152ตารางที่ 35 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มระหว่างการแสวงหาความท้าทาย และความกังวลในการเข้าสังคมกับการด่ืมแบบผิดปกติของกลุ่มตัวอย่างหญิงจานวน 740 คน ตัวแปร/ปจั จัย การด่มื แบบเสย่ี งถงึ ตดิ สรุ าปัจจัยจากภายในตัวบคุ คล OR (95%CI) p value1. การแสวงหาความท้าทาย2. ความกงั วลในการเข้าสังคม 5.048 (3.52 - 7.24) 0.000* 1.13 (0.79 - 1.60) 0.501* ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ผู้วิจัยนาตัวแปรความกังวลในการเข้าสังคมออกจากโมเดลความสัมพันธ์และนาตัวแปรความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม และการควบคุมการด่ืมเข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ ผลจากการวิเคราะห์พบว่า การทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์ให้ผลค่าพีมากกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกที่ 13ภาคผนวก ค) การทดสอบโอมนิบัสให้ผลค่าพีน้อยกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกท่ี 14 ภาคผนวก ค)แสดงว่าโมเดลน้ีมีความเหมาะสม ผลของการทดสอบวอลด์ดังตารางที่ 36 พบว่า ค่าพีขอตัวแปรการควบคุมการด่ืมมีค่ามากกว่า 0.05 นั่นแสดงว่าการควบคุมการดื่มไม่มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติขณะท่ีการแสวงหาความทา้ ทาย และ ความโน้มเอียงทจ่ี ะดมื่ มีอทิ ธพิ ลอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติตารางท่ี 36 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มระหว่างการแสวงหาความท้าทาย ความโน้มเอยี งทจ่ี ะด่ืม และการควบคุมการดืม่ กับการดื่มแบบผิดปกติของกลุ่มตัวอย่าง หญงิ จานวน 740 คน ตัวแปร/ปจั จยั การด่มื แบบเสีย่ งถงึ ติดสุราปจั จยั จากภายในตัวบุคคล OR (95%CI) p value1. การแสวงหาความท้าทาย2. ความโน้มเอียงทจี่ ะดม่ื 4.52 (3.13 - 6.52) 0.000*3. การควบคุมการดม่ื 2.42 (1.67 - 3.51) 0.000* 1.12 (0.78 - 1.61) 0.528* ระดับนยั สาคัญทางสถิตทิ ่ี 0.05
153 ผู้วิจัยนาตัวแปรการควบคุมการด่ืมออกจากโมเดลความสัมพันธ์และนาปัจจัยสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์เป็นลาดับสุดท้าย การทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์ให้ผลค่าพีมากกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกที่ 15ภาคผนวก ค) การทดสอบโอมนิบัสให้ผลค่าพีน้อยกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกท่ี 16 ภาคผนวก ค)แสดงว่าโมเดลน้ีมีความเหมาะสม ผลของการทดสอบวอลด์ดังตารางท่ี 37 พบว่า ค่าพีของตัวแปรการแสวงหาความท้าทาย ความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์นอ้ ยกวา่ 0.05 แสดงว่า ตัวแปรท้ังสามตัวมีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติของวยั รุ่นหญงิตารางที่ 37 ปัจจัยจากภายในตวั บุคคลท่ีมอี ิทธิพลต่อการด่มื แบบผิดปกตขิ องวยั รนุ่ หญงิ ตวั แปร/ปัจจยั การดม่ื แบบเส่ยี งถงึ ติดสุราปัจจยั จากภายในตัวบุคคล OR (95%CI) p value1. การแสวงหาความทา้ ทาย2. ความโนม้ เอยี งทีจ่ ะดืม่ 2.72 (1.82 - 4.07) 0.000*3. สมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการดื่มเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ 1.81 (1.21 - 2.71) 0.004* 0.09 (0.05 - 0.15) 0.000** ระดบั นัยสาคญั ทางสถิติท่ี 0.05 จากตารางท่ี 37 รายละเอียดของโมเดลความสัมพันธเ์ ป็นดงั น้ี 1) วัยรุ่นหญิงที่ดื่มแบบเส่ียงน้อย มีการแสวงหาความท้าทายสูงจะมโี อกาสเปน็ ผดู้ ม่ื เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์แบบเส่ียงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มที่มีการแสวงหาความท้าทายต่า 2.72 เท่า(95%CI เทา่ กับ 1.82 ถึง 4.07) 2) วัยรนุ่ หญิงท่ดี ่ืมแบบเสยี่ งนอ้ ย มคี วามโน้มเอียงทีจ่ ะด่ืมสูงจะมีโอกาสเปน็ ผู้ดมื่ เครื่องด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบเสีย่ งถึงติดสุรามากกวา่ กลุ่มทม่ี ีความโน้มเอียงที่จะดื่มต่า 1.81 เท่า(95%CI เท่ากบั 1.21 ถงึ 2.71) 3) วัยรนุ่ หญิงทด่ี ืม่ แบบเส่ียงน้อย มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงจะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบเส่ียงถึงติดสุราน้อยกว่ากลุ่มที่มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ต่า 0.09 เท่า (95%CI เท่ากับ0.05 ถงึ 0.15)
154 5.2.2 ปัจจัยจากบริบททางสังคมท่ีมีอิทธิพลต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ ผ้วู ิจยั วิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยจากบริบททางสังคม 3 ปัจจัย คือ 1) การมีเพอื่ นดม่ื เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ 2) การด่มื เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ของสมาชกิ ในครอบครัว 3) บรรทัดฐานทางสงั คมด้านการด่ืมเครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ที่มีตอ่ การดมื่ เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์แบบผิดปกติแบบหยาบ ผลพบว่าการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวไม่มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติ การมีเพ่ือนด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีอิทธิพลอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ(p value < 0.05) รายละเอยี ดดังตารางที่ 38ตารางที่ 38 ผลการวเิ คราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มแบบหยาบระหว่างปัจจัยจากบริบท ทางสงั คมกับการดมื่ แบบผดิ ปกตขิ องกลุ่มตวั อย่างหญงิ จานวน 740 คน ตวั แปร/ปัจจยั การดื่มแบบเสี่ยงถงึ ตดิ สรุ าปจั จยั จากบริบททางสังคม OR (95%CI) p value1. การมเี พ่ือนดมื่ เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ไมม่ ีเพอ่ื นดมื่ - -เพ่อื น 2-3 คนดมื่ 1 1คร่งึ หน่ึงของกลุ่มเพื่อนด่ืม 3.61 (1.93 - 6.76) 0.000*2. การดมื่ เครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัว 7.96 (4.31 - 14.72) 0.000*3. บรรทดั ฐานทางสังคมด้านการดื่มเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 1.35 (0.97 - 1.88) 0.073 3.99 (2.79 - 5.71) 0.000** ระดบั นัยสาคัญทางสถติ ิที่ 0.05 การวิเคราะห์หาโมเดลท่ีดีท่ีสุดเริ่มจากนาตัวแปรการมีเพ่ือนด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ การดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวเข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ผลพบว่า การทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์ให้ผลค่าพีมากกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกท่ี 17ภาคผนวก ค) การทดสอบโอมนิบัสให้ผลค่าพีน้อยกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกที่ 18 ภาคผนวก ค)แสดงว่าโมเดลน้มี ีความเหมาะสม ผลของการทดสอบวอลด์เปน็ ดงั ตารางท่ี 39
155ตารางที่ 39 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มระหว่างการมีเพื่อนดื่มเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์ และ การด่มื เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวกับการด่ืมแบบ ผิดปกติของกลุ่มตวั อยา่ งหญงิ จานวน 740 คน ตัวแปร/ปจั จัย การด่ืมแบบเส่ยี งถงึ ติดสุราปจั จัยจากบริบททางสังคม OR (95%CI) p value1. การมเี พอื่ นดืม่ เครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ไมม่ เี พอื่ นดืม่ - -เพอื่ น 2-3 คนด่ืม - 0คร่งึ หนึ่งของกลมุ่ เพอื่ นดม่ื 3.55 (1.89 - 6.65) 0.000*2. การดม่ื เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอลข์ องสมาชิกในครอบครัว 7.78 (4.19 - 14.43) 0.000* 1.13 (0.80 - 1.59) 0.491* ระดบั นัยสาคญั ทางสถติ ิที่ 0.05 ผู้วิจยั นาตัวแปรการดืม่ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวออกจากโมเดลความสัมพันธ์และนาบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ การทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์ให้ผลค่าพีมากกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกท่ี 19ภาคผนวก ค) การทดสอบโอมนิบัสให้ผลค่าพีน้อยกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกที่ 20 ภาคผนวก ค)แสดงว่าโมเดลนมี้ คี วามเหมาะสม ผลของการทดสอบวอลดเ์ ปน็ ดงั ตารางที่ 40ตารางท่ี 40 ปัจจยั จากบรบิ ททางสังคมทีม่ ีอทิ ธิพลต่อการดม่ื แบบผิดปกติของวัยร่นุ หญงิ ตวั แปร/ปัจจยั การดืม่ แบบเส่ยี งถงึ ตดิ สุราปจั จัยจากบรบิ ททางสงั คม OR (95%CI) p value1. การมเี พอื่ นดมื่ เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ไม่มีเพอ่ื นดื่ม - -เพือ่ น 2-3 คนดมื่ - 0คร่ึงหนงึ่ ของกลมุ่ เพือ่ นด่มื 2.73 (1.43 - 5.18) 0.002*2. บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดม่ื เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ 4.86 (2.55 - 9.24) 0.000* 2.75 (1.88 - 4.03) 0.000** ระดบั นัยสาคัญทางสถติ ทิ ี่ 0.05
156 จากตารางที่ 40 ค่าพขี องการมเี พ่ือนดม่ื เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ น้อยกว่า 0.05 แสดงว่า การมีเพ่ือนดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผดิ ปกติของวัยรนุ่ หญงิ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ รายละเอียดของความสัมพันธ์เปน็ ดงั นี้ 1) วัยรุ่นหญิงที่ดื่มแบบเสี่ยงน้อย มีเพื่อน 2-3 คนด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมแบบเส่ียงถึงติดสุรามากกว่า ผู้ท่ีไม่มีเพื่อนดื่ม 2.73 เท่า (95%CIเท่ากับ 1.43 ถึง5.18) วัยรุ่นหญิงที่ดื่มแบบเส่ียงน้อย ท่ีครึ่งหน่ึงของกลุ่มเพ่ือนด่ืมจะมีโอกาสเป็นผดู้ ม่ื แบบเส่ยี งถงึ ติดสุรามากกวา่ ผู้ทีไ่ มม่ ีเพือ่ นด่มื 4.86 เท่า (95%CI เทา่ กับ 2.55 ถงึ 9.24) 2) วัยรุ่นหญิงที่ดื่มแบบเสี่ยงน้อย มีบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์สงู จะมโี อกาสเปน็ ผู้ด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มที่มีบรรทัดฐานทางสังคมดา้ นการดม่ื เครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ต่า 2.75 เทา่ (95%CI เท่ากบั 1.88 ถึง 4.03) 5.2.3 ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมท่ีมีอิทธิพลต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติ ผู้วิจัยวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม 6 ปัจจัยคือ 1) การร่วมกิจกรรมทางศาสนา 2) ความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 3) ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 4) การคาดหวังผลในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางท่ีดี 5) การประเมินค่าผลจากการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และ 6) ทัศนคติต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ท่ีมีต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติแบบหยาบ และพบว่าการร่วมกิจกรรมทางศาสนาเพียงปัจจัยเดียวที่ไม่มีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ ปัจจัยที่เหลือ 5 ปัจจัยมอี ทิ ธพิ ลอย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิ (p value < 0.05) รายละเอียดดังตารางท่ี 41
157ตารางท่ี 41 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มแบบหยาบระหว่างปัจจัยจาก ส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมกับการด่มื แบบผิดปกตขิ องกลมุ่ ตวั อย่างหญิง จานวน 740 คน ตัวแปร/ปจั จยั การดืม่ แบบเส่ยี งถงึ ติดสุราปัจจยั จากสง่ิ แวดลอ้ มทางวัฒนธรรม OR (95%CI) p value1. การรว่ มกิจกรรมทางศาสนา2. ความรดู้ า้ นการดมื่ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ 1.04 (0.75 - 144) 0.8213. คา่ นิยมดา้ นการดื่มเครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ 0.63 (0.45 - 0.87) 0.006*4. การคาดหวังผลในการด่ืมเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ในทางท่ีดี 3.59 (2.53 - 5.10) 0.000*5. การประเมนิ ค่าผลจากการดื่มเครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ 2.12 (1.52 - 2.97) 0.000*6. ทศั นคตติ อ่ การด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 1.99 (1.42 - 2.78) 0.000* 1.60 (1.15 - 2.22) 0.005** ระดับนัยสาคัญทางสถติ ทิ ่ี 0.05 เนื่องด้วยตัวแปรการร่วมกิจกรรมทางศาสนาไม่มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติในการวเิ คราะห์แบบหยาบ การวิเคราะห์หาโมเดลท่ีดีท่ีสุดจึงเริ่มจากนาตัวแปรความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และค่านิยมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ผลพบว่าการทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์ให้ผลค่าพีมากกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกที่ 21ภาคผนวก ค) การทดสอบโอมนิบัสให้ผลค่าพีน้อยกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกท่ี 22 ภาคผนวก ค)แสดงวา่ โมเดลน้มี ีความเหมาะสม ผลของการทดสอบวอลดเ์ ปน็ ดังตารางท่ี 42ตารางท่ี 42 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสตกิ แบบสองกลุ่มระหว่างความรู้ด้านการดื่มเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์และค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์กับการด่ืมแบบผิดปกติของ กลมุ่ ตัวอยา่ งหญงิ จานวน 740 คน ตัวแปร/ปจั จยั การดมื่ แบบเสย่ี งถงึ ติดสรุ าปัจจยั จากส่ิงแวดลอ้ มทางวัฒนธรรม OR (95%CI) p value1. ความรดู้ า้ นการดมื่ เคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์2. คา่ นยิ มดา้ นการด่มื เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ 0.67 (0.48 - 0.95) 0.023* 3.52 (2.47 - 4.99) 0.000** ระดับนยั สาคัญทางสถิตทิ ี่ 0.05
158 จากตารางท่ี 42 ค่าพีของตัวแปรความรู้ด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์น้อยกว่า 0.05 แสดงว่าความรู้ด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์และค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ หลังจากนาตวั แปรการคาดหวงั ผลในการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดีและการประเมินค่าผลจากการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์เพ่ิม ผลพบว่าการทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์ให้ผลค่าพีมากกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกที่ 23 ภาคผนวก ค) การทดสอบโอมนบิ สั ใหผ้ ลคา่ พนี อ้ ยกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกท่ี 24 ภาคผนวก ค) แสดงว่าโมเดลนี้มีความเหมาะสม ผลของการทดสอบวอลด์เป็นดงั ตารางที่ 43ตารางท่ี 43 ผลการวเิ คราะหก์ ารถดถอยโลจิสติกแบบสองกลมุ่ ระหว่างความรู้ด้านการด่ืมเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการดื่ม เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ในทางท่ดี แี ละการประเมนิ ค่าผลจากการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ กับการดมื่ แบบผิดปกติของกล่มุ ตวั อย่างหญงิ จานวน 740 คน ตัวแปร/ปัจจัย การดืม่ แบบเสี่ยงถงึ ติดสุราปจั จัยจากส่งิ แวดล้อมทางวัฒนธรรม OR (95%CI) p value1. ความรู้ดา้ นการด่ืมเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์2. ค่านยิ มดา้ นการดื่มเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ 0.68 (0.48 - 0.96) 0.027*3. การคาดหวังผลในการดืม่ เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทางท่ีดี 3.06 (2.13 - 4.40) 0.000*4. การประเมนิ ค่าผลจากการดื่มเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ 1.49 (1.00 - 2.22) 0.048* 1.23 (0.83 - 1.84) 0.300* ระดบั นัยสาคญั ทางสถิตทิ ี่ 0.05 จากตารางท่ี 43 ค่าพีของตัวแปรความรู้ด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ค่านิยมดา้ นการด่มื เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ และการคาดหวงั ผลในการดื่มเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดี น้อยกว่า 0.05 แต่ค่าพีของตัวแปรการประเมินค่าผลจากการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มากกว่า0.05 แสดงว่าความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการคาดหวังผลในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดีมีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติแต่การประเมินค่าผลจากการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ไม่มีอิทธิพล จากการนาตัวแปรการประเมินค่าผลจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ออกจากโมเดล
159ความสัมพันธ์ และนาตัวแปรทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เข้าสู่โมเดลการวิเคราะห์ผลพบว่าการทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์ให้ผลค่าพีมากกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกที่ 25ภาคผนวก ค) การทดสอบโอมนิบัสให้ผลค่าพีน้อยกว่า 0.05 (ตารางภาคผนวกที่ 26 ภาคผนวก ค)แสดงวา่ โมเดลนม้ี ีความเหมาะสม ผลของการทดสอบวอลด์เปน็ ดงั ตารางที่ 44ตารางท่ี 44 ปัจจัยจากสง่ิ แวดล้อมทางวัฒนธรรมที่มอี ิทธิพลตอ่ การด่มื แบบผดิ ปกติของวัยรุ่นหญงิ ตวั แปร/ปจั จยั การด่มื แบบเสยี่ งถงึ ติดสรุ าปจั จัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม OR (95%CI) p value1. ความรดู้ า้ นการด่ืมเครื่องดมื่ แอลกอฮอล์2. ค่านยิ มด้านการดม่ื เครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ 0.68 (0.48 - 0.96) 0.028*3. การคาดหวังผลในการด่มื เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ในทางทด่ี ี 3.05 (2.12 - 4.40) 0.000*4. ทัศนคติตอ่ การด่ืมเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ 1.62 (1.14 - 2.32) 0.008* 1.18 (0.83 - 1.68) 0.363* ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 จากตารางท่ี 44 ตัวแปรที่มีค่าพีน้อยกว่า 0.05 ได้แก่ ความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และการคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดีซ่ึงหมายถึง ปัจจัยความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในทางที่ดีมีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ขณะท่ีค่าพีของตัวแปรทัศนคติต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากกวา่ 0.05 หมายถงึ ทัศนคติต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไม่มีอิทธิพลต่อการดมื่ แบบผดิ ปกติของวยั รนุ่ หญิง รายละเอียดของผลการวเิ คราะห์มดี งั น้ี 1) วัยรุ่นหญิงท่ีด่ืมแบบเสี่ยงน้อย มีความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลด์ ี จะมีโอกาสเป็นผูด้ ่ืมเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงถึงติดสุราน้อยกว่ากลุ่มที่มีความรู้ดา้ นการดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ไมด่ ี 0.68 เทา่ (95%CI เทา่ กับ 0.48 ถึง 0.96) 2) วัยรุ่นหญิงที่ด่ืมแบบเสี่ยงน้อย ให้ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงจะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบเส่ียงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มที่ให้ค่านิยมด้านการดื่มเคร่อื งด่มื แอลกอฮอลต์ า่ 3.05 เท่า (95%CI เทา่ กบั 2.12 ถึง 4.40)
160 3) วัยรุ่นหญิงที่ด่ืมแบบเส่ียงน้อย มีการคาดหวังผลในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางท่ีดสี งู จะมโี อกาสเป็นผูด้ ื่มเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอลแ์ บบเสี่ยงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มท่ีมกี ารคาดหวังผลในการดม่ื เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ในทางทดี่ ตี า่ 1.62 เท่า (95%CI เท่ากบั 1.14 ถึง 2.32) 5.2.4 พฤติกรรมอืน่ ท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การด่มื เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ ผู้ วิ จั ย วิ เ ค ร า ะ ห์ อิ ท ธิ พ ล ข อ ง ก า ร สู บ บุ ห รี่ ท่ี มี ต่ อ ก า ร ดื่ ม เ ค ร่ื อ ง ด่ื มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ ผลการวิเคราะห์พบว่า การสูบบุหรี่มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 กล่าวคือ วัยรุ่นหญิงท่ีด่ืมแบบเสี่ยงน้อยและเคยสูบบุหรี่มาแล้วในชว่ ง 1 เดือนท่ผี ่านมา จะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มทไ่ี ม่เคยสูบบหุ รี่ 4.01 เท่า (95%CI เท่ากบั 2.21 ถงึ 7.28) ตามตารางที่ 45ตารางที่ 45 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มระหว่างการสูบบุหรี่กับการด่ืมแบบ ผิดปกติของกลุ่มตัวอย่างหญิง จานวน 740 คน ตัวแปร/ปัจจยั การด่มื แบบเสี่ยงถงึ ตดิ สุราพฤติกรรมอนื่ ทเี่ กย่ี วข้อง OR (95%CI) p valueการสูบบหุ ร่ี 4.01 (2.21 - 7.28) 0.000** ระดับนยั สาคัญทางสถิตทิ ี่ 0.05 ผลการศึกษาอทิ ธพิ ลของปัจจัยที่ได้มาจากการชน้ี าของทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกทีม่ ตี ่อการดืม่ เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกตขิ องวัยรุ่นชายและหญิงในจังหวัดขอนแก่นในเบื้องต้นพบว่า นักเรียนสายอาชีพชายจานวน 409 คน ที่มีอายุเฉลี่ย 17 ปี เป็นผู้เคยด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลม์ าก่อน (AUDIT score > 0) 333 คน หรือ ร้อยละ 81.4 และเป็นผู้ที่ดื่มแบบผิดปกติ 223คน หรอื ร้อยละ 54.6 ขณะทน่ี ักเรียนสายอาชีพหญิง จานวน 740 คน ที่มีอายุเฉล่ีย 16.9 ปี เป็นผู้เคยดม่ื เครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์มาก่อน (AUDIT score > 0) 483 คน หรือ ร้อยละ 65.3 และ เป็นผู้ที่ดื่มแบบผิดปกติ 195 คน หรอื รอ้ ยละ 26.4 หลงั จากวเิ คราะห์อทิ ธพิ ลของปัจจัยแล้วพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกตขิ องวัยรุน่ ชายในจงั หวดั ขอนแก่น มีจานวน 8 ปัจจัย เป็นปัจจัยจากภายในตัวบุคคล 4 ปจั จัย ได้แก่ 1) การแสวงหาความทา้ ทาย 2) ความกังวลในการเขา้ สังคม 3) ความโน้มเอียงที่จะดื่ม และ 4) สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซ่ึงทั้ง 4 ปัจจัย ต่างมีอิทธิพลโดยตรงต่อการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นชายในจังหวัดขอนแก่น
161ปัจจัยจากบริบททางสังคม 1 ปัจจัย คือ บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แต่ผลการวิเคราะห์หาโมเดลท่ีดีที่สุดพบว่า ปัจจัยบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์เปน็ ปจั จยั แทรกกลาง (Mediator) ระหวา่ งเส้นอิทธพิ ลของปจั จยั การมีเพื่อนด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ท่ีมีต่อการด่ืมแบบผิดปกติ ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม 2 ปัจจัย และพฤตกิ รรมอนื่ ท่เี กี่ยวขอ้ ง 1 พฤตกิ รรม ได้แก่ 1) ค่านยิ มดา้ นการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2) ทัศนคติตอ่ การด่มื เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ และ 3) การสูบบุหร่ี ตามลาดับ ซ่ึงปัจจัยท้ังสองและพฤติกรรมการสูบบุหร่ีต่างมีอิทธิพลโดยตรงต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ ผลการศึกษาในกลุ่มวัยรุ่นชายดังกล่าวข้างต้นนี้ไม่เป็นไปตามกรอบแนวคิดของการศึกษาหรือโมเดลความสัมพันธ์ที่ผู้วิจัยต้ังไว้ในบทท่ี 1 (ภาพที่ 1) แต่โมเดลความสัมพันธ์ที่พบเป็นดังภาพท่ี 16 สาหรับการอภิปรายผลผวู้ ิจยั ขอกล่าวต่อไปในบทที่ 5 สาหรับในวัยรุ่นหญิง ผลการวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยพบว่าปัจจัยจากภายในตัวบุคคล 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) การแสวงหาความท้าทาย 2) ความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม และ 3)สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ปัจจัยจากบริบททางสังคม 2 ปัจจัยได้แก่ 1) การมีเพื่อนด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และ 2) บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ความรู้ด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 2) ค่านยิ มดา้ นการด่มื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และ 3) การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดี และพฤติกรรมอื่นท่ีเก่ียวข้องคือการสูบบุหรี่ รวมท้ังหมด 8 ปัจจัย 1พฤติกรรม ปัจจัยและพฤติกรรมเหล่านี้ต่างมีอิทธิพลโดยตรงต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิงในจังหวัดขอนแก่น ผลการศึกษาในกลุ่มวัยรุ่นหญิงน้ีไม่เป็นไปตามกรอบแนวคิดของการศึกษาหรือโมเดลความสัมพันธ์ท่ีผู้วิจัยต้ังไว้ในบทที่ 1 (ภาพที่ 1) แต่โมเดลความสัมพันธ์ท่ีพบเป็นดังภาพท่ี 17 สาหรับการอภิปรายผลผู้วิจัยขอกล่าวต่อไปในบทที่ 5เช่นเดยี วกนั
114 อิทธพิ ลจากบริบท PeD อทิ ธพิ ลจากภายในตัวบุคคล SIA SS PDN CEP DRSESm PDPD คอื การดื่มเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ DRSE คือ สมรรถนะแหง่ ตนในการSm คอื การสูบบุหรี่ เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์PeD คอื การมเี พื่อนดืม่ เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์PDN คอื บรรทดั ฐานทางสังคมดา้ นการด่มื เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ CEP คอื ความโนม้ เอียงที่จะดม่ื SIA คือ ความกังวลในการเขา้ สังคม SS คือ การแสวงหาความทา้ ทายภาพท่ี 16 ปจั จัยท่ีมีอิทธิพลตอ่ การดืม่ เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกตขิ องวยั รุ่นชายในจงั หวัด
162ททางสงั คม อทิ ธิพลจากส่ิงแวดล้อมทางวฒั นธรรม VAU ATAรปฏิเสธการด่ืม ATA คือ ทศั นคติตอ่ การดื่มเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ม VAU คอื ค่านยิ มด้านการดื่มเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ดขอนแก่น
อิทธพิ ลจากภายในตัวบุคคล อทิ ธิพลจากบรบิ ท SS PeD CEP PDNDRSESm PDPD คอื การด่มื เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์แบบผิดปกติ DRSE คอื สมรรถนะแห่งตนในการปSm คือ การสูบบหุ ร่ี เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์PeD คือ การมเี พ่อื นดม่ื เครื่องดื่มแอลกอฮอล์PDN คอื บรรทดั ฐานทางสงั คมด้านการด่ืมเครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์ CEP คอื ความโนม้ เอียงท่จี ะดื่ม SS คือ การแสวงหาความท้าทายภาพท่ี 17 ปจั จยั ทม่ี ีอิทธิพลต่อการด่มื เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกตขิ องวัยรนุ่ หญิงในจงั หว
ททางสงั คม 115 อทิ ธิพลจากสิ่งแวดลอ้ มทางวฒั นธรรม KDA VAU PAEปฏิเสธการดื่ม PAE คอื การคาดหวงั ผลในการดืม่ เครื่องดืม่ แอลกอฮอลใ์ นทางท่ดี ีย VAU คอื ค่านิยมด้านการด่ืมเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ KDA คือ ความรดู้ ้านการดมื่ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์วัดขอนแก่น 163
บทที่ 5 อภิปรายผลการวจิ ยั การศึกษานี้เป็นการแสวงหาองค์ความรู้เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การดื่มแบบผิดปกติของวัยรุ่นในจังหวัดขอนแก่นโดยการทดสอบอิทธิพลของปัจจัยท่ีได้จากกรอบทฤษฎีไทรอาดิกที่มีต่อก า ร ด่ื ม เ ค ร่ื อ ง ด่ื ม แ อ ล ก อ ฮ อล์ แ บ บ ผิ ด ป ก ติข อ ง วั ย รุ่ น ท้ั ง ห ญิ ง แ ล ะ ช า ย ใ น จั ง ห วั ด ข อน แ ก่ นผลการศึกษาที่ได้นาเสนอไปแล้วในบทที่ 4 นาสู่การอภิปรายผลในบทนี้ 4 เรื่อง คือ 1) ลักษณะท่ัวไปและการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 2) ลักษณะของปัจจัยจากภายในตัวบุคคล ปัจจัยจากบริบททางสังคม ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสูบบุหร่ี 3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นชายและวัยรุ่นหญิง และ 4) ความครอบคลุมของมาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ รายละเอยี ดมีดังต่อไปนี้1. ลกั ษณะทวั่ ไปและการดื่มเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ 1.1 ลักษณะทั่วไปของกลมุ่ ตัวอยา่ ง ตัวอย่างของการศึกษาคร้ังนี้เป็นนักเรียนสายอาชีพชายและหญิงที่เรียนในสถาบันการศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการของจังหวัดขอนแก่น ระหว่างเดือน มิถุนายนถงึ กนั ยายน พ.ศ.2553 จานวน 1,149 คน เป็นชาย 409 คน หญิง 740 คน อายุอยู่ในช่วงระหว่าง 15-19 ปี ถึงแม้ว่าจานวนของกลุ่มตัวอย่างหญิงจะมากกว่ากลุ่มตัวอย่างชาย แต่ค่าเฉล่ียของอายุและค่ามัธยฐานไม่แตกต่างกนั นนั่ คือ คา่ เฉลีย่ อายุในกลุม่ ตวั อย่างชายอยู่ท่ี 17 ปี (SD=1.0) มัธยฐานอยู่ท่ี17 ปี (ร้อยละ 36.2) ค่าเฉลี่ยอายุในกลุ่มตัวอย่างหญิงอยู่ที่ 16.9 (SD=1.0) มัธยฐานอยู่ท่ี 17 ปี(ร้อยละ 31.4) เช่นเดยี วกันกบั ระดบั ชน้ั ปีที่เรยี นและศาสนา กลุ่มตวั อยา่ งชายและหญิงส่วนใหญ่เป็นนกั เรยี นในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปีท่ี 2 (ชาย ร้อยละ 42.6 หญิง ร้อยละ 36.6) และนับถือศาสนาพุทธ (ชายร้อยละ 99.3 หญิง ร้อยละ 98.6) แสดงให้เห็นถึงผู้วิจัยได้ควบคุมตัวแปรทางอายุของท้ังสองเพศเพื่อท่ีจะให้การศึกษาไม่มีอิทธิพลของอายุเข้าไปเป็นตัวแปรรบกวน แตกต่างจากการศึกษาเก่ียวกับการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของนักเรียนสายอาชีพอ่ืนๆ ท่ีผ่านมา ถึงแม้ศึกษาในช่วงอายุทใี่ กล้เคียงกนั คือ 15-19 ปี แตก่ ลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไมไ่ ดม้ อี ายุ 17 ปี และไม่ได้เรียนในระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั ปีท่ี 2 เช่น การศึกษาของสมพร สิทธิสงคราม (2549) กลุ่มตัวอย่างชายและหญิงส่วนใหญ่มีอายุ 18 ปี (ร้อยละ 65.1) และเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่3 (ร้อยละ 58.8) และการศึกษาของพรพิมล บัวสมบูรณ์ และนรลักขณ์ เอ้ือกิจ (2551) กลุ่มตัวอย่าง
166ชายและหญิงส่วนใหญ่มีอายุ 16 ปี (ร้อยละ 31.8) และเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปีที่ 1(รอ้ ยละ 36.4) 1.2 การดืม่ เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ การศึกษาน้ีพบว่ากลุ่มตัวอย่างชายเพียงร้อยละ 18 กลุ่มตัวอย่างหญิงร้อยละ 34.7ไม่เคยดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มาก่อนเลยหรือมีคะแนนจากแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุรา เท่ากับ 0 คะแนน น้อยกว่าผลจากการสารวจเพ่ือเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาในประเทศไทยในปีพ.ศ.2550 ของสาวิตรี อัษณางค์กรชัย และคณะ (สาวิตรี อัษณางค์กรชัย และคณะ, 2551) ที่พบว่านักเรยี นสายอาชพี ชาย และหญงิ ชัน้ ประกาศนยี บตั รปที ี่ 2 ไมเ่ คยดม่ื เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์เลยในชีวิตร้อยละ 31.2 และ 55.3 ตามลาดับ และน้อยกว่าอย่างมากเมื่อเปรียบเทียบกับผลการสารวจการบริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ที่มีอายุ 12-65 ปี ในจังหวัดขอนแก่นเมื่อปี พ.ศ. 2550 ของสารัชบุญไตรย์และคณะ (สารัช บุญไตรย์ มานพ คณะโต และสมพงษ์ ศรีแสนปาง, 2551) ที่พบว่าผู้หญงิ ที่ไม่เคยด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เลยในชีวิต มีร้อยละ 78 ผู้ชายมีร้อยละ 67.8 ความแตกต่างท่ีปรากฏอาจเป็นไปได้ว่าเม่ือเวลาผ่านไป 3 ปี สัดส่วนของนักเรียนท่ีด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เพ่ิมมากขึ้น สัดส่วนของผู้ที่ไม่เคยด่ืมจึงลดลง นอกจากน้ีการสารวจของสาวิตรีและคณะ (สาวิตรีอัษณางค์กรชัย และคณะ, 2551) เป็นการสารวจท่ัวประเทศแต่การศึกษาน้ีสารวจในจังหวัดขอนแก่นซ่ึงเป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีสัดส่วนของผู้ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์อายุ15-19 ปีขึ้นไปมากเป็นอันดับสองรองจากภาคเหนือ (กมลา วัฒนพร ประพักตร์ เนรมิตพิทักษ์กุลปนรรฐพร จงประเสริฐยิ่ง และทักษพล ธรรมรังสี, มปป.) จึงพบได้ว่าวัยรุ่นที่ไม่เคยด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก่อนเลยมีสัดส่วนน้อยกว่าผลการสารวจในปีท่ีผ่านมา ส่วนข้อแตกต่างเมื่อนามาเปรียบเทียบกับการสารวจของสารัชและคณะนน้ั แม้ว่าเป็นการศึกษาในจังหวัดเดียวกัน คือ จังหวัดขอนแกน่ แต่ชว่ งอายุของกลุ่มตัวอย่างในการสารวจของสารัชและคณะ คือ 12-65 ปี เป็นช่วงอายุที่กวา้ งกว่าซึ่งรวมไปถึงวยั ผใู้ หญ่และสูงอายุ จงึ ทาใหม้ ีโอกาสพบผ้ทู ไ่ี ม่เคยด่ืมเลยมากกวา่ การศกึ ษานี้ การศกึ ษาน้ียงั พบวา่ กลมุ่ ตวั อย่างชายและหญิงมีระดับการดื่มแบบผิดปกติแตกต่างกนั กลมุ่ ตัวอยา่ งชายมคี ะแนนจากแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุราเฉล่ียอยู่ท่ี 9.5 (SD=8.1)ซึ่งใกล้เคียงกับค่ามัธยฐานคืออยู่ท่ี 9.0 จัดอยู่ในระดับที่ดื่มแบบเสี่ยง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะกลุ่มตัวอยา่ งชายส่วนใหญม่ ีระดบั การดื่มแบบเสี่ยงน้อยไม่ถึงร้อยละ 50 (ร้อยละ 45.4) และแตกต่างจากการด่ืมแบบเสี่ยงและแบบอันตรายถึงติดสุราไม่มากคือร้อยละ 32.8 และ 22.8 ตามลาดับ จึงทาให้ค่าเฉล่ียของคะแนนและค่ามัธยฐานมีค่าค่อนข้างใกล้เคียงและอยู่ในระดับด่ืมแบบเสี่ยง ขณะท่ีคะแนนเฉลี่ยและค่ามัธยฐานในกลุ่มตัวอย่างหญิงเท่ากับ 4.7 (SD=5.5) และ 3.0 ตามลาดับ ถึงแม้
167คะแนนแตกต่างกันอยู่ 1.7 คะแนน แต่ก็จัดอยู่ในระดับด่ืมแบบเส่ียงน้อย สอดคล้องกับสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างหญิงท่ีดื่มแบบเสี่ยงน้อยมีถึงร้อยละ73.6 ดื่มแบบเส่ียง ร้อยละ 20.7 และดื่มแบบอันตรายถึงตดิ สรุ ามเี พยี งร้อยละ 5.7 อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้กลุ่มตัวอย่างชายดื่มแบบเสี่ยงและแบบอันตรายถึงติดสุรามากกว่าร้อยละ 50 (ร้อยละ 54.6) ขณะท่ีกลุ่มตัวอย่างหญิงมีสัดส่วนเพียงรอ้ ยละ 26.4 แตกต่างจากการศึกษาของณัฐจาพร พิชัยณรงค์ และคณะ (ณัฐจาพร พิชัยณรงค์ วิศิษฎ์ฉวีพจน์กาจร และสุณีรัตน์ ยั่งยืน, 2553) ท่ีพบว่านักเรียนสายอาชีพชายและหญิงในจังหวัดนครราชสีมาด่ืมแบบเส่ียงและแบบอันตรายถึงติดสุราน้อยกว่าร้อยละ 50 (ชายร้อยละ 46.9 และหญงิ ร้อยละ 16.5) และมีสดั สว่ นน้อยกวา่ การศกึ ษาในจงั หวดั ขอนแก่น เม่ื อพิ จา รณ า ร ะ ดั บ ก า รดื่ ม ข อง ก ลุ่ ม ตั ว อย่ า ง ทั้ ง ช า ย แ ล ะ ห ญิ ง ใ น ก า รศึ ก ษ า น้ีกลุ่มตัวอย่างท้ังชายและหญิงมีสัดส่วนการด่ืมแบบเสี่ยงน้อยมากท่ีสุดเช่นเดียวกัน คือร้อยละ 45.4และ 73.6 ตามลาดับ สัดส่วนการด่ืมแบบเส่ียงน้ันมีลาดับรองลงมา (ชายร้อยละ 32.8 และหญิงร้อยละ 20.7) และมสี ดั ส่วนของการด่ืมแบบอันตรายถึงตดิ สรุ านอ้ ยทส่ี ดุ (ชายร้อยละ 22.8 และหญิงร้อยละ 5.7) ทงั้ นีผ้ ลการศึกษาสอดคล้องกบั การสารวจทัว่ ประเทศในปี พ.ศ.2550 ของคณะกรรมการบริหารเครือข่ายวิชาการสารเสพติด (2551) ที่พบว่า วัยรุ่นอายุ 12-19 ปี ท้ังชายและหญิง ดื่มแบบเสี่ยงน้อยมากที่สุดร้อยละ 66 และ 84.2 ตามลาดับ ดื่มแบบเสี่ยงร้อยละ 26.5 และ 13.2 ตามลาดับด่ืมแบบอันตรายถึงติดสุราซึ่งน้อยท่ีสุดคือร้อยละ 7.5 และ 2.6 ตามลาดับ ขณะท่ีการศึกษาของสมพร สิทธิสงคราม (2549) กลับพบว่านักเรียนสายอาชีพในจังหวัดเชียงใหม่มีพฤติกรรมการด่ืมแบบอันตรายในสัดส่วนท่ีมากท่ีสุดคือร้อยละ 49.41 รองลงมาเป็นการดื่มแบบเสี่ยงน้อยคือร้อยละ30.59 และน้อยท่ีสุดเป็นการด่ืมแบบเสี่ยงร้อยละ 20 ท้ังน้ีอาจเป็นเพราะการศึกษาของสมพรมิได้วิเคราะห์แยกชายและหญิงและจากการสารวจใน ปี พ.ศ. 2550 ที่พบว่านักดื่มวัยรุ่นในภาคเหนือมีความชุกสูงกว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กมลา วัฒนพร และคณะ, ม.ป.ป.) สัดส่วนของการดื่มแบบผิดปกติของวยั รนุ่ ในจังหวัดขอนแก่นท่ีพบในการศึกษาน้ีจึงไม่สอดคล้องกับผลการศึกษาของสมพร สทิ ธิสงคราม (2549) ทศ่ี กึ ษาในจงั หวัดเชยี งใหม่ การสารวจของคณะกรรมการบริหารเครือข่ายวิชาการสารเสพติดรายงานผลแยกชายและหญิง อีกท้ังเป็นการสารวจทั่วประเทศ ข้อมูลการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จากการศึกษานี้ซ่ึงเป็นข้อมูลในระดับจังหวัดจึงมีความสอดคล้องกับการสารวจทั่วประเทศถึงแม้ว่าการสารวจท่ัวประเทศจะมีชว่ งอายุทีก่ ว้างกว่าเล็กน้อย
1682. ลักษณะของปัจจัยจากภายในตัวบุคคล ปัจจัยจากบริบททางสังคม ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อม ทางวัฒนธรรม และการสบู บหุ รี่ 2.1 ลักษณะของปจั จยั จากภายในตัวบุคคลของกลมุ่ ตัวอย่าง ผ ล จา ก ก า รศึ ก ษ า พ บ ว่า ก ลุ่ ม ตัวอย่ า ง ช า ย แล ะ หญิ ง มี ค ะ แนน บุ ค ลิ ก ภ า พ แบ บแสวงหาความท้าทาย ความกงั วลต่อการมปี ฏสิ มั พนั ธ์ทางสังคม ความโน้มเอียงที่จะด่ืม การควบคุมการดม่ื และสมรรถนะแหง่ ตนในการปฏเิ สธการดม่ื เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ไมเ่ ทา่ กนั การศึกษาน้ีกลุ่มตัวอย่างชายมีคะแนนจากแบบสอบถามบุคลิกภาพแบบแสวงหาความทา้ ทายรวมเฉลย่ี เทา่ กับ 17.8 คะแนน (SD เท่ากับ 3.5) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 18 คะแนน มากกว่าคะแนนรวมเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างหญิงซ่ึงเท่ากับ 16.1 (SD เท่ากับ 3.3) ค่ามัธยฐานเท่ากับ16 คะแนน เช่นเดียวกันกับผลการศึกษาของวีณา คันฉ้อง (Chanchong, 2004) ที่พบว่าวัยรุ่นชายในจังหวัดภาคใต้ อายุ 15-20 ปี มีคะแนนจากแบบสอบถามบุคลิกภาพแบบแสวงหาความท้าทายรวมเฉล่ียเท่ากับ 18.5 คะแนน มากกว่าคะแนนรวมเฉลี่ยของวัยรุ่นหญิงซึ่งเท่ากับ 15.5 คะแนน และสอดคล้องกับการศึกษาในต่างประเทศของซัคเคอร์แมนและคุห์ลแมน (Zuckerman and Kuhlman)(Zuckerman & Kuhlman, 2000) ทพี่ บว่าวยั รุ่นชายมีระดับการแสวงหาความท้าทายมากกว่าวยั รนุ่ หญงิ คะแนนความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมรวมเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างชายในการศึกษาน้ีเท่ากับ 25.3 คะแนน (SD เท่ากับ 12.4) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 25 คะแนน และคะแนนรวมเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างหญิงเท่ากับ 24.4 คะแนน (SD เท่ากับ 11.6) ค่ามัธยฐานเท่ากับ23 คะแนน คะแนนรวมเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างชายมากกว่าคะแนนของกลุ่มตัวอย่างหญิงเล็กน้อยแต่เม่ือแบ่งกลุ่มด้วยค่ามัธยฐานแล้วพบว่าในกลุ่มที่มีความกังวลในการเข้าสังคมสูงกลุ่มตัวอย่างหญิงมีสัดส่วนมากกว่ากลุ่มตัวอย่างชาย (หญิงร้อยละ 49.5 และชายร้อยละ 47.4) สอดคล้องกับการศึกษาท่ีผ่านมาซึ่งพบว่าความกังวลในการเข้าสังคมจะปรากฏตั้งแต่เด็กถึงวัยรุ่นและพบในเพศหญงิ มากกวา่ เพศชาย (ประทักษ์ ลขิ ิตเลอสรวง, 2548) กลุ่มตัวอย่างชายมีคะแนนความโน้มเอียงที่จะดื่มรวมเฉลี่ยมากกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิงโดยกลุ่มตัวอย่างชายมีคะแนนรวมเฉล่ียเท่ากับ 22.2 คะแนน (SD เท่ากับ 8.2) ค่ามัธยฐานเท่ากับ22 คะแนน กลุ่มตัวอย่างหญิงมีคะแนนรวมเฉล่ียเท่ากับ 17.9 คะแนน (SD เท่ากับ 6.8) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 16 คะแนน แสดงถึงกลุ่มตัวอย่างชายมีความคิดคานึงถึงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิง ขณะท่ีกลุ่มตัวอย่างชายมีความคิดควบคุมการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์น้อยกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิงเล็กน้อย โดยคะแนนการควบคุมการดื่มรวมเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างชายเท่ากับ 16.7 คะแนน (SD เท่ากับ 6.4) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 17 คะแนน คะแนนรวมเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างหญิงเท่ากับ 17.3 คะแนน (SD เท่ากับ 7.6) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 18 คะแนน สอดคล้องกับ
169การศึกษาของวิลเลียมส์และริคเซียเดลลี (Williams & Ricciardelli) (Williams & Ricciardelli, 1999)ท่ีพบว่านักเรียนชายชั้นมัธยมปลายชาวออสเตรเลียมีความโน้มเอียงจะด่ืมมากกว่านักเรียนหญิงแตม่ ีการคดิ ควบคมุ การดมื่ น้อยกวา่ นกั เรียนหญิง ในส่วนของคะแนนสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รวมเฉลี่ย กลุ่มตัวอย่างชายมีคะแนนน้อยกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิงโดยคะแนนรวมเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างชายเท่ากับ 86.4 (SD เท่ากับ 19.4) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 86 คะแนน คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอยา่ งหญิงเทา่ กบั 97.6 คะแนน (SD เท่ากบั 15.4) ค่ามัธยฐานเท่ากับ 101 คะแนน ในต่างประเทศไม่พบการศึกษาที่รายงานผลความแตกต่างระหว่างชายและหญิง สาหรับการศึกษาน้ีพบนักเรียนชายมีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์สูงในสัดส่วนท่ีพอๆกันกับนกั เรยี นหญงิ (ชายรอ้ ยละ 49.9 หญิงร้อยละ 48.6) ผลจากการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศหลายฉบับพบว่าวัยรุ่นท่ีมีระดับการแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคม และความโน้มเอียงท่ีจะดื่มสูงขึ้นแต่มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ต่า วัยรุ่นมีแนวโน้มด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มากขึ้น (Chanchong, 2004; Epstein, Griffin, & Botvin, 2000; Hittner & Swickert,2006; Kairouz, Gliksman, Demers, & Adlaf, 2002; Kushner & Sher, 1993; Martins, Storr,Alexandre, & Chilcoat, 2008; Palfal, 2001; Williams & Ricciardelli, 1999; Young, Connor,Ricciardelli, & Saunders, 2006; สมพร สิทธิสงคราม, 2549) นา่ จะสนับสนุนให้การแสวงหาความท้าทาย ความกงั วลในการเขา้ สงั คม และความโนม้ เอียงท่ีจะดื่ม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติของวัยรุ่นชายและหญิงในจังหวัดขอนแก่นและเน่ืองจากกลุ่มตัวอย่างชายมีการแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคม และความโน้มเอียงที่จะด่ืมสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิง ขณะท่ีมีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์น้อยกว่า ปัจจัยเหล่าน้ีน่าจะมีส่วนทาให้สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างชายท่ีดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลม์ ากกวา่ สัดสว่ นของกล่มุ ตัวอยา่ งหญงิ ในการศึกษาน้ี 2.2 ลกั ษณะของปัจจัยจากบรบิ ททางสังคมของกลุม่ ตวั อยา่ ง ผลจากการศึกษาปัจจัยจากบริบททางสังคมในนักเรียนสายอาชีพจานวน 1,149 คนพบว่าสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างชายและกลุ่มตัวอย่างหญิงที่ไม่มีเพ่ือนด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีเพียงร้อยละ 7.8 และ 22.4 ตามลาดับ แต่อย่างไรก็ตามนักเรียนหญิงมีสัดส่วนมากกว่านักเรียนชายสอดคล้องกับการศึกษาของณัฐจาพร พิชัยณรงค์ และคณะ(2553) ท่ีพบว่านักเรียนอาชีวศึกษาชายและหญิงในจังหวัดนครราชสีมามีเพ่ือนไม่ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์เพียงร้อยละ 6 แต่แตกต่างจาการศึกษาของพรพิมล บัวสมบูรณ์ และนรลักขณ์ เอื้อกิจ (2551) ท่ีพบว่านักเรียนอาชีวศึกษาเขต
170กรุงเทพมหานครมีเพื่อนไม่ด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มากถึงร้อยละ 43.2 แสดงให้เห็นว่าวัยรุ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่มีเพื่อนด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ สาหรับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวน้ัน ผลของการศึกษาในครั้งนี้พบว่าท้ังนักเรียนหญิงและนกั เรยี นชายมีสมาชิกในครอบครวั ดืม่ เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์น้อยคร้ังในสัดส่วนที่เท่ากัน และเท่ากับสัดส่วนของนักเรียนหญิงและชายท่ีมีสมาชิกในครอบครัวด่ืมบ่อยคร้ัง คือ ร้อยละ 50 ไม่แตกต่างจากของณัฐจาพรและคณะ(2553) มากนักในเรื่องสัดส่วนของนักเรียนชายท่ีมีบิดามารดาไม่ด่ืม คือร้อยละ 44.6 แต่สัดส่วนของนักเรียนหญิงในจังหวัดนครราชสีมาท่ีมีบิดามารดาไม่ดื่มนั้นน้อยกว่าการศกึ ษาคร้ังนี้ คือมีเพียงรอ้ ยละ 18 ในสว่ นของคะแนนบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ กลุ่มตัวอย่างชายมีคะแนนบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์รวมเฉลยี่ มากกวา่ กลุ่มตัวอย่างหญิง (กลุ่มตัวอย่างชายมีค่าคะแนนรวมเฉล่ียเท่ากับ 32.3, SD เท่ากับ 7.5ค่ามัธยฐาน เท่ากับ 33 กลุ่มตัวอย่างหญิงมีค่าคะแนนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 27.9, SD เท่ากับ 8.3 ค่ามัธยฐานเท่ากบั 28) แต่กลบั พบว่าสดั สว่ นของกลุ่มตัวอย่างที่บรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลส์ ูงในหญิงมากกวา่ ชาย (หญงิ ร้อยละ 48.8 ชาย ร้อยละ 45) ผลจากการศึกษาในต่างประเทศพบว่าจานวนเพ่ือนที่ด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการดื่มของวัยรุ่นและ การรับรู้บรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการด่ืมแอลกอฮอล์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของนักศึกษาและกลุ่มท่ีมีการด่ืมอย่างหนัก(K. W. Griffin, G. J. Botvin, & J. A. Epstein, 2000; Neighbors, Lee, Lewis, Fossos, & Larimer,2007; Reboussin, Song, Shrestha, Lohman, & Wolfson, 2006 ; Schultz & Neighbors, 2007) น่าจะสนับสนนุ ให้การคบเพื่อนด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติของวัยรุ่นชายและหญิงในจังหวัดขอนแก่น และเน่ืองจากการศึกษาน้ีกลุ่มตัวอย่างชายมีสัดส่วนของการคบเพ่ือนที่ด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มากกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิงและมีคะแนนบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์สูงกว่าปัจจัยทั้งสองน่าจะมีส่วนทาให้กลุ่มตัวอย่างชายดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติในสัดส่วนท่ีมากกวา่ กลุ่มตัวอยา่ งหญิง 2.3 ลักษณะของปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมของกลุ่มตวั อยา่ ง ผลการศึกษาปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม จานวน 6 ปัจจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างหญิงและกลุ่มตัวอย่างชายส่วนใหญ่ไม่เข้าร่วมหรือเข้าร่วมกิจกรรม ทางศาสนาน้อย(ชาย รอ้ ยละ 63.3 หญงิ ร้อยละ 53.5) ทั้งนี้กลุ่มตวั อย่างท้งั หญิงและชายส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธสะท้อนให้เห็นถึงสังคมของวัยรุ่นไทยที่ห่างไกลจากการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา สอดคล้องกับผลการสารวจเอแบคโพลลใ์ นวันท่ี 16 กุมภาพันธ์ 2554 ท่ีพบว่า เยาวชนไทยส่วนใหญ่ ร้อยละ 65.4
171ไม่ทราบวันสาคัญทางศาสนา (เอแบคโพลล์, 2554) ในส่วนของการศึกษาในต่างประเทศลัคแซคคอร์เบทท์ โอห์ แครร์และวอลล์ (Luczak, Corbett, Oh, Carr, and Wall) (Luczak, Corbett, Oh,Carr, & Wall, 2003) พบว่านักศึกษาเช้ือชาติจีนร้อยละ 45 ไม่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาแต่นักศกึ ษาเช้อื ชาติเกาหลีเพียงร้อยละ 16 ไม่เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนา ทางด้านคะแนนค่านิยมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ (กลุ่มตัวอย่างชายมีค่าคะแนนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 25.8, SD เท่ากับ 5.8 ค่ามัธยฐาน เท่ากับ 26 กลุ่มตัวอย่างหญิงมีค่าคะแนนรวมเฉล่ียเท่ากับ 23.9, SD เท่ากับ 6.1 ค่ามัธยฐานเท่ากับ 24) การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ทางท่ดี ี (กล่มุ ตวั อยา่ งชายมคี า่ คะแนนรวมเฉลยี่ เท่ากับ 54.7, SD เทา่ กับ 12.3 ค่ามัธยฐานเท่ากับ 55 กลุ่มตัวอย่างหญิงมีค่าคะแนนรวมเฉล่ียเท่ากับ 49.4, SD เท่ากับ 12.9 ค่ามัธยฐานเท่ากับ51) การประเมินค่าผลจากการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ (กลุ่มตัวอย่างชายมีค่าคะแนนรวมเฉล่ียเทา่ กับ 62.2, SD เท่ากับ 17.4 ค่ามัธยฐาน เท่ากับ 62 กลุ่มตัวอย่างหญิงมีค่าคะแนนรวมเฉล่ียเท่ากับ53.2, SD เท่ากับ 18 ค่ามัธยฐานเท่ากับ 54) และคะแนนทัศนคติต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(กลุ่มตัวอย่างชายมีค่าคะแนนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 22.8, SD เท่ากับ 5.9 ค่ามัธยฐาน เท่ากับ 24 กลุ่มตวั อยา่ งหญงิ มคี า่ คะแนนรวมเฉลีย่ เทา่ กบั 18.8, SD เทา่ กบั 6 คา่ มธั ยฐานเท่ากับ 18) ของการศึกษาน้ีพบว่าคะแนนรวมเฉล่ียและค่ากลางของคะแนน (มัธยฐาน) ของกลุ่มตัวอย่างชายสูงกว่ากลุ่มตัวอยา่ งหญิง ขณะท่ีกลุม่ ตัวอยา่ งชายมคี ะแนนความรู้ด้านการดื่มเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์น้อยกว่ากลุ่มตัวอยา่ งหญงิ (กลุม่ ตวั อย่างชายมีค่าคะแนนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 7.1, SD เท่ากับ 2.7 ค่ามัธยฐาน เท่ากับ6 กลมุ่ ตวั อยา่ งหญงิ มคี า่ คะแนนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 7.7, SD เทา่ กบั 2.7 คา่ มัธยฐานเท่ากับ 8) ผลจากการศึกษาท้ังในประเทศและต่างประเทศที่ผ่านมาพบว่า ค่านิยมในการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ทางท่ีดี การประเมินค่าผลจากการดม่ื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และทัศนคติท่ีดีต่อการดื่มมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มีความสัมพันธ์ในทางตรงข้าม (Cable,2007; Faulkner, Hendry, Roderique, & Thomson, 2006; K. W. Griffin et al., 2000; U.S.Department of Health and Human Services, 2007; Zamboanga, 2006; บุญเล้ียง ทุมทอง, วราภรณ์กุประดิษฐ์, รุ่งเรือง ล้ิมไพบูลย์, & นฤมล อเนกวิทย์, 2549; ประกิจ โพธิอาศน์, 2541) น่าจะสนับสนุนให้ความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ค่านิยมในการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์การคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ทางที่ดี การประเมินค่าผลจากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และทัศนคติท่ีดีต่อการด่ืมมีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นชายและหญิงในจังหวัดขอนแก่น น่ันอาจเป็นไปได้ว่ากลุ่มตัวอย่างชายมีคะแนนค่านิยมด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางที่ดีสูงกว่า และมีการประเมินค่าผล
172จากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ดี และทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ที่ดีกว่า แต่มีความรู้ด้านการด่ืมด้อยกว่ากลุ่มตัวอย่างหญิง ปัจจัยเหล่าน้ีน่าจะมีส่วนทาให้กลุ่มตัวอย่างชายมีสัดส่วนของการด่มื มากกวา่ กลมุ่ ตัวอยา่ งหญิงในการศกึ ษานี้ 2.4 การสบู บหุ ร่ขี องกลมุ่ ตัวอยา่ ง สาหรับการศึกษานี้พฤติกรรมอื่นที่เก่ียวข้อง คือ การสูบบุหร่ี ผลการศึกษาการสูบบุหร่ีในนักเรียนสายอาชีพจานวน 1,149 คน พบว่า มีนักเรียนท้ังชายและหญิงสูบบุหร่ี สอดคล้องกับการศึกษาของนัยนา ปัตตพงศ์ (2551) ที่พบว่านักเรียนอาชีวศึกษาสูบบุหรี่ และด่ืมสุราทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา การศึกษานี้ยังพบว่าสัดส่วนของนักเรียนหญิงที่เคยสูบบุหร่ีใน1 เดอื นท่ีผา่ นมาน้อยกว่านักเรียนชาย (ชาย รอ้ ยละ 43.5 และ หญิง ร้อยละ 6.5) สอดคล้องกับผลจากการสารวจทว่ั ประเทศของสาวิตรี อัษณางค์กรชัย และคณะ(2551) ท่ีพบว่า นักเรียนชายเคยสูบบุหรี่ร้อยละ 21.2 มากกวา่ นกั เรยี นหญิง ซงึ่ สบู เพียงร้อยละ 5.3 การสูบบุหร่ีนี้อาจมีความสัมพันธ์กับการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ เนื่องจากมีความสอดคล้องระหว่างสัดส่วนของนักเรียนชายท่ีสูบบุหรี่มากกวา่ นกั เรียนหญิง และสัดส่วนของนักเรียนชายท่ีดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากกว่านักเรียนหญิงเช่นเดียวกนั เห็นได้ว่ากลุ่มตัวอย่างชายและหญิงท่ีอยู่ในช่วงวัยเดียวกัน เรียนอยู่ในช่วงช้ันปีเดียวกันและนับถือศาสนาเหมือนกัน แต่มีการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แตกต่างกัน มีลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคม ความโน้มเอียงที่จะด่ืมการควบคุมการดื่ม และ สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ แตกต่างกันมีบริบททางสังคม คือ การมีเพ่ือนดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ และการรับรู้บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แตกต่างกัน มีสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และการรับรู้ ได้แก่ความรู้ด้านการดม่ื เคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ ค่านิยมดา้ นการดื่มเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการด่ืมเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ทางท่ีดี การประเมินค่าผลจากการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ทัศนคติที่ดีต่อการดื่ม และสูบบุหรี่แตกต่างกัน น่าจะทาให้กลุ่มตัวอย่างชายและหญิงดื่มแบบผิดปกติแตกต่างกันการศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยตามกรอบทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกกับการด่ืมแบบผิดปกติจึงแยกศึกษาเปน็ 2 กล่มุ คือ กลมุ่ ตัวอยา่ งชาย และกลมุ่ ตัวอย่างหญงิ3. ปจั จยั ทม่ี ีอิทธิพลตอ่ การดมื่ เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกตขิ องวัยร่นุ ชายและวยั รนุ่ หญงิ การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเพ่ือทดสอบสมมติฐาน คือ ปัจจัยตามกรอบแนวคิดทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก 15 ปัจจัย มีอิทธิพลต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวยั ร่นุ หญงิ และชายในจังหวดั ขอนแก่น โดยผวู้ ิจัยวิเคราะห์ทีละกลุ่มอิทธิพล ได้แก่ อิทธิพลจาก
173ภายในตัวบุคคล อิทธิพลจากบริบททางสังคม อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และอิทธิพลจากพฤติกรรมอ่นื ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ผลการวิเคราะห์อภิปรายได้ดังน้ี 3.1 ปจั จยั ที่มอี ิทธพิ ลตอ่ การดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติของวัยรุ่นชาย ผลจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่ามีเพียง 8 ปัจจัยเท่าน้ัน ท่ีมีอิทธิพลต่อการดมื่ เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นชายในจังหวัดขอนแก่นซ่ึงไม่ป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่คาดว่าท้ัง 15 ปัจจัยจะมีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติ ปัจจัยทั้ง 8 นี้ เป็นปัจจัยจากอิทธิพลภายในตัวบุคคล 4 ปัจจัย ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคมความโน้มเอียงท่ีจะด่ืม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และเม่ือพิจารณาแยกตามระดับการด่ืม ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ให้รายละเอียดว่าการแสวงหาความท้าทายความกังวลในการเข้าสังคม ความโน้มเอียงที่จะดื่ม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮฮล์แบบอันตรายถึงติดสุรา กล่าวคือวัยรุ่นชายท่ีดื่มแบบเส่ียงน้อย (คะแนนจากแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุราน้อยกว่า 8)มีการแสวงหาความท้าทายสูง ความกังวลในการเข้าสังคมสูง ความโน้มเอียงที่จะด่ืมสูง และมีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอลต์ ่ามีโอกาสอยา่ งมากทจ่ี ะเป็นผู้ดื่มแบบอันตรายถึงติดสุรา แต่สมรรถนะแหง่ ตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮฮล์แบบเส่ียงเพียงปัจจัยเดียว หรือกล่าวได้ว่าวัยรุ่นชายที่มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ต่ามีโอกาสมากท่ีจะเป็นผู้ดื่มแบบเสี่ยง ดังนั้นวัยรุ่นชายท่ีพบว่ามีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ต่าจึงมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นผู้ด่ืมแบบเส่ียง และแบบอันตรายถึงติดสุราได้ การเสริมสร้างให้วัยรุ่นชายมีสมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการด่มื เครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์สูงข้ึนจึงมีความสาคัญย่ิงในการลดอันตรายจากการด่ืมแบบผิดปกติ และป้องกันวัยรุ่นชายจากการดื่มแบบผิดปกติ นอกจากน้ีการเปิดโอกาสให้วัยรุ่นชายได้แสดงออกในสถานการณ์ท่ีท้าทายแต่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและเพื่อช่วยสังคม การสร้างเสริมทกั ษะในการเข้าสงั คม และการควบคมุ ยับย้ังตนเองท่จี ะไมด่ ่ืมควรไดร้ ับการคานึงถงึ ในการป้องกันวัยรนุ่ ชายจากการดื่มแบบผิดปกตดิ ว้ ย สาหรับปัจจัยจากบริบททางสังคม ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพียงหนึ่งเดียวที่มีอิทธิพลต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นชายหลังจากวิเคราะห์เพื่อหาโมเดลที่ดีที่สุด แต่การวิเคราะห์ในลาดับแรกผลกลับพบวา่ การดม่ื เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวไม่มีอทิ ธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติขณะที่การมีเพื่อนด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีอิทธิพล และเม่ือนาบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์เข้าสู่การวิเคราะห์ร่วมกลับพบว่าการมีเพ่ือนดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ไม่มี
174ความสัมพันธ์ แต่บรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มีความสัมพันธ์จากผลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการมีเพื่อนด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มีอิทธิพลเหนือกว่าการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวอย่างมาก และจานวนเพ่ือนท่ีดื่มมีอิทธิพลต่อการรับรู้บรรทัดฐานด้านการด่ืมของวัยรุ่นชาย เม่ือวัยรุ่นรับรู้ปริมาณและความถี่ที่เพ่ือนๆดื่มและเพ่ือนในกลุ่มยอมรับได้ในระดับสูงย่ิงมีโอกาสมากเป็นสองเท่าท่ีจะด่ืมแบบผิดปกติ อิทธิพลจากการคบเพ่ือนที่ด่ืมจึงเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญและไม่ควรละเลยสาหรับสร้างเกราะป้องกันการดื่มแบบผิดปกติในวยั ร่นุ ชาย ค่านิยมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ และทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ เป็นปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมท่ีพบว่ามีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรนุ่ ชาย ขณะที่การรว่ มกิจกรรมทางศาสนา ความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดี และการประเมินค่าผลจากการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ไม่มีอิทธิพล ท้ังน้ีเป็นไปได้ว่าวัยรุ่นชายในจังหวัดขอนแก่นรับค่านิยมด้านการดื่มเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์จากวฒั นธรรมและสังคมที่แวดลอ้ มวัยรุ่น และวัยรุ่นชายมีประสบการณ์รับผลจากการดื่มทางที่ดีมาแล้ว การคาดหวังผลท่ีจะเกิดจากการดื่ม (คาดหวังในผลท่ีจะเกิดแต่ผลน้ันยังไม่เกิด) จึงไม่เกี่ยวข้องและการประเมินค่าผลจากการดื่มเคร่ืองด่ืมจึงไม่เก่ียวข้องไปด้วย แต่เน่ืองด้วยวัยรุ่นชายมีประสบการณ์ท่ีเคยได้รับผลดีจากการดื่มมาแล้ววัยรุ่นจึงยังคงมีทัศนคติท่ีดีต่อการดมื่ ซึ่งมผี ลตอ่ การเพมิ่ ระดับการดมื่ สาหรับศาสนาซึ่งน่าจะมีบทบาทหลักในการกล่อมเกลา ให้ความรู้เร่ืองผลของกรด่ืมให้ค่านิยมของการละเว้นการด่ืมที่จะไปมีผลต่อการลดคาดหวังผลในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ทางท่ีดีและประเมินค่าผลจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปในทางที่ไม่ดี และจะทาให้วัยรุ่นมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการด่ืม ส่งผลต่อการลดการด่ืมของวัยรุ่นลงหรือไม่ดื่มตามทิศทางของอิทธิพลสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมของทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก (ภาพท่ี 9 บทท่ี 2) แต่ผลการศึกษาน้ีกลับพบว่าวยั รนุ่ ชายสว่ นใหญ่ร้อยละ 63.3 ไม่เข้าร่วมหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาน้อย และไม่ว่าจะเป็นกลมุ่ ทีด่ ม่ื แบบเส่ียงนอ้ ย หรอื กลมุ่ ท่ดี มื่ แบบเส่ียง หรอื กลุ่มทด่ี ืม่ แบบอันตรายถึงติดสุรา สัดส่วนของการไม่เข้าร่วมหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาน้อยพบมากกว่าร้อยละ 50 ในทุกกลุ่ม ปัจจัยการร่วมกิจกรรมทางศาสนาจึงพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับการดื่มแบบผิดปกติ ส่งผลไปถึงความรู้ดา้ นการดม่ื เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการด่ืมเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ในทางท่ีดี และการประเมนิ ค่าผลจากการด่มื เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ทีไ่ ม่มีความสัมพันธก์ บั การด่ืมแบบผิดปกติตามไปด้วย พฤติกรรมท่ีเก่ียวข้องที่มีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติคือ การสูบบุหรี่ กล่าวคือวัยรุ่นชายท่ีดื่มแบบเสี่ยงน้อยเคยสูบบุหรี่ในช่วง 1 เดือนท่ีผ่านมามีโอกาสเป็นผู้ด่ืมแบบผิดปกติ
175มากกว่าวยั ร่นุ ชายทไ่ี มเ่ คยสบู บุหร่ี ผลที่ได้นี้สอดคล้องกับการวิเคราะห์เบ้ืองต้นท่ีพบว่า วัยรุ่นที่ดื่มแบบเส่ียงเป็นผู้ที่เคยสูบบุหร่ีในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาร้อยละ 57.5 วัยรุ่นที่ดื่มแบบอันตรายถึงติดสรุ าเป็นผทู้ ี่เคยสูบบหุ รีใ่ นรอบ 1 เดอื นทผ่ี า่ นมาร้อยละ 76.4 นอกจากนี้ยังเป็นไปตามทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดกิ ท่กี ล่าววา่ ยังมีพฤติกรรมอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของวัยรุ่น และผลการวิเคราะหน์ ยี้ งั สอดคลอ้ งกับงานวิจยั ในตา่ งประเทศท่ีพบวา่ ผู้ทส่ี บู บุหร่ีมีโอกาสสงู จะเป็นผู้ด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงหรือดื่มอย่างหนัก (Aekplakorn et al., 2008; K.W. Griffin, G.J.Botvin, & J.A. Epstein, 2000; Reboussina, Songa, Shresthab, Lohmana, & Wolfson, 2006;Tyssen, Vaglum, Aasland, Gronvold, & Ekeberg, 1998; Vickers et al., 2004) 3.2 ปจั จัยที่มอี ทิ ธิพลต่อการดมื่ เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกตขิ องวยั รุน่ หญงิ ผลจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่ามีเพียง 9 ปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิงในจังหวัดขอนแก่นซ่ึงไม่ป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยท่ีคาดว่าทั้ง 15 ปัจจัยจะมีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติ ทั้ง 9 ปัจจัยนี้ เป็นปัจจัยจากอิทธิพลภายในตัวบุคคล 3 ปัจจัย ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย ความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ขณะท่ีความกังวลในการเข้าสังคมและการควบคุมการดื่มไม่มีอิทธิพล ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะวัยรุ่นหญิงที่ด่ืมแบบเสี่ยงถึงติดสุรามีความโดดเด่นของการแสวงหาความท้าทายสูง (ร้อยละ 71.3) ความโน้มเอียงที่จะด่ืมสูง (ร้อยละ 69.2)และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ต่า (ร้อยละ 90.8) ในขณะท่ีวัยรุ่นหญงิ ท่ีดมื่ แบบเสย่ี งน้อยมใี นทางตรงขา้ มดังนั้นลักษณะทงั้ สามจึงแสดงอิทธิพลท่ีโดดเด่นต่อการดื่มแบบผิดปกติ แต่กลุ่มท่ีด่ืมแบบเส่ียงน้อยและกลุ่มที่ดื่มแบบเสี่ยงถึงติดสุรามีความกังวลในการเข้าสังคม และควบคมุ การดมื่ ไม่แตกตา่ งกนั สาหรับปัจจัยจากบริบททางสังคม ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่าปัจจัยท่ีมีอิทธพิ ลต่อการด่มื แบบผดิ ปกติของวยั รุ่นหญงิ มี 2 ปัจจยั ได้แก่ การมีเพื่อน 2-3 คนดื่ม และครึ่งหน่ึงของกลุ่มเพื่อนดื่ม และบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ กล่าวคือ วัยรุ่นหญิงท่ีคบเพื่อนที่ดื่ม 2-3 คน มีโอกาสเป็นผู้ดื่มแบบเส่ียงถึงติดสุรา 2.73 เท่า แต่ถ้ามีเพ่ือนคร่ึงกลุ่มด่ืมโอกาสจะเพิ่มเป็น 4.86 และวัยรุ่นหญิงที่มีบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงมีโอกาสเป็นผู้ดื่มแบบเส่ียงถึงติดสุรา 2.75 เท่า ทั้งน้ีเนื่องมาจากวัยรุ่นหญิงที่ด่ืมแบบเส่ียงถึงติดสุรามีเพื่อนที่ไม่ด่ืมน้อยคือมีเพียงร้อยละ 6.7 มีเพ่ือนที่ดื่มครึ่งหนึ่งของกลุ่มเพ่ือน ร้อยละ 57.9ในส่วนของบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์วัยรุ่นหญิงที่ด่ืมแบบเสี่ยงถึงติดสุรามีการรับรู้บรรทัดฐานด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงในสัดส่วนท่ีโดดเด่นมากคือร้อยละ72.8 นอกจากน้ีบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มไม่ได้มาจากเพื่อนที่ดื่มเพียงอย่างเดียว อีกส่วน
176หน่ึงเป็นการรับรทู้ ไ่ี ด้รับจากครอบครัว และจากการยินยอมให้ดมื่ ของเพอ่ื นและครอบครัว ส่วนการดืม่ เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอลข์ องสมาชกิ ในครอบครวั นั้นไมม่ ีอิทธิพลตอ่ การด่ืมแบบผิดปกติซ่ึงอาจเป็นเพราะวัยรุ่นท่ีเรียนทางสายอาชีพใช้ชีวิตส่วนใหญ่จะอยู่กับเพื่อนมากกว่าครอบครัว การเรียนในสถาบันการศึกษาในจังหวัดหรือในตัวเมืองวัยรุ่นนิยมเช่าหอพักอยู่ใกล้กับที่เรียน จึงทาให้ห่างไกลจากครอบครัวและมีชีวิตส่วนใหญ่อยู่กับกลุ่มเพ่ือน ปัจจัยการด่ืมของคนในครอบครัวจึงไม่มีอทิ ธพิ ล ความรู้ด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์การคาดหวังผลในการดม่ื เครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ทางทดี่ ี เปน็ 3 ปจั จัยจากสง่ิ แวดล้อมทางวัฒนธรรมท่ีมีอทิ ธพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิง ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์กับการดื่มแบบเส่ียงถึงติดสุราของวัยรุ่นหญิงท่ีพบในการศึกษาน้ีสอดคล้องกับการวิเคราะ ห์เบื้ องต้นท่ี พบ ว่าวัยรุ่นหญิงที่ ด่ืม แบบ เสี่ยงถึงติดสุรา ใ ห้ค่านิย มด้านก ารด่ืม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์สูง ร้อยละ 69.7 และสอดคล้องกับงานวิจัยท่ีผ่านมาของประกิจ โพธิอาศน์ (2541)ที่พบว่าค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีความสัมพันธ์กับการด่ืมของวัยรุ่นไทยและการศึกษาของสเลเตอร์ (Slater) (Slater, 2001) ที่พบว่าค่านิยมในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีความสัมพันธ์ทางลบกับความตั้งใจในการลดการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ลง สาหรับความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มีความสัม พันธ์กับการดื่มแบบ เส่ียงถึงติดสุราในทิ ศทางตรงข้ามเมื่อเปรียบเทียบกับผลการวิเคราะห์เบื้องต้นแล้วพบว่าวัยรุ่นหญิงท่ีดื่มแบบเส่ียงถึงติดสุรามีความรู้ด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ไม่ดีร้อยละ 60.5 สอดคล้องกับการศึกษาของกริฟฟินและคณะ(Griffin et al) (Griffin et al., 2000) ที่พบว่าความรู้เกี่ยวกับการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีความสัมพันธ์กับการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนักของวัยรุ่นหญิงและชาย แต่ตรงกันข้ามกับการศึกษาของ ประกิจ โพธิอาศน์ (2541) และของ สายพิณ สาประเสริฐ (2544) ที่พบว่าความรู้เก่ยี วกบั การดืม่ เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ไม่มคี วามสัมพันธก์ บั พฤติกรรมการด่มื ในวัยรุน่ ท้ังน้ีการศึกษาของประกิจเป็นการศึกษารวมไม่ได้แยกชายและหญิงในการวิเคราะห์ ส่วนการศึกษาของสายพิณเป็นการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างนายสิบทหารบกซ่ึงเป็นผู้ชายและในการศึกษาน้ีความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ไม่มีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นชาย ในส่วนการคาดหวังผลในการดื่มเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ทางท่ีดีท่ีมีอิทธิพลกับการดื่มแบบเสี่ยงถึงติดสุราน้ันสอดคล้องกับการวิเคราะห์เบ้ืองต้นที่พบว่าวัยรุ่นหญิงกลุ่มท่ีดื่มแบบเส่ียงถึงติดสุรามี การคาดหวังผลในการด่ืมเครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ทางทด่ี ีรอ้ ยละ 63.1 อีกท้ังยังสอดคล้องกับการศึกษาในต่างประเทศที่พบว่าย่ิงวัยรุ่นคาดหวังผลทางที่ดีจากการดื่มมาก ย่ิงด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มมากข้ึน (Christiansen &
177Goldman, 1983; Brown, Christiansen & Goldman, 1987; Fromme, Stroot & Kaplan, 1993,Fromme & D’Amico, 2000) จากผลการวิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมกับการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิงในจังหวัดขอนแก่นน้ีเห็นได้ว่า วัยรุ่นหญิงเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาน้อย ดังนั้นความรู้ด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์น่าจะมาจากแหล่งอ่ืนๆ เช่น ผู้ปกครองสถานศึกษา หรือสื่อสารมวลชน และขณะเดียวกันวัยรุ่นก็ได้รับค่านิยมด้านการด่ืมจากแหล่งวฒั นธรรมอื่นท่ีศาสนาไม่มอี ทิ ธิพลในการยบั ยง้ั จึงส่งผลให้วยั ร่นุ หญิงมีโอกาสเสยี่ งต่อการเป็นผู้ด่ืมแบบผิดปกติมากขึ้น ในส่วนของการคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทางท่ีดีน้ันมีอยู่ในความคิดของวัยรุ่นหญงิ อย่แู ล้วซงึ่ อาจมาจากการบั ข้อมูลจากบรบิ ทของสังคมวัฒนธรรม รุ่นหญิงที่ด่ืมแบบเส่ียงถึงติดสุราในการศึกษานี้จึงมีความโดดเด่นของการให้ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูง มีความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ไม่ดี และคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลท์ างทดี่ สี งู ปัจจัยด้านการสูบบุหร่ีสาหรับวัยรุ่นหญิงพบว่าผู้ท่ีดื่มแบบเสี่ยงน้อยเคยสูบบุหร่ีในช่วง 1 เดอื นทีผ่ า่ นมา มโี อกาสเป็นผดู้ ื่มแบบเสยี่ งถึงตดิ สรุ ามากกว่ากลุ่มท่ีไม่เคยสูบบุหรี่ ผลที่ได้น้ีสอดคล้องกับการวิเคราะห์เบ้ืองต้นที่พบว่า วัยรุ่นหญิงท่ีด่ืมแบบเส่ียงถึงติดสุราเป็นผู้ท่ีเคยสูบบุหร่ีในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาร้อยละ 13.8 ขณะท่ีวัยรุ่นหญิงที่ด่ืมแบบเสี่ยงน้อย สูบบุหรี่ในรอบ 1เดือนที่ผ่านมาเพียงร้อยละ 3.9 นอกจากนี้ยังเป็นไปตามทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกที่กล่าวว่ายังมีพฤติกรรมอื่นที่เก่ียวข้องที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของวัยรุ่น และผลการวิเคราะห์ยังสอดคล้องกับงานวิจัยในต่างประเทศท่ีพบว่าผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสสูงจะเป็นผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบเส่ียงหรือด่ืมอย่างหนัก (Aekplakorn et al., 2008; K.W. Griffin et al., 2000;Reboussina et al., 2006; Tyssen et al., 1998; Vickers et al., 2004) จากผลการศกึ ษาปัจจัยท่มี ีอิทธิพลต่อการดมื่ เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นชายและวัยรุ่นหญิงในจังหวัดขอนแก่นที่พบในการศึกษานี้จะเห็นได้ว่าปัจจัยที่ได้มาตามกรอบทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกมีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติของวัยรุ่นชายและหญิงเหมือนและแตกต่างกัน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติท้ังชายและหญิงได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย ความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์และการสูบบุหร่ี ซึ่งปัจจัยสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยปกป้อง ปัจจัยท่ีเหลือเป็นปัจจัยที่ทาให้วัยรุ่นมีความเส่ียงสูง ถึงแม้ว่าการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าการ
178แสวงหาความท้าทายของวัยรุ่นหญิงและชายมีระดับที่แตกต่างกัน (Zuckerman & Kuhlman, 2000)แต่สาหรับการศึกษาน้ีพบว่าไม่แตกต่างกันมากนัก (mean = 17.8, SD = 3.5, median = 18 ในชายmean = 16.1, SD = 3.3, median = 16 ในหญิง) และยังพบว่าวัยรุ่นชายกลุ่มท่ีมีการแสวงหาความท้าทายสูงมีร้อยละ 39.4 วัยรุ่นหญิงมีร้อยละ 42.8 ดังนั้นท้ังวัยรุ่นชายและหญิงในจังหวัดขอนแก่นทม่ี ีการแสวงหาความท้าทายสงู จึงมโี อกาสเส่ยี งต่อการเป็นผ้ดู ่ืมเครอื่ งด่มื แอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติ ความโน้มเอยี งทจ่ี ะด่มื เป็นการคิดคานงึ ถึงการดม่ื เคร่ืองดื่ม หากมีการคิดถึงการด่ืมมากจะมีความโน้มเอยี งทีจ่ ะด่มื สงู ผลการศึกษาน้ีพบว่าวัยรุ่นชายและหญิงมีคะแนนความโน้มเอียงท่ีจะดื่มไม่เท่ากัน (mean = 22.2, SD = 8.2, median = 22 ในชาย mean = 17.9, SD = 6.8, median =16 ในหญงิ ) แต่เม่ือจดั กลมุ่ คะแนนสูง-ตา่ แล้วกลบั พบว่ามีสัดส่วนท่ีไม่แตกต่างกันมากนัก กล่าวคือวัยรุ่นชายกลุ่มที่มีความโน้มเอียงที่จะดื่มสูงมีร้อยละ 47.2 ขณะที่กลุ่มวัยรุ่นหญิงมีร้อยละ 49.5ดงั นน้ั จึงมอี ิทธพิ ลต่อการดม่ื ไม่แตกต่างกนั ตามเพศ สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยจากภายในตัววัยรุ่นท่ีรับรู้ระดับความเช่ือมั่นในความสามารถของตนเองในการปฏิเสธ/ต้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในสถานการณ์ต่างๆที่เอื้อต่อการดื่ม ผู้ที่มีคะแนนสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์สูงเป็นผู้ที่มีระดับความเชื่อม่ันในความสามารถของตนเองในการปฏิเสธ/ต้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในสถานการณ์ต่างๆที่เอื้อต่อการดื่มสูง จากผลของการศึกษานี้พบว่าวัยรุ่นชายและหญิงมีคะแนนแตกต่างกันโดยวัยรุ่นหญิงมีคะแนนที่สูงกว่า (mean = 86.4, SD= 19.4, median = 86 ในชาย mean = 97.6, SD = 15.4, median = 101 ในหญงิ ) แต่เมื่อนามาจัดกลุ่มผู้ทม่ี คี ะแนนสูง-ต่าแลว้ กลับพบว่ามีสัดส่วนท่ีไม่แตกต่างกัน (วัยรุ่นชายท่ีมีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์สูงมีร้อยละ 49.9 วัยรุ่นหญิงมีร้อยละ 48.6 ดังนั้นปัจจัยน้ีจึงมีอทิ ธพิ ลตอ่ การด่ืมแบบผดิ ปกติไมแ่ ตกต่างกันทัง้ ในชายและหญงิ ในส่วนของบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์และค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์น้ัน จากผลการศึกษานี้พบเช่นเดียวกับการแสวงหาความท้าทายความโน้มเอียงท่ีจะด่ืม สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ กล่าวคือเม่ือจัดกลุ่มคะแนนสูง-ต่าแล้ว มีสัดส่วนท่ีไม่แตกต่างกันมากนัก จึงทาให้พบอิทธิพลท้ังในกลุ่มวัยรุ่นหญงิ และชาย สาหรับการสูบบุหรี่ใน 1 เดือนท่ีผ่านมา วัยรุ่นหญิงและชายในจังหวัดขอนแก่นมีสัดส่วนของการมีประสบการณ์การสูบท่ีแตกต่างกันพบว่าสัดส่วนของวัยรุ่นชายที่เคยสูบบุหร่ีมากกวา่ วยั รุน่ หญงิ (วยั รนุ่ ชายที่เคยสูบบุหรี่มีร้อยละ 43.5 วัยรุ่นหญิงมีร้อยละ 6.5) แต่เม่ือนากลุ่มท่ีเคยสูบมาแยกกลุ่มผู้ดื่มแบบเส่ียงน้อย และผู้ดื่มแบบผิดปกติแล้วพบว่าวัยรุ่นชายท่ีเคยสูบบุหรี่เป็น
179ผู้ด่ืมแบบผิดปกติถึงร้อยละ 81.5 กลุ่มวัยรุ่นหญิงท่ีเคยสูบบุหรี่เป็นผู้ดื่มแบบผิดปกติร้อยละ 56.3ขณะท่ีวัยรุ่นหญิงและชายส่วนใหญ่เป็นผู้ดื่มแบบเส่ียงน้อยและไม่เคยสูบบุหรี่ ดังนั้นการสูบบุหรี่ของวัยรนุ่ จงึ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การด่ืมแบบผิดปกติเชน่ เดียวกนั ทง้ั สองเพศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติของวัยรุ่นชายและหญิงไม่เหมือนกัน คือในกลุ่มวัยรุ่นชายพบ ความกังวลในการเข้าสังคม และทัศนคติต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีอิทธิพล ในกลุ่มวัยรุ่นหญิงพบ การมีเพื่อนดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮฮล์ และการคาดหวงั ผลในการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดีมีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติ จากผลการศึกษาดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า ความกังวลในการเข้าสังคม และทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอลเ์ ปน็ ปจั จยั ทมี่ คี วามสาคญั ทคี่ วรคานึกถึงในการสร้างเกราะป้องกันการด่ืมแบบผิดปกติในวัยรนุ่ การปอ้ งกันในระยะแรกๆอาจตอ้ งมกี ารเสริมสร้างทกั ษะการเขา้ สังคมเพื่อลดความกังวลในการเข้าสังคม อีกทั้งยังต้องสร้างทัศนคติทางบวกในการไม่ด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้แก่เด็กชายท่ีจะเติบโตเป็นวัยรุ่น สาหรับเด็กหญิงเกราะป้องกันการดื่มแบบผิดปกติในระยะแรกท่ีควรรีบดาเนินการคือ การให้ข้อมูลความรู้ถึงผลเสียของการด่ืม สร้างภาพความคิดถึงผลของการด่ืมไปในทางท่ีเป็นโทษ นอกเหนือจากน้ียังต้องสร้างวัฒนธรรมการรวมกลุ่มทาดีท่ีไม่ดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์อีกดว้ ย เป็นที่น่าสังเกตว่าการร่วมกิจกรรมทางศาสนา การดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของสมาชกิ ในครอบครวั การควบคุมการดม่ื และการประเมินคา่ ผลจากการดื่มเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์ ไม่มีอทิ ธพิ ลต่อการด่มื แบบผดิ ปกติทั้งในวัยรุ่นชายและหญิง จากผลการศึกษาพบว่าวัยรุ่นท้ังชายและหญิงส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธมากกว่าร้อยละ 90 มีการเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาน้อยครั้งถึงไม่เคยเลยมากกว่าร้อยละ 50 วัยรุ่นชายที่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาไม่ว่าจะบ่อยคร้ังหรือน้อยครั้งเป็นผู้ดื่มแบบเสี่ยงน้อย และผู้ดื่มแบบผิดปกติไม่แตกต่างกัน (ร้อยละ 43.2 ของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนานอ้ ยเป็นผูด้ ืม่ แบบเสี่ยงน้อย ขณะท่ี รอ้ ยละ 56.8 ของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาน้อยเป็นผู้ดื่มแบบผิดปกติ ร้อยละ 50 ของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาบ่อยคร้ังเป็นผู้ดื่มแบบเสี่ยงน้อย) สาหรับวัยรุ่นหญิงกลุ่มท่ีดื่มแบบผิดปกติเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาไม่แตกต่างกัน (ร้อยละ52.8 เป็นผู้เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาน้อย ขณะท่ีร้อยละ 47.2 เป็นผู้เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาบ่อยคร้ัง) ในส่วนของการควบคุมการดื่ม และการประเมินค่าผลจากการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ นั้นทุกวัยรุ่นหญิงและชายกลุ่มที่ดื่มแบบเสี่ยงน้อย และดื่มแบบผิดปกติ มีคะแนนการควบคุมการด่ืมสงู -ต่า คะแนนการประเมินคา่ ผลจากการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลด์ -ี ไม่ดีไม่แตกต่างกัน ดังนั้นวัยรุ่นจะมีการเข้าร่วมกิจกรรมทางศานาบ่อยคร้ังเพียงใด จะพยายามควบคุมตนเองจากการดื่มมากน้อยเพียงใด และจะประเมินค่าผลจากการด่ืมดีหรือไม่ดีเพียงใดไม่มีผลต่อการดื่มแบบผิดปกติทั้งวัยรุ่นหญงิ และวยั รุ่นชายในจังหวดั ขอนแกน่
1804. ความครอบคลุมของมาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ นโยบายแอลกอฮอล์ (Alcohol policy) เป็นนโยบายในการปกป้องสุขภาพเพื่อตอบสนองต่อความกังวลต่อปัญหาแอลกอฮอล์ที่ครอบคลุมมาตรการส่วนต่างๆที่เป็นกลยุทธ์ของรัฐที่มีผลต่อการเข้าถึงเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และการให้ความรู้ การกระตุ้นจิตสานึก และกลไกการควบคุมทางสงั คมอย่างไมเ่ ป็นทางการ เชน่ มาตรการภาษสี รุ า กฎหมายควบคุมการเข้าถงึ สรุ า การจากัดอายุผู้ซ้ือการรณรงค์สาธารณะทางสื่อ และการให้ความรู้ในโรงเรยี น (ทักษพล ธรรมรงั สีและคณะ, 2553) การควบคุมการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกออล์และการป้องกันแก้ไขปัญหาจากการด่ืมสามารถกระทาได้ด้วยการใช้มาตรการท่ีหลากหลาย สามารถแบ่งกลุ่มมาตรการออกเป็น 7 กลุ่ม (ทักษพลธรรมรังสีและคณะ, 2553) ได้แก่ 1) มาตรการทางภาษีและราคา กลไกของมาตรการน้ีเพ่ือเพิ่มต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการบริโภค เมื่อราคาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงข้ึนเมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าทางเลือกอ่ืน ผู้ซ้ือจะเลือกซ้ือน้อยลง 2) มาตรการควบคุมการเข้าถึงเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ผา่ นการควบคุม วนั เวลา สถานท่ีจาหน่ายและความหนาแน่นของจุดจาหน่าย กลไกของมาตรการน้ีเพ่ือลดอุปทานของการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ด้วยการทาให้การเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กระทาได้ยากข้ึน 3) มาตรการการปรับบริบทของการบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ กลไกของมาตรการคือ การปรับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพและสังคม เพ่ือควบคุมปริมาณการบริโภค และลดปัญหาพฤติกรรมความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ 4) มาตรการจัดการปัญหาการขับขี่ยานพาหนะภายใต้อิทธิพลของแอลกอฮอล์ กลไกของมาตรการคือ การจูงใจให้ละเว้นการด่ืม การลงโทษทางกฎหมาย และการใช้มาตรการทางสังคม เพ่ือลดพฤตกิ รรมการด่มื แลว้ ขับขี่ยานพาหนะ 5) มาตรการใหค้ วามร้แู ละการโน้มนา้ วโดยเฉพาะการให้ความร้ดู ว้ ยการรณรงค์สาธารณะผ่านส่ือและการให้สุขศึกษาเกีย่ วกับแอลกอฮอล์ในโรงเรียน กลไกของมาตรการคือ ให้ข้อมูลโดยมุ่งหวังจะให้เกิดความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมท่ีจะมีผลในการป้องกันปัญหาแอลกอฮอล์ 6) มาตรการควบคุมการโฆษณาและการทาการตลาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กลไกของมาตรการคือ ลดโอกาสในการสัมผัสกับกลยทุ ธก์ ารตลาดของเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งจะเป็นกลไกให้กลุ่มเป้าหมายผู้รับสารเห็นว่าการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์เป็นเรื่องธรรมดา และเชื่อมโยงการดื่มกับส่ิงดีๆ เพ่ือควบคุมกิจกรรมทางการตลาดซงึ่ เป็นการปอ้ งกนั ป้องกันนักดมื่ หนา้ ใหม่ และควบคมุ พฤตกิ รรมการบริโภคที่มีความเส่ียงสูงในกลุ่มประชากรอายุน้อย 7) มาตรการการจัดระบบคัดกรองและบาบัดรักษาในระบบบริการสุขภาพและการเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงระบบ กลไกของมาตรการคือ การคัดกรองเพื่อการใหก้ ารบาบดั ในรปู แบบต่างๆเพื่อลดการด่ืมและลดปัญหาจากการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ เป็นการป้องกนั ภาวะติดสรุ าในกลมุ่ ผดู้ ื่ม
181 ปัจจุบันประเทศไทยมีการดาเนินนโยบายแอลกอฮอล์หลากหลายมาตรการ ครอบคลุมเกอื บทกุ กลมุ่ มาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ทก่ี ล่าวมาแลว้ ในข้างตน้ ดังตารางที่ 46ตารางที่ 46 มาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ในประเทศไทย กลมุ่ มาตรการนโยบาย มาตรการนโยบายแอลกอฮอลใ์ นประเทศไทย แอลกอฮอล์ - การจัดเก็บภาษตี ามมูลค่าและตามปริมาณแอลกอฮอลซ์ งึ่ จะทาใหร้ าคามาตรการทางภาษีและราคา เครอ่ื งดม่ื ทีม่ แี อลกอฮอลส์ งู ข้ึนมาตรการควบคมุ การเข้าถงึ - การควบคมุ การจาหนา่ ยโดยกฎหมายกาหนดใหผ้ ขู้ ายต้องขอใบอนุญาตจากรัฐเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ - กาหนดเวลาจาหน่าย โดยกฎหมายกาหนดใหจ้ าหน่ายไดส้ องช่วงเวลา คอื ระหวา่ ง 11.00-14.00 น. และ 17.00-24.00 น.มาตรการการปรบั บรบิ ทของ - จากดั บริเวณจาหนา่ ยโดยหา้ มจาหน่ายเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ในสถานทหี่ รือการบริโภคเครอ่ื งด่มื บรเิ วณวัดหรอื สถานทสี่ าหรบั ปฏบิ ัติพธิ ีกรรมทางศาสนา สถานบรกิ ารแอลกอฮอล์ สาธารณสขุ ของรฐั สถานพยาบาลและรา้ น ขายยา สถานที่ราชการ หอพัก สถานศกึ ษา สถานบี ริการนา้ มนั เช้ือเพลงิ หรือรา้ นค้าในบรเิ วณสถานีบริการมาตรการจัดการปัญหาการขบั น้ามันเช้ือเพลิง และสวนสาธารณะของทางราชการทจ่ี ัดไว้เพ่ือการพกั ผ่อนของขย่ี านพาหนะภายใตอ้ ทิ ธิพล ประชาชนโดยท่ัวไปของแอลกอฮอล์ - จากัดอายขุ องผซู้ ้อื และผูด้ ม่ื โดยกฎหมายกาหนดอายุข้ันต่าของผซู้ ื้อไว้ท่ี 20 ปี หา้ มไม่ให้ผใู้ ดใหเ้ คร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์แก่เยาวชนอายตุ า่ กว่า 18 ปี ยกเว้นการ บาบดั ทางแพทย์ ห้ามเยาวชนอายตุ า่ กวา่ 18 ปี ซอื้ ขาย ดื่มและเขา้ ไปในสถานท่ี ที่จดั ไวส้ าหรบั การดืม่ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ และห้ามเยาวชนอายตุ ่ากวา่ 20 ปี เข้าไปในสถานบนั เทงิ - กฎหมายหา้ มด่มื เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ในสถานทีห่ รอื บรเิ วณ วัดหรอื สถานที่ สาหรบั ปฏบิ ัตพิ ธิ กี รรมทางศาสนา สถานบริการสาธารณสุขของรฐั สถานพยาบาล และร้านขายยา สถานที่ราชการ สถานศกึ ษาตามกฎหมายว่าดว้ ย การศกึ ษาแหง่ ชาติ สถานบี รกิ ารน้ามนั เช้ือเพลงิ สวนสาธารณะของทางราชการ ท่ีจัดไวเ้ พื่อการพกั ผ่อนของประชาชนโดยทัว่ ไป - กฎหมายกาหนดใหเ้ จ้าพนักงานสามารถสุ่มตรวจระดบั แอลกอฮอล์ในเลือด ลมหายใจ และปสั สาวะของผขู้ บั ขีย่ านพาหนะ ซง่ึ ผู้ขับขด่ี งั กล่าวตอ้ งมรี ะดบั แอลกอฮอล์ในเลือดไมเ่ กนิ 50 มลิ ลิกรมั เปอร์เซ็นต์ หรือเทยี บเท่าจากการตรวจ เลอื ด ลมหายใจ และปัสสาวะ และกาหนดบทลงโทษเมือ่ มีการฝา่ ฝนื
182ตารางที่ 46 มาตรการนโยบายแอลกอฮอลใ์ นประเทศไทย (ต่อ)กลุ่มมาตรการนโยบาย มาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ในประเทศไทย แอลกอฮอล์มาตรการให้ความรู้เกีย่ วกับ - ใหค้ วามรู้ ปรบั ทศั นคติ และเพม่ิ โอกาสในการไมด่ ื่มสรุ า โดยใหข้ อ้ มลู คาแอลกอฮอล์ เตือนแก่ผดู้ ่ืมด้วยฉลากติดภาชนะบรรจผุ ลิตภัณฑ์เคร่ืองดม่ื - รณรงค์และเชญิ ชวนผ่านสื่อโฆษณาและจดั กิจกรรมให้ลด ละ เลิกด่มื เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ในช่วงเทศกลสาคญั เชน่ งดเหล้าเข้าพรรษา สงกรานต์ปลอดเหล้า รบั นอ้ งปลอดเหลา้ งานศพปลอดเหล้า และมหกรรมอาหารปลอดเหล้ามาตรการควบคุมการโฆษณา - กฎหมายห้ามการโฆษณาเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ทั้งหมด แตอ่ นุญาตใหเ้ ผยแพร่และการทาการตลาดเครือ่ งดม่ื ความรู้เชงิ สร้างสรรค์สังคมโดยไมป่ รากฏภาพของสนิ คา้แอลกอฮอล์ - กฎหมายหา้ มขายเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลโ์ ดยวิธีใช้เครื่องขายอัตโนมัติ การเร่ ขาย การลดราคาเพอ่ื ประโยชน์ในการสง่ เสริมการขาย ให้หรือเสนอใหส้ ทิ ธใิ น การเขา้ ชมการแข่งขนั การแสดง การชิงโชค การชงิ รางวัล หรอื สิทธิประโยชน์ อื่นใดเป็นการตอบแทนแกผ่ ซู้ ือ้ ขายโดยแจก แถม ให้ หรือแลกเปลยี่ นสนิ ค้ากบั เครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ หรอื แจกจ่ายเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ในลกั ษณะเปน็ ตวั อย่าง ของเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ หรือเปน็ การจูงใจสาธารณชนให้บรโิ ภคเคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์มาตรการการจดั ระบบ คดั - กฎหมายกาหนดให้ผู้ติดสุราหรือญาติ คณะบุคคล หรือองค์กรทั้งภาครัฐหรือกรอ งและบ าบัด รักษ าใ น เอกชนที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือการบาบัดรักษาหรือฟ้ืนฟูสภาพผู้ติดเคร่ืองด่ืมระบบบรกิ ารสขุ ภาพ แอลกอฮอล์ อาจขอรบั การสนบั สนนุ เพื่อการบาบัดรักษาหรือฟื้นฟูสภาพจากสานักงานนคณะกรรมการคว บคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่ คณะกรรมการควบคุมกาหนด - ยังไม่มกี ารจดั ระบบคัดกรองในระบบบริการสุขภาพ แต่มีการบาบัดรักษาผู้ติด สรุ าหลากหลายรูปแบบทั้งในระบบบรกิ ารสุขภาพ และนอกระบบท่ีมา: มาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ในประเทศไทยได้จาก พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551, พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546, พระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 และยทุ ธศาสตรน์ โยบายแอลกอฮอลร์ ะดบั ชาติ รวบรวมโดยศูนย์วจิ ัยปัญหาสรุ า จากตารางท่ี 46 จะเห็นไดว้ ่ามาตรการคัดกรองและบาบัดรักษาในระบบบริการสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบันน้ันยังไม่มีระบบคัดกรองกลุ่มเส่ียงอย่างเป็นทางการหรือโดยกฎหมาย
183กาหนด ยังไม่มีการผนวกการคัดกรองและบาบัดรักษาเข้าไปในการบริการระดับปฐมภูมิและระบบประกนั สขุ ภาพเปน็ การเฉพาะ (ศนู ยว์ ิจยั ปญั หาสรุ า, ม.ป.ป.) ผลจากการศึกษานี้ช้ีให้เห็นว่าการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นทั้งชายและหญิงได้รับอิทธิพลจากปัจจัยภายในตัวบุคคล คือ ระดับการแสวงหาความท้าทาย ระดับความโน้มเอียงที่จะดื่ม และระดับความเช่ือม่ันในตนเองในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ปัจจัยจากกลุ่มเพื่อน และครอบครัว คือ การรับรู้ปริมาณเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์โดยท่ัวไปท่ีเพ่ือนวัยเดียวกันดื่มรวมทั้งการยอมรับเรื่องการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ปกครองและเพ่ือน ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม คือ การให้คุณค่าแก่การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่รับรู้จากคุณค่าด้านการดมื่ ของที่บคุ คลอนื่ ๆในสงั คม นอกจากน้ีการดื่มแบบผิดปกติของวัยรุ่นชายยังได้รับอิทธิพลจากระดับความกังวลในการเข้าสังคม และทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ส่วนการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิงยังได้รับอิทธิพลจาก จานวนเพ่ือนในกลุ่มท่ีด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ระดับความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์อย่างปลอดภัย และการคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ทางท่ีดี ปัจจัยที่มีอิทธิพลเหล่าน้ีเกือบท้ังหมดเป็นปัจจัยเส่ียงยกเว้นความเช่ือมั่นในตนเองหรอื สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และระดับความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์อย่างปลอดภัย เป็นปัจจัยปกป้องซึ่งมาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ที่ดาเนินการอยู่ในพื้นท่ีสามารถลดหรือจัดการปัจจัยเสี่ยงหรือส่งเสริมปัจจัยปกป้องได้มากน้อยเพยี งใดแสดงดงั ตารางท่ี 47
184ตารางท่ี 47 ความครอบคลมุ ของมาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ในการจัดการปจั จยั เส ในจงั หวัดขอนแกน่ มาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ มาตรการนโยบาย ความคร แอลกอฮอลใ์ นประเทศ ปัจมาตรการทางภาษีและราคา ไทย/จงั หวัดขอนแกน่มาตรการการ จากดั วันเวลาจาหน่าย ปจั จยั จควบคมุ การเข้าถึง จากดั สถานที่จาหนา่ ย SS1 SIA ความหนาแนน่ ของจดุ -- จาหน่าย จากดั อายผุ ูซ้ อื้ --มาตรการปรับบรบิ ทของการดม่ื --มาตรการจัดการปัญหาการขบั ขี่ภายใต้อิทธิพลของ --แอลกอฮอล์ มาตรการใหค้ วามรู้เก่ยี วกับแอลกอฮอล์ --มาตรการควบคมุ การโฆษณาและการทาการตลาด --มาตรการการจดั ระบบคดั กรองและบาบดั รักษาใน ระบบบริการสุขภาพ ไม่มีระบบคัดกรองและ -- บาบดั กลมุ่ เสย่ี ง/ดมื่ -- --
184ส่ยี ง และส่งเสริมปจั จัยปกป้องทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ การด่มื แบบผดิ ปกตขิ องวยั รนุ่รอบคลมุ ของมาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ในการจัดการปจั จยั เสี่ยงและส่งเสริมจจัยปกปอ้ งท่มี อี ิทธิพลตอ่ การดมื่ แบบผดิ ปกตขิ องวยั รนุ่ ในจังหวดั ขอนแกน่จากภายในตัวบุคคล ปจั จัยจากบริบท ปัจจัยจากสิ่งแวดลอ้ ม ทางสังคม ทางวัฒนธรรมA2 CEP1 DRSE1 PeD3 PDN1 KDN3 VAU1 PAE3 ATA2-- - --- - ---- - --- - ---- - --- - ---- - --- - ---- - --- - ---- - --- - --- - - - - - - - -- --- - --- - --
หมายเหตุ SS คือ การแสวงหาความทา้ ทาย SIA คือ ความกังวลในการเขา้ สังคม CEP คอื ความโนม้ เอียงทีจ่ ะดม่ื DRSE คือ สมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการด่มื เครือ่ งดม่ื แอลก PeD คอื การมเี พื่อนด่ืมเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ PDN คอื บรรทดั ฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่อื งด่มื แอลกอฮอ KDN คอื ความรดู้ า้ นการดืม่ เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ VAU คอื คา่ นิยมด้านการดื่มเครื่องด่มื แอลกอฮอล์ PAE คอื การคาดหวงั ผลในการดื่มเครือ่ งด่มื แอลกอฮอลใ์ นทาง ATA คือ ทศั นคติต่อการดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ 1 คอื ปจั จัยท่มี ีอทิ ธพิ ลต่อการดมื่ เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์แบบ 2 คอื ปจั จัยทมี่ ีอทิ ธพิ ลตอ่ การด่มื เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์แบบ 3 คอื ปัจจัยทม่ี ีอทิ ธิพลต่อการด่ืมเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์แบบ
185 กอฮอล์อล์งทีด่ ีบผิดปกตขิ องวยั รนุ่ ชายและหญิงบผดิ ปกตขิ องวัยรุ่นชายบผิดปกตขิ องวยั รนุ่ หญิง 185
186 จากตารางท่ี 47 ช้ีให้เห็นว่านโยบายส่วนใหญ่เป็นการจัดการในเร่ืองสิ่งแวดล้อมไม่ได้ลงถึงระดับบุคคลที่เป็นผู้ดื่ม มีเพียง 2 กลุ่มมาตรการ ได้แก่ กลุ่มมาตรการให้ความรู้เก่ียวกับแอลกอฮอล์ และกลุ่มมาตรการควบคุมการโฆษณาและการทาการตลาดเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เท่านั้นที่สามารถจัดการปัจจัยเสี่ยงได้บางปัจจัย ไม่ท้ังหมด กลุ่มมาตรการให้ความรู้เก่ียวกับแอลกอฮอล์สามารถลดระดับความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม ปรับเปลี่ยนทัศนคติในกลุ่มวัยรุ่นชาย และไปเสริมสร้างความรู้ด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ลดระดับความโน้มเอียงที่จะดื่ม ปรับการคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในกลุ่มวัยรุ่นหญิง กลุ่มมาตรการควบคุมการโฆษณาและการทาการตลาดเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์สามารถจัดการระดับความโน้มเอียงที่จะดื่ม และปรับค่านิยมด้านการดมื่ เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ในวัยรุ่นชาย และหญิง นอกจากน้ียังสามารถลดจานวนนักด่มื หน้าใหมซ่ ่งึ ทาใหจ้ านวนเพื่อนในกลมุ่ ทด่ี ่มื ของวยั รุน่ หญิงไม่เพิ่มจานวนขน้ึ ปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยปกป้องจากภายในตัวบุคคลท่ีโดดเด่นของช่วงวัยรุ่นชายและหญิงคือ การแสวงหาความท้าทาย และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาตรการท่ีมีอยู่มิได้จัดการครอบคลุมไปถึง ปัจจัยเสี่ยงท่ีสาคัญอีกปัจจัยหนึ่งคือ การรับรู้ปริมาณเ ค รื่ อ ง ด่ื ม แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ โ ด ย ทั่ ว ไ ป ท่ี เ พ่ื อ น วั ย เ ดี ย ว กั น ด่ื ม ร ว ม ทั้ ง ก า ร ย อ ม รั บ ก า ร ดื่ ม เ ค รื่ อ ง ดื่ มแอลกอฮอล์ของผู้ปกครองและเพ่ือนที่จะทาให้วัยรุ่นยึดเป็นบรรทัดฐาน ยังไม่มีการจัดการนอกจากนคี้ วามกงั วลในการเข้าสังคมของวัยร่นุ ชายเป็นอกี ปจั จัยหนง่ึ ทีไ่ ม่ควรละเลย และควรมีการป้องกนั โดยเสริมสรา้ งทกั ษะการเข้าสังคมให้แกเ่ ดก็ ชายอยา่ งตอ่ เน่อื งจนเขา้ สู่วยั รุน่ ดังน้ันผลจากการศึกษานี้จึงชี้ให้เห็นว่ามาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ที่ดาเนินการอยู่ในประเทศไทย/จังหวัดขอนแก่นยังไม่สามารถจัดการปัจจัยเส่ียงและสร้างเสริมปัจจัยปกป้องได้อย่างครอบคลุม อีกทง้ั ปัจจัยเสีย่ งทีย่ งั มิได้ถกู จัดการมีส่วนเกี่ยวขอ้ งไปยงั ผู้ปกครอง และสถานศกึ ษา ความร่วมมือระหว่างผู้ปกครอง สถานศึกษาทุกระดับ บุคลากรทางสุขภาพ และภาคส่วนอ่ืนที่เก่ียวข้องในจังหวัดขอนแก่นในการกาหนดกลยุทธ์ และดาเนินการเพิ่มเพ่ือลดการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นท้ังในระยะส้ันและในระยะยาวนอกเหนือจากการดาเนินตามมาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ท่ีมีอยจู่ ึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งในขณะน้ี นอกจากนี้การดาเนินการดังกล่าวควรคานึงถึงความแตกต่างระหว่างหญงิ และชายดว้ ย
บรรณานุกรมกลุ วดี อกั ษรทับ. (2544). การพฒั นาเกณฑป์ กตขิ องมาตรวดั ความรสู้ ึกแสวงหาสิ่งตน่ื เตน้ เร้าใจกบั นักเรียนอายุ 12-18 ปี ท่ีศึกษาอยู่ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าสุขภาพจติ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.คณะกรรมการบรหิ ารเครือข่ายวิชาการสารเสพตดิ . (2551). สถานภาพการบรโิ คสุรา พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดกี ารพิมพ์.จนิ ตนา วงศ์วาน. (2548). ความชกุ และพฤติกรรมการด่ืมเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ในนักเรียน มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สงั กัดกรมสามัญศึกษา อาเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกน่ . วิทยานพิ นธ์ ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าโภชนาการชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ .จุรีย์ อสุ าหะ และเศรณีย์ จุฬาเสรกี ุล. (2548). สถานการณก์ ารบริโภคเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอลใ์ น สังคมไทย. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 14(1), 1-8.ณมน ธนนิ ธญางกูร. (2552). พฤติกรรมเสย่ี งทางเพศของนักเรียนระดับมัธยมศกึ ษาในเขตเทศบาล นครขอนแกน่ อาเภอเมอื ง จังหวัดขอนแก่น. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.ดุษฎี โยเหลาและคณะ. (2540). ปัจจัยบ่งชส้ี าเหตุการใชแ้ ละติดสารระเหยของเด็กและเยาวชนใน กรุงเทพมหานคร และจังหวัดยโสธร. กรุงเทพฯ: สถาบนั วจิ ยั พฤตกิ รรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.ณฐั จาพร พิชัยณรงค์, วศิ ิษฎ์ ฉวีพจน์กาจร & สณุ ีรตั น์ ย่ังยืน. (2553). ปัจจยั ท่มี คี วามสมั พันธ์กับ ระดับอันตรายจากการด่มื แอลกอฮอลข์ องนักศกึ ษาระดบั อาชีวศึกษา. วารสารวิจยั มข., 15(8), 698-707.ทกั ษพล ธรรมรังสแี ละคณะ. (2553). สุราไม่ใช่สนิ คา้ ธรรมดา. นนทบรุ ี: เดอะกราฟิโกซิสเตม็ ส์.เทพนิ ทร์ พชั รานุรกั ษ์. (2541). พฤตกิ รรมการบรโิ ภคสรุ า ทบทวนองคค์ วามรู้ สถานการณ์ และ ปัจจัยทเี่ กยี่ วข้อง ภายใตโ้ ครงการสบื สานวฒั นธรรมไทยสู่สุขภาพทีย่ นื ยาว. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ .นวลอนงค์ บุญจรูญศิลป์. (2546). พฤติกรรมเสย่ี งต่อสขุ ภาพของวัยรนุ่ ไทยและการพัฒนา โปรแกรมการปอ้ งกัน. [ม.ป.ท: ม.ป.พ.]
204นยั นา ปัตตพงศ์. (2551). ยุทธศาสตร์การแก้ไขพฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ ปัญหาของนกั เรียนนกั ศึกษา อาชวี ศึกษา. ค้นเม่ือ 27 พฤศจิกายน 2551, จาก http://www.plvc.ac.th/~myproject/ datap/26/2.pdfนิรุจน์ อุทธา และคณะ. (2548). อบุ ตั ิการณแ์ ละแบบแผนการดืม่ เครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ของเด็ก เยาวชนในสถานศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภายหลังนโยบายคุม้ ครองเด็ก. ขอนแกน่ : ศูนย์บาบดั รกั ษายาเสพตดิ ขอนแก่น.บณั ฑิต ศรไพศาล, จุฑาภรณ์ แก้วมงุ คุณ และกมลา วัฒนพร. (2553). รายงานสถานการณส์ ุรา ประจาปี พ.ศ.2553. นนทบุรี: ศูนยว์ ิจยั ปญั หาสุรา.บัณฑติ ศรไพศาลและคณะ. (2549). รายงานสถานการณ์สุรา ประจาปี พ.ศ.2549. กรุงเทพฯ: โซดา สตดู ิโอ ครเี อช่นั แอนด์ พลบั ลชิ ชิง่ .บุญเลยี้ ง ทมุ ทอง, วราภรณ์ กุประดษิ ฐ์, รุง่ เรือง ลิม้ ไพบลู ย์ และนฤมล อเนกวิทย์. (2549). สาเหตุ กลไกทางวฒั นธรรม และปัจจยั เออื้ ต่อพฤติกรรมการบรโิ ภคสุราของนกั เรียนในระดับ การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ. [ม.ป.ท.]: สานักงานกองทนุ สนบั สนนุ การ สรา้ งเสรมิ สุขภาพ สถาบนั วิจัยระบบสาธารณสุข และศนู ย์วิจัยปญั หาสรุ า.ประกจิ โพธอิ าศน์. (2541). ปัจจัยท่ีมีอิทธพิ ลต่อพฤติกรรมการดืม่ เครอ่ื งดม่ื ทม่ี ีแอลกอฮอลข์ อง วยั รนุ่ จงั หวดั พระนครศรีอยุทธยา. วิทยานพิ นธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ (สาธารณสขุ ศาสตร์) สาขาวิชาเอกสขุ ศกึ ษาและพฤติกรรมศาสตร์ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั มหิดล.ประทกั ษ์ ลิขิตเลอสรวง. (2548). ภาวะวติ กกงั วลทางสังคม. ค้นเม่ือ 25 เมษายน 2553, จาก www.vichaiyut.co.th/jul/32_03-2548/32_03-2548_P55.pdfประธาน รัชตจารูญ. (2544). ความสมั พนั ธ์ระหว่างความรู้สกึ แสวงหาสิ่งตนื่ เตน้ เรา้ ใจกับการตดิ สารแอมเฟตามีนของวัยร่นุ ในเขตกรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาวทิ ยาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าสุขภาพจติ คณะแพทย์ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.ปรชี า คมั ภีรปกรณ์. (2547). ปจั จัยทมี่ ีอิทธพิ ลต่อพฤติกรรมนักเรยี นวัยรุ่น. เอกสารการสอนชดุ วชิ า พฤติกรรมวยั รุน่ หนว่ ยที่ 1-8. (หนา้ 55-64). พิมพค์ ร้งั ท่ี 10. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.ฝา่ ยข่าวและสอ่ื มวลชนสัมพนั ธ์ กลมุ่ สารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข. (2552). สธ. เตรียมชง กฎหมายลกู ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 3 ฉบับ. ค้นเมอ่ื 25 สงิ หาคม 2552, จาก http://www.moph.go.th/ops/iprg/iprg_new/include/admin_hotnew/show_ hotnew.php?idHot_new=26389.
205พนม เกตุมาน. (2550). พัฒนาการวยั รนุ่ . ค้นเม่อื 15 สงิ หาคม 2552, จาก http://www.psyclin.co.th/ new_page_56.htmพรเทพ ศริ ิวนารังสรรค์, ธรณินทร์ กองสขุ , สุวรรณา อรุณพงศไ์ พศาล, พันธ์นภา กิตติรัตนไพบลู ย์, & อจั ฉรา จรสั สงิ ห์. (2547). ความชุกของโรคจิตเวชในประเทศไทย: การสารวจระดับชาติ ปี 2546. วารสารสขุ ภาพจิตแห่งประเทศไทย, 12(3), 177-188.พรพมิ ล บวั สมบูรณ์ และนรลกั ขณ์ เอื้อกิจ. (2551). ปจั จัยทานายการด่ืมแอลกอฮอล์ของนักเรยี น อาชีวศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร. Journal of Nursing Science Chulalongkorn University, 20(2), 52-86.พระราชบัญญตั ิควบคมุ เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551. (2551). ราชกจิ จานุเบกษา, เลม่ 125, ตอนท่ี 33ก, หน้า 34-49.พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546. (2546). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 120, ตอนท่ี 95 ก, หนา้ 1-29.พระราชบัญญัตสิ ุรา พ.ศ. 2493. (2493). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 67 ตอนที่ 16, หนา้ 346-367.พสิ ณุ ฟองศร.ี (2549). วจิ ยั ทางการศกึ ษา \"แนวคิดทฤษฎี\". พมิ พ์คร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: เทยี มฝ่า การพิมพ์.ไพฑูรย์ ศรฟี า้ . (2553). การหาคณุ ภาพของเครือ่ งมือ. ค้นเมื่อ 10 เมษายน 2553, จาก www.drpaitoon.comวรเวศม์ สวุ รรณระดา และคณะ. (2548). โครงการวิจยั การศกึ ษาทบทวนงานวจิ ยั เพ่ือลดการบริโภค เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์. [ม.ป.ท.]: ศนู ยว์ ิจยั ปญั หาสรุ า.วันชนั ธรรมสัจการ, นิพนธ์ ทิพย์ศรนี มิ ิต, & นริ ันด์ จุลทรพั ย์. (2543). การแพร่ระบาดของสารเสพ ติดในเด็กและเยาวชนในจังหวดั ชายแดนภาคใตข้ องประเทศไทย. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบบั สังคมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์, 6(3), 291-321.วิกิพีเดีย. (2554a). จังหวดั ขอนแกน่ . ค้นเมื่อ 24 มกราคม 2554, จาก http://th.wikipedia.org/วกิ พิ ีเดีย. (2554b). รายชือ่ โรงเรียนในจงั หวดั ขอนแก่น. ค้นเม่ือ 24 มกราคม 2554, จาก http://th.wikipedia.org/ศนู ยขอ้ มลู สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ. [ม.ป.ป.]. เดก็ ไทยเสยี่ งภยั อบุ ตั ิเหตุ ทางถนน. ค้นเมื่อ 24 มกราคม 2554 จาก http://info.thaihealth.or.th/situation/risk/12533ศูนยป์ ฏิบตั ิการต่อส้เู พอ่ื เอาชนะยาเสพตดิ จงั หวัดขอนแก่น. (2550). การดาเนินงานการป้องกนั และ แกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ จังหวัดขอนแก่น. คน้ เม่ือ 25 พฤศจิกายน 2552, จาก http://www.khonkaenpoc.com/com10/page5.htm.
206ศนู ย์วจิ ัยปัญหาสุรา. [ม.ป.ป.]. ยุทธศาสตรน์ โยบายแอลกอฮอล์ระดบั ชาติ. นนทบรุ ี: เดอะกราฟิโก ซิสเต็มส์.สมพร สทิ ธิสงคราม. (2549). ปจั จยั ทานายพฤติกรรมการดืม่ เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ของวยั รุ่น. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่.สมโภชน์ เอย่ี มสุภาษติ . (2536). ทฤษฎีและเทคนคิ การปรับพฤติกรรม. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .สมศกั ดิ์ เทยี มเกา่ . (2549). แอลกอฮอล์และระบบประสาท. คลินิก, 22(1), 33-42.สรายทุ ธ์ บญุ ชยั พานชิ วัฒนา และนันทนา ขาวลออ. (2549). แอลกอฮอล์ ผลกระทบต่อสุขภาพ ปญั หาแทรกซอ้ นและการจัดสถานบรกิ าร. คลนิ ิก, 22(1), 21-28.สริตา ธรี ะวฒั นส์ กลุ , จริ าพร สุวรรณธีรางกรู , และวราภรณ์ ปัญณวลี. (2549). การดม่ื และ มาตรการเพอ่ื ลดการดืม่ สุรา: กรณีศกึ ษา 2 ชุมชนภาคเหนอื . กรงุ เทพฯ: ศูนยว์ จิ ัยปัญหา สรุ า.สายพิณ สาประเสริฐ. รอญ. (2544). ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปัจจยั คัดสรรกบั พฤติกรรมการดม่ื สุรา ของนักเรยี นนายสิบทหารบก. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุข ศาสตร์) สาขาวชิ าเอกพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยมหิดล.สารัช บุญไตรย์, มานพ คณะโต & สมพงษ์ ศรแี สนปาง. (2551). การบริโภคเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาทเ่ี กี่ยวขอ้ งจากการดืม่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประชาชน 12-65 ปี ในจงั หวัด ขอนแก่น. วารสารวจิ ยั มข.(บศ.), 8(3), 39-52.สาวติ รี อษั ณางคก์ รชยั . (2547). แอลกอฮอล์ : I. การดแู ลผู้ป่วยท่ีมปี ัญหาจากการด่มื สรุ าในเวช ปฏบิ ัติทั่วไป. ค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2550, จาก http://www.doctor.or.th/node/7971สาวิตรี อษั ณางค์กรชัย และคณะ. (2551). รายงานผลการศึกษาเรื่อง การเฝ้าระวงั พฤติกรรมการ บรโิ ภคเครื่องด่มื แอลกอฮอล์และพฤตกิ รรมเสยี่ งต่อสุขภาพของนกั เรียนระดับมธั ยมศึกษา ในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: พิมพด์ ีการพิมพ์.สุชา จนั ทรเ์ อม. (2533). จิตวิทยาทัว่ ไป. พิมพค์ รง้ั ท่ี 6. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ .สชุ าดา สุวรรณคา. (2542). เพศสัมพนั ธว์ ยั รุน่ อีสาน: ข้อค้นพบจากงานวิจัย. วารสารคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 22(1), 20-26.สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์. (2549). Sexual behavior in Thai teenagers: from risk factors to prevention. ใน สุวรรณา เรอื งกาญจนเศรษฐ์ และพัฒน์ มหาโชคเลิศวัฒนา (บรรณาธิการ). รู้ทนั ปัญหาวัยรุน่ ยุคใหม่ (หน้า 177-184). กรงุ เทพฯ: บียอนด์ เอน็ เทอรไ์ พรซ์.
207สวุ มิ ล ติรกานันท์. (2550). การสร้างเคร่อื งมอื วัดตวั แปรในการวจิ ยั ทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่ การปฏบิ ัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .สานกั งานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. (2552). จานวนนกั เรียนนักศกึ ษา สถติ ิเร่งดว่ น ปกี ารศกึ ษา 2552 จากระบบ bms.vec.go.th ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 กันยายน 2552. ค้นเม่ือ 4 พฤศจกิ ายน 2552, จาก http://www.vec.go.th/doc/DirectorStr/college_th.php#40 . (2553). รายชือ่ สถานศึกษาในสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา จาแนกตาม จังหวัด. คน้ เมื่อ 24 มกราคม 2554, จาก http://www.vec.go.th/index.php? option=com_content&view=article&id=98&Itemid=87สานักงานสถติ ิแหง่ ชาติ. (2547). ระบบขอ้ มลู สถติ ิการสารวจพฤตกิ รรมการสูบบหุ รีแ่ ละการดม่ื สุรา ของประชากรอิเล็กทรอนิกส์. คน้ เมื่อ 25 กันยายน 2551, จาก http://service.nso.go.th/ agrc/smoke47/thai.htmสานกั งานสถติ ิแห่งชาติ. (2551). บทสรุปการสารวจพฤติกรรมการสบู บุหรแ่ี ละดืม่ สรุ าของ ประชากร ปี 2550. คน้ เมอื่ 25 กนั ยายน 2551, จาก http://service.nso.go.th/nso/ nsopublish/service/survey/sum_alco-ciga50.pdf.หวน พนิ ธพุ นั ธ์. (2554). โครงการคนพันธ์ุอา. ค้นเม่ือ 7 เมษายน 2554, จาก facstaff.swu.ac.th/ huan/konpanr.docเอแบคโพลล์. (2554). เอแบคโพลล์: ความรู้ ความเข้าใจของเด็ก-เยาวชนไทยเกี่ยวกับวนั มาฆบูชา และความต้ังใจที่จะทากจิ กรรมต่างๆ ในวันมาฆบชู า. คน้ เมื่อ 7 เมษายน 2554, จาก http://www.ryt9.com/s/abcp/1089400Osk613. net. (2548). เดก็ ตา่ กว่า 15 ปี ตายจากจักรยานยนต์สูง 4 เทา่ ของไข้เลอื ดออก. ค้นเม่ือ 24 มกราคม 2554, จาก http://www.osk613.net/news/news.php?id=13385&ntype=2Aas, H., Klepp, K., Laberg, J., & Aaro, L. (1995). Predicting adolescents’ intentions to drink alcohol: outcome expectancies and self-efficacy. Journal of Studies on Alcohol. 56, 293-299.Addictions and Mental Health Division. (2009). Underage drinking. Retrieved 20 October 2009, from http://www.oregon.gov/DHS/addiction/publications/underage-drink-fs.pdfAdewuya, A. O. (2005). Validation of The Alcohol Use Disorders Identification Test (AUDIT) as a screening tool for alcohol-related problems among Nigerian University students. Alcohol and Alcoholism, August 22, 1-3.
208Aekplakorn, W., Hogan, M. C., Tiptaradol, S., Wibulpolprasert, S., Punyaratabandhu, P., & Lim, S. S. (2008). Tobacco and hazardous or harmful alcohol use in Thailand: Joint prevalence and associations with socioeconomic factors. Addictive Behaviors, 33 503–514.Aitken, Leather & Scott. (1988). Ten-to sixteen-year old’ s perceptions of advisement for alcoholic drinks. Alcoholism, 23(6), 491-500.Ajzen, I. (1988). Attitudes, personality and behaviour. Milton Keynes: OUP.Ajzen, I. (1991). The theory of planned behaviour. Organizational Behaviour and Human Decision Processes, 50, 179-211.Babor, T. F., Higgins-Biddle, J. C., Saunders, J. B., & Monteiro, M. G. (2001). The Alcohol Use Disorders Identification Test. Geneva: World Health Organization.Baer, J. S., Kivlahan, D. R., & Blume, A. W., et al. (2001). Brief intervention for heavy-drinking college students: 4-year follow-up and natural history. American Journal of Public Health, 91, 1310-1316.Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: a social cognitive theory. New Jersey: Prentice-Hall, Inc.Bandura, A. (1997). Self - efficacy: the exercise of control. New York: W.H. Freeman.Baughman et al. (2000). Slippery when wet: the effects of local alcohol access laws on highway safety. Center for Policy Research Working Paper, No.31. U.S.A.: Maxwell School of Citizenship and Public Affairs Syracuse University.Bellis, M. A., Hughes, K., Morleo, M., Tocque, K., Hughes, S., & Allen, T. (2007). Predictors of risky alcohol consumption in schoolchildren and their implications for preventing alcohol-related harm. Substance Abuse Treatment, Prevention, and Policy, 2, 15-24.Bertram & Crundall. (1997). Summary of household survey of alcohol consumption and real attitudes. February-March 1997, Alcohol and Other Drugs Program, Northern Territory Health Services, Darwin.Best, B. (2010). Brain Neurotransmitters, Retrieved 2 October 2010, from http://www.benbest.com/science/anatmind/anatmd10.html#serotoninBohn, M. J., Babor, T. F., & Kranzler, H. R. (1995). The Alcohol Use Disorders Identification Test (AUDIT): Validation of a screening instrument for use in medical settings. Journal of Studies on Alcohol, 56, 423-432.
209Bonomo, Y.A., Bowes, G, Coffey, C., Carlin, J.B. & Patton, G.C. (2004). Teenage drinking and the onset of alcohol dependence: A cohort study over seven years. Addiction, 99, 1520-1528.Bouchard, T. J., Jr. (1994). Genes, environment and personality. Science, 264, 1700-1701.Bramdy & Martin. (1999). Dealing with alcohol in Alice Springs: An assessment of policy options and recommendations for action. CAEPR Working Paper, No.3. [n.p.]: Centre of Aboriginal Economic Policy Research.Brick, J. (2005). Alcohol Pharmacology. Intoxikon International. (pp 1-2). Pennsylvania: Alcohol and Drug Studies.Buddy, T. (2007). The Michigan Alcohol Screening Test. Retrieved 3 March 2008, from http://alcoholism.about.com/od/tests/a/mast.htm.Cable, N., & Sacker, A. (2007). The role of adolescent social disinhibition expectancies in moderating the relationship between psychological distress and alcohol use and misuse. Addictive Behaviors, 32, 282–295.Caetano, R., & Cunradi, C. (2002). Alcohol dependence: a public health perspective. Addiction, 97, 633-645.Cahloupka & Wechisler. (1995). The impact of price, availability, and alcohol control policies on bringe drinking in college. NBER Working Paper, No.5319.Cardenal, C. A., & Adell, M. N. (2000). Factors Associated With Problematic Alcohol Consumption in Schoolchildren. Journal of Adolescent Health, 27, 425–433.Carroll et al. (2000). Research summary: Evaluation of the launch phase of The National Alcohol Campaign. Commonwealth, Department of Health and Aged Care, Canberra, May.Chanchong, W. (2004). Factors affecting cigarette and alcohol use among Thai students. [n.p.]: The University of Wisconsin-Madison.Cherpitel, C.J. (1993). Alcohol and injuries: A review of international emergency room studies. Addiction, 88, 923–937.Chinn, P. L., & Kramer, M. K. (1995). Theory and nursing: A systematic approach (4thed.). St. Louis, Missouri: Mosby-Year Book.
210Clapper, R.L. & Lipsitt, L.P. (1992). Young heavy drinkers and their drinking experiences: predictors of later alcohol use. International Journal of Addiction, 27, 1211-1221.Claussen, B., & Aasland, O. G. (1993). The Alcohol Use Disorders Identification Test (AUDIT) in a routine health examination of long-term unemployed. Addiction, 88, 363-368.Colder, C. R., Chassin, L., Stice, E. M., & Curran, P. J. (1997). Alcohol expectancies as potential mediators of parent alcoholism effects on the development of adolescent heavy drinking. Journal of research on adolescence, 7(4), 349-374.Conigrave, K. M., Saunders, J. B., & Reznik, R. B. (1995). Predictive capacity of the AUDIT questionnaire for alcohol-related harm. Addiction, 90, 1479-1485.Costa, F. (2008). Problem-Behavior Theory. Retrieved 20 September 2009, from http://www.colorado.edu/ibs/jessor/pb_theory.html.Council for International Organizations of Medical Sciences. (2002). International Ethical Guidelines for Biomedical Research Involving Human Subjects. Retrieved 22 October 2008, from http://www.cioms.ch/frame_guidelines_nov_2002.htmCox, W. M., Gutzler, M., Denzler, M., Melfsen, S., Florin, I., & Klinger, E. (2001). Temptation, restriction, and alcohol consumption among American and German college students. Addictive Behaviors, 26, 573-581D’Abbs, Togni & Duquemin. (1999). Evaluation of restrictions on the sale of alcohol from Curtin Spring Roadside Inn, Northern Territory, Meszie School of Health Research.Dahl, R. E., & Lewin, D. S. (2002). Pathways to adolescent health: Sleep regulation and behavior. Journal of Adolescent Health, 31(65), 175-184.DeMelo, D. M. (1999). Criminological Theory. Retrieved 20 September 2008, from http://www.umsl.edu/~keelr/200/Diane_Demelo/diane.pdfDevoulyte, K., Stewart, S. H., & Theakstone, J. A. (2006). Is beer the drink of choice for women with alcohol use problems?-Positive alcohol outcome expectancies as a function of beverage type. Addictive Behaviors, 31, 1133-1143.Dufour, M. C. (1999). What is moderate drinking? Defining \"drinks\" and drinking levels. Alcohol Research and Health, 23, 5-14.Durkin, K. F., Wolfe, T. W., & Clark, G. (1999). Social Bond Theory and binge drinking among college students: A multivariate analysis. College Student Journal, 33, 450-461.
211Dye, C. & Upchurch, D.M. (2006). Moderating Effects of Gender on Alcohol Use: Implications for Condom Use at First Intercourse. Journal of school Health, 76(3), 111-116.Eckardt, MJ. et al. (1998). Effects of moderate alcohol consumption on the central nervous system. Alcoholism: Clinical and Experimental Research, 22, 998–1040.Engels, R. C. M. E., Wiers, R., Lemmers, L., & & Overbeek, G. (2005). Drinking motives, alcohol expectancies, self-efficacy, and drinking patterns. Journal of Drug Education, 35(2), 147-166.Epstein, J., Griffin, K., & Botvin, G. (2000). Role of general and specific competence skills in protecting inner-city adolescents from alcohol use. Journal of Studies on Alcohol, 61, 379-386.Faulkner, S., Hendry, L. B., Roderique, L., & Thomson, R. (2006). A preliminary study of the attitudes, triggers and consequences of hazardous drinking in university students. Health Education Journal, 65, 159-169.Fergusson, D. M., Horwood, L. J., & Lynskey, M. T. (1995). The prevalence and risk factors associated with abusive or hazardous alcohol consumption in 16-year-olds. Addiction, 90, 935-946.First, M. B., & Tasman, A. (2009). Effects of Alcohol Abuse on Adolescents. Retrieved 21 October 2009, from http://www.psychtreatment.com/alcohol_abuse_adolescence_ and_elderly.htmFisher, J. C., Cook, P. A., Sam, N. E., & Kapiga, S. H. (2008). Patterns of alcohol use, problem drinking, and HIV infection among high-risk African women. Sexually Transmitted Diseases, 35(6), 537–544.Flay, B. R., & Petraitis, J. (1994). The Theory of Triadic Influence: A new theory of health behavior with implications for preventive interventions. Advances in Medical Sociology, 4, 19-44.Flay, B. R., Phil, D., Hu, F. B., & Richardson, J. (1998). Psychosocial Predictors of Different Stages of Cigarette Smoking among High School Students. Preventive Medicine, 27, A9-A18.Fleming, M. F., Barry, K. L., & MacDonald, R. (1991). The alcohol use disorders identification test (AUDIT) in a college sample. International Journal of the Addictions, 26, 1173-1185.
212Fromme, K., Stroot, E., & Kaplan, D. (1993). Comprehensive effects of alcohol: Development and psychometric assessment of a new expectancy questionnaire. Psychological Assessment, 5, 19-26.Gans, S. (2007). The TWEAK Alcohol Screening Test. Retrieved 3 March 2008, from http://alcoholism.about.com/od/tests/a/tweak.htm.Giedd, J. N., Blumenthal, J., Jeffries, N. O., Castellanos, F. X., Liu, H., Zijdenbos, A., et al. (1999). Brain development during childhood and adolescence: a longitudinal MRI study. Nature Neuroscience, 2(10), 861-863.Gilles, D. M., Turk, C. L., & Fresco, D. M. (2006). Social anxiety, alcohol expectancies, and self-efficacy as predictors of heavy drinking in college students. Addictive Behaviors, 31(3), 388-398.Graber, J. A., Lewinsohn, P. M., Seeley, J. R., & Berooks-Gunn, J. (1997). Is psychopathology associated with timing of pubertal development? Journal of the American Academy of Child and Adolescent Psychiatry, 36, 1768-1776.Grant, B.F. & Dawson, D.A. (1998). Age at onset of drug use and its association with DSM–IV drug abuse and dependence: Results from the National Longitudinal Alcohol Epidemiologic Survey. Journal of Substance Abuse, 10, 163–173.Green, K., Kremar, Walters, L. H., Rubin, D. L., & Hale, J. L. (2000). Targeting adolescent risk- taking behaviors: the contributions of egocentrism and sensation seeking. Journal of Adolescence, 23, 439-461.Griffin, K. W., Botvin, G. J., & Epstein, J. A. (2000). Psychosocial and behavioral factors in early adolescence as predictors of heavy drinking among high school seniors. Journal of Studies on Alcohol, 61(4), 603-606.Grotmol, K. S., Vaglum, P., Ekeberg, O., Gude, T., Aasland, O. G., & Tyssen, R. (2010). Alcohol expectancy and hazardous drinking: A 6-year longitudinal and nationwide study of medical doctors. European Addiction Research, 16, 17-22.Gutjahr, E, Gmel, G & Rehm, J. (2001). Relation between average alcohol Consumption and disease: an overview. European Addiction Research, 7, 117–127.Habke, A. M., Hewitt, P. L., Norton, G. R., & Asmundson, G. (1997). The Social Phobia and Social Interaction Anxiety Scales: An exploration of the dimensions of social anxiety and sex differences in structure and relations with pathology. Journal of Psychopathology and Behavioral Assessment, 19(1), 21-39.
213Harrell, J. S., Bangdiwala, S. I., Deng, S., Webb, J. P., & Bradley, C. (1998). Smoking initiation in youth: The roles of gender, race, socioeconomics, and developmental status. Journal of Adolescent Health, 23, 271-279.Hays, R. D., Merz, J. F., & Nicholas, R. (1995). Response burden, reliability, and validity of the CAGE, Short MAST, and AUDIT alcohol screening measures. Behavioral Research Methods,Instruments & Computers, 27, 277-280.Hill & Casswell. (2001). Alcohol advertising and sponsorship: Commercial freedom or control in the public interest?. Peters & Stock(eds), International Handbook of Alcohol Dependence and Problems, John Wiley, Chichester, p 823-846.Hingson, R & Howland, J. (1993). Alcohol and non-traffic unintended injuries. Addiction, 88, 877–883.Hirschi, T. (1969). Causes of Delinquency. Berkeley: University of California Press.Hittner, J. B., & Swickert, R. (2006). Sensation seeking and alcohol use: A meta-analytic review. Addictive Behaviors, 31(8), 1383-1401.Hoyle, R. H., Stephenson, M. T., Palmgreen, P., Lorch, E. P., & Donohew, R. L. (2002). Reliability and validity of a brief measure of sensation seeking. Personality Individual Difference, 32, 401-414.Institute of Alcohol Studies. (2002). What is Problem Drinking?. Retrieved 2 September 2010, from www.ias.org.uk/resources/factsheets/problemdrinking.pdfIvis, F. J., Adlaf, E. M., & Rehm, J. (2000). Incorporating the AUDIT into a general population telephone survey: A methodological experiment. Drug & Alcohol Dependence, 60, 97-104.Jessor, R., Costa, F. M., P.M, K., & Turbin, M. S. (2006). A developmental study of heavy episodic drinking among college students: The role of psychosocial and behavioral protective and risk factors. Journal of Studies on Alcohol, 67, 86-94.Johnston, L.D., O’Malley, P.M., Bachman, J.G. & Schulenberg, J.E. (2005). Monitoring the Future, National Survey Results on Drug Use, 1975–2004. Volume I: Secondary School Students. NIH Pub. No. 05–5727. Bethesda, MD: National Institute on Drug Abuse, Available online at: http://monitoringthefuture.org/pubs/monographs/ vol1_2004.pdf.
214Kairouz, S., Gliksman, L., Demers, A., & Adlaf, E. M. (2002). For all these reasons, I do. . .drink: A multilevel analysis of contextual reasons for drinking among Canadian undergraduates. Journal of Studies on Alcohol, 63, 600-608.Katz, E. C., Fromme, K., & D’Amico, E. J. ( 2000). Effects of outcome expectancies and personality on young adults’ illicit drug use, heavy drinking, and risky sexual behavior. Cognitive Therapy and Research, 24 (1), 1-22.Kopstein, A. N., Crum, R. M., & Celetano, D. B. (2001). Sensation seeking needs among 8th and 11th graders: characteristics associated with cigarette and marijuana use. Drug & Alcohol Dependence, 62 195-203.Kraft, M. R., Jr., & Zuckermen, M. (1999). Parental behavior and attitude of their parents reported by young adults from intact and stepparent families and relationships between perceived parenting and personality. Personality and Individual Differences, 27, 453-476.Krüger, HP, Utzelmann, HD, Berghaus, G & Kroj, G. (1993). Effects of low alcohol dosages: A review of the literature; in Krüger, HP, Utzelmann, HD, Berghaus, G, Kroj, G (eds): Alcohol, Drugs and Traffic Safety – T’92. (pp 763–778). Cologne: TÜV Rheinland.Kumpfer, K. L. (2011). Identification of Drug Abuse Prevention Programs: Literature Review. Retrieved 2 April 2011, from http://www.nida.nih.gov/about/organization/ despr/hsr/da-pre/KumpferLitReview.html#typesKuntsche, E. N. K., H. (2006). What is worse? A hierarchy of family-related risk factors predicting alcohol use in adolescence. Substance Use & Misuse, 41, 71-86.Kushner, M. G., & Sher, K. J. (1993). Comorbidity of alcohol and anxiety disorders among college students: Effects of gender and family history on alcoholism. Addictive Behaviors, 18, 543-552.Kypri, K., Langley, J.D. McGee, R., Saunders, J.B., & Williams, S. (2002). High prevalence, persistent hazardous drinking among New Zealand tertiary students. Alcohol & Alcoholism, 37(5), 457-464.Leung, S. F., & Arthur, D. (2000). The alcohol use disorders identi®cation test (AUDIT): validation of an instrument for enhancing nursing practice in Hong Kong. International Journal of Nursing Studies, 37, 57-64.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307