Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.8 (ต่อ)

(2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.8 (ต่อ)

Published by agenda.ebook, 2020-06-19 00:30:53

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 7-8 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ วันที่ 24-25 มิถุนายน 2563

Search

Read the Text Version

แผนการปฏิรูปประเทศ 06 ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 0631 ที่มีปัญหามลพิษ รวมทั้งวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ในพน้ื ท่ี เนอ่ื งจากขอ้ กฎหมายหรอื ขอ้ บงั คบั ในการดำ� เนนิ การ แนวทางและมาตรการแก้ไขปัญหามลพิษในเขตควบคุม ในมาตรการใหม่ ๆ นนั้ อาจไมเ่ ข้มข้นเทา่ กบั การประกาศ มลพิษ ท้ังน้ี ได้เร่ิมด�ำเนินการขับเคล่ือนในระดับพื้นท่ี เป็นเขตควบคุมมลพิษ ซึ่งอาจเป็นช่องว่างให้เกิด แล้ว ได้แก่ การร่วมหารือกับหน่วยงานใน 3 พ้ืนที่ ก า ร ท� ำ ล า ย ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ส ่ ง ผ ล เ สี ย ต ่ อ ประกอบด้วย (1) เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี (2) จังหวัด สภาพแวดลอ้ มได้ ระยอง และ (3) อ�ำเภอทา่ ยาง จงั หวดั เพชรบรุ ี เพ่อื รว่ ม ดังนั้น การด�ำเนินการในระยะต่อไป จึงควรส่งเสริมให้ จัดท�ำข้อเสนอการด�ำเนินงานในการยกเลิกเขตควบคุม ผู้ประกอบการปรับเปล่ียนวิธีการผลิตให้เป็นมิตรกับ มลพิษ และเสนอต่อคณะอนุกรรมการก�ำกับดูแลและ สุขภาพและส่ิงแวดล้อมมากยิ่งขึ้น โดยควรมีมาตรการใน ติดตามผลการด�ำเนินงานพ้ืนที่เขตควบคุมมลพิษระดับ การจูงใจให้ผู้ประกอบการปรับเปล่ียนวิถีการผลิตจาก จังหวัดต่อไป และได้ร่วมจัดประชุมคณะอนุกรรมการ แบบเดิมสู่วิถีที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม อาทิ มาตรการ กำ� กับดแู ลและติดตามผลการด�ำเนนิ งานพนื้ ทีเ่ ขตควบคุม ลดหย่อนภาษีส�ำหรับผู้ประกอบการที่สามารถลดปริมาณ มลพิษระดับจังหวัด 13 จังหวัด เพ่ือก�ำกับและติดตาม มลพิษได้ตามที่ก�ำหนด หรือการน�ำมาตรการผู้ก่อมลพิษ ผลการด�ำเนินงานตามแผนและมาตรการลดและขจัด เป็นผู้จ่ายมาใช้ รวมทั้งควรสร้างความตระหนักให้ มลพิษของเขตควบคุมมลพิษแต่ละพ้ืนท่ี ผู้ประกอบการรับรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ อย่างไรก็ดี ในการประกาศยกเลิกเขตควบคุมมลพิษและ ก�ำหนด เข้าใจและรับรู้ถึงโทษท่ีจะเกิดขึ้น เพื่อเป็น ด�ำเนินมาตรการอื่น ๆ แทนในพื้นท่ี อาจจะส่งผลให้เกิด เหตุผลประกอบการตัดสินใจในการปรับเปลี่ยนสู่วิถี ปญั หาของความเขม้ ขน้ ในการปฏบิ ตั ติ ามของผปู้ ระกอบการ การผลิตทเี่ ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม 299

06 แผนการปฏิรูปประเทศ ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม 0632 เร่อื งและประเด็นปฏิรปู ท่ี 32 ปฏิรูปการผังเมอื ง การวางและจัดท�ำผังเมืองในปัจจุบัน แม้ว่า จ ะ มุ ่ ง เ น ้ น ใ ห ้ เ กิ ด ค ว า ม ส ม ดุ ล ทั้ ง ด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม แต่ในทางปฏิบัติมักไม่สามารถก�ำกับให้เกิด ความสมดุลในการใช้ประโยชน์ที่ดินตามผัง ท่ีวางไว้ ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและ ส่ิงแวดล้อมของเมืองตลอดจนวิถีชีวิตของ ประชากรเมือง เน่ืองมาจากขาดกลไก การบูรณาการร่วมกันในแต่ละระดับ ท�ำให้ เกิดช่องว่างระหว่างการขับเคล่ือนการ พัฒนาเชิงพ้ืนที่ของประเทศด้วยระบบการ ผังเมือง จึงจ�ำเป็นต้องมีการวางผังเมืองและ ก�ำกับการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยการใช้ ระบบนิเวศท้องถิ่น และชุมชน เป็นกลไก ขบั เคลอื่ นการพฒั นาเมอื ง เพอื่ ใหม้ กี ารกระตนุ้ ท่ีมา : urbmcreature ให้เกิดความรับผิดชอบร่วมกันของภาคส่วนต่าง ๆ โดยเฉพาะภาคประชาชนในการก�ำกับการใช้ ประโยชน์ท่ดี ินให้เกดิ ความสมดุล อยา่ งไรกต็ าม ในบางพน้ื ที่การวางผังเมืองรวมในปัจจุบนั ในระดบั ชุมชนและพ้ืนท่ีเฉพาะท้องถ่ินยังไม่สามารถด�ำเนินการได้ทันต่อการเติบโตของเมือง ท้องถ่ินและ ชุมชน เพื่อให้การเติบโตของเมืองสามารถด�ำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง จึงต้องด�ำเนินการให้เกิด การวางผังเมืองระดับชุมชน และผังพ้ืนท่ีเฉพาะท้องถ่ิน โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือให้ หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการผังเมืองในระดับท้องถิ่นมีองค์ความรู้ท่ีสามารถวางและจัดท�ำเป็น ผังเมืองหน่วยย่อยของเมืองและชุมชน ซ่ึงจะมีความคล่องตัวและสามารถด�ำเนินงานให้สอดคล้อง กับความต้องการของประชาชนในท้องถ่ิน นอกจากน้ี การขยายตัวของเมืองใหญ่ในปัจจุบันท�ำให้ พ้ืนท่ีสีเขียวของเมืองลดลง และขาดพ้ืนท่ีรองรับน้�ำเพ่ือการป้องกันน้�ำท่วมเมือง ประกอบกับ ผู้ลงทุนมีความต้องการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารให้ได้ประโยชน์มากท่ีสุด ท�ำให้การก�ำกับ การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ในการเพมิ่ พน้ื ทสี่ เี ขยี วและพนื้ ทร่ี องรบั นำ้� ดงั กลา่ วนนั้ ยงั ไมป่ ระสบผลเท่าที่ควร จึงจ�ำเป็นต้องมีการปฏิรูปมาตรการทางผังเมืองเพ่ือก�ำกับการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ในการพัฒนาเป็นพื้นท่ีสีเขียวและพื้นที่รองรับน�้ำด้วยระบบการโอนสิทธิการพัฒนาพ้ืนท่ี (Transfer of Development Rights :TDR) โดยน�ำแนวคิด TDR เพื่อช่วยรักษาพื้นที่ท่ีต้องการอนุรักษ์และ สามารถพัฒนาพื้นที่ท่ีต้องการมาประยุกต์ใช้กับการวางและจัดท�ำผังเมืองรวม ในการควบคุม ความหนาแน่นของอาคารในพ้ืนที่ให้ลดลง เพ่ือการอนุรักษ์รักษาส่ิงแวดล้อม พ้ืนที่เกษตรกรรม พื้นที่ทางประวตั ศิ าสตรห์ รือพ้นื ท่รี องรบั น�้ำได้ 300

แผนการปฏิรูปประเทศ 06 ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม 0632 การด�ำเนินการที่ผ่านมา กรมพัฒนาที่ดินได้ด�ำเนินการ อย่างไรก็ตาม ในการปฏิรูปการผังเมืองมีความท้าทาย ขับเคลื่อนการวางผังเมืองและก�ำกับการใช้ประโยชน์ ส�ำคัญ คือ การท�ำความเข้าใจกับประชาชน เนื่องจาก ที่ดินด้วยการใช้ระบบนิเวศท้องถิ่นและชุมชน เป็นกลไก ผั ง เ มื อ ง เ ป ็ น ส่ิ ง ท่ี ส ่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ โ ด ย ต ร ง อ ย ่ า ง ม า ก ขับเคล่ือนการพัฒนาเมือง โดยมีการจัดท�ำแผนแม่บท ต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ การเปลี่ยนแปลงไม่ว่าในด้านใด การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน เพื่อส่งเสริมและรักษา จึงมักส่งผลให้เกิดแรงต่อต้านจากความกังวลต่อวิถีชีวิต คุณภาพส่ิงแวดล้อมที่มีส่วนร่วมภาคีการพัฒนาระดับ ท่ีจะเปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ แม้ว่าจะมีการวาง ภมู ิภาค 5 ภาค และการด�ำเนินโครงการผลักดันการจัด ผังเมืองที่ทุกภาคส่วนยอมรับและมีความสมดุลในทาง ท�ำผังชุมชนเพ่ือรักษาพ้ืนท่ีสีเขียวในเมืองอุตสาหกรรม วิชาการแล้ว หากประชาชนไม่มีการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ยง่ั ยืน ท�ำใหเ้ กดิ ผงั ชุมชน จำ� นวน 6 เมือง ไดแ้ ก่ เทศบาล ตามที่ก�ำหนดหรือละเมิดข้อก�ำหนดในผังเมือง อาจส่งผล เมอื งกระทมุ่ ลม้ เทศบาลเมอื งไรข่ งิ เทศบาลตำ� บลออ้ มใหญ่ ให้เกิดความไมส่ มดุลในทางปฏิบัติได้ (จังหวัดนครปฐม) เทศบาลเมืองบ้านฉาง เทศบาลต�ำบล ดังนั้น การปฏิรูปผังเมืองให้ได้ผลส�ำเร็จ จึงควรมี บ้านฉาง (จังหวัดระยอง) และเทศบาลต�ำบลหัวส�ำโรง การประชาสัมพันธ์เชิงรุกและการสร้างความเข้าใจกับ (จังหวัดฉะเชิงเทรา) ในด้านการวางผังเมืองระดับชุมชน ประชาชนถึงรายละเอียดในการจัดท�ำหรือเปลี่ยนแปลง และผงั พนื้ ทเ่ี ฉพาะทอ้ งถนิ่ โดยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ผังเมือง โดยให้ความส�ำคัญกับความเห็นของประชาชน กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ด�ำเนินโครงการถ่ายทอด ในท้องที่ และควรมีการติดตามการใช้ประโยชน์ที่ดิน เทคโนโลยดี า้ นการผงั เมอื งใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ รวมถึงมาตรการในการก�ำกับการใช้ประโยชน์และ และโครงการวางและจัดท�ำผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน การลงโทษผู้ละเมิดข้อก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ระดับอ�ำเภอ เพื่อให้เจ้าหน้าท่ีระดับท้องถ่ินมีความรู้ เพ่ือให้ท่ีดินถูกใช้ประโยชน์อย่างสมดุล และเป็นผลดี ด้านการผังเมืองและส่งเสริมการวางและจัดท�ำผังเมือง ตอ่ ชมุ ชนตามผงั เมืองทมี่ กี ารจดั วางไว้เบื้องตน้ รวมเมือง/ชุมชนระดับอ�ำเภอ โดยอยู่ระหว่างด�ำเนินการ รา่ งผังเมือง จำ� นวน 67 ผัง นอกจากนี้ ในด้านการปฏริ ูป มาตรการทางผังเมืองเพื่อก�ำกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน และอาคารในการพัฒนาเป็นพื้นที่สีเขียวและพ้ืนท่ีรองรับ นำ้� ดว้ ยระบบการโอนสทิ ธกิ ารพฒั นาพนื้ ที่ กรมโยธาธกิ าร และผังเมืองอยู่ระหว่างการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ ในการก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ การน�ำมาตรการโอนสิทธิ การพฒั นามาใชบ้ ังคับในผงั เมอื งรวม 301

06 แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 0633 เร่อื งและประเดน็ ปฏิรปู ท่ี 33 ปฏริ ูปเครอ่ื งมอื เศรษฐศาสตร์ เพื่อสิ่งแวดลอ้ ม เคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตรท์ ่ีเหมาะสมกบั การจดั การมลพษิ แต่ละประเภท ประเภทเครื่องมือ มลพิษ มลพษิ ขยะมลู ฝอย ของเสีย อน่ื ๆ 1. ค่าธรรมเนยี มการอนุญาต ทางน้า ทางอากาศ อนั ตราย ทรัพยากรนา้ √√ √√ 2. คา่ ธรรมเนยี มการใช้ √- √√ ทรัพยากรแรธ่ าตุ/ ค่าเข้าอทุ ยาน 3. ค่าปรับ √√ √√ - 4. ค่าภาษกี ารปล่อยมลพษิ - √√ - - 5. การชือขายหรอื โอนใบอนุญาต √ √ - - คาร์บอนเครดติ การปลอ่ ยมลพษิ 6. คา่ ธรรมเนยี มผลิตภณั ฑ์ -- -√ - 7. ระบบมดั จ้าเงินคนื - - √√ - - 8. การใช้อตั ราภาษีท่ีแตกต่างกนั √ √ √ √ - 9. การวางประกันความเสยี่ งหรอื - - -√ - ความเสียหายต่อส่ิงแวดลอ้ ม 10. มาตรการอดุ หนุน √√ √√ ทม่ี า : กรมควบคุมมลพษิ ในปัจจุบัน การเติบโตของภาคส่วนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ซึ่งมีความต้องการทรัพยากร ธรรมชาติอย่างมหาศาล ท�ำให้การเกิดมลพิษและความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติบางส่วน เป็นส่ิงท่ีไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ เพ่ือชดเชยการสูญเสียดังกล่าว ประเทศไทยจึงควรมีการใช้ เครอื่ งมอื เศรษฐศาสตรเ์ พอื่ สง่ิ แวดลอ้ มมาสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การมลพษิ และสง่ิ แวดลอ้ ม โดยใชห้ ลกั ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย และหลักผู้ได้ประโยชน์เป็นผู้จ่าย ในการเก็บค่าธรรมเนียมที่เกิดจากมลพิษ และการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มปี ระสิทธิภาพมากข้ึนและเป็นแหลง่ ทุนในการสนับสนุนการฟืน้ ฟสู ง่ิ แวดล้อม จากการด�ำเนินงานท่ีผ่านมา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้มีการด�ำเนินการ ศึกษาแนวทางการน�ำเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการรักษาสิ่งแวดล้อม โดยมีการศึกษา แนวทางการปฏิรูปกองทุนส่ิงแวดล้อมให้มีความเป็นอิสระ และเป็นเคร่ืองมือสนับสนุนการจัดการ ขยะ น�้ำเสีย และของเสียอันตราย นอกจากน้ี กรมประมงได้มีการด�ำเนินโครงการปรับปรุงระบบ การออกใบอนุญาตท�ำการประมงอิเล็กทรอนิกส์ (e-License) เพื่อช่วยในการควบคุมสมดุลของ ทรัพยากรสัตว์น้�ำผ่านการค�ำนวณจ�ำนวนผู้ท�ำประมง โดยได้ด�ำเนินการออกใบอนุญาตท�ำ การประมงพาณิชยแ์ ล้วจ�ำนวน 10,481 ฉบบั 302

แผนการปฏิรปู ประเทศ 06 ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 0633 อย่างไรก็ตาม ประเด็นท้าทายท่ีส�ำคัญ คือ การจะน�ำเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการรักษาสิ่งแวดล้อมนั้น จ�ำเป็นต้องมีมาตรการหรือกฎหมายมารองรับอย่างถูกต้อง เพ่ือให้การเก็บค่าชดเชยจากผู้ก่อมลพิษและ ผู้ได้ประโยชน์มีผลบังคับใช้ได้อย่างเป็นทางการ อีกทั้งการขาดการแบ่งส่วนความรับผิดชอบที่ชัดเจนท�ำให้ไม่สามารถ ค�ำนวณค่าชดเชยที่ตอ้ งจ่ายได้ ดังนั้น การด�ำเนินการในระยะต่อไป จึงควรมีการศึกษาและจัดท�ำมาตรการ การพัฒนากฎหมายในการรองรับ การใช้เคร่ืองมือเศรษฐศาสตร์เพ่ือรักษาสิ่งแวดล้อม รวมท้ังแนวทางปฏิบัติในการจัดเก็บและการค�ำนวณการแบ่งส่วน ความรับผิดชอบท่ีเกิดจากมลพิษและความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติอย่างชัดเจน เพื่อให้ภาครัฐสามารถใช้ เคร่ืองมอื เศรษฐศาสตร์ในการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละฟื้นฟูสง่ิ แวดลอ้ มไดอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม 303

06 แผนการปฏิรปู ประเทศ ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 0634 เรอ่ื งและประเด็นปฏริ ปู ท่ี 34 ปฏิรปู องคก์ ร ระบบแผน ระบบงบประมาณ และเคร่อื งมือบรหิ ารจัดการ การปฏิรูปประเทศด้านระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประเด็นปฏิรูป ท่ีเช่ือมโยงสัมพันธ์และมีผลเสริมหนุนต่อการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติแต่ละด้าน รวมถึง ส่ิงแวดล้อม การที่หน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะภาครัฐยังคงมีมุมมองและมุ่งแก้ปัญหา ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมแบบแยกส่วนตามภารกิจของแต่ละส่วนงาน ขาดการมอง แบบองค์รวมเพ่ือบรรลุจุดหมายร่วมกันในการบริหารจัดการผลประโยชน์ของประเทศท้ังเชิงรับและ เชิงรุก โดยเฉพาะภายใต้ภาวะภัยคุกคามด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่นับวัน จะทวีความรุนแรงและซับซ้อนยากแก่การฟื้นฟูแก้ไข การปฏิรูปองค์กร ระบบแผน ระบบ งบประมาณ และเคร่ืองมือบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงมีความจ�ำเป็น ต้องเร่งด�ำเนินการ เน่ืองจากการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีดี เป็นไปตาม หลักธรรมาภบิ าล จะชว่ ยสรา้ งความเปน็ ธรรมในการเข้าถงึ และใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมของทุกภาคส่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังช่วยป้องกันและลดความขัดแย้ง ระหว่างการใช้ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มเพ่อื การพัฒนาประเทศในมติ ิตา่ ง ๆ การด�ำเนินงานภายใต้ประเด็นการปฏิรูป ให้ความส�ำคัญกับการบูรณาการการด�ำเนินแผนงาน โครงการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องท้ังในระดับนโยบายและ ระดบั ปฏบิ ตั ใิ นพน้ื ทใ่ี หม้ กี ารทำ� งานทเ่ี ชอื่ มโยงกนั อยา่ งมเี อกภาพ ดว้ ยกรอบแนวคดิ ในการดำ� เนนิ งาน บนพื้นฐานที่ยึดงานเป็นเป้าหมาย และปรับโครงสร้างองค์กร ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรท่ี เก่ียวข้องในระดับส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ตลอดจนบทบาทหน้าท่ีของบุคลากรในทุกระดับให้มี ขีดความสามารถที่เหมาะสมในการด�ำเนินงานให้บรรลุผลร่วมกับการปรับปรุง/สนับสนุนการ จัดสรรงบประมาณด�ำเนนิ งานอยา่ งเหมาะสม เปน็ ระบบ ม่งุ เน้นการมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล ของแผนงาน/โครงการเป็นที่ตั้ง โดยจะต้องมีการปรับกระบวนทัศน์ขององค์กรและผู้น�ำองค์กรให้มี ความสามารถในการที่จะเลือกใชร้ ะบบสนบั สนุน/กำ� หนดการตัดสินใจทางนโยบาย ระบบและกลไก สร้างความเชื่อมโยงและบูรณาการระหว่างผังเมือง ผังการใช้ท่ีดิน ผังการพัฒนาลุ่มน้�ำ ผังคมนาคม ผังทะเล ฯลฯ ได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบ โดยในเบ้ืองต้นการด�ำเนินงาน มีเป้าหมายที่จะปรับบทบาทหน้าที่และเสริมศักยภาพของผู้ว่าราชการจังหวัดและองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินเกี่ยวกับภารกิจด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และระบบ สนับสนุนการท�ำงานด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รวมถึงการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับการบริหารราชการส่วนภูมิภาคให้มี ประสทิ ธิภาพเพมิ่ ข้ึนอยา่ งนอ้ ย 30 จงั หวดั และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ อย่างน้อย 2,000 แหง่ ขอบเขตของการด�ำเนินงานด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความเก่ียวข้องกับแผนงาน โครงการในหลายระดบั อาทิ ระดบั แผนแม่บทการบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาตปิ ระเภทตา่ ง ๆ การจัดท�ำผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ การประกาศก�ำหนดเขตควบคุมมลพิษ เขตคุ้มครอง ส่ิงแวดล้อม ตลอดจนการปรับปรุงโครงสร้างองค์กร มีความเก่ียวข้องกับภารกิจหน้าท่ีของ หลายกรม กระทรวง อีกทั้งยังได้มีการจัดต้ังคณะกรรมการขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก ท้ังในระดับชาติ 304

แผนการปฏิรูปประเทศ 06 ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 0634 ระดับกระทรวง และระดบั จงั หวดั จึงส่งผลใหก้ ารดำ� เนนิ งานด้านการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ของประเทศในหลายทศวรรษที่ผ่านมา ขาดความชัดเจนของความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจและระบบการประสานเช่ือมโยง ระหว่างหน่วยงาน รวมถึงการสร้างความเป็นเอกภาพของนโยบายด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม นอกจากน้ันเมื่อพิจารณาถึงระบบงบประมาณของกรมและกระทรวงต่าง ๆ ท่ีจัดท�ำค�ำขอในลักษณะ แยกส่วนตามภารกิจของตนเอง จึงย่ิงเป็นเหตุปัจจัยท่ีท�ำให้การขับเคลื่อนแผนงานโครงการด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่สามารถผลักดันให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมายของแผนที่ต้ังไว้ได้ อย่างเต็มศักยภาพ การด�ำเนินงานในระยะต่อไป ควรให้ความส�ำคัญกับการกระจายภารกิจด้านการดูแลบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และการดูแลรักษาฟื้นฟูส่ิงแวดล้อมจากหน่วยงานระดับนโยบายส่วนกลางไปสู่หน่วยงานในระดับภูมิภาคและท้องถิ่น มากข้ึน เนื่องจากภาคส่วนในระดับภูมิภาค/พื้นท่ี/ชุมชน เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญในระดับพื้นที่ท่ีจะท�ำให้ การดแู ลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มสามารถดำ� รงอยไู่ ดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื และเพอื่ ใหภ้ าคสว่ นตา่ งๆ และคนรนุ่ ตอ่ ไป ได้เข้ามาใช้ประโยชน์อย่างรู้คุณค่า รวมท้ังต้องให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินนโยบายที่เป็นเอกภาพและการปรับปรุง ระบบงบประมาณท่ีเน้นให้ความส�ำคัญกับการบูรณาการงบประมาณเพ่ือสนับสนุนการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเชิงพื้นที่ โดยการด�ำเนินงานทั้งทางด้านแผนงานและแผนเงินท่ีกล่าวมา จะต้องด�ำเนินการควบคู่ไปกับการปรับปรุงกฎหมายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีการประกาศใช้มา เป็นเวลานานกว่า 50 ปี ให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และระดับ ความรนุ แรงและความซับซอ้ นของปัญหาดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มท่ีเปลี่ยนแปลงไปรว่ มดว้ ย 305

06 แผนการปฏริ ปู ประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 0635 เรอ่ื งและประเด็นปฏิรปู ท่ี 35 ระบบยุติธรรมส่ิงแวดล้อม รวม 2,504 คดี ทม่ี า : แผนกคดสี งิ่ แวดลอ้ มในศาลฎกี า ระบบยุติธรรมสิ่งแวดล้อมเป็นความพยายามปฏิรูปและพัฒนาระบบต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับคดีและ ข้อพิพาทด้านสิ่งแวดล้อม โดยการจัดท�ำวิธีพิจารณาคดีด้านส่ิงแวดล้อม การพัฒนาระบบบังคับคดี การบังคับโทษทางอาญา การเยียวยาความเสียหาย รวมถึงการเลือกใช้กระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉนั ท์เปน็ ทางเลือก สนบั สนนุ ใหม้ ีการคุ้มครองสทิ ธิดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มผา่ นการใชส้ ิทธิทางศาล โดยมีบุคลากรด้านยุติธรรมสิ่งแวดล้อมท่ีมีความรู้และความเชี่ยวชาญ และการจัดต้ังองค์กร/ ส่วนงาน เพ่ือรับผิดชอบคดีสิ่งแวดล้อมเป็นการพิเศษ โดยเน้นหลักการการเข้าถึงความยุติธรรมใน คดีและข้อพพิ าทด้านสิ่งแวดล้อม การด�ำเนินงานที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาระบบยุติธรรมสิ่งแวดล้อมที่ผ่านมา มีการด�ำเนินงานและ ข้อเสนอจากคณะท�ำงานร่วมด้านการปฏิรูประบบยุติธรรมส่ิงแวดล้อม เพ่ือน�ำไปสู่การขับเคลื่อน การพัฒนาระบบยตุ ธิ รรมส่ิงแวดลอ้ มทางศาลปกครอง และไดม้ กี ารแตง่ ตงั้ คณะอนุกรรมการบรหิ าร ศาลปกครองด้านระบบยุติธรรมทางปกครองส่ิงแวดล้อม (ค�ำส่ังคณะกรรมการบริหารศาลปกครอง ท่ี 7/2563 วันท่ี 31 มกราคม 2563) ทั้งนี้ ศาลยุติธรรมได้มีการแต่งต้ังคณะท�ำงานพัฒนาวิธี พิจารณาคดีสิ่งแวดล้อมและศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดต้ังศาลสิ่งแวดล้อม (ค�ำส่ังประธาน ศาลฎกี าที่ 1/2563 วนั ที่ 13 มกราคม 2563) เรยี บรอ้ ยแลว้ 306

แผนการปฏิรปู ประเทศ 06 ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม 0635 ความทา้ ทายของการด�ำเนินงาน เพ่อื บรรลผุ ลในการพฒั นาระบบยตุ ิธรรมส่งิ แวดล้อมทส่ี �ำคัญ ได้แก่ การตระหนกั ร้แู ละ ความเข้าใจตรงกัน ในประเด็นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่เป็นธรรมส�ำหรับประชาชนทุกคน โดยเฉพาะ การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถเจ้าหน้าที่รัฐตลอดทั้งกระบวนการยุติธรรม ให้สามารถด�ำเนินการ ทางกฎหมายและการคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และสิทธิชุมชนท่ีเกี่ยวข้องกับรูปคดี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาสถาบัน/องค์กร รวมถึงการปรับปรุงกฎหมายวิธีพิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับประเด็น การปฏิรปู ดา้ นระบบยุติธรรมสิ่งแวดล้อม การดำ� เนนิ งานเพอ่ื บรรลเุ ป้าหมายของการพฒั นาระบบยตุ ธิ รรมสงิ่ แวดล้อม จ�ำเปน็ ตอ้ งดำ� เนินการตามแผนท่ีก�ำหนดไว้ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ และควรมีการสร้างความเข้าใจกับทุกภาคส่วนโดยเฉพาะบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม ในประเด็นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีเชื่อมโยงกับประเด็นประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน และสิทธิชุมชน โดยต้องค�ำนึงถึงมิติสิทธิตามกฎหมายท่ีจะได้รับการแบ่งสรรให้สามารถเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้ อย่างเสมอภาค โดยไม่ถกู กดี กนั มีสิทธทิ ี่จะดำ� รงชวี ติ อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มท่ดี ี และมสี ทิ ธิท่ีจะใชส้ ิทธิทางศาล เพื่อระงบั ข้อพิพาทด้านสิ่งแวดล้อม นอกจากน้ีควรเน้นการให้ความส�ำคัญกับประชาชนให้สามารถเข้ามามีส่วนร่วมต่อรอง และตัดสินใจร่วมกันอย่างสมานฉันท์ เพ่ือร่วมพัฒนาระบบ/แนวปฏิบัติที่เก่ียวข้องในกระบวนการยุติธรรม ดา้ นสงิ่ แวดล้อมให้มีความเขม้ แขง็ ตอ่ ไป 307

06 แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม 0636 เร่อื งและประเด็นปฏริ ูปท่ี 36 ปฏริ ูปกฎหมายด้านทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม ปัจจุบันกระแสความตื่นตัวด้านสิ่งแวดล้อมในระดับระหว่างประเทศ มีผลต่อนโยบายและกฎหมาย ส่ิงแวดล้อมในระดบั ประเทศเปน็ อันมาก ท้งั ในดา้ นพนั ธกรณีท่ปี ระเทศตา่ ง ๆ ต้องปฏบิ ัติตามภายใต้ อนุสัญญาและความตกลงเร่ืองสิ่งแวดล้อมฉบับต่าง ๆ ในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อมร่วมกัน จึงจ�ำเป็นต้องปรับปรุงกฎหมายให้มีความสอดคล้องกับ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และให้เท่าทันรองรับกับความเปลี่ยนแปลงของบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และระดับความรุนแรงและความซับซ้อนของปัญหาท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก รวมท้ัง การพัฒนากฎหมายใหม่เพ่ือรองรับสนับสนุนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 308

แผนการปฏิรปู ประเทศ 06 ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 0636 การด�ำเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศในช่วงระยะ ท�ำให้ประเทศไทยต้องด�ำเนินการปรับปรุงกฎหมายอยู่ เวลาท่ีผ่านมา การปฏิรูปกฎหมายด้านทรัพยากร ตลอดเวลา เพื่อให้มีความทันสมัยและเท่าท่ีจ�ำเป็น ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ด�ำเนินการปรับปรุงและ ไม่ก่อให้เกิดอุปสรรคในการปฏิบัติตามของประชาชน พัฒนากฎหมายด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อี ก ท้ั ง ก ฎ ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ ข ้ อ ก ฎ ห ม า ย ใ น ห ล า ย ด ้ า น ใ ห ้ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ บ ท บั ญ ญั ติ แ ล ะ เ จ ต น า ร ม ณ ์ ข อ ง จะต้องมีความเจาะจงในบางประเด็นและเปิดกว้าง รัฐธรรมนูญ สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติและ ในบางมิติมากขึ้น เพ่ือรองรับโอกาสท่ีจะเกิดข้ึน ปฏิรูปประเทศด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในอนาคตจากกระแสการพัฒนาใหม่ ๆ หรือป้องกัน รองรับกับการอนุวัติตามพันธกรณีในความตกลงระหว่าง ความเสยี่ งทอ่ี าจตามมาจากการเปดิ รบั เทคโนโลยที ก่ี า้ วลำ�้ ประเทศท่ีประเทศไทยเป็นสมาชิก และรองรับการปฏิรูป ไปในอนาคตของโลกได้อย่างเท่าทัน อาทิ ดิจิทัลเพื่อ ประเทศให้เป็นไปในทิศทางท่ีก�ำหนด โดยมีกฎหมาย การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ทป่ี ระกาศใชใ้ นชว่ งทผี่ า่ นมา จำ� นวน 13 ฉบบั ประกอบดว้ ย เทคโนโลยชี ีวภาพและจโี นม พระราชบญั ญัติทรัพยากรน�้ำ พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัติ ดังน้ัน การปฏิรูปกฎหมายด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ เสรมิ และรักษาคุณภาพสง่ิ แวดล้อมแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี 2) สิ่งแวดล้อม ในเรื่องการปรับปรุงหรือจัดท�ำกฎหมายขึ้น พ.ศ. 2561 พระราชบัญญตั ิป่าไม้ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2562 มาใหม่ หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องควรมีการวิเคราะหก์ ฎหมาย พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ อุ ท ย า น แ ห ่ ง ช า ติ พ . ศ . 2 5 6 2 ร่วมกันก่อนพิจารณาการจัดท�ำกฎหมายข้ึนมาใหม่ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 เ น่ื อ ง จ า ก ก ฎ ห ม า ย ด ้ า น ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติ สิ่งแวดล้อมในประเทศไทยมีจ�ำนวนมาก เพื่อไม่ให้เกิด ว่าด้วยการเวนคืนและการได้มาซ่ึงอสังหาริมทรัพย์ ความซ�้ำซ้อนของกฎหมาย อีกทั้งควรมีการจัดท�ำระบบ พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติการรักษาผลประโยชน์ของ ฐานข้อมูลกฎหมายที่เก่ียวกับส่ิงแวดล้อมท่ีมีการประกาศ ชาติทางทะเล พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติมาตรฐาน ใช้แล้ว เพ่ือเป็นแหล่งรวบรวมกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2562 พระราชบญั ญตั ิ กับส่ิงแวดล้อม โดยจัดให้มีระบบท่ีสามารถสืบค้นและ วัตถุอันตราย (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติ เข้าถึงได้ง่าย และควรมีคู่มือส�ำหรับการน�ำไปใช้หรือ โรงงาน (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2562 พระราชบญั ญตั กิ ารผงั เมอื ง การปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเข้าใจได้ง่าย เพ่ือให้ประชาชน พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบาย สามารถน�ำไปปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง รวมถึงให้มี ทด่ี ินแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ทำ� ให้ประเทศไทยมีกฎระเบียบ การจัดล�ำดับความส�ำคัญของกฎหมายส่ิงแวดล้อม ท่ีชัดเจนทันต่อบริบทสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป และรองรับ เพอื่ สะดวกในการบงั คบั ใชแ้ ละการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ การท�ำงานด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ให้ทุกภาคส่วนได้รับรู้ เกิดความเข้าใจและถือปฏิบัติให้ และสง่ิ แวดลอ้ มไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการให้ประชาชนเข้ามา ความท้าทายด้านการปฏิรูปกฎหมายทรัพยากรธรรมชาติ มีส่วนร่วมในขั้นตอนของการบังคับใช้กฎหมาย เพ่ือให้ และส่ิงแวดล้อม คือ ความสลับซับซ้อนของประเด็น เกดิ ความโปร่งใสและสร้างความจริงใจตอ่ ประชาชน ปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากกระแสการเปล่ียนแปลง ซ่ึงจะส่งผล 309

แผนการปฏริ ูปประเทศ 07 ดา้ นสาธารณสขุ ยุ ทธ ศา ส ต ร ช า ติ ด า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น การพฒั นา การสรางโอกาส และเสริมสรา งศกั ยภาพ และความเสมอภาค ทรพั ยากรมนษุ ย ทางสังคม “ ประชาชนทุกภาคส่วนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีส่วนร่วมในการวางระบบในการดูแลสุขภาพ ได้รับโอกาสที่เท่าเทียมกัน ในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขท่ีจ�ำเป็น และอยู่ในสภาพแวดล้อม ท่ีเอ้ือต่อการมีสุขภาวะตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพี ยง ภายใต้ระบบสาธารณสุขท่ีเป็นเอกภาพและการอภิบาลระบบที่ดี ”

แผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นสาธารณสุข 07 ระบบสาธารณสุขของประเทศในปัจจุบันก�ำลังเผชิญ เสริมสุขภาพและการป้องกันโรค (8) ความรอบรู้ กับความท้าทายท้ังจากสถานการณ์ภายในประเทศ อาทิ ด้านสุขภาพ (9) การคุ้มครองผู้บริโภค (10) ระบบหลัก หน่วยงานด้านสุขภาพยังขาดการบูรณาการและเอกภาพ ประกันสุขภาพและการป้องกันโรค โดยมีเป้าหมาย ในการท�ำงาน ประชาชนไทยมีการเจ็บป่วยด้วยโรค (1) ระบบบริการปฐมภูมิมีความครอบคลุม ตอบสนอง ไม่ติดต่อเร้ือรังเพิ่มสูงขึ้น ความแตกต่างของสิทธิ ความจ�ำเป็น และระบบหลักประกันสุขภาพความย่ังยืน ประโยชน์ที่ยังก่อให้เกิดความเหลื่อมล�้ำในบางกลุ่ม พอเพียง มีประสิทธิภาพ สร้างความเป็นธรรม ประชากร และสถานการณภ์ ายนอก อาทิ การแพรร่ ะบาด (2) มีข้อมูลสารสนเทศท่ีใช้บริหารจัดการการเงินการคลัง ของโรคอุบัติใหม่ท่ีส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน การบริการในระบบสุขภาพและสาธารณสุข อย่างมี ประเทศไทยเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์และ ประสิทธิภาพ เพ่ือสนับสนุนการมีสุขภาพ สุขภาวะที่ดี ระดับสุดยอดค่อนข้างเร็ว มีผลต่อความยั่งยืนทาง (3) ระบบสุขภาพของประเทศมีเอกภาพ การด�ำเนินงาน การคลงั ดา้ นสขุ ภาพในอนาคต ด้านสุขภาพของทุกภาคส่วนเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงได้ก�ำหนดประเด็นปฏิรูปเพื่อเป็นการวางทิศทาง มีการกระจายอ�ำนาจและความรับผิดชอบให้แต่ละพื้นที่ การพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศ รับมือกับ โดยมีระบบสนับสนุนทเ่ี อื้อต่อการแกป้ ัญหาในแตล่ ะพน้ื ที่ สถานการณ์ความท้าทายที่มีผลกระทบต่อการบริหาร ระบบบริการมีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ และ จั ด ก า ร แ ล ะ ก า ร ใ ห ้ บ ริ ก า ร ท า ง ด ้ า น ส า ธ า ร ณ สุ ข จัดบริการเป็นเครือข่าย ภายใต้การติดตามก�ำกับท่ีมี ของประเทศ รวมถึงผลกระทบต่อสถานะสุขภาพ ประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล (4) ประชาชนไทย ของประชาชนท้ัง 10 ประเด็น ได้แก่ (1) ระบบบริหาร มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตท่ีดีบนหลักการสร้างน�ำซ่อม จัดการด้านสุขภาพ (2) ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ และผู้ท่ีไม่ใช่ประชาชนไทยที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย ด้านสุขภาพ (3) ก�ำลังคนสุขภาพ (4) ระบบบริการ มีโอกาสเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข ปฐมภูมิ (5) การแพทย์แผนไทยและสมุนไพร ท่ีจ�ำเป็นอย่างมีคุณภาพ ท้ังการรับบริการและการรับ เพื่อเศรษฐกิจ (6) ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (7) การสร้าง ภาระค่าใชจ้ ่าย ประเดน็ ท้าทายและข้อเสนอแนะ การด�ำเนินการตามแผนการปฏิรปู ประเทศด้านสาธารณสุขมีประเดน็ ท้าทายที่ต้องได้รบั การพฒั นาท่ีสำ� คัญ ได้แก่ 1) ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ในการด�ำเนินการที่ผ่านมายังประสบปัญหาด้านข้อมูลในมิติของความครบถ้วน ถูกต้อง และการน�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจ�ำเป็นต้องต้องอาศัยความร่วมมือของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมประสานงานและบูรณาการข้อมูลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้ประชาชนเข้าถึง ขอ้ มลู ทถี่ ูกตอ้ ง แม่นย�ำ และมีประสทิ ธิภาพ 311

07 แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสาธารณสขุ 2) การยอมรับของประชาชน ในการด�ำเนินการท่ีผ่านมาหลายกิจกรรมต้องอาศัยการยอมรับในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของประชาชน ซ่ึงประชาชนบางกลุ่มยังไม่เห็นถึงความส�ำคัญในการดูแลสุขภาวะตัวเองมากนักจึงจ�ำเป็น ต้องมีการสร้างการตระหนักรู้ และสร้างความเข้าใจ อาทิ การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ความรอบรู้ ด้านสุขภาพในเบื้องต้น เพ่ือให้ประชาชนเกิดการตระหนักรู้ในการดูแลตัวเองจนพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ พร้อมท่จี ะสามารถดูแลตวั เองได้ในเบอื้ งตน้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3) ก�ำลังคนที่มีความรู้ ความสามารถเฉพาะทาง ในการด�ำเนินการที่ผ่านมาบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะทาง มีแนวโน้มลดลงเป็นจ�ำนวนมากเนื่องจากภารกิจมีความรับผิดชอบทางการรักษาค่อนข้างสูง ก่อให้เกิดขวัญก�ำลังใจ ลดลงส่งผลให้บุคลลากรเหล่านี้หันไปประกอบอาชีพอ่ืน ๆ และผลกระทบต่อจ�ำนวนบุคลากรในระบบบริการสุขภาพ ด้านสาธารณสุขลดลง จึงจ�ำเป็นเป็นต้องมีการวางแผนในการพัฒนาบุคลากรให้ตรงกับความต้องการของประชาชน และควรมีมาตรการในการธำ� รงรกั ษาบุคลากรใหส้ ามารถปฏิบัตงิ านไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสิทธิภาพ สรุปการด�ำเนินงานของเรอ่ื งและประเดน็ ปฏิรปู 0701 เรื่องและประเดน็ ปฏิรูปท่ี 1 ระบบบริหารจดั การด้านสุขภาพ มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ อาทิ นครชัยศรีโมเดล ซ่ึงเป็นการรวมเครือข่ายระหว่างโรงพยาบาล ในบริเวณใกล้เคียงในอ�ำเภอเพื่อแก้ไขการบริการล่าช้าในพ้ืนที่ และเป็นการปรับระบบบริการให้เป็นการด�ำเนินงาน แบบไร้รอยต่อภายในอ�ำเภอ สร้างบริการเด่นตามศักยภาพของแต่ละโรงพยาบาลสอดคล้องกับพื้นที่และส่งต่อผู้ป่วย ระหว่างกัน ซ่ึงส่งผลให้สามารถแก้ไขปัญหาความแออัดของโรงพยาบาล ท�ำให้ประชาชนได้รับความสะดวกและได้รับ การช่วยเหลืออยา่ งรวดเรว็ มากข้ึน 0702 เรื่องและประเด็นปฏิรูปที่ 2 ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศด้านสขุ ภาพ มีการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ทางการแพทย์ ท�ำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ อย่างสะดวกและรวดเร็วมากข้ึน เช่น แอปพลิเคชันส�ำหรับการนัดหมายและจัดการคิวผู้ป่วย ระบบเวชระเบียน อิเล็กทรอนกิ ส์ 0703 เรือ่ งและประเดน็ ปฏิรปู ที่ 3 กำ� ลังคนดา้ นสขุ ภาพ มีการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลสุขภาพให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เพ่ือให้หน่วยงานสามารถจัดการ บริหารก�ำลังคนสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดห่วงโซ่อุปทานท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ ปัจจุบันอยู่ระหว่าง การเตรียมความพร้อมกอ่ นการนำ� ระบบไปปฏบิ ตั ิ 312

แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสาธารณสขุ 07 0704 ประเดน็ ปฏิรปู ที่ 4 ระบบบริการปฐมภมู ิ ได้มีการประกาศพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 ในราชกิจจานุเบกษาแล้วเมื่อวันท่ี 30 เมษายน 2562 โดยมีบทบัญญัติส�ำคัญที่ก�ำหนดให้มีคณะกรรมการระบบสุขภาพปฐมภูมิท�ำหน้าท่ีก�ำกับดูแลเชิงนโยบายควบคู่ กับก�ำหนดหลักเกณฑ์การให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ การพัฒนาระบบสารสนเทศส�ำหรับเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับ การบริหารจัดการระบบสุขภาพปฐมภูมิ และจัดให้มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและคณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ ในจ�ำนวนท่ีเหมาะสมในการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิ รวมถึงควบคุมคุณภาพของหน่วยบริการและเครือข่ายบริการ ปฐมภูมิรวมท้ังได้มีการทดลองลงทะเบียนในหน่วยบริการปฐมภูมิหรือคลินิกหมอครอบครัวน�ำร่อง 50 แห่ง ท่ัวประเทศ มีการจัดท�ำแอปพลิเคชั่นการดูแลสุขภาพส�ำหรับประชาชนในเบื้องต้นแล้วเสร็จ ส่งผลให้ประชาชนได้รับ บริการทตี่ อบสนองตอ่ ความจ�ำเป็นทางด้านสุขภาพขั้นพน้ื ฐานอยา่ งครอบคลุมและท่วั ถึง 0705 เร่อื งและประเดน็ ปฏริ ูปท่ี 5 การแพทย์แผนไทยและสมนุ ไพรไทยเพ่ือเศรษฐกจิ ได้ด�ำเนินการพัฒนาสารสกัดจากสมุนไพรที่เป็นความต้องการของตลาด เช่น สารสกัดกัญชาและนวัตกรรม จากสารสกัดกัญชา เป็นต้น และพัฒนาระบบบริการแพทย์แผนไทย โดยได้มีการประสานพ้ืนที่ส�ำหรับการจัดต้ัง โรงพยาบาลแพทย์แผนไทย ใหค้ รอบคลมุ ในเขตสขุ ภาพ ต้ังแตเ่ ขตสุขภาพที่ 1-12 สง่ ผลให้ประชาชน ได้รบั การบรกิ าร ทางการแพทย์แผนไทยทมี่ ีคณุ ภาพ มาตรฐาน ดว้ ยราคาท่สี ามารถเข้าถึงได้ 0706 เรอ่ื งและประเด็นปฏิรปู ที่ 6 ระบบการแพทยฉ์ ุกเฉิน กระทรวงสาธารณสุขได้มีการสนับสนุนการพัฒนาบริการนอกเวลาส�ำหรับผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินเพื่อลดความแออัด ในห้องฉุกเฉินโรงพยาบาล โดยมีการจัดบริการแยกผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินออกจากการบริการของห้องฉุกเฉินเริ่มต้น ทีโ่ รงพยาบาลศนู ยน์ �ำร่อง 21 โรงพยาบาลในพ้ืนทจี่ ังหวดั กรุงเทพ รวมทงั้ มีการใหค้ วามรใู้ นการดแู ลตนเองและผู้ป่วย เพื่อให้สามารถดูแลตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นในกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง ควบคู่ไปกับการพัฒนาระบบการแพทย์ ฉุกเฉิน ที่เน้นการบริการผู้ป่วยวิกฤตที่เข้ารับการรักษา ส่งผลให้ประชาชนได้รับการช่วยเหลือด้านการแพทย์ได้ถูกต้อง เหมาะสม และทนั ท่วงที ท�ำใหก้ ารเสียชวี ิต การพกิ ารจากภาวะวิกฤตลดลง 0707 เรื่องและประเดน็ ปฏริ ูปท่ี 7 การสรา้ งเสริมสุขภาพและการป้องกนั โรค ได้มีการด�ำเนินการพัฒนาห้องปฏิบัติการของประเทศให้เป็นหน่วยงานกลางในการติดตามผลการด�ำเนินการและการ บรู ณาการกำ� หนดมาตรฐานและพฒั นาศกั ยภาพทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของประเทศ และดำ� เนนิ การการปรบั ปรงุ โครงสรา้ ง การทำ� งานดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและการปอ้ งกนั โรค โดยไดม้ กี ารทบทวนโครงสรา้ งการบรหิ าร บคุ ลากร และภารกจิ ซ่ึงครอบคลุมหน่วยงานทั้งระดับกระทรวง ทบวง กรม ให้มีความสอดคล้องกับความต้องการการให้บริการสาธารณสุข ของแตล่ ะพนื้ ที่ ทำ� ใหท้ กุ หนว่ ยงานมกี ารทำ� งานไดอ้ ยา่ งเปน็ บรู ณาการและมเี อกภาพในการบรหิ ารระบบสขุ ภาพมากขนึ้ 313

07 แผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข 0708 เรอื่ งและประเดน็ ปฏิรปู ท่ี 8 ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ ได้มีการพัฒนาระบบส่ือสารสุขภาพโดยร่วมกับ บริษัท อสมท จ�ำกัด (มหาชน) องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพ สาธารณะแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ (กสทช.) เป็นต้น เผยแพร่ข้อมูลสาธารณะสุขภาพ เพื่อสร้างการตระหนักรู้เกี่ยวกับความรอบรู้ด้านสุขภาพ ให้กับประชาชน ส่งผลให้ประชาชนทุกช่วงวัยมีความรู้ข้ันพื้นฐานในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค์มากขึ้น การพัฒนาระบบการสาธารณสุข โดยกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ได้พัฒนาการเรียนการสอนวิชาสุขศึกษาเร่ืองความรอบรู้ด้านสุขภาพภายในโรงเรียนรวมท้ังส่งเสริมให้บรรจุ เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพไว้ในหลักสูตรคณะสาธารณสุขในระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยท่ัวประเทศ ส่งผลให้ นักเรียน นักศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาวะตนเองได้ในเบ้ืองต้น และสามารถขยายผลไปยังกลุ่ม ประชากรทไี่ มส่ ามารถเขา้ ถงึ ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพได้ 0709 เร่ืองและประเด็นปฏริ ปู ที่ 9 คมุ้ ครองผู้บรโิ ภคดา้ นสขุ ภาพ ได้มีการด�ำเนินการทบทวนกระบวนการที่เก่ียวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค การเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพ ตามมาตรฐานของผลิตภณั ฑ์ สถานประกอบการ และการโฆษณา รวมทั้งผลอนั ไม่พงึ ประสงคข์ องผลติ ภณั ฑ์ ตลอดจน มีการติดตามหรือเฝ้าระวังข้อมูลข่าวสาร ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพจากภายในระเทศและภายนอกประเทศ และจัดระบบ เยยี วยาผเู้ กี่ยวขอ้ งทไี่ ดร้ ับผลกระทบจากการบริการสุขภาพให้ได้รบั ความเป็นธรรม เหมาะสม และทว่ งที 0710 เร่ืองและประเด็นปฏิรปู ท่ี 10 ระบบหลกั ประกนั สุขภาพ ได้มีการจัดท�ำชุดสิทธิประโยชน์หลักพร้อมประมาณค่าใช้จ่ายและแหล่งเงินส�ำหรับผู้ป่วยใน และประกันสุขภาพ เสริมส�ำหรับประกันสังคม การขยายการคุ้มครองด้านสุขภาพไปยังกลุ่มบุคคลท่ีมีปัญหาสถานะและสิทธิ โดยขยาย ความครอบคลุมสิทธิประกันสุขภาพส�ำหรับบุคคลท่ีมีสถานะและสิทธิ/ คนต่างด้าว และแรงงานต่างด้าวในโรคท่ี ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคเอดส์ และวัณโรค ส่งผลให้ความเหลื่อมล้�ำและวามไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงบริการด้าน สาธารณสุขลดลง ตลอดจนประชาชนทุกช่วงวัยไดร้ ับบรกิ ารทางการแพทย์ท่เี หมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ 0701 0702 0703 0704 0705 0706 0707 0708 0709 0710 314

แผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นสาธารณสุข 07 เรอ่ื งและประเด็นปฏริ ูปท่ี 1 0701 ระบบบรหิ ารจัดการดา้ นสขุ ภาพ ประเทศไทยมีกระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานหลักในการก�ำหนดนโยบายด้านสุขภาพ ของประเทศ เพ่ือก�ำหนดทิศทางในการด�ำเนินงานให้สามารถสอดคล้องต่อความต้องการ ของการจัดการปัญหาสุขภาพของแต่ละพื้นท่ี แต่การด�ำเนินดังกล่าวยังมีข้อจ�ำกัดเรื่องการ บูรณาการการท�ำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่งผลให้ที่ผ่านมาการขับเคลื่อน ยังไม่สามารถสัมฤทธิ์ผลมากนัก ดังนั้น จึงจ�ำเป็นต้องปฏิรูประบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ เพ่ือให้เกิดนโยบายด้านสุขภาพของประเทศท่ีเป็นเอกภาพ มีการบูรณาการงานด้านสุขภาพ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้ามามีส่วนร่วมในการบูรณาการจัดการข้อมูลท่ีถูกต้องและเหมาะสม ในขณะเดียวกันประชาชนได้ประโยชน์สูงสุดและสอดคล้องกับปัญหาสุขภาพในแต่ละพ้ืนท่ีภายใต้ ทรัพยากรอนั จำ� กัด ทีม่ า : ส�ำนักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ 315

07 แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสาธารณสขุ 0701 ในระยะท่ีผ่านมา กระทรวงสาธารณสขุ ซึ่งเป็นหน่วยงาน ท้ังน้ี ความท้าทายท่ีส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย คือ รับผิดชอบหลัก มีความพยายามในการด�ำเนินการ การบูรณาการของระบบบริการสุขภาพในประเทศไทย ตามแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข อาทิ ท่ียังมีข้อจ�ำกัดในเรื่องของการประสานงานในการ การทดลองรูปแบบใหม่ ๆ ของเครือข่ายสถานบริการ วางแผน การบริหาร และบูรณาการข้อมูลท่ีจ�ำเป็น สาธารณสุขที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ อาทิ นครชัยศรี ระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งส่งผลให้การด�ำเนินงาน โมเดล ลพบุรีโมเดล แต่เนอ่ื งจากกิจกรรมภายใตป้ ระเด็น เกิดความเหลื่อมล้�ำของแต่ละพื้นที่ อันเน่ืองมาจาก ปฏิรูประบบบริหารจัดการด้านสุขภาพหลายกิจกรรม การบริหารจัดการด้านสุขภาพยังไม่ครอบคลุม ไม่มี มีความครอบคลุมการท�ำงานด้านสุขภาพท้ังระบบ การบูรณาการร่วมกนั เทา่ ทค่ี วร ท�ำให้การขับเคล่ือนงานท่ีผ่านมายังไม่สัมฤทธิผลมากนัก ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป รวมทั้งกระทรวงสาธารณสุขได้มีการด�ำเนินการชี้แจง ป ร ะ เ ท ศ ค ว ร ด� ำ เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ป ฏิ รู ป ที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ ปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนินงานตามแผนการปฏิรูป ต่อการบรรลุเป้าหมาย โดยควรค�ำนึงถึงการจัดทํากลไก ประเทศมาตรา 26 และมาตรา 27 พระราชบญั ญตั ิแผน อภิบาลระบบบริการสุขภาพทั้งในระดับประเทศและ และข้ันตอนการด�ำเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 ระดับพื้นที่ รวมท้ังมาตรการที่ดําเนินการให้มีความ ในประเด็นระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ ท่ี สธ สอดคลองกันของแต่ละพ้ืนที่ ท้ังในส่วนของการวางแผน 0245/110 ลงวันที่ 5 กันยายน 2562 เพ่ือใช้เป็นข้อมูล การจัดระบบบริการสุขภาพให้มีความครอบคลุม และให้ ประกอบการปรบั ปรงุ แผนการปฏิรูปประเทศ โดยมีสาระ ภาครัฐ องคก รปกครองสว่ นทอ งถนิ่ ภาคประชาชน และ ส�ำคัญ อาทิ กิจกรรมท่ีอยู่นอกเหนืออ�ำนาจหน้าที่ หนวยงานเอกชน ร่วมกันบูรณาการไม่ให้เกิดความ ของกระทรวงสาธารณสขุ ทเ่ี ปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ เชน่ การจดั ตง้ั เหล่ือมล้�ำของแต่ละพ้ืนท่ี ท้ังนี้ คณะกรรมการปฏิรูป คณะกรรมการนโยบายสขุ ภาพแห่งชาติ การทบทวน/ยก ประเทศด้านสาธารณสุข จะด�ำเนินการหารือร่วมกับ ร่างกฎหมาย (ร่างพระราชบัญญัติโครงสร้างการบริหาร กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือหาแนวทางในการขับเคล่ือน ระบบสุขภาพแห่งชาต)ิ และการศึกษารปู แบบเพ่ือด�ำเนนิ ประเด็นระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ ให้สามารถ การบริหารจัดการระบบสุขภาพในรูปเขตสุขภาพต้ังแต่ บรรลุเปา้ หมายในประเดน็ ดังกลา่ วต่อไป เขตสุขภาพที่ 1 – เขตสขุ ภาพท่ี 12 316

แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นสาธารณสุข 07 เรอื่ งและประเดน็ ปฏริ ปู ท่ี 2 0702 ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศดา้ นสุขภาพ ปัจจุบันมีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพเข้ามาใช้เพ่ือเพ่ิมคุณภาพของการให้บริการมากขึ้น รวมถึงพัฒนากระบวนการท�ำงานและการบริหารจัดการด้านสาธารณสุขให้ทันสมัย และมี ประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น การน�ำเทคโนโลยีทางการแพทย์มาใช้ในการตรวจสอบข้อมูลสุขภาพ ของผู้ป่วย หรือ แอปพลิเคชั่น PCC TEAM หมอครอบครัว ซ่ึงในแอปพลิเคชั่นจะประกอบไปด้วย ทีมหมอครอบครัว และแพทย์ผู้เช่ียวชาญสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ท�ำหน้าท่ีตรวจสอบข้อมูล ประวัติการติดตามคนป่วยเพื่อการรักษาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยในช่วงที่ผ่านมามีการ น�ำร่องในการใช้แอปพลิเคชั่นในประเทศไทยจ�ำนวน 12 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เพชรบูรณ์ ก�ำแพงเพชร ปทุมธานี กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา กาฬสินธุ์ เลย สุรินทร์ อุบลราชธานี สุราษฎร์ธานี และตรัง อย่างไรก็ตามการพัฒนาและน�ำระบบเทคโนโลยีมาใช้ในการให้บริการและบริหารจัดการ ด้านสุขภาพ ยังมีปัญหาในหลายด้าน อาทิ ขาดการจัดท�ำมาตรฐานข้อมูล มาตรฐานกฎหมาย ท่ีเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของการใช้ข้อมูลสุขภาพ ท�ำให้ข้อมูล ด้านสุขภาพของประชาชน ยังไม่สามารถเชื่อม โยงกันได้อย่างเป็นระบบ ครอบคลุมทุกสถาน บริการสุขภาพ ท้ังของรัฐและเอกชนรวมถึง ประชาชนในพ้ืนท่ีห่างไกลคงต้องเดินทางมา เข้ารับการรับการบริการทางด้านสุขภาพ เนื่องจากยังไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี ได้เท่าท่ีควรก่อให้เกิดการแออัดในการรอคอย เพ่ือเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจึงจ�ำเป็น ต ้ อ ง ป ฏิ รู ป ร ะ บ บ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ด้านสุขภาพเพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนทุกคน สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพท่ีมีประสิทธิภาพ ทั่วถึง เป็นธรรม และอ�ำนวยความสะดวก ก า ร ท� ำ ง า น ข อ ง บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย ์ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของ ประชาชนได้อย่างรวดเร็ว ลดความเหลื่อมล�้ำ ในการเข้าถงึ บรกิ ารด้านสุขภาพ ท่ีมา : แอปพลเิ คชนั่ เครือขา่ ยส�ำหรับเจา้ หนา้ ทีแ่ ละทีมแพทย์หมอครอบครวั 317

07 แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสาธารณสุข 0702 ใ น ช ่ ว ง ท่ี ผ ่ า น ม า มี ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น เ พ่ื อ ขั บ เ ค ล่ื อ น ในด้านต่าง ๆ อาทิ ระบบบันทกึ ข้อมูลผปู้ ่วยท่แี พทยแ์ ละ เป้าหมายของประเด็นปฏิรูป เรื่อง ระบบเทคโนโลยี พยาบาลสามารถเข้าถึงและอัพเดทข้อมูลการรักษา สารสนเทศด้านสุขภาพท่ีส�ำคัญ อาทิ (1) การยกระดับ การให้ยาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา รวมทั้ง การบริการด้านสาธารณสุข ได้มีการพัฒนาระบบ อ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ คิวออนไลน์ ท่ีมีการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น สามารถบันทึกและส่งต่อข้อมูล ที่ ส า ม า ร ถ น� ำ ไ ป ติ ด ต้ั ง ไ ด ้ ใ น ส ถ า น บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ การรักษาได้อย่างมีคุณภาพสามารถดึงข้อมูลจากหลาย ทุกระดับและในสถานพยาบาลท่ัวประเทศ ส่งผลให้ แหล่งได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ช่วยให้แพทย์มีข้อมูลมาก สามารถลดความแออัดในโรงพยาบาล ลดระยะเวลา ย่ิงข้ึน แต่ข้อมูลเหล่าน้ันยังถูกจ�ำกัดการเชื่อมโยงใช้งาน รอคอยของแต่ละแผนก รวมทั้งสามารถเรียกดูข้อมูล เพียงในเฉพาะสาขาหรือในโรงพยาบาลน้ัน ๆ เท่าน้ัน เบ้ืองต้นของคนไข้ เช่น กรุ๊ปเลือด ข้อมูลการแพ้ยา หากมีกรณีฉุกเฉินอาจส่งผลให้การส่งต่อผู้ป่วยหรือ ซ่ึงเอ้ืออ�ำนวยต่อแพทย์ผู้ท�ำการรักษาได้อย่างรวดเร็ว การส�ำรวจข้อมูลของผู้ป่วยอาจเกิดความล่าช้า และไม่ และลดข้ันตอนในการรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขสถานการณใ์ นภาวะฉุกเฉนิ ไดท้ ันที (2) การปรับระบบบริการสู่ระบบดิจิทัล ได้มีการพัฒนา ดังนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป โ ค ร ง ก า ร ส ่ ง เ ส ริ ม ก า ร ใ ช ้ ร ะ บ บ ร ะ เ บี ย น สุ ข ภ า พ ป ร ะ เ ท ศ ค ว ร ด� ำ เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ป ฏิ รู ป ที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ อิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคลส�ำหรับประชาชน โดยมีการ ต่อเป้าหมาย ควรมีการเร่งรัดให้ทุกภาคส่วนเข้ามา บันทึกข้อมูลสุขภาพและกิจกรรมแต่ละวันของประชาชน มีส่วนร่วมในการสร้างมาตรการที่รองรับการคุ้มครอง ผ่านการกรอกข้อมูลหรือเชื่อมต่อข้อมูลอัตโนมัติผ่านการ สิทธิของประชาชนในทุกระดับให้สามารถเข้าถึง สวมใส่อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ส่งผลให้ประชาชนสามารถ เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างทั่วถึง รวมท้ัง มีการบูณา เข้าถึงและบริหารจัดการข้อมูลตนเองได้อย่างรวดเร็ว การระหว่างโรงพยาบาลให้สามารถน�ำข้อมูลสารสนเทศ รวมท้ังสะดวกต่อการรับค�ำแนะน�ำด้านสุขภาพและ ด้านสุขภาพเชื่อมโยงและใช้งานทางการแพทย์ในทุกโรง วินิจฉยั โรคเบือ้ งตน้ ผ่านระบบออนไลน์ พยาบาลท่ัวประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงจะส่งผล ท้ังน้ี ความท้าทายที่ส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย คือ ให้เกิดประสิทธิภาพในการน�ำข้อมูลไปใช้ในการรักษาท่ี สถานพยาบาลเอกชนหลายแห่งในปัจจุบันได้มีการ ถูกตอ้ งและเป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั พัฒนาคุณภาพบริการโดยเฉพาะการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ 318

แผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสขุ 07 เรื่องและประเดน็ ปฏริ ูปท่ี 3 0703 กำ� ลังคนสุขภาพ ก�ำลังคนด้านสุขภาพเป็นหัวใจส�ำคัญของระบบบริการสุขภาพ ท่ีจะเป็นพลังในการขับเคล่ือน การสร้างเสริมสุขภาวะท่ีดีให้กบั ประชาชน โดยในการพัฒนาก�ำลังคนต้องดำ� เนินการอย่างเปน็ ระบบ ต้ังแตก่ ารผลติ การจา้ งงาน การพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร รวมถงึ การรักษากำ� ลงั คนไวใ้ น ระบบ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีการผลิตก�ำลังคนด้านสุขภาพเพ่ิมมากขึ้น มีการกระจายก�ำลังคนด้านสุขภาพไปในพื้นที่ต่าง ๆ แต่ยังมีปัญหาการลาออกและขาดแคลน ซ�้ำซาก ส่งผลให้ความเหลื่อมล�้ำของก�ำลังคนด้านสุขภาพระหว่างพ้ืนที่เมืองและชนบท ยังขาดแคลนสูง น�ำไปสู่การให้บริการด้านสุขภาพที่ความแตกต่างกัน ดังน้ัน จึงจ�ำเป็นต้อง ปฏิรูปก�ำลังคนด้านสุขภพ เพื่อให้มีบุคลากรทางการแพทย์ในสัดส่วนท่ีเหมาะสมและเพียงพอ กับความต้องการในแตล่ ะพื้นที่ สัดสว่ นบคุ ลากรทางการแพทย์ ท่มี า : รายงานทรพั ยากรสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ 319

07 แผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นสาธารณสุข 0703 ในช่วงที่ผ่านมามีการด�ำเนินงานเพื่อขับเคล่ือนเป้าหมาย บริบทที่จะมากระทบต่อสังคมไทยในอนาคต ท�ำให้ความ ของประเด็นปฏิรูป เรื่อง ก�ำลังคนสุขภาพท่ีส�ำคัญ อาทิ ต้องการบุคลากรทางการแพทย์เฉพาะด้านเพ่ิมมากขึ้น พัฒนาระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลด้านสุขภาพ อาทิ การเป็นสังคมสูงวัย ท่ีมีความต้องการก�ำลังคน ในระบบดิจิทัล โดยสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีทดแทน ด้านสุขภาพในการดูแลและรักษาโรคที่มีความสัมพันธ์กับ หรอื กำ� ลงั คนทดแทนเพอื่ ใหม้ กี ารใชป้ ระโยชนจ์ ากกำ� ลงั คน การสูงอายุมากขึ้น อาทิ โรคสมองเสื่อม รวมถึงการ วิชาชีพด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม และสนับสนุน วางแผนกำ� ลงั คนด้านสุขภาพ ตอ้ งมองให้ครอบคลมุ ก�ำลงั การพฒั นาปรบั ปรงุ กระบวนการทำ� งานเพอ่ื ลดการสญู เสยี คนด้านสุขภาพท้ังระบบ ในมิติของอุปสงค์และอุปทาน รวมท้ังให้มีระบบประเมินผลิตภาพและจัดให้มีระบบ แต่ปัจจุบันนโยบายการผลิตก�ำลังคนด้านสุขภาพยังขาด การพัฒนาก�ำลังคนอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการสนับสนุน ทิศทางการท�ำงานท่ีชัดเจนในการกระจายบุคลากรไปยัง การพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน พ้ืนที่ท่ีเหมาะสมได้อย่างเพียงพอ ส่งผลให้การวางแผน การกระจายอ�ำนาจและสร้างสมรรถนะการบริหาร ผลิตก�ำลังคนท่ีตอบสนองกับความต้องการยังไม่สัมฤทธิ์ จัดการบุคลากร โดยการพัฒนาแบบจ�ำลองถ่ายโอน ผลเทา่ ที่ควร อ�ำนาจบริหาร การวางแผนก�ำลังคนด้านสุขภาพในเขต ดังนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป สขุ ภาพนำ� รอ่ ง เพอ่ื ใหอ้ งคก์ รและหนว่ ยงานในระดบั ตา่ ง ๆ ประเทศ จึงควรให้ความส�ำคัญกับการกระจายและรักษา มี ส ม ร ร ถ น ะ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ก า ร ล ง ทุ น กำ� ลังคนดา้ นสุขภาพ อาทิ การออกมาตรการในการธ�ำรง กำ� ลังคนด้านสขุ ภาพทเ่ี หมาะสม รักษาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็ม ทั้งน้ี ความท้าทายท่ีส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย ประสิทธิภาพ รวมถึงการมีกลไกในการวางแผนก�ำลังคน ตามประเด็นปฏิรูป คือ ปัญหาการขาดแคลนซ�้ำซาก ด้านสุขภาพในภาพรวมทั้งระบบ เพ่ือให้สามารถก�ำหนด โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทห่างไกล ที่มีการลาออกของ ทิศทางนโยบายการผลิตก�ำลังคนด้านสุขภาพ ได้อย่าง บุคลากรทางการแพทย์ค่อนข้างสูง รวมถึงสถานการณ์ ถกู ตอ้ ง และเหมาะสม 320

แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสาธารณสุข 07 เรื่องและประเดน็ ปฏิรูปท่ี 4 0704 ระบบบรกิ ารปฐมภูมิ ระบบบริการปฐมภูมิเป็นด่านแรกของการให้บริการด้านสุขภาพ ท่ีเข้าถึงประชาชน มากที่สุด อีกทั้ง เป็นระบบส�ำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตท่ีดีให้กับ ประชาชน บนหลักการของสร้างน�ำซ่อม ซึ่งหากสามารถพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ให้มีมาตรฐาน ตอบสนองกับปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในเบ้ืองต้นได้ จะลดค่า ใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และจ�ำนวนผู้ป่วย ที่เข้ารับการบริการในโรงพยาบาลได้ ประกอบกับ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 258 ช. ด้านอ่ืน ๆ (5) ก�ำหนดให้ด�ำเนินการปฏิรูปประเทศ โดยให้มีระบบการ แพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม ดังนั้น การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ จึงถูกก�ำหนดให้เป็นประเด็นปฏิรูปในแผนการปฏิรูป ประเทศด้านสาธารณสขุ ทมี่ า : หน่วยบริการปฐมภูมแิ ละเครือขา่ ยหน่วยบริการปฐมภมู ิ 321

07 แผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสขุ 0704 ในช่วงที่ผ่านมามีการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญเพื่อขับเคล่ือน ทั้งนี้ แม้ว่าจะมีพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ เป้าหมายของประเด็นปฏิรูป เรื่อง ระบบบริการปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 แลว้ ก็ตาม แตย่ งั มีความท้าทายในการผลักดัน อาทิ การจัดท�ำพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ ให้การด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติ เกิดผลบังคับใช้ พ.ศ. 2562 มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว และมีการน�ำไปสู่การปฏิบัติประกอบกับอัตราส่วนของ เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 ซ่ึงครอบคลุมในการมี แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวต่อประชากรยังมีไม่เพียงพอ คณะกรรมการระบบสุขภาพปฐมภูมิท่ีท�ำหน้าที่ก�ำกับ เป็นผลจากความสนใจในการเรียนแพทย์เวชศาสตร์ ดูแลเชิงนโยบายควบคู่กับก�ำหนดหลักเกณฑ์การให้ ครอบครัวที่ยังมีน้อย และอัตราผลตอบแทนท่ีต่�ำกว่า บริการสุขภาพปฐมภูมิ การพัฒนาระบบสารสนเทศ สาขาวชิ าชีพอืน่ ส�ำหรับเชื่อมโยงข้อมูลเก่ียวกับการบริหารจัดการระบบ ดังน้ัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป สุขภาพปฐมภูมิ และจัดให้มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ประเทศ การพฒั นาและขยายระบบบรกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ และคณะผใู้ หบ้ รกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ใิ นจำ� นวนทเ่ี หมาะสม ให้มีมาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการและ ในการจดั บรกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ รวมถงึ กำ� หนดหลกั เกณฑ์ ความจ�ำเป็นของพื้นท่ี รวมถึงเร่งผลิตบุคลากรทางด้าน และการควบคุมคุณภาพของหน่วยบริการและเครือข่าย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และจัดให้มีค่าตอบแทน บริการปฐมภูมิ จากข้อมูลหน่วยปฐมภูมิและเครือข่าย สวัสดิการ มาตรการจูงใจให้แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ปฐมภูมิ พบว่า ปี 2561 มีหน่วยงานท่ีลงทะเบียน คงอยใู่ นหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิ ได้นานท่สี ุด 369 แห่ง และในปี 2562 มีหน่วยงานท่ีลงทะเบียน 423 แหง่ ทัว่ ประเทศ 322

แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสาธารณสขุ 07 เรอื่ งและประเด็นปฏิรปู ท่ี 5 0705 การแพทย์แผนไทยและ สมนุ ไพรเพื่อเศรษฐกิจ สมุนไพรไทยเป็นเอกลักษณ์ที่สะท้อนวัฒนธรรมของความเป็นไทย ซึ่งสามารถน�ำมาเพ่ิมมูลค่าและ ใช้ประโยชน์ได้หลากหลายด้าน อาทิ ใช้เพ่ือการประกอบอาหาร ยารักษาโรค ผลิตภัณฑ์ความงาม ซึ่งปัจจุบันความต้องการใช้สมุนไพรเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว และเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค จนสามารถสร้างรายได้ทั้งในและต่างประเทศได้อย่างมหาศาล ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ แปรรูป อุตสาหกรรมผลิตยาแผนไทยที่นิยมใช้ในการรักษาในปัจจุบันเพิ่มมากขึ้น จึงก่อให้เกิด การน�ำสมุนไพรไทยมาประยุกต์ใช้ใช้การรักษาคู่ขนานไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน เนื่องจาก สมุนไพรมีต้นทุนท่ีค่อนข้างต่�ำ โดยในปัจจุบันแพทย์แผนไทยถูกน�ำมาใช้ในทางเศรษฐกิจอยู่ 2 ส่วน หลัก ๆ คือ การนวดไทย ท่ีน�ำสมุนไพรมาบ�ำบัดการรักษาและนวดเพื่อส่งเสริมสุขภาพในสถาน ประกอบการตา่ ง ๆ และสมุนไพรแปรรูป ได้แก่ ยา ผลิตภัณฑ์เสรมิ อาหาร และเคร่ืองสำ� อาง ดงั นัน้ จึงจ�ำเป็นต้องปฏิรูปการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ เพ่ือส่งเสริมให้ท้ังภาค อตุ สาหกรรมและเกษตร เจา้ ของภูมิปญั ญาสามารถสรา้ งรายได้ สรา้ งอาชพี ใหก้ บั ประชาชน และใน ดา้ นบริการ ยังสามารถชว่ ยทดแทนการน�ำเขา้ ยาจากต่างประเทศได้ ท้งั นี้ จากข้อมูลใน พ.ศ. 2561 – 2562 มผี ลติ ภณั ฑ์จากสารสกัดสมุนไพรที่สามารถสง่ ออกต่างประเทศถึง 50,000 ล้านบาท ผลติ ภณั ฑจ์ ากสารสกดั สมนุ ไพรที่สามารถส่งออกต่างประเทศ ทม่ี า : กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ 323

07 แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสาธารณสุข 0705 ในช่วงที่ผ่านมาการด�ำเนินงานเพื่อขับเคลื่อน ท้ังน้ี ความท้าทายที่ส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย คือ เปา้ หมายของประเดน็ ปฏริ ปู เรอ่ื ง การแพทยแ์ ผนไทย วัตถุดิบสมุนไพรไทยที่จะนํามาใช้ในการผลิตภัณฑ์ และสมุนไพรได้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมสารสกัด สมนุ ไพรปจั จุบันเรม่ิ หายาก และมรี าคาแพงขน้ึ เนื่องจาก อาทิ จัดท�ำมาตรฐานสมุนไพรสารสกัด 4 รายการ ผู้ผลิตหรือเกษตรยังไม่ได้รับการส่งเสริมเท่าท่ีควร ท�ำให้ มาตรฐานน้�ำมันหอมระเหย 7 รายการ สารสกัด วัตถุดิบบางชนิดยังต้องนําเข้ามาจากต่างประเทศ กัญชาและนวัตกรรมจากสารสกัดจากกัญชา เช่น เพอ่ื นำ� มาในการผลติ ผลติ ภัณฑ์ แผน่ แปะลดปวด ยาเหน็บ (GPO) เปน็ ต้น การพัฒนา ดังน้ัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป ระบบข้อมูลด้านสมุนไพร โดยจัดอบรมเพ่ือน�ำข้อมูล ประเทศควรส่งเสริมการเพราะปลูกพืชสมุนไพรท่ีตรง ท่รี วบรวมจาก รพ. GMP, เจ้าพระยาอภัยภูเบศร และ ต่อความต้องการของตลาดและและศึกษาน�ำเอา GPO ประมวลผลให้เปน็ ฐานขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั สมนุ ไพร นวัตกรรมมาใช้ในการวิจัยและทดลองประโยชน์ของ ไทย การส่งเสริมตลาดสมุนไพรไทย โดยมีการ สมุนไพรท่ีเป็นความต้องการของตลาดเพ่ือหาพืช เสริมการค้าผลิตภัณฑ์สมุนไพรบนดิจิทัล และ สมุนไพรท่ีมีคุณสมบัติใกล้เคียงมารองรับในกรณีท่ีพืช การเจรจาการค้าทงั้ ในผปู้ ระกอบการไทย (68 บริษทั ) สมุนไพรชนดิ นน้ั ขาดตลาด และผู้น�ำเข้าจากตา่ งประเทศ (42 บริษัท) 324

แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสาธารณสุข 07 เร่ืองและประเด็นปฏิรูปท่ี 6 0706 การแพทยฉ์ กุ เฉิน การเข้าถึงระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินได้ทันท่วงทีจะเป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีจะเพิ่มโอกาส การรอดชีวิตของผู้ป่วยมากยิ่งข้ึน ซ่ึงในบางกรณีผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตไม่สามารถเข้าถึงการบริการ การแพทยฉ์ ุกเฉนิ ได้ เนือ่ งจากขอ้ จ�ำกัดเร่อื งพ้นื ท่ขี องสิทธ์กิ ารรักษา จงึ จำ� เป็นต้องมกี ารปฏิรปู ระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน เพ่ือให้ผู้ป่วยทุกคนบนผืนแผ่นดินไทยได้รับการคุ้มครองสิทธิ์ในการเข้าถึงบริการ ระบบการแพทย์ฉุกเฉินอย่างปลอดภัยไม่มีเง่ือนไขในการเก็บค่ารักษาพยาบาล จนพ้นสภาวะวิกฤต ทั้งนี้ จากข้อมูลผู้ป่วยที่ขอรับสิทธิ์การเข้ารับการรักษาในกรณีฉุกเฉิน ในปี 2561 โดยสถาบันการ แพทยฉ์ กุ เฉนิ แหง่ ชาติ พบวา่ มผี ปู้ ว่ ยจำ� นวน 41,917ราย ยนื่ ขอรบั การใชส้ ทิ ธต์ิ ามนโยบายเจบ็ ปว่ ยวกิ ฤต มีสิทธ์ิทุกที่ (Universal Coverage for Emergency Patients : UCEP) และได้รับการอนุมัติ ให้ใช้สทิ ธ์ิ UCEP แลว้ 29,313 ราย ผู้ป่วยท่ขี อรบั การใช้สิทธ์ิ (UCEP) ทม่ี า : สถาบันการแพทยฉ์ กุ เฉนิ แห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข 325

07 แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสาธารณสุข 0706 ในช่วงท่ีผ่านมาการด�ำเนินงานเพื่อขับเคลื่อน ทั้งนี้ ความท้าทายที่ส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย คือ เป้าหมายของประเด็นปฏิรูป เรื่อง ระบบการแพทย์ การประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในระบบ ฉุกเฉิน เป็นการด�ำเนินงานท่ีเก่ียวกับการให้ความรู้ การแพทย์ฉุกเฉินอาจจะยังมีข้อจ�ำกัดและไม่ครอบคลุม ในการดูแลตนเองและผู้ป่วยเพื่อให้สามารถดูแล ซ่ึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ ตนเองและช่วยเหลือผู้อ่ืนในกรณีฉุกเฉินได้อย่าง และความแม่นย�ำของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ท้ังในส่วน ถกู ตอ้ ง รวมท้งั มกี ารพัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉินมา ของการแจ้งพิกัดต�ำแหน่งแหล่งเกิดเหตุ การประเมิน อยา่ งต่อเน่ือง โดยเนน้ การบรกิ ารผ้ปู ่วยวกิ ฤตทเี่ ขา้ รับ ระยะเวลาเดินทาง การประเมินการช่วยเหลือเบื้องต้น การรักษา ซ่ึงประกอบด้วย 4 ด้าน ไดแ้ ก่ การดแู ลทาง เป็นต้น เ ดิ น ห า ย ใ จ ก า ร ใ ห ้ ส า ร น�้ ำ ก า ร ห ้ า ม เ ลื อ ด ดังนั้น เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป และการส่งต่อผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน โดยมีจังหวัด ควรให้ความส�ำคัญกับการสร้างการตระหนักรู้ให้กับ ที่มีการเข้ารับการบริการมากที่สุด 5 อันดับ ได้แก่ ประชาชนเก่ียวกับการเจ็บป่วยฉุกเฉิน รวมทั้งการใช้ กรุงเทพมหานคร พิษณุโลก ชลบุรี สมุทรปราการ เทคโนโลยีในการติดต่อส่ือสารในกรณีท่ีเกิดเหตุฉุกเฉิน และร้อยเอ็ด ส่งผลให้ผู้ป่วยวิกฤตได้รับการบริการ อาทิ การขอรับความช่วยเหลือผ่านหมายเลข อยา่ งทวั่ ถงึ เท่าเทยี ม และลดอัตราการตายของผู้ปว่ ย เบอร์โทรศัพท์ การขอรับการช่วยเหล่ือผ่านแอปพลิเคช่ัน ได้ ในขณะที่ผู้ปฏิบัติการหรือเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลมีความ เช่น Thai EMS1669 หรือผ่านช่องทางอื่น ๆ ท่เี หมาะสม ม่ันใจในการปฏิบัติงานการแพทย์ฉุกเฉินโดยได้อย่าง ในเบ้ืองตน้ มีประสิทธภิ าพ 326

แผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นสาธารณสุข 07 เรอ่ื งและประเดน็ ปฏิรูปท่ี 7 0707 การสร้างเสริมสขุ ภาพและการปอ้ งกันโรค การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคจะน�ำไปสู่การมีสุขภาวะท่ีดี ลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ที่สามารถป้องกันได้ ซ่ึงประชาชนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและวิธีปฏิบัติ ในการส่งเสริมสุขภาพ เพ่ือน�ำไปสู่การปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาวะที่ดีได้อย่างถูกต้อง แตใ่ นปจั จบุ นั การเผยแพรแ่ ละใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั การปอ้ งกนั การเกดิ โรคหรอื การสง่ เสรมิ โรคตา่ ง ๆ นน้ั ยังขาดรูปแบบการท�ำงานที่บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง ส่งผลให้ประชาชน เกิดความสบั สนในการรบั ข้อมลู ขา่ วสาร ดงั น้นั จึงจำ� เป็นต้องปฏิรูประบบการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและ การป้องกันโรค เพ่ือให้ประชาชนทุกช่วงวัยสามารถเข้าถึงข่าวสารท้ังการป้องกันโรคหรือการรับ ข่าวสารท่ีจ�ำเป็นที่เก่ียวกับข้อมูลด้านสุขภาพได้อย่างถูกต้อง ทั้งนี้มีตัวอย่างจากข้อมูล โดย CEOWORLD นิตยสารด้านธุรกิจของสหรัฐอเมริกา ซ่ึงระบุว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มีระบบ สุขภาพดที ี่สุดเป็นล�ำดบั ท่ี 6 ประจำ� ปี 2562 โดยพจิ ารณาจากปัจจยั ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ โครงสรา้ งพ้ืนฐาน ด้านสาธารณสุข ประสิทธิภาพของบุคลากร ค่าใช้จ่ายการรักษาในระบบ การเข้าถึงยาที่มีคุณภาพ และความพร้อมของรฐั บาลในการจดั การระบบ Rank Country c(aOHreveeainrlatdhlel)x Infrastructure Professionals Cost AMvaeidlaicbiinliety 1 Taiwan 78.72 87.16 14.23 83.59 82.3 79.05 13.06 78.39 78.99 2 South Korea 77.7 3 Japan 74.11 90.75 30.01 82.59 92.06 4 Austria 71.32 86.18 20.25 72.99 88.23 5 Denmark 70.73 78.77 21.6 74.88 74.18 6 Thailand 67.99 92.58 17.37 96.22 67.51 7 Spain 65.38 77.86 13.24 71.82 55.1 8 France 64.66 86.28 34.25 75.81 83.82 24.51 68.68 64.78 9 Belgium 64.63 72.48 10 Australia 61.73 88.63 14.66 75.61 90.85 ท่มี า : CEOWORLD magazine Health Care Index 2019 327

07 แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสาธารณสุข 0707 ในช่วงท่ีผ่านมาการด�ำเนินงานเพ่ือขับเคล่ือนเป้าหมาย ท้ังน้ี ความท้าทายที่ส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย คือ ของประเด็นปฏิรูป เร่ือง การสร้างเสริมสุขภาพและ ขาดกลไกการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก า ร ป ้ อ ง กั น โ ร ค เ ป ็ น ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น ใ น ลั ก ษ ณ ะ เน่ืองจากการเก็บข้อมูลหรือวินิจฉัยโรคในเบื้องต้นน้ัน ของการพัฒนาห้องปฏิบัติการของประเทศ ซึ่งเป็น ต้องอาศัยการบูรณาการข้อมูลร่วมกัน เพ่ือช่วยในการ หน่วยงานกลางในการติดตามผลการด�ำเนินการและ ติดตามประชาชนให้ได้รับความม่ันใจว่าได้รับข่าวสาร การบูรณาการก�ำหนดมาตรฐานและพัฒนาศักยภาพ ที่ถูกต้องจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ รวมท้ังหลายประเด็น ทางหอ้ งปฏิบัตกิ ารของประเทศ และภมู ิภาคเอเชียในการ ในการรวบรวมข้อมูลยังขาดหน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพหลัก ตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อเฝ้าระวัง โรคติดต่ออันตราย ในการดูแลข้อมูลและประสานงานระหว่างหน่วยงาน หรือโรคระบาด โดยเชื่อมโยงเครือข่ายห้องปฏิบัติการ ท่ีเก่ียวข้องในขับเคล่ือนการส่งเสริมสุขภาพและ ภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาให้ทีมเฝ้าระวังข้อมูลการ การป้องกนั โรคให้บรรลเุ ป้าหมาย วินิจฉัยโรคต่าง ๆ มคี วามรู้ท่ถี ูกต้องและสามารถเกบ็ และ ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป น�ำส่งตัวอย่างที่มีคุณภาพเพ่ือประสานงานและเผยแพร่ ป ร ะ เ ท ศ ค ว ร ด� ำ เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ป ฏิ รู ป ที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ ข้อมูลข่าวสารให้แก่ประชาชนให้ได้รับข้อมูลข่าวสารและ ต่อเป้าหมาย ควรเร่งรัดการด�ำเนินการในการส่งเสริม วิธีป้องกันปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง โดยอยู่ระหว่างการ และการป้องกันโรคร่วมกันเพื่อให้การพัฒนาระบบ พัฒนาและขยายไปสู่โรคไม่ติดต่อ และโรคจากการ มีข้อมูลที่บูรณาการมีความครอบคลุมและสามารถน�ำไป ประกอบอาชพี เชน่ การตรวจควนั บหุ รี่ เปน็ ตน้ นอกจากน้ี ใช้ประโยชน์เพ่ือการพัฒนาปรับปรุงงานในทุกระดับ ได้ด�ำเนินการการปรับปรุงโครงสร้างการท�ำงานด้านการ ให้ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการจัดการเฝ้าระวังโรคและ ส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ทั้งโครงสร้างภายใน ภัยสขุ ภาพ และขอ้ มูลสนบั สนุนอื่น ๆ ต่อไป กระทรวงสาธารณสุขที่มีภารกิจคล้ายคลึงกัน โครงสร้าง ระดับเขต ระดับจังหวัด ทบทวนภารกิจและจ�ำนวน บุคลากรที่เหมาะสมกับงานยุบรวมหน่วยงานที่มีภารกิจ คลา้ ยคลึงกนั ไวด้ ว้ ยกัน อาทิ กรมอนามัย กรมควบคมุ โรค สถาบนั โรคทรวงอก สถาบนั มะเร็งแหง่ ชาติ สถาบนั วัคซีน แห่งชาติ และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข และ ปรับปรุงระบบงบประมาณของการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค โดยการจัดสัดส่วนงบประมาณใน การด�ำเนินงานท่ีเหมาะสม และปรับปรุงกฎระเบียบ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดสรรงบประมาณที่สอดคล้องกับ นโยบายของประเทศ 328

แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นสาธารณสุข 07 เร่อื งและประเด็นปฏริ ูปท่ี 8 0708 ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ ในปัจจุบันประชาชนจ�ำนวนมากป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง (NCDs) เช่น โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู โรคอว้ น และมแี นวโนม้ เพมิ่ มากขนึ้ เปน็ จำ� นวนมาก ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีไม่ถูกต้อง การขาดความรอบรู้ ด้านสุขภาพ ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลภาครัฐเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง ทุกปี ขณะเดียวกันภาษาที่ใช้ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเป็นภาษาที่ค่อนข้างยาก ต่อการท�ำความเข้าใจ ดังน้ัน จึงจ�ำเป็นต้องปฏิรูปความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้ คนไทยสามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลสขุ ภาพทจี่ ำ� เปน็ และประมวลข้อมลู สขุ ภาพเพ่ือใช้ในการ ประกอบการตัดสินใจในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง ท้ังนี้ คะแนนเฉลี่ย ความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่า ภาพรวมอยู่ที่ 88.71 คะแนน จากคะแนนเต็ม 136 คะแนน สะท้อนให้เห็นว่าคนไทยมีความรอบรู้ ดา้ นสขุ ภาพอยใู่ นระดบั ปานกลาง ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 329

07 แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นสาธารณสขุ 0708 ในช่วงที่ผ่านมาการด�ำเนินงานเพ่ือขับเคล่ือนเป้าหมาย ท้ังน้ี ความท้าทายที่ส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย คือ ของประเด็นปฏิรูป เร่ือง ความรอบรูด้ ้านสุขภาพ เป็นการ การขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญและหน่วยงานท่ีท�ำหน้าที่ ด�ำเนินงานท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบส่ือสารสุขภาพ คดั กรองข้อมลู ดา้ นสุขภาพท่ีถกู ต้อง และรวดเร็ว และทำ� โดยมีการประสานงานกับส่ือสารมวลชน เช่น บริษัท หน้าท่ีตอบโต้ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ถูกต้องได้ทันท่วงที อสมท จ�ำกัด (มหาชน) องค์การกระจายเสียงและแพร่ รวมท้ังรูปแบบและการตอบสนองเร่ืองข้อมูลข่าวสารและ ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการ ค ว า ม ร อ บ รู ้ สุ ข ภ า พ ท่ี เ ข ้ า ถึ ง ก ลุ ่ ม ป ร ะ ช า ช น ยั ง ไ ม ่ กิ จ ก า ร ก ร ะ จ า ย เ สี ย ง กิ จ ก า ร โ ท ร ทั ศ น ์ แ ล ะ กิ จ ก า ร เพียงพอ เน่ืองจากมีประชาชนบางกลุ่มมีข้อจ�ำกัดเรื่อง โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เป็นต้น ซึ่งมีการเผยแพร่ ทักษะการสืบคน้ และคน้ หาข้อมลู ข้อมูลสาธารณะสุขภาพ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ดังนั้น เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป ความรอบรู้ด้านสุขภาพให้กับประชาชน การพัฒนา ควรด�ำเนินกิจกรรมปฏิรูปท่ีมีนัยส�ำคัญต่อเป้าหมาย ระบบการสาธารณสุข โดยกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับ โดยการกระตุ้น ส่งเสริม และสนับสนุนให้คนในชุมชน กระทรวงศึกษาธิการได้พัฒนาการเรียนการสอนวิชา มีบทบาทหรือเป็นสมาชิกของกลุ่มชมรมในชุมชน สุขศึกษาเรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพภายในโรงเรียน เน่ืองจากผู้ที่มีบทบาทในชุมชนจะสามารถน�ำข้อมูล รวมทั้งส่งเสริมให้บรรจุเร่ืองความรอบรู้ด้านสุขภาพไว้ใน ข่าวสารท่ีถูกต้องไปเผยแพร่ให้กับบุคคลใกล้เคียงในกรณี ห ลั ก สู ต ร ค ณ ะ ส า ธ า ร ณ สุ ข ใ น ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ท่ีบางกลุ่มท่ียังมีจุดอ่อนทางเทคโนโลยีอยู่ ควบคู่ไปกับ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา หน่วยงานทุกระดับควรพัฒนาช่องทางการเข้าถึงข้อมูล มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาวะตนเองได้ใน และบริการท่ีน่าเชื่อถือและเหมาะสมกับผู้ท่ีมีความรอบรู้ เบ้ืองต้น และสามารถช่วยเหลือผู้อื่นท่ีไม่สามารถเข้าถึง ด้านสุขภาพไม่เพียงพอ ประชาสัมพันธ์ช่องทาง อธิบาย ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพได้ นอกจากนี้ มกี ารพฒั นากำ� ลงั คน ข้ันตอนการเข้าถึงข้อมูลและบริการ และกระตุ้นให้ผู้ใช้ ด้านการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยจัดหลักสูตร บริการที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพไม่เพียงพอเข้าถึงข้อมูล อ ง ค ์ ก ร ค ว า ม ร อ บ รู ้ ด ้ า น สุ ข ภ า พ ส� ำ ห รั บ ผู ้ บ ริ ห า ร ขา่ วสารและความรสู้ ขุ ภาพจากแหลง่ ความรทู้ ห่ี ลากหลาย โดยมหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยขอนแก่น และมคี วามนา่ เชอื่ ถอื ใกลช้ มุ ชนของตนเอง เพื่อให้เกิดการตระหนักรู้และสร้างวัฒนธรรมในการ สอื่ สารกบั ผปู้ ว่ ยและบคุ คลรอบขา้ งไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ท้ังการสื่อสารด้วยวาจา และการสื่อสารด้วยสื่อต่างๆ ด้วยภาษาที่บุคคลท่ัวไปสามารถเข้าใจในข้อมูลสุขภาพได้ 330

แผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสขุ 07 เรื่องและประเด็นปฏริ ปู ท่ี 9 0709 การค้มุ ครองผู้บรโิ ภคด้านสุขภาพ ทมี่ า : ส�ำนกั งานคณะกรรมการคุ้มครอง ผูบ้ รโิ ภคกระทรวงสาธารณสุข ปัจจุบันผู้บริโภคมีความเสี่ยงสูงในการบริโภคผลิตภัณฑ์และบริการ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมท้ังในเร่ืองคุณภาพและราคา จ�ำเป็นต้องปฏิรูปการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เพ่ือให้เกิด การจัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพท่ีครอบคลุมตั้งแต่นโยบายการค้า กฎหมาย ผู้บริโภค ผู้ประกอบวิชาชีพ กระบวนการเยียวยาผู้บริโภคท่ีได้รับความเสียหายจากสินค้าและงบประมาณส�ำหรับการจัดท�ำระบบคุ้มครองผู้บริโภค ไปจนถึงการมีมาตรการในการควบคุมมาตรฐานของสินค้าและบริการท่ีถูกต้องและเป็นธรรม รวมท้ังการท�ำให้ผู้บริโภค มีความรอบรู้เท่าทันส่ือและส่ิงโฆษณาเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ อาทิ อาหารเสริม ยาลดน�้ำหนัก เพ่ือป้องกัน เกดิ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพและทรพั ย์สนิ ในช่วงท่ีผ่านมาการด�ำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายของประเด็นปฏิรูป เรื่อง การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เป็นการด�ำเนินการทบทวนกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค มีการเฝ้าระวังก�ำกับและตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ สถานประกอบการ และการโฆษณา รวมท้ังผลอันไม่พึงประสงค์ของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนมีการ ติดตามหรือเฝ้าระวังข้อมูลข่าวสารด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพจากภายในประเทศและภายนอกประเทศ และจัดระบบเยียวยา ผู้เกี่ยวขอ้ งทไี่ ดร้ ับผลกระทบจากการบริการด้านสุขภาพ ให้ไดร้ ับความเปน็ ธรรม เหมาะสม และทนั ท่วงที และจัดให้มีการ ส่งเสรมิ ให้ผู้รับบริการด้านสขุ ภาพรูเ้ ทา่ ทัน เกี่ยวกบั การคุ้มครองการใหบ้ ริการ และการเตอื นภยั สุขภาพเทา่ ที่ควรระวงั ทง้ั นี้ ความทา้ ทายทส่ี ำ� คญั ในการบรรลเุ ปา้ หมาย คอื ผบู้ รโิ ภคบางกลมุ่ ยงั ขาดขอ้ มลู ทจ่ี ำ� เปน็ และเพยี งพอในการตดั สนิ ใจ ในการเลือกใช้บริการด้านสุขภาพและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ขณะเดียวกันหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องยังขาดการท�ำงานเชิงรุกใน การคุ้มครองผู้บรโิ ภคสง่ ผลใหเ้ กิดจ�ำนวนผรู้ ้องเรยี นไมไ่ ดร้ ับความเปน็ ธรรมเพ่ิมขึ้น ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป ควรด�ำเนินกิจกรรมปฏิรูปที่มีนัยส�ำคัญต่อเป้าหมาย โดยเร่งรัด ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคให้มีมาตรฐานตามสากล รวมทั้งค�ำนึงถึงการบังคับใช้กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับผู้บริโภคให้ได้ รับความเป็นธรรม และเท่าเทียม นอกจากนี้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ควรกระตุ้นให้ผู้ผลิตมีจิตส�ำนึกที่ดีในการให้คุณภาพ การใหบ้ รกิ าร และคณุ ภาพของงานเกิดประสทิ ธิภาพสงู สุด 331

07 แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นสาธารณสขุ 0710 เรอ่ื งและประเด็นปฏริ ปู ท่ี 10 ระบบหลักประกนั สขุ ภาพ ประเทศไทยประสบความส�ำเร็จอย่างสูงในการจัดระบบหลักประกันสุขภาพที่ครอบคลุมคนไทยทุกคน แต่ยังมีความแตกต่างของสิทธิประโยชน์ ขณะเดียวกันรายจ่ายของระบบหลักประกันมีแนวโน้มสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง โดยภาระการคลังจากระบบหลักประกันสุขภาพมีแนวโน้มเพ่ิมอย่างต่อเน่ือง จาก 204,592 ล้านบาท ใน ปี 2561 เป็น 245,378 ล้านบาท ใน ปี 2565 ดังน้ัน จึงจ�ำเป็นต้องมี การปฏริ ูประบบหลักประกนั สุขภาพ เพื่อให้ประชาชนเข้าถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ ทจ่ี ำ� เป็นอย่างมีคุณภาพ โดยที่ภาครัฐสามารถบรหิ ารจดั การค่าใชจ้ า่ ยดา้ นหลักประกนั สุขภาพได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ การคาดการณ์ภาระทางการคลังจากระบบหลกั ประกันสุขภาพของไทย (หน่วย: ล้านบาท) ข้าราชการ ประกันสงั คม หลักประกนั สุขภาพถ้วนหน้า ทม่ี า : ส�ำนักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ในช่วงท่ีผ่านมาการด�ำเนินงานเพ่ือขับเคลื่อนเป้าหมายของประเด็นปฏิรูป เรื่อง ระบบหลักประกัน สุขภาพ มุ่งให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินงานในการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์หลักและชุดสิทธิ ประโยชน์เสริมเพื่อให้ผู้ประกันตนทุกคนมีชุดสิทธิประโยชน์ท่ีเหมาะสมตามความจ�ำเป็น ตอบสนอง ความต้องการด้านสุขภาพของแต่ละบุคคลได้อย่างตรงจุด โดยในปี 2561 – 2562 มีสถานพยาบาล ท่ีเข้าร่วมโครงการท้งั หมด จำ� นวน 238 แห่ง แบ่งเป็นสถานพยาบาลของรัฐจ�ำนวน 160 แห่ง และสถาน พยาบาลเอกชนจ�ำนวน 78 แห่ง หากสามารถขยายความครอบคลุมได้อย่างทั่วถึงต่อความต้องการ จะส่งผลให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ตรงตามความต้องการของตนเอง และในส่วน ของภาครัฐจะสามารถก�ำหนดกลไกในการจัดการระบบหลักประกันสุขภาพได้อย่างครอบคลุม อนั จะน�ำไปส่กู ารไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ภาระของภาครัฐมากจนเกินไป 332

แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นสาธารณสขุ 07 0710 ทั้งนี้ ความท้าทายท่ีส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป ของการปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพ คือ ความย่ังยืน จึงควรให้ความส�ำคัญกับการปรับปรุงและยกระดับ ของงบประมาณด้านสุขภาพ เนื่องด้วยประเทศไทย ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ส ถ า น พ ย า บ า ล ก�ำลังเผชิญกับการเปล่ียนแปลงทางโครงสร้างประชากรท่ีมี การก�ำหนดชุดสิทธิประโยชน์ที่เหมาะสม ควบคู่กับการ จ�ำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยคาดการณ์ว่า ศึกษาหาแนวทางเพ่ือจัดหาแหล่งเงินอื่นสนับสนุนนอกจาก ในปี 2566 ประเทศไทยจะเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัย เงินรายได้จากภาครัฐ ตลอดจนเร่งส่งเสริมให้ประชาชน อย่างสมบูรณ์หรือมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 20 มคี วามตระหนกั รู้ในการดูแลสขุ ภาพของตนเอง ซ่ึงจะนำ� ไป ของประชากรทั้งหมด ซึ่งการเพ่ิมขึ้นของผู้สูงอายุ สู่การมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตท่ีดี มีการใช้บริการด้าน จะยง่ิ ทำ� ใหค้ วามตอ้ งการการบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพเพม่ิ มากขนึ้ สขุ ภาพทล่ี ดลง ขณะทภี่ าครฐั สามารถบรหิ ารจดั การคา่ ใชจ้ า่ ย ประกอบกับ ประชากรไทยยังมีการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ ดา้ นหลักประกนั สุขภาพไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ไม่เรื้อรังมากขึ้น ซึ่งเป็นโรคท่ีมีการใช้บริการด้านสุขภาพ และมีค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพท่ีสูงและต่อเน่ือง น�ำไปสู่การ เพ่ิมข้ึนของภาระทางการคลังของภาครัฐในการดูแลด้าน สขุ ภาพของประชาชน 333

แผนการปฏริ ปู ประเทศ 08 ดา้ นส่อื สารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ยุ ทธ ศา ส ต ร ช า ติ ด า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ความม่ันคง การพัฒนา การสรางโอกาส การปรับสมดลุ และ และเสรมิ สรางศกั ยภาพ และความเสมอภาค พัฒนา ทรพั ยากรมนุษย ทางสังคม ระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ “ ดลุ ยภาพระหวา่ งเสรีภาพของการท�ำหน้าท่ีสอ่ื บนความรับผดิ ชอบ กับการกำ� กบั ทม่ี คี วามชอบธรรม การด�ำรงรกั ษาเสรีภาพ ในการรบั รขู้ องประชาชน และการให้ส่อื เปน็ โรงเรยี นของสังคม ”

แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสอ่ื สารมวลชน 08 เทคโนโลยสี ารสนเทศ การสอ่ื สารมวลชนและเทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ เครอื่ งมือ ด้วยเหตุน้ีจึงเป็นที่มาของการจัดท�ำแผนการปฏิรูป ส�ำคัญของประเทศในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ประเทศดา้ นสือ่ สารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทไ่ี ดม้ ี สู่ประชาชนทุกระดับในวงกว้าง สร้างบรรทัดฐานและ การก�ำหนดเร่ืองและประเด็นปฏิรูป ทั้งส้ิน 6 ประเด็น ค่านิยมของสังคม ท้ังน้ี ในปัจจุบันสื่อสารมวลชนของ ได้แก่ (1) การปฏิรูปการรู้เท่าทันส่ือของประชาชน ประเทศไทยก�ำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง (2) แนวทางการสง่ เสรมิ จรยิ ธรรมและมาตรฐานวชิ าชพี สอ่ื โดยมสี ถานการณแ์ ละแนวโนม้ ทส่ี ำ� คญั อาทิการเปลยี่ นแปลง (3) การปฏริ ปู โครงสรา้ งอตุ สาหกรรมสอื่ สารมวลชนและ ทางเทคโนโลยดี า้ นการสอื่ สาร สง่ ผลกระทบตอ่ อตุ สาหกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ (4) การปฏริ ปู แนวทางการกำ� กบั สื่อโดยรวมที่ต้องแข่งขันและเพิ่มประสิทธิภาพให้สอดรับ ดูแลสื่อออนไลน์ (5) การปฏิรูปการบริหารจัดการ กบั เทคโนโลยดี งั กลา่ ว ทง้ั ในแงข่ องคณุ ภาพของเนอื้ หาสาระ ความปลอดภยั ไซเบอร์ / กจิ การอวกาศ และระบบและ ต้นทุน และรายได้จากการด�ำเนินการ การเปลี่ยนแปลง เครื่องมือด้านการสื่อสารมวลชนและโทรคมนาคม บทบาทของผู้บริโภคส่ือกลายเป็นผู้ผลิตส่ือ สืบเนื่องจาก เพื่อสนับสนุนภารกิจการป้องกันบรรเทาสาธารณภัยฯ การพัฒนาทางเทคโนโลยีข้างต้น ผู้บริโภคส่ือสามารถ และ (6) การปฏริ ปู ระบบการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ขา่ วสาร เป็นทั้งผู้รับและเป็นผู้คิดหรือส่ือสารส่งต่อข้อมูลออกไป ภาครฐั ท้ังน้ี แผนการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน การเปลยี่ นแปลงจรยิ ธรรมในการทำ� หนา้ ทขี่ องสอ่ื ในบางกรณี เทคโนโลยีสารสนเทศมีเป้าหมายรวม ซ่ึงประกอบด้วย ส่ือยังขาดจริยธรรมในการท�ำหน้าที่ ท�ำให้มีการเสนอ (1) การมุ่งเน้นการสร้างดุลยภาพระหว่างเสรีภาพ ข่าวสารที่อาจไม่เหมาะสมหรืออาจไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ ของการท�ำหน้าที่ของสื่อบนความรับผิดชอบกับการ ส�ำหรับสาธารณชน รวมท้ัง ประเด็นความรู้เท่าทันส่ือ ก�ำกับที่มีความชอบธรรม และการใช้พื้นท่ีดิจิทัลเพ่ือการ ของประชาชน ความสามารถในการแยกแยะคณุ ภาพของสอื่ สื่อสารอย่างมีจรรยาบรรณ ด�ำรงรักษาเสรีภาพของการ และขอ้ มลู ขา่ วสารทเี่ ปน็ โทษ ไมเ่ ปน็ ประโยชน์ หรอื ขา่ วลวง แสดงออก การรับรู้ของประชาชน ด้วยความเชื่อว่า ของประชาชนไทย เสรีภาพของการสื่อสารคือเสรีภาพของประชาชน ตามแนวทางของประชาธปิ ไตย และ (2) สื่อเปน็ โรงเรียน ของสังคม ในการให้ความรู้แก่ประชาชน ปลูกฝัง วฒั นธรรมของชาติ และปลูกฝังทัศนคติท่ีดี ประเดน็ ทา้ ทายและขอ้ เสนอแนะ เพื่อให้เป้าหมายของการปฏริ ูปสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีและสารสนเทศ ในการสร้างดุลยภาพระหว่างเสรภี าพของการ ทำ� หนา้ ทสี่ อ่ื บนความรบั ผดิ ชอบกบั การกำ� กบั ทม่ี คี วามชอบธรรม และการใชพ้ นื้ ทดี่ จิ ทิ ลั เพอื่ การสอ่ื สารอยา่ งมจี รรยาบรรณ รวมทั้งการให้สื่อเป็นโรงเรียนของสังคม มีความท้าทายที่ส�ำคัญ สรุปได้ดังน้ี (1) ความรู้เท่าทันสื่อของประชาชน เพอื่ ให้ประชาชนในแตล่ ะกลมุ่ วยั สามารถเขา้ ถงึ เข้าใจ ประเมินข้อมลู ขา่ วสารได้ทนั กบั ปรมิ าณและความรวดเร็วท่เี พม่ิ มากขึ้น (2) จริยธรรมของส่ือมวลชน เพ่ือยกระดับมาตรฐานวิชาชีพส่ือมวลชนและส่งเสริมให้ส่ือมวลชนสร้างสรรค์ สาระข่าวสารที่มีคุณภาพและเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ และ (3) การให้ข้อเท็จจริงและเสรีภาพในการส่ือสาร จากภาครัฐ เพ่ือให้ประชาชนทราบข้อมูลที่จ�ำเป็น ถูกต้อง ทันสมัย และทันการณ์ รวมทั้งเพ่ือให้สื่อมวลชน มอี ิสระในการท�ำหน้าที่ บนความรบั ผิดชอบกบั การกำ� กับกันเอง 335

08 แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นสือ่ สารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ สรปุ การดำ� เนนิ งานของเรอื่ งและประเดน็ ปฏริ ปู 0801 เรอ่ื งและประเด็นปฏิรูปที่ 1 การปฏิรปู การรเู้ ท่าทนั สอ่ื ของประชาชน มีกิจกรรมหลัก คือ การบรรจุสาระเก่ียวกับ “การรู้เท่าทันส่ือ” ในหลักสูตรให้กับนักเรียนและนักศึกษา โดยกระทรวง ศึกษาธิการ และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม นอกจากน้ี หน่วยงานภาครัฐอ่ืน ๆ อาทิ กระทรวงดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม (ดศ.) กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) ส�ำนกั งานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) กรมประชาสัมพันธ์ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัย และสรา้ งสรรค์ และสถาบนั การศึกษาภาครฐั ได้มีการดำ� เนนิ การสร้างความรู้เทา่ ทนั ส่อื ในกลุ่มประชาชนทัว่ ไป เร่อื งและประเด็นปฏิรปู ท่ี 2 แนวทางการส่งเสริมจรยิ ธรรมและมาตรฐานวิชาชีพสอื่ 0802 มีกิจกรรมหลัก คือ การจัดท�ำร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมจริยธรรมและมาตรฐานวิชาชีพส่ือมวลชน พ.ศ. .... ซึ่งกรมประชาสัมพันธ์ร่วมกับคณะกรรมการด�ำเนินการปฏิรูปกฎหมายในระยะเร่งด่วนยกร่างและผ่านการตรวจ พิจารณาโดยคณะกรรมการกฤษฎีกา และอยู่ระหว่างการยืนยันร่างกฎหมายและเสนอตามข้ันตอนต่อไป นอกจากน้ี กรมประชาสัมพันธ์ร่วมกับองค์กรวิชาชีพส่ือได้จัดท�ำ “คู่มือและแนวทางปฏิบัติส่ือในภาวะวิกฤต” เพ่ือเป็นกรอบ การปฏิบัติวิชาชีพของส่ือมวลชนในการด�ำเนินงานในสถานการณ์ที่รุนแรงและมีความอ่อนไหวสูง โดยใช้ การถอดบทเรยี นจากเหตุการณก์ ารช่วยเหลือกล่มุ นักกฬี าเยาวชนจากถ�้ำหลวง อ�ำเภอขนุ นำ้� นางนอน จังหวดั เชียงราย เร่อื งและประเดน็ ปฏิรปู ที่ 3 การปฏิรปู โครงสรา้ งอุตสาหกรรมสือ่ สารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเท0ศ803 มกี จิ กรรมหลกั ในการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งอตุ สาหกรรมสอื่ สารมวลชน ไดแ้ ก่ การปรบั ปรงุ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจาย เสียงและกิจการโทรทัศน์ ซึ่งส�ำนักงาน กสทช. อยู่ระหว่างการด�ำเนินการโดยมุ่งเน้นการบริหารจัดการทรัพยากร คลน่ื ความถที่ ม่ี อี ยจู่ ำ� กดั ใหม้ กี ารใชง้ านอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตรงตามความตอ้ งการในปจั จบุ นั ผา่ นการปรบั ปรงุ แผนแมบ่ ท กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ฉบับที่ 2 และประกาศส�ำนักงาน กสทช. เร่ืองหลักเกณฑ์วิธีการและเง่ือนไข การเรยี กคนื คลนื่ ความถที่ ไี่ มไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชน์ หรอื ใชป้ ระโยชนไ์ มค่ มุ้ คา่ หรอื นำ� มาใชป้ ระโยชนใ์ หค้ มุ้ คา่ ยงิ่ ขน้ึ นอกจากน้ี กรมประชาสมั พนั ธไ์ ดม้ กี ารดำ� เนนิ การปฏริ ปู โครงสรา้ งองคก์ รสอื่ ของรฐั โดยพจิ ารณายกรา่ งแผนการปฏริ ปู สถานโี ทรทศั น์ แหง่ ประเทศไทย (NBT) ใหม้ กี ารจดั สรรชว่ งเวลาใหห้ นว่ ยงานภาครฐั และภาคประชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการเปน็ ผผู้ ลติ รายการ เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพในการผลติ เนอ้ื หาทตี่ อบสนองความตอ้ งการของภาครฐั และภาคประชาชน 0804 เรื่องและประเด็นปฏิรปู ที่ 4 การปฏิรูปแนวทางการกำ� กบั ดูแลสื่อออนไลน์ มีกิจกรรมในการเพ่ิมประสิทธิภาพการก�ำกับตรวจสอบการใช้สื่อออนไลน์ที่ไม่เหมาะสม โดยกองบังคับการปราบปราม การกระท�ำความผิดเก่ียวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ปอท.) ได้ด�ำเนินการเตรียมความพร้อมบุคลากรและพัฒนา อุปกรณ์ให้สามารถปฏิบัติงานในการก�ำกับดูแลส่ือออนไลน์ได้ อาทิ โครงการศูนย์ข้อมูล Big Data และวิเคราะห์ อาชญากรรมทางเทคโนโลยี ตลอดจนการสบื สวน ตดิ ตาม และยนื ยนั ตวั ตนผกู้ ระทำ� ผดิ ทางอนิ เตอรเ์ นต็ รวมทง้ั กระทรวง ดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ไดจ้ ดั ตง้ั ศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอมประเทศไทย เพอ่ื รว่ มกบั หนว่ ยงานภาครฐั ในการจดั การ ขอ้ มลู ขา่ วสารผา่ นสอ่ื ออนไลนท์ ม่ี ผี ลตอ่ ประชาชนในวงกวา้ ง กระทบตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ประชาชน เพอื่ ใหเ้ กดิ การรบั รู้ ข้อมูลที่ถูกต้องและเผยแพร่ต่ออย่างรู้เท่าทันส่ือ นอกจากนี้ ส�ำนักงาน กสทช. ได้พัฒนาระบบตรวจสอบข้อมูล และคมุ้ ครองขอ้ มลู ออนไลนข์ องประชาชน ดว้ ยโครงการบรหิ ารจดั การระบบการลงทะเบยี นผใู้ ชบ้ รกิ ารโทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ ด้วยระบบอัตลักษณ์ เป็นระบบส�ำหรับลงทะเบียนและยืนยันตัวตนของผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคล่ือนท่ีก่อนใช้เลขหมาย เพอ่ื ปอ้ งกนั การลกั ลอบโจรกรรมขอ้ มลู หรอื การนำ� บตั รประชาชนผอู้ นื่ ไปจดทะเบยี นซมิ การด์ และนำ� ไปกอ่ เหตใุ นทางทม่ี ชิ อบ 336

แผนการปฏิรูปประเทศด้านส่อื สารมวลชน 08 เทคโนโลยีสารสนเทศ 0805 เรอื่ งและประเดน็ ปฏริ ปู ที่ 5 การปฏริ ปู การบรหิ ารจดั การความปลอดภยั ไซเบอร์ / กจิ การอวกาศ และระบบ และเครอ่ื งมอื ดา้ นการสอื่ สารมวลชนและโทรคมนาคมเพอื่ สนบั สนนุ ภารกจิ การปอ้ งกนั บรรเทาสาธารณภยั ฯ มกี จิ กรรมหลกั 3 กจิ กรรม ไดแ้ ก่ (1) การผลกั ดนั กฎหมายวา่ ดว้ ยการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภยั ไซเบอรแ์ หง่ ชาติ และ กฎหมายคมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ซง่ึ ดศ. ไดด้ ำ� เนนิ การแลว้ เสรจ็ ทงั้ 2 ฉบบั และประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เมอ่ื วนั ที่ 27 พฤษภาคม 2562 (2) การบรู ณาการเทคโนโลยเี ครอื ขา่ ยเพอื่ สนบั สนนุ ภารกจิ บรรเทาสาธารณภยั (National Mobile Broadband Network for Public Protection and Disaster Relief (PPDR)) โดยสำ� นกั งาน กสทช. และสำ� นกั งาน ตำ� รวจแหง่ ชาตริ ว่ มกบั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ไดก้ ำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารใชง้ านคลนื่ ความถใ่ี นยา่ นความถ่ี 814 - 824 MHz และ 859 - 869 MHz แลว้ เสรจ็ และอยรู่ ะหวา่ งการปรบั เปลย่ี นอปุ กรณส์ อื่ สารของหนว่ ยงานเพอ่ื คนื ยา่ นความถดี่ งั กลา่ ว ตอ่ ไป และ (3) สำ� นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (สอทภ.) ไดย้ กรา่ ง พ.ร.บ. กจิ การอวกาศ พ.ศ. ... โดยมสี าระสำ� คญั เพอ่ื กำ� กบั กจิ การอวกาศใหม้ คี วามปลอดภยั และไดม้ าตรฐานสากล ทงั้ นี้ อยรู่ ะหวา่ งการเสนอตามขน้ั ตอน ของกฎหมายตอ่ ไป 0806 เรอื่ งและประเด็นปฏริ ปู ที่ 6 การปฏริ ปู ระบบการบริหารจัดการข้อมูลขา่ วสารภาครฐั มกี จิ กรรมหลกั ในการพฒั นาการประชาสมั พนั ธภ์ าครฐั ไดแ้ ก่ การเรง่ รดั การดำ� เนนิ การของคณะกรรมการประชาสมั พนั ธแ์ หง่ ชาติ เพอื่ เปน็ กลไกในการบรู ณาการด้านการประชาสัมพันธ์ และการบริหารจัดการขอ้ มลู ขา่ วสารภาครฐั ซง่ึ คณะกรรมการ ประชาสมั พนั ธแ์ ห่งชาติและกรมประชาสัมพันธ์ในฐานะฝ่ายเลขานุการ ได้มีการจัดท�ำแผนปฏิบัติการประชาสัมพันธ์ แห่งชาติประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพ่ือเช่ือมโยงเน้ือหาการประชาสัมพันธ์จากหน่วยงานระดับกระทรวงไปสู่ หน่วยงานระดับจังหวัดให้มีแนวทางการประชาสัมพันธ์ท่ีชัดเจนและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากน้ี หน่วยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้มีการด�ำเนินการพัฒนา บุคลากรและเครือข่ายเพ่ือสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการปฏิรูปดังกล่าว เช่น ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย การอบรมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายประชาสัมพันธ์เชิงรุก การสร้างเครือข่ายบูรณาการความร่วมมือภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน และการอบรมหลกั สูตรการประชาสัมพนั ธ์เชิงรกุ ในยุคดจิ ิทลั เป็นต้น 0801 0802 0803 0804 0805 0806 337

08 แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นสอ่ื สารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 0801 เรอ่ื งและประเด็นปฏิรูปที่ 1 การปฏิรปู การรู้เทา่ ทนั สือ่ ของประชาชน การพฒั นาทางเทคโนโลยกี ารสอื่ สารและสารสนเทศ ทำ� ใหใ้ นปจั จบุ นั การรบั สง่ ขอ้ มลู ขา่ วสารมคี วาม สะดวกรวดเร็ว มีจ�ำนวนช่องทางที่หลากหลาย และมีปริมาณของข้อมูลที่เพ่ิมมากขึ้นอย่างต่อเน่ือง ทงั้ ในรปู แบบออนไลนผ์ า่ นเวบ็ ไซตแ์ ละแพลตฟอรม์ สอื่ สงั คมออนไลน์ ประกอบกบั ประชาชนปรบั เพมิ่ บทบาทเปน็ ผผู้ ลติ ขอ้ มลู ขา่ วสาร แสดงความคดิ เหน็ และเผยแพรก่ ระจายสสู่ าธารณะได้ สง่ ผลกระทบ ตอ่ การตรวจสอบและกำ� กบั ดแู ลเนอื้ หาสาระใหม้ คี วามถกู ตอ้ งและเหมาะสมกบั ผบู้ รโิ ภคในกลมุ่ วยั ตา่ ง ๆ ดงั นน้ั จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งปฏริ ปู ความรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ในภาคประชาชน เพอ่ื ใหป้ ระชาชนทกุ กลมุ่ และทกุ ชว่ งวยั มคี วามรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื สามารถเขา้ ถงึ ประเมนิ และสรา้ งสรรคเ์ นอื้ หาทเ่ี หมาะสมและกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ตอ่ สงั คมได้ ทง้ั นี้ จากขอ้ มลู สถานภาพการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื และสารสนเทศของประเทศไทย พ.ศ. 2562 โดยกระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม (ดศ.) ซง่ึ ดำ� เนนิ การตามกรอบการประเมนิ ขององคก์ าร การศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) พบวา่ กลมุ่ สำ� รวจ 12,374 คน มีคะแนนความสามารถในการค้นหา/ระบุต�ำแหน่งข้อมูลสูงที่สุดที่ร้อยละ 78.8 ขณะท่ีมีคะแนน ต�่ำที่สุดในเรื่องการประเมินคุณค่าและความน่าเช่ือถือของข้อมูลที่ร้อยละ 51.7 แสดงให้เห็นว่า ประชาชนไทยสว่ นใหญข่ าดความสามารถในการตรวจสอบและกลนั่ กรองความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู และ การพจิ ารณาคณุ คา่ ของเนอ้ื หาสาระ 31 ท่มี า : ส�ำนกั งานคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 338

แผนการปฏิรูปประเทศแดผน้ากนาสรปอ่ื ฏสิรปู าปรระมเทวศลดชา้ นนสอ่ื สาร 08 เทคโนโลยีสารสนเทศ มวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 0801 เร่ืองและประเด็นปฏิรูปท่ี 1 จึงได้ก�ำหนดกิจกรรมหลัก ดังน้ัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของประเด็นการปฏิรูป มุ่งเน้นในกลุ่มนักเรียนและนักศึกษา คือ การบรรจุสาระ ป ร ะ เ ท ศ ค ว ร ด� ำ เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ป ฏิ รู ป ท่ี มี นั ย ส� ำ คั ญ เกี่ยวกับ “การรู้เท่าทันส่ือ” ในหลักสูตร ซึ่งกระทรวง ต่อเป้าหมาย โดยส�ำหรับกลุ่มนักเรียนและนักศึกษา ศึกษาธิการ (ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน ควรประมวลสาระและทักษะการรู้เท่าทันส่ือเพ่ือก�ำหนด พื้นฐาน) ได้ด�ำเนินการโดยบรรจุในกรอบสาระการเรียนรู้ เป็นวิชาพ้ืนฐานเฉพาะของแต่ละสถาบันการศึกษา แกนกลางเพื่อให้โรงเรียนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมท้ัง เร่งพัฒนาทักษะการสอนด้านความรู้เท่าทันส่ือ ตั้งแต่ระดับประถมและมัธยมศึกษาใช้จัดท�ำหลักสูตร ใหก้ บั บคุ ลากรครแู ละตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานของสถาบนั การเรียนการสอนของโรงเรียน ส�ำหรับกระทรวง การศึกษาเพ่ือให้การถ่ายทอดหลักสูตรเป็นไปอย่าง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มีประสิทธิภาพ และส�ำหรับกลุ่มประชาชนทั่วไปควรให้ ได้ด�ำเนินการโดยออกเป็นประกาศคณะกรรมการ ความสำ� คญั กบั การสรา้ งทกั ษะการประเมนิ ขอ้ มลู โดยเรง่ การอุดมศึกษา เรื่องแนวทางการปฏิบัติตามกรอบ เผยแพร่แหล่งข้อมูลกลางของภาครัฐท่ีเข้าถึงได้ง่าย มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติเก่ียวกับ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ให้ประชาชนทั่วไปทราบข้อเท็จจริง สมรรถนะดจิ ิทัลสำ� หรบั คณุ วฒุ ิระดับปริญญาตรี เพือ่ เปน็ และใชใ้ นการเปรียบเทยี บขอ้ มลู ข่าวสารตา่ ง ๆ ท่ีไดร้ บั แนวทางในการก�ำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านดิจิทัล ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาตา่ ง ๆ นอกจากนี้ หนว่ ยงานภาครฐั อื่น ๆ อาทิ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงวัฒนธรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ กรมประชาสัมพันธ์ กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัย และสร้างสรรค์ และสถาบันการศึกษาภาครัฐ ได้มี การด�ำเนินการสร้างความรู้เท่าทันส่ือในกลุ่มประชาชน ท่ัวไป เช่น การให้ความรู้แก่ประชาชนผ่านช่องทาง การส่ือสารของรัฐ การจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างการรับรู้ เท่าทันสื่อ และการพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ เปน็ ตน้ ทั้งนี้ ความท้าทายท่ีส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย ได้แก่ การสร้างทักษะความช�ำนาญในการสอนด้านความรู้ เท่าทันสื่อของบุคลากรครู การติดตามผลการด�ำเนินงาน ตามกรอบหลักสูตรรู้เท่าทันส่ือของสถาบันการศึกษา ต่าง ๆ และการพัฒนาทักษะในการประเมินคุณค่า และความนา่ เชอื่ ถอื ของกลมุ่ ประชาชนทว่ั ไป 339

08 แผนการปฏิรูปประเทศด้านสอื่ สารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 0802 เร่อื งและประเดน็ ปฏิรปู ที่ 2 แนวทางการสง่ เสริมจรยิ ธรรม และมาตรฐานวิชาชีพส่ือ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการส่ือสารและดิจิทัลท่ีรวดเร็วข้ึน รวมท้ังการขยายช่องทาง การสื่อสาร อาทิ การเปิดช่องโทรทัศน์ดิจิทัล การส่งเนื้อหาหรือกระจายข่าวสารผ่านเครือข่าย โทรคมนาคม ท�ำให้จ�ำนวนผู้ประกอบการด้านส่ือมวลชนวิชาชีพมีจ�ำนวนเพิ่มมากข้ึน และเกิดการ แขง่ ขนั สงู ขนึ้ อยา่ งมากในวงการสอื่ มวลชน ผปู้ ระกอบการสอ่ื มวลชนจำ� นวนมากจงึ จำ� เปน็ ตอ้ งปรบั ตวั ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ อาทิ การลดต้นทุนดำ� เนินการ การปรับลดบุคลากร การลดขั้นตอน การตรวจสอบกลั่นกรองแหล่งข้อมูลเพื่อแข่งขันด้านความเร็วในการน�ำเสนอ การผลิตเน้ือหาสาระ ที่มุ่งเน้นความนิยมหรือเรตต้ิงเป็นหลัก น�ำไปสู่การลดลงของมาตรฐานและคุณภาพเนื้อหาสาระ รวมทง้ั อาจละเมดิ สทิ ธสิ ว่ นบคุ คลหรอื แหลง่ ขา่ ว ดงั นนั้ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารปฏริ ปู การสง่ เสรมิ จรยิ ธรรม และมาตรฐานวิชาชีพของส่ือ เพื่อให้เกิดแนวทางปฏิบัติและมาตรฐานท่ีควรยึดถือของสื่อมวลชน วิชาชีพบนหลักความรับผิดชอบ และไม่ลิดรอนเสรีภาพในการน�ำเสนอข่าวสารและการแสดง ความคดิ เหน็ เร่ืองและประเด็นปฏิรูปที่ 2 จึงได้ก�ำหนดกิจกรรมหลัก คือ การจัดท�ำร่างพระราชบัญญัติส่งเสริม จริยธรรมและมาตรฐานวิชาชีพสื่อมวลชน พ.ศ. .... ซึ่งกรมประชาสัมพันธ์ร่วมกับคณะกรรมการ ด�ำเนินการปฏิรูปกฎหมายในระยะเร่งด่วน ได้ด�ำเนินการยกร่างและผ่านการตรวจพิจารณา โดยคณะกรรมการกฤษฎีกาและอยู่ระหว่างการยืนยันร่างกฎหมายและเสนอตามข้ันตอนต่อไป โดยร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีสาระส�ำคัญ ประกอบด้วย การก�ำหนดให้มีสภาวิชาชีพสื่อมวลชน เพื่อท�ำหน้าที่คุ้มครองเสรีภาพของสื่อมวลชน การก�ำหนดให้มีคณะกรรมการจริยธรรมสื่อ เพอ่ื ทำ� หนา้ ทก่ี ำ� กบั การปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ตามมาตรฐานทเี่ หมาะสม นอกจากน้ี หนว่ ยงานภาครฐั ไดด้ ำ� เนนิ การที่เก่ียวข้องเพื่อสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการปฏิรูปดังกล่าว คือ กรมประชาสัมพันธ์ร่วมกับ องค์กรวิชาชีพส่ือได้จัดท�ำ “คู่มือและแนวทางปฏิบัติสื่อในภาวะวิกฤต” เพื่อเป็นกรอบการปฏิบัติ วิชาชีพของส่ือมวลชนในการด�ำเนินงานในสถานการณ์ท่ีรุนแรงและมีความอ่อนไหวสูง โดยใช้ การถอดบทเรยี นจากเหตกุ ารณก์ ารชว่ ยเหลอื กลมุ่ นกั กฬี าเยาวชนจากถำ้� หลวง อำ� เภอขนุ นำ้� นางนอน จงั หวดั เชยี งราย 340

แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสอ่ื สารมวลชน 08 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 0802 ท้ังน้ี มีความท้าทายที่ส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมายการส่งเสริมจริยธรรมและมาตรฐานวิชาชีพสื่อ อาทิ การผลักดัน รา่ งพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ จรยิ ธรรมและมาตรฐานวชิ าชพี สอื่ มวลชน พ.ศ. .... ใหม้ ผี ลบงั คบั ใช้ รวมทงั้ การสรา้ งการยอมรบั และยึดถือการปฏิบัติตามหลักจริยธรรมและมาตรฐานวิชาชีพดังกล่าวในผู้ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดจน การส่งเสริมให้เกิดการก�ำกับกันเองของสื่อมวลชนวิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้เกิดดุลยภาพระหว่างเสรีภาพ ของการทำ� หนา้ ทสี่ อ่ื บนความรบั ผดิ ชอบ กบั การกำ� กบั ทมี่ คี วามชอบธรรม เพอื่ ยกระดบั มาตรฐานการประกอบวชิ าชพี สอ่ื และสรา้ งความยอมรบั จากประชาชนและสงั คม ดังน้ัน การด�ำเนินการในระยะต่อไป ควรเร่งรัดการจัดท�ำและพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว รวมทั้งด�ำเนินการ สรา้ งการรบั รดู้ ว้ ย “คมู่ อื และแนวทางปฏบิ ตั สิ อื่ ในภาวะวกิ ฤต” ตอ่ กลมุ่ ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ ผปู้ ระกอบการสอื่ วชิ าชพี และองคก์ รสอื่ ภาครฐั นอกจากน้ี ควรเตรยี มการสนบั สนนุ ใหส้ อ่ื มวลชนวชิ าชพี รวมกลมุ่ และพฒั นากลไกการกำ� กบั ดแู ล กนั เองของสอ่ื มวลชน เพอื่ ใหส้ อ่ื มวลชนวชิ าชพี สามารถยกระดบั มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน และทำ� หนา้ ทเี่ สมอื นโรงเรยี น ของสังคมในการให้ความรู้ ปลูกผังวัฒนธรรมและทัศนคติท่ีดี เพ่ือช่วยพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ของประเทศในระยะยาวตอ่ ไป 341

08 แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสอ่ื สารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ 0803 เรอ่ื งและประเด็นปฏริ ปู ท่ี 3 การปฏิรูปโครงสร้างอตุ สาหกรรม สือ่ สารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามผลส�ำรวจคาดการณ์ทิศทางอุตสาหกรรมส่ือและบันเทิงของไทย ของบริษัท PwC Thailand พบวา่ สถานการณอ์ ตุ สาหกรรมสอื่ และบนั เทงิ ของไทยในปี 2562 จะมยี อดรวมการใชจ้ า่ ยประมาณ 4.02 แสนล้านบาท และเติบโตขึ้นเฉลี่ยในช่วงห้าปีข้างหน้าท่ีร้อยละ 6.3 โดยอุตสาหกรรมส่ือท่ีมี การเติบโตสูงสุดคือสื่อสมัยใหม่ อาทิ ส่ือออนไลน์ โฆษณาออนไลน์ เคเบิลทีวีแบบสมัครสมาชิก นอกจากนี้ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสื่อของไทยในรูปแบบด้ังเดิม กลับได้รับส่วนแบ่งจากมูลค่า การใช้จ่ายดังกล่าวลดลง ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ ภาพยนตร์ วิทยุและโทรทัศน์ โดยเป็นผลมาจาก การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีการสื่อสาร แพลตฟอร์มส่ือสังคมออนไลน์ต่างประเทศ และความ ตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคทมี่ งุ่ สบู่ รกิ ารแบบเฉพาะบคุ คลมากยงิ่ ขนึ้ ดงั นนั้ ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมสอ่ื จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ดังกล่าว รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐต้องปรับเปลี่ยนกฎเกณฑ์ และมาตรการให้เหมาะสมเพ่ือสนับสนุนอุตสาหกรรมสื่อของไทยให้มีความเข้มแข็งและสามารถ แขง่ ขนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทีม่ า : บริษัท PwC ประเทศไทย 342

แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นส่อื สารมวลชน 08 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 0803 เรื่องและประเด็นปฏิรูปที่ 3 ได้ก�ำหนดกิจกรรมหลักในการเปล่ียนแปลงโครงสร้างอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน ได้แก่ การปรบั ปรงุ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ซง่ึ สำ� นกั งานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การ โทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (กสทช.) อยรู่ ะหวา่ งการดำ� เนนิ การ โดยมงุ่ เนน้ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากร คลนื่ ความถที่ ม่ี อี ยจู่ ำ� กดั ใหม้ กี ารใชง้ านอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตรงตามความตอ้ งการในปจั จบุ นั ผา่ นการปรบั ปรงุ แผนแมบ่ ท กจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 และประกาศ สำ� นกั งาน กสทช. เรอ่ื งหลกั เกณฑว์ ธิ กี ารและเงอ่ื นไข การเรียกคืนคล่ืนความถี่ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ หรือใช้ประโยชน์ไม่คุ้มค่า หรือน�ำมาใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่ายิ่งขึ้น รวมท้ัง การคุ้มครองผู้บริโภคและส่งเสริมสิทธิเสรีภาพในการสื่อสาร นอกจากนี้ กรมประชาสัมพันธ์ได้มีการด�ำเนินการปฏิรูป โครงสรา้ งองคก์ รสอื่ ของรฐั โดยพจิ ารณายกรา่ งแผนการปฏริ ปู สถานโี ทรทศั นแ์ หง่ ประเทศไทย ใหม้ กี ารจดั สรรชว่ งเวลา ให้หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นผู้ผลิตรายการ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพและคุณภาพ ในการผลติ เนอ้ื หาทต่ี อบสนองความตอ้ งการของภาครฐั และภาคประชาชน ทง้ั นี้ ความทา้ ทายทสี่ ำ� คญั ในการบรรลเุ ปา้ หมาย นอกจาก การปรบั เปลย่ี นกฎเกณฑแ์ ละมาตรการของภาครฐั ใหช้ ว่ ย สนับสนุนอุตสาหกรรมส่ือของไทยแล้ว ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมสื่อของไทยเองต้องเร่งปรับตัวให้ทันต่อการ เปล่ียนแปลงทางด้านเทคโนโลยี รวมท้ังพัฒนาช่องทาง หรอื แพลตฟอรม์ ในการตดิ ตอ่ กบั ผรู้ บั สาร เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ ง กับความต้องการของผู้บริโภคท่ีมุ่งสู่บริการแบบเฉพาะ บุคคลและลดการพึ่งพาแพลตฟอร์มจากต่างประเทศ ในระยะยาวตอ่ ไป ดังนั้น ส�ำนักงาน กสทช. ควรพิจารณาเร่งปรับปรุง แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ เพ่ือสนับสนุนอุตสาหกรรมสื่อของไทยให้มีความเข้มแข็ง และส่งเสริมให้ได้ผู้ผลิตเน้ือหาและรายการท่ีมีคุณภาพ รวมทั้งสามารถพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพ ของเนอ้ื หาทเ่ี ผยแพร่ 343

08 แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นสื่อสารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ 0804 เรอ่ื งและประเดน็ ปฏริ ปู ที่ 4 การปฏิรูปแนวทางการก�ำกบั ดแู ลสือ่ ออนไลน์ การพัฒนาอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีดิจิทัลน�ำไปสู่การเกิดขึ้นของแพลตฟอร์มส่ือสังคมออนไลน์ ซึ่งเปลี่ยนแปลงรูปแบบการติดต่อ ส่ือสาร และการส่งผ่านข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและสามารถ แพร่กระจายสู่ผู้ใช้งานเป็นวงกว้าง รายงานผลส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตประเทศไทย ปี 2561 เผยแพร่ล่าสุดเม่ือเดือนกรกฎาคม 2561 โดยส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) พบวา่ คนไทยใชอ้ นิ เตอรเ์ นต็ เฉลย่ี 10 ชว่ั โมง 5 นาทตี อ่ วนั นานขนึ้ จากปี 2560 ถึง 3 ชั่วโมง 30 นาที โดยในระยะเวลาดังกล่าวเป็นการใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะการใช้ Facebook, Instagram, Twitter และ Pantip สงู ถงึ 3 ชม. 30 นาทตี อ่ วนั หรอื ประมาณรอ้ ยละ 35 ของการใชง้ านอนิ เตอรเ์ นต็ ตอ่ วนั ทีม่ า : ส�ำนกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) ทง้ั นี้ สื่อสงั คมออนไลนส์ ว่ นใหญเ่ ป็นของตา่ งประเทศ ซ่งึ หนว่ ยงานภาครฐั ของไทยไมส่ ามารถกำ� กบั ดูแลข้อมูลข่าวสารท่ีส่งผ่านส่ือสังคมออนไลน์ดังกล่าวได้โดยตรง จึงอาจส่งผลให้เกิดความเส่ียง ต่อผู้ใชง้ านและสงั คมไทยโดยรวม จากการท่ผี ูไ้ ม่ประสงค์ดใี ชพ้ ้ืนท่ดี งั กลา่ วกอ่ ใหเ้ กดิ ความเดือดร้อน หลอกลวง หรือคุกคามต่อสิทธิส่วนบุคคลได้ ประเทศไทยจึงจ�ำเป็นต้องมีกลไกในการสอดส่องดูแล ส่ือออนไลน์เพื่อเฝ้าระวังภัย รวมถึงประสานการร่วมมือกับผู้ให้บริการสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ ในการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาอยา่ งรวดเร็วและมปี ระสทิ ธภิ าพ 344

แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสอ่ื สารมวลชน 08 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 0804 เรอ่ื งและประเดน็ ปฏริ ปู ท่ี 4 ไดก้ ำ� หนดกจิ กรรมในการเพม่ิ ท้ังนี้ มีความท้าทายท่ีส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย คือ ประสิทธิภาพการก�ำกับตรวจสอบการใช้ส่ือออนไลน์ การเพ่ิมประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานของกองป้องกัน ที่ไม่เหมาะสม โดยกองบังคับการปราบปรามการกระท�ำ และปราบปรามการกระท�ำความผิดทางเทคโนโลยี ความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ปอท.) สารสนเทศ (ปท.) ให้มีศักยภาพในการเป็นหน่วยงาน ได้ด�ำเนินการเตรียมความพร้อมบุคลากรและพัฒนา ของรัฐท่ีท�ำหน้าท่ีเป็น Official Point of Contact อปุ กรณใ์ หส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านในการกำ� กบั ดแู ลสอ่ื ออนไลน์ ในการประสานกับผู้ให้บริการสื่อสังคมออนไลน์และเป็น อาทิ โครงการศูนย์ข้อมูล Big Data และวิเคราะห์ จดุ ตดิ ตอ่ กลางสำ� หรบั ประชาชนผใู้ ชง้ าน และความสามารถ อาชญากรรมทางเทคโนโลยี ตลอดจนการสบื สวน ตดิ ตาม ของหนว่ ยงานของรฐั ในการขอความรว่ มมอื จากผใู้ หบ้ รกิ าร และยืนยันตัวตนผู้กระท�ำผิดทางอินเตอร์เน็ต รวมท้ัง สอ่ื สงั คมออนไลนต์ า่ งประเทศในการปดิ กนั้ ขอ้ มลู ทลี่ ะเมดิ กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม (ดศ.) ไดใ้ หค้ วาม กฎหมาย หรอื กระทบตอ่ ความเชอื่ และความมนั่ คงของไทย ส�ำคัญในการด�ำเนินงานของกองป้องกันและปราบปราม ดงั นน้ั ดศ. ในฐานะผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั ตามแผนฯ เมอื่ จดั ตงั้ การกระท�ำความผิดทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (ปท.) หน่วยงาน Official Point of Contact แล้ว ควรเร่ง เพ่ือสนับสนุนให้เป็นหน่วยงาน Official Point of ประชาสมั พนั ธใ์ หผ้ ใู้ หบ้ รกิ ารสอ่ื สงั คมออนไลน์ ประชาชน Contact และไดจ้ ดั ตงั้ ศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอมประเทศไทย ผใู้ ชง้ าน และทกุ ภาคสว่ นรบั รู้ เพอื่ ใหใ้ ชเ้ ปน็ ชอ่ งทางเฉพาะ เพื่อร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในการจัดการข้อมูลข่าวสาร ในการสอดส่องดูแลส่ือออนไลน์และเฝ้าระวังภัย รวมถึง ผ่านสื่อออนไลน์ที่มีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน ประสานการรว่ มมอื กบั ผใู้ หบ้ รกิ ารสอ่ื สงั คมออนไลนต์ า่ ง ๆ ประชาชนเป็นวงกว้าง เพ่ือให้เกิดการรับรู้ข้อมูลท่ีถูกต้อง ในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาอยา่ งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ และเผยแพรอ่ ยา่ งรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื นอกจากนี้ สำ� นกั งานคณะ กรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การ โทรคมนาคมแห่งชาติ ได้พัฒนาระบบตรวจสอบข้อมูล และคุ้มครองข้อมูลออนไลน์ของประชาชน ด้วยโครงการ บริหารจัดการระบบการลงทะเบียนผู้ใช้บริการโทรศัพท์ เคลอ่ื นทดี่ ว้ ยระบบอตั ลกั ษณ์ เปน็ ระบบสำ� หรบั ลงทะเบยี น และยืนยันตัวตนของผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคล่ือนที่ก่อนใช้ เลขหมาย เพ่ือป้องกันการลักลอบโจรกรรมข้อมูลหรือ การนำ� บตั รประชาชนผอู้ นื่ ไปจดทะเบยี นซมิ การด์ และนำ� ไปกอ่ เหตใุ นทางทมี่ ชิ อบ ซงึ่ เปน็ การปกปอ้ งและรกั ษาสทิ ธิ ผใู้ ชบ้ รกิ าร และสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ของสงั คม 345

08 แผนการปฏิรูปประเทศด้านสือ่ สารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 0805 เรื่องและประเด็นปฏิรูปท่ี 4 การปฏริ ปู การบรหิ ารจดั การความปลอดภยั ไซเบอร์ / กจิ การอวกาศ และระบบ และเครอ่ื งมอื ดา้ นการสอื่ สารมวลชน และโทรคมนาคมเพื่อสนบั สนนุ ภารกจิ การปอ้ งกนั บรรเทาสาธารณภยั ฯ ปัจจุบันลักษณะการใช้ชีวิตประจ�ำวันและการประกอบกิจการธุรกิจมีการพึ่งพาเครือข่ายการส่ือสาร ผ่านระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลเปน็ หลกั โดยจากรายงานประจ�ำปี 2562 ของสำ� นักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ แสดงถึงการเติบโตอย่างต่อเน่ืองของมูลค่าการค้าออนไลน์ ในขณะท่ีหน่วยงาน ภาครัฐได้มีการสร้างเครือข่ายระบบออนไลน์เพ่ือใช้เก็บรักษาและแลกเปล่ียนข้อมูลภายในองค์กร ส่งผลให้จ�ำเป็นต้องปรับปรุงกฎและการบริหารจัดการความปลอดภัยไซเบอร์และข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อรักษาความม่ันคงปลอดภัยของรัฐและประชาชน นอกจากน้ี ข้อตกลงสากลในการก�ำหนดคลื่น ความถ่ีเพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารส�ำหรับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมท้ังข้อก�ำหนด ตามรฐั ธรรมนญู ในการรกั ษาไวซ้ งึ่ สทิ ธใิ นการเขา้ ใชว้ งโคจรดาวเทยี มอนั เปน็ สมบตั ขิ องชาติ จงึ จำ� เปน็ ต้องมีการปฏิรูปกฎเกณฑ์และระเบียบท่ีเก่ียวข้องกับทั้งสามประเด็นดังกล่าวเพื่อให้การด�ำเนินการ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทมี่ า : สำ� นกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) 346

แผนการปฏริ ูปประเทศด้านสอ่ื สารมวลชน 08 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 0805 เร่ืองและประเด็นปฏิรูปที่ 5 ได้ก�ำหนดกิจกรรมหลักไว้ ทั้งน้ี ความท้าทายท่ีส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมาย คือ 3 กจิ กรรม ไดแ้ ก่ (1) การผลกั ดนั กฎหมายวา่ ดว้ ยการรกั ษา การสรา้ งการรบั รขู้ องภาคสว่ นตา่ ง ๆ ตอ่ แนวทางการรกั ษา ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ และกฎหมาย ความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ และการคุ้มครองข้อมูล คมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ซงึ่ กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ สว่ นบคุ คล รวมทง้ั การเรยี กคนื คลนื่ ความถแี่ ละการเปลยี่ น และสงั คม (ดศ.) ไดด้ ำ� เนนิ การแลว้ เสรจ็ ทงั้ 2 ฉบบั และ อุปกรณ์ส�ำหรับใช้งานในโครงข่าย PPDR เนื่องจากคลื่น ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เมอ่ื วนั ที่ 27 พฤษภาคม 2562 ความถ่ีดังกล่าวอยู่ในการใช้งานของหน่วยงานภาครัฐ (2) การบรู ณาการเทคโนโลยเี ครอื ขา่ ยเพอ่ื สนบั สนนุ ภารกจิ กอ่ นทจ่ี ะมกี ารประกาศหลกั เกณฑ์ ประกอบกบั หนว่ ยงาน บรรเทาสาธารณภัย (National Mobile Broadband ภาครัฐจ�ำเป็นต้องใช้งานคลื่นความถี่อย่างต่อเนื่อง และ Network for Public Protection and Disaster Relief การเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ในการสื่อสารต้องใช้วงเงินที่มี (PPDR)) ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง มลู คา่ สงู จงึ ตอ้ งกำ� หนดแผนและระยะเวลาในการเปลยี่ นผา่ น กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ทชี่ ดั เจน (กสทช.) และส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติร่วมกับหน่วยงาน ดังนั้น ดศ. ควรเร่งสร้างการรับรู้ของภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์การใช้งานคลื่นความถี่ โดยเฉพาะประชาชนกลมุ่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารผา่ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในยา่ นความถ่ี 814 - 824 MHz และ 859 - 869 MHz และส่ือสังคมออนไลน์ ต่อแนวทางการรักษาความม่ันคง แล้วเสร็จและอยู่ระหว่างการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ส่ือสาร ปลอดภัยไซเบอร์ และการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ของหน่วยงานเพื่อคืนย่านความถ่ีดังกล่าวต่อไป และ รวมทั้ง ส�ำนักงาน กสทช. และส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ (3) สำ� นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ ควรร่วมกับหน่วยงานท่ีใช้งานคลื่นความถ่ีในย่านความถ่ี (สอทภ.) ได้ยกรา่ ง พ.ร.บ. กิจการอวกาศ พ.ศ. ... โดยมี 814 - 824 MHz และ 859 - 869 MHz วางแผน สาระส�ำคัญเพ่ือก�ำกับให้กิจการอวกาศมีความปลอดภัย การเปล่ียนอุปกรณ์และคืนคลื่นความถี่ดังกล่าวเพื่อใช้ และได้มาตรฐานสากล ทั้งน้ี อยู่ระหว่างการเสนอตาม ในภารกิจบรรเทาสาธารณภัยตามข้อตกลงสากลต่อไป ขนั้ ตอนของกฎหมาย นอกจากน้ี สอทภ. และหน่วยงานที่เก่ียวข้องควรร่วมกัน ผลักดันกฎหมายว่าด้วยกิจการอวกาศ ให้มีผลบังคับใช้ เพอื่ รองรบั การดำ� เนนิ การดา้ นกจิ การอวกาศและดาวเทยี ม ใหส้ อดคลอ้ งกบั บทบญั ญตั ใิ นรฐั ธรรมนญู ตอ่ ไป 347

08 แผนการปฏิรปู ประเทศด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ 0806 เรือ่ งและประเด็นปฏริ ูปที่ 6 การปฏริ ปู ระบบการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ขา่ วสารภาครฐั การเพม่ิ ขน้ึ ของชอ่ งทางการรบั ขอ้ มลู ขา่ วสารของประชาชน จำ� นวนขา่ วสาร และความรวดเรว็ ในการ ติดต่อส่ือสาร ตลอดจนสถานการณ์มาตรฐานและจริยธรรมสื่อวิชาชีพท่ีเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ หน่วยงานภาครัฐในฐานะผู้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และข้อเท็จจริงอย่างเป็นทางการของประเทศ ต้องปฏิรูปกลไกและบุคลากรในการให้ข้อมูลข่าวสารแก่สาธารณะในเชิงรุก อย่างถูกต้อง แม่นย�ำ รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ และหลากหลายช่องทางเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ผู้รับข้อมูลข่าวสาร และป้องกันไม่ให้เกิดการรับรู้หรือส่งต่อข้อมูลที่ไม่ถูกต้องอย่างเป็นวงกว้าง จงึ มคี วามทา้ ทายอยา่ งยง่ิ ในการบรรลเุ ปา้ หมายการปฏริ ปู ระบบบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ขา่ วสารภาครฐั เร่ืองและประเด็นปฏิรูปที่ 6 ได้ก�ำหนดกิจกรรมหลักในการพัฒนาการประชาสัมพันธ์ภาครัฐ ได้แก่ การเรง่ รัดการด�ำเนนิ การของคณะกรรมการประชาสัมพนั ธแ์ ห่งชาติ เพอ่ื เป็นกลไกในการบูรณาการ ดา้ นการประชาสมั พนั ธ์ และการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ขา่ วสารภาครฐั ซง่ึ คณะกรรมการประชาสมั พนั ธ์ แหง่ ชาตแิ ละกรมประชาสมั พนั ธใ์ นฐานะฝา่ ยเลขานกุ าร ไดม้ กี ารจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารประชาสมั พนั ธ์ แหง่ ชาตปิ ระจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 เปน็ แผนปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื เชอื่ มโยงเนอ้ื หาการประชาสมั พนั ธ์ จากหน่วยงานระดับกระทรวงไปสู่หน่วยงานระดับจังหวัด ให้มีแนวทางการประชาสัมพันธ์ท่ีชัดเจน และเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั นอกจากน้ี หนว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง อาทิ กระทรวงมหาดไทย และ กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ได้มีการด�ำเนินการพัฒนาบุคลากรและเครือข่าย เพื่อสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการปฏิรูปดังกล่าว เช่น ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย การอบรมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายประชาสัมพันธ์เชิงรุก การสร้างเครือข่ายบูรณาการความร่วมมือ ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน และการอบรมหลกั สตู รการประชาสมั พนั ธเ์ ชงิ รกุ ในยคุ ดจิ ทิ ลั เปน็ ตน้ ทั้งนี้ ความท้าทายที่ส�ำคัญในการบรรลุการปฏิรูป คือ การประสานข้อเท็จจริงจากหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องและส่ือสารในรูปแบบที่ประชาชนท่ัวไปเข้าใจได้ง่ายและทันต่อเหตุการณ์ รวมทั้ง การพัฒนาบุคลากรเฉพาะทางที่มีทักษะความสามารถในการประชาสัมพันธ์ เพ่ือสร้างการรับรู้ และยกระดบั ความเช่อื มั่นของประชาชนทง้ั ในและตา่ งประเทศต่อข้อมลู ข่าวสารจากภาครฐั 348


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook