215Lewin, K. (1951). Field Theory in social science: selected theoretical papers. New York: Harper & Row, Publishers, Incorporated.Lieberman & Orlandi. (1987). Alcohol advertising and adolescent drinking. Special focus: The economics of alcohol abuse. Alcohol Health and Research World, 12(1), 30-33.Luczak, S., Corbett, K., Oh, C., Carr, L. G., & Wall, T. L. (2003). Religious influences on heavy episodic drinking in Chinese-American and Korean-American College Students. Journal of Studies on Alcohol, 64, 467-471.Lynskey, M.T., Bucholz, K. Madden, P.A.F. & Heath, A.C. (2007). Early-onset alcohol-use behavior and subsequent alcohol-related driving risks in young women: A twin study. Journal Study Alcohol Drugs, 68, 798-804.Marcoux, B. C., & Shop, J. T. (1997). Application of the Theory of Planned Behavior to adolescent use and misuse of alcohol. Health Education Research, 12(3), 323-331.Martins, S. S., Storr, C. L., Alexandre, P. K., & Chilcoat, H. D. (2008). Adolescent ecstasy and other drug use in the National Survey of Parents and Youth: The role of sensation- seeking, parental monitoring and peer's drug use. Addictive Behaviors, 33, 919-933.Mattick, R. P., & Clarke, J. C. (1998). Development and validation of measures of social phobia scrutiny fear and social interaction anxiety. Behaviour Research and Therapy, 36, 455-470.Merton, R. K. (1957). Social Theory and Social Structure. New York: The Free Press.Moussas, G., Dadouti, G., Douzenis, A., Poulis, E., Tzelembis, A., & Bratis, D. e. a. (2009). The Alcohol Use Disorders Identification Test (AUDIT): reliability and validity of the Greek version. Annals of General Psychiatry, 8, 11-15.National Drug Abuse Center for Training and Resource Development. (2008). Alcohol pharmacology. Retrieved on 20 March 2008, from http://www.well.com/user/ woa/fsalphar.htm.National Expert Advisory Committee on Alcohol. (2001). Alcohol in Australia: Issues and strategies. Canberra: Commonwealth Department of Health and Aged Care.National Institute of Health. (2010). Problematic Alcohol Use: Maturing Out. Retrieved 2 October 2010, from http://www.enotalone.com/article/11151.html
216National Institute on Alcohol Abuse and Alcoholism. (2003). Helping patients with alcohol problems: A health practitioner's guide. Retrieved October 1, 2004, from http://www.niaaa.nih.gov/publications/Practitioner/HelpingPatients.htm#Note14 . (2004). Standard drinks chart. Retrieved 1 October 2004, from http://www.niaaa. nih.gov/publications/niaaa-guide/standardDrinksChart.htmNeighbors, C., Lee, C. M., Lewis, M. A., Fossos, N., & Larimer, M. E. (2007). Are Social Norms the Best Predictor of Outcomes Among Heavy-Drinking College Students? Journal Studies on Alcohol and Drugs, 68(4), 556-565.Neinstein, L. S., & Kaufman, F. R. (2002). Normal physical growth and development. In I. L.S. Neinstein (Ed.). Adolescent health care: A practical guide. (3rded.). Baltimore: Williams & Wilkins.Neinstein, L. S., & Schack, E. (2002). Nutrition. In I. L.S.Neinstein (Ed.), Adolescent health care: A practical guide (4thed.). Philadelphia: Lippincott William & Wilkins.O’Connor, M. J., & Whaley, S. E. (2003). Alcohol use in pregnant low-income women. J Stud Alcohol, 64, 773-783.Oei, T. P. S., & Burrow, T. (2000). Alcohol expectancy and drinking refusal self-efficacy: A test of specificity theory. Addictive Behaviors, 25(4), 499-507.Oei, T. P. S., Hasking, P. A., & Young, R. M. (2005). Drinking refusal self-efficacy questionnaire-revised (DRSEQ-R): a new factor structure with confirmatory factor analysis. Drug and Alcohol Dependence, 78, 297-307.Oei, T. P. S., & Morawska, A. (2004). A cognitive model of binge drinking: The influence of alcohol expectancies and drinking refusal self-efficacy. Addictive Behaviors, 29, 159-179.Palfal, T. P. (2001). Individual differences in temptation and responses to alcohol cues. Journal of Studies on Alcohol, 62, 657-666.Pitkänen, T., Kokko, K., Lyyta, Anna-Liisa & Pulkkinen, L. (2008). A developmental approach to alcohol drinking behavior in adulthood: A fellow-up study from age 8 to age 42. Addiction, 103(Suppl. 1), 48-68.Plant, T. M. (2002). Neurophysiology of puberty. Journal of Adolescent Health, 31(6, Supple.), 185-191.
217Poelen, E. A. P., Scholte, R. H., Willemsen, G., Boomsma, D. I., & Engels, R. C. M. E. (2007). Drinking by parents, siblings, and friends as predictors of regular alcohol use in adolescents and young adults: A longitudinal twin-family study. Alcohol & Alcoholism, Advance Access published May 30, 2007, 1-8.Powell, J. E., & McInness, E. (1994). Alcohol use among older hospital patients: Findings from an Australian study. Drug and Alcohol Review, 13, 5-12.PsychNet-UK Home. (2007). Substance Related Disorders - Basically, an addiction to a substance. Retrieved 25 March 2008, from http://www.psychnet-uk.com/ clinical_psychology/clinical_psychology_substance_related_disorders1.htm.Raffaelli, M., Stone, R. A. T., Iturbide, M. I., McGinley, M., Carlo, G., & Crockett, L. J. (2007). Acculturation, gender, and alcohol use among Mexican American college students. Addictive Behaviors, 32, 2187-2199.Ramchandani, V.A. (2000). Alcohol: Neurobiology and Pharmacology. Retrieved on 20 March 2008, from http://www.alcoholmedicalscholars.org/pharm-out.htm.Reboussin, B. A., Song, E.-Y., Shrestha, A., Lohman, K. K., & Wolfson, M. (2006). A latent class analysis of underage problem drinking: Evidence from a community sample of 16−20 year olds. Drug Alcohol Dependence., 83(3), 199-209.Rehn, Room & Edwards. (2001). Alcohol in the European region consumption, harm, and policies. Geneva: World Health Organization.Rew, L. (2005). Adolescent health: a multidisciplinary approach to theory, research, and intervention. Thousand Oaks: Sage Publication.Ricciardelli, L. A., Connor, J. P., Williams, R. J., & Young, R. M. (2001 ). Gender stereotypes and drinking cognitions as indicators of moderate and high risk drinking among young women and me. Drug and Alcohol Dependence, 61, 129-136.Ridgeway, D. & Russell, J.A. (1980). Reliability and validity of the Sensation-Seeking Scale: psychometric problems in Form V. Journal of Consulting and Clinical Psychology, 48(5), 662-664.Rotter, J. B. (1964). Clinical Psychology. Englewood Cliffs: Prentice-Hall.
218Rumpf, H.-J., Hapke, U., Meyer, C., & John, U. (2002). Screening for alcohol use disorders and at-risk drinking in the general population: Psychometric performance of three questionnaires. Alcohol & Alcoholism, 37(3), 261-268.Santisa, R., Garmendiab, M. L., Acu˜nac, G., Alvaradob, M. E., & Arteaga, O. (2009). The Alcohol Use Disorders Identification Test (AUDIT) as a screening instrument for adolescents. Drug and Alcohol Dependence, 103, 155-158.Schultz, C. G., & Neighbors, C. (2007). Perceived norms and alcohol consumption: Differences between college students from rural and urban high schools. Journal of American College Health, 56(3), 261-265.SCOREPAK. (2005). Item analysis. Retrieved 6 December 2010, from www.pdfarticles.com/ topic/item+analysis.htmlSeneff, S. (2009). Is ADHD Caused by Insufficient Dietary Fat?. Retrieved 2 October 2010, from http://people.csail.mit.edu/seneff/adhd_low_fat_diet.htmlSeppä, K., Laippala, P., & Sillanaukee, P. (1996). High diastolic blood pressure: common among women who are heavy drinkers. Alcohol Clin Exp Res, 20(1), 47-51.Sinclair, M., McRee, B., & Babor, T. F. (1992). Evaluation of the Reliability of AUDIT. [n.p.]: University of Connecticut School of Medicine, Alcohol Research Center.Single, E. & Wortly, S. (1993). Drinking in various settings as it relates to demographic variables and level of consumption: finding from a nation survey in Canada. Journal of Studies on Alcohol, 54, 590-599.Slater, M. D. (2001). Personal Value of Alcohol Use as a Predictor of Intention To Decrease Post- College Alcohol Use. Journal of Drug Education, 31(3), 263-269.Sokol, R., Martier, S. S., & Ager, J. (1989). The T-ACE questions: Practical prenatal detection of risk-drinking. (25 refs.) American Journal of Obstetrics and Gynecology, 160(4), 863-870.Sommers, M. S. (2006). Annual Review of Nursing Research Volume 23, 2005. New York: Springer Publishing Company.Stark, K. D. e. a. (2006). Alcohol consumption in pregnant, black women is associated with decreased plasma and erythrocyte docosahexaenoic acid. Alcohol Clin Exp Res, 29(1), 130–140.
219Steinberg, L. (2007). Risk taking in adolescence: New perspectives from brain and behavioral science. Current Directions in Psychological Science, 16(2), 55 - 59.Stephenson, M. T., Hoyle, R. H., Palmgreen, P., & Slater, M. D. (2003). Brief measures of sensation seeking for screening and large-scale surveys. Drug Alcohol Dependence, 72, 279-286.Stevenson, J. S., & Masters, J. A. (2005). Predictors of alcohol misuse and abuse in order women. Journal of Nursing Scholarshi., 37(4), 329-335.Stockwell et.al. (1998). Consumption of different alcoholic beverages as predictors of local rates of night-time assault and acute alcohol-related morbidity. Darwin: Australian Nation University.Susman, E. J., Reiter, E. O., Ford, C., & Dorn, L. D. (2002). Developing models of healthy adolescent physical development. Journal of Adolescent Health, 31(6S), 171-174.Swaddiwudhipong, W., Nguntra, P., Mahasakpan, P., Koonchote, S. & Tantriratna, G. (1994). Epidemiologic characteristics of drivers, vehicles, pedestrians and road environments involved in road traffic injuries in rural Thailand. Southeast Asian Journal of Tropical Medical and Public Health, 25(1), 37-44.Taproom. (2004). Alcohol content of beer. Retrieved October 1, 2004, from http://www.taproom.com/beer/beerprf.htm.Thomas, B. A., & McCambridge, J. (2008). Comparative psychometric study of a range of hazardous drinking measures administered online in a youth population. Drug and Alcohol Dependence, 96, 121-127.Thompson, P. M., Giedd, J. N., Woods, R. P., Macdonald, D., Evans, A. C., & Toga, A. W. (2000). Growth patterns in the developing brain detected by using continuum mechanical tensor maps. Nature, 404(6774), 190-193.Tyssen, R., Vaglum, P., Aasland, O. G., Gronvold, N. T., & Ekeberg, O. (1998). Use of alcohol to cope with tension, and its relation to gender, years in medical school and hazardous drinking: a study of two nation-wide Norwegian samples of medical students. Addiction 93(9), 1341-1349.
220U.S. Department of Health and Human Services. (2007). The Surgeon General’s Call to Action to prevent and reduce underage drinking. Washington, DC: U.S. Department of Health and Human Services, Office of the Surgeon General.U.S. Department of Health and Human Services. (1997). 9th Special Report to the US Congress on Alcohol and Health. Rockville: US Department of Health and Human Services, National Institute on Alcohol Abuse and Alcoholism.Vallone, D., Allen, J. A., Clayton, R. R., & Xiao, H. (2007). How reliable and valid is the Brief Sensation Seeking Scale (BSSS-4) for youth of various racial/ethnic groups? Addiction, 102 (Suppl. 2), 71-78Van Beurden, E., Zask, A., Brooks, L., & Dight, R. (2005). Heavy episodic drinking and sensation seeking in adolescents as predictors of harmful driving and celebrating behaviors: implications for prevention. Journal of adolescent health, 37(1), 11-21.Vickers, K. S., Patten, C. A., Bronars, C., Lane, K., Stevens, S. R., & Croghan, I. T. e. a. (2004). Binge drinking in female college students: The association of physical activity, weight concern, and depressive symptoms. Journal of American College Health, 53(3), 133-140.Walker, L. O., & Avant, K. C. (2005). Strategies for Theory Construction in Nursing (4th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education, Inc.Wells, J.E, Horwood, L.J. & Fergusson, D.M. (2004). Drinking patterns in mid-adolescence and psychosocial outcomes in late adolescence and early adulthood. Addiction, 99, 1529-1541.Wichstrøm, L. (2001). The impact of pubertal timing on adolescents' alcohol use. Journal of Research on Adolescence, 11, 131-150.Wiesner, M., & Ittel, A. (2002). Relation of pubertal timing and depressive symtoms to substance use in early adolescence. Journal of Early Adolescence, 22(1), 5-23.Williams, R. J., & Ricciardelli, L. A. (1999). Restrained drinking and cognitive control among adolescents. Adolescence, 34(135), 557-565.World Health Organization. (2009a). Adolescent health. Retrieved on 27 September 2009, from http://www.who.int/topics/adolescent_health/en/. . (2009b). Alcohol. Retrieved on 27 September 2009, from http://www.who.int/ substance_abuse/facts/alcohol/en/index.html
221Yeh, M.-Y. (2006). Factors associated with alcohol consumption, problem drinking, and related consequences among high school students in Taiwan. Psychiatry and Clinical Neurosciences., 60, 46-54.Young, R. M., Connor, J. P., Ricciardelli, L. A., & Saunders, J. B. (2006). The role of alcohol expectancy and drinking refusal self-efficacy beliefs in university student drinking. Alcohol & Alcoholism, 41(1), 70-75.Zamboanga, B. L. (2006). From the eyes of the beholder: Alcohol expectancies and valuations as predictors of hazardous drinking behaviors among female college students. The American Journal of Drug and Alcohol Abuse, 32, 599-605.Zeigler, D. W., Wang, C. C., Yoast, R. A., Dickinson, B. D., McCaffree, M. A., & Robinowitz, C. B. e. a. (2005). The neurocognitive effects of alcohol on adolescents and college students. Preventive Medicine, 40, 23–32.Zuckerman, M., & Kuhlman, D. M. (2000). Personality and risk-taking: Common biosocial factors. Journal of Personality, 68, 999-1029.Zuckerman, M., Eysenck, S. B. J., & Eysenck, H. J. (1978). Sensation seeking in England and America: Cross-cultural, age, and sex comparisons. Journal of Consulting and Clinical Psychology, 46(1), 139-149Zuckerman, M., Kuhlman, D. M., Teta, P., Joireman, J., & Kraft, M. (1993). A comparison of three structural models of personality: the big three, the big five, and the alternative five. Journal of Personality and Social Psychology, 65, 757–768.Zufferey, A., Michaud, P.-A., Jeannin, A., Berchtold, A., Chossis, I., & Van Melle, G. e. a. (2007). Cumulative risk factors for adolescent alcohol misuse and its perceived consequences among 16 to 20 year old adolescents in Switzerland. Preventive Medicine, 45, 233-239.
ภาคผนวก
225 ภาคผนวก กการพทิ ักษส์ ิทธก์ิ ล่มุ ตวั อย่าง
227
228
229 คาช้แี จงและพิทกั ษ์สิทธอ์ิ าสาสมัครในการตอบแบบสอบถามเรยี น นักเรียนผสู้ มัครเขา้ ร่วมโครงการวิจัย เนื่องด้วยดิฉันนางสาวอุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ นักศึกษาปริญญาเอก คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น กาลังดาเนินโครงการวิจัย เรื่อง ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นในจังหวัดขอนแก่น โครงการศึกษาวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือค้นหาปัจจัยภายในตัวบุคคล ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม ท่ีเกี่ยวข้องกับการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีผลต่อสุขภาพของวัยรุ่น ผลท่ีได้จากการวิจัยจะเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการสร้างแนวทางในการป้องกันอันตรายท่ีจะเกิดกับสุขภาพของวัยรุ่นจากการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์การวิจัยนี้จะให้ผลที่ตรงและมีประโยชน์หากได้รับข้อมูลโดยตรงจากนักเรียนซึ่งเป็นผู้ที่มีอายุและประสบการณอ์ ยใู่ นช่วงวยั ของวัยรนุ่ ดังน้ันเพ่ือการน้ีดิฉันจึงขอความอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถามเพื่อประโยชน์ทางการศกึ ษาดังกลา่ ว เป็นจานวน 148 ขอ้ โดยใชเ้ วลาในการตอบ 1 ช่ัวโมง 30 นาที ถงึ 2 ช่ัวโมง ขอให้นักเรยี นตอบตามความเป็นจริง เพราะคาตอบของนักเรียนมีความสาคัญต่อการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นอย่างย่งิ ดฉิ ันขอรับรองว่าจะเก็บรักษาข้อมูลในการตอบแบบสอบถามของนักเรียนไว้เป็นความลับและผลการวิจัยจะนาเสนอในลักษณะภาพรวม ไม่ระบุช่ือ/ ข้อมูลส่วนตัว จึงไม่เกิดผลกระทบต่อการเรียนของนกั เรยี นแตป่ ระการใด ดิฉนั หวงั เปน็ อยา่ งยิ่งวา่ จะไดร้ บั ความร่วมมอื จากนักเรียนเป็นอย่างดี และขอขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสน้ี หากนักเรียนมีข้อสงสัยเกี่ยวกับงานวิจัย โปรดติดต่อผู้วิจัยตลอดเวลาได้ที่นางสาวอุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตาบลในเมืองอาเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่ 40002 โทรศัพท์ 08-5833-3775 หากมปี ญั หาสงสยั เกยี่ วกบั สทิ ธิของนักเรียนขณะเข้าร่วมการวจิ ัยน้ีต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมโปรดสอบถามได้ท่ีประธานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวิทยาลัยขอนแก่นสานักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ฯ อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีคณะแพทยศาสตร์ ชั้น 17 มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40002 หรือทางโทรศพั ท์หมายเลข (043) 366616-7 ตอ่ 66616, 66617 ขอบขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี นางสาวอทุ ัยทพิ ย์ จันทร์เพญ็
230 แบบยนิ ยอมเข้าร่วมโครงการวจิ ยั (สาหรับอาสาสมัคร) ขา้ พเจา้ (นาย, นาง, นางสาว)………..…….…………………นามสกลุ ………………………อายุ……...ปี อยูบ่ ้านเลขท่ี….…..หมทู่ ี่……..….ตาบล………….…อาเภอ……….…………..……..จงั หวดั …………………………… ได้รับฟังคาอธิบายจาก นางสาวอุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ เก่ียวกับการเป็นอาสาสมัครในโครงการวิจัยเร่ือง“ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นในจังหวัดขอนแกน่ ” ข้อความท่อี ธิบายประกอบดว้ ยการขอความอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถามเพื่อนาข้อมูลท่ีได้ไปวิเคราะห์ เพ่ือค้นหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีผลต่อสุขภาพของวัยรนุ่ และเปน็ แนวทางในการป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับสุขภาพของวัยรุ่นจากการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ โดยข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามของนักเรียนจะถูกเก็บไว้เป็นความลับ และผลการวิจัยจะนาเสนอในลักษณะภาพรวม ไม่ระบุชื่อ/ ข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน“ในการเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครของโครงการวิจัยครั้งนี้ ข้าพเจ้าเข้าร่วมด้วยความสมัครใจ” และข้าพเจ้าสามารถถอนตัวจากการศึกษาน้ี เมื่อใดก็ได้ ถ้าข้าพเจ้าปรารถนาและหากเกิดมีเหตุการณ์ที่ไมพ่ งึ ประสงค์ ขา้ พเจ้าไดอ้ า่ นและเข้าใจตามคาอธบิ ายข้างต้นแลว้ จงึ ไดล้ งนามยินยอมเขา้ รว่ มโครงการวจิ ยั น้ี ลงนาม..........................................................................................ผู้ยินยอม ลงนาม...........................................................................................ผ้วู ิจัย (นางสาวอุทัยทพิ ย์ จนั ทร์เพ็ญ) ลงนาม...........................................................................................พยาน ลงนาม...........................................................................................พยาน วันที่……….เดือน……………พ.ศ……………
231 คาช้แี จงและพิทกั ษส์ ิทธอ์ิ าสาสมคั รในการตอบแบบสอบถาม (สาหรับผู้ปกครอง)เรียน ผูป้ กครองของนักเรยี นท่สี มคั รเขา้ รว่ มโครงการวจิ ัย เน่ืองด้วยดิฉันนางสาวอุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ นักศึกษาปริญญาเอก คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น กาลังดาเนินโครงการวิจัย เรื่อง ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นในจังหวัดขอนแก่น โครงการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาปัจจัยภายในตัวบุคคล ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม ที่เก่ียวข้องกับการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ท่ีมีผลต่อสุขภาพของวัยรุ่น ผลที่ได้จากการวิจัยจะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างแนวทางในการป้องกันอันตรายท่ีจะเกิดกับสุขภาพของวัยรุ่นจากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์การวิจัยนี้จะให้ผลที่ตรงและมีประโยชน์ต่อการพัฒนาโปรแกรมการป้องกันผลทางสุขภาพท่ีจะเกดิ ขึน้ จากการดมื่ เครื่องดมื่ แอลกอฮอลข์ องวยั รนุ่ หากไดร้ ับขอ้ มูลโดยตรงจากนักเรียนซ่ึงเป็นผู้ที่มีอายุและประสบการณ์อย่ใู นช่วงของวัยรนุ่ ดังนน้ั เพ่ือประโยชนท์ างการศึกษาดังกล่าว ดิฉันจึงใคร่ขอความร่วมมือจากท่านในการอนุญาตให้นักเรียนในปกครองตอบแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย 11 ส่วน มีทั้งหมด 16 หน้า ใช้เวลาในการตอบ 1 ช่ัวโมง 30 นาที ถึง 2 ชั่วโมง สาหรับข้อมูลจากแบบสอบถามดิฉันขอรับรองว่าจะเก็บรักษาขอ้ มลู ของนกั เรียนไวเ้ ป็นความลับ และผลการวจิ ยั จะนาเสนอในลกั ษณะภาพรวม ไม่ระบุชื่อ/ขอ้ มูลสว่ นตัว ดังนัน้ จงึ ไม่เกดิ ผลกระทบตอ่ การเรียนและผลการเรียนของนักเรียนแต่ประการใด ดฉิ นั หวังเปน็ อย่างยิ่งวา่ จะได้รับความรว่ มมือจากท่านเปน็ อย่างดี และขอขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณโอกาสนี้ หากท่านมีข้อสงสัยเกี่ยวกับงานวิจัย โปรดติดต่อผู้วิจัยตลอดเวลาได้ที่ นางสาวอุทัยทิพย์จันทรเ์ พญ็ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น40002 โทรศพั ท์ 08-5833-3775 หากมีปัญหาสงสัยเก่ียวกับสิทธิของนักเรียนขณะเข้าร่วมการวิจัยนี้ ต้องการทราบข้อมูลเ พิ่ ม เ ติ ม โ ป ร ด ส อ บ ถ า ม ไ ด้ ท่ี ป ร ะ ธ า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จ ริ ย ธ ร ร ม ก า ร วิ จั ย ใ น ม นุ ษ ย์มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น สานักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ฯ อาคารสมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนีคณะแพทยศาสตร์ ชั้น 17 มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ จังหวัดขอนแก่น 40002หรอื ทางโทรศัพท์หมายเลข (043) 366616-7 ตอ่ 66616, 66617 ขอบขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้ นางสาวอุทยั ทพิ ย์ จันทร์เพ็ญ
232 แบบยนิ ยอมให้นกั เรยี นผู้เป็นอาสาสมัครเข้ารว่ มโครงการวิจยั (สาหรบั ผู้ปกครอง) ข้าพเจ้า(นาย, นาง)………..…….…..........…………นามสกุล…………………..……………อายุ……...ปี อยบู่ ้านเลขที่….…..หมู่ท่ี……..…...ตาบล………….……อาเภอ……….…………..…จงั หวดั …………………………… ได้รับทราบคาช้ีแจงและพิทักษ์สิทธ์ิอาสาสมัครในการตอบแบบสอบถามในโครงการวิจัยเรื่อง“ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นในจังหวัดขอนแก่น”จากนางสาวอุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ แล้ว ข้อความที่อธิบายประกอบด้วยการขอความร่วมมือในการอนุญาตใหน้ กั เรียนในปกครองตอบแบบสอบถาม เพ่ือนาข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ เพื่อค้นหาปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ท่ีมีผลต่อสุขภาพของวัยรุ่น และเป็นแนวทางในการป้องกันอันตรายท่ีจะเกิดกับสุขภาพของวัยรุ่นจากการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ซึ่งข้อมูลท่ีได้จากการตอบแบบสอบถามจะถูกเก็บไว้เป็นความลับ และผลการวิจัยจะนาเสนอในลักษณะภาพรวมตามที่ได้ทราบรายละเอียดข้างต้นข้าพเจ้าจึงมีความยินดีที่จะอนุญาตและยินยอมให้นักเรียนในปกครองของข้าพเจ้าเปน็ อาสาสมคั รเขา้ ร่วมโครงการวิจัย ข้าพเจ้าจึงขอลงนามไว้เพื่อเป็นหลักฐานประกอบการตัดสินใจเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครในโครงการวจิ ัยนี้ของนกั เรยี นในปกครองของขา้ พเจ้า ลงนาม..........................................................................................ผู้ยนิ ยอม ลงนาม...........................................................................................ผ้วู ิจยั (นางสาวอุทยั ทพิ ย์ จนั ทร์เพ็ญ) ลงนาม...........................................................................................พยาน ลงนาม...........................................................................................พยาน วันท…่ี …….เดอื น……………พ.ศ……………
233 ภาคผนวก ขการสร้างและพัฒนาเครือ่ งมอื
235 รายนามผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความตรงเชิงเนอ้ื หาของเครือ่ งมอื1. ดร.กมลภพ ยอดบ่อพลบั รองคณบดีฝา่ ยกิจการนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม2. ดร.ชศู กั ด์ิ พฒั นะมนตรี นกั วทิ ยาศาสตร์การกีฬา การกีฬาแหง่ ประเทศไทย3. ดร.สุมาลี เอ่ียมสมัย พยาบาลวชิ าชีพชานาญการพิเศษ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนพี ระพทุ ธบาท4. ดร.สนุ ทรยี ์ คาเพง็ รองผู้อานวยการกลุ่มวิชาการ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนพี ระพุทธบาท5. ดร.ดรณุ ี ภ่ขู าว ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล รายนามผเู้ ชีย่ วชาญด้านภาษาตรวจสอบความตรงของภาษา1. Ms. Supakanya Phadung-ake Smith ครูอาสาสมคั ร และผจู้ ดั การคลินิกทนั ตกรรม รัฐเทนเนสซี (Tennessee) ประเทศสหรัฐอเมริกา การศกึ ษา - B.Ed (Bachelor of Education), Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand - M.A. (Master’s Degree in Economics), Middle Tennessee State University, Murfreesboro, Tennessee, USA - M.B.A. (Master’s Degree in Business Administration), Middle Tennessee State University, Murfreesboro, Tennessee, USA2. น.ส.ศริ ิพร แซ่เท้น ตาแหนง่ นักเขยี นและแปลหนงั สืออสิ ระ การศึกษา - ปริญญาตรี วารสารศาสตร์บณั ฑติ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาโท Master of Public Administration จาก California Lutheran University - ปริญญาโท ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาจิตวิทยาการปรกึ ษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
236 คา่ ดชั นคี วามสอดคลอ้ ง (Item-Objective Congruence) สูตรการคานวณคา่ ดชั นคี วามสอดคล้อง (ไพฑูรย์ ศรีฟ้า, 2553; สุวิมล ติรกานนั ท์, 2550) IOC = ∑R/N IOC = ค่าดัชนีความสอดคล้อง ∑R = ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ N = จานวนผเู้ ชยี่ วชาญ คา่ ดัชนคี วามสอดคล้องของแบบสอบถามทีผ่ วู้ ิจัยสรา้ งข้นึ เอง จานวน 5 สว่ น แสดงดงั ตารางท่ี21 ถงึ 25ตารางที่ 1 คา่ ดชั นคี วามสอดคล้องของแบบสอบถามสว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปข้อที่ คะแนนจากผู้ทรงคณุ วฒุ ิ คะแนนรวม คา่ ดัชนี คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 คนท่ี 4 คนที่ 5 ความสอดคลอ้ ง11 1 1 1 1 5 121 1 1 1 1 5 1 0.831 1 1 1 0 4 1 0.841 1 1 1 1 5 1 151 1 0 1 1 4 0.861 1 1 1 1 571 1 1 1 1 580 1 1 1 1 4
237ตารางท่ี 2 ค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถามส่วนที่ 3 ความรู้ด้านการดื่ม เคร่ืองด่ืม แอลกอฮอล์ขอ้ ท่ี คะแนนจากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ คะแนนรวม คา่ ดัชนี คนท1่ี คนท่ี 2 คนท่ี 3 คนที่ 4 คนท่ี 5 ความสอดคล้อง11 1 1 1 1 5 121 1 1 1 1 5 1 131 1 1 1 1 5 1 0.841 1 1 1 1 5 0.6 0.451 1 1 1 0 4 1 160 1 1 1 0 3 0.8 170 1 0 1 0 281 1 1 1 1 591 1 1 1 1 510 1 1 1 1 0 411 1 1 1 1 1 5ตารางที่ 3 ค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถามส่วนท่ี 5 บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่ม เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ขอ้ ท่ี คะแนนจากผู้ทรงคณุ วุฒิ คะแนนรวม คา่ ดัชนี คนท1ี่ คนท่ี 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 ความสอดคล้อง11 1 1 1 1 5 121 1 1 1 1 5 1 131 1 1 1 1 5 1 141 1 1 1 1 5 1 151 1 1 1 1 5 1 161 1 1 1 1 571 1 1 1 1 581 1 1 1 1 591 1 1 1 1 5
238ตารางที่ 3 ค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถามส่วนที่ 5 บรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ต่อ)ข้อท่ี คะแนนจากผทู้ รงคณุ วุฒิ คะแนนรวม คา่ ดัชนี คนที่ 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 คนท่ี 4 คนที่ 5 ความสอดคลอ้ ง10 1 1 1 1 1 5 111 1 1 1 1 1 5 1 112 1 1 1 1 1 5 1 113 1 1 1 1 1 5 114 1 1 1 1 1 515 1 1 1 1 1 5ตารางท่ี 4 ค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถามส่วนที่ 9 ทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์ข้อที่ คะแนนจากผ้ทู รงคณุ วุฒิ คะแนนรวม ค่าดชั นี คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 ความสอดคล้อง11 1 111 5 12 -1 1 1 1 -1 1 0.2 0.831 1 110 4 0.8 141 1 011 4 1 0.851 1 111 5 1 161 1 111 5 1 171 1 110 4 1 181 1 111 5 191 1 111 510 1 1 1 1 1 511 1 1 1 1 1 512 1 1 1 1 1 513 1 1 1 1 1 514 1 1 1 1 1 5
239ตารางท่ี 5 ค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถามส่วนที่ 11 ค่านิยมการด่ืมเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์ข้อที่ คนท่ี 1 คะแนนจากผูท้ รงคณุ วฒุ ิ คะแนนรวม คา่ ดัชนี คนท่ี 2 คนท่ี 3 คนที่ 4 คนท่ี 5 ความสอดคลอ้ ง1 1 1 1 1 -1 3 0.621 1 1 1 1 5 1 131 1 1 1 1 5 0.8 0.641 1 1 1 0 4 1 15 1 1 1 1 -1 3 0.8 161 1 1 1 1 5 0.8 0.671 1 1 1 1 5 0.6 0.681 1 1 1 0 4 1 0.891 1 1 1 1 510 1 1 1 1 0 411 0 1 1 1 0 312 1 1 1 1 -1 313 1 1 1 1 -1 314 1 1 1 1 1 515 1 1 1 1 0 4
240รายละเอยี ดการสร้างและพัฒนาเครือ่ งมอื ท่ผี ู้วจิ ยั สร้างข้ึนเอง สรปุ ผลการ แบบสอบถาม จานวนขอ้ คา่ ดัชนคี วามสอดคล้องที่ได้ นักเรยี นสายอ จานส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไป 8 ขอ้ 1-8 มคี า่ ดชั นีความสอดคลอ้ งอยู่ นักเรียนเขา้ ใ ในช่วง 0.8-1 ขอ้ เสนอแนะส่วนที่ 3 ความรดู้ า้ น 11 ข้อ 1-6, 8,9 ขอ้ มคี า่ ดชั นคี วาม บางข้อ ข้อควการดมื่ เคร่ืองดืม่ สอดคล้องอยใู่ นช่วง 0.6-1 มเี พยี ง 1 ข้อ ผวู้ ิจัยปรบั ข้อแอลกอฮอล์ มีค่า 0.4 ซึ่งต่ากวา่ 0.5 ผ้วู จิ ัยตดั ขอ้ น้ี ข้อความให้ม ออกเหลอื 10 ข้อ ผทู้ รงคุณวุฒใิ หเ้ พมิ่ เข้าใจง่าย แต ขอ้ คาถาม 2 ข้อ ท้ังหมดจึงมี 12 ข้อ การถามเหมือสว่ นที่ 5 บรรทดั ฐาน 15 ทุกข้อ มีคา่ ดชั นคี วามสอดคล้อง บางคาพดู กากทางสงั คมดา้ นการดม่ื เท่ากบั 1 ไมต่ รงกนั คาตเครื่องด่มื แอลกอฮอล์ นา่ จะเพิ่มข้อค ตวั เลือกแรกสว่ นที่ 9 ทัศนคติตอ่ 14 ข้อ 1, 3-14 มคี า่ ดชั นคี วามสอด คล้อง ไม่มีข้อปรบั หการดืม่ เครื่องดม่ื อยูใ่ นชว่ ง 0.8-1 มีเพยี งข้อ 2 ข้อ มคี ่าแอลกอฮอล์ เทา่ กบั 0.2 ซึ่งตา่ กวา่ 0.5 ผู้วจิ ยั ตดั ข้อ น้ีออก เหลือ 13 ข้อสว่ นท่ี 11 คา่ นิยมการ 15 ทุกข้อมีค่าอยใู่ นช่วง 0.6-1 คาพูดเขา้ ใจงด่มื เครอื่ งดื่ม คาตอบมีไม่มแอลกอฮอล์
242รศกึ ษานารอ่ งกบั จานวนข้อท่ี คา่ ความเช่อื มั่น/ จานวนข้อที่ยอาชีพ อายุ 17-18 ปี นาไป ค่าความยากง่าย(p) นาไป ใชจ้ ริงนวน 10 คน ทดลองใช้ - 8ใจและไม่มี 8 12ะวามยาวเกนิ ไป 12 KR20, r=0.70/ 12อความทั้ง 12 ทง้ั 12 ข้อ มคี ่า p อยู่มคี วามกระชับ ในชว่ ง 0.43-0.75 9ตค่ งความหมายในอนเดมิ 15 ท้ังฉบบั α = 0.68 14กวม ให้ความหมาย ตดั ข้อ 1, 9, 11 ออกตอบในข้อ 1-4 α = 0.74ความไม่ดื่มในหรอื เสนอแนะ 13 ทง้ั ฉบบั α = 0.61 ตัดขอ้ 2, 3, 5, 12 ออก α = 0.71งา่ ย ตัวเลอื กของ 15 ทง้ั ฉบบั α = 0.79มาก ตอบงา่ ย ตดั ข้อ 13 ออก α = 0.85
241คุณภาพของเคร่อื งมือมาตรฐานฉบับภาษาองั กฤษปัจจยั เครือ่ งมอื คุณภาพเครื่องมือ หมายเหตุการแสวงหา แบบสอบถาม ผา่ นการทดสอบความเช่อื ม่ันจากการวัด การวัดการแสวงหาความท้าทาย บคุ ลกิ ภาพแบบ ความคงท่ีภายใน มคี ่าสมั ประสิทธ์แิ อลฟา ความทา้ ทาย มีแสวงหาความท้าทาย ของครอนบาช เเท่ากบั 0.74-0.81 (วนั ชัน แบบสอบถามหลายชดุ(Sensation Seeking ธรรมสจั การและคณะ, 2543; Chanchong, แต่ของ ChanchongPersonality 2004) และคา่ ความเช่อื ม่ันจากการวัดซา้ (2004) สน้ั กระชับ และQuestionnaire: เท่ากับ 0.77 (Chanchong, 2004) ตอบงา่ ย เนอ้ื หาการวัดSSPQ) ครอบคลุม(Chanchong, 2004)จานวน 10 ขอ้ความกงั วลใน แบบประเมนิ ความ ผ่านการทดสอบความตรงเชงิ จาแนก เปน็ แบบวดั เดียวทวี่ ดั ได้การเข้าสังคม กงั วลตอ่ การมี (Discriminant validity) ระหว่างกลุ่มทม่ี ี ตรงความหมายปฏสิ มั พนั ธท์ าง ความผิดปกตทิ างความกลัว กบั กลุม่ ผไู้ ม่มีสังคม (The Social ความผดิ ปกตพิ บวา่ กลุ่มท่ีมคี วามผดิ ปกติInteraction Anxiety ทางความกลัวมีคา่ คะแนนแตกต่างจากกลมุ่Scale: SIAS) ประชากรทวั่ ไป และค่าคะแนนจากแบบ(Mattick & Clarke, ประเมนิ นี้มคี วามสัมพันธ์สงู กบั มาตรวัดย่อย1998) จานวน 19 ข้อ ของแบบสอบถามความกลัวต่างๆ ไดแ้ ก่ FQ (r=0.66), SADS (r=0.74), และ FNES (r=0.66) มีความสมั พันธป์ านกลางกบั แบบ วดั ความผดิ ปกตทิ างจติ ท่ัวๆไป คอื STAI-S (r=0.45), STAI-T (r=0.58), BDI-Short Form (r=0.47) และ the Locus of Control Behavior Scale (r=0.30) จากการทดลองใช้ ในกลมุ่ ผทู้ ่มี คี วามผิดปกตทิ างด้านความกลัว กลุ่มนักศึกษา กลุ่มประชากรทั่วไปในชมุ ชน พบว่ามคี วามคงที่ภายในดี คา่ สัมประสทิ ธ์ิ แอลฟาของครอนบาชเท่ากับ 0.90-0.94 (Mattick & Clarke, 1998) คา่ ความเช่ือม่ัน จากการวดั ซ้า เทา่ กบั 0.92
242คุณภาพของเครอ่ื งมอื มาตรฐานฉบับภาษาองั กฤษ (ตอ่ ) ปจั จยั เคร่ืองมอื คณุ ภาพเครื่องมอื หมายเหตุความโนม้ แบบสอบถาม แยกเปน็ 2 ปจั จัยย่อย คือ 1) ความโนม้ เอียงที่ เป็นแบบวดั เดียวทว่ี ดั ได้เอยี งทจี่ ะดื่มและการ ความยวนใจในการ จะดืม่ (CEP) จานวน 9 ขอ้ 2) การควบคุมการ ตรงความหมายควบคุมการดื่ม ดม่ื และการจากัด ด่มื (CBC) จานวน 6 ข้อ แบบสอบถามนม้ี ี การดม่ื เคร่ืองดมื่ ความตรงเชิงโครงสรา้ งและความตรงเชงิ แอลกอฮอล์ (The ทานายอย่ใู นระดับดี จากการวเิ คราะห์ Temptation and องคป์ ระกอบแบบยนื ยนั ในกลมุ่ นกั ศึกษาทด่ี ่มื Restraint แบบเสีย่ งและด่มื แบบเสยี่ งสงู ทงั้ สองปัจจยั วัด Inventory: TRI) ไดต้ รง (ด่มื แบบเสี่ยง, CFI = 0.96, GFI = 0.98; (Collins & Lapp, ดม่ื แบบเส่ยี งสงู , CFI = 0.96, GFI = 0.97) 1992) จานวน 15 (MacKillop, Lisman, & Weinstein, 2006) ข้อ แบบสอบถามนีส้ ามารถทานายการตดิ สรุ าได้ ร้อยละ 54 ในชาย และร้อยละ 45 ในหญงิ (Connor, Young, Williams, & Ricciardelli, 2000) แบบสอบถามนม้ี คี วามคงทภ่ี ายในดี (α = 0.78-0.91) (Collins & Lapp, 1992) โดยเฉพาะในกลุ่มนกั ศึกษาทดี่ ื่มแบบเส่ยี งค่า สมั ประสทิ ธ์ิแอลฟาของครอนบาชเทา่ กับ 0.87 (CEP, α = 0.85; CBC, α = 0.83) เชน่ เดยี วกบั กลมุ่ นกั ศกึ ษาทีด่ ม่ื แบบเสยี่ งสูง คา่ สัมประสทิ ธิ์ แอลฟาของครอนบาชเทา่ กบั 0.87 (CEP, α = 0.85; CBC, α = 0.80) (MacKillop et al., 2006)
243คณุ ภาพของเครื่องมอื มาตรฐานฉบบั ภาษาองั กฤษ (ต่อ) ปจั จยั เคร่อื งมือ คุณภาพเครอ่ื งมือ หมายเหตุสมรรถนะ แบบสอบถาม ฉบับปรบั ปรุงมจี านวนแห่งตนใน สมรรถนะแหง่ ตน แบบสอบถามฉบบั เดมิ ซงึ่ มจี านวน 31 ขอ้ มคี ่า ข้อนอ้ ยกว่า และมคี วามการปฏิเสธ ในการปฏเิ สธการ ความเชอ่ื มน่ั จากการวดั ซา้ อยูใ่ นระดบั ดี (r = เชื่อมน่ั อยูใ่ นระดบั ดีการด่ืม ด่ืมเคร่อื งด่มื 0.84-0.93) (Oei, Hasking, & Young, 2005)เครอื่ งดืม่ แอลกอฮอลฉ์ บับ และมคี า่ ความคงท่ภี ายในแยกตาม แบบสอบถามทง้ั หมดมีแอลกอฮอล์ ปรบั ปรุง (the องคป์ ระกอบทุกองคป์ ระกอบอยใู่ นระดบั ดี จานวน 38 ข้อ นามาใช้ Drinking Refusal โดยดา้ นความกดดนั ทางสงั คม คา่ สมั ประสิทธิ์ เฉพาะการคาดหวงั ผลการคาดหวัง Self-Efficacy แอลฟาของครอนบาช เทา่ กบั 0.92 ด้านการ ในการดื่มเครือ่ งดืม่ผลในการดื่ม Questionnaire- ผ่อนคลายอารมณ์และความรสู้ กึ คา่ แอลกอฮอลใ์ นทางที่ดีเครือ่ งดื่ม Revised: DRSEQ- สัมประสิทธแิ์ อลฟาของครอนบาช เทา่ กับ 0.96 จานวน 20 ขอ้ เปน็แอลกอฮอล์ R) (Oei, Hasking ด้านโอกาสท่ีเออื้ ต่อการดมื่ ค่าสัมประสิทธิ์ แบบสอบถามที่มกี ารและการ & Young, 2005) แอลฟาของครอนบาช เทา่ กบั 0.86 (Young, ถามครอบคลมุ ทง้ั การประเมนิ ค่า Connor, Ricciardelli, & Saunders, 2006) คาดหวงั ผลในการดมื่ผลจากการ แบบสอบถามการ แบบสอบถามฉบบั ปรับปรงุ มีค่าความคงท่ี เครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ดื่มเครอ่ื งดม่ื คาดหวงั ผลในการ ภายในดที ้งั 3 องคป์ ระกอบ คา่ สมั ประสิทธิ์ และการประเมินค่าผลแอลกอฮอล์ ดมื่ เคร่อื งดมื่ แอลฟาของครอนบาช อย่ใู นชว่ ง 0.84-0.95 จากการดื่มเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอลแ์ บบ (Young et al., 2006) แอลกอฮอล์ สมบรู ณ์ (The Comprehensive แบบสอบถามนีม้ คี า่ สมั ประสิทธแิ์ อลฟา Effects of Alcohol: ของครอนบาช ในแต่ละด้านอย่ใู นชว่ ง 0.65- CEOA) (Fromme 0.90 มคี วามตรงเชงิ โครงสร้างเหมาะสมใน Stroot & Kaplan, กล่มุ ทไี่ มด่ ม่ื สรุ า กลมุ่ ที่ดื่มเพียงเลก็ น้อย และ 1993) กลุ่มที่ดื่มอย่างมาก ในปจั จยั หลัก 2 ปัจจยั คอื ปจั จัยการคาดหวังผลในการดม่ื เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ทางที่ดี ซึ่งประกอบดว้ ย 4 ด้าน และ ปจั จัยการคาดหวังผลในการดม่ื เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอลท์ างทไ่ี มด่ ี ประกอบดว้ ย 3 ด้าน แบบสอบถามนี้ถกู นาไปใช้ในการทานาย พฤติกรรมการดื่มเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ใน หลายกล่มุ เช่น กลมุ่ นักเรียน นกั ศกึ ษา กลุม่ วยั ผู้ใหญต่ อนต้น กลุม่ ของผทู้ ีม่ คี วามผิดปกตจิ าก การด่ืมสุรา (Gilles, Turk, & Fresco, 2006;
244คณุ ภาพของเครือ่ งมือมาตรฐานฉบบั ภาษาอังกฤษ (ตอ่ ) ปัจจัย เคร่อื งมอื คุณภาพเครอื่ งมอื หมายเหตุการคาดหวงั Ham, & Hope, 2006; Valdivia & Stewart,ผลในการดืม่ 2005; Wall, Anne-Marie, Thrussell, &เครือ่ งด่มื Lalonde, 2003; Zamboanga, 2006;แอลกอฮอล์ Zamboanga et al, 2009)และการ โดยเฉพาะพฤตกิ รรมการด่ืมเครอ่ื งด่ืมประเมนิ ค่า แอลกอฮอล์ของวัยร่นุ แบบสอบถาม CEOAผลจากการ สามารถทานายความสัมพันธร์ ะหวา่ งดืม่ เครอ่ื งดมื่ พฤติกรรมการด่มื เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ของแอลกอฮอล์ วยั รุน่ กบั จานวนแอลกอฮอลท์ วี่ ยั รนุ่ ดืม่ ในแต่(ต่อ) ละโอกาส และความสัมพันธก์ ับความถีข่ อง การดืม่ ได้ (Fromme & D’Amico, 2000) นอกจากน้ี แบบสอบถาม CEOA ยงั ถกู แปล เปน็ ภาษาสเปน แบบสอบถาม CEOA ฉบบั ภาษาสเปนไดถ้ กู นาไปทดสอบความตรงเชิง โครงสรา้ งดว้ ยการวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิง ยนื ยันขอ้ มูลในกล่มุ วยั รนุ่ ชาวเม็กซโิ ก อายุ 14- 17 ปี จานวน 345 คน ผลการตรวจสอบยนื ยนั โครงสร้างเดมิ 7 ดา้ น และสามารถทานาย พฤตกิ รรมการดืม่ สุราของวัยร่นุ ชาวเมก็ ซิโกได้ (Flato, 2006)
245 แบบคดั กรองภาวะผดิ ปกตจิ ากการดื่มสุรา (AUDIT) แบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุราได้รับการพัฒนาข้ึนโดยกลุ่มนักวิจัยจากนานาประเทศขององค์การอนามยั โลก (World Health Organization: WHO) เพื่อคัดกรองการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ที่มากเกินระดับท่ีปลอดภัย และตรวจหาผู้ที่มีการด่ืมแบบเสี่ยง ด่ืมแบบเป็นอันตรายและมีภาวะติดสุราในหน่วยบริการทางสุขภาพระดับปฐมภูมิ (Primary care setting) (Babor,Higgins-Biddle, Saunders, & Monteiro, 2001) บบคดั กรองนีป้ ระกอบด้วย 10 คาถาม 3 องคป์ ระกอบ ดงั น้ี 1) การด่ืมแบบเสีย่ ง ประกอบด้วยคาถาม 3 ข้อ ถามถึงปริมาณ ความถ่ีของการด่ืม และความถี่ของการดมื่ อย่างหนักในโอกาสเดียว 2) อาการแสดงของการติดสุรา ประกอบด้วยคาถาม 3 ข้อ ถามถึงการไม่สามารถหยุดด่ืมการให้เวลากับการดื่มมากกว่าทาอย่างอื่น และความต้องการด่ืมในตอนเช้าหลังจากท่ีด่ืมมาแล้วในตอนกลางคนื 3) การด่ืมแบบเป็นอนั ตราย ประกอบด้วยคาถาม 4 ข้อ ถามถึงปัญหาที่เกีย่ วเนอื่ งกบั การดมื่ ข้อคาถามทั้ง 10 ข้อ มีคาตอบให้เลือกตอบ 5 ช่วงคะแนน โดยมีคะแนนให้ตั้งแต่ 0-4การตีความหมายจะมาจากคะแนนรวมท้ังฉบับ บาเบอร์และคณะ (Babor et al., 2001) ได้แบ่งคะแนนเพอ่ื แบ่งระดับความเส่ียงของการดืม่ ดังนี้ 0-7 คะแนน แสดงถงึ ดืม่ ในระดับที่มคี วามเสยี่ งนอ้ ย 8-15 คะแนน แสดงถึง ด่มื ในระดบั ที่มีความเสย่ี งปานกลาง (Hazardous drinking) 16-19 คะแนน แสดงถึง ดืม่ ในระดบั ทม่ี ีความเสีย่ งสูง (Harmful drinking) 20 ขนึ้ ไป แสดงถงึ ดืม่ แบบมีภาวะตดิ สุรา (Alcohol dependence) แบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุราได้รับการพัฒนามาจากกระบวนการสร้างเคร่ืองมือด้วยการวิจัยในหลายพ้ืนที่ ของ 6 ประเทศ ได้แก่ นอร์เวย์ ออสเตรเลีย เคนยา บัลแกเลีย เม็กซิโกและสหรัฐอเมริกา ผลจากทดสอบความเชื่อถือได้พบว่า จุดตัดของคะแนน 8 คะแนน ให้ความไว(Sensitivity) หรือค่าความถูกต้องในการจาแนกการดื่มท่ีมากเกินระดับที่ปลอดภัย (Problematicdrinking) มคี วามแตกตา่ งกนั คา่ กลางอยูท่ ี่ 0.90 และความจาเพาะ (Specificity) หรือค่าความถูกต้องในการจาแนกการด่ืมที่มากเกินระดับท่ีปลอดภัย เฉล่ียที่ 0.80 มีความเหมาะสมท้ังหญิงและชาย(Babor et al., 2001) สอดคล้องกับการทดลองใช้ในกลุ่มประชากรวัยกลางคนที่มีและไม่มีภาวะติดสุราชาวกรีก พบว่า จุดตัดที่คะแนน 8 ให้ค่าความไวและความจะเพาะเท่ากับ 0.98 และ 0.94ตามลาดับ สามารถระบุผู้ติดสุราชาวกรีกอย่างถูกต้อง ร้อยละ 97 (Moussas et al., 2009) ถึงแม้ว่า
246โดยท่ัวไปของการนาไปใช้ในงานวิจัยต่างๆยึดจุดตัดของคะแนน 8 ตามต้นฉบับของ บาเบอร์และคณะแต่ในบางการศึกษาท่ีผ่านมา จุดตัดคะแนนที่ให้ค่าความไวและความจาเพาะที่เหมาะสมน้ันแตกต่างกันออกไป ดังเช่น การศึกษาของรัมพ์ และคณะ (Rumpf et al., 2002) ที่นาแบบคัดกรองภาวะผิดปกตจิ ากการดื่มสุราไปใช้ในกลุ่มผู้ดื่มทั่วไปชาวเยอรมันพบว่า ณ คะแนน 5 ให้ค่าความไวสูงในกลุ่มท่ีด่ืมแบบเสี่ยงและผู้ท่ีติดสุรา (0.77 และ 0.96 ตามลาดับ) และให้ค่าความไวในระดับปานกลาง ในกลุ่มผู้ด่ืมอย่างไม่เหมาะสม (0.61) ขณะที่ค่าความจาเพาะอยู่ในช่วง 0.77-0.80 แต่ท่ีระดับคะแนน 8 ให้ค่าความไวต่าใน กลุ่มผู้ประชาการชาวเยอรมันท่ี ดื่มแบบเส่ียง ด่ืมอย่างไม่เหมาะสม (0.33 และ 0.37 ตามลาดับ) แต่มีความไวสูงในกลุ่มที่มีภาวะติดสุรา (0.78) ขณะท่ีค่าความจาเพาะสูงในทุกๆกลุ่ม (0.94-0.96) รัมพ์และคณะจึงเสนอแนะให้ใช้ค่าน้ีเป็นจุดจาแนกการด่ืมแบบเส่ียงสาหรบั ผู้ดม่ื เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอลช์ าวเยอรมนั ในกลมุ่ นักศึกษามหาวิทยาลัยในไนจีเรียอเดวยู า (Adewuya, 2005) พบว่า จุดตัดคะแนน 5 ข้ึนไป สามารถระบุผู้ดื่มแบบเส่ียงได้ด้วยค่าความไวเท่ากับ 0.935 ค่าความจาเพาะเท่ากับ 0.915 จุดตัดคะแนน 7 สามารถระบุผู้ดื่มแบบอันตรายได้ดว้ ยคา่ ความไวเท่ากับ 0.900 ค่าความจาเพาะเท่ากับ 0.862 และจุดตัดคะแนน 9 สามารถระบุผู้ดื่มที่ติดสรุ าได้ด้วยค่าความไวเทา่ กับ 1.000 ค่าความจาเพาะเท่ากับ 0.941 ในส่วนของการศึกษาในวัยรุ่นของแซนทิสาและคณะ (Santisa et al, 2009) ที่นาแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุราไปใช้ในกล่มุ วยั ร่นุ ด่ืมเครือ่ งดื่มแอลกอฮอลช์ าวชลิ ี อายุ 15 ปีขนึ้ ไป จานวน 640 คน พบว่าค่าความไวและค่าความจาเพาะ ณ จุดตัดของคะแนน 3 มีความเหมาะสมที่จะจาแนกการด่ืมแบบเส่ียง (ค่าความไวเท่ากับ 96.2% ค่าความจาเพาะเท่ากับ 63.3% จาแนกอย่างถูกต้อง 74.7%) จุดตัดที่คะแนน 5 มีความเหมาะสมที่จะจาแนกการด่ืมแบบอันตราย (ค่าความไวเท่ากับ 75% ค่าความจาเพาะเท่ากับ 64.5%จาแนกอย่างถูกต้อง 67.4%) จุดตัดท่ีคะแนน 7 มีความเหมาสมที่จะจาแนกการดื่มที่มีภาวะติดสุรา(ค่าความไวเท่ากับ 63.6% ค่าความจาเพาะเทา่ กบั 75% จาแนกอยา่ งถูกตอ้ ง 72.1%) ในการศึกษาที่ผ่านมาบางการศึกษาพบว่าความแตกต่างทางเพศมีผลต่อคะแนนที่เป็นจุดตัดซ่ึงทาให้ค่าความไวและความจะเพาะแตกต่างกันระหว่าผู้ดื่มหญิงและผู้ด่ืมชาย แต่ในอีกหลายการศึกษาไมพ่ บ ดงั น้นั บาเบอร์และคณะจงึ ยงั คงเสนอช่วงคะแนนจุดตัดไมแ่ ยกหญิงและชาย จากการนาแบบคดั กรองภาวะผิดปกตจิ ากการดื่มสรุ าไปใชใ้ นกลุ่มอายทุ แ่ี ตกต่างกันพบได้ว่าไม่มีความแตกต่างอนั เนอ่ื งมาจากอายุปรากฏเด่นชดั (Babor et al., 2001; Rumpf et al., 2002) แต่พบได้ว่าค่าความไวต่า และค่าความจาเพาะสูงในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอายุ 65 ปีข้ึนไป (Powell & McInness,1994) และสามารถตรวจค้นภาวะติดสุราในกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยได้อย่างถูกต้อง (Fleming,Barry, & MacDonald, 1991)
247 สาหรับการเปรียบเทียบผลของการนาไปใช้กับเครื่องมือคัดกรองอ่ืนๆ แบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุรามีความถูกต้องสูง เช่น การศึกษาของโบห์นและคณะ (Bohn et al, 1995)พบว่ามีความสัมพันธ์ของคะแนนจากแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุรากับแบบคัดกรองผู้ติดสุราของมิชิแกน (Michigan Alcoholism Screening Test: MAST) สูง ค่าความสัมพันธ์อยู่ท่ี0.88 ในกลุ่มผู้ชายอยู่ที่ 0.47 และในกลุ่มผู้หญิงอยู่ท่ี 0.46 นอกจากนี้ เฮย์และคณะ (Hays et al.,1995) ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุราและแบบประเมินCAGE สูงในกลมุ่ ผ้ปู ่วยท่ีมารับบรกิ ารทหี่ น่วยฉุกเฉนิ ของโรงพยาบาล แบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุรายังสามารถทานายการเกิดปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ และการดาเนินชีวิตได้ โดยเคลาส์เสนและแอสแลนด์ (Claussen & Aasland, 1993)พบว่าผู้ที่มีคะแนนจากแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุราต้ังแต่ 8 ขึ้นไปภายในเวลา 2 ปีมโี อกาสตกงาน 1.6 เทา่ เมอ่ื เทยี บกบั ผู้ทีม่ ีคะแนนต่ากว่า และโคนิเกรฟและคณะ (Conigrave et al.,1995) พบว่าคะแนนจากแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุราของผู้ป่วยในหน่วยบริการฉกุ เฉินทานายความผิดปกตทิ างร่ายกาย รวมท้งั ปัญหาทางสังคมทเ่ี กดิ จากการดม่ื สรุ าในอนาคตได้ การศึกษาหลายงานวิจัยได้รายงานค่าความเท่ียงของแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุราผลการรายงานชี้ว่ามีความคงท่ีภายในสูง (Fleming et al., 1991; Hays et al., 1995) รวมทั้งในกลุ่มวัยรุ่นอายุ 15 ปี ขึ้นไปด้วย ( = 0.83) (Santisa et al., 2009) หรือในฉบับท่ีแปลเป็นภาษากรีกก็พบวา่ มคี วามคงท่ภี ายในสงู เช่นกัน ( = 0.8) (Moussas et al., 2009) แตใ่ นฉบบั ภาษาเยอรมันซึ่งใช้กับกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นผู้ดื่มชาวเยอรมันมีค่าในระดับปานกลาง ( = 0.75) (Rumpf et al., 2002)ในส่วนของค่าความเที่ยงจากการวัดซ้า (Test-retest) พบว่ามีในระดับสูง (0.86-0.99) (Leung &Arthur, 2000; Sinclair, McRee, & Babor, 1992) รวมท้ังในกลุ่มวัยรุ่น (0.81) (Santisa et al., 2009)นอกจากนย้ี งั พบอกี วา่ หากมีการสลับลาดับของข้อคาถาม และเปลี่ยนแปลงคาบางคาของข้อคาถามจะไมม่ ผี ลต่อคะแนน (Ivis, Adlaf, & Rehm, 2000) แบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุราถูกนาไปทดลองใช้ในหลายประเทศ และถูกนาไปแปลเป็นภาษาต่างๆมากมาย ได้แก่ ภาษาตุรกี กรีก เยอรมัน ดัท์ช ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปนบัลแกเลียล จีน อิทาเลียน และภาษาไทย ใช้ในการศึกษาของหน่วยบริการทางสุขภาพปฐมภูมิการศึกษาทางระบาดวิทยา ในกลุ่มประชากรท่ัวไป รวมท้ังกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเฉพาะ (Babor et al.,2001) สาหรับประเทศไทยมีการนา แบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุรามาใช้เพ่ือศึกษาความชุกของผู้มีปัญหาจากแอลกอฮอล์ในห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล และในการสารวจความชุกของการดื่มสุราแบบเส่ียงและแบบอันตรายในชุมชนภาคใต้ซึ่งพบว่า AUDIT สามารถใช้ได้ง่าย มีความไวและความจาเพาะสงู และสามารถใช้ได้กบั ประชากรทว่ั ไป ทงั้ ในโรงพยาบาลและในชมุ ชน (สาวิตรี
248อัษณางค์กรชัย, 2547) กรมสุขภาพจิตได้ทดสอบแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุราฉบับท่ีแปลเปน็ ภาษาไทย กับกลุม่ ประชากรทั่วไปอายุ 15-59 ปี จานวน 400 คน เพศชาย 200 คน เพศหญิง200 คน พบวา่ จดุ ตดั ทคี่ ะแนน 8 ในกล่มุ ผู้ชายให้ค่าความไวและความจาเพาะท่ีเหมาะสม (ค่าความไวเท่ากับ 76% ค่าความจาเพาะเท่ากับ 70.5%) จุดตัดท่ีคะแนน 6 ในกลุ่มผู้หญิง ให้ค่าความไวและความจาเพาะท่ีเหมาะสม (ค่าความไวเท่ากับ 72.7% ค่าความจาเพาะเท่ากับ 88.5%) (พรเทพศิริวนารังสรรค์, ธรณินทร์ กองสุข, สุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล, พันธ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, &อัจฉรา จรสั สิงห์, 2547)
249 เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั เลขที่..................... แบบสอบถามการวจิ ัยเร่ืองปจั จัยทมี่ อี ิทธิพลตอ่ การด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผดิ ปกตขิ องวยั รนุ่ ในจงั หวัดขอนแก่น สวสั ดคี ่ะ เพ่อื ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาแนวทางการป้องกันอนั ตรายที่จะเกิด กับสขุ ภาพของวยั รุ่นจากการด่ืมเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ ดฉิ นั ขอความกรุณา ตอบแบบสอบถามตามความรู้สึก นกึ คดิ ของนกั เรยี นมากท่สี ุด ผลท่ไี ด้จาก การตอบคาถามจะนาไปวิเคราะหเ์ พอ่ื เป็นประโยชน์ทางวชิ าการ ดิฉนั ขอ รับรองว่าจะไมม่ ีการเปิดเผยขอ้ มูลท่ไี ด้จากการตอบของนักเรียนแก่ผอู้ ื่น และจะไม่มีผลกระทบใดๆตอ่ การเรียนของนักเรยี นแบบสอบถามนแี้ บ่งออกเปน็ 11 สว่ น 148 ข้อ ใชเ้ วลา 1 ชวั่ โมง 30 นาที ถงึ 2 ช่วั โมง ขอความกรณุ าตอบให้ครบทุกขอ้ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป จานวน 8 ข้อส่วนท่ี 2 สมรรถนะแหง่ ตนในการปฏเิ สธการดมื่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ จานวน 19 ขอ้ส่วนท่ี 3 ความรูด้ ้านการดม่ื เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ จานวน 12 ข้อสว่ นที่ 4 การดม่ื เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ จานวน 10 ข้อสว่ นที่ 5 บรรทดั ฐานทางสังคมดา้ นการด่มื เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ จานวน 12 ข้อสว่ นท่ี 6 ความกังวลตอ่ การมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ทางสงั คม จานวน 19 ขอ้สว่ นท่ี 7 บุคลิกภาพแบบแสวงหาความทา้ ทาย จานวน 10 ขอ้สว่ นท่ี 8 การคาดหวังผลในการดืม่ เครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์และประเมนิ คา่ ผลจากการด่มื เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ จานวน 20 ขอ้สว่ นท่ี 9 ทศั นคตติ อ่ การดมื่ เครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ จานวน 9 ข้อส่วนท่ี 10 ความยัว่ ยวนใจและความอดกลัน้ ตอ่ การดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ จานวน 15 ข้อส่วนที่ 11 คา่ นยิ มการด่มื เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ จานวน 14 ขอ้
250 กรุณาอา่ นคาชี้แจงก่อนตอบแบบสอบถามในแต่ละสว่ นนะคะ ขอความกรุณาตอบตามความเปน็ จริง หรอื ตรงกับความรสู้ ึกนึกคิดของนักเรียนมากที่สุด และทา้ ยท่สี ุดขอความกรณุ าตอบแบบสอบถามทุกข้อ ****เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ หมายถึง เหล้า วิสกี้ บร่ันดี เหล้าขาว เบยี ร์ ไวน์ สปาย เซ่ยี งชนุ อุ กระแช่ เหล้าปัน่ หรอื เครื่องดืม่ ใดๆท่ีมแี อลกอฮอล์เปน็ ส่วนผสม***
251สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไปคาช้แี จง กรุณาใสเ่ คร่ืองหมาย ลงในวงเล็บ [ ] หน้าคาตอบท่ีนักเรียนต้องการตอบหรือตรงกบั ความรสู้ กึ นึกคดิ ของนักเรียนมากท่ีสดุ หรอื กรุณาเติมขอ้ ความลงในชอ่ งว่าง1. ขณะนี้นกั เรียนอายุ........................ป…ี …………เดอื น (นับถงึ วนั ทต่ี อบแบบสอบถาม)2. เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง [ ] อ่ืนๆ3. ขณะนีน้ ักเรยี นเรียนในสาขาวชิ าใด และช้นั ปีใดสาขาวิชา [ ] การกอ่ สรา้ ง [ ] เครือ่ งกล [ ] ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ [ ] เครื่องมอื กลและการซ่อมบารงุ [ ] โลหะการ [ ] พณิชยการ [ ] ศิลปกรรม [ ] คหกรรมศาสตร์ [ ] ผา้ และเคร่อื งต่างกาย [ ] อาหารและโภชนาการ [ ] การโรงแรมและการทอ่ งเทีย่ ว [ ] เกษตรศาสตร์ [ ] อนื่ ๆ โปรดระบุ.................................................................ช้ันปีที่ [ ] 1 [ ] 2 [ ] 34. นกั เรียนนบั ถอื ศาสนาอะไร[ ] พทุ ธ [ ] ครสิ ต์ [ ] อิสลาม [ ] อืน่ ๆ5. ช่วง 1 ปที ่ผี า่ นมา นกั เรยี นปฏบิ ัตกิ จิ กรรมทางศาสนา เช่น การสวดมนต์ ใสบ่ าตรตอนเช้า ไปทาบญุท่ีวดั การปฏิบตั ติ ามศลี 5 และศลี 8 สาหรบั พุทธศาสนา หรอื การไปโบสถท์ กุ วนั อาทติ ย์ ฯลฯในศาสนาครสิ ต์ หรอื การทาละหมาด ฯลฯสาหรบั ศาสนาอสิ ลาม บ่อยคร้งั เพยี งใด[ ] ไมเ่ คยปฏบิ ตั เิ ลยถึงน้อยครงั้ [ ] บอ่ ยครั้งถึงเปน็ ประจา (ทกุ วัน/ทกุ สัปดาห์)6. ในช่วง 1 เดอื นทีผ่ า่ นมานักเรยี นเคยสบู บหุ รห่ี รือไม่[ ] ไม่เคยสบู [ ] เคยสูบ7. นกั เรยี นมีเพอื่ นจานวนมากน้อยเท่าไรที่ดม่ื เคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์[ ] ไม่มเี พอ่ื นทดี่ ื่ม [ ] เพอ่ื น 2-3 คนดมื่ [ ] คร่ึงหนงึ่ ของกลุม่ เพือ่ นด่ืม8. ผใู้ หญใ่ นครอบครวั ของนักเรยี นด่มื เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์บ่อยครงั้ เพียงใด[ ] ไม่เคยด่มื เลยถงึ ดม่ื 1 คร้งั /เดอื น [ ] มากกว่า 1 ครง้ั /เดือนถึง ดม่ื ทุกวัน
252สว่ นที่ 2 สมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการดื่มเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์คาชี้แจง จากสถานการณ์ 19 สถานการณ์ต่อไปนี้นักเรียนแน่ใจเพียงใดในการต้านทานหรือปฏิเสธ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โปรดกา ในช่องระดับความรู้สึกที่นักเรียนมีต่อ สถานการณ์แต่ละข้อ สถานการณ์ แน่ใจ คอ่ นข้าง อาจจะ อาจจะ คอ่ นข้าง แน่ใจ อย่างยิ่งวา่ แนใ่ จว่า ด่ืม ไม่ดื่ม แนใ่ จว่า อยา่ งย่ิงว่า จะดม่ื จะไม่ดม่ื จะไม่ดมื่ จะดม่ื1.ขณะท่ีฉนั ดูโทรทศั น์ ฉัน... 1 2 34 5 62. เมอื่ ฉันโกรธ ฉัน... 1 2 34 5 63. ขณะทีฉ่ นั รับประทานอาหารกลางวนั ฉนั ... 1 2 34 5 64. ขณะทฉี่ ันอยูใ่ นงานเลี้ยงสงั สรรค์ ฉนั ... 1 2 34 5 65. ขณะที่ฉันเดินทางกลับบ้านหลังเลิกเรียน 1 2 34 5 6 ฉนั ...6. เมื่อมีบางคนยื่นเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ให้ 1 2 34 5 6 ฉนั ...7. ขณะท่ฉี ันร้สู กึ คับขอ้ งใจ ฉนั ... 1 2 34 5 68. ขณะท่ีฉนั ฟงั เพลงหรอื อา่ นหนงั สือ ฉัน… 1 2 34 5 69. ขณะท่คี นรกั ของฉนั ด่มื ฉัน... 1 2 34 5 610. ขณะทฉ่ี ันวิตกกงั วล ฉนั ... 1 2 34 5 611. ขณะทฉี่ ันอยคู่ นเดียว ฉนั ... 1 2 34 5 612. ขณะท่เี พอื่ นของฉันดมื่ ฉนั ... 1 2 34 5 613. ขณะทฉ่ี ันอารมณเ์ สยี ฉัน... 1 2 34 5 614. ขณะทฉ่ี ันเพิ่งเล่นกีฬาเสรจ็ ฉนั ... 1 2 34 5 615. ขณะที่ฉันอยู่ในผับ คลับ บาร์ ดิสโกเธค งานคอนเสิร์ต หรือ หนา้ เวทีหมอลา ฉนั ... 1 2 34 5 616. ขณะที่ฉนั รสู้ กึ สลดหดหู่ใจ ฉนั ... 1 2 34 5 617. เมอื่ แรกทฉ่ี นั กลับถงึ บ้าน/ทพี่ ัก ฉนั ... 1 2 34 5 618. ขณะท่ีฉนั ตกประหมา่ (กระวนกระวาย) ฉัน 1 2 34 5 6...19. ขณะที่ฉนั เศร้าโศก/เสียใจ ฉนั ... 1 2 34 5 6
253สว่ นที่ 3 ความรู้ด้านการดื่มเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์คาชแี้ จง ขอ้ ความ 12 ขอ้ ในตารางด้านลา่ งข้อใดกลา่ วถูก และขอ้ ใดกลา่ วผดิ โปรดใส่เครื่องหมาย ลงในช่อง ”ใช่” หลังข้อความท่ีนักเรียนอ่านแล้วเห็นว่าถูกต้อง หรอื ลงในช่อง “ไมใ่ ช่” หากนักเรยี นเหน็ ว่าขอ้ ความนั้นไมถ่ กู ตอ้ ง ข้อความ ใช่ ไม่ใช่1. เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์มสี ่วนผสมของแอลกอฮอลช์ นดิ เอทานอล ทเี่ ป็นอนั ตรายต่อ รา่ งกาย2. เบยี ร์เปน็ เครื่องดืม่ แอลกอฮอลท์ ม่ี ีดีกรีของแอลกอฮอล์สูง3. แอลกอฮอลใ์ นเคร่ืองดมื่ จะถกู ดดู ซมึ และกระจายเขา้ สู่กระแสเลอื ดในเวลา 5 นาที ภายหลังจากดืม่4. หากดมื่ เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอลพ์ รอ้ มกบั รับประทานอาหารจาพวกแปง้ และนา้ ตาล แอลกอฮอลย์ ่งิ ถูก ดูดซมึ เข้าส่รู า่ งกายได้เร็วขน้ึ5. หากผ้หู ญิงดืม่ เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอลใ์ นปริมาณเทา่ ๆกบั ผชู้ าย ในระยะเวลาเทา่ ๆกันจะ มีอาการเมาสรุ าเร็วกว่าผชู้ าย6. การดืม่ เครื่องดม่ื แอลกอฮอลไ์ มเ่ กนิ 2 แก้วหรือกระปอ๋ งต่อครงั้ ท่นี ่ังดื่ม ถือเปน็ การดมื่ ท่ีไมเ่ ปน็ อนั ตรายเนอ่ื งจากร่างกายสามารถยอ่ ยสลายแอลกอฮอลไ์ ด้หมดไม่เหลือ สารพิษตกคา้ ง7. เมอื่ ด่ืมเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ในปรมิ าณมาก แอลกอฮอลจ์ ะไปมีผลตอ่ ระบบประสาท และระบบขบั ถา่ ยมากท่ีสดุ8. การดื่มเคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์จนมีอาการมนึ เมามีโอกาสนอ้ ยมากทจ่ี ะทาใหเ้ กดิ การ บาดเจ็บจากอุบตั เิ หตจุ ราจร และการทะเลาะวิวาท9. ผตู้ ดิ สรุ าไมส่ ามารถหยดุ ดื่มเครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ได้เอง ตอ้ งดม่ื เพือ่ ถอนพิษในเชา้ ของวนั รุ่งขึ้น และจะหงุดหงิดทกุ คร้งั ท่มี ผี ูพ้ ูดถงึ เรอื่ งการด่มื ของเขา10.การด่ืมเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลเ์ ป็นสาเหตขุ องโรคเบาหวาน และไวรสั ตบั อักเสบ11. การดมื่ เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลจ์ นมนึ เมาอาจทาใหว้ ยั รนุ่ หญงิ มเี พศสัมพนั ธ์ท่ไี ม่ ปลอดภยั และมกี ารต้ังครรภ์เกิดขนึ้12. ผูท้ ดี่ ืม่ เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์กอ่ นอายุ 15 ปี มีโอกาสทจ่ี ะเปน็ ผตู้ ิดสุราเมอื่ เขา้ สู่วัย ผใู้ หญต่ อนตน้ ได้สงู กว่าผู้ทีไ่ มด่ ม่ื
254สว่ นที่ 4 การด่มื เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ ]คาชี้แจง โปรดตอบคาถามต่อไปน้ีตามความเป็นจริง โดยใส่เครื่องหมาย ลงในวงเล็บ [ หน้าคาตอบท่ีนักเรยี นเหน็ ว่าตรงกบั ความเปน็ จรงิ ของนักเรียนมากทส่ี ดุ***เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ หมายถึง เหล้า วิสกี้ บรน่ั ดี เหล้าขาว เบียร์ ไวน์ สปาย เซย่ี งชุน อุ กระแช่ เหล้าป่นั หรอื เคร่ืองดืม่ ใดๆทม่ี ีแอลกอฮอลเ์ ปน็ ส่วนผสม** 1 ด่มื มาตรฐาน = หรอื หรอื หรอื ไลท์เบียร์ 1 แก้ว เบียรธ์ รรมดา 1 แก้ว ไวน์ 1 แกว้ เหลา้ 1 แกว้ (425 ม.ล.) (285 ม.ล.) (100 ม.ล.) (30 ม.ล.) มแี อลกอฮอล์ มแี อลกอฮอล์ มแี อลกอฮอล์ มแี อลกอฮอล์ 2.5% /ม.ล. 5% /ม.ล. 12% /ม.ล. 40% /ม.ลหมายเหตุ เบยี ร์ธรรมดา 1 กระป๋อง มแี อลกอฮอล์ 5% จานวน 330 ม.ล. เทา่ กบั 1.5 ด่มื มาตรฐานสปายไวนค์ ูลเลอร์ 1 ขวด มแี อลกอฮอล์ 5-7% จานวน 330 ม.ล. เท่ากบั 1.5 ดมื่ มาตรฐาน คาถาม 0123 41. นักเรียนดื่มเครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์บ่อย [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]แคไ่ หน ไมเ่ คย เดือน 2-4 ครั้ง/ 2-3/ 4 คร้งั ตอ่ เลย ละคร้งั เดอื น สปั ดาห์ สัปดาห์ หรือน้อย หรอื กว่า มากกวา่2. ในวันท่ีนักเรยี นดืม่ ตามปกตนิ นั้ [] [] [] [] []นักเรียนด่มื ก่ีดม่ื มาตรฐาน ไม่ดื่ม 3 หรือ 5 หรือ 7 ถึง 9 10 หรอื(1 ดม่ื มาตรฐานเทียบจากด้านบน) ถงึ 1 4 6 มากกวา่ หรอื 23. นักเรยี นด่ืม 6 ด่มื มาตรฐานหรอื [] [] [] [] []มากกวา่ ในคราวเดยี วกนั บอ่ ยแค่ไหน ไมเ่ คย น้อย เดอื นละ สปั ดาห์ วันละครัง้(1 ดื่มมาตรฐานเทียบจากดา้ นบน) เลย กว่า ครั้ง ละครั้ง หรอื เกอื บ เดือนละ ทุกวัน ครงั้4. ในช่วงปที ีผ่ ่านมา มีบ่อยคร้ังแคไ่ หน [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]ท่ีนักเรียนพบว่าไม่สามารถหยดุ ดม่ื ได้ ไมเ่ คย นอ้ ยกว่า เดือนละ สปั ดาห์ วันละครง้ัหากไดเ้ ร่มิ ต้นดื่มไปแล้ว เลย เดอื นละ ครั้ง ละคร้ัง หรอื เกอื บ ครั้ง ทุกวนั
255 คาถาม 0123 45. ในช่วงปีทผ่ี ่านมา มีบอ่ ยครง้ั แค่ไหน [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]ทีก่ ารดืม่ ของนักเรยี นเปน็ สาเหตทุ า ไม่เคย น้อยกวา่ เดือนละ สัปดาห์ วนั ละครง้ัให้นกั เรยี นไมส่ ามารถทาสิง่ ตา่ งๆ เลย เดือนละ คร้ัง ละครั้ง หรอื เกือบอยา่ งเปน็ ปกตเิ หมอื นอยา่ งทเ่ี คยทา ครั้ง ทกุ วันได้มาก่อน6. ในชว่ งปีที่ผา่ นมา มีบ่อยครงั้ แคไ่ หน [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]ทน่ี ักเรยี นตอ้ งรบี ดื่มทนั ทใี นตอนเชา้ ไมเ่ คย นอ้ ยกวา่ เดือนละ สัปดาห์ วันละคร้งัเพ่อื ใหร้ สู้ กึ ดขี ึน้ หลงั จากที่ไดด้ มื่ อย่าง เลย เดือนละ ครั้ง ละคร้ัง หรือเกอื บมากในคนื ท่ีผ่านมา คร้งั ทุกวนั7. ในช่วงปที ี่ผ่านมา มีบ่อยคร้งั แค่ไหน [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]ทน่ี ักเรียนร้สู ึกผิด หรือเกดิ ความรสู้ กึ ไม่เคย น้อยกว่า เดือนละ สัปดาห์ วันละคร้งัเสียใจภายหลังการดืม่ ของนักเรยี นเอง เลย เดือนละ ครงั้ ละครง้ั หรอื เกอื บ ครง้ั ทกุ วัน8. ในชว่ งปีทีผ่ า่ นมา มีบ่อยคร้งั แค่ไหนที่ [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]การดืม่ ของนกั เรยี นทาใหน้ กั เรยี นไม่ ไมเ่ คย นอ้ ยกวา่ เดือนละ สัปดาห์ วันละครั้งสามารถจะจาไดว้ ่าเกดิ อะไรขน้ึ บา้ ง เลย เดอื นละ ครั้ง ละครงั้ หรอื เกอื บในคนื ทผี่ า่ นมา ครั้ง ทกุ วนั9. ตัวนกั เรยี นเองหรือคนอื่นๆเคยไดร้ บั [ ] [] []บาดเจ็บจากการด่ืมของนกั เรียน ไมเ่ คย เคยแต่ เคยในชว่ งหรอื ไม่ เลย ไม่ใช่ใน ปี ทผ่ี ่านมา ปีทผี่ า่ น มา10. เคยมเี พ่ือน ญาติพี่น้อง คุณครู แพทย์ [ ] [] []หรือเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ อืน่ ๆแสดง ไม่เคย เคย แต่ เคยในช่วงความหว่ งใยเกีย่ วกับการดมื่ ของ เลย ไม่ใชใ่ น ปี ท่ผี า่ นมานักเรยี นหรือเคยแนะนาให้นกั เรียน ปที ผี่ ่านลดการดมื่ ลงบา้ งหรือไม่ มา รวม ตอบอีกหนา้ แลว้ พักสักเดีย๋ ว อมลกู อมสกั หน่งึ เม็ด เรยี กพลงั หน่อยนะคะ
256ส่วนที่ 5 บรรทดั ฐานทางสงั คมด้านการดม่ื เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์คาชี้แจง โปรดกา ทับข้อความคาตอบที่เป็นระดับการรับรู้ของนักเรียนหลังจากอ่านข้อคาถาม ด้านซา้ ยของตารางแล้ว ข้อความ 1 23451. เพ่อื นของนักเรยี นดม่ื เคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ ไมด่ ่ืม-ด่มื 1-3 1-2 3-4 เกอื บทกุบอ่ ยครงั้ เพยี งใด นอ้ ยกว่า1 คร้งั / คร้งั / คร้งั / วันหรอื ครงั้ /เดอื น เดือน สปั ดาห์ สปั ดาห์ ทุกวนั2. คนรนุ่ ราวคราวเดยี วกบั นักเรียนดื่มเคร่ืองดม่ื ไมด่ ม่ื -น้อย 1-2 แก้ว 3-4 แก้ว 5-6 แกว้ มากกวา่แอลกอฮอล์มากน้อยเพยี งใดในแตล่ ะวันที่มี กว่า 1 แก้ว 7 แกว้การดมื่3. เพ่อื นของนักเรียนดม่ื เคร่อื งดมื่ แอลกอฮอลม์ าก ไมด่ ่มื -น้อย 1-2 แกว้ 3-4 แกว้ 5-6 แกว้ มากกวา่น้อยเพยี งใดในแต่ละวนั ทมี่ ีการดม่ื กว่า 1 แก้ว 7 แกว้4. พอ่ แม/่ ผูป้ กครองหา้ มนักเรียนด่มื เคร่อื งดื่ม ไมใ่ ช่ ไม่แนใ่ จ ใช่แอลกอฮอล์ ใชห่ รอื ไม่5. พ่อแม/่ ผู้ปกครองจะไมช่ อบหากนักเรียนดื่ม ไมใ่ ช่ ไมแ่ นใ่ จ ใช่เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ ใชห่ รือไม่6. พอ่ แม/่ ผปู้ กครองกลัวว่าการดื่มเคร่ืองดม่ื ไมใ่ ช่ ไม่แน่ใจ ใช่แอลกอฮอล์จะทาใหเ้ สียการเรยี น ใชห่ รอื ไม่7. พ่อแม/่ ผู้ปกครองอนุญาตให้ดมื่ ไดท้ ่บี ้านหรอื ท่ี ไมใ่ ช่ ไมแ่ น่ใจ ใช่ใดๆ ที่อยใู่ นสายตา ใช่หรือไม่8. พ่อแม/่ ผู้ปกครองจะไมว่ า่ อะไรหากนักเรยี นดืม่ ไมใ่ ช่ ไมแ่ น่ใจ ใช่เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ ใช่หรอื ไม่9. เพอ่ื นห้ามนกั เรยี นดมื่ เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ ใช่ ไมใ่ ช่ ไมแ่ นใ่ จ ใช่หรือไม่10. เพ่ือนจะไม่ชอบหากนักเรียนดื่มเครอื่ งดืม่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ ใช่แอลกอฮอล์ ใช่หรือไม่11. เพื่อนจะไมว่ า่ อะไรหากนกั เรยี นด่มื เคร่ืองดื่ม ไมใ่ ช่ ไมแ่ นใ่ จ ใช่แอลกอฮอล์ ใช่หรือไม่12. เพื่อนมักเป็นคนชักชวนใหด้ มื่ เคร่ืองดืม่ ไม่ใช่ ไมแ่ นใ่ จ ใช่แอลกอฮอล์ ใช่หรอื ไม่
257 ตอบใกล้จะครบแลว้ ครับ อีกหน่อยเดยี วเองพร้อมหรือยังฮะ....ถ้าพรอ้ มแลว้ พลกิ หน้าต่อไปเลยครับ
258ส่วนท่ี 6 ความกังวลต่อการมีปฏิสมั พนั ธท์ างสงั คมคาช้ีแจง ขอ้ ความ 19 ขอ้ ความต่อไปนี้เป็นบคุ ลิกลักษณะของนักเรยี น หรอื เกดิ ข้ึนจรงิ กับตัวนักเรยี น ใช่หรอื ไม่ โปรดอ่านขอ้ ความเหล่านท้ี ีละขอ้ และกา ในชอ่ งระดบั ความรู้สกึ ทนี่ กั เรยี นมีตอ่ ขอ้ ความแตล่ ะขอ้ นกั เรยี นมบี ุคลิกลกั ษณะแบบนหี้ รือไม่ ไมใ่ ช่ ใชเ่ พียง ใช่ ใช่เปน็ ใช่ เลย เล็กนอ้ ย ปานกลาง ส่วนมาก ทั้งหมด1. ฉนั รูส้ ึกตกประหม่าถ้าต้องพูดกบั ใครก็ตามท่ีมีอานาจหนา้ ทเ่ี หนอื กวา่ (เช่น ครู หรือ หวั หน้า) 01 2 342. ฉนั มีปัญหาในการสบตากับคนอืน่ ๆ 01 2 343. ฉนั จะรู้สึกเครียดเมอ่ื ตอ้ งพูดถึงตนเองหรอื ความรูส้ ึกของตนเอง กับผอู้ น่ื 01 2 344. ฉันลาบากใจทต่ี ้องพบปะกับคนทฉี่ นั ทางานรว่ มด้วย 0 1 2 345. ฉันรสู้ ึกเครียดข้ึนมาถา้ ไดพ้ บกบั คนท่ีคนุ้ เคยตาม 0 1 2 3 4ถนนหนทาง6. เมอ่ื พบปะสังสรรคก์ ับผ้อู ่ืนฉนั รูส้ กึ อึดอัด 01 2 347. ฉันรู้สกึ เครียดเม่อื ต้องอย่ตู ามลาพงั กบั ผู้อน่ื ตวั ต่อตวั 0 1 2 348. ฉันรสู้ ึกสบายใจตอ่ การพบปะผ้คู นในงานเลี้ยง 43 2 10สังสรรค์9. ฉนั มีปญั หาในการพดู คุยกบั ผู้อนื่ 01 2 3410. ฉนั หาเร่ืองพูดคุยกับผู้อนื่ ไดอ้ ย่างงา่ ยดาย 43 2 1011. ฉันกงั วลเก่ยี วกับการแสดงออกของตนเองเม่อื ตอนท่ี 0 1 2 34ฉนั เก้อเขนิ12. สาหรบั ฉันมนั ยากทีจ่ ะแสดงความคิดเหน็ แตกต่างจากความคดิ เหน็ ของคนอ่นื 01 2 3413. มันยากที่จะพูดกบั เพศตรงข้ามท่ีมเี สน่ห์ดงึ ดดู ใจ 0 1 2 3 414. ฉนั กังวลว่าฉนั ไม่รูจ้ ะพดู อะไรเมือ่ พบปะกับผู้อ่ืน 0 1 2 3 415. ฉนั ตกประหม่าในการพบปะกบั คนท่ีฉนั ไม่รจู้ ักดี 0 1 2 3 416. ฉนั รสู้ กึ ว่าฉันจะพดู บางอยา่ งทนี่ ่าอายในขณะทพ่ี ดู 0 1 2 34กับคนอนื่17. เม่อื เข้าร่วมกลุ่ม ฉันพบตนเองกงั วลวา่ จะไมไ่ ด้รับ 0 1 2 34ความสนใจ18. ฉนั เครียดเมื่อต้องเขา้ ร่วมกลุม่ 01 2 3419. ฉันไม่แน่ใจว่าจะทักทายคนบางคนท่ีฉนั รู้จกั เพยี ง 0 1 2 34เลก็ น้อยดหี รอื ไม่
259สว่ นท่ี 7 บคุ ลกิ ภาพแบบแสวงหาความทา้ ทาย ] หนา้ คาตอบท่ีนกั เรยี นคิดวา่ ตรงกบัคาชแ้ี จง โปรดใส่เครื่องหมาย ใน ช่องว่าง [ นักเรียนมากที่สุด ***นกั เรยี นชนื่ ชอบกบั การเข้าไปอยู่ในสถานการณ์เหล่านีม้ ากนอ้ ยเพียงใด***1. เข้าร่วมแข่งขนั กฬี าทมี่ คี วามเสีย่ ง เชน่ การขบั รถแขง่ หรือ แขง่ ขบั รถจักรยานยนต์ [ ] ไมช่ ื่นชอบ [ ] ชน่ื ชอบ [ ] ชื่นชอบมาก2. เล่นการพนัน [ ] ไมช่ น่ื ชอบ [ ] ชื่นชอบ [ ] ชื่นชอบมาก3. สว่ นใหญ่ดาเนนิ ชวี ิตแบบเกยี จครา้ น เฉอื่ ยชา [ ] ไม่ช่นื ชอบ [ ] ชน่ื ชอบ [ ] ชน่ื ชอบมาก4. ร่วมงานเล้ียงสังสรรค์ทมี่ คี นมากๆและเปิดเพลงดงั ๆ [ ] ไมช่ นื่ ชอบ [ ] ชน่ื ชอบ [ ] ชน่ื ชอบมาก5. นง่ั /ซอ้ นรถ หรือ ขับรถ/รถจกั รยานยนตด์ ้วยความเร็วสูง [ ] ไม่ชน่ื ชอบ [ ] ชืน่ ชอบ [ ] ชน่ื ชอบมาก6. ไปเที่ยวในที่ไมเ่ คยไป หรอื ไปเทยี่ วตา่ งถิ่น [ ] ไม่ชื่นชอบ [ ] ชน่ื ชอบ [ ] ชืน่ ชอบมาก7. รว่ มงานเลยี้ งสังสรรค์ท่มี ีเคร่ืองด่มื ที่ผสมสุรา หรือสรุ า หรือเบียร์ หรือไวน์ หรอื สปายคลู เลอร์ [ ] ไมช่ น่ื ชอบ [ ] ชน่ื ชอบ [ ] ชื่นชอบมาก8. เขา้ ร่วมแกง๊ ค์ของกลุม่ เพ่ือน และร่วมตอ่ สู้/ตกี บั แกง๊ ค์อ่ืน [ ] ไมช่ ืน่ ชอบ [ ] ชื่นชอบ [ ] ชน่ื ชอบมาก9. พกมีดและปนื เพื่อใช้เป็นอาวุธ [ ] ไมช่ ่นื ชอบ [ ] ช่นื ชอบ [ ] ชน่ื ชอบมาก10. เมอื่ ขัดแยง้ กบั เพอ่ื น พยายามแกไ้ ขความขัดแยง้ น้ีโดยปรกึ ษาและแกป้ ญั หาดว้ ยกนั [ ] ไม่ช่นื ชอบ [ ] ชืน่ ชอบ [ ] ชน่ื ชอบมาก
260ส่วนที่ 8 การคาดหวังผลในการดื่มเครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์และประเมนิ คา่ ผลจากการดื่มเครื่องด่มื แอลกอฮอล์คาช้ีแจง ก) จากผลท่ีคาดวา่ จะเกดิ ตามมาหลงั จากการดมื่ หากนักเรยี นดม่ื เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ 20 ข้อความ ดา้ นล่างน้ี โปรดวงกลมรอบตวั เลขซ่ึงแทนระดับความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีต่อผลท่ีคาดว่าจะ เกิดจากการดม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอลแ์ ตล่ ะข้อความ ข) นักเรียนคิดว่าผลที่เกิดจากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แต่ละข้อ ดีหรือไม่ดีระดับใด โปรด วงกลมรอบตวั เลขซึง่ แทนระดบั ความคิดเหน็ ของนักเรยี น 1 = ไมเ่ ห็นด้วย 1 = ไม่ดี**เมื่อนกั เรียนดื่มเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ นกั เรยี น 2 =ไมเ่ หน็ ด้วยเลก็ น้อย นกั เรียนคดิ ว่า 2 = ค่อนข้างไม่ดี คาดหวังวา่ เคร่อื งดม่ื เหลา่ น้จี ะทาให้*** 3 = เหน็ ด้วยเพียง ผลนี้จะดหี รือ ไม่ 3 = ไมแ่ น่ใจ 4 = ค่อนขา้ งดี เล็กนอ้ ย ดเี พียงใด 4 = เห็นดว้ ย 5 = ดี1. เขา้ สงั คมได้ง่าย 1 2 3 4 ผลนี้ดหี รอื ไม่ 1 2 3 4 52. คยุ ตลก ขบขัน 1 2 3 4 ผลนี้ดีหรอื ไม่ 1 2 3 4 53. แสดงความรู้สึกออกมาได้งา่ ยขน้ึ 1 2 3 4 ผลนด้ี ีหรอื ไม่ 1 2 3 4 54. รู้สึกวาบหวามใจ(เสียวซา่ นในใจ) 1 2 3 4 ผลนด้ี หี รอื ไม่ 1 2 3 4 55. สนุกกบั การมเี พศสัมพนั ธม์ ากข้นึ 1 2 3 4 ผลนีด้ ีหรือไม่ 1 2 3 4 56. ผูกมิตรกบั ผอู้ ื่นไดด้ ี 1 2 3 4 ผลนี้ดหี รอื ไม่ 1 2 3 4 57. กระทาในสิ่งที่นกึ ฝนั ไวไ้ ด้ง่ายขน้ึ 1 2 3 4 ผลนด้ี หี รือไม่ 1 2 3 4 58. รสู้ กึ สงบ 1 2 3 4 ผลนด้ี หี รอื ไม่ 1 2 3 4 59. รสู้ ึกแกร่งกล้าและท้าทาย 1 2 3 4 ผลนี้ดีหรือไม่ 1 2 3 4 510. ไม่รสู้ กึ กลัวอะไร 1 2 3 4 ผลนด้ี ีหรือไม่ 1 2 3 4 511. ร้สู ึกวา่ มคี วามคดิ สร้างสรรค์ 1 2 3 4 ผลนด้ี หี รอื ไม่ 1 2 3 4 512. มีความกล้า 1 2 3 4 ผลนด้ี หี รือไม่ 1 2 3 4 513. รสู้ กึ กระฉับกระเฉง 1 2 3 4 ผลนด้ี หี รือไม่ 1 2 3 4 514. ร่างกายจะไดร้ ับความผอ่ นคลาย 1 2 3 4 ผลนีด้ ีหรอื ไม่ 1 2 3 4 515. มอี ารมณ์สงบ 1 2 3 4 ผลนี้ดหี รือไม่ 1 2 3 4 516. พูดกับคนอืน่ ง่ายขน้ึ 1 2 3 4 ผลนี้ดีหรอื ไม่ 1 2 3 4 517. ตอบสนองทางเพศดีขึน้ 1 2 3 4 ผลนด้ี หี รือไม่ 1 2 3 4 518. เปน็ คนทชี่ า่ งคุย 1 2 3 4 ผลนี้ดีหรือไม่ 1 2 3 4 519. รู้สึกมอี านาจมาก 1 2 3 4 ผลนี้ดหี รอื ไม่ 1 2 3 4 520. ชอบเข้าสงั คม 1 2 3 4 ผลนด้ี ีหรือไม่ 1 2 3 4 5
261ส่วนท่ี 9 ทศั นคติตอ่ การดื่มเคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์คาชแ้ี จง ข้อความท้ัง 12 ข้อความดา้ นล่างเป็นความคิดเหน็ ต่อการด่มื เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ จากประสบการณ์ท่ีผ่านมา นักเรียนคิดเห็นอย่างไรต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ? โปรดใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่องว่างของตารางให้ตรงกับความคิดเห็นของนักเรียน หลังจากอา่ นข้อความทางด้านซ้ายของตารางแตล่ ะข้อแล้วความคิดเห็นต่อการด่มื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ไมเ่ ห็น ไมเ่ หน็ ไม่แนใ่ จ เห็นดว้ ย เหน็ ด้วย ด้วยอย่าง ด้วย อย่างยิ่ง ย่งิ1. เคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์เปน็ สารทีท่ าให้เสพติดได้ 5 4 3 2 12. เครื่องด่มื แอลกอฮอลช์ ่วยใหเ้ ขา้ กับเพื่อนฝงู ได้ดีคมุ้ คา่ กบั เงินทีเ่ สยี ไป 123453. ดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ตามเพ่ือนดีกวา่ ปฏิเสธคาชวน เพราะถา้ ปฏิเสธเพือ่ นจะไมค่ บด้วย 123454. การดม่ื เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอลท์ าใหผ้ ่อนคลายจากความเครยี ด และทาใหน้ อนหลับ 123455. การดืม่ เครื่องด่ืมแอลกอฮอลจ์ นเมาเปน็ ส่งิ ไมด่ ีเพราะทาให้มีการทะเลาะววิ าทกนั 543216. การดมื่ เครื่องด่ืมแอลกอฮอลช์ ่วยเพ่มิ ความสนกุ /มันส์ในการขับขร่ี ถจักรยานยนต์/รถยนต์ 123457. ผู้ทดี่ ่ืมแอลกอฮอล์มากๆมกั ตดิ สรุ า หรอื เป็นโรค 5 4 3 2 1ตับแขง็8. การติดฉลากคาเตอื นบนขวดบรรจเุ ครือ่ งดม่ืแอลกอฮอล์เป็นการเตอื นผู้ซื้อใหร้ ถู้ ึงอันตราย 5 4 3 2 1จากการดมื่9. การด่มื เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลท์ าให้รสู้ กึ วิงเวียนศีรษะ สมองทึบคดิ อะไรไม่ออก 54321
262ส่วนท่ี 10 ความย่วั ยวนใจและความอดกล้นั ต่อการด่มื เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์คาชีแ้ จง นักเรียนคิดหรือฝังใจในเรอ่ื งการการด่ืมเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลม์ ากนอ้ ยเพียงใด โปรดอ่านข้อความแต่ละข้อความ แล้วกา ในช่องระดับการคิดหรือฝังใจท่ีเคยเกิด ขึ้นกบั นักเรยี น ความคดิ หรอื ความฝังใจในการดม่ื เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ ไม่ใช่ ใช่เพยี ง ใช่ ใช่เปน็ ใช่1. นักเรยี นมีความพยายามอย่างมากทจ่ี ะควบคุมการดมื่ เลย เลก็ น้อย ปาน สว่ นมาก มากทส่ี ดุ กลางเครื่องดม่ื แอลกอฮอลข์ องตนเอง 123 4 52. ในครงั้ หนงึ่ ๆทนี่ กั เรยี นเริม่ ด่มื มันยากที่จะหยดุ 123 4 53. นกั เรยี นมีความยากลาบากอย่างยง่ิ ในการควบคมุ การดม่ื 123 4 54. เม่อื นกั เรียนรู้สกึ กังวลใจ นกั เรยี นมแี นวโน้มทจ่ี ะด่ืม 123 4 55. เมอ่ื นักเรียนรสู้ ึกโดดเด่ยี ว นกั เรยี นมีแนวโนม้ ทจ่ี ะดมื่ 123 4 56. นักเรยี นมีความรสู้ กึ กระวนกระวายใจมากจนจาเปน็ ต้องดม่ืเครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ 123 4 57. ในบางครัง้ นกั เรยี นพบว่าตัวเองไมส่ ามารถหยดุ คิดถงึการดื่มได้ 123 4 58. ความคิดเก่ียวกบั การด่ืมเครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์คกุ คามการดาเนินกจิ วตั รประจาวันของนักเรยี น 123 4 59. เป็นการยากที่จะหนั เหตนเองจากความคิดเร่อื งการดมื่ 123 4 510. นกั เรียนพยายามลดจานวนการด่มื ของตนเองบ่อยๆ 123 4 511. ความรู้สึกผิดทด่ี ม่ื มากเกนิ ไปช่วยควบคมุ การดม่ื 123 4 5 ของนกั เรียน12. นักเรยี นเคยลดการดืม่ ลงเพอื่ เปล่ยี นแปลงนิสยั การด่ืม 123 4 513. เมื่อเห็นผ้อู นื่ ดมื่ ช่วยเตือนนักเรยี นใหพ้ ยายามควบคุมการดื่มเครื่องด่มื แอลกอฮอลข์ องตนเอง 123 4 514. เมื่อเห็นโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอลท์ างโทรทศั นห์ รือวิทยุ ทางนิตยสาร หรือปา้ ยโฆษณา กระตุ้นเตอื นถงึ ความ 1 2 3 4 5พยายามควบคมุ การดืม่ เครื่องด่มื แอลกอฮอล์ของนกั เรียน15. เม่ือไดเ้ หน็ และได้กลนิ่ แอลกอฮอล์ทาให้นกั เรยี นคดิ ถึงการควบคมุ การดม่ื ของนกั เรยี น 123 4 5
263ส่วนท่ี 11 ค่านิยมการดม่ื เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์คาช้ีแจง โปรดใสเ่ คร่ืองหมาย ลงในชอ่ งว่างของตารางใหต้ รงกับความคดิ เห็นของนักเรยี น หลงั จากอา่ นคา่ นิยมเร่ืองการด่ืมเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ทางด้านซา้ ยของตาราง แต่ละข้อแล้วคา่ นิยมเรอื่ งการดืม่ เครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ ไม่ใช่ ไมแ่ น่ใจ ใช่1. เครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์มีรสชาตถิ กู ใจผดู้ ื่ม 1 232. เบยี รเ์ ปน็ เครื่องด่ืมแหง่ มิตรภาพ 1 233. เหลา้ ป่ัน/สปายคูลเลอร/์ ไวนเ์ ป็นเคร่ืองดื่มสาหรับผหู้ ญิง 1 234. การด่มื เครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ทผ่ี ลติ จากตา่ งประเทศทาใหด้ ดู ี ดเู ป็นคนมีระดบั 1 2 35. วัยรุน่ สมัยใหม่ต้องด่ืมเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ 1 236. การดื่มเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์แสดงความเปน็ ลูกผชู้ าย 1 237. ผ้หู ญงิ ที่ดื่มเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์เป็นผู้หญงิ ที่ทันคน ร้เู ล่ห์เหลย่ี ม 1 23ของคน8. การดื่มเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์เปน็ การแสดงความเปน็ ผูใ้ หญ่ 1 239. การดมื่ เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอลเ์ ปน็ สิง่ ทีย่ อมรับในสงั คม 1 2310. เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอลก์ บั งานเลย้ี งสังสรรค์เป็นของคูก่ นั 1 2311. ในโอกาสพเิ ศษ หรือวาระสาคญั ตอ้ งฉลองด้วยเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 1 2 312. การด่มื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลเ์ ป็นการละเมิดศลี 3 2113.คนท่ไี ม่ดืม่ เครื่องดมื่ แอลกอฮอลจ์ ะไม่มีเพื่อน(หมพู่ วก) คบด้วย 1 2 314.งานบญุ (งานประเพณคี ่างๆ เช่น งานแตง่ งาน งานบวช งานศพงานข้นึ บา้ นใหม่ ) งานไหนท่มี เี คร่อื งดื่มแอลกอฮอล์งานนัน้ ถือว่า 1 2 3สมเกยี รติ สมฐานะ เสร็จแล้วค่ะ ขอขอบคุณในความร่วมมือ เก่งมากเลย อยา่ ลมื รบั รางวลั เป็นของทรี่ ะลึกนะคะ
265 ภาคผนวก ครายละเอยี ดในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
267 รายละเอยี ดในการวิเคราะหข์ ้อมลูตารางที่ 6 ผลการทดสอบไลลิฮูด เรโช เมื่อมีปัจจัยการแสวงหาความท้าทายเข้าสู่โมเดลการ วเิ คราะห์ ปัจจัย Model Fitting Criteria Likelihood Ratio TestsIntercept -2 Log Likelihood of Chi-Square df Sig.ปัจจัยการแสวงหาความท้าทาย Reduced Model 21.488 0.000 0 -* ระดับนยั สาคญั ทางสถติ ิท่ี 0.05 55.826 34.338 2 0.000*ตารางที่ 7 ผลการทดสอบไลลิฮูด เรโช เม่ือมีปัจจัยการแสวงหาความท้าทาย และความกังวลใน การเข้าสงั คมเข้าสูโ่ มเดลการวเิ คราะห์ ปัจจยั Model Fitting Criteria Likelihood Ratio TestsIntercept -2 Log Likelihood of Chi-Square df Sig.ปจั จยั การแสวงหาความท้าทาย Reduced Modelความกังวลในการเข้าสังคม 37.718 0.000 0 - 67.193 29.476 2 0.000** ระดบั นัยสาคัญทางสถิติท่ี 0.05 50.818 13.100 2 0.001*
268ตารางที่ 8 ผลการทดสอบไลลฮิ ดู เรโช เม่ือมีปัจจัยการแสวงหาความท้าทายความกังวลในการเข้า สังคม ความโนม้ เอียงทจี่ ะดมื่ และการควบคุมการดืม่ เขา้ สโู่ มเดลการวิเคราะห์ Model Fitting Criteria Likelihood Ratio Tests ปัจจยั -2 Log Likelihood of Chi-Square df Sig. Reduced ModelInterceptปจั จัยการแสวงหาความท้าทาย 1.092 0.000 0 -ความกังวลในการเขา้ สงั คมความโนม้ เอยี งทจี่ ะด่มื 129.278 20.123 2 0.000*การควบคุมการด่มื 117.578 8.423 2 0.015** ระดบั นัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 131.946 22.790 2 0.000* 109.908 .753 2 0.686ตารางท่ี 9 ผลการทดสอบไลลฮิ ูด เรโช เมือ่ มีปัจจยั การแสวงหาความท้าทายความกังวลในการเข้า สังคม ความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองด่ืม แอลกอฮอล์เขา้ สโู่ มเดลการวิเคราะห์ Model Fitting Criteria Likelihood Ratio Tests ปัจจยั -2 Log Likelihood of Chi-Square df Sig. Reduced Model 0.000 0 - 6.611 2 0.037*Intercept 1.071 6.503 2 0.039* 17.814 2 0.000*ปัจจัยการแสวงหาความทา้ ทาย 113.661 89.400 2 0.000*ความกงั วลในการเข้าสังคม 113.553ความโน้มเอยี งทจ่ี ะดมื่ 124.864ส ม ร ร ถ น ะ แ ห่ ง ต น ใ น ก า ร ป ฏิ เ ส ธ ก า ร ด่ื ม 196.450เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์* ระดับนัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ี 0.05
269ตารางกที่ 10 ผลการทดสอบโอมนบิ ัสเมอื่ มีปัจจยั การแสวงหาความท้าทายในโมเดลการวิเคราะห์ Chi-square df Sig.Step 1 Step 88.169 1 0.000*Block 88.169 1 0.000*Model 88.169 1 0.000** ระดับนยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ 0.05ตารางท่ี 11 ผลการทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์เมื่อมีปัจจัยการแสวงหาความท้าทายและความ กงั วลในการเข้าสังคมในโมเดลการวิเคราะห์Step Chi-square df Sig.1 0.085 2 0.958ตารางที่ 12 ผลการทดสอบโอมนิบัสเมือ่ มีปัจจัยการแสวงหาความทา้ ทายและความกงั วลในการเข้า สงั คมในโมเดลการวเิ คราะห์ Chi-square df Sig.Step 1 Step 88.621 2 0.000*Block 88.621 2 0.000*Model 88.621 2 0.000** ระดับนัยสาคญั ทางสถิตทิ ี่ 0.05ตารางที่ 13 ผลการทดสอบโฮสเมอร์ และเลมชอว์เม่ือมีปัจจัยการแสวงหาความท้าทายความโน้ม เอยี งทีจ่ ะดม่ื และการควบคมุ การดม่ื ในโมเดลการวเิ คราะห์Step Chi-square df Sig.1 2.028 6 0.917
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307