Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sr-53-k-002

sr-53-k-002

Published by สุกัญญา อ้นปรางค์, 2018-09-14 01:15:22

Description: sr-53-k-002

Search

Read the Text Version

102ทัศนคตติ ่อการด่ืมเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ มีการวัดตัวแปรด้วยแบบสอบถามท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนเอง และแปลจากแบบสอบถามมาตรฐานตน้ ฉบับภาษาอังกฤษ มีรายละเอียดของการวดั ดังนี้ 3.2.3.1 การร่วมกิจกรรมทางศาสนา (X9) หมายถึง ความถี่ของการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาในปีที่ผ่านมา วัดที่ความถ่ีของการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา มีระดับการวัดแบบอันดบั สเกล แบง่ เป็น 2 อันดบั ดังนี้ อันดับ 1 ไม่เคยเลยถึงนอ้ ยครง้ั ใหค้ ่าเปน็ 0 อนั ดบั 2 บอ่ ยครง้ั ถงึ เปน็ ประจา ใหค้ ่าเป็น 1 3.2.3.2 ความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ (X10) หมายถึง ข้อมูลเก่ียวกับเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ระดับการด่ืมที่ไม่เป็นอันตราย และผลท่ีเกิดขึ้นจากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ที่วัยรุ่นชายและหญิงระลึกได้ ประกอบด้วยเรื่อง ลักษณะของเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์การดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย ระดับการด่ืมที่ปลอดภัย และอันตรายจากการดื่มแอลกอฮอล์ ประเมินโดยแบบวัดความรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง มีระดับการวัดแบบช่วงสเกล แต่สาหรับการวิเคราะห์ความสมั พันธ์ในการศึกษาน้ีเพอ่ื ให้ตัวแปรมคี วามหมายในทางปฏบิ ัตผิ วู้ จิ ัยกาหนดระดับการวัดเป็นอนั ดบั สเกล 2 อันดับ โดยพิจารณาการกระจายของคะแนนของกลุ่มตัวอย่างเป็นหลัก ผู้วิจัยจัดกลุ่มอันดับด้วยค่ามัธยฐานของคะแนนกลุ่มตวั อย่างชาย และหญงิ ดงั นี้ อันดับ 1 มีระดับความรู้ด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ไม่ดีเป็นผู้ท่ีมีคะแนนจากแบบวัดความรู้อยู่ในช่วง 0-8 สาหรับกลุ่มตัวอย่างหญิง และ 0-6 สาหรับชายใหค้ า่ เป็น 0 อันดับ 2 มีระดับความรู้ด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดีเปน็ ผูท้ ่มี ีคะแนนจากแบบวัดความร้อู ยู่ในช่วง 9-12 สาหรบั กลุ่มตัวอย่างหญิง และ 7-12 สาหรับชายใหค้ า่ เปน็ 1 3.2.3.3 ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ (X11) หมายถึง ระดับการให้คุณค่า ความสาคัญ และการยอมรับของวัยรุ่นชายและหญิงที่มีต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ซึ่งการให้คุณค่า ความสาคัญ หรือการยอมรับน้ีนักเรียนได้มาหรือรับรู้จากคุณค่าท่ีบุคคลอ่ืนๆในสังคมให้ต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประเมินโดยแบบสอบถามค่านิยมการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ท่ีผู้วิจัยพัฒนาข้ึนเอง มีระดับการวัดแบบช่วงสเกล แต่สาหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในการศกึ ษานเี้ พอื่ ใหต้ ัวแปรมคี วามหมายในทางปฏิบตั ผิ วู้ จิ ัยกาหนดระดับการวัดเป็นอันดบั สเกล 2 อันดับ โดยพิจารณาการกระจายของคะแนนของกลุ่มตัวอย่างเป็นหลัก ผู้วิจัยจัดกลุ่มอันดับด้วยค่ามัธยฐานของคะแนนกลุ่มตวั อย่างชาย และหญงิ ดงั นี้

103 อนั ดับ 1 การให้ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ต่าเป็นผู้ท่ีมีคะแนนจากแบบสอบถามค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์อยู่ในช่วง 14-24สาหรับกลุ่มตัวอยา่ งหญิง และ 14-26 สาหรบั ชาย ให้ค่าเป็น 0 อันดบั 2 การให้ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงเป็นผู้ที่มีคะแนนจากแบบสอบถามค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อยู่ในช่วง 25-42สาหรบั กลมุ่ ตวั อย่างหญิง และ 27-42 สาหรับชาย ให้คา่ เปน็ 1 3.2.3.4 การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดี (X12)หมายถึง ความเชื่อ/คาดหวังในผลที่จะเกิดขึ้นจากการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นชายและหญิงในทางที่ดี 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเข้าสังคม (Sociability) ด้านการลดความตึงเครียด (Tensionreduction) ด้านความกลา้ หาญ (Liquid courage) ดา้ นความสามารถทางเพศ (Sexuality) ประเมินจากแบบสอบถามทีแ่ ปลจากแบบสอบถามการคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบสมบูรณ์(The Comprehensive Effects of Alcohol: CEOA) ที่พัฒนาข้ึนโดยฟรอมม์ สทรูท และแคปแลน(Fromme Stroot & Kaplan, 1993) มีระดับการวัดแบบช่วงสเกล แต่สาหรับการวิเคราะห์ความสมั พันธ์ในการศึกษานี้เพ่อื ให้ตวั แปรมคี วามหมายในทางปฏบิ ัตผิ ูว้ จิ ัยกาหนดระดับการวัดเป็นอนั ดับสเกล 2 อันดับ โดยพิจารณาการกระจายของคะแนนของกลุ่มตัวอย่างเป็นหลัก ผู้วิจัยจัดกลุ่มอันดับด้วยคา่ มธั ยฐานของคะแนนกลุ่มตัวอยา่ งชาย และหญิง ดังนี้ อันดับ 1 การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางท่ดี ตี า่ เป็นผู้ที่มีคะแนนจากแบบสอบถามการคาดหวังผลในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์อยู่ในช่วง20-51 สาหรบั กลุม่ ตวั อยา่ งหญงิ และ 20-55 สาหรับชาย ใหค้ ่าเปน็ 0 อันดับ 2 การคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในทางทดี่ สี ูง เป็นผทู้ ่ีมคี ะแนนจากแบบสอบถามการคาดหวังผลในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ อยู่ในช่วง52-80 สาหรบั กล่มุ ตวั อย่างหญงิ และ 56-80 สาหรบั ชาย ใหค้ า่ เป็น 1 3.2.3.5 การประเมินค่าผลจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (X13)หมายถึง ระดับการตีค่าผลท่ีคาดว่าจะเกิดจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดีของวัยรุ่นชายและหญงิ จากไมด่ ีจนถงึ ดปี ระเมินจากแบบสอบถามที่แปลจากแบบสอบถามการคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบสมบูรณ์ (The Comprehensive Effects of Alcohol: CEOA)ท่ีพัฒนาข้ึนโดย ฟรอมม์ สทรูท และแคปแลน (Fromme Stroot & Kaplan, 1993) มีระดับการวัดแบบช่วงสเกล แต่สาหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในการศึกษาน้ีเพ่ือให้ตัวแปรมีความหมายในทางปฏิบัติผู้วิจัยกาหนดระดับการวัดเป็นอันดับสเกล 2 อันดับ โดยพิจารณาการกระจายของ

104คะแนนของกลุ่มตัวอยา่ งเป็นหลัก ผู้วิจัยจัดกลุ่มอันดับด้วยค่ามัธยฐานของคะแนนกลุ่มตัวอย่างชายและหญงิ ดงั นี้ อนั ดับ 1 การประเมินค่าผลจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางทไี่ มด่ ี เป็นผู้ทมี่ ีคะแนนจากแบบสอบถามอยใู่ นช่วง 20-54 สาหรับกลุ่มตวั อยา่ งหญิง และ 20-62สาหรับชาย ให้ค่าเป็น 0 อันดับ 2 การประเมินค่าผลจากการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ทางท่ีดี เป็นผู้ท่ีมีคะแนนจากแบบสอบถาม อยู่ในช่วง 55-100 สาหรับกลุ่มตัวอย่างหญิง และ 63-100 สาหรับชาย ใหค้ ่าเปน็ 1 3.2.3.6 ทัศนคติต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ (X14) หมายถึงความคิดเห็นของวัยรุ่นชายและหญิงท่ีมีต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ตามทิศทางของความเช่ือและการตีค่าผลท่ีคาดว่าจะเกิดจากการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทางให้ประโยชน์หรือโทษ(Faulkner, Hendry, Roderique, & Thomson, 2006) ประเมินจากแบบแบบสอบถามทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง มีระดับการวัดแบบช่วงสเกล แต่สาหรับการวิเคราะห์ความสมั พนั ธใ์ นการศึกษาน้เี พื่อให้ตวั แปรมีความหมายในทางปฏบิ ัติผ้วู ิจยั กาหนดระดับการวัดเป็นอนั ดบั สเกล 2 อันดับ โดยพิจารณาการกระจายของคะแนนของกลุ่มตัวอย่างเป็นหลัก ผู้วิจัยจัดกลุ่มอนั ดบั ด้วยคา่ มธั ยฐานของคะแนนกลมุ่ ตวั อย่างชาย และหญิง ดงั นี้ อันดบั 1 ทศั นคตติ ่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ไม่ดี เป็นผู้ท่ีมีคะแนนจากแบบสอบถามทัศนคติต่อการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์อยู่ในช่วง 9-18 สาหรับกลุ่มตัวอยา่ งหญิง และ 9-24 สาหรับชาย ใหค้ ่าเป็น 0 อนั ดับ 2 ทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดี เป็นผู้ที่มีคะแนนจากแบบสอบถามทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์อยู่ในช่วง 19-45 สาหรับกลุ่มตวั อย่างหญงิ และ 25-45 สาหรบั ชาย ให้คา่ เปน็ 1 3.2.4 พฤตกิ รรมอื่นทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง พฤติกรรมอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ การสูบบุหรี่ (X15) มีการวัดด้วยคาถามที่ผวู้ จิ ยั สรา้ งข้ึนเอง มีระดับการวดั แบบนามสเกล (Nominal scale) แบง่ เปน็ 2 กลมุ่ คือ ไม่เคยสูบ และเคยสบู ในการวเิ คราะหค์ วามสมั พันธส์ าหรบั การศึกษานี้สรา้ งเป็นตัวแปรหุ่น (dummy variable) คือไมเ่ คยสบู บุหรี่ เท่ากับ 0 เคยสูบบหุ รี่ เทา่ กับ 1

1054. เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ัย เคร่ืองมือที่ใช้ในงานวิจัยเป็นชุดแบบสอบถามท่ีให้กลุ่มตัวอย่างตอบด้วยตัวเอง (Selfreport) แบ่งเปน็ 11 สว่ น ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามส่วนนี้ประกอบด้วยคาถามให้ได้มาซึ่งข้อมูลเพศ อายุ ช้ันเรียน สาขาวิชาที่เรียน การนับถือศาสนา การปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา การด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเพื่อน การด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ในครอบครัว และการสูบบุหรี่ จานวน 8 ข้อ เป็นลักษณะเติมข้อความในช่องว่าง และเลือกตอบ โดยข้อที่ 4 และ 5 ถามถึงศาสนาที่นับถือ และความถี่ของการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา ข้อท่ี 6 ถามถึงการสูบบุหร่ีใน1 เดือนท่ีผ่านมา ข้อท่ี 7 ถามถึงจานวนเพ่ือนที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ท่ีนักเรียนคบด้วย ข้อท่ี 8ถามถึงความถี่ของการด่ืมของผู้ใหญ่ในครอบครัว ดัดแปลงมาจากข้อคาถามและมาตรวัดของเยห์(Yeh, 2006) ส่วนที่ 2 สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ แบบสอบถามส่วนน้ีแปลมาจากแบบสอบถามสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ฉบับปรับปรุง (the Drinking Refusal Self-Efficacy Questionnaire-Revised: DRSEQ-R) ของโออี แฮสกิงและยัง (Oei, Hasking & Young) (Oei et al., 2005) ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 19 ข้อวดั ระดับการรบั ร้สู มรรถนะแหง่ ตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ด้านความกดดันทางสังคม (Social pressure) จานวน 5 ข้อ ด้านการผ่อนคลายอารมณ์และความรู้สึก (Emotional relief)จานวน 7 ข้อ และด้านโอกาสที่เอ้ือต่อการด่ืม (Opportunistic) จานวน 7 ข้อ แต่ละข้อเป็นข้อความแสดงสถานการณ์ให้ผู้ตอบเลือกตอบตามความเชื่อมั่นของตนเองในการดื่มหรือไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ละคาตอบมีคะแนน 1 (แน่ใจอย่างย่ิงว่าจะดื่ม) ถึง 6 (แน่ใจอย่างยิ่งว่าจะไม่ดื่ม)คะแนนรวมจาก 19 ข้อ มีค่าอยู่ระหว่า 19-114 คะแนนต่าหมายถึงมีการรับรู้ระดับความเช่ือในความสามารถของตนเองในการตา้ นทานการดมื่ ต่า หากคะแนนสงู ใหค้ วามหมายในทางตรงกันขา้ ม สว่ นที่ 3 ความรู้ด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แบบวัดน้ีประกอบด้วยคาถาม 12 ข้อเป็นแบบเลือกตอบ 2 ตัวเลือก คือใช่ และไมใ่ ช่ โดยมีเกณฑ์การใหค้ ะแนน คือ ถ้าตอบถูกได้คะแนน1 คะแนน /ข้อ ถ้าตอบผิด ได้คะแนน 0 คะแนน/ข้อ คิดคะแนนรวม ผู้ตอบจะได้คะแนนอยู่ในช่วง0-12 คะแนน ผู้ที่ได้คะแนนรวมสูงเป็นผู้ท่ีมีความรู้ด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดี และถ้าคะแนนรวมต่าเป็นผู้ทม่ี คี วามรดู้ ้านการดืม่ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ไมด่ ี ส่วนท่ี 4 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุราฉบับภาษาไทยท่ีแปลโดยกรมสุขภาพจิต (2547) ประกอบด้วยคาถามเกี่ยวกับปริมาณ ความถี่ และพฤติกรรมที่เป็นปัญหาท่ีเก่ียวเนื่องจากการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์จานวนทั้งหมด 10 ข้อคาถาม

106ลักษณะของคาตอบเปน็ แบบเลือกตอบในแต่ละคาตอบมีคะแนน 0-4 คะแนน คะแนนรวมจากแบบประเมนิ ทงั้ 10 ข้อ มคี า่ อยูร่ ะหว่าง 0-40 คะแนน ผู้ที่มีคะแนนรวมสูงย่ิงเป็นผู้ที่มีระดับการดื่มท่ีเป็นอันตรายต่อสขุ ภาพสูง สว่ นท่ี 5 บรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนเองประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 12 ข้อ เป็นคาถามท่ีถามเก่ียวกับการรับรู้ความถี่และปริมาณเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์โดยทั่วไปท่ีเพ่ือนและบุคคลวัยเดียวกันด่ืม จานวน 3 ข้อ เป็นคาถามท่ีถามถึงการรับรู้ความยินยอม และการยอมรับเรื่องการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์จากพ่อแม่หรอื ผปู้ กครอง จานวน 5 ขอ้ การรบั รูค้ วามยินยอมและการยอมรับเร่ืองการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จากเพื่อน จานวน 4 ข้อ เป็นข้อความทางการสนับสนุนยินยอม 4 ข้อ ข้อความไม่ยินยอมหรือไม่ยอมรบั 5 ข้อ ผ้ตู อบเลอื กตอบในแต่ละคาตอบมีคะแนน 1-5 คะแนนรวมจากแบบสอบถาม 12 ข้อมีค่าอยู่ระหว่าง 12-60 ผู้ที่มีคะแนนสูงหมายถึง รับรู้ว่าบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของสังคมไปในทางท่ียอมรับการด่ืม ผู้ที่ได้คะแนนต่าหมายถึง รับรู้ว่าบรรทัดฐานทางสงั คมดา้ นการดืม่ เครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ของสงั คมไปในทางทีไ่ มย่ อมรบั ส่วนที่ 6 ความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เป็นแบบประเมินท่ีแปลมาจากแบบประเมินความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (The Social Interaction Anxiety Scale: SIAS)ของแมททิค และคลาร์ค (Mattick & Clarke, 1998) ประกอบด้วย 19 ข้อความ แสดงลักษณะต่างๆทีอ่ าจเกดิ ข้ึนกับผู้ตอบท่ีสะท้อนถึงความกังวลในการเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม ลักษณะข้อความที่แสดงความหมายด้านลบ 17 ข้อ ข้อ 1-19 ยกเว้น ข้อท่ี 8 และ 10 เป็นข้อความทางบวกคาตอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ช่วงคะแนน มีค่า 0-4 คะแนน คะแนนรวมจากแบบประเมิน 19 ข้อมีคา่ อยรู่ ะหว่าง 0-76 คะแนน คะแนนน้อยหมายถึงมีความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมน้อยคะแนนทม่ี ากขน้ึ หมายถึงมีความกังวลต่อการมปี ฏสิ ัมพันธ์ทางสงั คมมากข้นึ สว่ นที่ 7 บุคลิกภาพแบบแสวงหาความท้าทาย เป็นแบบสอบถามที่แปลมาจากแบบสอบถามบุคลิกภาพแบบแสวงหาความท้าทาย (Sensation Seeking Personality Questionnaire:SSPQ) ของวีณา คันฉ้อง (Chanchong, 2004) ถามถึงความชื่นชอบในการเข้าไปอยู่ในสถานการณ์10 ข้อ ผตู้ อบสามารถเลือกตอบไดใ้ น 3 คาตอบ ไดแ้ ก่ ไม่ชอบ ชอบ ชอบมากที่สุด มีค่า 1-3 คะแนนคะแนนรวมจากแบบสอบถาม 10 ข้อ มีค่าอยู่ระหว่าง 10-30 คะแนน ผู้ท่ีมีคะแนนสูงหมายถึงเป็นผูท้ ่มี กี ารแสวงหาความทา้ ทายสงู คะแนนท่นี อ้ ยลงหมายถงึ มีการแสวงหาความทา้ ทายต่ากว่า ส่วนท่ี 8 การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และประเมินค่าผลจากการดื่มเครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ เปน็ แบบสอบถามทีแ่ ปลจากแบบสอบถามการคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบสมบูรณ์ (The Comprehensive Effects of Alcohol: CEOA) ท่ีพัฒนาข้ึน

107โดย ฟรอมม์สทรูท และแคปแลน (Fromme Stroot & Kaplan, 1993) แบบสอบถามต้นฉบับประกอบดว้ ยข้อความแสดงผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ ข้ึนตามมาจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางดี และทางไม่ดี 38 ข้อความ การตอบเป็นแบบเลือกตอบแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นการเลือกตอบคาถามท่ีถามถึงผลคาดว่าจะเกิดขึ้นตามมาหลังการด่ืม คาตอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ช่วงคะแนนมคี ่า 1-4 คะแนน สว่ นที่ 2 เป็นการเลอื กตอบคาถามที่ถามถึงผลคาดว่าจะเกิดข้ึนตามมาหลังการด่ืมนั้นดีหรือไม่ดีระดับใด คาตอบเป็นแบบเลือกตอบ 5 ช่วงคะแนน มีค่า 1-5 คะแนน ในการศึกษาน้ีนามาใชแ้ ตใ่ นดา้ นที่ดี ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นการเขา้ สังคม (Sociability) จานวน 8 ข้อ ได้แก่ ข้อที่ 1, 3, 5, 14, 24, 31, 34, และ 38 2) ด้านการลดความตงึ เครยี ด (Tension reduction) จานวน 3 ข้อ ไดแ้ ก่ ข้อท่ี 18, 27, และ 29 3) ดา้ นความกลา้ หาญ (Liquid courage) จานวน 5 ขอ้ ได้แก่ ขอ้ ที่ 19, 20, 21, 22, และ 37 4) ด้านความสามารถทางเพศ (Sexuality) จานวน 4 ข้อ ได้แก่ข้อที่ 7, 12, 16, และ 32 การคานวณคะแนนต่อบุคคลเป็นไปโดยการรวมคะแนนทุกข้อท่ีเป็นการคาดหวังผลในการดื่มทางท่ีดีและการตีค่าผลที่จะเกิดจากการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ทางที่ดีแล้วหารเฉลี่ยด้วยจานวนข้อค่าคะแนนเฉลี่ยการคาดหวังผลทางที่ดีสูง หมายถึง ผู้ตอบมีการคาดหวังผลในการดื่มทางท่ีดีสูงแต่ถ้าค่าคะแนนเฉล่ียการคาดหวังผลทางท่ีดีต่า ผู้ตอบมีการคาดหวังผลในการดื่มทางดีต่าเชน่ เดียวกนั กบั การตคี ่าผลทีจ่ ะเกิดจากการดม่ื เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอลท์ างที่ดี ค่าคะแนนเฉลี่ยการตีค่าผลท่ีจะเกิดจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางที่ดีสูงหมายถึง ผู้ตอบมีการตีค่าผลที่จะเกิดจากการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ทางท่ีดีว่าเป็นส่ิงท่ีดี แต่ถ้าค่าคะแนนเฉล่ียต่า ผู้ตอบมีการตีค่าผลที่จะเกิดจากการดื่มเครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ทางที่ดีวา่ เป็นส่ิงที่ไม่ดไี ม่ดี ส่วนท่ี 9 ทัศนคติต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ เป็นแบบสอบถามท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนเองจานวน 9 ข้อ เป็นข้อความคิดเห็นในทางบวกต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 4 ข้อ เป็นข้อความคิดเห็นในทางลบต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 5 ข้อ ผู้ตอบตอบบนมาตราส่วนประมาณค่ามีตัวเลือก 5 ช่วงคะแนน มีค่า 1-5 คะแนน คะแนนรวมจากแบบสอบถาม 9 ข้อ มีค่าอยู่ระหว่าง9-45 คะแนน ผู้ท่ีได้คะแนนสูงเป็นผู้ที่มีทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ดี ในทางตรงข้ามผู้ทไี่ ด้คะแนนต่าเปน็ ผทู้ ีม่ ีทศั นคติต่อการดมื่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไมด่ ี ส่วนที่ 10 ความย่ัวยวนใจและความอดกลั้นต่อการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เปน็ แบบสอบถามทแ่ี ปลจากชุดแบบสอบถามความยวนใจในการดื่มและการจากัดการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ (The Temptation and Restraint Inventory: TRI) ของโคลลินและแลปป์ (Collins &Lapp) (Collins & Lapp, 1992) ประกอบด้วยคาถาม 15 ข้อ แยกเป็น 2 ปัจจัยย่อย คือ 1) ความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม จานวน 9 ข้อ ประกอบด้วยข้อคาถามด้านความพยายามควบคุมการดื่มเคร่ืองดื่ม

108แอลกอฮอล์ (Govern) 3 ข้อ ด้านการใช้ความรู้สึกเป็นเหตุผลในการดื่มสุรา (Emotion) 3 ข้อ และด้านการคิดถึงการด่ืมสุรา (Cognitive Preoccupation) 3 ข้อ 2) การควบคุมการด่ืม จานวน 6 ข้อประกอบด้วยข้อคาถามด้านความพยายามจากัดการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (Restrict) 3 ข้อ และดา้ นการวางแผนลดการด่ืมสรุ า (Concern about Drinking ) 3 ขอ้ ผู้ตอบเลือกตอบจากคาตอบที่มีให้5 ช่วงคะแนน มีค่า 1-5 คะแนน คะแนนรวมจากแบบสอบถามในกลุ่มปัจจัยย่อยความโน้มเอียงที่จะด่ืม 9 ข้อ มีค่าอยู่ระหว่าง 9-45 คะแนน คะแนนรวมจากแบบสอบถามในกลุ่มปัจจัยย่อยการควบคุมการด่ืม 6 ข้อ มีค่าอยู่ระหว่าง 6-30 คะแนน คะแนนรวมจากปัจจัยย่อยความโน้มเอียงท่ีจะดื่มสูงแสดงถึงผู้ตอบมีความโน้มเอียงที่จะด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์สูง หากคะแนนต่าหมายถึงมีความโน้มเอียงที่จะด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่า คะแนนรวมจากปัจจัยย่อยการควบคุมการดื่มสูงหมายถึงมีความพยายามควบคุมการดื่มของตนเองสูง หากมีคะแนนต่าแสดงถึงมีความพยายามควบคุมการด่มื ของตนเองตา่ ส่วนท่ี 11 ค่านิยมการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนเองประกอบด้วยข้อความ 14 ข้อความ เป็นข้อความทางด้านบวกกับการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 13 ข้อข้อความทางลบ 1 ข้อ ได้แกข่ อ้ 12 ผตู้ อบเลอื กตอบได้ใน 3 คาตอบ คือ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ และ ใช่ มีค่า1-3 คะแนน คะแนนรวมจากแบบสอบถาม 14 ข้อ มีค่าอยู่ระหว่าง 14-42 คะแนน ผู้ท่ีมีคะแนนสูงหมายถึงเป็นผู้ท่ีให้ค่านิยมในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์สูง คะแนนท่ีน้อยลงหมายถึงให้ค่านิยมในการดม่ื เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอลต์ า่ ลง5. การสร้าง และการตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื ชดุ แบบสอบถาม 11 ส่วน ดังกล่าวข้างต้น ได้ผ่านกระบวนการพัฒนาเพื่อให้เป็นเครื่องมือท่มี ีความเช่อื ถือได้ในการวัด 3 กล่มุ กระบวนการ ไดแ้ ก่ 5.1 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง และปรับจากงานวิจัยภายในประเทศ เครื่องมือในการศึกษาที่ผ่านกระบวนการในกลุ่มน้ี คือ แบบสอบถามและแบบวัด5 ส่วน ได้แก่ 1) ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป 2) ส่วนที่ 3 ความรู้ด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์3) ส่วนท่ี 5 บรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 4) ส่วนท่ี 9 ทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 5) ส่วนท่ี 11 ค่านิยมการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ผู้วิจัยมีการสร้างและตรวจสอบคณุ ภาพเครือ่ งมือดงั น้ี 5.1.1 ทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง และนิยามเชิงปฏิบัติการเพ่ือกาหนดขอบเขตเนอื้ หา

109 5.1.2 ศึกษาปรากฏการณ์เบ้ืองต้นกับชุมชน ครอบครัว และกลุ่มเด็กวัยรุ่นอายุ15-19 ปี ในพื้นท่ีจังหวัดหน่ึงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อหาข้อมูลเน้ือหาเพ่ิมเติมเก่ียวกับบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์และค่านิยมการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และแนวทางการสรา้ งแบบสอบถาม 5.1.3 สร้างขอ้ คาถามของแบบสอบถามและการให้คะแนนสาหรับคาตอบในแต่ละขอ้ คาถาม 5.1.4 ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (Content validity) โดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่าน ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับเนื้อหานิยาม แล้วนาผลการตรวจสอบมาคานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC: Item Objective Congruence Index)ระหว่างข้อคาถามกบั วตั ถุประสงค์หรือนยิ าม ข้อท่ีมีคา่ ดัชนีความสอดคล้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0.50 เป็นข้อท่ีมีความสอดคล้องกับเนื้อหา (ไพฑูรย์ ศรีฟ้า, 2553; สุวิมล ติรกานันท์, 2550) ข้อที่มีค่าต่ากว่านี้แสดงว่ามีความสอดคล้องกันต่าผูว้ จิ ยั ตดั ออกหรือปรับแกห้ ากเนื้อหาท่ตี ้องการวัดน้ันมีข้อคาถามท่ีวัดเพียงข้อเดียว รายชอื่ ผู้เช่ียวชาญ และดชั นคี วามสอดคล้องของแบบสอบถามแต่ละสว่ นแสดงดังภาคผนวก กและ ข 5.1.5 นาแบบสอบถามที่ได้จากข้อ 5.1.4 ไปศึกษานาร่องกับนักเรียนสายอาชีพที่ไม่ได้เป็นกลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 คน เพื่อดูความเป็นไปได้ของการใช้ภาษา ความเหมาะสมของการเรียงลาดับส่วนต่างๆ รูปแบบการตอบ และการใช้เวลาท่ีเหมาะสม ผลการศึกษานาร่องพบตามภาคผนวก ข ผวู้ ิจยั ปรบั ข้อความในข้อคาถาม และคาตอบในข้อท่นี ักเรยี นเสนอแนะ 5.1.6 นาแบบสอบถามที่ปรับแล้วไปทดลองใช้ กับกลุ่มนักเรียนสายอาชีพชายและหญิงจากสถาบันการศกึ ษาทไ่ี ม่ใช่สถาบันที่เลือกกลุ่มตัวอย่าง จานวน 54 คน แล้วหาความคงที่ภายใน (Internal consistency) ด้วยการคานวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาช (Cronbach’ sAlpha Coefficient) สาหรบั มาตรวัดแบบประมาณคา่ แต่ถ้าเป็นส่วนของความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ตรวจสอบโดยการหาค่าความยากง่าย และค่า KR 20 ผลการตรวจสอบพบว่า ความเช่อื มั่นอยู่ในระดบั ดี ในส่วนของส่วนที่ 11 ค่านิยมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาชเท่ากับ 0.79 ซ่ึงจัดว่าอยู่ในระดับดี แต่เมื่อผู้วิจัยคัดตัด 1 ข้อ ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาชเท่ากับ 0.85 เพื่อให้ได้ค่าดีท่ีสุดผู้วิจัยจึงตัดข้อท่ีทาให้ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาชน้อยลงออก 1 ข้อ รายละเอียดแสดงดังภาคผนวก ข ความเช่ือม่ันของเครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นทุกส่วน อยู่ในระดับท่ียอมรับได้ คือมากกว่า 0.7 (SCOREPAK, 2005) แสดงดังตารางท่ี 13 ผูว้ จิ ัยจึงนาไปใช้ในการวจิ ยั จริง

110ตารางที่ 13 ค่าความเช่ือมั่นของชุดแบบสอบถามที่ผู้วจิ ยั สรา้ งข้ึนเอง ชดุ แบบสอบถาม ค่าความเชือ่ ม่ันสว่ นท่ี 3 ความรูด้ า้ นการด่มื เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ จานวน 12 ขอ้สว่ นที่ 5 บรรทัดฐานทางสังคมดา้ นการด่ืมเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ KR20, r=0.70 Alpha Coefficient, จานวน 12 ข้อส่วนที่ 9 ทัศนคติต่อการด่มื เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ จานวน 9 ข้อ α = 0.74 Alpha Coefficient,ส่วนที่ 11 ค่านยิ มการด่มื เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ จานวน 14 ข้อ α = 0.71 Alpha Coefficient, α = 0.85 5.2 การตรวจสอบความตรงของเครื่องมือที่ผู้วิจัยแปลจากเคร่ืองมือมาตรฐานต้นฉบับภาษาอังกฤษ เครื่องมือในการศึกษาที่ผ่านกระบวนการในกลุ่มน้ี คือ แบบสอบถาม 5 ส่วน ได้แก่1) สว่ นท่ี 2 สมรรถนะแหง่ ตนในการปฏเิ สธการดื่มเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ 2) ส่วนที่ 6 ความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม 3) ส่วนที่ 7 บุคลิกภาพแบบแสวงหาความท้าทาย 4) ส่วนที่ 8การคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์และประเมินค่าผลจากการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์5) ส่วนที่ 10 ความยั่วยวนใจและความอดกลั้นต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ เนื่องด้วยเคร่ืองมือ5 ส่วนน้ี มีการพัฒนามาจนมีคุณภาพอยู่ในระดับดีเพียงแต่เป็นภาษาอังกฤษ ผู้วิจัยได้พัฒนาให้เป็นฉบบั ภาษาไทยและตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมอื เพอ่ื นาไปใช้ ดังนี้ 5.2.1 ใช้เทคนิคการแปลย้อนกลับ (Back translation procedure) โดยให้ผู้เชี่ยวชาญทางด้านภาษาอังกฤษและภาษาไทย 2 ท่าน แปลเป็นภาษาไทยและแปลย้อนกลับเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงภาษา ผู้วิจัยปรับภาษาของข้อความใหม่ในกรณีแปลไม่ตรงกันโดยเร่ิมกระบวนการแปลย้อนกลับใหม่จนกว่าจะได้ข้อความในแบบสอบถามทุกส่วนที่ตรงกัน 5.2.2 นาแบบสอบถามท่ีได้จากข้อ 5.2.1 มาศึกษานาร่องในนักเรียนสายอาชีพท่ีไม่ได้เป็นกลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 คน เพ่ือดูความเป็นไปได้ของการใช้ภาษา ความเหมาะสมของการเรียงลาดับส่วนต่างๆ รูปแบบการตอบ และการใช้เวลาท่ีเหมาะสม จากการศึกษานาร่องพบว่าคาช้ีแจงและบางข้อ ของส่วนที่ 6, 7, 8 และ ส่วนท่ี 10 นักเรียนไม่เข้าใจคาพูดต้องปรับภาษาให้เข้าใจง่ายขึ้น ส่วนท่ี 10 นักเรียนเห็นว่าคาตอบท่ีมีให้เลือกตอบไม่สอดคล้องกับคาถาม ผู้วิจัยปรับรูปแบบขอ้ คาถาม และคาตอบให้มคี วามสอดคล้องโดยคงความหมายเดิมไว้

111 5.2.3 นาแบบสอบถามท่ีได้จากข้อ 5.2.2 ไปทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียนสายอาชีพชายและหญิงจากสถาบันการศึกษาที่ไม่ใช่สถาบันที่เลือกกลุ่มตัวอย่าง จานวน 54 คนผลพบว่าความเชื่อมั่นจากค่าสัมประสทิ ธ์แอลฟาของครอนบาชอยู่ในระดับท่ียอมรับได้ คือมากกว่า0.7 (SCOREPAK, 2005) รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 14ตารางที่ 14 ค่าสัมประสิทธ์แอลฟาครอนบาชของชุดแบบสอบถามที่แปลมาจากต้นฉบับ ภาษาองั กฤษ ชุดแบบสอบถาม ค่าสมั ประสิทธ์ แอลฟาของครอนบาชส่วนที่ 2 สมรรถนะแหง่ ตนในการปฏเิ สธการด่ืมเครอ่ื งด่ืม แอลกอฮอล์ 0.94สว่ นที่ 6 ความกังวลตอ่ การมีปฏิสัมพนั ธ์ทางสงั คม 0.87สว่ นที่ 7 บคุ ลิกภาพแบบแสวงหาความทา้ ทาย 0.70สว่ นท่ี 8 การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องด่มื แอลกอฮอลแ์ ละประเมนิ 0.91 และ 0.82 คา่ ผลจากการด่ืมเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ 0.85 และ0.89สว่ นที่ 10 ความยวั่ ยวนใจและความอดกลนั้ ต่อการดมื่ เคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์ 5.3 การตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมือท่ีมีผู้แปลเป็นฉบับภาษาไทยแล้วและมีคุณภาพอยู่ในระดับดี เคร่ืองมือในการศึกษาท่ีผ่านกระบวนการในกลุ่มนี้ คือ แบบสอบถามส่วนท่ี 4 การดื่มเครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ เน่ืองด้วยแบบสอบถามส่วนน้ีเป็นเคร่ืองมือที่มีมาตรฐาน และมีการนามาใช้ในประเทศไทยแล้วมีความเช่ือม่ันอยู่ในระดับดี ผู้วิจัยจึงตรวจสอบความคงท่ีภายในอีกครั้งดว้ ยการนาเคร่ืองมือนี้ไปทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียนสายอาชีพชายและหญิงจากสถาบันการศึกษาท่ีไม่ใช่สถาบันที่เลือกกลุ่มตัวอย่าง จานวน 54 คน ผลพบว่า ค่าสัมประสิทธ์แอลฟาของครอนบาชเทา่ กับ 0.87 ซ่งึ จัดว่าอยใู่ นระดับยอมรับไดค้ ่อนขา้ งดี6. การพิทกั ษ์สทิ ธกิ์ ลุ่มตัวอย่าง ดว้ ยกลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นที่อายุน้อยกว่า 18 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยท่ีมีความเปราะบาง ผู้วิจัยจึงคานึงถึงหลักจริยธรรม 3 ประการในทุกขั้นตอนของการดาเนินการวิจัย ได้แก่ หลักการเคารพใน

112บุคคล (Respect for persons) หลักสิทธิประโยชน์ (Beneficence) หลักความยุติธรรม (Justice)(Council for International Organizations of Medical Sciences, 2002) ดังนี้ 6.1 ผู้วิจัยเคารพในเอกสิทธ์ิ (Autonomy) และการปกป้องนักเรียนผู้ให้ข้อมูลโดยดาเนนิ การดงั น้ี 6.1.1 ชีแ้ จงวตั ถุประสงค์การวิจัย และสอบถามความสมัครใจของนักเรียนก่อนเก็บข้อมูล เปิดโอกาสให้นักเรียนพิจารณาและตัดสินใจเข้าร่วมโครงการด้วยตนเอง เม่ือนักเรียนยินยอมให้ขอ้ มลู จงึ ทาการเกบ็ ขอ้ มลู 6.1.2 ชี้แจงเรื่องการเก็บข้อมูลไว้เป็นความลับและการไม่เปิดเผยข้อมูลแก่ผู้อ่ืนยกเว้นในกรณีเป็นไปเพ่อื การศึกษา ให้แก่นักเรียนท่ีเข้าร่วมวิจัยรับรู้เป็นข้อตกลงเบ้ืองต้นก่อนท่ีจะทาการเกบ็ ข้อมูล 6.1.3 ไมใ่ ห้ผ้เู ข้ารว่ มโครงการวจิ ัยระบุชื่อตนเองในแบบสอบถาม 6.1.4 เปิดโอกาสให้นักเรียนท่ีเข้าโครงการวิจัยบอกยกเลิกการให้ข้อมูลได้ทุกช่วงเวลาของการเก็บขอ้ มูล 6.2 ผู้วิจัยยึดการให้ประโยชน์สูงสุด และคุกคามหรือทาอันตรายต่อผู้ให้ข้อมูลน้อยท่ีสดุ โดยดาเนินการดังนี้ 6.2.1 เขียนหลักการและเหตุผลที่ต้องทาวิจัย การออกแบบการวิจัย ให้ถูกต้องสอดคล้องกบั วิธีการไดม้ าซ่งึ การตอบคาถามการวิจัย 6.2.2 นักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยทุกคนจะได้รับความรู้เกี่ยวกับการด่ืมเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอลท์ ปี่ ลอดภัย และของท่รี ะลึกมลู คา่ 40 บาท/ชิ้น/คน จากผวู้ ิจัยเป็นการตอบแทน 6.2.3 เก็บข้อมูลโดยไม่ให้นักเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการวิจัยระบุช่ือท่ีอยู่ ซึ่งทาให้นักเรียนไม่ต้องกังวล หรือเครยี ดการจากระบุถงึ ประเด็นของการเปน็ ผูด้ ่ืมเครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 6.2.4 เปิดโอกาสให้นักเรียนท่ีร่วมโครงการวิจัยตอบแบบสอบถามโดยไม่ชี้นาและผู้วจิ ยั ยินดตี อบคาถามหรือช้ีแจงหากนักเรยี นมขี อ้ สงสัยเพ่อื ใหก้ ารคดิ และตัดสินใจของนักเรียนมคี วามกระจา่ งมากขึ้น 6.2.5 ขอ้ มูลทไี่ ดผ้ ู้วจิ ยั นามาวิเคราะห์โดยไม่ระบุชื่อและสถานที่อยู่ของนักเรียนนักเรียนจึงไม่ถกู คุกคามความเป็นสว่ นตวั ความเช่ือ และทัศนคติ 6.3 ผู้วิจัยยดึ หลกั ความยุติธรรม โดยดาเนนิ การดังนี้ 6.3.1 ดว้ ยการศกึ ษานี้เปน็ การวิจยั เชิงปรมิ าณ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งควบคมุ ขั้นตอนมิให้เกิดความลาเอียงในทุกข้ันตอนของการเก็บข้อมูล การเลือกตัวอย่างเป็นไปตามเกณฑ์ของการคัดเลือก

113และใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย ซ่ึงเป็นการเลือกตัวอย่างแบบใช้ความน่าจะเป็น หน่วยตัวอย่างแต่ละหน่วยมโี อกาสเทา่ กนั ในการไดร้ บั เลือก ดังน้นั จึงไมม่ กี ารแบง่ แยกหรือเหยียดฐานะ และเชื้อชาติ 6.3.2 เพอ่ื ไมเ่ ปน็ การเอาเปรยี บนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการวิจัย การเก็บข้อมูลจึงกระทาหลังผ่านกระบวนการพิจารณาเชิงจริยธรรมของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ผู้วิจัยพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่างเพ่ือป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับกลุ่มตัวอย่างโดยได้ดาเนินการขอรับการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จากคณะกรรมการจริยธรรมการวจิ ยั ในมนษุ ยม์ หาวิทยาลัยขอนแก่น ใบอนญุ าตเลขที่ HE532068 (ภาคผนวก จ)7. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู หลังจากผ่านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นแล้ว ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลดงั นี้ 7.1 ขอความอนุเคราะห์การเก็บขอ้ มลู วจิ ัยจากสถาบันการศึกษาที่เลือก ได้แก่ วิทยาลัยท่ี 1, 2, 5, 6 และ 7 โดยทาหนังสือขอความอนุเคราะห์จากคณะพยาบาลศาสตร์ไปยังผู้อานายการและผู้วิจัยพบผู้บริหารสถาบันการศึกษาท่ีจะเก็บข้อมูลชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีการเก็บขอ้ มลู และการพทิ กั ษ์สิทธิของผ้ใู ห้ขอ้ มลู 7.2 เม่ือได้รับอนุญาตจากผู้บริหารสถานศึกษาที่จะไปเก็บข้อมูลแล้ว ผู้วิจัยประสานกับอาจารย์ท่ีรับผิดชอบทางด้านการวิจัยและอาจารย์แต่ละสาขาที่จะเข้าไปเก็บข้อมูล เพื่อขอรหัสและรายช่ือนักเรียน อายุ 15-19 ปี ที่นามาสุ่มอย่างง่ายตามจานวนท่ีได้คานวณไว้ข้างต้นแล้วประสานขอพบกลุ่มตัวอย่างน้ีเพ่ือติดต่อเป็นอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย ผู้วิจัยช้ีแจงวัตถุประสงค์การวิจัย วิธีการเก็บข้อมูล และประโยชน์ท่ีจะได้รับ พร้อมแจกเอกสารคาชี้แจงและใบยนิ ยอมใหน้ กั เรียนตอบแบบสอบถามสาหรับผู้ปกครองซึ่งบรรจุอยู่ในซอง และเอกสารคาช้ีแจงแ ล ะ ใ บ ยิ น ย อ ม เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ส า ห รั บ อ า ส า ส มั ค ร แ ก่ นั ก เ รี ย น ที่ อ า ส า ส มั ค ร เ ข้ า ร่ ว มโครงการวิจัย เปิดโอกาสให้นักเรียนอ่านคาชี้แจงและพิจารณาตัดสินใจ และนาซองเอกสารคาช้ีแจงและใบยินยอมสาหรับผู้ปกครองไปให้ผู้ปกครองอ่านและพิจารณาลงนามเป็นหลักฐานประกอบการตดั สนิ ใจของนักเรยี น จากน้ันนัดวนั เวลา และสถานท่เี พอ่ื ทาการเก็บขอ้ มลู 7.3 ผู้วิจัยพร้อมผู้ช่วยวิจัย 2 คน ท่ีผ่านการช้ีแจงและทาความเข้าใจวัตถุประสงค์การวิจัย ข้ันตอนการเก็บข้อมูล และเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยแล้ว พบนักเรียนที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ ในหอ้ งเรยี น ครัง้ ละ 30-40 คนผชู้ ว่ ยวิจยั แจกและชี้แจงรายละเอียดของแบบสอบถาม และวิธีการตอบ เปิดโอกาสให้นักเรียนตอบแบบสอบถามโดยไม่รบกวน หากนักเรียนมีข้อสงสัยเร่ือง

114การตอบแบบสอบถามผู้ช่วยวิจัยและผู้วิจัยพร้อมท่ีจะให้ข้อมูลเพื่อความกระจ่าง ในการทาแบบสอบถามนี้นักเรียน 1 คน ใช้เวลาในการตอบ 1 ชั่วโมง 30 นาที ถึง 2 ช่ัวโมง ผู้วิจัยเป็นผู้รับแบบสอบถามคืน ตรวจสอบความครบถ้วนของการตอบ แจกใบความรู้เรื่องการด่ืมในระดับท่ีปลอดภัย และของที่ระลึกแก่นักเรียนทุกคนท่ีสมัครเข้าร่วมโครงการ กรณีนักเรียนท่ีสุ่มได้และไม่ยินยอมเข้าร่วมโครงการ ผู้วิจัยสุ่มรายชื่อข้ึนมาใหม่เพ่ือให้ครบตามจานวน แล้วประสานขอพบนกั เรยี นใหม่ และดาเนนิ การตามขอ้ 7.2 และ 7.3 7.4 ผูว้ ิจยั เกบ็ ข้อมลู ทั้ง 4 สถาบนั การศึกษา โดยใช้เวลา 16 อาทติ ย์ 7.5 ผู้วิจยั นาข้อมูลที่ได้มาบนั ทกึ และวเิ คราะห์ ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป8. การประมวลผลข้อมลู 8.1 ผวู้ จิ ัยสรา้ งคมู่ อื ลงรหสั ตามตัวแปรและการวัดตัวแปร 8.2 ตรวจสอบความครบถ้วนของจานวนแบบสอบถามและการตอบอีกครั้งก่อนจะลงบนั ทกึ รหสั ผ้วู จิ ยั พบว่าแบบสอบถามท่มี ีความครบถว้ นพรอ้ มลงรหัส มจี านวน 1,149 ชดุ 8.3 นาแบบสอบถามมาลงรหัสตามคู่มือลงรหัสท่ีผู้วิจัยได้จัดทาไว้ และบันทึกข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม SPSS มีการตรวจสอบข้อมูลด้วยผู้บนทึก 1 ครั้ง และโปรแกรมตรวจสอบ 1 ครั้ง หากมีความผิดพลาดเกิดข้ึนผู้วิจัยตรวจสอบความถูกต้องจากแบบสอบถามแล้วแก้ไขข้อมลู ทน่ี าเขา้ เครื่องคอมพิวเตอร์ใหต้ รงกับแบบสอบถาม 8.2 ผู้วิจัยตรวจสอบรหัสว่ามีรหัสที่นอกเหนือจากท่ีควรมีหรือไม่ รวมถึงความสอดคล้องของข้อมูลระหว่างตวั แปร หากพบข้อผดิ พลาดทาการแก้ไขทนั ที9. การวเิ คราะห์ข้อมลู การวจิ ัยนีว้ ิเคราะห์ขอ้ มูลดว้ ยโปรแกรม SPSS และใช้สถติ วิ เิ คราะห์ดังนี้ 9.1 ใช้สถิติพรรณนาวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือพรรณนาข้อมูลท่ัวไป ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล ปัจจัยจากบริบททางสังคม ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และพฤติกรรมอื่นท่ีเก่ียวข้อง โดยกรณีข้อมูลต่อเน่ืองท่ีมีการแจกแจงแบบปกติวิเคราะห์ด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ข้อมูลที่มีการแจกแจงไม่ปกติวิเคราะห์ด้วยค่ามัธยฐานและค่าพิสัย ส่วนข้อมูลกลุ่มวเิ คราะห์ด้วยความถีแ่ ละร้อยละ 9.2 การวิเคราะหอ์ ิทธพิ ลของปัจจัยจากภายในตัวบุคคลที่มีต่อการดื่มแบบผิดปกติของกลมุ่ ตวั อยา่ งชาย และหญงิ ดาเนินการดงั น้ี

115 9.2.1 กลุ่มตัวอย่างชาย เน่ืองด้วยตัวแปรตามเป็นตัวแปรกลุ่มแบบอันดับสเกล3 อันดับ จึงใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ (Ordinal logistic regression) ในการวเิ คราะห์ มขี ้ันตอนดังน้ี 9.2.1.1 วิเคราะห์เบ้ืองต้นและวิเคราะห์อย่างหยาบ (Crude analysis)เพ่ือตรวจสอบค่าคาดหมาย (Expected values) ในช่องข้อมูลตามกฎรูลออฟธัมบ์ (Garson, 2010)ที่กล่าวว่าต้องไม่มีช่องข้อมูลใดให้ค่าคาดหมาย (Expected values) น้อยกว่า 1 ผู้วิจัยนาข้อมูลจานวนกล่มุ ตวั อยา่ งชายทแี่ ยกตามระดับการด่ืมและตวั แปรทานายในกลุ่มปัจจัยจากภายในตัวบุคคลแต่ละตัวแจกแจงดว้ ยตารางแสดงความถี่แบบจาแนก 2 ทาง ผลการตรวจสอบพบว่าไม่มีช่องข้อมูลใดมคี า่ คาดหมายน้อยกว่า 1 จากน้ันผวู้ ิจัยวิเคราะห์อย่างหยาบเพ่ือพิจารณาความสัมพันธ์อย่างหยาบโดยไม่คานึงถึงอิทธิพลของตัวแปรอ่ืนๆ ผลท่ีได้คือค่าออดด์ เรโช (Odds ratio) อย่างหยาบในการนามาใชใ้ นการคดั กรองตัวแปรไวใ้ นโมเดล 9.2.1.2 กาหนดโมเดลเริ่มต้น (Initial model) คือ โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกับตัวแปรทานายจากกลุ่มปัจจัยภายในตัวบุคคล จานวน 5 ตัวแปร (X1, X2, X3,X4, X5) 9.2.1.3 ตรวจสอบข้อตกลงเบ้ืองต้น (Assumption) ของการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกเชิงอันดับ ซึ่งก็คือการตรวจสอบข้อตกลงเบ้ืองต้นพรอพอร์ชั่นนอล ออดด์(Proportional odds assumption) หรือ การถดถอยเชิงขนาน (Parallel regression assumption)การตรวจสอบนี้เป็นการตรวจสอบค่าสัมประสิทธ์ิ (Coefficient) ของความสัมพันธ์ถดถอยระหว่างตัวแปรทานายกับแต่ละกลุ่มของตัวแปรตามว่า มีค่าเท่ากันหรือไม่ ผลการตรวจสอบพบว่า โมเดลเริ่มต้นในข้อ 9.2.1.2 มีค่าสัมประสิทธ์ิความสัมพันธ์ถดถอยระหว่างตัวแปรทานายกับแต่ละกลุ่มของตัวแปรตามไม่เท่ากัน ซึ่งไม่เป็นไปตามข้อตกลงเบ้ืองต้น ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจสิ ติกแบบหลายกล่มุ (Multinomial logistic regression) 9.2.1.4 วิเคราะห์หาโมเดลที่ดีท่ีสุด โดยใช้วิธีการคัดเลือกตัวแปรตามกรอบทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก นาตัวแปรการแสวงหาความท้าทาย (X1) เข้าสู่การวิเคราะห์ก่อนแล้วนาตวั แปรความกังวลในการเข้าสังคม (X2) เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์เป็นลาดับต่อมา แล้วจึงนาความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม (X3) และการควบคุมการดื่ม (X4) เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ นาสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ (X5) เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์เป็นลาดับสุดท้ายในแต่ละขั้นที่นาตัวแปรเข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ผู้วิจัยพิจารณาการทดสอบวอลด์ (Wald test) และค่าพีท่ีมากกว่า 0.05 (p value > 0.05) ของตัวแปรน้ัน ตัวแปรท่ีมีค่าพีมากกว่า 0.05 ผู้วิจัยนาตัวแปรน้ันออกจากสมการ ค่าพีของตัวแปรน้อยกว่า 0.05 คงตัวแปรไว้ในสมการ นอกจากนี้พิจารณาค่า

116ความแตกต่างของพาเชียลไลลิฮูดร่วมด้วย ด้วยการทดสอบไลลิฮูด เรโช (likelihood ratio test)ระหว่างโมเดลท่ีมีตัวแปรกับไม่มีตัวแปร ตัวแปรท่ีคงไว้ในโมเดล เป็นตัวแปรที่อยู่ในโมเดลแล้วทดสอบอัตราไลลิฮูดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 โมเดลสุดท้ายท่ีได้ถือว่าเป็นโมเดลท่ีดีท่ีสุดในการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแ ปรทานายในกลุ่มอิทธิพลจากภายในตัวบุคคลกับระดบั การดมื่ เครื่องด่มื แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ 9.2.1.5 ประเมินความเหมาะสมของโมเดล (Goodness of fit test) โดยพิจารณาจากสถิติหลายตัวร่วมกัน ได้แก่ -2 ล็อคไลลิฮูด (-2 Log Likelihood) ค่าสถิติดีเวียนซ์(Deviance statistics) ค่าเอไอซี (Akaike information criterion: AIC) และ ค่าบีไอซี (Baysianinformation criterion:BIC) ผลการวิเคราะห์ท่ีได้ คือ โมเดลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทานายกบั ระดับการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ ค่าออดด์ เรโช และช่วงความเช่ือมั่นท่ี 95% ของค่าออดด์ เรโช ซงึ่ เปน็ ขนาดอิทธพิ ลของความสัมพันธท์ ่ีไดค้ านึงถงึ ตัวแปรอ่ืนๆแล้ว 9.2.2 กลุ่มตัวอย่างหญิง เนื่องด้วยตัวแปรตามเป็นตัวแปรกลุ่มแบบอันดับสเกล2 อันดับ จึงใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่ม (Binary logistic regression) ในการวิเคราะห์ มีขน้ั ตอนประกอบดว้ ย 9.2.2.1 การวิเคราะห์เบ้ืองต้น และการวิเคราะห์อย่างหยาบดาเนินการดังเช่นขอ้ 9.2.1.1 แต่วิเคราะห์อยา่ งหยาบดว้ ยการวเิ คราะหก์ ารถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่ม 9.2.2.2 การกาหนดโมเดลเบื้องต้น คือ โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตวั แปรตามกับตัวแปรทานายจากกลมุ่ ปัจจยั ภายในตัวบุคคล จานวน 5 ตัวแปร (X1, X2, X3, X4, X5) 9.2.2.3 การวิเคราะห์หาโมเดลท่ีดที ี่สุด ดาเนนิ การเช่นเดียวกับข้อ 9.2.1.4ของกลุ่มตัวอย่างชาย ยกเว้นการพิจารณาค่าความแตกต่างของพาเชียลไลลิฮูด จากการทดสอบไลลิฮูด เรโช (likelihood ratio test) 9.2.2.4 ประเมนิ ความเหมาะสมของโมเดล โดยพิจารณาจากการทดสอบโอมนบิ ัส (Omnibus Tests) และการทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์ (Hosmer and Lemeshow Test) ผลการวเิ คราะหท์ ่ีได้ คอื โมเดลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทานายกบั ระดบั การดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ ค่าออดด์ เรโช และช่วงความเชื่อมั่นที่ 95% ของออดด์ เรโช ซ่งึ เป็นขนาดอิทธพิ ลของความสัมพันธท์ ่ีได้คานงึ ถึงตวั แปรอน่ื ๆแล้ว 9.3 การวิเคราะห์อิทธพิ ลของปัจจยั จากบรบิ ททางสงั คมทม่ี ีต่อการดื่มแบบผิดปกติของกลุ่มตวั อย่างชาย และหญิง ดาเนนิ การดังนี้

117 9.3.1 กลุ่มตัวอย่างชาย เน่ืองด้วยตัวแปรตามเป็นตัวแปรกลุ่มแบบอันดับสเกล3 อนั ดบั จึงใชก้ ารวเิ คราะหก์ ารถดถอยโลจสิ ตกิ แบบลาดบั ในการวเิ คราะห์ มขี ั้นตอนดังนี้ 9.3.1.1 วิเคราะห์เบื้องต้นและวิเคราะห์อย่างหยาบ เพ่ือตรวจสอบค่าคาดหมาย ในชอ่ งข้อมลู ตามกฎรูลออฟธมั บ์ ผวู้ จิ ยั ดาเนนิ การตามข้อ 9.2.1.1 ผลการตรวจสอบพบว่าไม่มีช่องข้อมูลใดมีค่าคาดหมายน้อยกว่า 1 จากน้ันผู้วิจัยวิเคราะห์อย่างหยาบเพ่ือพิจารณาความสัมพันธ์อย่างหยาบโดยไม่คานึงถึงอิทธิพลของตัวแปรอ่ืนๆ ผลท่ีได้คือค่าออดด์ เรโช อย่างหยาบในการนามาใช้ในการคดั กรองตวั แปรไว้ในโมเดล 9.3.1.2 กาหนดโมเดลเริ่มต้น คือ โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกับตัวแปรทานายจากกลมุ่ ปจั จยั บริบททางสังคม จานวน 3 ตวั แปร (X6, X7, X8) 9.3.1.3 ตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ คือ การตรวจสอบการถดถอยเชิงขนานผลการตรวจสอบพบว่า โมเดลเริม่ ตน้ ในข้อ 9.3.1.2 มีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ถดถอยระหว่างตัวแปรทานายกับแต่ละกลุ่มของตัวแปรตามเท่ากัน เป็นไปตามข้อตกลงเบ้ืองต้น ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดบั ตอ่ ไป 9.3.1.4 วิเคราะห์หาโมเดลที่ดีที่สุด โดยใช้วิธีการคัดเลือกตัวแปรตามกรอบทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก นาตัวแปรการมีเพื่อนด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (X6) และ การด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัว (X7) เข้าสู่การวิเคราะห์ก่อน แล้วนาตัวแปรบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ (X8) เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์เป็นลาดับสุดท้ายในแต่ละขั้นที่นาตัวแปรเข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ผู้วิจัยพิจารณาค่าสถิติทดสอบวอลด์ (Wald test)และค่าพีท่ีมากกว่า 0.05 (p value > 0.05) ของตัวแปรน้ัน แปรท่ีมีค่าพีมากกว่า 0.05 นาตัวแปรน้ันออกจากสมการ ตัวแปรที่มีค่าพีน้อยกว่า 0.05 ให้คงไว้ในสมการ โมเดลสุดท้ายที่ได้ถือว่าเป็นโมเดลที่ดีที่สุดในการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทานายในกลุ่มอิทธิพลจากบริบททางสงั คมกับระดับการดื่มเครือ่ งด่มื แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติ 9.3.1.5 ประเมินความเหมาะสมของโมเดล โดยพิจารณาจากสถิติ -2ลอ็ คไลลิฮดู รว่ มกับ คา่ สถิติดเี วยี นซ์ ผลการวิเคราะห์ที่ได้ คือ โมเดลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทานายกับระดับการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ ค่าออดด์ เรโช และช่วงความเช่ือม่ันท่ี95% ของออดด์ เรโช ซงึ่ เป็นขนาดอทิ ธิพลของความสมั พันธท์ ีไ่ ด้คานงึ ถงึ ตวั แปรอนื่ ๆแลว้ 9.3.2 กลุ่มตัวอย่างหญิง เนื่องจากตัวแปรตามเป็นตัวแปรกลุ่มแบบอันดับสเกล2 อันดบั จงึ ใชก้ ารวเิ คราะหก์ ารถดถอยโลจสิ ติกแบบสองกลมุ่ ในการวเิ คราะห์ มีข้ันตอนประกอบด้วย

118 9.3.2.1 การวิเคราะห์เบื้องต้น และการวิเคราะห์อย่างหยาบดาเนินการดังเชน่ ข้อ 9.2.1.1 9.3.2.2 การกาหนดโมเดลเบ้ืองต้น คือ โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกับตวั แปรทานายจากกลมุ่ ปัจจัยบรบิ ททางสังคม จานวน 3 ตัวแปร (X6, X7, X8) 9.3.2.3 การวิเคราะหห์ าโมเดลทีด่ ีทส่ี ดุ ดาเนินการเหมอื นขอ้ 9.3.1.4 9.3.2.4 ประเมินความเหมาะสมของโมเดล ดาเนนิ การเหมอื นข้อ 9.2.2.4 ผลการวิเคราะห์ที่ได้ คือ โมเดลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทานายกับระดบั การดม่ื เครื่องด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติ คา่ ออดด์ เรโช และชว่ งความเช่ือมัน่ 9.4 การวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมท่ีมีต่อการด่ืมแบบผิดปกตขิ องกลุ่มตัวอยา่ งชาย และหญงิ ดาเนนิ การดงั น้ี 9.4.1 กลุ่มตัวอย่างชาย เน่ืองด้วยตัวแปรตามเป็นตัวแปรกลุ่มแบบอันดับสเกล 3อนั ดบั จึงใช้ การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดบั ในการวเิ คราะห์ มขี ัน้ ตอนดงั น้ี 9.4.1.1 วิเคราะห์เบื้องต้นและวิเคราะห์อย่างหยาบ ดาเนินการเช่นเดียวกับข้อ 9.2.1.1 ผลการตรวจสอบพบว่าไม่มีช่องข้อมูลใดมีค่าคาดหมายน้อยกว่า 1 จากน้ันผู้วิจยั วเิ คราะหอ์ ยา่ งหยาบเพ่ือพิจารณาความสัมพันธ์อย่างหยาบโดยไม่คานึงถึงอิทธิพลของตัวแปรอนื่ ๆ ผลท่ีไดค้ ือค่าออดด์ เรโช อย่างหยาบในการนามาใช้ในการคดั กรองตวั แปรไว้ในโมเดล 9.4.1.2 กาหนดโมเดลเริ่มต้น คือ โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกบั ตัวแปรทานายจากกลุ่มปจั จยั สงิ่ แวดล้อมทางวัฒนธรรม จานวน 6 ตัวแปร (X9, X10, X11, X12,X13, X14) 9.4.1.3 ตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสตกิ แบบลาดับ คอื การตรวจสอบการถดถอยเชิงขนานผลการตรวจสอบพบว่า โมเดลเริ่มต้นในข้อ9.4.1.2 มีค่าสัมประสิทธ์ิความสัมพันธ์ถดถอยระหว่างตัวแปรทานายกับแต่ละกลุ่มของตัวแปรตามเท่ากัน เป็นไปตามข้อตกลงเบ้ืองต้น ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดบั ต่อไป 9.4.1.4 วิเคราะห์หาโมเดลที่ดีที่สุด โดยใช้วิธีการคัดเลือกตัวแปรตามกรอบทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก นาตัวแปรการร่วมกิจกรรมทางศาสนา (X9) เข้าสู่การวิเคราะห์ก่อนแล้วนาตัวแปรความรู้ด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (X10) และ ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ (X11) เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ จากน้ันนาการคาดหวังผลในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางที่ดี (X12) และ การประเมินค่าผลจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (X13) เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์เป็นลาดับถัดมา นาตัวแปรทัศนคติต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้าสู่โมเดล

119(X14) เป็นลาดับสุดท้าย ในแต่ละข้ันที่นาตัวแปรเข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ผู้วิจัยพิจารณาค่าสถิติทดสอบวอลด์ (Wald test) และคา่ พที ่ีมากกว่า 0.05 (p value > 0.05) ของตัวแปรนั้น ตัวแปรท่ีมีค่าพีมากกว่า 0.05 นาตัวแปรนั้นออกจากสมการ ตัวแปรท่ีมีค่าพีน้อยกว่า 0.05 คงไว้ในสมการ โมเดลสุดท้ายท่ีได้ถือว่าเป็นโมเดลที่ดีที่สุดในการอธิบายความสัมพันธ์ร ะหว่างตัวแปรทานายในกลุ่มอทิ ธพิ ลจากสง่ิ แวดลอ้ มทางวัฒนธรรมกับระดบั การดืม่ เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติ 9.4.1.5 ประเมินความเหมาะสมของโมเดล ดาเนินการเช่นเดียวกับข้อ9.3.1.5 ผลการวิเคราะห์ท่ีได้ คือ โมเดลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทานายกับระดับการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ ค่าออดด์ เรโช และช่วงความเช่ือม่ันที่95% ของออดด์ เรโช ซ่ึงเปน็ ขนาดอิทธพิ ลของความสัมพนั ธท์ ่ไี ดค้ านงึ ถึงตวั แปรอนื่ ๆแลว้ 9.4.2 กลุ่มตัวอย่างหญิง ใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มในการวเิ คราะห์ เนือ่ งจากตัวแปรตามเป็นตัวแปรกลุ่มแบบอันดับสเกล 2 อันดับ ขั้นตอนประกอบด้วยการวิเคราะหเ์ บอื้ งตน้ และการวิเคราะห์อยา่ งหยาบ ดาเนินการตามข้อ 9.3.2.1 การวิเคราะห์หาโมเดลท่ีดีที่สุด ดาเนินการตามข้อ 9.4.1.4 และการประเมินความเหมาะสมของโมเดล ดาเนินการเช่นเดียวกับข้อ 9.3.2.4 การกาหนดโมเดลเบ้ืองต้น กาหนดเป็น โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกบั ตวั แปรทานายจากกล่มุ ปจั จัยสิง่ แวดลอ้ มทางวฒั นธรรม จานวน 6 ตัวแปร (X9, X10, X11,X12, X13, X14) ผลการวิเคราะห์ที่ได้ คือ โมเดลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทานายกับระดับการด่มื เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ ค่าออดด์ เรโช และชว่ งความเชอ่ื มน่ั 9.5 การวิเคราะห์อิทธิพลของพฤติกรรมอ่ืนท่ีเก่ียวข้องซ่ึงก็คือการสูบบุหรี่ท่ีมีต่อการดม่ื แบบผิดปกติของกลุ่มตัวอย่างชาย และหญิง ดาเนินการดงั นี้ 9.5.1 กลุ่มตัวอย่างชาย ใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ ในการวเิ คราะห์ เนอื่ งจากตวั แปรตามเป็นตวั แปรกล่มุ แบบอนั ดบั สเกล 3 อันดับ มีขนั้ ตอนดังนี้ 9.5.1.1 วิเคราะห์เบื้องต้นดาเนินการเช่นเดียวกับข้อ 9.2.1.1 ผลการตรวจสอบพบวา่ ไมม่ ชี ่องข้อมูลใดมคี ่าคาดหมายน้อยกวา่ 1 9.5.1.2 ตรวจสอบข้อตกลงเบ้ืองต้นของการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ คือ การตรวจสอบการถดถอยเชิงขนานผลการตรวจสอบพบว่า โมเดลเริ่มต้นในข้อ 9.5.1.2 มีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ถดถอยระหว่างตัวแปรทานายกับแต่ละกลุ่มของตัวแปรตามเท่ากัน เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจสิ ติกแบบลาดบั ตอ่ ไป

120 9.5.1.3 ผู้วิจัยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ 9.5.1.4 ประเมินความเหมาะสมของโมเดล ดาเนินการเช่นเดียวกับข้อ9.3.1.5 ผลการวิเคราะห์ที่ได้ คือ โมเดลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทานายกับระดับการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ ค่าออดด์ เรโช และช่วงความเช่ือมั่นที่95% ของออดด์ เรโช ซ่ึงเปน็ ขนาดอิทธพิ ลของความสมั พนั ธ์ 9.5.2 กลุ่มตัวอย่างหญิง ใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มในการวเิ คราะห์ เน่อื งจากตวั แปรตามเป็นตัวแปรกลุ่มแบบอันดับสเกล 2 อันดับ ขั้นตอนประกอบด้วยการวิเคราะห์เบ้ืองต้น ดาเนินการเช่นเดียวกับข้อ 9.3.2.1 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ และการประเมินความเหมาะสมของโมเดลดาเนินการตามข้อ 9.3.2.4 ยกเว้นการกาหนดโมเดล กาหนดเป็นโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกับตัวแปรทานายจากกลุ่มปัจจัยพฤติกรรมอ่ืนท่ีเก่ียวข้องซึ่งเป็นการสูบบุหร่ี จานวน 1 ตัวแปร (X15) ผลการวิเคราะห์ท่ีได้ คือ โมเดลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบหุ ร่กี บั ระดบั การดมื่ เคร่ืองด่มื แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติ ค่าออดด์ เรโช และช่วงความเชอื่ มน่ั การศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบตัดขวางน้ีได้ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถาม (11 ชุด)ของนักเรียนสายอาชีพหญิงและชาย อายุ 15-19 ปี จากสถาบันการศึกษาท่ีสอนทางด้านสายอาชีพสังกดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารของจังหวัดขอนแก่น 5 สถาบัน จานวน 1,149 คน เป็นชาย 409 คน และหญิง 740 คน ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติดังที่กล่าวในข้างต้นจะนาเสนอต่อไปในบทที่ 4

บทที่ 4 ผลการวจิ ยั การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นชายและหญงิ ในจงั หวัดขอนแก่นน้ีไดต้ รวจสอบอิทธิพลและขนาดอิทธิพลของปัจจัยต้ังต้น 15 ปัจจัย ท่ีมีต่อการดื่ มเครื่ องดื่ มแอล กอฮอล์แบ บผิดป กติใ นกลุ่ม นักเรียนส ายอา ชีพช า ยแล ะหญิ งในจังหวั ดขอนแก่น จานวน 1,149 คน ผู้วิจัยขอนาเสนอผลการวิจัยใน 2 ส่วน คือ ผลจากการพรรณนาข้อมูลทั่วไป การด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การดื่มแบบผิดปกติ ลักษณะของปัจจัยจากภายในตัวบุคคลปัจจัยจากบริบททางสังคม ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมและพฤติกรรมอ่ืนที่เกี่ยวข้อง และผลจากการวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยตั้งต้นที่มีต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรนุ่ ชาย และหญงิ ดงั นี้1. ขอ้ มลู ทั่วไป กล่มุ ตวั อยา่ งเปน็ นกั เรยี นสายอาชีพชาย 409 คน และหญงิ 740 คน มีอายุระหวา่ ง 15 - 19 ปีกลมุ่ ตวั อย่างชายมอี ายเุ ฉลีย่ 17 ปี (SD = 1.0) ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 36.2 มีอายุ 17 ปี รองลงมาคือร้อยละ27.9 และ 24.7 อายุ 16 และ 18 ปี ตามลาดับ กลุ่มตัวอย่างหญิงมีอายุเฉล่ีย 16.9 ปี (SD = 1.0)ส่วนใหญร่ อ้ ยละ 32 อายุ 16 ปี รองลงมาคือร้อยละ 31.4 และ 25.9 อายุ 17 และ 18 ปี ตามลาดบั กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเรียนอยู่ในช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปี 1 - 3 และประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ปี 1 - 2 ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนในชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 ท้ังชายและหญิง คือร้อยละ 42.6 และ 36.6 ตามลาดบั เกอื บร้อยละ 100 นับถือศาสนาพทุ ธ รายละเอยี ดดังตารางที่ 15

122ตารางท่ี 15 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของนักเรยี นสายอาชีพชายและหญงิ จานวน 1,149 คน ข้อมูลทวั่ ไป เพศชาย เพศหญงิ จานวน(คน) ร้อยละ จานวน(คน) ร้อยละอายุ (ป)ี15 18 4.4 35 4.716 114 27.9 237 32.017 148 36.2 232 31.418 101 24.7 192 25.919 28 6.8 44 6.0รวม 409 100 740 100ค่าเฉลยี่ (สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน) 17.0 ปี (1.0) 16.9 ปี (1.0)มัธยฐาน (ค่าต่าสุด-คา่ สูงสุด) 17.0 ปี (15, 19) 17.0 ปี (15,19)ช้ันปีปวช.1* 120 29.3 237 32.0ปวช.2 174 42.6 271 36.6ปวช.3 106 25.9 228 30.8ปวส.1-2** 9 2.2 4 0.6รวม 409 100 740 100ศาสนาพุทธ 406 99.3 730 98.6คริสต์ 3 0.7 8 1.1อิสลาม 00 2 0.3รวม 409 100 740 100* ปวช. คอื ประกาศนียบตั รวชิ าชพี**ปวส. คือ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชัน้ สูง2. การด่มื เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ และการดม่ื แบบผดิ ปกติ กลุ่มตวั อยา่ งท้งั หญิงและชายมีการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์และการดื่มแบบผิดปกติโดยใช้คะแนนจากแบบคดั กรองภาวะผดิ ปกตจิ ากการดมื่ สรุ าเปน็ ตัวชี้วดั ดังตารางท่ี 16

123ตารางที่ 16 การด่มื เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ของนกั เรียนสายอาชพี แยกชาย และหญิงการดมื่ เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ เพศชาย เพศหญิง จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) รอ้ ยละคะแนนแบบคดั กรองภาวะผิดปกตจิ ากการดืม่ สุรา 4.7 (5.5) 3.0 (0, 33)คา่ เฉล่ีย (สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน) 9.5 (8.1) 257 34.7มัธยฐาน (คา่ ต่าสุด-ค่าสงู สดุ ) 9.0 (0, 35) 483 65.3 740 100การดม่ื เครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ 545 73.6ไม่เคยดม่ื เลย (AUDIT score=0) 76 18.6 153 20.7 30 4.1เคยด่มื (AUDIT score>0) 333 81.4 12 1.6 740 100รวม 409 100ระดับการด่ืมเคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ*ดม่ื แบบเสี่ยงนอ้ ย (AUDIT score = 0 - 7) 186 45.4ด่มื แบบเส่ยี ง (AUDIT score = 8 - 15) 134 32.8ดืม่ แบบอนั ตราย (AUDIT score = 16 - 19) 42 10.3ด่มื แบบติดสุรา (AUDIT score >19) 47 11.5รวม 409 100* จัดระดับการดื่มโดยใช้เกณฑข์ องบาเบอร์และคณะ (Babor et al, 2001) กลุ่มตัวอย่างชายมีคะแนนจากแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุรารวมเฉล่ียเท่ากับ 9.5(SD = 8.1) ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.4 เป็นผู้ที่เคยดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มาก่อน (AUDIT score > 0)มีการดื่มแบบเส่ียงน้อย (AUDIT score = 0 - 7) ไม่ถึงครึ่ง คือร้อยละ 45.4 มีการด่ืมแบบผิดปกติร้อยละ 54.6 (AUDIT score > 7) กลมุ่ ตัวอย่างหญิงมีคะแนนจากแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุรารวมเฉล่ียเท่ากับ 4.7 (SD = 5.5) เป็นผู้ท่ีเคยดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก่อนร้อยละ 65.3สว่ นใหญม่ ีการดื่มแบบเสี่ยงน้อยคอื รอ้ ยละ 73.6 มกี ารดม่ื แบบผดิ ปกติร้อยละ 26.4 (AUDIT score >7) จะเห็นไดว้ า่ กลมุ่ ตัวอย่างชายมีคะแนนจากแบบคดั กรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุราเฉล่ียสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิง ขณะที่กลุ่มตัวอย่างทั้งชายและหญิงมากกว่าคร่ึงเคยด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มาก่อนกลุ่มตัวอย่างชายมีสัดส่วนของการด่ืมแบบผิดปกติมากกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิง และในทางกลับกันกลมุ่ ตัวอยา่ งหญงิ มีสัดส่วนของการดม่ื แบบเสยี่ งน้อยมากกว่ากลุ่มตัวอยา่ งชาย

1243. ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล ปัจจัยจากบริบททางสังคม ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทาง วฒั นธรรมและพฤติกรรมอื่นทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ปัจจัยที่ผู้วิจัยคาดว่าจะมีความสัมพันธ์กับการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวยั รุ่นในจงั หวดั ขอนแกน่ มลี ักษณะดังนี้ 3.1 ปัจจัยจากภายในตัวบคุ คล ปัจจัยจากภายในตัวบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง 1,149 คน ที่นามาศึกษาประกอบด้วยการแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคม ความโน้มเอียงท่ีจะด่ืม ระดับการควบคุมการดื่มและสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผู้วิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างชายมีคะแนนบุคลิกภาพแบบแสวงหาความท้าทายรวมเฉล่ียเท่ากับ 17.8 (SD = 3.5; ค่ามัธยฐานเท่ากับ18.0) คะแนนความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมรวมเฉลี่ยเท่ากับ25.3 (SD = 12.4; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 25.0) คะแนนความโน้มเอียงท่ีจะดื่มรวมเฉล่ียเท่ากับ 22.2 (SD = 8.2; ค่ามัธยฐานเท่ากับ22.0) คะแนนการควบคุมการด่ืมรวมเฉล่ียเท่ากับ 16.7 (SD = 6.4; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 17.0) และมีคะแนนสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์รวมเฉล่ียเท่ากับ 86.4(SD = 19.4; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 86.0) เม่ือนาคะแนนมาจัดกลุ่มด้วยค่ากลางคือค่ามัธยฐาน พบว่านักเรียนชาย ร้อยละ 39.4 มีการแสวงหาความท้าทายสูง ร้อยละ 47.4 มีความกังวลในการเข้าสังคมสูง ร้อยละ 47.2 มีความโน้มเอียงท่ีจะด่ืมสูง ร้อยละ 48.2 มีความพยายามควบคุมการดื่มของตนเองสูง ร้อยละ 50.1 มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่า(ตารางที่ 17) กลุ่ม ตัว อย่ างห ญิง มีค ะแน นบุ คลิ กภา พแ บบ แส ว งห าค วาม ท้า ทา ย รว ม เ ฉลี่ ยความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมรวมเฉล่ีย ความโน้มเอียงที่จะด่ืมรวมเฉลี่ย การควบคุมการด่มื รวมเฉลีย่ และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์รวมเฉล่ีย เท่ากับ16.1 (SD = 3.3; ค่ามธั ยฐานเทา่ กับ 16.0) 24.4 (SD = 11.6; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 23.0) 17.9 (SD = 6.8;คา่ มัธยฐานเท่ากับ 16.0) 17.3 (SD = 7.6; คา่ มัธยฐานเท่ากบั 18.0) และ 97.6 (SD = 15.4; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 101.0) ตามลาดับ เมื่อจัดกลุ่มคะแนน เป็น 2 กลุ่ม ด้วยค่ากลางคือค่ามัธยฐานในทุกปัจจัยพบวา่ กล่มุ ตัวอยา่ งหญงิ รอ้ ยละ 42.8 มีการแสวงหาความทา้ ทายสงู เกอื บร้อยละ 50 มีความกังวลในการเข้าสังคมสูง ร้อยละ 49.5 มีความโน้มเอียงที่จะด่ืมสูง ร้อยละ 54.7 มีการควบคุมการด่ืมต่า และรอ้ ยละ 51.4 มสี มรรถนะแหง่ ตนในการปฏเิ สธการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ต่า (ตารางที่ 17) เม่ือเทียบคะแนนระหว่างนักเรียนชาย และหญิงแล้ว นักเรียนชายมีคะแนนบุคลิกภาพแบบแสวงหาความท้าทายรวมเฉลี่ยและคะแนนความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมรวมเฉลย่ี สงู กวา่ นกั เรียนหญิงเพยี งเล็กน้อย ในส่วนของความโน้มเอียงท่ีจะด่ืม นักเรียนชายมี

125ความโน้มเอียงท่ีจะด่ืมมากกว่านักเรียนหญิง ส่วนการควบคุมการดื่มและสมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการดื่มเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์นักเรียนหญิงมมี ากกวา่ นักเรียนชายตารางที่ 17 ลักษณะของปัจจัยจากภายในตัวบุคคลของนักเรียนสายอาชีพจานวน 1,149 คน แยกชายและหญงิ ปจั จัย เพศชาย เพศหญิงบุคลกิ ภาพแบบแสวงหาความทา้ ทาย จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละค่าเฉลย่ี (สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน)มธั ยฐาน (คา่ ตา่ สดุ -คา่ สูงสดุ ) 17.8 (3.5) 16.1 (3.3)การแสวงหาความท้าทาย 18.0 (10, 30) 16.0 (10, 29)การแสวงหาความทา้ ทายตา่การแสวงหาความท้าทายสงู 248 60.6 423 57.2รวม 161 39.4 317 42.8ความกังวลต่อการมีปฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คม 409 100 740 100คา่ เฉล่ยี (สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน)มธั ยฐาน (คา่ ต่าสุด-ค่าสูงสุด) 25.3 (12.4) 24.4 (11.6)ความกงั วลในการเข้าสงั คม 25.0 (0, 70) 23.0 (1, 66)ความกังวลในการเข้าสังคมต่าความกงั วลในการเขา้ สงั คมสูง 215 52.6 374 50.5รวม 194 47.4 366 49.5ความโนม้ เอียงท่จี ะดืม่ 409 100 740 100ค่าเฉล่ยี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)มธั ยฐาน (คา่ ต่าสดุ -คา่ สงู สุด) 22.2 (8.2) 17.9 (6.8)ความโน้มเอยี งทีจ่ ะด่ืม 22.0 (9, 45) 16 (9, 45)ความโนม้ เอยี งท่จี ะดม่ื ตา่ความโน้มเอยี งท่ีจะดื่มสูง 216 52.8 374 50.5รวม 193 47.2 366 49.5การควบคุมการดื่ม 409 100 740 100ค่าเฉลยี่ (สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน)มัธยฐาน (ค่าตา่ สดุ -คา่ สูงสุด) 16.7 (6.4) 17.3 (7.6) 17.0 (6, 30) 18.0 (6, 30)

126ตารางท่ี 17 ลักษณะของปัจจัยจากภายในตัวบุคคลของนักเรียนสายอาชีพจานวน 1,149 คน แยกชายและหญงิ (ต่อ) ปัจจยั เพศชาย เพศหญงิ จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) รอ้ ยละการควบคมุ การดม่ื 405 54.7 335 45.3การควบคุมการดืม่ ตา่ 212 51.8 740 100การควบคมุ การด่มื สูง 197 48.2 97.6 (15.4) 101 (31, 114)รวม 409 100 380 51.4สมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการดืม่ เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ 360 48.6ค่าเฉลี่ย (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) 86.4 (19.4) 740 100มธั ยฐาน (ค่าต่าสดุ -คา่ สูงสดุ ) 86.0 (24, 114)สมรรถนะแหง่ ตนในการปฏเิ สธการด่มื เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ส ม ร ร ถ น ะ แ ห่ ง ต น ใ น ก า ร ป ฏิ เ ส ธ ก า ร ด่ื ม 205 50.1เครื่องดม่ื แอลกอฮอลต์ ่าส ม ร ร ถ น ะ แ ห่ ง ต น ใ น ก า ร ป ฏิ เ ส ธ ก า ร ด่ื ม 204 49.9เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลส์ ูงรวม 409 100 3.2 ปัจจยั จากบริบททางสังคม ปจั จัยจากจากบริบททางสังคมที่นามาศึกษาประกอบด้วย การมีเพื่อนด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัว และบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ผู้วิจัยพบว่า ร้อยละ 7.8 ของกลุ่มตัวอย่างชายเท่าน้ันที่ไม่มีเพื่อนด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ร้อยละ 92.2 มีเพ่ือนท่ีดื่ม กลุ่มตัวอย่างชายร้อยละ 49.1 มีสมาชิกท่ีเป็นผู้ใหญ่ในครอบครัวดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มากกว่า 1 คร้ัง/เดือนถึงดื่มทุกวัน นอกจากนี้ร้อยละ 45 ของกลุ่มตัวอย่างชายมีบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์สูง ทั้งน้ีจัดกลุ่มด้วยค่ามัธยฐานซึ่งเท่ากับ 33.0 (ค่าต่าสุด- ค่าสูงสุด = 12 - 55) ขณะท่ีค่าคะแนนรวมเฉล่ียเท่ากับ 32.3(SD = 7.5) (ตารางที่ 18) กลุ่มตัวอย่างหญิงร้อยละ 22.4 ไม่มีเพื่อนด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 77.6มีเพื่อนด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ร้อยละ 49.9 มีสมาชิกท่ีเป็นผู้ใหญ่ในครอบครัวดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากกว่า 1 ครั้ง/เดือนถึงด่ืมทุกวัน นอกจากนี้ร้อยละ 48.8 ของกลุ่มตัวอย่างหญิงมี

127บรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์สูง ทั้งน้ีจัดกลุ่มด้วยค่ามัธยฐานซึ่งเท่ากับ28.0 (คา่ ตา่ สดุ - ค่าสูงสดุ = 12 - 59) ขณะทคี่ า่ คะแนนรวมเฉล่ยี เทา่ กบั 27.9 (SD = 8.3) (ตารางท่ี 18) ถึงแม้ว่ากลุ่มตัวอย่างชายและกลุ่มตัวอย่างหญิงส่วนใหญ่มีเพื่อนด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ แต่ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างชายท่ีมีเพ่ือนดื่มสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิง ไม่ว่าจะมีเพื่อน2-3 คนด่ืม หรือคร่ึงหน่ึงของกลุ่มเพื่อนด่ืม ในส่วนของการมีสมาชิกในครอบครัวดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างชายท่ีมีสมาชิกในครอบครัวด่ืมบ่อยครั้งไม่แตกต่างจากกลุ่มตัวอยา่ งหญิง ในส่วนของบรรทดั ฐานทางสงั คมดา้ นการด่ืมเครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ กลุ่มตัวอย่างชายมีบรรทัดฐานทางสงั คมดา้ นการด่มื สงู กวา่ กลุ่มตวั อย่างหญงิตารางที่ 18 ลักษณะของปัจจัยจากบริบททางสังคม ของนักเรียนสายอาชีพจานวน 1,149 คนแยก ชายและหญิง เพศชาย เพศหญงิ ปจั จยั จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ (คน) (คน)การมเี พือ่ นด่ืมเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ไม่มีเพ่อื นดมื่ 32 7.8 166 22.4เพ่ือน 2-3 คนดื่ม 166 40.6 294 39.7ครงึ่ หน่ึงของกลุ่มเพือ่ นดมื่ 211 51.6 280 37.9รวม 409 100 740 100การด่มื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอลข์ องสมาชิกในครอบครวัไมเ่ คยดมื่ เลย - ด่มื 1 คร้งั /เดอื น 208 50.9 371 50.1มากกวา่ 1 ครง้ั /เดือน – ด่ืมทุกวนั 201 49.1 369 49.9รวม 409 100 740 100บรรทดั ฐานทางสงั คมดา้ นการดม่ื เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์คา่ เฉลี่ย (ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน) 32.3 (7.5) 27.9 (8.3)มธั ยฐาน (ค่าตา่ สดุ -คา่ สงู สดุ ) 33.0 (12, 55) 28.0 (12, 59)บรรทดั ฐานทางสังคมดา้ นการดืม่ เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์บรรทดั ฐานทางสังคมดา้ นการดื่มเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ต่า 225 55.0 379 51.2บรรทัดฐานทางสงั คมด้านการดื่มเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์สงู 184 45.0 361 48.8รวม 409 100 740 100

128 3.3 ปจั จัยจากส่งิ แวดลอ้ มทางวฒั นธรรม ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมท่ีนามาศึกษาประกอบด้วย 6 ปัจจัย คือการร่วมกิจกรรมทางศาสนา ความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การคาดหวงั ผลในการดมื่ เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ในทางท่ดี ี การประเมินค่าผลจากการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลการศึกษาพบว่าร้อยละ 63.3ของกล่มุ ตวั อยา่ งชาย ไม่เคยปฏิบตั กิ ิจกรรมทางศาสนาถึงปฏิบัติน้อยคร้ัง ร้อยละ 53.3 มีความรู้ด้านการด่ืมที่ปลอดภัยในระดับไม่ดี คือมีคะแนนต่ากว่า 7 จากคะแนนเต็ม 12 คะแนน มีคะแนนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 7.1 (SD = 2.7) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 6.0 ร้อยละ 48.4 ให้ค่านิยมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์สูง มีคะแนนค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์รวมเฉลี่ยเท่ากับ 25.8 (SD = 5.8)ค่ามธั ยฐานเท่ากับ 26.0 ร้อยละ 49.9 มีการคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทางท่ีดีสูงมีคะแนนการคาดหวังผลในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดี รวมเฉลี่ยเท่ากับ 54.7(SD = 12.3) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 55.0 กลุ่มตัวอย่างชายร้อยละ 48.2 มีการประเมินค่าผลจากการด่ืมเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ทางท่ีดี คะแนนการประเมินค่าผลจากการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์รวมเฉล่ียเท่ากับ 62.2 (SD = 17.4) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 62.0 และร้อยละ 45.5 มีทัศนคติต่อการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ดี คะแนนทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์รวมเฉลี่ยเท่ากับ 22.8 (SD = 5.9)ค่ามธั ยฐานเทา่ กบั 24.0 (ตารางท่ี 19) ส่วนกลุ่มตัวอย่างหญิง ผลการศึกษาพบว่าร้อยละ 53.5 ไม่เคยปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาถึงปฏิบัติน้อยคร้ัง ร้อยละ 52 มีความรู้ด้านการด่ืมท่ีปลอดภัยในระดับไม่ดี คือมีคะแนนต่ากว่า 9 จากคะแนนเต็ม 12 คะแนน มีคะแนนรวมเฉล่ียเท่ากับ 7.7 (SD = 2.7) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 8.0ร้อยละ 47.2 ให้ค่านิยมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์สูง มีคะแนนค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์รวมเฉลย่ี เท่ากบั 23.9 (SD = 6.1) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 24.0 ร้อยละ 49.5 มีการคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดีสูง มีคะแนนการคาดหวังผลในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดีรวมเฉล่ียเท่ากับ 49.4 (SD = 12.9) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 51.0 ร้อยละ 49.1มีประเมินค่าผลจากการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ทางท่ีดี คะแนนการประเมินค่าผลจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รวมเฉล่ียเท่ากับ 53.2 (SD = 18.0) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 54.0 และร้อยละ 47.8มีทัศนคติต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดี มีคะแนนทัศนคติต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รวมเฉล่ยี เทา่ กบั 18.8 (SD = 6.0) ค่ามธั ยฐานเท่ากบั 18.0 (ตารางท่ี 19) เม่ือเปรียบเทียบกันระหว่างกลุ่มตัวอย่างชายและหญิงพบว่า ส่วนใหญ่ซ่ึงมากกว่าคร่ึงปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาน้อยครั้ง กลุ่มตัวอย่างชายมีสัดส่วนท่ีมากกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิงดา้ นความรเู้ ร่ืองการดม่ื กลมุ่ ตวั อยา่ งหญิงมคี วามรูเ้ รอ่ื งการดืม่ มากกว่ากลุ่มตวั อยา่ งชายเห็นได้จากค่า

129กลางทแี่ สดงดงั ตารางที่ 19 ในทางตรงข้าม กลุ่มตัวอย่างชายมีคะแนนรวมเฉลี่ยของค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ คาดหวังผลในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางท่ีดี ประเมินค่าผลจากการดม่ื เครื่องดมื่ และทัศนคตติ อ่ การดื่ม สงู กว่ากลุ่มตวั อย่างหญิง (ตารางที่ 19)ตารางท่ี 19 ลักษณะของปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมของนักเรียนสายอาชีพ จานวน 1,149 คน แยกชายและหญิง เพศชาย เพศหญงิ ปัจจัย จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ (คน) (คน)การร่วมกิจกรรมทางศาสนาไมเ่ คยเลยถงึ นอ้ ยครั้ง 259 63.3 396 53.5บอ่ ยครัง้ ถึงเปน็ ประจา 150 36.7 344 46.5รวม 409 100 740 100ความรดู้ ้านการด่มื เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์คา่ เฉลยี่ (สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน) 7.1 (2.7) 7.7 (2.7)มัธยฐาน (คา่ ตา่ สดุ -ค่าสูงสุด) 6.0 (2, 12) 8.0 (3, 12)ความรู้ดา้ นการดืม่ เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ความรดู้ า้ นการดมื่ เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอลด์ ี 191 46.7 355 48.0ความรดู้ ้านการดม่ื เครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ไม่ดี 218 53.3 385 52.0รวม 409 100 740 100ค่านยิ มด้านการดมื่ เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์คา่ เฉล่ยี (สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน) 25.8 (5.8) 23.9 (6.1)มธั ยฐาน (คา่ ตา่ สุด-ค่าสงู สดุ ) 26.0 (14, 42) 24.0 (14, 42)คา่ นยิ มดา้ นการดม่ื เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ใหค้ า่ นิยมด้านการดม่ื เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ต่า 211 51.6 391 52.8ให้คา่ นยิ มดา้ นการด่ืมเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์สูง 198 48.4 349 47.2รวม 409 100 740 100

130ตารางที่ 19 ลักษณะของปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมของนักเรียนสายอาชีพ จานวน 1,149 คน แยกชายและหญงิ (ต่อ) เพศชาย เพศหญิง ปัจจยั จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ (คน) (คน)การคาดหวังผลในการด่ืมเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ในทางทดี่ ีค่าเฉลย่ี (ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน) 54.7 (12.3) 49.4 (12.9)มธั ยฐาน (คา่ ต่าสดุ -คา่ สงู สุด) 55.0 (20, 80) 51.0 (20, 80)การคาดหวังผลในการดม่ื เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ในทางทีด่ ีการคาดหวังผลในการดื่มเครอ่ื งดมื่ 205 50.1 374 50.5แอลกอฮอลท์ างทีด่ ตี ่าการคาดหวงั ผลในการดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลท์ างทีด่ สี ูง 204 49.9 366 49.5รวม 409 100 740 100การประเมินค่าผลจากการดื่มเครื่องดม่ื แอลกอฮอล์คา่ เฉลย่ี (สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน) 62.2 (17.4) 53.2 (18.0)มัธยฐาน (ค่าตา่ สุด-คา่ สูงสดุ ) 62.0 (20, 100) 54.0 (20, 100)การประเมินค่าผลจากการดืม่ เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์การประเมินค่าผลจากการดื่มเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ 212 51.8 377 50.9ทางท่ีไมด่ ีการประเมินคา่ ผลจากการดม่ื เครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ 197 48.2 363 49.1ทางท่ดี ีรวม 409 100 740 100ทศั นคติตอ่ การดื่มเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์คา่ เฉลยี่ (ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน) 22.8 (5.9) 18.8 (6.0)มธั ยฐาน (คา่ ตา่ สดุ -ค่าสงู สุด) 24.0 (9, 45) 18.0 (9, 40)ทัศนคติต่อการดื่มเครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ทัศนคตติ อ่ การดื่มเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ไมด่ ี 223 54.5 386 52.2ทัศนคติตอ่ การด่ืมเคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ดี 186 45.5 354 47.8รวม 409 100 740 100

131 3.4 พฤตกิ รรมอื่นที่เก่ยี วข้อง พฤติกรรมอ่ืนที่เก่ียวข้องท่ีคาดว่าจะมีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติ คือ การสูบบหุ ร่ี กลุ่มตัวอยา่ งหญิงและชายส่วนใหญร่ ้อยละ 73 และ รอ้ ยละ 56 ไม่เคยสบู บุหรี่ในช่วง 1 เดือนที่ผา่ นมา กลมุ่ ตวั อยา่ งชายเกือบคร่ึงเปน็ ผทู้ ี่เคยสูบบุหร่ี และมีสดั ส่วนของผ้ทู ่ีเคยสบู บหุ รีม่ ากกว่ากลุ่มตัวอย่างเกอื บ 7 เทา่ รายละเอียดดงั ตารางที่ 20ตารางท่ี 20 การสบู บหุ รข่ี องนักเรียนสายอาชพี จานวน 1,149 คน แยกชายและหญงิ ปจั จยั เพศชาย เพศหญงิ จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละการสบู บุหร่ี 231 56.5 692 93.5ไม่เคยสบู 178 43.5 48 6.5เคยสูบ 409 100 740 100รวม4. ปจั จยั ทม่ี ีอิทธิพลตอ่ การดมื่ เครื่องดม่ื แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกตขิ องวยั รุ่นชาย การวิเคราะห์อิทธพิ ลของปจั จัยซ่งึ แยกวิเคราะห์ตามกลุ่มอิทธิพลของทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก 4 กลุ่ม ได้แก่ ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล 5 ปัจจัย ปัจจัยจากบริบททางสังคม 3 ปัจจัย ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม 6 ปัจจัย และพฤติกรรมอื่นท่ีเกี่ยวข้อง 1 พฤติกรรม ท่ีมีต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของกลุ่มตัวอย่างชาย เน่ืองจากได้แบ่งระดับการดื่มแบบผิดปกติของกลมุ่ ตัวอยา่ งชายเป็น 3 ระดับ ผู้วิจัยจึงใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับวิเคราะห์อิทธิพลในแต่ละกลุ่มปัจจัย ในกรณีที่ไม่เข้ากับข้อตกลงเบ้ืองต้นผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจสิ ตกิ แบบหลายกลุ่ม ผลการวิเคราะหเ์ ป็นดงั นี้ 4.1 ผลการวิเคราะห์เบื้องต้น: ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล ปัจจัยจากบริบททางสังคมปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และพฤติกรรมอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องของกลุ่มตัวอย่างเปรียบเทียบระหว่างระดบั การดม่ื แบบผดิ ปกติ จากการแบ่งระดับการด่ืมของกลุ่มตวั อย่างชายเป็น 3 ระดับ คือ การด่ืมแบบเสี่ยงน้อยการดม่ื แบบเส่ียง และการดมื่ แบบอนั ตรายถึงติดสรุ า ได้กลุ่มตัวอย่างชายท่ีด่ืมแบบเส่ียงน้อยจานวน186 คน ดื่มแบบเส่ียง จานวน 134 คน ดื่มแบบอันตรายถึงติดสุรา จานวน 89 คน และเม่ือพิจารณาปัจจัยจากภายในตัวบคุ คล คอื การแสวงหาความทา้ ทาย ความกังวลในการเข้าสังคม ความโน้มเอียง

132ที่จะดื่ม การควบคุมการดื่ม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ แยกตามระดับการด่มื เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ 3 ระดับ พบว่า กลุ่มผู้ดื่มแบบเสี่ยงน้อยร้อยละ73.7 เป็นผูท้ ี่มกี ารแสวงหาความทา้ ทายต่า ร้อยละ 60.8 มคี วามกังวลในการเขา้ สังคมต่า ร้อยละ 66.1มีความโนม้ เอยี งทีจ่ ะดืม่ ต่า และรอ้ ยละ 58.1 มีการควบคุมการดื่มต่า แต่ร้อยละ 79 มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์สูง กลุ่มผู้ดื่มแบบเสี่ยงร้อยละ 58.2 เป็นผู้ท่ีมีการแสวงหาความท้าทายต่า ร้อยละ 53.7 มีความกังวลในการเข้าสังคมต่า ร้อยละ 53 มีความโน้มเอียงที่จะดื่มต่า และร้อยละ 70.9 มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่าแต่ร้อยละ 50.7 มีการควบคุมการดื่มสูง สาหรับกลุ่มที่ด่ืมแบบอันตรายถึงติดสุราส่วนใหญ่ร้อยละ62.9 มีการแสวงหาความท้าทายสูง ร้อยละ 66.3 มีความกังวลในการเข้าสังคมสูง ร้อยละ 75.3มคี วามโนม้ เอยี งที่จะดมื่ สูง และรอ้ ยละ 57.3 มกี ารควบคมุ การดม่ื สงู ในทางตรงกันข้ามท่ีร้อยละ 79.8มีสมรรถนะแหง่ ตนในการปฏเิ สธการดืม่ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ต่า (ขอ้ มูลดังตารางท่ี 21) สาหรบั ปัจจยั จากบริบททางสังคมผลการศึกษาพบว่า กลุ่มผู้ด่ืมแบบเส่ียงน้อยส่วนใหญ่ร้อยละ 45.2 เป็นผู้ที่มีครึ่งหน่ึงของกลุ่มเพื่อนด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ร้อยละ 55.9 มีสมาชิกในครอบครัวด่มื เคร่อื งด่มื แอลกอฮอลน์ อ้ ยคร้งั และร้อยละ 68.8 มีบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ตา่ กลุ่มผู้ด่มื แบบเสี่ยงส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 เป็นผู้ที่มีครึ่งหน่ึงของกลุ่มเพ่ือนดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 50.7 มีสมาชิกในครอบครัวด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากกว่า1 ครง้ั /เดอื นถงึ ดม่ื ทกุ วนั และรอ้ ยละ 50 มบี รรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ต่าสาหรับกลุ่มที่ด่ืมแบบอันตรายถึงติดสุราส่วนใหญ่ร้อยละ 57.3 มีคร่ึงหนึ่งของกลุ่มเพื่อนดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 57.3 มีสมาชิกในครอบครัวดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มากกว่า 1 คร้ัง/เดือนถึงด่ืมทุกวัน และร้อยละ 66.3 มีบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์สูง(ข้อมลู ดังตารางที่ 21) ในส่วนของปจั จัยจากสิง่ แวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสบู บหุ ร่ี พบว่า กลุ่มผู้ด่ืมแบบเสี่ยงน้อยส่วนใหญ่ร้อยละ 60.2 เป็นผู้ที่ไม่เคยร่วมกิจกรรมทางศาสนาถึงร่วมน้อยคร้ัง ร้อยละ53.8 มีความรู้ด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไม่ดี ร้อยละ 69.9 ให้ค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ต่า และร้อยละ 54.3 มีการคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในทางที่ดีต่าร้อยละ 54.8 ประเมินค่าผลจากการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ไม่ดี ร้อยละ 64.5 มีทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ไม่ดี และร้อยละ 82.3 ไม่เคยสูบบุหรี่ใน 1 เดือนท่ีผ่านมา กลุ่มผู้ด่ืมแบบเสี่ยงส่วนใหญ่ร้อยละ 64.2 เปน็ ผู้ทไี่ ม่เคยร่วมกิจกรรมทางศาสนาถึงร่วมน้อยคร้ัง ร้อยละ 50.7 มีความรู้ดา้ นการดม่ื เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ดี ร้อยละ 59 ใหค้ า่ นิยมด้านการดมื่ เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์สูง ร้อยละ51.5 มกี ารคาดหวงั ผลในการดม่ื เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดีสูง และร้อยละ 51.5 ประเมินค่าผล

133จากการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ไม่ดี แต่ร้อยละ 56 มีทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ดีร้อยละ 57.5 เคยสูบบุหรี่ใน 1 เดือนท่ีผ่านมา สาหรับกลุ่มที่ด่ืมแบบอันตรายถึงติดสุราส่วนใหญ่ร้อยละ 68.5 ผู้ที่ไม่เคยร่วมกิจกรรมทางศาสนาถึงร่วมน้อยคร้ัง ร้อยละ 58.4 มีความรู้ด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ไม่ดี ร้อยละ 70.8 ให้ค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์สูง ร้อยละ 56.2มีการคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดีสูง ร้อยละ 53.9 ประเมินค่าผลจากการด่ืมเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลด์ ี รอ้ ยละ 50.6 มที ัศนคตติ อ่ การดมื่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดี และร้อยละ 76.4เคยสบู บหุ รีใ่ น 1 เดอื นทีผ่ า่ นมา (ตารางที่ 21)ตารางท่ี 21 ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล บริบททางสังคม สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสูบ บุหรี่ของนักเรียนสายอาชีพชาย จานวน 409 คน แยกตามระดับการด่ืมเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ ระดับการดมื่ เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ ปัจจัย ดม่ื แบบเสี่ยงน้อย ดม่ื แบบเส่ยี ง ดื่มแบบอนั ตราย ถึงตดิ สุราปัจจยั จากภายในตวั บุคคล1. การแสวงหาความท้าทาย 137 (73.7) 78 (58.2) 33 (37.1)การแสวงหาความท้าทายต่า 49 (26.3) 56 (41.8) 56 (62.9)การแสวงหาความท้าทายสูง 186 (100) 134 (100) 89 (100)รวม2. ความกังวลในการเข้าสังคม 113 (60.8) 72 (53.7) 30 (33.7)ความกงั วลในการเข้าสังคมตา่ 73 (39.2) 62 (46.3) 59 (66.3)ความกงั วลในการเขา้ สงั คมสูง 186 (100) 134 (100) 89 (100)รวม3. ความโนม้ เอียงที่จะดมื่ 123 (66.1) 71 (53.0) 22 (24.7)ความโน้มเอยี งทจ่ี ะดื่มตา่ 63 (33.9) 63 (47.0) 67 (75.3)ความโนม้ เอยี งท่จี ะดม่ื สงู 186 (100) 134 (100) 89 (100)รวมหมายเหตุ รายงานเปน็ จานวนคน (ร้อยละ)

134ตารางที่ 21 ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล บริบททางสังคม ส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสูบ บุหรี่ของนักเรียนสายอาชีพชาย จานวน 409 คน แยกตามระดับการดื่มเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ (ต่อ) ระดบั การดมื่ เครื่องดืม่ แอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติ ปัจจยั ด่ืมแบบ ดื่มแบบ ด่มื แบบอนั ตราย เส่ียงนอ้ ย เสย่ี ง ถงึ ติดสุราปัจจัยจากภายในตวั บคุ คล4. การควบคุมการดมื่การควบคมุ การดม่ื ต่า 108 (58.1) 66 (49.3) 38 (42.7)การควบคมุ การด่ืมสูง 78 (41.9) 68 (50.7) 51 (57.3)รวม 186 (100) 134 (100) 89 (100)5. สมรรถนะแหง่ ตนในการปฏิเสธการดื่มเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์สมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการด่ืมเครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ต่า 39 (21.0) 95 (70.9) 71 (79.8)สมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการด่ืมเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์สูง 147 (79.0) 39 (29.1) 18 (20.2)รวม 186 (100) 134 (100) 89 (100)ปจั จยั จากบรบิ ททางสังคม6. การมเี พอ่ื นด่มื เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ไม่มีเพ่อื นด่มื 23 (12.3) 7 (5.2) 2 (2.2)เพอ่ื น 2-3 คนด่ืม 79 (42.5) 51 (38.1) 36 (40.5)ครง่ึ หน่ึงของกลุ่มเพอื่ นดม่ื 84 (45.2) 76 (56.7) 51 (57.3)รวม 186 (100) 134 (100) 89 (100)7. การดมื่ เครือ่ งดื่มแอลกอฮอลข์ องสมาชกิ ในครอบครัวไม่เคยด่มื เลย- ดม่ื 1 คร้งั /เดือน 104 (55.9) 66 (49.3) 38 (42.7)มากกวา่ 1 ครัง้ /เดอื น – ดม่ื ทุกวัน 82 (44.1) 68 (50.7) 51 (57.3)รวม 186 (100) 134 (100) 89 (100)8. บรรทัดฐานทางสงั คมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์บรรทัดฐานทางสังคมดา้ นการดืม่ เคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ต่า 128 (68.8) 67 (50.0) 30 (33.7)บรรทัดฐานทางสงั คมดา้ นการดมื่ เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์สูง 58 (31.2) 67 (50.0) 59 (66.3)รวม 186 (100) 134 (100) 89 (100)หมายเหตุ รายงานเป็นจานวนคน (ร้อยละ)

135ตารางที่ 21 ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล บริบททางสังคม ส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสูบ บุหรี่ของนักเรียนสายอาชีพชาย จานวน 409 คน แยกตามระดับการดื่มเครื่องด่ืม แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติ (ต่อ) ระดับการดม่ื เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติ ปจั จยั ด่มื แบบ ดมื่ แบบเสยี่ ง ด่มื แบบอนั ตราย เสยี่ งน้อย ถงึ ตดิ สรุ าปัจจัยจากสง่ิ แวดลอ้ มทางวัฒนธรรม9. การรว่ มกิจกรรมทางศาสนาไมเ่ คยเลยถงึ น้อยครงั้ 112 (60.2) 86 (64.2) 61 (68.5)บ่อยคร้งั ถึงเปน็ ประจา 74 (39.8) 48 (35.8) 28 (31.5)รวม 186 (100) 134 (100) 89 (100)10. ความรดู้ ้านการดื่มเครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ความรดู้ า้ นการดมื่ เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอลไ์ ม่ดี 100 (53.8) 66 (49.3) 52 (58.4)ความร้ดู ้านการด่ืมเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอลด์ ี 86 (46.2) 68 (50.7) 37 (41.6)รวม 186 (100) 134 (100) 89 (100)11. ค่านยิ มด้านการดื่มเครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ให้ค่านยิ มด้านการด่ืมเครอื่ งด่มื แอลกอฮอลต์ ่า 130 (69.9) 55 (41.0) 26 (29.2)ใหค้ า่ นยิ มดา้ นการดมื่ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลส์ ูง 56 (30.1) 79 (59.0) 63 (70.8)รวม 186 (100) 134 (100) 89 (100)12. การคาดหวงั ผลในการด่มื เครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ในทางทด่ี ีการคาดหวงั ผลในการดืม่ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ 101 (54.3) 65 (48.5) 39 (43.8)ในทางทด่ี ีต่าการคาดหวังผลในการดื่มเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ 85 (45.7) 69 (51.5) 50 (56.2)ในทางที่ดีสงูรวม 186 (100) 134 (100) 89 (100)13. การประเมนิ คา่ ผลจากการดม่ื เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ประเมนิ ค่าผลจากการดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ไม่ดี 102 (54.8) 69 (51.5) 41 (46.1)ประเมนิ ค่าผลจากการดืม่ เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอลด์ ี 84 (45.2) 65 (48.5) 48 (53.9)รวม 186 (100) 134 (100) 89 (100)หมายเหตุ รายงานเปน็ จานวนคน (รอ้ ยละ)

136ตารางที่ 21 ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล บริบททางสังคม สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสูบ บุหรี่ของนักเรียนสายอาชีพชาย จานวน 409 คน แยกตามระดับการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติ (ตอ่ ) ระดับการดม่ื เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติ ปจั จยั ด่ืมแบบ ดม่ื แบบเสย่ี ง ด่มื แบบอนั ตราย เสยี่ งน้อย ถงึ ตดิ สรุ าปัจจัยจากส่งิ แวดลอ้ มทางวฒั นธรรม14. ทัศนคตติ อ่ การดม่ื เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ 120 (64.5) 59 (44.0) 44 (49.4)ทัศนคติตอ่ การดม่ื เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ไม่ดี 66 (35.5) 75 (56.0) 45 (50.6)ทศั นคตติ อ่ การด่มื เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอลด์ ี 186 (100) 134 (100) 89 (100)รวมพฤติกรรมอืน่ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 153 (82.3) 57 (42.5) 21 (23.6)15. การสบู บหุ รี่ 33 (17.7) 77 (57.5) 68 (76.4)ไมเ่ คยสูบ 186 (100) 134 (100) 89 (100)เคยสูบรวมหมายเหตุ รายงานเป็นจานวนคน (ร้อยละ) 4.2 ผลการวิเคราะห์อิทธิพลของตัวแปรทานายที่มีต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ 4.2.1 ปจั จัยจากภายในตัวบคุ คลทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ การดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ เน่ืองด้วยผลการตรวจสอบการถดถอยเชิงขนาน (Parallel regressionassumption) ไม่เปน็ ไปตามข้อตกลงเบ้ืองต้นของการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับผู้วิจัยจึงวเิ คราะหอ์ ิทธิพลของปัจจัยจากภายในตัวบุคคล 5 ปัจจยั คอื 1) การแสวงหาความท้าทาย 2) ความกังวลในการเขา้ สงั คม 3) ความโน้มเอยี งทจี่ ะดมื่ 4) การควบคุมการดื่ม และ 5) สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ กับการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติด้วยการวเิ คราะห์การถดถอยโลจสิ ตกิ แบบหลายกลุม่ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบหยาบ จากจานวนกลุ่มตัวอย่าง 409 คนพบว่าปัจจัยจากภายในตัวบุคคล 5 ปัจจัย มีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p value < 0.05) โดยปัจจัยเพียง 3 ปัจจัย ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย

137ความโน้มเอียงที่จะดื่ม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการดื่มแบบเสี่ยงเม่ือเทียบกับการดื่มแบบเสี่ยงน้อย ปัจจัย 5 ปัจจัย มีอิทธิพลต่อการดื่มแบบอนั ตรายถึงติดสรุ าของวยั รุน่ ชายเม่ือเทยี บกับการดื่มแบบเสีย่ งนอ้ ย รายละเอียดดงั ตารางที่ 22ตารางท่ี 22 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบหลายกลุ่มแบบหยาบระหว่างปัจจัยจาก ภายในตัวบุคคลกับการดม่ื แบบผิดปกตใิ นกลุม่ ตวั อย่างชาย จานวน 409 คนตวั แปร/ปจั จยั การดื่มแบบเสี่ยง การดืม่ แบบอนั ตรายถงึ ตดิ สุรา OR (95%CI) p value OR (95%CI) p valueปจั จัยจากภายในตวั บุคคล1. การแสวงหาความทา้ ทาย 2.00 (1.25 - 3.22) 0.004* 4.75 (2.77 - 8.14) 0.000* 3.04 (1.79 - 5.17) 0.000*2. ความกังวลในการเขา้ สังคม 1.33 (0.85 - 2.09) 0.210 5.95 (3.37 - 10.51) 0.000* 1.858 (1.12 - 3.10) 0.017*3. ความโน้มเอยี งท่จี ะด่มื 1.73 (1.10 - 2.73) 0.018* 0.067 (0.04 - 0.13) 0.000*4. การควบคมุ การดืม่ 1.43 (0.91 - 2.23) 0.1195. สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธ 0.11 (0.07 - 0.18) 0.000*การดื่มเครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์* ระดับนยั สาคญั ทางสถิตทิ ี่ 0.05 การวิเคราะห์หาโมเดลที่ดีท่ีสุดเร่ิมจากนาปัจจัยการแสวงหาความท้าทายเข้าสู่โมเดลการวเิ คราะห์เริ่มต้น ซึ่งพบว่าการทดสอบไลลิฮูด เรโช (ตารางภาคผนวกที่ 6 ภาคผนวกค) ให้ความแตกตา่ งของโมเดลอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p value < 0.05) แสดงวา่ การแสวงหาความท้าทายมีความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ หลังจากนาตัวแปรความกังวลในการเข้าสังคมเข้าร่วมวิเคราะห์ด้วย ผลพบว่า การทดสอบไลลิฮูด เรโช (ตารางภาคผนวกที่ 7ภาคผนวก ค) ใหค้ วามแตกตา่ งอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติ (p value < 0.05) ทั้ง 2 ตัวแปร แสดงว่าการแส วง ห า ค ว า ม ท้ า ท า ย แ ล ะ ค ว า ม กั ง ว ล ใ น ก า ร เข้ า สั ง ค ม มี ค วา ม สั ม พั นธ์ กั บ ก า รด่ื ม เค รื่ อง ดื่ มแอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติ จากนัน้ นาปจั จัยความโนม้ เอียงทจ่ี ะดื่มและการควบคุมการด่ืมเข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์เพิ่ม การทดสอบไลลิฮูด เรโช (ตารางภาคผนวกที่ 8 ภาคผนวก ค) ให้ความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p value < 0.05) 3 ตัวแปร ยกเว้นปัจจัยการควบคุมการด่ืม แสดงว่าการควบคุมการดื่มไม่มีความสัมพันธ์กับการดื่มแบบผิดปกติ ผลของการนาปัจจัยสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเส ธการดื่มเครื่องดื่มแอล กอฮอล์เข้าสู่โมเดล กา รวิเคราะห์เพ่ิมเป็นลา ดับสุดท้าย พบว่าการทดสอบไลลิฮูด เรโช (ตารางภาคผนวกท่ี 9 ภาคผนวก ค) ให้ความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทาง

138สถติ ิ (p value < 0.05) ทง้ั 4 ตวั แปร และทั้ง 4 ตัวแปรน้ีทาให้สมการมีความเหมาะสม แสดงให้เห็นว่าปัจจัยการแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคม ความโน้มเอียงท่ีจะด่ืม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติอย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิ โมเดลสดุ ทา้ ยท่ีได้แสดงดังตารางท่ี 23ตารางท่ี 23 ปจั จัยจากภายในตวั บคุ คลท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การดื่มแบบผิดปกตขิ องวยั รนุ่ ชาย ตัวแปร/ปัจจัย การดม่ื แบบเสยี่ ง การดื่มแบบอนั ตราย OR (95%CI) p value ถงึ ติดสุราปจั จัยจากภายในตัวบคุ คล1. การแสวงหาความท้าทาย OR (95%CI) p value2. ความกงั วลในการเขา้ สังคม3. ความโนม้ เอยี งท่ีจะดม่ื 1.05 (0.61 - 1.83) 0.860 2.07 (1.11 - 3.89) 0.023*4. การควบคุมการด่มื 1.09 (0.65 - 1.82) 0.735 2.09 (1.13 - 3.86) 0.019*5. สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธ 1.23 (0.73 - 2.08) 0.44 3.57 (1.88 - 6.77) 0.000*การดืม่ เคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์ 1.23 (0.76 - 1.99) 0.406 1.03 (0.57 - 1.87) 0.919 0.12 (0.07 - 0.20) 0.000* 0.10 (0.05 - 0.20) 0.000** ระดบั นัยสาคญั ทางสถิติที่ 0.05 จากตารางที่ 23 แสดงรายละเอียดของอิทธิพลดงั น้ี 1) วัยรุ่นชายที่ด่ืมแบบเส่ียงน้อย มีการแสวงหาความท้าทายสูงจะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มแบบอันตรายถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มท่ีมีการแสวงหาความท้าทายต่า 2.07 เท่า(95%CI เท่ากบั 1.11 ถงึ 3.89) 2) วัยรุ่นชายที่ด่ืมแบบเสี่ยงน้อย มีความกังวลในการเข้าสังคมสูงจะมโี อกาสเปน็ ผู้ดมื่ แบบอนั ตรายถงึ ตดิ สุรามากกว่ากล่มุ ทมี่ ีความกังวลในการเข้าสังคมต่า 2.09 เท่า(95%CI เท่ากบั 1.13 ถงึ 3.86) 3) วยั รนุ่ ชายท่ีดื่มแบบเส่ียงน้อย มคี วามโน้มเอียงท่ีจะด่ืมสูง จะมีโอกาสเปน็ ผดู้ ่ืมแบบอนั ตรายถึงติดสรุ ามากกว่ากลุ่มท่ีมีความโน้มเอียงท่ีจะด่ืมต่า 3.57 เท่า (95%CI เท่ากับ1.88 ถึง 6.77) 4) วัยรุ่นชายที่ด่ืมแบบเส่ียงน้อย มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดมื่ เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์สูงจะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มแบบอันตรายถึงติดสุราน้อยกว่ากลุ่มท่ีมีสมรรถนะ

139แห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่า 0.10 เท่า (95%CI เท่ากับ 0.05 ถึง 0.20) และจะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมแบบเส่ียงน้อยกว่ากลุ่มท่ีมีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่ มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตา่ 0.12 เท่า (95%CI เท่ากับ 0.07 ถงึ 0.20) 4.2.2 ปัจจัยจากบริบททางสังคมที่มีอิทธิพลต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ เนื่องด้วยผลการตรวจสอบการถดถอยเชิงขนานเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นสาหรับการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยจากบริบททางสังคม 3 ปัจจัย คือ 1) การมีเพื่อนด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 2) การด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอลข์ องสมาชกิ ในครอบครัว 3) บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีต่อการดม่ื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติดว้ ยการวเิ คราะหก์ ารถดถอยโลจิสตกิ แบบลาดับ ผลจากวเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธแ์ บบหยาบพบว่าปัจจัยจากบริบททางสังคมท้ัง 3 ปจั จยั มีอทิ ธพิ ลต่อการดม่ื เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p value< 0.05) แสดงดงั ตารางท่ี 24ตารางท่ี 24 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับแบบหยาบระหว่างปัจจัยจากบริบท ทางสังคมกับการดื่มแบบผดิ ปกตขิ องกลุ่มตัวอยา่ งชาย จานวน 409 คน ตวั แปร/ปจั จัย การดม่ื แบบผดิ ปกติปัจจัยจากบรบิ ททางสงั คม OR (95%CI) p value1. การมีเพอื่ นด่มื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์2. การดื่มเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ของสมาชกิ ในครอบครัว 1.41 (1.13 - 1.76) 0.002*3. บรรทัดฐานทางสงั คมด้านการด่มื เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ 1.31 (1.01 - 1.71) 0.044* 2.12 (1.62 - 2.78) 0.000** ระดบั นัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ี 0.05 การวิเคราะห์หาโมเดลท่ีดีท่ีสุดเริ่มจากนาตัวแปรการมีเพื่อนดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์และการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวเข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ในเบ้ืองต้น ผลการวเิ คราะหเ์ ปน็ ดงั ตารางท่ี 25

140ตารางที่ 25 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับระหว่างการมีเพ่ือนดื่มเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์และการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวกับการด่ืมแบบ ผดิ ปกติของกล่มุ ตวั อยา่ งชาย จานวน 409 คน ตวั แปร/ปัจจยั การด่ืมแบบผิดปกติปัจจยั จากบรบิ ททางสังคม OR (95%CI) p value1. การมีเพอ่ื นด่ืมเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์2. การด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครวั 1.36 (1.09 - 1.57) 0.007* 1.20 (0.91 - 1.57) 0.192* ระดบั นัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ี 0.05 จากตารางที่ 25 พบว่าการมีเพ่ือนดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีค่าพีน้อยกว่า0.05 (p < 0.05) น่ันคือ การมีเพ่ือนดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติขณะที่การดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวมีค่าพีมากกว่า 0.05(p > 0.05) นัน่ คือ ไม่มีอิทธพิ ล เมื่อนาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวออกจากโมเดลความสัมพันธ์และนาบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์เข้าสู่โมเดลกา รวเิ คราะห์ซ่งึ เปน็ โมเดลสดุ ท้าย ผลการวิเคราะหแ์ สดงดงั ตารางท่ี 26ตารางท่ี 26 ปัจจยั จากบริบททางสังคมทมี่ ีอทิ ธพิ ลต่อการดืม่ แบบผดิ ปกตขิ องวยั รนุ่ ชาย ตัวแปร/ปัจจยั การดื่มแบบผดิ ปกติปัจจัยจากบรบิ ททางสังคม OR (95%CI) p value1. การมเี พ่อื นดื่มเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์2. บรรทดั ฐานทางสังคมด้านการดื่มเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ 1.24 (1.00 - 1.55) 0.055 1.99 (1.52 - 2.62) 0.000** ระดบั นัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ 0.05 จากตารางที่ 26 พบว่า ปัจจัยการมีเพื่อนดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มีค่าพีมากกว่า 0.05 (p > 0.05) แสดงว่าการมีเพื่อนด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ไม่มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติ แต่ปัจจัยบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีค่าพีน้อยกว่า 0.05(p < 0.05) น่ันคือ ปัจจัยบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการด่ืม

141แบบผดิ ปกติอย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิ โดยวัยรุ่นชายทด่ี ่มื แบบเสยี่ งน้อย มีบรรทดั ฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์สูงจะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติมากกว่ากลุ่มที่มีบรรทัดฐานทางสงั คมดา้ นการดม่ื เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ตา่ 1.99 เท่า (95%CI เท่ากับ 1.52 ถึง 2.62) จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจากบริบททางสังคมข้างต้นจะเห็นว่าปัจจัยการมีเพื่อนด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติในเบ้ืองต้นแต่เม่ือนาบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์กลับพบว่าการมีเพ่ือนดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ไม่มีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติ แสดงให้เห็นว่า บรรทัดฐานทางสงั คมด้านการด่มื เครอื่ งดื่มแอลกอฮอลเ์ ป็นตวั แปรค่ันกลางระหว่างอิทธิพลของปัจจัยการมีเพื่อนดมื่ เครือ่ งด่มื แอลกอฮอลก์ ับการดืม่ แบบผดิ ปกติ น่ันคือการมีเพื่อนดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ส่งอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกตโิ ดยผ่านบรรทดั ฐานทางสงั คมด้านการดื่มเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ 4.2.3 ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมท่ีมีอิทธิพลต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ ผลการตรวจสอบการถดถอยเชิงขนานเป็นไปตามข้อตกลงเบ้ืองต้นสาหรับการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม 6 ปัจจัย คือ 1) การร่วมกิจกรรมทางศาสนา 2) ความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 3) ค่านิยมด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 4) การคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดี 5) การประเมินค่าผลจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ 6)ทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ท่ีมีต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจสิ ตกิ แบบลาดับ ผู้วิจัยวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบหยาบและพบว่าการร่วมกิจกรรมทางศาสนา ความรู้ด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดี และการประเมินค่าผลจากการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ไม่มีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลก อฮ อล์แ บบ ผิ ดป กติ แต่ ค่ านิ ยม ด้ าน กา รด่ื ม เค ร่ือง ดื่ม แอ ลก อฮอล์แ ล ะทั ศน คติ ต่ อก ารด่ื มเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอลม์ ีอทิ ธพิ ลอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ (p value < 0.05) รายละเอียดดังตารางที่ 27

142ตารางท่ี 27 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับแบบหยาบระหว่างปัจจัยจากส่ิงแวดล้อม ทางวฒั นธรรมกับการด่ืมแบบผดิ ปกติของกลมุ่ ตวั อย่างชาย จานวน 409 คน ตวั แปร/ปัจจัย การดม่ื แบบผิดปกติปัจจัยจากสง่ิ แวดลอ้ มทางวัฒนธรรม OR (95%CI) p value1. การรว่ มกจิ กรรมทางศาสนา2. ความร้ดู ้านการดื่มเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ 0.83 (0.63 - 1.10) 0.2013. ค่านยิ มด้านการด่มื เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ 0.99 (0.76 - 1.29) 0.9364. การคาดหวงั ผลในการดม่ื เคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ในทางที่ดี 2.64 (2.00 - 3.49) 0.000*5. การประเมินคา่ ผลจากการดืม่ เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ 1.25 (0.96 - 1.63) 0.1016. ทัศนคติต่อการดืม่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ 1.18 (0.91 - 1.54) 0.215 1.61 (1.23 - 2.10) 0.000** ระดับนยั สาคญั ทางสถิติท่ี 0.05 การวิเคราะห์หาโมเดลที่ดีท่ีสุดโดยการคัดเลือกตัวแปรตามกรอบทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก ผู้วิจัยต้องเร่ิมจากนาการร่วมกิจกรรมทางศาสนาเข้าสู่การวิเคราะห์เป็นตัวแปรแรกแต่เนอื่ งด้วยการวิเคราะหแ์ บบหยาบใหผ้ ลวา่ การร่วมกิจกรรมทางศาสนาไม่มีความสัมพันธ์กับการด่ืมแบบผิดปกติ ดังนั้นผู้วิจัยจึงนาตัวแปรความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์และ ค่านิยมด้านการดืม่ เครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์เข้าส่โู มเดลการวเิ คราะห์ ผลพบดงั ตารางที่ 28ตารางที่ 28 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับระหว่างความรู้ด้านการดื่มเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์และค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์กับการดื่มแบบผิดปกติของ กลมุ่ ตวั อยา่ งชาย จานวน 409 คน ตวั แปร/ปัจจัย การด่มื แบบผดิ ปกติปัจจัยจากส่งิ แวดลอ้ มทางวฒั นธรรม OR (95%CI) p value1. ความรดู้ า้ นการดื่มเครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์2. ค่านยิ มดา้ นการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 0.93 (0.71 - 1.21) 0.568 2.66 (2.01 - 3.51) 0.000** ระดับนัยสาคญั ทางสถติ ิที่ 0.05

143 จากตารางท่ี 28 พบว่า ความรู้ด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ไม่มีอิ ท ธิ พ ล ต่ อก า ร ดื่ ม แ บ บ ผิ ด ป ก ติ แ ต่ ค่ า นิย ม ด้ า น ก า ร ดื่ม เค รื่ อ ง ด่ืม แ อ ล ก อฮ อล์ มี อิ ท ธิ พ ล อ ย่ า ง มีนัยสาคัญทางสถิติ (p value < 0.05) เมื่อนาตัวแปรความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ออกจากโมเดลความสัมพันธ์ และนาการคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดี และการประเมนิ ค่าผลจากการดืม่ เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ เข้าส่โู มเดลการวิเคราะห์ ผลพบดังตารางที่ 29ตารางท่ี 29 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับระหว่าง ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดี และการ ประเมนิ คา่ ผลจากการด่ืมเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์กับการดื่มแบบผิดปกติของกลุ่มตัวอย่าง ชาย จานวน 409 คน ตวั แปร/ปัจจัย การด่ืมแบบผดิ ปกติปจั จยั จากสง่ิ แวดล้อมทางวัฒนธรรม OR (95%CI) p value1. ค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์2 การคาดหวังผลในการด่ืมเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ในทางท่ดี ี 2.62 (1.98 - 3.48) 0.000*3. การประเมินคา่ ผลจากการด่มื เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ 1.06 (0.77 - 1.47) 0.713 0.98 (0.71 - 1.35) 0.883* ระดับนยั สาคัญทางสถิติท่ี 0.05 จากตารางที่ 29 พบว่า ค่านิยมยังมีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p value < 0.05) การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดีและการประเมนิ คา่ ผลจากการด่มื เครื่องดืม่ แอลกอฮอลไ์ มม่ ีอทิ ธิพล (ค่าพีมากกว่า 0.05) หลังจากนาการคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดี และการประเมินค่าผลจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ออกจากโมเดลการวิเคราะห์ และนาทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์เข้าสโู่ มเดลการวเิ คราะห์เป็นลาดบั สุดทา้ ย ผลพบดงั ตารางที่ 30

144ตารางที่ 30 ปจั จยั จากส่งิ แวดล้อมทางวัฒนธรรมทมี่ ีอทิ ธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกตขิ องวัยรนุ่ ชาย ตวั แปร/ปัจจยั การดื่มแบบผดิ ปกติปัจจยั จากสง่ิ แวดล้อมทางวัฒนธรรม OR (95%CI) p value1. คา่ นิยมดา้ นการด่มื เครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์2. ทัศนคตติ อ่ การด่ืมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 2.55 (1.93 - 3.37) 0.000* 1.47 (1.13 - 1.93) 0.005** ระดบั นยั สาคัญทางสถิติที่ 0.05 จากตารางที่ 30 ค่านิยมด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีความสัมพันธ์กับการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติอย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดบั 0.05 โดยมรี ายละเอียดของผลการวิเคราะห์ดงั นี้ 1) วัยรุ่นชายที่ดื่มแบบเส่ียงน้อย ให้ค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลส์ ูงจะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติมากกว่ากลุ่มท่ีให้ค่านิยมด้านการดื่มเครือ่ งดื่มแอลกอฮอลต์ ่า 2.55 เท่า (95%CI เทา่ กับ 1.93 ถึง 3.37) 2) วัยรุ่นชายที่ด่ืมแบบเสี่ยงน้อย มีทัศนคติที่ดีต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติมากกว่ากลุ่มท่ีมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการดืม่ เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ 1.47 เทา่ (95%CI เทา่ กบั 1.13 ถงึ 1.93) 4.2.4 พฤติกรรมอ่ืนทีม่ ีอิทธิพลตอ่ การดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติ เนื่องด้วยผลการตรวจสอบการถดถอยเชิงขนานเป็นไปตามข้อตกลงเบ้ืองต้นสาหรับการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์อิทธิพลของการสูบบุหรท่ี ่มี ีต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับผลการวิเคราะห์ดังตารางที่ 31 พบว่า การสูบบุหร่ีมีค่าพีน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ การสูบบุหรี่มีอิทธพิ ลต่อการด่ืมแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดย วัยรุ่นชายที่ด่ืมแบบเสี่ยงน้อยและเคยสูบบุหรี่ จะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติมากกว่ากลุ่มที่ไม่เคยสูบบุหรี่ 4.20เทา่ (95%CI เท่ากบั 3.16 ถงึ 5.58)

145ตารางท่ี 31 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับระหว่างการสูบบุหรี่กับการดื่ม แบบผิดปกตขิ องกล่มุ ตัวอย่างชาย จานวน 409 คน ตัวแปร/ปจั จัย การด่มื แบบผดิ ปกติพฤตกิ รรมอ่ืนทเี่ กี่ยวขอ้ ง OR (95%CI) P valueการสบู บหุ รี่ 4.20 (3.16 - 5.58) 0.000** ระดบั นัยสาคญั ทางสถิติที่ 0.055. ปัจจยั ท่ีมีอิทธพิ ลต่อการดื่มเครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวยั รุ่นหญงิ การวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยซ่ึงผู้วิจัยแบ่งตามทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก 4 กลุ่ม ได้แก่ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล จานวน 5 ปัจจัย ปัจจัยจากบริบททางสังคม จานวน 3 ปัจจัย ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม จานวน 6 ปัจจัย และพฤติกรรมอ่ืนที่เก่ียวข้อง 1 พฤติกรรม ที่มีต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของกลุ่มตัวอย่างหญิง เนื่องจากได้แบ่งระดับการด่ืมแบบผิดปกติของกลุ่มตัวอย่างหญิงเป็นสองกลุ่ม ผู้วิจัยจึงใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกล่มุ วเิ คราะห์อิทธิพลในแตล่ ะกลมุ่ ปจั จัย ผลการวเิ คราะห์เปน็ ดงั นี้ 5.1 ผลการวิเคราะห์เบ้ืองต้น: ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล ปัจจัยจากบริบททางสังคมปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม และพฤติกรรมอ่ืนท่ีเก่ียวข้องของกลุ่มตัวอย่างเปรียบเทียบระหว่างระดับการด่ืมแบบผิดปกติ จากการแบ่งระดับการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของกลุ่มตัวอย่างหญิงเป็น 2 ระดับ คือ การด่ืมแบบเส่ียงน้อย และการด่ืมแบบเส่ียงจนถึงติดสุรา ได้กลุ่มตัวอย่างหญิงท่ีดม่ื แบบเสยี่ งน้อย 545 คน ดม่ื แบบเสี่ยงถงึ ติดสุรา 195 คน เม่ือพิจารณาปัจจัยจากภายในตัวบุคคลคือ การแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสงั คม ความโน้มเอียงทีจ่ ะด่ืม การควบคุมการดื่มและสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แยกตามระดับการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ 2 ระดับ พบว่า กลุ่มตัวอย่างหญิงท่ีดื่มแบบเสี่ยงน้อยส่วนใหญ่ร้อยละ67.3 เป็นผู้ท่ีมีการแสวงหาความท้าทายต่า ร้อยละ 52.5 มีความกังวลในการเข้าสังคมต่า ร้อยละ57.6 มีความโน้มเอียงที่จะดื่มต่า ร้อยละ 56 มีการควบคุมการด่ืมต่า และร้อยละ 62.8 มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูง สาหรับกลุ่มผู้ด่ืมแบบเส่ียงถึงติดสุราส่วนใหญ่ร้อยละ 71.3 เป็นผู้ที่มีการแสวงหาความท้าทายสูง ร้อยละ 54.9 มีความกังวลในการเข้า

146สงั คมสงู ร้อยละ 69.2 มีความโน้มเอียงที่จะด่ืมสูง ร้อยละ 51.3 มีการควบคุมการด่ืมต่า และร้อยละ90.8 มีสมรรถนะแหง่ ตนในการปฏิเสธการดืม่ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ตา่ (ขอ้ มูลดังตารางที่ 32) สาหรับปัจจัยจากบริบททางสังคม พบว่ากลุ่มผู้ด่ืมแบบเส่ียงน้อยส่วนใหญ่ร้อยละ41.3 มีเพ่ือน 2-3 คน ดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ร้อยละ 52.1 มีสมาชิกในครอบครัวไม่เคยด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เลยถึงดื่ม 1 คร้ัง/เดือน และร้อยละ 59.8 มีบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ต่า กลุ่มผู้ดื่มแบบเส่ียงถึงติดสุราส่วนใหญ่ร้อยละ 57.9 มีคร่ึงหน่ึงของกลุ่มเพื่อนดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 55.4 มีสมาชิกในครอบครัวดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มากกว่า1 ครงั้ /เดือนถึงด่ืมทุกวัน และร้อยละ 72.8 มีบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์สูง(ขอ้ มลู ดงั ตารางที่ 32) ในส่วนของปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมและการสูบบุหรี่ ผลพบว่ากลุ่มผ้ดู ม่ื แบบเสยี่ งน้อยส่วนใหญ่รอ้ ยละ 53.8 เปน็ ผ้ทู ไ่ี มเ่ คยร่วมกิจกรรมทางศาสนาเลยถึงน้อยครั้งร้อยละ 51 มคี วามรู้ด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ดี ร้อยละ 60.9 ให้ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่า ร้อยละ 55.4 มีการคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทางท่ีดีต่า ร้อยละ55.4 ประเมินค่าผลจากการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ไม่ดี และร้อยละ 55.2 มีทัศนคติไม่ดีต่อการด่ืมเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ และร้อยละ 96.1 ไม่เคยสูบบุหรี่ภายใน 1 เดือน กลุ่มผู้ดื่มแบบเส่ียงถึงติดสุราส่วนใหญ่ร้อยละ 52.8 เป็นผู้ท่ีไม่เคยร่วมกิจกรรมทางศาสนาเลยถึงน้อยคร้ัง ร้อยละ 60.5 มีความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ไม่ดี ร้อยละ 69.7 ให้ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์สูงร้อยละ 63.1 มีการคาดหวงั ผลในการดืม่ เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในทางที่ดีสูง ร้อยละ 61.5 ประเมินค่าผลจากการด่มื เครอื่ งดื่มแอลกอฮอลด์ ี รอ้ ยละ 56.4 มีทัศนคติทีด่ ีต่อการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และส่วนใหญร่ ้อยละ 86.2 ไมเ่ คยสูบบุหร่ี (ขอ้ มลู ดังตารางท่ี 32)

147ตารางที่ 32 ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล บริบททางสังคม สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมและการ สูบบุหรี่ ของกลุ่มตัวอย่างหญิง จานวน 740 คน แยกตามระดับการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ ระดบั การดมื่ เคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์ ปัจจยั แบบผิดปกติ ด่ืมแบบเส่ยี งน้อย ดื่มแบบเสยี่ งถึงตดิ สรุ าปัจจยั จากภายในตัวบคุ คล1. การแสวงหาความทา้ ทายการแสวงหาความท้าทายตา่ 367 (67.3) 56 (28.7)การแสวงหาความท้าทายสูง 178 (32.7) 139 (71.3)รวม 545 (100) 195 (100)2. ความกังวลในการเข้าสงั คมความกงั วลในการเข้าสังคมตา่ 286 (52.5) 88 (45.1)ความกงั วลในการเขา้ สังคมสงู 259 (47.5) 107 (54.9)รวม 545 (100) 195 (100)3. ความโน้มเอยี งท่ีจะด่มืความโนม้ เอยี งท่ีจะดืม่ ต่า 314 (57.6) 60 (30.8)ความโน้มเอยี งท่ีจะดม่ื สงู 231 (42.4) 135 (69.2)รวม 545 (100) 195 (100)4. การควบคมุ การดม่ืการควบคุมการดืม่ ต่า 305 (56.0) 100 (51.3)การควบคมุ การด่มื สูง 240 (44.0) 95 (48.7)รวม 545 (100) 195 (100)5. สมรรถนะแหง่ ตนในการปฏเิ สธการดม่ื เครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดม่ื เครอื่ งด่มื 203 (37.2) 177 (90.8)แอลกอฮอลต์ า่สมรรถนะแหง่ ตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองดม่ื 342 (62.8) 18 (9.2)แอลกอฮอลส์ งูรวม 545 (100) 195 (100)หมายเหตุ รายงานเปน็ จานวนคน (รอ้ ยละ)

148ตารางท่ี 32 ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล บริบททางสังคม สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมและการ สูบบุหร่ี ของกลุ่มตัวอย่างหญิง จานวน 740 คน แยกตามระดับการดื่มเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติ (ต่อ) ปจั จยั ระดับการดมื่ เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ แบบผดิ ปกติปัจจยั จากบริบททางสงั คม6. การมเี พ่อื นด่ืมเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ ดื่มแบบเส่ยี งน้อย ดื่มแบบเสีย่ งถงึ ตดิ สรุ าไม่มเี พื่อนด่ืมเพอ่ื น 2-3 คนด่มื 153 (28.1) 13 (6.7)คร่งึ หน่ึงของกลมุ่ เพอื่ นดม่ื 225 (41.3) 69 (35.4)รวม 167 (30.6) 113 (57.9)7. การดม่ื เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครวั 545 (100) 195 (100)ไม่เคยดม่ื เลย- ดม่ื 1 ครง้ั /เดือนมากกวา่ 1 คร้ัง/เดือน – ดื่มทุกวัน 284 (52.1) 87 (44.6)รวม 261 (47.9) 108 (55.4)8. บรรทดั ฐานทางสังคมดา้ นการดืม่ เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ 545 (100) 195 (100)บรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ต่า 326 (59.8) 53 (27.2)บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์สูง 219 (40.2) 142 (72.8)รวม 545 (100) 195 (100)ปัจจยั จากสงิ่ แวดล้อมทางวฒั นธรรม9. การรว่ มกิจกรรมทางศาสนา 293 (53.8) 103 (52.8)ไม่เคยเลยถงึ นอ้ ยครงั้ 252 (46.2) 92 (47.2)บอ่ ยครั้งถงึ เปน็ ประจา 545 (100) 195 (100)รวม10. ความรดู้ ้านการดมื่ เครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ 267 (49.0) 118 (60.5)ความรู้ดา้ นการดืม่ เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอลไ์ ม่ดี 278 (51.0) 77 (39.5)ความรดู้ า้ นการดื่มเครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ดี 545 (100) 195 (100)รวมหมายเหตุ รายงานเป็นจานวนคน (ร้อยละ)

149ตารางท่ี 32 ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล บริบททางสังคม สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมและการ สูบบุหรี่ ของกลุ่มตัวอย่างหญิง จานวน 740 คน แยกตามระดับการด่ืมเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ (ต่อ) ปจั จัย ระดบั การดม่ื เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แบบผิดปกติ11. ค่านยิ มดา้ นการดื่มเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ให้ค่านิยมด้านการดม่ื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอลต์ ่า ด่ืมแบบเสย่ี งนอ้ ย ดืม่ แบบเสี่ยงถึงติดสรุ าใหค้ า่ นยิ มด้านการด่มื เครื่องด่มื แอลกอฮอลส์ งูรวม 332 (60.9) 59 (30.3)12. การคาดหวงั ผลในการด่ืมเครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ในทางทีด่ ี 213 (39.1) 136 (69.7)การคาดหวงั ผลในการดืม่ เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ 545 (100) 195 (100)ในทางทีด่ ตี า่การคาดหวงั ผลในการดืม่ เครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ 302 (55.4) 72 (36.9)ในทางท่ีดสี งูรวม 243 (44.6) 123 (63.1)13. การประเมนิ ค่าผลจากการดมื่ เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ประเมินค่าผลจากการดืม่ เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ทางที่ไมด่ ี 545 (100) 195 (100)ประเมนิ คา่ ผลจากการดม่ื เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ทางท่ีดีรวม 302 (55.4) 75 (38.5)14. ทัศนคติต่อการดมื่ เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ 243 (44.6) 120 (61.5)ทศั นคตติ อ่ การดมื่ เครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ไม่ดี 545 (100) 195 (100)ทศั นคติตอ่ การด่มื เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอลด์ ีรวม 301 (55.2) 85 (43.6)พฤติกรรมอื่นทเี่ กี่ยวขอ้ ง 244 (44.8) 110 (56.4)15. การสูบบหุ รี่ 545 (100) 195 (100)ไม่เคยสบูเคยสูบ 524 (96.1) 168 (86.2)รวม 21 (3.9) 27 (13.8) 545 (100) 195 (100)หมายเหตุ รายงานเป็นจานวนคน (ร้อยละ)

150 5.2 ผลการวิเคราะห์อิทธิพลของตัวแปรทานายที่มีต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ 5.2.1 ปจั จัยจากภายในตวั บุคคลท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การด่ืมเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ จากข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างหญิง จานวน 740 คน ผู้วิจัยวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบหยาบ ผลพบว่าปัจจัยจากภายในตัวบุคคล 3 ปัจจัย ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย ความโน้มเอียงที่จะด่ืม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p value < 0.05)รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 33ตารางที่ 33 ผลการวเิ คราะห์การถดถอยโลจิสตกิ แบบสองกลุ่มแบบหยาบระหว่างปัจจัยจากภายใน ตัวบุคคลกบั การดม่ื แบบผิดปกตขิ องกล่มุ ตัวอยา่ งหญิง จานวน 740 คน ตวั แปร/ปจั จัย การดม่ื แบบเสยี่ งถงึ ตดิ สุราปจั จยั จากภายในตวั บคุ คล OR (95%CI) p value1. การแสวงหาความทา้ ทาย2. ความกงั วลในการเขา้ สังคม 5.12 (3.58-7.32) 0.000*3. ความโนม้ เอียงที่จะด่มื 1.34 (0.97-1.86) 0.0794. การควบคุมการด่มื 3.06 (2.16-4.33) 0.000*5. สมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการดื่มเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ 1.21 (0.87-1.68) 0.260 0.06 (0.04-0.10) 0.000** ระดบั นัยสาคัญทางสถิติท่ี 0.05 การวิเคราะห์หาโมเดลที่ดีที่สุดเร่ิมจากนาปัจจัยการแสวงหาความท้าทายเข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์เร่ิมต้น ผลการวิเคราะห์พบว่าการทดสอบโอมนิบัสให้ผลค่าพีน้อยกว่า0.05 (p value < 0.05) หมายถึงค่าสัมประสิทธิ์ของโมเดลการวิเคราะห์เม่ือมีตัวแปรการแสวงหาความท้าทายมีค่าไม่เท่ากับศูนย์ แสดงถึงโมเดลความสัมพันธ์นี้มีความเหมาะสมท่ีจะใช้ในการทานาย (ตารางภาคผนวกท่ี 10 ภาคผนวก ค) ผลของการทดสอบวอลดด์ ังตารางที่ 34

151ตารางที่ 34 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มระหว่างการแสวงหาความท้าทาย กบั การด่ืมแบบผดิ ปกติของกลุม่ ตัวอย่างหญิง จานวน 740 คน ตัวแปร/ปัจจยั การดม่ื แบบเส่ยี งถงึ ตดิ สุราปัจจัยจากภายในตวั บุคคล OR (95%CI) p value1. การแสวงหาความทา้ ทาย 5.12 (3.58 - 7.32) 0.000** ระดบั นัยสาคัญทางสถิตทิ ่ี 0.05 ผลการทดสอบวอลด์จากตารางที่ 34 พบว่า ค่าพีของตัวแปรการแสวงหาความท้าทายมีค่าน้อยกว่า 0.05 ซึ่งหมายถึงการแสวงหาความท้าทายมีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ หลังจากนาปัจจัยความกังวลในการเข้าสังคมเข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์เพ่ิมแล้ว ผลพบว่าการทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์ให้ผลค่าพีมากกว่า 0.05(p value > 0.05) (ตารางภาคผนวกที่ 11 ภาคผนวก ค) นั่นหมายถึงว่าเมื่อมีตัวแปร การแสวงหาความท้าทาย และความกังวลในการเข้าสังคมอยู่ในโมเดลทาให้ค่าคาดหมายและค่าที่ได้จากการสังเกต (Observed value) (ข้อมูลจริงที่ได้จากการเก็บข้อมูล) ไม่มีความแตกต่างกันน่ันคือโมเดลความสัมพันธ์น้ีมีความเหมาะสมที่จะใช้ในการทานาย และการทดสอบโอมนิบัสให้ผลค่าพีน้อยกว่า 0.05 (p value < 0.05) (ตารางภาคผนวกท่ี 12 ภาคผนวก ค) โมเดลนี้มีความเหมาะสม แต่ผลของการทดสอบวอลด์ดังตารางที่ 35 พบว่าค่าพีขอตัวแปรความกังวลในการเข้าสังคมมีค่ามากกว่า0.05 นนั่ แสดงว่าความกงั วลในการเขา้ สังคมไม่มีอทิ ธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติขณะท่ีการแสวงหาความทา้ ทายมีอิทธพิ ลอย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook