทุงกางยาง และ นางสาวพรรณิภา หาญรักษ ศึกษานิเทศกชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ที่กรุณาเปนผูเชี่ยวชาญใหคำแนะนำในการจัดทำรายงานโครงการ ฉบบั น้ี ขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนบานหนองกวาง คณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครองและ นักเรยี น ที่มสี ว นชว ยในการจัดทำรายงานโครงการใหสำเรจ็ ลุลว งดว ยดี คุณคาและประโยชนของรายงานการประเมินโครงการคร้ังนี้ ผูรายงานขอมอบเปนเคร่ือง บูชาพระคุณบิดา มารดา ท่ีไดอ บรมส่ังสอนและใหความรกั ความอบอุนแกผูจ ดั ทำผลงาน และบรู พาจารย ผมู ี พระคุณทุกทานที่ไดอบรมส่ังสอนประสิทธิประศาสตรวิชาความรูจนกระทั่งทำใหงานสำเร็จอยางมี ประสทิ ธิภาพ นภสร พทุ ธรักษา ผอู ำนวยการโรงเรยี นบานหนองกวาง

ง สารบัญ บทท่ี หนา บทสรปุ สำหรบั ผบู ริหาร........................................................................................................................ก กติ ตกิ รรมประกาศ................................................................................................................................ค สารบญั ..................................................................................................................................................ง สารบัญตาราง.......................................................................................................................................ช สารบัญภาพ.........................................................................................................................................ญ บทที่ 1 บทนำ…………………………………………………………………………………………………………………….…1 ความเปนมาและความสำคญั ของโครงการ……………………………………………………………….……1 วตั ถุประสงค. ..........................................................................................................................6 ความสำคญั ของการประเมินโครงการ.....................................................................................6 ขอบเขตของการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………..……………7 กรอบแนวคิดของการประเมินโครงการ..................................................................................8 นิยามศพั ทเฉพาะ..................................................................................................................10 ประโยชนท ่คี าดวาจะไดรับ...................................................................................................11 บทที่ 2 เอกสาร แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ ง………………………………………………..………14 สภาพทวั่ ไปและบรบิ ทโรงเรยี นบานหนองกวาง....................................................................14 โครงการพัฒนาคณุ ธรรมอตั ลักษณน ักเรยี นตามแนวทางโรงเรยี นคุณธรรมของโรงเรยี น บา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562………………………………….…………………………………………18 คณุ ธรรมกับการคาดหวงั ทางสงั คม………………………………………………………………….…………26 แนวคิดและทฤษฎเี กย่ี วกับการพฒั นาคณุ ธรรม……………………………………………………………31 การพฒั นาคณุ ธรรมตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรม…………………………………………….………..36 แนวทางการพัฒนาคุณธรรมในโรงเรียน………………………………………………………..……………48 การประเมินโครงการ……………………………………………………………………………………….………51 งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วของ………………………………………………………………………………………..…………57

จ สารบญั (ตอ ) บทท่ี หนา บทที่ 3 วิธีการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………..………67 ประชากร………………………………………………………………………………………….……………………68 เคร่อื งมือท่ีใชประเมนิ ………………………………………………………………………………………………68 การสรา งและพัฒนาเครื่องมือ……………………………………………………………………………………69 การเก็บรวบรวมขอมลู ………………………………………………………………………………………………71 การจัดกระทำขอมลู …………………………………………………………………………………………………72 การวิเคราะหขอมลู ……………………………………………………………………………………………..……73 สถติ ทิ ่ใี ชในการวิเคราะหขอมูล………………………………………………………………………………..…74 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล……………………………………………………………………………………..………76 ตอนท่ี 1 การวิเคราะหขอมลู ท่ัวไปของผตู อบแบบสอบถาม โดยการแจกแจงความถี่ ( f) และคารอยละ ( %)………………………………………………………………………………………………………………77 ตอนท่ี 2 การวิเคราะหผลการประเมินดานบริบทโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลกั ษณ นกั เรยี นตามแนวทางโรงเรยี นคุณธรรมของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562 โดยวเิ คราะหห าคาเฉลีย่ (µ) และคาสวนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ( σ )…………………………………………..…78 ตอนที่ 3 การวเิ คราะหผลการประเมนิ ดา นปจ จยั นำเขา โครงการพัฒนาคณุ ธรรมอตั ลกั ษณ นกั เรยี นตามแนวทางโรงเรยี นคณุ ธรรมของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562 โดยวเิ คราะห หาคา เฉล่ยี (µ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( σ )………………………………………………………..………79 ตอนที่ 4 การวเิ คราะหผ ลการประเมนิ ดานกระบวนการโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลกั ษณ นักเรยี นตามแนวทางโรงเรียนคณุ ธรรมของโรงเรยี นบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562 โดยวิเคราะห หาคาเฉลีย่ (µ) และคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( σ )……………………………………………………..…………81 ตอนท่ี 5 การวิเคราะหผ ลการประเมินดานผลผลติ โครงการพัฒนาคณุ ธรรมอตั ลกั ษณ นกั เรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562 โดยวเิ คราะห หาคา เฉลยี่ (µ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( σ )………………………………………………………………83

ฉ สารบญั (ตอ ) บทท่ี หนา บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผลและขอ เสนอแนะ………………………………………………………………………..…86 สรุปผลการประเมนิ …………………………………………………………………………………………………86 อภิปรายผล………………………………………………………………………….…………………………………87 ประโยชนท ไ่ี ดรบั จาการประเมนิ โครงการ……………………………………………………………………90 ขอเสนอแนะ.........................................................................................................................92 บรรณานุกรม.....................................................................................................................................94 ภาคผนวก........................................................................................................................................100 ภาคผนวก ก ผลการหาคา ดัชนคี วามสอดคลอง (IOC)………………………………………..………101 ภาคผนวก ข ผลการหาคาความเชื่อมนั่ ของแบบสอบถามโดยใชส ตู รสมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟา (Alpha Coefficient)ของครอนบาค (Cronbach)………………….…………………………………108 ภาคผนวก ค ผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม……………………………..………..………113 ภาคผนวก ง แบบสอบถามเพ่ือประเมนิ โครงการ...............................................................119 ภาคผนวก จ หนังสอื ขอความอนุเคราะหเ ปนผูเ ช่ียวชาญ/รายช่อื ผูเชี่ยวชาญ....................130 ภาคผนวก ฉ หลกั ฐานการเผยแพรผ ลงาน.........................................................................137 ภาคผนวก ช โครงการพัฒนาคุณธรรมอตั ลักษณนกั เรยี น..................................................157 ภาคผนวก ซ รายงานผลการดำเนินงานโครงการ...............................................................166 ภาคผนวก ฌ ประวัติผปู ระเมินโครงการ............................................................................181

ช สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา ตารางท่ี 1 จำนวนผูใ หขอมูล………………………………………………………………………………………………..….7 ตารางท่ี 2 คา ความถี่ (f) และคา รอยละ (%) จำแนกสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม……………….77 ตารางท่ี 3 คาความถี่ (f) และคา รอยละ (%) จำแนกเพศของผูตอบแบบสอบถาม……….……………….78 ตารางท่ี 4 คา เฉล่ยี (µ) คาสว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( σ ) และแปลผลการประเมินดา นบริบท โครงการพัฒนาคุณธรรมอตั ลกั ษณน ักเรยี นตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของโรงเรียน บา นหนองกวาง ปการศกึ ษา 2562 ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ข้ันพนื้ ฐาน และขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (N=13)………………………………78 ตารางท่ี 5 คาเฉลยี่ (µ) คาสว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( σ ) และแปลผลการประเมินดา นปจจยั นำเขา โครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลกั ษณน ักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคณุ ธรรมของโรงเรียน บา นหนองกวาง ปก ารศกึ ษา 2562 ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษา ขนั้ พ้นื ฐาน และขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (N=13)……………………………80 ตารางที่ 6 คา เฉลยี่ (µ) คา สว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ( σ ) และแปลผลการประเมนิ ดา นกระบวนการ โครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรยี นตามแนวทางโรงเรยี นคณุ ธรรมของโรงเรียน บา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562 ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน และขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (N=13)……………………………81 ตารางที่ 7 คาเฉล่ยี (µ) คา สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( σ ) และแปลผลการประเมินดานผลผลิต โครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณน ักเรยี นตามแนวทางโรงเรยี นคุณธรรมของโรงเรยี น บา นหนองกวาง ปการศกึ ษา 2562 ตามความคิดเห็นของผูปกครอง และขาราชการครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา (N=73)……………………………………………………………………………84 ตารางท่ี 8 ตารางผลการหาคาดชั นีความสอดคลอง (IOC) ระหวา งขอคำถามกับเนอื้ หาหรือ วัตถปุ ระสงค แบบสอบถามฉบับที่ 1 ความคิดเหน็ ดา นบริบทกอนดำเนนิ โครงการพัฒนา คณุ ธรรมอัตลักษณนกั เรยี นตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของโรงเรยี นบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562..........................................................................................................102

ซ สารบัญตาราง (ตอ ) ตารางท่ี หนา ตารางที่ 9 ตารางผลการหาคาดชั นคี วามสอดคลอง (IOC) ระหวางขอ คำถามกบั เน้ือหาหรอื วัตถุประสงค แบบสอบถามฉบับท่ี 2 ความคิดเห็นดา นปจ จยั นำเขากอนดำเนิน โครงการพัฒนาคณุ ธรรมอัตลกั ษณนักเรยี นตามแนวทางโรงเรยี นคณุ ธรรม ของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562 ……………………….………………………103 ตารางที่ 10 ตารางผลการหาคาดชั นคี วามสอดคลอง (IOC) ระหวางขอคำถามกับเน้ือหาหรือ วตั ถปุ ระสงค แบบสอบถามฉบบั ท่ี 3 ความคิดเห็นดา นกระบวนการระหวางดำเนิน โครงการพฒั นาคณุ ธรรมอัตลักษณน ักเรยี นตามแนวทางโรงเรียนคณุ ธรรม ของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562...........................................................104 ตารางที่ 11 ตารางผลการหาคา ดชั นีความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอ คำถามกับเน้ือหาหรอื วตั ถปุ ระสงค แบบสอบถามฉบบั ท่ี 4 ความคิดเห็นดา นผลผลติ เม่อื เสร็จส้นิ ดำเนนิ โครงการพฒั นาคณุ ธรรมอัตลกั ษณน ักเรียนตามแนวทางโรงเรยี นคุณธรรม ของโรงเรยี นบา นหนองกวาง ปก ารศึกษา 2562.......................................................... 106 ตารางท่ี 12 ตารางแสดงผลการหาคา ความเช่ือมั่นของแบบสอบถามโดยใชส ตู รสมั ประสทิ ธ์ิแอลฟา (Alpha Coefficient)ของครอนบาค(Cronbach) แบบสอบถามฉบับที่ 1 ผลการประเมนิ ดานบรบิ ทโครงการพฒั นาคณุ ธรรมอตั ลักษณนกั เรยี นตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรม ของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปก ารศึกษา 2562...........................................................109 ตารางที่ 13 ตารางแสดงผลการหาคา ความเชื่อม่นั ของแบบสอบถามโดยใชสตู รสัมประสทิ ธแิ์ อลฟา (Alpha Coefficient)ของครอนบาค(Cronbach) แบบสอบถามฉบับท่ี 2 ผลการประเมิน ดา นปจ จยั กอ นดำเนนิ โครงการพฒั นาคุณธรรมอัตลกั ษณนกั เรยี นตามแนวทางโรงเรียน คุณธรรมของโรงเรยี นบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562………………………………………110 ตารางที่ 14 ตารางแสดงผลการหาคา ความเช่ือมัน่ ของแบบสอบถามโดยใชส ูตรสมั ประสิทธแ์ิ อลฟา (Alpha Coefficient)ของครอนบาค(Cronbach) แบบสอบถามฉบับที่ 3 ผลการประเมนิ ดา นกระบวนการโครงการพัฒนาคณุ ธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรยี น คุณธรรมของโรงเรยี นบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562………………………………………111 ตารางท่ี 15 ตารางแสดงผลการหาคาความเชื่อม่ันของแบบสอบถามโดยใชส ูตรสัมประสิทธิแ์ อลฟา (Alpha Coefficient)ของครอนบาค(Cronbach) แบบสอบถามฉบบั ที่ 4 ผลการประเมิน ดานผลผลิตโครงการพัฒนาคณุ ธรรมอัตลกั ษณนกั เรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรม ของโรงเรยี นบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562……………………………………………………112

ฌ สารบัญตาราง (ตอ) ตารางท่ี หนา ตารางท่ี 16 ตารางแสดงผลการหาคา เฉลีย่ (Mean) และคาสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ( σ ) แบบสอบถามฉบับท่ี 1 ผลการประเมนิ ดานบรบิ ทโครงการพฒั นาคุณธรรม อัตลกั ษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรยี นคุณธรรมของโรงเรยี นบา นหนองกวาง ปก ารศกึ ษา 2562……………………………………………………………………………………………114 ตารางท่ี 17 ตารางแสดงผลการหาคาเฉลี่ย (Mean) และคาสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ( σ ) แบบสอบถามฉบบั ท่ี 2 ผลการประเมนิ ดานปจ จยั กอนดำเนนิ โครงการพฒั นาคุณธรรม อตั ลักษณนักเรยี นตามแนวทางโรงเรียนคณุ ธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ปก ารศึกษา2562…….....................................................................................................115 ตารางท่ี 18 ตารางแสดงผลการหาคาเฉลย่ี (Mean) และคาสวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ( σ ) แบบสอบถามฉบับที่ 3 ผลการประเมนิ ดานกระบวนการโครงการพฒั นาคณุ ธรรม อตั ลกั ษณน กั เรียนตามแนวทางโรงเรียนคณุ ธรรมของโรงเรยี นบา นหนองกวาง ปก ารศึกษา 2562……....................................................................................................116 ตารางที่ 19 ตารางแสดงผลการหาคา เฉลีย่ (Mean) และคาสว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ( σ ) แบบสอบถามฉบับท่ี 4 ผลการประเมนิ ดา นผลผลิตโครงการพัฒนาคณุ ธรรมอัตลักษณ นกั เรยี นตามแนวทางโรงเรียนคณุ ธรรมของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปก ารศึกษา 2562……………………………………………..………………………………………………117

ญ สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการประเมนิ โครงการพฒั นาคุณธรรมอัตลักษณน ักเรยี น ตามแนวทางโรงเรียนคณุ ธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ปก ารศึกษา 2562…………………………………………………………………………………………….9 แผนภาพที่ 2 : โครงสรา งการบรหิ างานดา นคุณธรรมของโรงเรยี นบานหนองกวาง……………………..16

บทที่ 1 บทนำ ความเปน มาและความสำคญั ของโครงการ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ (หมอมหลวงปนัดดา ดิศกุล) ไดกลาวถึง ศาสตร พระราชาซึ่งเปนศาสตรที่ครอบคลุม เร่ืองเอกลักษณของชนชาติไทย เชนการออนนอมถอมตน การ เปนสุภาพชน ความขยันหมั่นเพียร การซ่ือสัตยส ุจริตซ่ึงเปนคุณงามดวามดขี องคนไทยทบ่ี รรพชนไทย ไดป ฏบิ ตั ิสืบทอดตอกนั มา ศาสตรพ ระราชาใหขอ คดิ การประพฤติปฏิบัตติ นไวว า อยา คบคนดวยฐานะ คบคนดวยความดีมีมิตรภาพดวยความรักและความผูกพัน และขอใหมีความกตัญูรูคุณตอบิดา มารดาผูมีพระคุณ และพระมหากษัตริย ถาทุกคนปฏิบัติตนตามศาสตรของพระราชาแลว ก็จะเปน พลเมืองที่มีคุณภาพ ประเทศก็จะมีแตคนดีและทำใหประเทศเจริญกาวหนารวมท้ังนอมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในชีวิตประจำวัน เพื่อมุงใหเกิดภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการ ความเสี่ยงอยางเหมาะสมเกิดความสมดุลและยั่งยืน แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ไดพระราชทานไวกวา 40 ปที่ผานมาเพื่อให ประชาชนชาวไทยนำไปเปนแนวทางในการพัฒนาตนเองและครอบครัวใหมีภูมิคุมกันท่ีมั่นคงในการ ดำเนนิ ชีวิตอยางมีความสขุ จึงนับไดวา\"ศาสตรพระราชา\" เปน เสมือนองคความรทู ่อี ยูค แู ผนดินไทย ซ่ึง ลวนมุงใหประชาชนทุกคนปฏิบัติตนเปน \"คนดี\" ทั้งคิดดี พูดดี ทำดี ยึดม่ัน ในคุณธรรม จริยธรรม สุจริต มีวินัย และมีความสามัคคีซึ่งกันและกันเพื่อรวมกันพัฒนาประเทศชาติบานเมือง ใหมีความ เจริญกา วหนาเปนปกแผน มน่ั คงตลอดไป นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ มีพระราชกระแสรับส่ังตอ ประชาชนชาวไทยให \"ชวยสรางคนดีใหบานมือง\"พรอมทั้งพระราชทานหลัก 3 ประการที่เก่ียวกับครู และนักเรยี นไววา \"ใหค รรู ักเดก็ เด็กรักคร\"ู \"ใหครูสอนใหเด็กมีน้ำใจตอเพื่อนไมใหแขงขันกัน แตใหแขงกับตัวเองและใหเด็กท่ีเรียนเกง ชว ยสอนเพื่อนท่เี รยี นชา กวา \" \"ใหครจู ัดกิจกรรมใหนักเรียนทำรว มกันเพื่อใหเหน็ คุณคาของความสามัคค\"ี จากพระราชกระแสรบั ส่ังขางตนสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระราชทานพระบรมราโชวาท ดานการศึกษาเพื่อสานตอพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหวั รัชกาลที่ 9 วา การศึกษาตองมงุ สรา งพนื้ ฐานใหแ กผ ูเรยี น 4 ดาน ดังน้ี

2 1. มีทัศนคติที่ถูกตองตอบา นเมือง 2. มีพ้ืนฐานชีวิตที่ม่ันคง-มีคุณธรรม 3. มงี านทำ-มีอาชีพ 4. เปนพลเมืองดี (โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โรงเรียนดตี อ งมีทย่ี นื , : 4) กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหนวยงานหลักมียุทธศาสตรดานการพัฒนา และเสริมสราง ศักยภาพคนโดยเฉพาะกลุมสังคมวัยเรียนไดขับเคลอื่ นการดำเนนิ งานโดยยึดบทบัญญัติตามรฐั รรมนูญ แหงราชอาณาจักไทย พทุ ธศกั ราช 2560 มาตรา 54 ทีก่ ำหนดใหการศึกษามุงพัฒนาผเู รียนใหเปนคน ดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สมารถเช่ียวชาญไดตามความถนัด ของตนและมีความรบั ผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 และที่แกไข เพ่ิมเติม หมวด 1 มาตรา 6 ท่ีวา \"การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ี สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สมารถอยูร วมกบั ผูอน่ื ไดอยางมีความสุข\" และหมวด 4 มาตรา 24 (4) ทีว่ า \"การจัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรูดา นตาง ๆ อยางไดส ัดสวนสมดลุ กันรวมท้ังปลูกฝงคุณธรม คานิยมที่ดงี าม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวทุกวิชา\" จึงไดจัดทำแผนแมบทในการพัฒนาการศึกษาของชาติ ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 ท่ีปรับเปล่ียนใหทันสมัย โดยมี วตั ถุประสงคในการจัดการศึกษาที่กำหนดไว 4 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัด การศึกษาทีม่ ีคุณภาพและมีประสิทธภิ าพ 2) เพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนพลเมืองดี มคี ุณลกั ษณะ ทกั ษะ และสมรรถนะท่ีสอดคลอ งกบั บทบัญญตั ิรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญัติการศึกษา แหงชาติ รวมถึงยุทธศาสตรชาติ 20 ป 3) เพ่ือพัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรู และ คุณธรรมจริยธรรม รูรักสามัคคี และรวมมือผนึกกำลังมุงสูการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืนตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 4) เพื่อนำประเทศไทยกาวขามกับดักประทศที่มีรายไดปานกลาง และความเหลื่อมล้ำภายในประเทศลดลง โดยกำหนดแนวทางการพัฒนา คือ สงเสริม สนับสนุนการ สรางจิตสำนึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลักปรัชญของเศรษฐกิจ พอเพียงสูการปฏิบัติในการดำเนินชีวิต สงเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู แหลงเรียนรู สื่อการเรียนรูตาง ๆ และพัฒนาองคความรู งานวิจัย และนวัตกรรมดานการสงเสริมคุณภาพชีวิตท่ี เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม โดยมีแผนงาน/โครงการสำคัญในการขับเคล่ือน เชน โครงการนอมนำศาสตร พระราชาสูการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพคนทุกชวงวัย โครงการโรงเรียนสีเขียว รวมถึงแนวทางการ ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ตามแนวทางของมูลนิธิยุวสถิรคุณ ท่ีมุงเนนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ ไมพ งึ ประสงคใหเปน พฤติกรรมเชิงบวก (สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน, 2560 : 4-5) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในฐานะเปนผูรับผิดชอบการจัดการศึกษา สำหรับเยาวชนสวนใหญของประทศใหเปนพลเมืองที่มีคุณภาพและมีความรูความสามารถ เปนคนดี

3 คนเกง และมีความสุขตามกฎหมาย นโยบายสำคัญของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการจึงนำเอา ยุทธศาสตรชาติ แผนปฏริ ปู ประเทศ และแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 รวมถึงแผนแมบ ท สง เสริมคณุ ธรมแหงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2559-2564) สูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมจึงไดดำเนนิ งาน ขับเคลื่อนโดยสืบสานศาสตรพระราชาสนองพระราชปณิธาน เดินตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาทของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 และพระราชประสงค ของสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ดวยแนวทางโรงเรียน คุณธรรม โดยกำหนดใหแตละสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการคัดเลือกโรงเรียนในสังกัดอยาง นอ ยรอยละ 35 เขารว มโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม ในปงบประมาณ 2560 และใหข ยายผลจนครบทุก โรงเรียนในปงบประมาณ 2561 ซึ่งในเบ้ืองตนไดกำหนดกรอบแนวคิดเปนคุณธรรมเปนเปาหมายให โรงเรียนนำไปศึกษาวิเคราะห กำหนด \"คุณธรรมอัตลักษณ\" ของตนเองเพ่ือใชเปนแนวทางพัฒนา คุณธรรมตามสภาพและบริบทของโรงเรียนแตละแหงตอไป คือ 1) ความพอเพียง 2) ความกตัญู 3) ความซือ่ สัตยส ุจริต 4) ความรับผดิ ชอบ และ 5) อดุ มการณค ณุ ธรรม ไดกำหนดตวั ชว้ี ดั โรงเรยี น คุณธรรม สพฐ. ไว 7 ประการ คือ 1. มีอดุ มการณค ณุ ธรรมในการพฒั นาโรงเรียนคณุ ธรรม 2. มีกลไกและเคร่อื งมอื ในการปฏบิ ัตคิ ุณธรรมจริยธรรมรวมกนั ทง้ั โรงเรยี น 3. มีพฤติกรรมที่พึงประสงคดานความพอเพียง ความกตัญู และความซ่ือสัตยสุจริตใน โรงเรียนเพม่ิ ขนึ้ 4. พฤติกรรมทไ่ี มพงึ ประสงคล ดนอ ยลง 5. มีกระบวนการมสี วนรวมและสรางความรบั ผดิ ชอบจากผูมีสวนเกี่ยวขอ งในโรงเรยี น 6. มอี งคค วามรู นวตั กรรมดานคุณธรรมและบรู ณาการไวในชัน้ เรยี น 7. เปน แหลง เรียนรูดา นคุณธรรม (สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน, 2560 :3) โรงเรียนบานหนองกวางเปนโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ไดรับการพิจรณาคัดเลือกใหเขารวมโครงการโรงเรียน คุณธรรม สพฐ.ในการศึกษา 2560 ซึ่งภายหลังจากท่ีผูบริหารโรงเรียน ครูแกนนำและครูผูรับผิดชอบ โครงการไดรับการอบรมชี้แจงแนวทางและขั้นตอนการปฏิบัตินระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาแลว จึงได ทำการศึกษาสภาพปจจุบันปญหาที่โรงเรียนประสบอยู เพ่ือวางแผนการขับเคลื่อนนโยบายโรงเรียน คุณธรรมตามกรอบแนวคิดและตัวชี้วัดที่ สพฐ. กำหนดจากการรายงานการประเมินตนเองของ สถานศึกษา (SAR) การศึกษา 2559 พบวา นักเรียนจำนวนมากยังมีพฤติกรรมดานคุณธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงคตามหลักสูตรไมเปนท่ีนาพอใจ โดยเฉพาะในดานความซ่ือสัตย ความรบั ผิดชอบและความพอเพียง (รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) โรงเรียนบาน หนองกวาง, 2559 : 22) ดังนั้น โรงเรียนจึงนำขอมูลจากสภาพปจจุบัน ปญหา มาใชเปนฐานใน

4 กระบวนการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม เพื่อลดพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคดังกลาวใหนอยลงหรือ หมดไป และมุงสรางพฤติกรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงคเชิงคุณธรรมของนักเรียน โดยการ ขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรมตามแนวทางและกระบวนการ 6 ขั้นตอน การสรางโรงเรียนคุณธรรม (ศนู ยโรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยวุ สถริ คณุ , 2559 : 26-31) ดังน้ี ขั้นตอนท่ี 1 สรางการรับรูและยอมรับจากผูเก่ียวของทุกภาคสวนของโรงเรียนวาจะรวมกัน คิดเปล่ยี นแปลงโรงเรียนใหดีขน้ึ และจะรว มกันปฏิบัติอยา งจรงิ จงั ใหบ งั เกิดผล ข้ันตอนที่ 2 รวมกันระดมความคิดเห็นจากผูเก่ียวของจัดทำบัญชีพฤติกรรมนักเรียนโดย แบงเปนบญั ชีพฤติกรมที่ไมพ ึงประสงคในรอบ 2-3 ปทีผ่ านมาเพ่ือสรา งการตระหนักรูถงึ ขอบกพรองที่ มขี องโรงเรียนกับบัญชีพฤติกรรมที่พึงประสงคและตองการใหเกิดข้ึนชวง 12 เดอื นขา งหนา เพื่อสราง ความตระหนกั รถู งึ ความปรารถนารว มกันในการพฒั นาโรงเรยี นในปต อไป ขั้นตอนที่ 3 รวมกันระดมความคิดเพ่ือกำหนดคุณธรรมหลัก (อัตลักษณเชิงคุณธรรม) ที่จะ แกไขหรือลดพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคตามบัญชี 1 และเพิ่มหรอื สนับสนุนใหเกดิ พฤติกรรมในบัญชีที่ 2 โดยใหทุกคนไดออกความคิดเห็นแลวคัดเลือกจากความ (ความเห็นสูงสุด) จนไดคุณธรรมหลัก 3 ประการใชดำเนนิ การตอไป ขั้นตอนท่ี 4 จัดประชุมผูเกี่ยวของแตละภาคสวนเพ่ือระดมความคิดและตกลงใจแปลง คุณธรรมหลัก (อัตลักษณเชิงคุณธรรม) ทั้ง 3 ประการออกมาเปนพฤติกรรม/ขอบงชี้การปฏิบัติและ ยึดถือเปนแนวทางรวมกันของโรงเรียนโดยการมีสวนรวมในภารกิจและการดำเนินกิจกรรมอยาง ตอ เนอ่ื ง ข้ันตอนท่ี 5 ประชาสัมพันธเผยแพรและประกาศเจตนารมณรวมกันในการสรางโรงเรียน คุณธรรมจากพฤติกรรม/ขอบงชี้การปฏิบัติคุณธรรมอัตลักษณท่ีจะสรางนักเรียนดีแกโรงเรียน สราง คนดีแกสังคม ลดพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงค สรางและสงเสรมิ พฤติกรรมท่ีพึงประสงคตามท่ีกำหนดไว รว มกันอนั เปนภาคปฏิบตั จิ ริง ขั้นตอนท่ี 6 ประเมินผลโดยผูอำนวยการโรงเรียนแตงตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบกิจกรรม ตาง ๆ ทำหนาท่ีกำกับ ติดตาม นิเทศรวมกับคณะกรรมการอยางตอเนื่อง และใหแตละภาคสวน ประเมินผลพฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงไป โดยอางอิงกับบัญชีพฤติกรรมท่ีทำไว และทำการประเมินผล ในภาพรวมที่มีผลกระทบตอการบริหารจัดการของโรงเรียนตอครู และนักเรยี น พรอมสรุปผลเพอ่ื วาง แผนการปรบั ปรงุ พฒั นาในปการศึกษาถัดไป ผลจากการดำเนินงาน \"สรางโรงเรียนคุณธรรม\" ของโรงเรียนบานหนองกวาง ตามโครงการ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ปการศึกษา 2560 ไดสรางความตระหนักรูและความต่ืนตัวของครู นักเรียน และชุมชนเปนอยางมากในการรวมกันแกปญหาพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคของนักเรียน ตลอดจน ปญหาท่ีโรงเรียนประสบอยู ดวยวิธีการและกระบวนการตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรม ซ่ึงโรงเรียน

5 บานหนองกวาง ไดคุณธรรมหลัก (อัตลักษณเชิงคุณธรรม) เปนอุดมการณไวขับเคลื่อนรวมกัน 3 ประการ คือ 1) ดานความซื่อสัตย 2) ดานความรับผิดชอบ 3) ดานความพอเพียง และไดรวมกัน วเิ คราะหพฤติกรรมบง ชี้/ขอปฏบิ ัตเิ ชิงคณุ ธรรมอัตลักษณไว 15 พฤตกิ รรม ดังนี้ 1.ดานความซื่อสัตย ประกอบดว ยพฤตกิ รรมบง ชค้ี ุณธรรม จำนวน 5 พฤติกรรม คือ ไมโกหก ไมพูดเท็จใหขอมูลที่ถูกตองและเปนจริง ไมลอกการบานหรือลอกขอสอบ ปฏิบัติตามขอตกลงใน หองเรียนและขอ ตกลงในโรงเรยี น ไมเอาสิ่งของผูอ่ืนโดยไมไดรับอนุญาต เก็บของไดสงคืนเจาของ ไม หาประโยชนใ นทางไมถ ูกตองไมเอาเปรยี บผูอ่นื 2. ดานความรับผิดชอบ ประกอบดวยพฤติกรรมบงช้คี ุณรรรม จำนวน 5 พฤตกิ รรม คือ ตรง ตอ เวลา รูหนาท่ีและทำตามหนาที่เปนอยางดี มีความพยายามทำงานใหสำเรจ็ ยอมรับความผิดพลาด ทีเ่ กิดจากการกระทำ มีนำ้ ใจเออื้ เฟอ เผ่ือแผ 3. ดานความพอเพียง ประกอบดวยพฤติกรรมบง ชีค้ ุณธรรม จำนวน 5 พฤตกิ รรม คือ การใช จา ยอยางประหยดั อดทนเสียสละเพ่ือสวนรวม มีน้ำใจและชวยเหลือผูอื่น ไมยุงเก่ียวกับยาเสพติด ใช ทรพั ยากรสว นรวมอยา งประหยัดและคุมคา จากการรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปการศึกษา 2560 ของโรงเรียน บานหนองกวาง พบวา พฤติกรรมดานคุณธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงคของนักเรียนตาม หลักสูตร มีผลการเปล่ียนแปลงในทางที่ดีข้ึนทุกดาน นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงคเพ่ิมขึ้นและมี พฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคลดลง โดยเฉพาะดานความพอเพียงมีแนวโนมที่ดีขึ้น แตดานความ รับผิดชอบและดานความซ่ือสัตยผลในทางปฏิบัติคอนขางนอย โรงเรียนจึงตระหนักและเห็นความ จำเปนท่ีจะตองมุงพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณและพฤติกรรมบงชี้คุณธรรมตอเน่ือง ควบคูไปกับการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรม โดยใชคำขวัญเชิงอัตลักษณ วา \"ซ่ือสัตย รับผิดชอบ พอเพียง\" และไดจัดทำโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทาง โรงเรียนคุณธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ตอเน่ืองในปการศึกษา 2561 และ 2562 เพื่อมุงสราง กระบวนการมีสว นรวมในการพัฒนาพฤติกรรมเชิงคุณธรรม และมุงพัฒนาคุณธรรมอตั ลกั ษณนักเรยี น ดานความซ่ือสัตย ดานความรับผิดชอบ และดานความพอเพียง ดวยโครงงานคุณธรรม (Moral Project) และกิจกรรมสง เสรมิ คุณธรรมที่ผูเ กีย่ วของรว มกนั จดั ทำขน้ึ โรงเรียนบานหนองกวางไดดำเนินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทาง โรงเรียนคุณธรรมอยางตอเนื่อง และเปนสวนหน่ึงของการสรางโรงเรียนคุณธรรมเพื่อขับเคล่ือน โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ตามแผนปฏิบัติการประจำปการศึกษา 2562 ของโรงเรียนตาม ข้นั ตอนและปฏิทินกิจกรรมภายใตการมีสวนรวมและความรับผิดชอบของผูเก่ียวของ โดยมีการนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลเปนระยะ ๆ อยางตอ เน่ือง จงึ ไดจัดทำการประเมินโครงการนี้เพื่อตรวจสอบความ

6 เปนไปตามวัตถุประสงค กิจกรรม กระบวนการ และผลการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนเพ่ือ แกไข พฒั นา ใชประโยชน เผยแพร ขยายผล และรายงานผเู กย่ี วขอ ง วตั ถุประสงคทั่วไป เพื่อรายงานการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียน คณุ ธรรมของโรงเรยี นบานหนองกวาง ปก ารศึกษา 2562 วตั ถุประสงคเฉพาะ 1. เพื่อประเมินบริบทโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียน คณุ ธรรมของโรงเรยี นบา นหนองกวาง ปก ารศกึ ษา 2562 2. เพื่อประเมนิ ปจจัยนำเขาโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณน ักเรียนตามแนวทางโรงเรียน คณุ ธรรมของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปการศกึ ษา 2562 3. เพื่อประเมินกระบวนการดำเนินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทาง โรงเรยี นคุณธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ปก ารศึกษา 2562 4. เพ่ือประเมินผลผลิตโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียน คณุ ธรรมของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปก ารศกึ ษา 2562 ความสำคัญของการประเมนิ โครงการ การรายงานการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียน คณุ ธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ปก ารศึกษา 2562 โดยใชรูปแบบ การประเมินแบบซิปป โมเดล (CIPP Model) ตามแนวคิดของ แดเนียล แอล สตัฟเฟลบีม (Stuffelbeam.D.L.) ทั้ง 4 ดาน คือ ดานบริบทโครงการ (Context Evaluation) ดานปจจัยนำเขาโครงการ (Input Evaluation) ดาน กระบวนการดำเนินโครงการ (Process Evaluation) และดานผลผลิตโครงการ (Product Evaluation) และพฤติกรรมบงชี้/ขอปฏิบัติตามคุณธรรมอัตลักษณทั้ง 3 ดาน คือ 1) ดานความซ่ือสัตย 2) ดาน ความรับผิดชอบ 3) ดานความพอเพียง เพ่ือนำผลไปใชพัฒนา ปรับปรุง แกไข ขยายผล และรายงาน ผลการดำเนินงานตอ หนวยงานและผูเกย่ี วของ

7 ขอบเขตของการประเมินโครงการ การประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของ โรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 ผูประเมินมุงคนหาคำตอบโดยรวบรวมและวิเคราะห ขอมูลโครงการตามวัตถุประสงคของการประเมินภายใตกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี ประชากร และ ตัวแปรที่ใชดังน้ี 1. เนื้อหาและวิธีการประเมินโครงการ ใชรูปแบบการประเมินแบบซิปป โมเดล (CIPP Model) ตามแนวคิดของ แดเนียล แอล สตัฟเฟลบีม (Stuffelbeam.D.L.) ทำการประเมินจำนวน 4 ดาน คือ 1) ประเมินดานบริบท (Context Evaluation) เพื่อตรวจสอบความเหมาะสม ความจำเปน การไดมาของโครงการหลักการ วัตถปุ ระสงค ลกั ษณะโครงการ ความสอดคลอ ง และการมีสวนรว มใน การกำหนดโครงการ 2) ประเมินดานปจจัยนำเขา (Input Evaluation) เพ่ือตรวจสอบความพรอม ของทรัพยากรท่ีใช คือ คน วัสดุอุปกรณ งบประมาณ ระยะเวลา สถานท่ี และความรวมมือของ ผูเกี่ยวของ 3) ประเมินดานกระบวนการ (Process Evaluation) เพื่อดูข้ันตอนและการดำเนิน กิจกรรมตามโครงการ การนิเทศ ติดตาม และการประเมินผลการพัฒนานักเรียนใหมีคุณธรรม 4) ประเมินดานผลผลิต (Product Evaluation) เปนการประเมินผลการพัฒนาพฤติกรรมบงชี้และการ ปฏิบัติของนกั เรียนตามคณุ ธรรมอัตลักษณจำนวน 3 ดาน คือ ดา นความซื่อสัตย ดา นความรับผดิ ชอบ และดานความพอเพยี ง 2. ประชากร ประชากรท่ีใชประเมินโครงการ ไดแก คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน จำนวน 7 คน ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 6 คน และผูปกครอง จำนวน 67 คน รวม 80 คน จำแนกตามประเภทขอ มูลไดต ามตารางที่ 1 ดงั น้ี ตารางท่ี 1 จำนวนผใู หขอมลู จำนวน (คน) ประเภทขอมลู ที่ ผูใหขอ มลู การประเมนิ โครงการ 6 บรบิ ท ปจจัยนำเขา กระบวนการ 1 ขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการ ผลผลิต 7 บรบิ ท ปจ จัยนำเขา กระบวนการ ศกึ ษา 13 67 ผลผลิต คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน 80 รวม 2 ผปู กครอง รวม

8 กรอบแนวคิดของการประเมนิ โครงการ การประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของ โรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 ใน คร้ังน้ี ผูประเมินใชกรอบแนวคิด กระบวนการวัดท่ีมี การรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูลอยางเปนระบบโดยใชรูปแบบการประเมินแบบซิปป โมเดล (CIPP Model) ตามแนวคิดของ แดเนียล แอล สตฟั เฟล บมี (Stuffelbeam.D.L.) ดา นบริบทโครงการ (Context Evaluation) ดานปจจัยนำเขาโครงการ (Input Evaluation) ดานกระบวนการดำเนิน โครงการ (Process Evaluation) และดานผลผลิตโครงการ (Product Evaluation) มาทำการ ตรวจสอบโครงการตามแผนภาพที่ 1 ดงั นี้

9 ซิปป โมเดล ประเดน็ การประเมนิ (CIPP Model) หลักการ วัตถุประสงค เปาหมายของโครงการ ดา นบริบท สอดคลองกับนโยบายของโรงเรียน หนวยงานตน (Context Evaluation) สงั กัด และความตองการของครู นักเรียนผูปกครอง มีบรรยากาศเอื้อตอการจัดทำโครงการ มีการ ประสานงานกบั ผูท ่เี กี่ยวขอ งและไดก ารสนบั สนนุ ดานปจจยั นำเขา บุคลากรมคี วามสามารถ ความถนัด ความเชย่ี วชาญ (Input Evaluation) ในการจัดกิจกรรม มีแผนการดำเนินงาน มีการ สงเสริมสนับสนุนดานตาง ๆ เชน งบประมาณ ส่ือ วัสดุ อุปกรณ มีความพรอมดานสถานที่ กำหนด ระยะเวลาดำเนนิ งานชดั เจน ดานกระบวนการ มีการศึกษาเอกสาร ปญหา ความตองการและ (Process Evaluation) จัดทำกรอบแนวคิด กำหนดจุดพัฒนา วางแผน ดำเนินโครงการ กำหนดบทบาทหนาท่ี ข้นั ตอนการ จัดกิจกรรม การดำเนินโครงการ การนิเทศ ติดตาม การประชาสัมพันธการประเมินโครงการ การ วิเคราะห พัฒนา ปรับปรุง และแกไข และสรุป รายงานผลโครงการ ดา นผลผลติ พฤติกรรมนักเรยี นตามคุณธรรมอัตลักษณ (Product Evaluation) 3 ดา น 15 ตวั บง ชี้ แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการประเมินโครงการพฒั นาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทาง โรงเรยี นคณุ ธรรมของโรงเรียนบา นหนองกวาง ปก ารศึกษา 2562

10 นิยามศัพทเ ฉพาะ เพื่อใหเขาใจความหมายเฉพาะของคำที่ใชในการประเมินโครงการคร้ังน้ีใหตรงกัน จึงได นยิ ามความหมายของคำตาง ๆ ไวด ังน้ี 1. การประเมนิ โครงการ หมายถึง กระบวนการวัดทีม่ ีการรวบรวมขอมลู และวิเคราะหข อมูล อยางเปนระบบโดยใชรูปแบบการประเมนิ แบบซิปป โมเดล (CIPP Model) ตามแนวคิดของ แดเนียล แอล สตัฟเฟลบีม (Stuffelbeam.D.L.) ทำการประเมิน 4 ดาน คือ 1) ดานบริบทโครงการ (Context Evaluation) 2) ดานปจจยั นำเขาโครงการ (Input Evaluation) 3) ดา นกระบวนการดำเนินโครงการ (Process Evaluation) 4) ดานผลผลิตโครงการ (Product Evaluation) โครงการพฒั นาคุณธรรมอัต ลักษณนักเรยี นตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของโรงเรยี นบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562 2. โครงการ หมายถึง โครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียน คุณธรรมของโรงเรยี นบานหนองกวาง ปการศกึ ษา 2562 3. ผลการประเมนิ โครงการ หมายถงึ ผลทเ่ี กิดจากการดำเนนิ โครงการในดา นตา ง ๆ ดังนี้ 3.1 ดานบริบท (Context Evaluation) หมายถึง การประเมินความเหมาะสม/ ความจำเปนการไดมาของโครงการ หลักการ วัตถุประสงค ลักษณะโครงการ ความสอดคลอง การมี สว นรวมในการกำหนดโครงการ 3.2 ดานปจจัยนำเขา (Input Evaluation) หมายถึง การประเมินความพรอม งบประมาณ ระยะเวลา คน วัสดอุ ปุ กรณ สถานท่ี ความรว มมือจากผูเ กย่ี วขอ ง 3.3 ดานกระบวนการ (Process Evaluation) หมายถึง การประเมินการดำเนิน กิจกรรมตามโครงงานคุณธรมและกิจกรมสงเสริมคุณธรรม การนิเทศ ติดตาม การประเมินผล โครงงานและกิจกรรม 3.4 ดานผลผลิต (Product Evaluation) หมายถึง การประเมินการปฏิบัติหรือ พฤติกรรมนักเรียนตามคุณธรรมอัตลกั ษณ ทัง้ 3 ดาน รวม 15 ตวั บง ชี้ 4. การพัฒนาคุณธรรม หมายถึง การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามคุณธรรมเปาหมายและ พฤติกรรมบง ชค้ี ุณธรรมอตั ลกั ษณโดยใชแ นวทางการพัฒนา 2 ดาน ไดแก 4.1 ดานการจัดการเรียนการสอน หมายถึง การพัฒนาคุณธรรมโดยใชโครงงาน คณุ ธรรม (Moral Project) จำนวน 9 โครงงาน ไดแ ก โครงงานวิถชี วี ิตเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานมือ ปราบกำจดั ขยะ โครงงานสะอาดสรา งนิสยั สรา งวินยั ใหตนเอง โครงงานเด็กดี มวี ินัย รูจกั ใช รูจักเก็บ โครงงานคิดเอง ลงมือทำ ดวยตัวเอง โครงงานอยามองขา มความสะอาด ถาดของเรา โครงงานเถา แก นอยรอยลาน โครงงานรูจักใช รูจกั ประหยดั น้ำไฟ และโครงงานรูท ำ รูคดิ มีสิทธเิ ปน ผูนำ 4.2 ดานการจัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรม หมายถึง การใชกิจกรรมท่ีมีเน้ือหาดาน คุณธรรมเพ่ือสงเสรมิ คุณธรรมอัตลักษณ จำนวน 9 กจิ กรรม ไดแก กจิ กรรมธนาคารขยะ กิจกรรมอยู

11 อยางไทยไมไรวัฒนธรรม กิจกรรมสหกรณสอนทักษะชีวิต กิจกรรมเขาคายลูกเสือ – เนตรนารี กิจกรรมดาวสะอาดปราศจาคขยะ กิจกรรมประชาธิปไตยในโรงเรียน กิจกรรมจิตอาสา พานองเขาวัด กจิ กรรมหนนู อ ยรกั ษพลงั งาน กจิ กรรมคนดศี รหี นองกวาง 5. คุณธรรมอัตลักษณ หมายถึง พฤติกรรมบงช้ี หรือ ขอปฏิบัติที่ตองการใหเกิดการ เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมตามคณุ ธรรมเปา หมายท่ีกำหนดข้นึ ท้ัง 3 ดา น รวม 15 ตัวบงช้ี คอื 5.1 คุณธรรมดานความซ่ือสัตย มี 5 ตัวบงชี้ ไดแก 1) ไมโ กหก ไมพูดเท็จใหขอมูลท่ี ถูกตองและเปนจริง 2) ไมลอกการบานหรือลอกขอสอบ 3) ปฏิบัติตามขอตกลงในหองเรียนและ ขอตกลงในโรงเรียน 4) ไมเอาสิ่งของผูอื่นโดยไมไดรับอนุญาตเก็บของไดสงคืนเจาของ 5) ไมหา ประโยชนใ นทางไมถูกตองไมเ อาเปรียบผูอน่ื 5.2 คุณธรรมดานความรับผิดชอบ มี 5 ตัวบงช้ี ไดแก 1) ตรงตอเวลา 2) รูหนาที่ และทำตามหนาท่ีเปนอยางดี 3) มีความพยายามทำงานใหสำเร็จ 4) ยอมรับความผิดพลาดท่ีเกิดจาก การกระทำ 5) มีนำ้ ใจเออ้ื เฟอ เผื่อแผ 5.3 คุณธรรมดานความพอเพียง มี 5 ตัวบงช้ี ไดแก 1) การใชจายอยางประหยัด 2) อดทนเสียสละเพื่อสวนรวม 3) มีน้ำใจและชวยเหลือผูอ่ืน 4) ไมยุงเกี่ยวกับยาเสพติด 5) ใชทรัพยากร สวนรวมอยางประหยดั และคมุ คา 6. โรงเรียนคุณธรรม หมายถึง โรงเรียนท่ีจัดการสงเสริมและพัฒนาคุณธรรมนักเรียนโดยมี ผเู ก่ียวขอ งรวมกนั พจิ ารณากำหนดคณุ ธรรมเปา หมายและคุณธรรมอตั ลักษณ 7. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โรงเรียนบา นหนองกวาง ปการศึกษา 2562 8. ครู หมายถึง ขาราชการครูและครอู ัตราจางผูทำหนาท่ีสอนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 1-6 โรงเรียนบานหนองกวาง ปการศกึ ษา 2562 9. ผูปกครอง หมายถึง ผูปกครองนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 - 6 โรงเรียนบาน หนองกวาง ปการศึกษา 2562 10. นักเรียน หมายถึง นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 - 6 โรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 ประโยชนทคี่ าดวาจะไดร ับ 1. ประโยชนต อนักเรยี น 1.1 นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงคเพ่ิมขึ้น และมีพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคลดลง เปนการแกปญ หาโดยรวมของโรงเรยี น

12 1.2 นักเรียนมีคณุ ธรรมอตั ลักษณดานความซือ่ สัตย ดานความความรับผิดชอบ และ ดา นความพอเพียง เปนทกั ษะในการดำเนนิ ชวี ติ 1.3 นักเรียนไดรับรางวัลเชิดชูเกียรติจากการประกวดดานคุณธรรมและการ แสดงออก เชงิ คณุ ธรรม 2. ประโยชนต อครแู ละบุคลากร 2.1 ครูและบุคลากรรูจักนักเรียนเปนรายบุคคลมากข้ึน สงผลใหการจัดการเรียนรู และการจดั ระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนเปนไปอยา งอยางมีประสทิ ธิภาพมากขนึ้ 2.2 ครูและบุคลากรมีโครงงานคุณธรรม และกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมที่มี ประสิทธิผลเปน นวัตกรรมดา นคณุ ธรรมทใี่ ชเ ปน เครือ่ งมือในการปฏบิ ตั งิ าน 2.3 ครูและบุคลากรมีสัมพันธภาพอันดีตอกัน และมีสัมพันธภาพท่ีดีกับชุมชนจาก การรว มมือกนั ในกจิ กรรมตามโครงการ 3. ประโยชนต อ โรงเรยี น 3.1 โรงเรยี นใชเปนขอมูลสำคัญในการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของ สถานศึกษารวมทั้งเปนขอมูลรายงานการดำเนินโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ตอสำนักงานเขต พน้ื ทีก่ ารศกึ ษาและผเู ก่ยี วขอ ง 3.2 โรงเรียนใชเปนขอมูลในการปรับปรุง พัฒนา การวางแผนการจัดทำโครงการ และการบริหารจดั การสถานศกึ ษาในปการศกึ ษาถดั ไป 3.3 โรงเรียนมีคุณธรรมอัตลักษณดานความซ่ือสัตย ดานความรับผิดชอบ และดาน ความพอเพยี ง เปนอดุ มการณคณุ ธรรมในการยดึ ถือปฏิบตั ริ ว มกนั 4. ประโยชนตอหนวยงานการศกึ ษาอน่ื 4.1 เปน Best Practice ดานคณุ ธรรมใชใ นการขบั เคลื่อนนโยบายโรงเรยี นคุณธรรม และการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมที่เปนแหลงเรียนรู เผยแพร และอางอิงแกสถานศึกษาอื่น สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาและหนวยงานภายนอก 4.2 เปนเครื่องมือสำคัญของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และคณะกรรมการนิเทศ กำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดำเนินนโยบายโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ในภาพรวม 5. ประโยชนตอ ชมุ ชนและสังคม 5.1 ชุมชนเกิดความต่ืนตัว ตระหนัก มีสวนรวมในการแกปญหาและพัฒนานักเรียน ในทุกขั้นตอนอยา งตอเนือ่ ง 5.2 ขุมชนมีเจตคติท่ีดี มีความพึงพอใจ ใหความรวมมือชวยเหลือโรงเรียนในดาน ตาง ๆ เพมิ่ ข้ึน

13 5.3 ชวยสรางคนดี ชุมชนดี และคนมีคุณธรรมใหแกสังคมในบริบทของโรงเรียนได อยา งนาพอใจ 6. ประโยชนตอประเทศชาติ 6.1 เปนการสนองพระราชประสงคเรื่องใหโรงเรียนสรางคนดีใหแกสังคมและ ประเทศชาติดวยนโยบายโรงเรียนคณุ ธรรม 6.2 เปนการสืบสานวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีตามหลักศาสนาทุก ศาสนาสกู ารพัฒนาสังคมและประเทศชาติ 6.3 พัฒนาเด็ก และเยาวชนของชาติใหเปนคนเกง คนดี มีความรูคูคุณธรรมอยูบน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหแกประเทศชาติดวยกระบวนการจัดการศึกษา และพัฒนา คณุ ธรรม 7. ประโยชนใ นเชิงวชิ าการ 7.1 ผลการประเมินโครงการน้ีเปน เอกสารรายงานอางอิงการศึกษา คนควา เก่ยี วกับ การพฒั นาคุณธรรมอัตลกั ษณตามนโยบายโรงเรยี นคุณธรมแกผูเกี่ยวของ ท้งั ในวงวิชาการและวิชาชพี 7.2 ผูประเมินไดจัดทำรายงานทั้งฉบับสมบูรณและผลสรุปยอเผยแพรเชิงวิชาการ ดงั นี้ - เผยแพรโ ดยตรงแกโรงเรยี นตาง ๆ จำนวน 18 โรงเรียน - เผยแพรตอท่ีประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและที่ประชุมผูปกครอง นกั เรียนประจำปก ารศึกษา 2562 7.3 เปนเอกสารผลงานวิชาการท่ีผูประเมินใชเปนรายงานผลงานทางวิชาการเพ่ือ เสนอขอเลื่อนวทิ ยฐานะตอ ไป

14 บทที่ 2 เอกสาร แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยท่ีเกย่ี วขอ ง การรายงานการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียน คุณธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง ปการศึกษา 2562 ผูประเมินไดศึกษาคนควาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของมาสรุปแนวคิด และประยุกตใชตลอดกระบวนการประเมินโครงการตามลำดับ สาระสำคัญ ดงั นี้ 1. สภาพทว่ั ไปและบรบิ ทโรงเรียนบานหนองกวาง 2. โครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของโรงเรียน บา นหนองกวาง 3. คณุ ธรรมกบั การคาดหวงั ทางสังคม 4. แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับการพฒั นาคุณธรรม 5. การพัฒนาคณุ ธรรมตามแนวทางโรงเรยี นคุณธรรม 6. แนวทางการพัฒนาคุณธรรมในโรงเรียน 7. การประเมนิ โครงการ 8. งานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ ง 1. สภาพทว่ั ไปและบริบทโรงเรยี นบานหนองกวาง โรงเรียนบานหนองกวาง เปนโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรี เขต 1 ตัง้ อยูเลขท่ี 1/1 หมู 8 ตำบลจรเขเ ผือก อำเภอดานมะขาม เตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี รหัสไปรษณีย 71260 เปน ท่ีราชพัสดุหมายเลขทะเบียนที่ กจ.573 เปดทำการ สอนตั้งแต ช้ันอนุบาลปท่ี 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 รวม 9 หองเรียน มีนักเรียนจำนวน 97 คน มี ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 8 คน โดย มีนางนภสร พุทธรักษา เปน ผูอ ำนวยการโรงเรยี น (ขอมลู ณ วันท่ี 10 มถิ นุ ายน 2562) โรงเรียนบานหนองกวาง มีสภาพสังคมวัฒนธรรมประชากรในเขตบริการสวนใหญประกอบ อาชีพรับจาง ทำไร ลักษณะการตั้งของบานเรือนอยูกันอยางกระจายตามพ้ืนท่ีการเกษตรของตนเอง มบี ริเวณตดิ กบั ชายเขา มีชื่อหมูบานเรียกขานกนั ตามลกั ษณะท่ีต้ังเรียกวา บา นหนองกวาง ประชากร สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ มีวัดหนองกวางเปนศูนยกลางทางศาสนาของหมูบาน นิยมทำบุญในวัน พระที่วัดและใสบาตรพระทุก ๆ เชาในหมูบาน ขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีสำคัญจัดขึ้นในวันสำคัญ ของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ดานระเบียบสังคม ลักษณะชุมชนมีถ่ินฐานมั่นคง เสนทาง

15 คมนาคมมีความสะดวกปลอดภัย และสื่อสารไดอยางรวดเร็ว เคารพเช่ือฟงผูใหญตามอาวุโส เชน ผูนำหมูบาน ผูนำทองถ่ิน มีการรวมกลุมกันเพื่อพัฒนาสาธารณสถาน เชน หมูบาน วัด โรงเรียน เพ่ือใหไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง พรอมท้ังการจัดระเบียบ ความสะอาด และการจัดทำหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งในสังคมหมูบานมีความเอ้ืออาทรซึ่งกันและกัน ลักษณะดานเศรษฐกิจ ผูปกครองนักเรียนสวนใหญ มีรายไดมากกวา 10,000 บาท/คน/ป พอที่จะสนับสนุนนักเรียนดาน อุปกรณการศึกษาได แตยังมีผูปกครองบางสวนท่ีมีอาชีพรับจาง รายไดไมแนนอน มีฐานะยากจน โรงเรยี นตองหางบประมาณสนับสนุนดานทนุ การศึกษา และสงเสรมิ การจัดการศึกษาในอีกหลายดาน บางรายบิดา มารดาหยาราง เสียชีวิตบาง ตองอาศัยอยูกับปูยาตายาย ซ่ึงมีอายุมาก บางก็ตองออก กลางคันเพื่อหาเลี้ยงครอบครัว เปนตน อาชีพสวนใหญของผูปกครองมีอาชีพทำไร รับจาง เลี้ยงสัตว ปลูกผัก ตามลำดับลักษณะดานการเมือง และการปกครอง อยูในเขตองคการบริหารสวนตำบลจรเข เผือก ไดรับงบประมาณการถายโอนตามพระราชบัญญัติการถายโอนอำนาจฯ เปนคาอาหารเสริม (นม) และคาอาหารกลางวันนักเรียนขาดแคลน ซ่ึงเปนงบประมาณถายโอนและงบสมทบจากรายได ขององคการบริหารสวนตำบลจรเขเ ผือก จัดสรรใหแกนกั เรียนชั้นอนบุ าล 1 ถงึ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6 ใหไดร บั ประทานอาหารกลางวนั ฟรีทุกคน 100% (แผนปฏิบตั กิ าร, 2562:1) 1.1 สภาพปจจบุ ัน/ปญ หาของโรงเรียน จากขอมูลสภาพจริงในการออกยี่ยมบานนักเรียนตลอดระยะเวลา 2 ปการศึกษา ยอนหลังพบวา มีนักเรียนจำนวนมากอาศัยอยูในครอบครัวท่ีพอแมหยาราง ครอบครัวแตกแยก หรือ ตองอาศยั อยกู ับปูยาตายายและญาติ ๆ เด็กมักใชชวี ิตอยูตามลำพัง เพราะผูปกครองตองออกไปทำมา หาเล้ียงชีพ ขาดการดูแลอาใจใสขาดความอบอุน และทักษะการใชชีวิตอันเปนผลตอเนื่องมาสู พฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคทั้งในการเรียน การประพฤติปฏิบัติน และการอยูรวมกันในสังคมจาก รายงานการ ประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจำปการศึกษา 2561 พบวา พฤติกรรมดาน คณุ ธรรมของนักเรียนขณะอยูโรงเรียน คือ มาโรงเรียนสาย ไมทำการบา น ไมเอาใจใสตอการเรียน ไม รับผดิ ชอบ ลกั ขโมย ไมปฏิบัติตามกฎระเบยี บของโรงเรียน เปน ตน สงผลตอผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนมี คุณลักษณะที่พึงประสงคตามหลักสูตรไมเปนท่ีนาพอใจ และพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคแนวโนม เพิ่มข้ึนจำเปน ตอ งหาแนวทางปองกนั และแกไ ขปญหาดงั กลา ว ดังน้ันในปการศึกษา 2561 โรงเรียนไดขารวมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เพื่อสราง ความตระหนักรูถึงสภาพปญหาที่เผชิญอยู โดยระดมความคิดเห็นและความรวมมือจากภาคสวน ตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก โดยใชกลยุทธ 6 ข้ันตอน ของการสรางโรงเรียนคุณธรรมและ ดำเนินการขับเคล่ือนนโยบายโรงเรียนคุณธรรมท่ีจะลดพฤติกรรมท่ีไมพ ึงประสงค เพ่ิมพฤติกรรมท่ีพึง ประสงค แกปญหาพฤติกรรมความรับผิดชอบ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ใหแกนกั เรียนอยา งตอเน่ือง ตลอดจนถึงปการศึกษา 2562 ซึ่งผลการใชก ลยทุ ธเชงิ คณุ ธรรมแกปญหา

16 พฤติกรรมที่ไมพึงประสงคตองใชกิจกรรมหลายอยาง ควบคูกันไปทั้งการสรางโรงเรียนคุณธรรมการ ปลกู ฝงคุณธรรม จริยธรรมและคา นิยมทพี่ ึงประสงค การพฒั นาคุณลกั ษณะที่พึงประสงคตามหลักสตู ร และการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณพ้ืนฐานตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. อยางตอเนื่องและ จรงิ จงั โดยใชโครงสรางการบริหารและการพฒั นาคณุ ธรรมของนักเรยี นตามแผนภาพท่ี 2 ดังนี้ 1.2 โครงสรางการพัฒนางานดานคุณธรรม โครงสรางการพฒั นางานดานคณุ ธรรม ของโรงเรียนบา นหนองกวาง กรรมการสถานศึกษา ผปู กครอง ผบู รหิ าร ขา ราชการครู นกั เรียน ขนั้ พน้ื ฐาน นกั เรียน และบุคลากรทางการศึกษา รว มศึกษาสภาพปจจุบนั ปญ หาดา นพฤติกรรม ท่ีไมพงึ ประสงคของนักเรียน กำหนดวธิ ีการ/แนวทางแกป ญหารว มกนั โครงงานคุณธรรม โครงงานคุณธรรม กจิ กรรมสง เสรมิ คณุ ธรรม -ครปู ระจำชนั้ -ครปู ระจำชน้ั -นักเรยี น -นักเรียน พฤติกรรมที่พง่ึ ประสงคของนักเรียน แผนภาพท่ี 2 : โครงสรางการบริหารงานดา นคณุ ธรรมของโรงเรยี นบา นหนองกวาง

17 1.3 ผลงานและรางวัลดา นคุณธรรมของโรงเรยี น ในชวงเวลา 2 ปการศึกษาที่ผานมาภายหลังจากโรงเรียนบานหนองกวางไดเขารวม โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ไดนำสภาพปจจุบันปญหาและความตองการของโรงเรียนเขาสูการ แกไขปญหา/พัฒนาตามแนวทางขับเคล่ือนโรงเรียนคุณธรรม โดยใชกลยุทธ 6 ขั้นตอนสรางโรงเรียน คณุ ธรรมและการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณนักเรียนเพื่อลดพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคเพิ่มพฤติกรรมที่ พึงประสงค สรางคนดีมีวินัยใหแกชุมชนและสังคม รวมท้ังปลูกฝงอุดมการณคุณธรรมในวิถีชีวิตของ นักเรียนและการจัดการศึกษามาเปนลำดับ สงผลใหโรงเรียนไดรับรางวัลแหงความสำเร็จท่ีนา ภาคภมู ใิ จ ดังน้ี 1.4 ผลงานและรางวลั ทเ่ี กิดจากการบรหิ ารจดั การของผูบรหิ ารสถานศึกษา 1.4.1 ประเภทสถานศกึ ษา - โครงการขับเคลอื่ นนโยบายลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู Active Learning ระดบั คุณภาพ “ดเี ลิศ”ประจําปการศึกษา 2562 จากหนวยงานสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 1 - เหรียญทอง รองชนะเลิศ อันดับ 1 โรงเรียนท่ีมีวิถีปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Best Practice) การจัดการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) ประจำป พ.ศ. 2562 จากหนวยงาน สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 - “บานนักวิทยนอย ประเทศไทย” ปการศึกษา 2562 – 2564 จากมูลนิธิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา - ระดับเหรียญทอง กิจกรรมการประกวดโรงเรียนขนาดเล็กมีวิถีปฏิบัติที่เปน เลิศ (Best Practice) ประจำป พ.ศ. 2562 จากหนวยงานสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบรุ ี เขต 1 - เหรียญทอง รองชนะเลิศ อันดับ 1 โรงเรียนท่ีมีวิถีปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Best Practice) การจัดการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) ประจำป พ.ศ. 2562 ระดับเขตพื้นท่ี การศกึ ษา จากหนว ยงานสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 1.4.2 ประเภทผูบรหิ าร - เหรียญทอง รองชนะเลิศ อันดับ 1 โรงเรียนท่ีมีวิถีปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Best Practice) การจัดการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) ประจำป พ.ศ. 2562 ระดับเขตพ้ืนท่ี การศึกษา - ไดรับรางวัล “ครูดีไมมีอบายมุข”ปการศึกษา 2562 (ปที่ 9) เกียรติบัตร ประเภทผูบริหารสถานศึกษา

18 1.4.3 ประเภทครู - ไดรับรางวัล “ครูดีไมมีอบายมุข”ปการศึกษา 2562 (ปที่ 9) เกียรติบัตร ประเภทผคู รูผูสอน - ครูคณิตศาสตร ดีเดน อำเภอดานมะขามเตย้ี ประจำป 2562 1.4.4 ประเภทนักเรยี น - รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ ระดับเครือขายจรเขเผือก การแขงขัน อัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร ระดับชั้น ป.4 - 6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนคร้ังท่ี 69 ปการศึกษา 2562 - รางวัลเหรียญทองแดง รองชนะเลิศอันดับ 2 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 การแขงขันคิดเลขเร็ว ระดับชั้น ป.4 - 6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครงั้ ท่ี 69 ปการศึกษา 2562 - รางวัลเหรียญทอง ลำดับท่ี 8 ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก การ แขงขันประติมากรรมระดับช้ัน ป.4 - 6 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนครั้งท่ี 69 ปก ารศกึ ษา 2562 2. โครงการพัฒนาคณุ ธรรมอตั ลักษณน ักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของ โรงเรียนบา นหนองกวางปการศึกษา 2562 2.1 หลักการและเหตุผล พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราช กระแสรับสั่งใหคนไทยชวยสรางคนดีใหบานเมือง การสรางคนดีเปนเร่ืองยากแตก็ตองทำ ขอใหถือ เปนหนาท่ี ดังน้ัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานในฐานะหนวยงานที่รับผิดชอบ ในการศึกษาข้ันพื้นฐานใหแกเด็กและยาวชนสวนใหญของประเทศ รับสนองพระราชกระแสดังกลาว มาสูการปฏิบัติและขับเคล่ือนอยางเปนรูปธรรม ในการจัดการศึกษาโดยกำหนดคุณลักษณะท่ี พึงประสงคของผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาช้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไวทั้งหมด 8 ประการ ซึ่งไดแก 1) รักชาติ ศาสน กษัตริย 2) ซื่อสัตยสุจริต 3) มีวินัย 4) ใฝเรียนรู 5) อยูอยาง พอเพียง 6) มุงม่ันในการทำงาน 7) รักความเปนไทย และ 8) มีจิตสาธารณะ นอกจากนั้นยังไดมุง สรางคนดีมีคุณธรม โดยจัดทำโครการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ขึ้น ดวยกรอบแนวคิดสรางคุณธรรม เปาหมาย 5 ดาน คือ 1) ความพอเพียง 2) ความกตัญู 3) ความซื่อสัตยสุจริต 4) ความรับผิดชอบ และ 5) อุดมการณคุณธรรม โดยกำหนดใหโรงเรียนในสังกัด รอยละ35 เขารวมโครงการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2560 และใหครบทุกโรงเรียนในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 โรงเรียนบาน หนองกวาง ไดเขารวมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ต้ังแตตนปการศึกษา 2560 ตอเน่ืองมายัง ปการศึกษา 2561และปการศึกษา 2562 ซึ่งขณะน้ัน โรงเรียนเผชิญกับปญหาพฤติกรรมท่ีไมพึง

19 ประสงคของนักเรียนในหลาย ๆ ดานสงผลใหก ารประเมินคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงคตามหลกั สตู รอยูใน เกณฑท่ีไมนาพอใจ ชุมชนขาดความเชื่อม่ัน เมื่อโรงเรียนไดเขารว มโครงการจึงมุงสรางคนดีจากการมี สว นรวมของทุกภาคสว น เพื่อแกปญหาพฤติกรรมนักเรียนอยางจริงจัง โดยใชแนวทางสรางโรงเรียนคุณธรรม ระดม ความคิดเห็น คนหาพฤติกรรมที่คาดหวัง และลดพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคอยางตอเน่ืองจนได คุณธรรมอัตลักษณของโรงเรียนรวมกัน 3 ดาน คือ ดานความซื่อสัตย ดานความรับผิดชอบ และดาน ความพอเพียง พรอมดวยพฤติกรรมบงชี้คุณธรรมอัตลักษณ ท้ัง 3 ดาน รวม 15 ตัวบงช้ี คือ ดาน ความซื่อสัตย มี 5 ตัวบงช้ี ไดแก 1) ไมโกหก ไมพูดเท็จใหขอมูลท่ีถูกตองและเปนจริง 2) ไมลอก การบานหรือลอกขอสอบ 3) ปฏิบัติตามขอตกลงในหองเรียนและขอตกลงในโรงเรียน 4) ไมเอา สิ่งของผูอื่นโดยไมไดรับอนุญาตเก็บของไดสงคืนเจาของ 5) ไมหาประโยชนในทางไมถูกตองไมเอา เปรียบผูอื่น ดานความรับผิดชอบ มี 5 ตัวบงชี้ ไดแก 1) ตรงตอเวลา 2) รูหนาท่ีและทำตามหนาที่ เปนอยางดี 3) มีความพยายามทำงานใหสำเร็จ 4) ยอมรับความผิดพลาดท่ีเกิดจากการกระทำ 5) มี น้ำใจเอื้อเฟอเผื่อแผ ดานความพอเพียง มี 5 ตัวบงช้ี ไดแก 1) การใชจายอยางประหยัด 2) อดทน เสียสละเพื่อสวนรวม 3) มีน้ำใจและชวยเหลือผูอ่ืน 4) ไมยุงเกี่ยวกับยาเสพติด 5) ใชทรัพยากร สวนรวมอยางประหยัดและคุมคา ผลการดำเนินงานการสรางโรงเรียนคุณธรรมในปการศึกษา 2561 พบวา คุณลักษณะท่ีพึง ประสงคของนักเรยี นตามหลักสตู รเพิ่มสงู ขึ้นทุกดานสงผลใหนักเรยี น ครู และบคุ ลากร ผูบริหาร และ โรงเรียนไดร บั รางวัลยกยองเชิดชูเกยี รติ เปน โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ระดับ 2 ดาว กจิ กรรมโรงเรยี นดี ตองมีท่ียืน โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ปการศึกษา 2561 แตเม่ือพิจารณาลึกลงไปในรายพฤติกรรมตามคุณธรรมอัตลักษณพบวา ยังไมพึงพอใจในอีกหลาย พฤตกิ รรม ดงั น้ันในปการศกึ ษา 2562 โรงเรียนจงึ จำเปน ตอ งจัดทำโครงการพัฒนาคุณธรรมอัตลกั ษณ นักเรียนตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของโรงเรียนบานหนองกวาง เพื่อสนองพระราชกระแสรับส่ัง ดงั กลาวขา งตน และเพื่อพัฒนาคุณธรรมอตั ลักษณของนกั เรียนอยา งตอเนือ่ ง โดยใชโครงงานคุณธรรม (Moral Project) เปนเคร่ืองมือในการจดั การเรียนรูและกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมดวยการใหนักเรียน ไดลงมอื ปฏิบตั ิจริงอยา งตอ เนอ่ื งเพ่ือสรา งคนดี คนเกงใหแกโรงเรยี นตอไป 2.2 วัตถุประสงค 2.2.1 เพื่อพัฒนาและปลูกฝงคุณธรรรมอัตลักษณนักเรียนระดับช้ันประถมปท่ี 1- 6 ดา นความซื่อสัตย ดานความรบั ผิดขอบ และดานความพอเพียง 2.2.2 เพื่อใหนักเรียนระดับช้ันประถมปท่ี 1- 6 มีพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงค ดาน ความซ่ือสัตย ดานความรับผิดขอบ และดานความพอเพียงลดลง และมีพฤติกรรมที่พึงประสงคตาม คณุ ธรรมอัตลกั ษณเพ่มิ ข้ึน

20 2.3 เปา หมาย 2.3.1 เชงิ ปรมิ าณ 2.3.1.1 นักเรียนระดับชั้นประถมปที่ 1- 6 จำนวน 87 คน ไดรับปลูกฝง คุณธรรรม อตั ลกั ษณดา นความซอื่ สตั ย ดานความรับผิดขอบ และดานความพอเพียง 2.3.1.2 นักเรียนระดับช้ันประถมปที่ 1- 6 จำนวน 87 คน มีพฤติกรรมที่ไม พึงประสงค ดานความซื่อสัตย ดานความรับผิดขอบ และดานความพอเพียงลดลง และมีพฤติกรรมที่ พงึ ประสงคตามคณุ ธรรมอัตลกั ษณเพิม่ ข้นึ 2.3.2 เชงิ คณุ ภาพ 2.3.2.1 นักเรียนระดับชั้นประถมปท่ี 1- 6 จำนวน 87 คน ไดรับปลูกฝง คุณธรรรม อตั ลักษณดา นความซือ่ สตั ย ดานความรับผิดขอบ และดา นความพอเพยี ง รอ ยละ 90 2.3.2.2 นักเรียนระดับช้ันประถมปท่ี 1- 6 จำนวน 87 คน มีพฤติกรรมที่ไม พึงประสงค ดานความซ่ือสัตย ดานความรับผิดขอบ และดานความพอเพียงลดลง และมีพฤติกรรมที่ พงึ ประสงคตามคณุ ธรรมอัตลกั ษณเ พม่ิ ขน้ึ รอยละ 90 2.4 วิธดี ำเนินการ/ขนั้ ตอนตำเนนิ งาน 2.4.1 ขั้นเตรียมการ (P) กจิ กรรม ระยะเวลาดำเนินการ ผูรับผิดชอบ 1) จัดประชุมผทู เี่ กยี่ วขอ งพจิ ารณาทบทวน พ.ค. 62 ผอู ำนวยการ/ครู/ คณุ ธรรมอตั ลักษณแ ละพฤติกรรมบง ชี้ที่เคยกำหนด กรรมการ/ ไวเ ดิม ผปู กครอง/นักเรียน 2) จัดทำโครงงานคณุ ธรรมและกิจกรรมสง เสริม พ.ค. 62 ผอู ำนวยการ/ครู/ คณุ ธรรมทสี่ อดคลอ งตอการพัฒนาคณุ ธรรม กรรมการ/ อตั ลักษณ ผปู กครอง/นักเรียน 3) ประเมินความพรอ มกอนดำเนินงาน (ดานบรบิ ท พ.ค. - ม.ิ ย. 62 ผอู ำนวยการ/คร/ู และปจ จยั นำเขา) กรรมการ/ 4) จัดทำโครงการ/ประชาสมั พันธ พ.ค. - ม.ิ ย. 62 ผอู ำนวยการ/ครู 5) แตง ตง้ั คณะกรรมการผูร บั ผดิ ชอบและมอบหมาย พ.ค. - มิ.ย. 62 ผูอำนวยการ/ครู งาน

21 2.4.2 ขนั้ เตรียมการ (D) ระยะเวลาดำเนินการ ผูรบั ผดิ ชอบ พ.ค. 62 - ม.ี ค. 63 ครูประจำช้นั / กิจกรรม พ.ค. 62 - ม.ี ค. 63 นกั เรยี น 1) ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใช พ.ค. 62 - ม.ี ค. 63 ครปู ระจำช้นั / โครงงานคณุ ธรรม (Moral Project) ทจี่ ดั ทำขน้ึ พ.ค. 62 - มี.ค. 63 นกั เรยี น อยางตอเน่ือง คณะครู พ.ค. 62 - มี.ค. 63 2) ดำเนินการจดั กจิ กรรมสง เสริมคณุ ธรรมท่จี ัดทำ คณะครู/นักเรยี น ควบคูไปกบั การพัฒนาผเู รียน ครปู ระสทิ ธ์ิ เนตบิ ญุ 3) บรู ณาการกจิ กรรมชมุ ชนตามโอกาสและเทศกาล ครวู ภิ า เอย่ี ม ควบคไู ปกับการพฒั นาคุณธรรมอัตลกั ษณนักเรยี น สำอางค ดงั น้ี นักเรยี นช้ัน ป.5 3.1) โครงงาน/กิจกรรมสง เสริมคุณธรรมดา น ความซ่อื สัตย ดงั น้ี 3.1.1) โครงงานธรรมะสอนใจ โดยมีการจัด กจิ กรรมจติ อาสา พานองเขา วดั - ทุกวนั พระและวนั สำคญั ทางศาสนา ครแู ละ นกั เรียนทำบญุ ตักบาตรที่วัดหนองกวาง - ครูและนกั เรยี นรวมทำบญุ ตักบาตรและฟง เทศนที่ วัดแลว บำเพ็ญประโยชนด วยการทำความสะอาด บรเิ วณวดั 3.1.2) โครงงานอยามองขามความสะอาด ถาดของเรา โดยมกี ารจัดกิจกรรมปดทองหลงั พระ - หลังจากรับประทานอาหารแลว นักเรียนชั้น ป.1- ป.6 ตองลางถาดอาหารดวยตนเองใหสะอาด ทั้ง ดานในและดานนอก จากน้ันเช็ดใหแหงและนำไป คว่ำในท่ที ค่ี รูจัดไวใ ห - แตงต้ังนักเรียน ป.5 จัดเวรลางถาดใหนักเรียนช้ัน อนุบาลปที่ 1-3

22 2.4.2 ขน้ั เตรียมการ (D) (ตอ) ระยะเวลาดำเนินการ ผูรบั ผดิ ชอบ พ.ค. 62 - ม.ี ค. 63 ครูเอกวิทย ชยั ลงั กา กิจกรรม นกั เรยี นช้ัน ป.4-6 3.1.3) โครงงานเถาแกน อยรอยลาน โดยมี พ.ค. 62 - มี.ค. 63 การจัดกิจกรรมสหกรณสอนทักษะชวี ติ ครูประสทิ ธิ์ เนติบุญ - ครใู หความรูนกั เรยี นเก่ยี วกับหลกั การของสหกรณ ครสู ุธชี า ธรี ะมิตร - แตงต้ังคณะทำงานเพ่ือทำหนาท่ีประจำวัน นักเรียนชน้ั ป.1- - มอบหมายงานและชีแ้ จงรายละเอยี ดของหนาท่ี ป.6 ตา ง ๆ - ประกาศรบั สมัครสมาชกิ สหกรณร านคา/ ซ้ือหนุ - ซอื้ -ขายอปุ กรณการเรียนตาง ๆ - สรุปผล ปนผล สิน้ ปการศกึ ษา 3.2) โครงงานคณุ ธรรมกจิ กรรมสง เสริมคุณธรรม ดา นความรบั ผดิ ชอบ ดงั นี้ 3.2.1) โครงงานสะอาด สรา งนิสัย สรา ง วนิ ยั ใหต นเอง โดยมกี ารจดั กจิ กรรมดาวสะอาด ปราศจากขยะ - ครแู บงเขตสเี พอื่ ทำความสะอาดบริเวณ - จับสลากเขาสี มี 4 สี คอื สีฟา สชี มพู สีเหลอื ง สสี ม โดยจะมีสมาชกิ สลี ะประมาณ 20 คน - ครจู บั สลากทป่ี รกึ ษาสี และจดั ประชมุ สี เลอื ก ประธานสี คณะทำงานประจำสี - ทกุ วันนักเรยี นแตล ะสีทำความสะอาดเขตสตี นเอง - คณะกรรมการสภานกั เรียนตรวจเขตสแี ละรายงาน - ใหด าวสีเขตที่สะอาดและสรุปเปนเดอื นพรอ มมอบ รางวัล

23 2.4.2 ขน้ั เตรยี มการ (D) (ตอ) ระยะเวลาดำเนินการ ผรู บั ผดิ ชอบ พ.ค. 62 - มี.ค. 63 ครูสุกัญญา กิจกรรม บรรจงรกั ษา 3.2.2) โครงงานเด็กดี มวี นิ ยั รูจักใช รจู ัก พ.ค. 62 - ม.ี ค. 63 ครูเอกวิทย ชยั ลังกา เกบ็ โดยมีการจัดกจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี นักเรียน ป.1-6 -จดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลกั สตู ร พ.ค. 62 - ม.ี ค. 63 ลกู เสือ – เนตรนารี กระบวนการของลกู เสอื ในการ ครูสุธชี า ธรี ะมิตร ฝก ระเบียบ วนิ ัย คณุ ธรรมและความรบั ผดิ ชอบ การ นักเรยี นชน้ั ป.6 แบง หนาทก่ี ารทำงาน การเปนผูน ำผตู าม การปฏิบัติ ตามกฎ กติกา และระเบยี บของกลมุ คณะครู นักเรยี น ป.1-6 3.2.3) โครงงานรูทำ รูค ดิ มีสิทธเิ ปน ผนู ำ โดยมกี ารจัดกจิ กรรมประชาธิปไตยในโรงเรยี น - เลือกประธานและสภานกั เรียน - ครูใหค ำปรกึ ษาคณะกรรมการสภานักเรยี น - จัดกจิ กรรมสงเสรมิ ประชาธิปไตย - จัดกจิ กรรมสงสริมความวนิ ัยใหนักเรียนรจู กั เคารพ กฎ กตกิ า เคารพในสิทธิเสรีภาพของบุคคล - การจดั การเรยี นรูโ ดยใชก ระบวนการประชาธปิ ไตย 3.3) โครงงานคณุ ธรรมกจิ กรรมสงเสริมคุณธรรม ดานความพอเพยี ง ดงั น้ี 3.3.1) โครงงานวถิ ีชวี ิตเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยมกี ารจัดกิจกรรมคนดีศรีหนองกวาง -นักเรียนนำเงินออมประจำวันมาฝากเขา บัญชอี อม ทรัพยของกองทนุ หมบู านทกุ สิน้ เดือนและสามารถ เบิก – ถอนไดหากมีความจำเปน สน้ิ ปม ีการคิด ดอกเบยี้ เงินฝากใหกับนกั เรียน - นกั เรยี นต้ังแตร ะดบั ชน้ั ป. 1-6 มีสมุดบันทึกความ ดี เชน เกบ็ ของไดสง คนื หรือสง ครเู พื่อประกาศหา เจา ของ มีจิตอาสาเสยี สละชว ยเหลือผอู นื่ และ สวนรวม

24 2.4.2 ขัน้ เตรียมการ (D) (ตอ) ระยะเวลาดำเนินการ ผูรบั ผดิ ชอบ พ.ค. 62 - มี.ค. 63 คณะครู กจิ กรรม 3.3.2) โครงงานมอื ปราบ กำจัดขยะโดยมี นักเรียน ป.1-6 การจดั กิจกรรมธนาคารขยะ - ครใู หความรเู ก่ียวกับการคัดแยกขยะทถ่ี ูกวธิ ี พ.ค. 62 - มี.ค. 63 ครอู ญั ชลี เสารม ว ง - ครตู องสรางวนิ ัยใหนักเรียนทกุ คนในการทิ้งขยะ นกั เรยี น ป.1-6 ถกู ท่ีถูกประเภท เชน ขยะกระดาษ ลงั พลาสติก ขยะท่ีเปน แกว โดยมีครูคอยใหค ำแนะนำ - เมื่อขยะมจี ำนวนมากนำไปจำหนาย หรือนำวสั ดุ เหลอื ใช เชน ลงั กระดาษ มาประดิษฐเ ปนกระปุก ออมสิน กลองทิชชู ฯลฯ 3.3.3) โครงงานรูจักใช รูจ กั ประหยดั น้ำไฟ โดยมีการจัดกจิ กรรมหนนู อยรักษพ ลงั งาน - ครใู หความรูและประโยชนของการอนุรักษ พลงั งานและใชทรพั ยากรอยางคมุ คา เชน ใชส มุด ดินสอ ยางลบ ใหหมด ปด พดั ลม ปด ไฟทกุ ครั้งเมื่อ ออกจากหองเรียน ปด กอกนำ้ ทกุ ครง้ั หลังเลิกใช 2.4.3 ขน้ั นิเทศติดตามผล (C) ระยะเวลาดำเนินการ ผรู บั ผดิ ชอบ ก.ค. 62 -ม.ค. 63 ผอู ำนวยการ/ กจิ กรรม ครแู กนนำ 1) นิเทศ ติดตาม สง เสริม สนบั สนนุ และสรางขวัญ ก.ค. 62 -ม.ค. 63 กำลงั ใจในการปฏิบตั กิ จิ กรรมสงเสริมคุณธรรมและ ผอู ำนวยการ/ โครงงานคณุ ธรรม ก.ค. 62 -ม.ค. 63 ครูแกนนำ 2) เยยี่ มชม แนะนำ ใหค ำปรึกษาแลกเปลยี่ นเรยี นรู ผอู ำนวยการ/ และประสานงานชว ยเหลอื ในการปฏบิ ัติอยา ง กรรมการ/คร/ู ตอเนือ่ ง ผูป กครอง 3) รว มประเมนิ ผลโครงงานคุณธรรมและกจิ กรรม สง เสริมคุณธรรมกับผูเ ก่ียวขอ ง

25 2.4.3 ขั้นนิเทศตดิ ตามผล (C) (ตอ) ระยะเวลาดำเนินการ ผูรับผิดชอบ กจิ กรรม ม.ี ค. 63 ครทู ปี่ รึกษา 4) รายงานผลการดำเนินงานแตล ะโครงงาน/ กิจกรรมสงเสรมิ คณุ ธรรม โครงงาน /นักเรยี นท่ี รับผดิ ชอบ 2.4.4 ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล (A) ระยะเวลาดำเนินการ ผูรับผิดชอบ กิจกรรม ม.ี ค. 63 ผอู ำนวยการ/ 1) ประเมินกระบวนการดำเนินโครงการ และกิจกรรมสงเสรมิ คุณธรรมโครงงาน กรรมการ/ครู คณุ ธรรม (Moral Project) ม.ี ค. 63 คร/ู ผปู กครอง 2) ประเมินผลการพัฒนาพฤติกรรมบงช้ี คณุ ธรรมอตั ลักษณดานความรบั ผิดชอบ ดานความมีระเบียบวนิ ยั และดานความ พอเพียง 2.5 งบประมาณทใ่ี ชในการดำเนนิ งาน งบเงินอุดหนนุ จำนวน 5,000 บาท 2.6 ตัวช้วี ัดความสำเรจ็ 2.6.1 รอยละ 90 ของนักเรียนระดับชั้นประถมปที่ 1- 6 ไดรับการพัฒนาและ ปลกู ฝงคณุ ธรรรมอัตลกั ษณ ดานความซอ่ื สัตย ดา นความรบั ผิดขอบ และดา นความพอเพียง 2.6.2 รอยละ 90 ของนักเรียนระดับชั้นประถมปท่ี 1- 6 มีพฤติกรรมท่ีไมพึง ประสงค ดานความซ่ือสัตย ดานความรับผิดขอบ และดานความพอเพียงลดลง และมีพฤติกรรมที่พึง ประสงคตามคุณธรรมอตั ลกั ษณเ พ่ิมขนึ้ 2.7 ประโยชนท คี่ าดวาจะไดร บั 2.7.1 นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงคตามคุณธรรรมอัตลักษณ ดานความซื่อสัตย ดานความรบั ผิดขอบ และดา นความพอเพยี งเพิม่ ข้ึน 2.7.2 ผูป กครองและชมุ ชนมคี วามพงึ พอใจพฤตกิ รรมที่พึงประสงคของบตุ รหลาน 2.7.3 โรงเรียนไดรับการสนับสนุนในการขบั เคลอ่ื นโครงการพัฒนาคณุ ธรรมอัต ลกั ษณนักเรียน

26 3. คณุ ธรรมกับการคาดหวังทางสงั คม 3.1. ความหมายและความสำคญั ของคุณธรรม พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใหค วามหมายไวว า คุณธรรม หมายถึง สภาพความดีงามเปนสภาพความงาม ความดีทางความประพฤติ และจิตใจซึ่งสามารถ แยกไดเปน 2 ความหมาย คอื 1) ความประพฤติดีงามเพื่อประโยชนแกตน และสังคมซึ่งมีพ้ืนฐานมาจากศีลธรรม ทางศาสนา คานิยมทางวัฒนรรมประเพณี หลักกฎหมาย และจรรยาบรรณวิชาชพี 2) การรจู ักไตรตรองวาอะไรควรทำ ไมค วรทำ และอาจกลาวไดว า คุณธรรม คอื จริยธรรมที่นำมาปฏิบัตจิ นเปนนิสยั เชน การเปนคนซือ่ สตั ย เสียสละ และมคี วามรับผิดชอบ วีระพงศ ถิ่นแสนดี (2550 : 22) ไดใหความหมายไววา คุณธรรม หมายถึง ความดีอันสูงสดุ ท่ี ปลูกฝงอยูในอุปนิสัยอันดีงมของคนทั่วไป ซึ่งวางอยูในจิตสำนึก ความรูสึกรับผิดชอบของคนน้ันอัน เปนเครื่องควบคมุ ความประพฤติของบุคคลใหแสดงออกตามท่ีตนปรารถนา ชัชวาล พรหมเทศน (2551 : 21-22) กลาววา คุณธรรม หมายถึง คุณลักษณะในทางที่ดีงาม ท่ถี กู ตอง เหมาะสมของบุคคลซง่ึ เปน ลกั ษณะที่อยใู นจิตใจของบุคคล กรมการศาสนา (2552 : 5) กลาววา คณุ ธรรม คอื ความดีงามในจิตใจทที่ ำใหบ ุคคลประพฤติ ดี ผูมีคุณธรรมเปนผูมีความเคยชินในความประพฤติดีดวยความรูสึกท่ีดีงาม คุณธรรมเปนสิ่งตรงกัน ขา มกับกิเลสซึ่งเปนความไมดีในจิตใจผูที่มีคุณธรรมจึงเปนผูท่ีไมมากดวยกิเลส ซ่ึงจะไดรบั การยกยอง วาเปนคนดีของสังคมประเทศชาติ และจะเปนกลไกสำคัญทางสังคมท่ีจะนำพาสังคมประเทศชาติไป ในทางทพี่ งึ ประสงคซ ึ่งมักสอดคลองกับความตองการของสังคมในชวงเวลาน้นั รจนา ภูกองไชย (2553 : 32) กลาววา คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดีและ คุณลักษณะ หรือสภาวะที่มีคาอยูภายในจิตใจของมนุษยเปนไปในทางที่ถูกตองดีงาม ซึ่งเปนสภาวะ นามธรรมอยูในจิตใจของแตล ะคน ศูนยโรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ (2558 : 2-4) ไดใหความหมายของคุณธรรมไววา คณุ ธรม หมายถึง ภาวะจติ ใจที่มอื สำแดงความประพฤตอิ อกมาแลว สงั คมจะตัดสนิ ออกมาวาเปน จรงิ ที่ ดีงามซึ่งแสดงวาคนนั้นมีคุณธรมแตถาจิตใจคิดช่ัวคิดไมจริงคิดไมงาม ก็จะมีความประพฤติ ช่ัว เท็จ และไมงามซ่ึงเราจะเรียกวาคนไมมีคณุ ธรรม ดังนั้น สังคมจึงตองสรา งเคร่ืองตัดสินจริยะหรือคณุ ธรรม ทางสังคมวาอะไรคือสิ่งท่ีดีจริง ๆ ใหเหมาะสมสอดคลองกับความตองการและ ความคาดหวังของ สงั คม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (2558 : 11) ไดให ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม การใหความหมายของคำวา \"คุณธรรมจริยธรรม\" มีหลากหลาย ทั้งทางดานศาสนาและ ดานวิชาการ ซึ่งสามารถคนควาหาอานเพื่อทำความขาใจและนำมาใชประโยชนในการปฏิบัติได เชน

27 คุณธรรม หมายถึง ภาวะจิตใจที่เมอื่ สำแดงความประพฤติออกมาแลว สังคมตดั สินออกมาวาเปนจริยะ ท่ีดี จริง งาม ถาใจเราคิดดี คิดจริง และคิดงาม และประพฤติออกมาดี จริง งาม แสดงวาคนนั้น มีคุณธรรม แตถาใจคิดช่ัว คิดไมจริง (เท็จ) คิดไมงาม ก็จะมีความประพฤติช่ัว เท็จ และไมงามซ่ึงเรา กจ็ ะเรยี กวาคนไมม ีคุณธรรม ดังนั้น สังคมจงึ ตองสรางเคร่ืองตดั สินวา อะไรคือดี จริง งาม คุณธรรมคือ ธรรมที่เปนคุณหรือสภาพคุณงามความดี เริ่มตั้งแตความนึกคิด ความปรารถนา ความต้ังใจ คนท่ี มีคุณธรรม เม่ือคิดดีแลวยอมแสดงพฤติกรรมคือคำพูดและการกระทำท่ีปรากฏออกมาแลว สังคม ตัดสินวา ดี จริง และงาม คนท่ีไมมีคุณธรรมเม่ือคิดชั่วแลวยอมแสดงพฤติกรรมคือคำพูดและการ กระทำที่ปรากฏออกมา แลวสังคมตัดสินวา เลว เท็จ อัปลักษณ สวนคำวา จริยธรรม แปลวา ธรรม ทีเ่ ปนขอ ประพฤตปิ ฏิบตั หิ รอื ศีลธรรม หมายถงึ คำพดู และการกระทำ หรือพฤตกิ รรมบง ชีเ้ ชิงบวก กลาวโดยสรปุ ไดวา คุณธรรมก็คอื หลกั ของความดี ความงาม ความถกู ตอง ความเหมาะสมซ่ึง แสดงออกมาดวยการกระทำท้ังทางกายวาจาและจิตใจของแตละบุคคล โดยท่ีบุคคลทั่วไปใหการ ยอมรับวาเปนคุณสมบัติท่ีดีท่ีสังคมคาดหวังและตองการ คุณธรรมจึงเปนหลักประจำใจของการ ประพฤติปฏิบัติจะเกิดเปนนิสัยเปนประโยชนตอตนเองและผูอ่ืน จะทำใหคนในสังคมอยูรวมกันอยาง มีความสุข สังคมเกิดความรักสามัคคีอบอุน ม่ันคงในชีวิต ประเทศชาติ มีความเจริญกาวหนาโดยท่ี คุณธรรมแตละสังคมแตละชวงเวลาอาจมีความตองการจำเปนท่ีแตกตางกันออกไปขึ้นอยูกับ วัฒนธรรมทางศาสนา ความเชื่อ เศรษฐกจิ และการศกึ ษาของคนในสงั คมนนั้ 3.2 คุณธรรมพนื้ ฐานทางสังคม ศูนยโรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ (2558 : 9) ไดใหความหมายวาคุณธรรม เปาหมาย คือ คุณธรรมที่ใชเปนหลักในการประพฤติปฏิบัติ สิ่งที่อยากเห็น อยากทำ อยากใหเกิดขึ้น เชน ความซื่อสัตย ความรับผิดชอบ ความมีน้ำใจ ความชวยเหลือเก้ือกูลกัน เปนตน มักจะไดมาจาก การวิเคราะหปญหา และพฤติกรรมท่ีพึงประสงคของคนในสัคม แลวนำมาจัดหมวดหมูเปนกลุม คุณธรรมท่กี ำหนดไวเปน เปา หมายการพัฒนา อรศญา จวนทองรักษ (2561 : 1-3) ไดกลาวไววาการปฏิรูปการศึกษา โดยยึดหลักคุณธรรม นำความรู สรางความตระหนักและปลูกจิตสำนึกในคุณคาของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเปน กระแสความตองการของสังคมไทยในยุคของการเปลี่ยนแปลงและปฏิรูปประเทศ โดยยึดคนเปน ศูนยกลางของการพัฒนา และเปนทิศทางในการพัฒนาประเทศที่สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติของ รัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนแมบทดานคุณธรรม สังคม และประเทศ จำเปน ตอ งกำหนดคณุ ธรรมเปาหมายสำคัญของสังคมไทยเพ่ือนำสูการขับเคลื่อนพัฒนาโดยเฉพาะการ ปลูกฝงเยาวชนของประเทศใหเปนคนดีมีคุณธรรมในฐานะพลมืองและพลโลกดวยความสำคัญและ ความจำเปนในการจัดหมวดหมูคุณธรรมใหสอดคลองกับความตองการและความคาดหวังของ สงั คมไทยจงึ มีหนวยงานและองคก รตา ง ๆ พยายามกำหนดคณุ ธรรมพนื้ ฐานไวแ ตกตา งกัน ดังนี้

28 3.2.1 คณุ ธรรม 8 ประการของกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ ารในฐานะหนว ยงานหลักท่รี ับผดิ ชอบการพฒั นาคนในชาติ ผานระบบการศึกษาโดยเนนชวงวัยเรียน จึงตระหนักและเห็นคุณคาของความจำเปนในการกำหนด คุณธรรมเปาหมายใหเกิดข้ึนกับยาวชนของประเทศโดยไดระดมความคิด ความคาดหวังจากภาคสวน ทางสังคมภายใตยุคการปฏิรูปการศึกษาสรางคนกง คนดี และมีความสุข จึงไดกำหนดคุณธรรม พืน้ ฐานไว 8 ประการคอื 1) ความขยัน คือ ความต้ังใจเพียรพยายามทำหนาที่การงานอยางตอเนื่องสม่ำเสมอและ อดทน ความขยันตองปฏบิ ตั ิควบคูไปกับการใชสตปิ ญญาแกปญหาจนบังเกิดผลสำเรจ็ 2) ความประหยัด คือ การรูจักเก็บออมถนอมใชทรัพยสินสิ่งของแตพอควร พอประมาณ ใหเ กดิ ประโยชนคมุ คา ไมฟ มุ เฟอย ไมฟ ุงเฟอ 3) ความซ่ือสัตย คือ การประพฤตติ รง ไมเอนเอียง ไมมีเลหเหลย่ี ม มีความจริงใจ ปลอดจาก ความรูสกึ ลำเอียงหรอื อคติ 4) ความมีวินัย คือ ยืดม่ันในระเบียบแบบแผน ขอบังคับขอปฏิบัติซ่ึงมีทั้งวินัยในตนเอง และวนิ ัยตอสังคม 5) ความสุภาพ คือ เรียบรอ ย ออนโยน ละมุนละมอ ม มกี ิริยามารยาททดี่ งี าม มสี ัมมาคารวะ 6) ความสะอาด คือ การปราศจากความมัวหมองทั้งทางกายใจ และสภาพแวดลอมมีความ ผองใสเปน ทีเ่ จรญิ ตาทำใหเ กดิ ความสบายใจแกผูพบเห็น 7) ความสามัคคี คือ ความพรอมเพียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน รวมใจกัน ปฏิบัติงานใหบรรลุผลตามที่ตองการ เกิดการงานอยางสรางสรรค ปราศจากการทะเลาะวิวาทไม เอารัดเอาเปรียบกัน เปนการยอมรับความแตกตางความหลากหลายทางความคิด ความหลากหลาย ในเรื่องเชอื้ ชาติ ศาสนา ความเชื่อ ความกลมเกลยี วกัน ซึ่งลกั ษณะเชน วานเี้ รียกอีกอยางหน่ึงวา ความ สมานฉันท 8) ความมีน้ำใจ คอื ความจริงใจทไ่ี มเหน็ แกตนเอง หรือเรอื่ งของตนเอง แตเ ห็นอกเห็นใจเห็น คณุ คาในเพ่ือนมนุษย มีความเอ้ืออาทร เอาใจใสในความตองการความจำเปนความทุกขสุขของคนอื่น และพรอ มที่จะใหค วามชวยเหลอื เก้อื กลู 3.2.2 คุณธรรมตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียน ใหมีคุณธรรมเพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลกจึงกำหนด คุณธรรมพื้นฐานผูเรยี นไวในรูปของคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค 8 ประการคือ 1) รักชาติ ศาสน กษัตริย คือ การเปนพลเมืองดีรักษาความเปนไทยยืดมั่นและปฏิบัติตาม หลักศาสนาคารพเทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตริย

29 2) ซ่ือสัตยสุจริต คือ ประพฤติปฏิบัติตอตนเองและผูอื่นตรงตามความเปนจริงทางดานกาย วาจา ใจ 3) มีวินยั คือ ประพฤติปฏบิ ัติตนขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบขอ บังคบั ของครอบครวั โรงเรยี น และสงั คม 4) ใฝเรียนรู คือ ตั้งใจเพียรพยายามในการเรียนและรวมกิจกรรมการเรียนรู แสวงหาความรู จากแหลงเรียนรูตาง ๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนดวยการเลือกใชส่ืออยางเหมาะสมและนำ ความรูม าใชใ นการดำเนินชวี ิตประจำวันได 5) อยูอยางพอเพียง คือ ดำเนินชีวิตอยางพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มี ภูมคิ ุมกนั ปรับตวั เพือ่ อยใู นสงั คมไดอยา งมีความสุข 6) มุงมั่นในการทำงาน คือ ตั้งใจและรับผิดชอบในหนาท่ีการงาน ทำงานดวยความเพียร พยายามและอดทนจนงานสำเรจ็ ตามเปา หมาย 7) รักความเปนไทย คือ ภาคภูมิใจในขนบธรรมนียมประเพณีศิลปวัฒนธรรมไทย กตัญูตอ ประเทศชาติ เห็นคุณคา และใชภาษาไทยในการสื่อสารไดอยางถูกตอ งเหมาะสมพรอ มทั้งอนุรกั ษแ ละ รวมสบื ทอดภมู ปิ ญ ญาไทย 8) มีจิตสาธารณะ คือ ชวยเหลือผูอื่นดวยความเต็มใจโดยไมหวังผลตอบแทน เขารวม กิจกรรมท่เี ปน ประโยชนตอโรงเรียน ชมุ ชนและสังคม 2.2.3 คณุ ธรรมจริยธรรมพน้ื ฐานในสังคมไทยของสำนักผูต รวจการแผน ดิน 2.2.3.1 ช่ือตรง หมายถึง ความประพฤติที่จริงใจไมเอนเอียง ไมคิดโกง ไม โกหกหลอกลวงใคร ไมท ำผดิ ทัง้ ตอ หนา และลบั หลังไมแสวงหาประโยชนโดยมชิ อบ ซื่อตรง : จึงครอบคลุมถึงซื่อสัตย ท้ังในดานกาย วาจา ใจ ซ่ือสัตย เปนความประพฤติของเฉพาะบุคคล แตซ่ือตรงเปนความประพฤติของตนเองและยังครอบคลุมไปถึง สว นรวมท้ังองคก รอกี ดวย ผูท่ีซ่ือตรง : นอกจากมีความซื่อสัตยในตนเองแลวยังตองไมเพิกเฉย ไมยอมใหผูอยูรอบขางหรือผูเก่ียวของ ปฏิบัติหนาที่อยางทุจริต เบียดบังฉอราษฎรบังหลวง ตองไม หวาดกลัวตออิทธิพลของบุคคลท่ีประพฤติไมชอบ อีกท้ังยังตองหาทางยับย้ังตอตานการกระทำท่ี ทุจรติ มิชอบอยางสุดฤทธ์ิ เพื่อผดุงไวซ ่ึงความถูกตอ งในสงั คม 2.2.3.2 มีวินัย หมายถึง การยืดม่ันท่ีจะปฏิบัติตนในกรอบขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี กฎหมาย ระเบียบแบบแผน ขอบังคบั และขอ พงึ ปฏิบตั ิ 1) มีวินัยในตนเอง คือ ประพฤติปฏิบัติตนตามระเบียบแบบแผนอยาง สมำ่ เสมอ

30 2) มีวนิ ัยในสังคม คือ การอยูรว มกนั ในสังคม ดวยความรับผิดชอบเปน ระเบยี บเรียบรอ ย ไมก ระทบกระทง่ั กัน ทำใหท กุ คนอยรู ว มกนั อยางมคี วามสขุ 2.2.3.3 ควรเสียสละเพ่ือสวนรวม หมายถึง การยินยอมและเต็มใจท่ีจะทำ ประโยชนใหแกส าธารณะโดยไมห วังผลตอบแทน การเสียสละไมหวังสิ่งใดก็ตาม ถือวาเปน การลดการ เห็นแกตัว ชวยใหผ ูอ่ืนหรือสังคมไดรับประโชนอันเปนส่ิงท่ชี วยใหเกดิ คุณงามความดีแกผูเสียสละหรือ อาจเรียกวา \"ผูมีจิตอาสา\" ซ่ึงหมายถึงผูเสียสละแรงกาย แรงใจ ใหแกผูอื่นและสังคมโดยไมหวัง ผลตอบแทนคำนึงถึงประโยชนสวนรวมเปนหลัก 2.2.3.4 พอเพียง หมายถึง การดำเนินชีวิตที่ตั้งอยูบนพ้ืนฐานของทางสาย กลางหรือดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาล ท่ี 9 ไดพระราชทานใหแกปวงชนชาวไทยเพ่ือใหคนไทยอยูอยางมีความสุขประกอบดวย 5 เร่อื ง ซึ่งมี ความสัมพันธเช่ือมโยงกันอยางเปนระบบ ผูปฏิบัติตองกระทำไปพรอมกันทุกเรื่องไมเลือกทำเรื่องใด เร่อื งหนึ่ง ดังน้ี 1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีไมมากไมนอยจนเกินไป หรือความพอใจในส่ิงที่ สมควรในปริมาณท่ีเหมาะสมไมนอยจนกอใหเกิดความขัดสนและไมมากเกินไปจนฟุมเฟอยจนเกิน กำลงั ของตนเองหรือไมเบยี ดเบียนตนเองและผูอื่น 2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับความพอประมาณ ในมิติตาง ๆ อยางใช เหตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตุปจ จัย ขอ มูลที่เก่ยี วขอ งและผลที่คาดวา จะเกดิ ขึ้นอยางรอบคอบ 3) การมีภูมิคุมกันในตัวท่ีดี หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบท่ีคาดวาจะเกิดขึ้น ทุกการเปล่ียนแปลง และตอ งคำนงึ ถงึ ความเปน ไปไดของสถานการณที่คาดวาจะเกิดข้นึ ในอนาคต 4) เง่ือนไขความรู หมายถึง ผูปฏิบัติตน ตองมีความรอบรูเก่ียวกับวิชาการ อยางรอบดาน และมีความรอบคอบที่จะนำความรูเหลาน้ันมาพิจารณาใหเชื่อมโยงสัมพันธกัน (เพื่อวางแผน) และ ความระมัดระวงั นำไปประยกุ ตใ ชใหเ กดิ ผล 5) เงื่อนไขคุณธรรม หมายถึง ผูปฏิบัติตองมีจิตใจที่ตระหนักในคุณธรรมและความซื่อสัตย มี คณุ ธรรมในการดำเนินชวี ติ โดยเนนความอดทน ความเพยี ร สตปิ ญ ญาและความรอบคอบ จากที่กลาวมาขางตนสรุปไดวา การตัดสินใจวาส่ิงน้ัน ๆ เปนส่ิงท่ีดีงาม ถูกตอง เราเรียกวา คุณธรรมและการแสดงออกผานการกระทำดานความประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม ถูกตอง เรียกวา จริยธรรมเมื่อบุคคลคุณธรมและจริยธรรมที่ดีงามแลว บุคคลนนั้ จะแสดงออกทางการกระทำอันเปนท่ี ยอมรบั ในสงั คมวาเปนคุณสมบัตทิ ่ดี งี าม ถกู ตอง และสงั คมยอมรบั 3.3 คณุ ธรรมเปาหมายโรงเรียนคณุ ธรรมของ สพฐ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานดำเนินงานสืบสานพระราชปณิธาน เดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

31 รัชกาลท่ี 9 นอมนำศาสตรพระราชาสูการขับเคล่ือนผานโครงการโรงเรียนคุณธรรม โดยไดกำหนด คุณธรรมเปาหมายเปนแนวทางการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษาไว ดวยคุณธรรม 5 ประการ คือ 1) พอเพียง คือการดำรงชีวิตพอเพียงตามพระราชดำรัสดวยความมุงม่ัน ตั้งใจ สรางสรรค ต้ังแตร ะดับปจเจกบุคคล ครอบครวั จนถึงระดบั ชาตดิ วยความรวดเรว็ รอบคอบ 2) กตัญู คือ ดำรงตนเรียบงาย ไมหลงลืมตัวเมื่อเกิดความสำเร็จ ความดีงาม ตองยกยอง เชดิ ชบู พุ การี ครู อาจารยและทุกคนท่ีมสี วนรวม 3) ช่ือสัตยสุจริต คือ ปองกันไมใหเกิดการทุจริตคอรัปชั่นในทุกระดับโดยการปลูกผังคานิยม วาการทุจริตคอรปั ชั่น คือ ความยอ ยยบั อบั ปางและความนาอบั อาย 4) ความรับผิดชอบ คือ ผูเก่ียวของมีภาระหนาที่อันสำคัญตองชวยกันพร่ำสอน เพ่ือให ลูกหลานเยาวชนกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัฒน ยึดม่ันความชื่อสัตย สุจริตมีความรอบรู อดทน เสยี สละ มีความเพยี รดวยปญ ญา และความรอบคอบ 5) อดุ มการณคุณธรรม คือ รวมกนั เสริมสรางหลักการบริหารกิจการบา นเมืองท่ดี ีและปลูกฝง ความคิดเชิงอุดมการณเพื่อใหเกิดโรงเรียนคุณธรรมอยางกวางขวางและทั่วถึงอันเปนความย่ังยืนแหง ความรมเย็นและม่ันคงของระบบการศึกษาของชาติบานเมืองสืบไปในอนาคต (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาชั้นพน้ื ฐาน, 2560 : 3) (ช) กลาวโดยสรุป คุณธรรมเปาหมายของโรงเรียนคุณธรรม สิ่งท่ีสำคัญท่ีสุด คือ การสรางใหทุก คนในโรงเรียนมีอุดมการณคุณธรรมรวมกัน ระลึกวาส่ิงไหนเปนส่ิงท่ีดีงาม ถูกตอง เพราะการปลูกฝง ใหทุกคนมีอุดมการณดานคุณธรรมจะสงผลใหบุคคลคิดดี กระทำดี จนแสดงออกมาเปนพฤติกรรม ความดี สุดทายเกิดความสงบสุขในสงั คมและประเทศชาตโิ ดยรวมอยางยง่ั ยนื 4. แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกบั การพัฒนาคณุ ธรรม ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม (2551:15-18) สรุปไววา คุณธรรม เปนลักษณะภายในที่เกี่ยวกับสติปญญาหรือความสามารถในการคิดของคน เพราะผูมีคุณธรรมสูงมัก มีความสามารถคิดวิเคราะห มีวิจารณญาณ และสามารถคาดการณเกี่ยวกับเหตุและผลของการ กระทำได สำนักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2552 : 15-21) กลาววา การพัฒนาคุณธรรม จะตองทำควบคูกันไประหวางการศึกษาองคความรูทางคุณรรรม และการใหความรู อบรมปลูกฝง คณุ ธรรมเพราะจะทำใหผูเรียนมีความรคู วามสามารถในวิชาการตาง ๆ และนำความรไู ปประยกุ ตใชใน การประกอบอาชีพและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข นักวชิ าการและผเู ชี่ยวชาญไดเ สนอแนวคิดและ ทฤษฎที ่ีใชเ ปนแนวทางในการพฒั นาคณุ ธรรมไวม ากมายซึ่งจะนำเสนอเปน ตัวอยา ง ดังนี้

32 4.1 ทฤษฎีพัฒนาการทางการรูการคิดของฌอง เพยี เจต (Piaget, Jean) ฌอง เพียเจต (Piaget, Jean. 1932 อางถึงใน ดวงพร อุทัยสุริ , 2548 : 17-18) ได กลาวไววาคุณธรรมจริธรรมของมนุษยเกิดจากแรงจูงใจในกาปฏิบัติตนสัมพันธกับสังคม การพัฒนา คุณธรรมจึงตองพิจารณาถึงเหตุผลตามระดับสติปญญาของแตะคนซ่ึงมีวุฒิภาวะสูงขึ้นการรับรูก็จะ พฒั นาข้นึ ตามลำดบั ซง่ึ พอจะสรุปข้ันตอนสำคญั ได 3 ขนั้ ตอน คือ ข้ันตอนที่ 1 ขั้นกอนคุณธรรมจริยธรรม คือ ยังไมเกิดจริยธรรม แตสามารถเรียนรูจาก ประสาทสมั ผสั และมีการพฒั นาทางสติปญ ญาในขั้นตน ข้ันตอนที่ 2 ข้ันเช่ือฟงคำสั่ง เชื่อฟงและปฏิบัติตามคำส่ังสอนของผูใหญ มีการคิดกอนการ ปฏิบตั ิตามคำส่งั ซงึ่ ในขณะแรกเริม่ จะไมคำนึงถึงเหตผุ ลของคำส่ังนัน้ ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันยึดหลักแหงตน เกิดหลังความคิด มีพัฒนาการทางสติปญญาสูงขึ้นตาม ประสบการณท างสังคม คลายความเกรงกลวั อำนาจภายนอกเร่มิ มีความเปน ตัวของตวั เองมากขึน้ 4.2 ทฤษฎกี ารสอนจรยิ ธรรมของดิวอี้ (John Dewey) แนวคิดตามทฤษฎีการเรียนรูของจอหน ดิวอ้ี (John Dewey. 1975 อา งถึงใน สุรศักดิ์ หลาบ มาลาและรสสุคนธ มกรมณี, 2549 : 5) ไดวางรากฐานไววา 1) โรงเรียนเปนชุมชนแหงการเรียนรู 2) วิธีการเรียนรู และนำความไปปฏิบัติ 3) มีหลักสูตรการสอนคุณธรรมจริยธรรมท่ีแบงออกเปน 2 สวน คอื 1. คุณธรรมจริยธรรมท่ีเปนวิชาความรู ซ่ึงควรมใี นหลกั สูตร แตไมค วรนำมาสอนโดย วธิ ีบรรยายเปนวชิ าเอกเทศโดยเฉพาะ 2. คุณธรรมจริยธรรมท่ีเปนวิชาท่ีซอนอยูในหลักสูตรซึ่งครูในฐานะผูนำจัดการเรยี น การสอนก็ควรหลีกเลี่ยงการบรรยาย เพราะเด็กจะประพฤติปฏิบัติอยางท่ีครูคาดหวัง แตไมไดเกิด จติ สำนกึ ทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในวิถชี วี ิต 4.3 ทฤษฎีของลอรเ รนซ โคลเบริ ก (Lawrence Kohlberg) โคลเบิรก (Kohlberg. 1976 อางถึงใน ดวงพร อุทัยสุริ, 2548 : 18-20) เปนนัก การศึกษาดานคุณธรรมจริยธรรม เปนผูนำทฤษฎีจริยศึกษาสังเคราะหมาใชโดยนำเอาปรัชญา จิตวิทยา สังคมวิทยาและการศึกษามาประกอบกันเปนทฤษฎีบูรณาการ (Integrated theory) โดย โคลเบิรก (Kohlberg) ไดวิเคราะหหลักการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม (Moral Development) ออกเปน 6 ขั้นตอน ดงั น้ี ข้ันตอนท่ี 1 การเชื่อฟงและการลงโทษ (Obedience and Punishment พิจารณาในดาน ประเดน็ ของการถอื เอาอตั ตาของตนเองเปน ใหญ ข้ันตอนที่ 2 การแสวงหารางวัล (Exchange) เปนเปาหมายเฉพาะรายบุคคลและแลกเปล่ียน กันอยา งเสมอภาคทีต่ กลงกนั เพื่อจะยอมรับความคิดเห็นของกันและกันในสงั คมเพ่ือแสวงหารางวัล

33 ขน้ั ตอนท่ี 3 การทำตามความเหน็ ชอบของผูอื่น (Conformity) ความสมั พันธและการทำตาม รูปแบบที่ผูอื่นเห็นชอบเปนการแลกเปล่ียนกันในความคาดหวัง การติดตอประสานงานและความ ศรทั ธายืดมัน่ ไววางใจตอผอู นื่ โดยปฏิบัตทิ ่ดี ีงามตอ กันตามบทบาทและหนา ทีข่ องตน ขั้นตอนที่ 4 การทำตามหนาที่ในสังคม (Social System) ระบบสังคมและความมีสติ รับผิดชอบท่ีจะใหมีการดำเนินการตามหนาท่ีที่ควรกระทำในสังคมนั้น เพ่ือรักษาระเบียบทางสังคม และทำหนา ท่ีของสงั คมจงึ ตองรักษาสถาบันใหด ำเนนิ ไปอยางราบรนื่ โดยสว นรวม ข้ันตอนท่ี 5 การทำตามกฎเกณฑและขอสัญญา (Contract) สิทธิพ้ืนฐานและพันธสัญญา ทางสงั คมทใี่ ชกับประชาชนโดยสว นรวม ข้ันตอนที่ 6 การยึดมโนธรรมตามหลักสากล (Universal) หลักจริยธรรมสากล ถือเปนการ แนะแนวทางใหมนุษยทำตามขอกำหนดของสังคมแตละแหงโดยมิติกวาง และจะถือวาการยึดเอา ความเคารพนบั ถือผูอ่ืน เปน จุดหมายมิใชวิธกี าร ความยุติธรรมไมเกดิ ข้ึนกับวัฒนธรรมเฉพาะแหง หรือ สงั คมใดสังคมหน่งึ เทานัน้ 4.4 ทฤษฎีของแครธโวล บลูม และมาเซยี (Krathwohl, Bloom, & Masia) แครธโวล บลูม และมาเซีย (Krathwohl, Bloom, & Masia, อางถึงใน ทิศนา แช มณี, 2558) ไดกำหนดทฤษฎีจำแนกระดับคุณภาพของการเรียนรูดานจิตใจ (Affective domain) ที่ครอบคลุมความสนใจ เจตคติ คานิยมและลักษณะนิสัยโดยจัดลำดับขึ้นตามคุณลักษณะดาน ความรูสกึ ไว 5 ประการ ดังน้ี 4.4.1 การรับรู (Receiving) เปนจุดเร่ิมตนท่ีบุคคลจะเรียนรูเรื่องตาง ๆ และเกิด ความรูสึกตอสถานการณหรือสิ่งเราที่ปรากฏ การรับรูจะแบงออกเปน 3 ขั้นยอยโดยถือเอาปริมาณ การรบั รูเปน เกณฑดงั น้ี 4.4.1.1 การสำนึก เปนการเริ่มรูสึกหรือสำนึกเก่ียวกับลักษณะหรือเร่ืองราว ตาง ๆ ท่ีมาเรา 4.4.1.2 การต้ังใจรับรูเปนการใสใจสิ่งเรานานพอสมควรแตยังไมมีความ คดิ เห็นหรือประเมนิ ตัดสนิ ใด ๆ เปน เพียงการสงั เกตเห็น 4.4.1.3 การเลือกรบั รู เปน การรับรูส งิ่ เราโดยมีการจำแนกความแตกตา งอยาง ไมม กี ารประเมนิ ใด ๆ 4.4.2 การรับรู (Receiving) เมื่อบุคคลรับรูเรื่องราวตาง ๆ จะมีปฏิกิริยาตอบสนอง ตอสิ่งเรา ที่ตนรับรูแบงออกเปน 3 ข้นั ตอนยอย ๆ ดงั น้ี 4.4.2.1 ยินยอมตอบสนอง เปน การยอมรับหรือยอมปฏิบัตติ าม 4.4.2.2 สมคั รใจตอบสนอง เปนความรูส ึกทีท่ ำกจิ กรรมดวยความสมคั รใจ

34 4.4.2.3 พอใจตอบสนอง เปนการตอบสนองดวยความรูสึกเต็มใจพอใจมีความ เพลิดเพลนิ สนุกสนานรื่นเริง 4.4.3 การเห็นคุณคา (Valuing) เปนความรูสึกที่เกิดจากการประเมินสถานการณ หรือเร่ืองราวตาง ๆ วามีประโยชนหรือไมอยางไร การเห็นคุณคาจะเกิดขึ้นชา ๆ โดยสะสมไวเร่ือย ๆ พฤติกรรมเหลาน้ีจะมีความแนนอน คงเสนคงวา สม่ำเสมอ การกระทำในข้ันตอนน้ีก็แบงออกเปน 3 ขนั้ ตอนยอ ยเชนกัน ดังน้ี 4.4.3.1 การยอมรับคุณคาเปนการยอมรับดวยความเช่ือมั่นท่ียังไมถาวรอาจ เปลยี่ นแปลงไดใ นคุณคา ของสถานการณห รอื เร่ืองราว 4.4.3.2 ชนื่ ชมในคุณคาเปนการยอมรบั ในคุณคา ของสถานการณหรอื เรื่องราว ถงึ ระดับท่แี สดงออกไดอยางใดอยางหน่ึง เชน อยากติดตามอยากเขาไปรว มดวย 4.4.3.3 ยึดม่ันในคุณคา เปนความเชื่อมั่นความแนวแนจนเกิดศรัทธาใน เรอ่ื งราวหรือเหตกุ ารณวาควรทำตามและพยายามหาโอกาสแสดงออก 4.4.4 การจัดระบบ (Organizing) เปนความรูสึกที่บุคคลไดรวบรวมเรื่องราวหรือสิ่ง ท่ีมีคุณคาไวในจิตใจหลายอยาง แลวจัดคุณคาเขาเปนระบบมีการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวาง คุณคาของเรื่องราวสิ่งตาง ๆ เปนจุดเดนและจุดรวมของคุณคาเหลาน้ันในข้ันน้ี แบงออกเปน 2 ขั้นตอนยอ ย คือ 4.4.4.1 การสรางแบบคุณคา เปนการสรุปรวบยอดระหวางคุณคาของ เรอ่ื งราวตา ง ๆ ท่บี ุคคลยึดมน่ั เขา ดวยกัน 4.4.4.2 การจัดระบบคุณคาเปนการเรียงลำดับความสำคัญของส่ิงที่มีคุณคา และจัดคุณคาตาง ๆ ใหผสมกลมกลนื เขา ดวยกนั 4.4.5 การสรางลักษณะนิสัย (Characterization) เปนการพัฒนาเปนอุดมการณท่ี ฝง ลึกถงึ จติ วิญญาณ ยืดถอื เทิดทูนโดยจิตใจในมิติสังเคราะหเปนแบบแผนกฎเกณฑข้ึนใหมใหต นเองมี การกระทำที่คงเสนคงวา โดยมีการจัดระบบของตนเองและยืดถือจนเปนการกระทำอัตโนมัติ คือ ไม วาอยูในสถานการณใด เขาก็จะแสดงพฤติกรรมแบบเดิมซ่ึงเปนลักษณะของตนเอง (อัตลักษณ) ให ผูอ ืน่ รวมยดื ถือและปฏบิ ตั ดิ วย ในครั้งนี้แบงเปน 2 ขั้นตอนยอ ย คอื 4.4.5.1 สรางขอสรุป เปนการท่ีบุคคลพยายามปรับปรุงระบบตนเองให สมบูรณต ามแนวที่ตนตองการ 4.4.5.2 กิจนิสัย เปนการท่ีบุคคลแสดงออกตามแนวทางที่ตนตองการอยาง สม่ำเสมอจนเปนลักษณะของตนเอง

35 4.5 ทฤษฎีจติ วิทยาปจ เจกบุคคล (Individual Psychology) อัลเฟรด แอดเลอร (Alfred Adler. อางถึงใน สุรศักดิ์ หลาบมาลา และรสสุคนธ มกรมณี , 2549 : 8) ใหความเห็นวามนุษยมีความเปนหนึ่งเดียวของตนเอง (Unity Of Self) ภายใต บริบทของสังคม คือ ความสนใจในสังคม ความเห็นใจและความเขาใจความรูสึกเปนหน่ึงเดียวกันกับ อาณาจักรท่ีตนอยู ความสามารถจะมีเอกลักษณรวมกับสังคมซึ่งไปสูมิตรภาพความรักในมวลมนุษย ความเห็นใจอาชีพ และความรักเหลาน้ีตองการการพัฒนาและฝกอบรมโดย อัลเฟรด แอดเลอร ให ความเห็นวาคณุ ธรรมจริยธรรม มีประโยชตอ มวลมนุษยแ ละเหน็ พองกนั ในสวนรวมม่ันคง ตอมารูดอลฟ เดรียเกอร (Rudolf Dreikurs) ไดพัฒนาแนวคิดของอัลเฟรด แอดเลอร (Alfred Adler) ตอและเสนอแนะวิธีการในลักษณะกลุมศึกษา (Study Group) เพ่ืออภิปรายปญญา ของเด็กโดยครู ผูปกครอง และชุมชนมารวมกันอภิปรายเพ่ือแกปญหาโดยใหเด็กเขามามีสวนรวม ซ่ึงวิธีนี้ทำใหเด็กไดเรียนรูมีความรับผิดชอบตอพฤติกรรมของตน ซ่ึงครูควรไดเรียนรูไปพรอม ๆ กัน โดยใหเ ด็กเปนตวั ของตัวเองและคน พบโลกของตัวเอง เวทีอภิปรายเชนนีเ้ ปนการฝก พฒั นาความสนใจ ในสังคมและการเตบิ โตทางคณุ ธรรมของเด็กไปดว ย 4.6 ทฤษฎีตน ไมจ รยิ ธรรม ของดวงเดอื น พันธุมนาวิน ดวงเดือน พนั ธุมนาวิน (2544: 19-20) กลาวถึง จิตลักษณะ 8 ประการท่เี ปนสาเหตุ ของพฤติกรรมคนดี คนกง และมีความสุขของคนไทย และไดนำมาประยุกตเ ปนทฤษฎตี นไมจ ริยธรรม สำหรบั คนไทยขึน้ โดยไดแบงตนไมแทนจติ ใจออกเปน 3 สว นสำคัญ คอื สวนแรก คอื ราก แทนจิตลักษณะพ้ืนฐานสำคัญ 3 ประการ ไดแ ก 1) สุขภาพจิต หมายถึง ความวิตกกังวล ต่ืนเตน ไมสบายใจของบุคคลอยาง เหมาะสมกับสถานการณ 2) ความเฉลียวฉลาดหรือสตปิ ญญา หมายถงึ การรู การคิดในรูปธรรมหลาย ๆ ดาน และการคิดในข้ันนามธรรม ซึง่ มพี นื้ ฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการทางการรกู ารคดิ ของเพยี เจต (Piaget) 3) ประสบการณทางสังคม หมายถึง การรูจักเอาใจเขามาใสใจเรา ความเอื้ออาทร เหน็ อกเห็นใจและสามารถคาดหรอื ทำนายความรสู กึ คนอน่ื สวนท่ี 2 คือ ลำตัน เปนผลมาจากจิตลักษณะพ้ืนฐานท่ีรากประกอบดวยจิตลักษณะ 5ประการไดแ ก 1) ทัศนคติ คานิยมและคุณธรรม ซึ่งคนสวนใหญเห็นวาดีงามมักเก่ียวของกับหลัก ศาสนา เชน ความกตัญู ความเสียสละ ความซอ่ื สัตย ความรับผิดชอบ ความพอใจ ไมพอใจตอสิ่งนั้น และพรอมท่ีจะมพี ฤตกิ รรมตอสง่ิ นนั้ 2) เหตุผลเชิงจริยธรรม หมายถึง เจตนาของการกระทำที่ทำเพ่ือสวนรวมมากกวา เพอื่ ตนเองหรือพวกพอ ง

36 3) ลกั ษณะมุงอนาคตควบคุมตน หมายถงึ ความสามารถในการคาดการณไกลเทาส่ิง ที่กระทำในปจจบุ ันจะสงผลอยางไร เทาไร ตอใคร ตลอดจนความสามารถในการอดไดรอได สามารถ อดเปรีย้ วไวกินหวานได 4) ความเช่ืออำนาจในคน หมายถึง ความเชอื่ วาผลท่ีตนกระทำไดรับอยูเกิดจากการ กระทำของตนเองมใิ ชเกดิ จากโชค เคราะห ความบังเอิญ หรือการควบคุมของคนอื่น เปน ความรูส ึกใน การทำนายได ควบคุมไดข องบุคคล 5) แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ หมายถึง ความมานะพยายามฝาฟนอุปสรรคในการทำสิ่งใด สิง่ หนึ่งโดยไมย อทอ สวนท่ี 3 คอื สวนดอกและผล เปนสวนของพฤตกิ รรมของคนดี คนเกง ซ่งึ แสดงพฤติกรรม การทำความดี ละเวนความช่ัวท่ีเปนพฤติกรรมของคนดี พฤติกรรมการทำงานอยางขยันขันแข็งเพื่อ สวนรวมอยา งมีประสทิ ธภิ าพสามารถแบง ไดเ ปน 2 สว นดวยกนั คือ 1. พฤตกิ รรมของคนดี ประกอบดวย 2 พฤติกรรมหลกั ไดแ ก 1.1 พฤติกรรมไมเบียดเบียนตนเอง เปนพฤติกรรมของบุคคลที่ไมทำราย หรือ ทำลายตนเอง เชนการดูแลสุขภาพของตนเอง การบริโภคส่ิงที่มีประโยชน ไมด่ืมเหลา ไมสูบบุหรี่ ไม ตดิ ยาเสพติด ไมเ ลนการพนนั เปน ตน 1.2 พฤตกิ รรมไมเ บยี ดเบียนผูอนื่ เปน พฤติกรรมท่ไี มทำรา ยทำลายหรือทำใหผูอ่ืน เดือดรอน เชน พฤติกรรมสุภาพบรุ ุษ ไมก า วราว ขบั ขร่ี ถอยางมีมารยาท ซอ่ื สตั ย เปน ตน 2. พฤตกิ รรมของคนดแี ละเกง ประกอบดว ย 2 พฤตกิ รรมหลัก ไดแก 2.1 พฤติกรรมรับผิดชอบ เชน พฤติกรรมการเรียน การทำงาน พฤติกรรมการ ปกครองในฐานะผูนำและการเคารพกฎหมาย เปน ตน 2.2 พฤติกรรมพัฒนาเปนการพัฒนาตนเอง ผูอื่นและสังคม เชน ใฝร ู รักการอาน เปนกัลยาณมิตร การอาสาชว ยเหลือกจิ กรรมตาง ๆ ของสังคม เปน ตน ดังน้ัน การพัฒนาคุณรรมจริยธรรมตามแนวทางทฤษฎีตนไม คำนึงถึงการบำรุงสวนราก คือ การปลูกฝงคุณธรมท่ีถูกตอ งดงี ามใหเปนเปาหมายกอน แลวคอยพัฒนาบำรุงสวนทเ่ี ปนลำตน คือ การ พฒั นาพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงคท ้ังโดยตรงและโดยออม สรา งแรงบนั ดาลใจใหเ กดิ การเปลี่ยนแปลงไปสู การมสี ว นดอกและผลที่งอกงาม คือ เปนคนเกง คนดี และสงั คมดี มีความสขุ ในการใชช ีวติ 5. การพฒั นาคุณธรรมตามแนวทางโรงเรยี นคุณธรรม 5.1 การพัฒนาคุณธรรมตามแนวทางโรงเรียนคุณธรรมของมูลนิธิยุวสถิรคุณ ศูนยโรงเรียน คุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ (2558 : 1- 2) กลาววา โรงเรียนคุณธรรมของมูลนิธิยุวสถิรคุณ หมายถึง สถานศึกษาท่ีผบู ริหาร ครู นกั เรียน ผูป กครอง ชุมชน และผมู ีสวนเกย่ี วขอ ง มสี ว นรว มในกระบวนการ

37 ขับเคลื่อน การสงเสริมความดีในรูปแบบตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ซ่ึงนำไปสูการ พัฒนาและปรับเปล่ียนเปนพฤติกรรมท่ีพึงประสงคไดอยางยั่งยืน แนะนำไปขยายเครือขายได ซึ่งการ ขับเคลอ่ื นการพฒั นาสูโ รงเรยี นคณุ ธรรม แบง ออกเปน 5 ขน้ั ตอน ไดแ ก 1) การชแ้ี จงทำความเขา ใจรวมกัน 2) การกำหนดคุณธรรมเปาหมายและคณุ ธรรมอัตลักษณ ของโรงเรียน 3) การจัดทำโครงงานคุณธรรม 4) การลงมือรวมกันปฏิบัติ 5) การนิทศ ติดตาม ประเมินผลและเสริมแรงกันโดยมรี ายละเอยี ดแตละขนั้ ตอน ดงั นี้ ข้ันตอนท่ี 1 การช้ีแจงทำความเขา ใจรวมกนั 1. จัดประชุมช้ีแจงผูมีสวนเกี่ยวของในโรงเรียนสรางความรู ความเขาใจ รับฟงความคิดเห็น เพ่ือความม่ันใจในการสมัครใจทำงาน และตัดสินใจรวมกัน ไดแก ผูบริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ผูปกครอง บุคลกรทางการศึกษา พนักงาน เจาหนาที่ คณะกรรมการสถานศึกษาตลอดจนชุมชนที่ เกี่ยวของ เชน ผคู าขายในโรงเรียน เปนตน หากโรงเรียนสามารถสรางความเขาใจไดระดับหนึ่งแลวควรช้ีแจงทำความเขาใจกับ ผเู กยี่ วขอ งในลำดบั กวา งออกไป เชน ผบู รหิ ารเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา องคก รปกครองสวนทองถนิ่ เปน ตน 2. แตงตั้งและมอบหมายงานใหคณะทำงานรับผิดชอบในการวางแผน การลงมือปฏิบัติการ ประเมินผล และการปรับปรุงแผนจนบรรลปุ าหมายท่ีกำหนดไว โดยมีวาระการทำงาน 1 ป 3. สรุปขอมูลพ้ืนฐานของโรงเรียน โดยวิเคราะหขอมูลปจจัยภายในโรงเรียน ไดแก จุดแข็ง (ปจ จัยสงเสรมิ การปฏบิ ัตงิ านของโรงเรียนใหมคี ุณภาพ) และจุดออน หรือขอ ดอยของโรงเรยี น รวมท้ัง วิเคราะหขอมูลสภาพแวดลอมภายนอก ไดแก โอกาส (สภาพภายนอกท่ีเอ้ือใหโรงเรียนมีผลงาน เชน ประชาชนตอ งการใหลูกหลานมีอาชีพ โรงเรียนจึงควรใหความรูดานทักษะอาชีพ เปนตน) และสภาพ ภายนอกท่ีเปนอุปสรรคตอการทำงานของโรงเรียน เชน เศรษฐกิจไมดี ชุมชนยากจนมาก เปนตน รวมทั้งพิจารณาทบทวนวิสัยทัศน ปรัชญาตาง ๆ ของโรงเรียนดวย เพ่ือใหโรงเรียนรูจักตนเอง และ เลอื กใชป ระโยชนไ ดถกู ตอ งตามความเปน จริงของโรงเรียน 4. จัดเตรียมผูเขาประชมุ ระดมสมอง โดยจัดกลมุ ผเู ขาประชุมทมี่ ภี าระหนาทคี่ วามรับผดิ ชอบ ในกลุมเดียวกันหรือใกลเคียงกัน เชน 1) กลุมครู บุคลากรทางการศึกษา ผูบริหาร ผูปกครองและ คณะกรรมการสถานศึกษา 2) กลุมนักเรียนแกนนำระดับมัธยมศึกษา 3) กลุมนักเรียนแกนนำระดับ ประถมศึกษา เปนตน การพิจารณาจัดประชุมแตละกลุมท่ีมีพ้ืนฐานหนาท่ีความรับผิดชอบใกลเคียง กัน เพ่ือประโยชนในการมีความรูความเขาใจใกลเคียงกันทั้งเรื่องเก่ียวกับปญหาความตองการการ พัฒนา และพฤติกรรมตาง ๆ ท่ีเกดิ ข้ึนในโรงเรียน นอกจากน้ีขนาดของกลุมควรมปี ริมาณที่ชวยใหทุก คนในกลุมมีโอกาสแสดงความคิดเห็นไดข้ึนอยูกบั กจิ กรรมที่จดั เตรยี มไวใ นแผนงาน 5. จัดเตรียมสถานท่ีอุปกรณตามท่ีกำหนดไวในแผนงานตามความจำเปนสำหรับการจัดหา วทิ ยากรขอใหพ ิจารณาตามความเหมาะสมตามบริบทของโรงเรยี น

38 ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดคุณธรรมเปาหมายและคุณธรรมอัตลักษณของโรงเรียนจัดประชุม ระดมสมองจะเลอื กใชกจิ กรรมการประชมุ สัมมนาเชิงปฏบิ ัติ หรือการประชุมอภปิ รายปญ หาฯลฯ ก็ได และดำเนินการตามลำดับขน้ั ตอน ดงั น้ี 1. วเิ คราะหปญหา หรือพฤติกรมที่ไมพ ึงประสงคใ นโรงเรียนพฤติกรรมที่ไมตอ งการใหเกดิ ข้ึน ในโรงเรียน เชน มาโรงเรียนสาย ลอกการบานเพ่ือน เปนตน หรือชวยกันวิเคราะหหาพฤติกรรมที่พึง ประสงคในโรงเรียน พฤติกรรมท่ีตองการเห็นในโรงเรียน เชน ชวยติวเพ่ือน เดินแถวใหเปนระเบียบ ทง้ิ ขยะใหเปน ที่ เปนตน โดยตงั้ คำถามใหทุกคนคดิ 2. รวบรวมและจัดกลุมความคิดเห็นใหเปนเรื่อง ๆ แลวสรุปความเขาใจของที่ประชุมให ตรงกัน 3. คนหาคุณธรรมเปาหมาย โดยใชขอมูลความคิดเห็นของที่ประชุม โดยใหท่ีประชุมได รวมกันคนหาคุณธรรมท่ีจะใชแกปญหาท่ีอยากแก หรือคุณธรรมท่ีจะใชเปนหลักในการประพฤติ ปฏิบัติส่ิงท่ีอยากเห็นอยากทำ เชน ความซื่อสัตย ความรับผิดขอบ ความมีน้ำใจ ความชวยเหลือ เกอื้ กูลกนั เปน ตน 4. จัดกลุมคุณธรรมเปาหมาย โดยรวบรวมรายการคุณธรรมเปาหมายท่ีไดจากการระดม สมองแลวนำมาจัดกลุมเลือกกลุมท่ีมีความหมายใกลเคียงกันไวดวยกัน กรณีมีคำศัพทแตกตางกัน หลากหลายควรหารือทป่ี ระชุมใหเ ลอื กใชค ำศพั ทท ม่ี ีความหมายเขา ใจตรงกนั และไมต องตีความ 5. จัดลำดับความสำคัญของคุณธรรมเปาหมาย โดยใหที่ประชุมรวมกันจัดลำดับความสำคัญ ของคุณธรรมเปาหมายที่ตองการทำกอนหลัง กรณีท่ีประชุมมีความเห็นคุณธรรมหลายเร่ืองควร คัดเลอื กมาเพียง 3 เร่ืองกอ นเพ่ือใชเ ปน คุณธรรมเปาหมายของโรงเรียน 6. กำหนดคุณธรรมเปาหมายใหเปนที่ทราบทั่วกัน กลาวคือ คุณธรรมเปาหมาย หมายถึง คุณธรรมที่ทุกคนในโรงเรียนไดรวมกันกำหนดขึ้น โดยการคิดวิเคราะหพฤติกรรมที่พึงประสงคท่ี โรงเรียนตองการใหเกิดขึ้น เปนคุณธรรมที่มีคุณลักษณะที่สงเสริมใหเกิดพฤติกรรมท่ีดีของโรงเรียน และสามารถใชเปนหลักในการแกปญหาสวนใหญของโรงเรียนได ในระยะเร่ิมตนไมควรกำหนด คุณธรรมเปาหมาย จำนวนหลายดานควรกำหนดประมาณ 3 ดา น เพือ่ งายสะดวกตอการพัฒนา 7. กำหนดพฤติกรรมบงชี้/ขอปฏิบัติที่เก่ียวของกับคุณธรรมเปาหมายโดยนำคุณธรรม เปาหมายแตละดานมากำหนดรายละเอียดพฤติกรรมบงชี้/ขอปฏิบัติ ควรแบงกลุมผูเขาประชุมตาม ภาระหนาท่ีความรับผิดชอบในกลุมเดียวกันหรือใกลเคียงกันเพื่อประโยชนในการคิดวิเคราะหและ เสนอแนะพฤตกิ รรมบง ช/ี้ ขอประพฤตปิ ฏบิ ัตขิ องกลุม เดยี วกนั ได 8. กำหนดคุณธรรมอัตลักษณใหเปนท่ีทราบท่ัวกัน กลาวคือ เม่ือนำคุณธรรมเปาหมายแตละ ดานมากำหนดพฤติรกรมบงช้ี/ ขอปฏิบัติเพ่ิมเติมใหครบแลวจะเรียกวา\"คุณธรรมอัตลักษณ\" ซึ่ง

39 หมายถึง คุณธรรมเปาหมาย ที่มีการกำหนดพฤติกรรมบงชี้/ขอปฏิบัติไวดวยซ่ึงจะจำแนกตาม กลมุ เปาหมาย เชน ขอ ปฏบิ ัติของครู ผูบรหิ ารและนักเรยี น เปนตน คุณธรรมอัตลักษณ จะใชเปนเคร่ืองมือในการประเมินผลการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของ กลุมเปาหมายแตละกลุมพฤติกรรมบงช้ีแตละขอจะใชเปนตัวชี้วัดท่ีแสดงความสำเร็จของการ เปล่ียนแปลงพฤติกรรมในโรงเรียน หรือพฤติกรรมท่ีพึงประสงคท่ีโรงเรียนตองการใหเกิดข้ึนมากนอย ระดับไหน อยางไร โรงเรียนสามารถกำหนดเปาหมายเชิงปริมาณโดยมุงใหมีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้น ในกลุมเปา หมายใด จำนวนเทาไร และเปา หมายเชิงคุณภาพ โดยมุงใหกลุม เปาหมายมีพฤติกรรมที่พึง ประสงคในทิศทางทด่ี ขี ้นึ เปนตน 9. กำหนดนโยบายและหรือขอตกลงรวมกัน โดยเสนอผลการประชุมระดมสมองในสวนของ คุณธรรมเปาหมายและคุณธรรมอัตลักษณท่ีมีการจำแนกพฤติกรรมบงช้ีของแตละกลุมเปาหมายแลว ทกุ คนเขา ใจตรงกันและรวมกนั กำหนดนโยบาย/ขอ ตกลงวา จะนำมาปฏบิ ัติ โดยอาจนำเสนอในรูปของ ตารางคุณธรรมอัตลักษณ ขนั้ ตอนท่ี 3 การจดั ทำโครงงานคุณธรรมของโรงเรียน การจดั ทำโครงงานคณุ ธรรม (Moral Project) จะแบง กลุมตามความสนใจของโครงงานเร่ือง หน่ึงเรื่องใด หรืออาจแบกตามระดับช้ันเรียน แบงตามชมรมความสนใจแลวจัดประชุมสัมมนาเชิง ปฏิบัติการหรือประชุมอภิปรายหารอื หรอื ประชุมระดมสมองโดยมีขน้ั ตอนตามลำดับ ดงั นี้ 1. วิเคราะหปญหาหรือพฤติกรรมที่ไมพ งึ ประสงค ซง่ึ เปน กลุมท่ีตอ งการใหโ รงเรยี นแกไขโดย ตงั้ คำถามใหทุกคนคิดวิเคราะห เชน พฤติกรรมของเพ่อื น ๆ ที่อยากปรับปรงุ หรือคณุ ธรรมพน้ื ฐานของ โรงเรยี นขอ ใดทย่ี งั ไมไดทำบา ง เปน ตน 2. ควรจัดลำดับปญหาท่ีสำคัญเรงดวนที่สุดที่ทุกคนเห็นพองตองกันวาควรรีบแกไขเลือกมา 1 ปญ หาตามความเห็นของทปี่ ระชุม 3. หาสาเหตุของปญหาโดยนำปญหาท่ีคัดเลือกแลวมาระดมสมองหาสาเหตุของปญหานั้น ๆ ซ่งึ อาจเกิดจากสาเหตุปจจัยภายในและหรือปจจัยภายนอกอยางไรบาง อาจใชเพ่ืออภิปรายหาสาเหตุ นำขอมูลเชิงสถิติ ขอเดน ขอดอย ความเปนไปได ความเรงดวนมาพิจารณาประกอบเพ่ือหาขอยุติใน การตดั สนิ ใจเลือกประเดน็ ปญ หาทอ่ี ยากแกไขมากทีส่ ุด 4. กำหนดเปา หมายการแกปญหาน้ัน ๆ โดยนำปญ หาท่ีคดั เลอื กไวมากำหนดเปาหมายท้ังเชิง ปรมิ าณ คือ กลุม บุคคลท่ีตองการใหเกิดการเปล่ียนแปลงเชงิ คุณภาพ คือ พฤติกรรมอะไรทตี่ องการให เกดิ ขึ้นหรือเกิดการเปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอมอยางไร 5. กำหนดชื่อโครงานที่ชัดเจนเขาใจงายและควรสะทอนกิจกรรมและกลุมเปาหมายท่ี เก่ยี วของ 6. กำหนดวิธีแกป ญหาหรอื วธิ ดี ำเนนิ งานเพอื่ ไปสูเปา หมายนัน้ จะมีแผนงานอยางไร