Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.8 (ต่อ)

(2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.8 (ต่อ)

Published by agenda.ebook, 2020-06-19 00:30:53

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 7-8 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ วันที่ 24-25 มิถุนายน 2563

Search

Read the Text Version

เรอ่ื งทปี่ ระธาน จะแจ้งต่อทปี่ ระชมุ ครัง้ ที่ 7-8 (สมยั สามญั ประจาปคี รั้งทีห่ นงึ่ ) เปน็ พเิ ศษ วันที่ 24-25 มิถุนายน 2563 (ระเบียบวาระที่ 2.8 (ต่อ))



ค�ำน�ำ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย หมวด 16 การปฏริ ปู ประเทศ ไดก้ ำ� หนดใหก้ ารปฏริ ปู ประเทศตอ้ งดำ� เนนิ การ เพอื่ บรรลเุ ปา้ หมาย 3 ประการ ไดแ้ ก่ (1) ประเทศชาตมิ คี วามสงบเรยี บรอ้ ย มคี วามสามคั คปี รองดอง มกี ารพฒั นา อย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนา ด้านจิตใจ (2) สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหล่ือมล้�ำ และ (3) ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ทง้ั นี้ ใหด้ ำ� เนนิ การจดั ทำ� แผนการปฏริ ปู ประเทศใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในหนง่ึ ปหี ลงั จากรฐั ธรรมนญู ประกาศใช้ และผลสมั ฤทธทิ์ ค่ี าดหวงั วา่ จะบรรลใุ นระยะเวลาหา้ ปี โดยกำ� หนด ขน้ั ตอนและวธิ ดี ำ� เนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั แิ ผนและขน้ั ตอนการดำ� เนนิ การปฏริ ปู ประเทศ พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการด�ำเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 ก�ำหนดให้การปฏิรูปประเทศต้อง สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกับยุทธศาสตร์ชาติ รวมทั้ง ก�ำหนดให้หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยมีหน้าที่ ด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผนการปฏิรูปประเทศเพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธ์ิตามระยะเวลาท่ีก�ำหนดไว้ในแผนการ ปฏิรูปประเทศ นอกจากนี้ ได้ก�ำหนดให้ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในฐานะ ส�ำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ จัดท�ำรายงานสรุปผลการด�ำเนินการประจ�ำปี ตามแผนการปฏิรูปประเทศ เพื่อเสนอที่ประชุมร่วมประธานกรรมการปฏิรูปประเทศให้ความเห็นชอบ และ รายงานต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ คณะรัฐมนตรี หัวหน้าหน่วยงานของรัฐในฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ องค์กรอิสระ หรือองค์กรอัยการ และรัฐสภาทราบ ส�ำนกั งานฯ จงึ จดั ทำ� รายงานสรปุ ผลการด�ำเนนิ การประจ�ำปีตามแผนการปฏริ ปู ประเทศ ประจำ� ปี 2562 ซ่ึงเป็น ผลการดำ� เนนิ การตามแผนการปฏริ ูปประเทศทัง้ 12 ด้าน จนถึง ณ สน้ิ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพ่ือเผยแพร่ ใหท้ กุ หนว่ ยงานทง้ั ในฝา่ ยบรหิ าร ฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั ิ ฝา่ ยตลุ าการ องคก์ รอสิ ระ และองคก์ รอนื่ ๆ ตลอดจนประชาชน ผู้สนใจ ทราบถึงผลการด�ำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ เพ่ือช่วยในการติดตาม เสนอแนะ เร่งรัด การด�ำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบด�ำเนินการให้บรรลุเป้าหมายท่ีคาดหวังว่า จะใหบ้ รรลผุ ลผลสัมฤทธิ์ภายในปี 2565 ต่อไป

005 018 024 บทสรุป รวธิ าีกยางรอาา่ นน บทนำ 118 สำหรับผบู้ ริหาร 096 070 ดา้ นกฎหมาย ด้านกระบวนการ ดา้ นเศรษฐกจิ 350 ยตุ ิธรรม 408 366 ดา้ นการปอ้อ้ งงกกนั นั และปรราาบบปปรราามมกกาารรททจุ จุ รรติ ติ ดา้ นสงั คม ดา้ นพลงั งาน และประพฤตมิ ชิ อบ

สารบสารญั บัญ 032 034 048 ผลการดำเนนิ การ ด้านการเมอื ง ดา้ นการบรหิ าร ราชการแผน่ ดนิ ตามแผนการปฏริ ปู ประเทศ 334 230 310 ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ ดา้ นสอ่ื สารมวลชน และสิง่ แวดลอ้ ม ดา้ นสาธารณสขุ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 424 446 ประเดน็ ทา้ ทาย และการดำเนนิ การ ดา้ นการศกึ ษา ในระยะตอ่ ไป



บทสรปุ สำ� หรับผู้บรหิ าร การปฏิรูป คือ การปรับปรุงส่ิงที่เป็นปัญหาหรืออุปสรรคให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพ่ือให้เหมาะสมหรือสมควรกับ บริบทและยุคสมัย รวมทั้งเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยการปฏิรูปประเทศได้ก�ำหนดเป้าหมายหลัก 3 ประการไวใ้ นรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย หมวด 16 การปฏิรปู ประเทศ ได้แก่ (1) ประเทศชาติมคี วามสงบ เรยี บรอ้ ย มคี วามสามคั คปี รองดอง มกี ารพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมคี วามสมดลุ ระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ (2) สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาส อันทัดเทียมกันเพ่ือขจัดความเหล่ือมล้�ำ และ (3) ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตท่ีดี และมีส่วนร่วม ในการพฒั นาประเทศและการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข โดยการจัดทำ� แผนการปฏิรูปประเทศนั้น คณะรัฐมนตรไี ดม้ มี ตเิ ม่ือวนั ท่ี 15 สงิ หาคม 2560 แตง่ ตั้งคณะกรรมการปฏริ ปู ประเทศ จ�ำนวน 11 ด้าน เพื่อจัดท�ำแผนการปฏิรูปประเทศ ให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี หลังจากรัฐธรรมนูญประกาศใช้ ประกอบไปด้วย (1) ด้านการเมือง (2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน (3) ด้านกฎหมาย (4) ด้านกระบวนการ ยุติธรรม (5) ด้านเศรษฐกิจ (6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (7) ด้านสาธารณสุข (8) ด้านส่ือสาร มวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ (9) ด้านสังคม (10) ด้านพลังงาน และ (11) ด้านการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยในส่วนของด้านกระบวนการยุติธรรม (ต�ำรวจ) และด้านการศึกษา ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการขึ้นตามรัฐธรรมนูญฯ โดยมีวาระหน่ึงปีหลังจากรัฐธรรมนูญประกาศใช้ และสองปีหลังจากคณะ รัฐมนตรีแตง่ ตง้ั ตามล�ำดบั คณะกรรมการปฏิรูปประเทศทั้ง 11 ด้านดังกล่าวได้จัดท�ำแผนการปฏิรูปประเทศข้ึนและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนท่ี 24 ก เม่อื วนั ที่ 6 เมษายน 2561 ส่วนแผนการปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2562 ตามท่ีคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา เสนอ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามมาตรา 6 และมาตรา 12 ของพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการดำ� เนินการปฏิรูป ประเทศ พ.ศ. 2560 โดยให้หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่ด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผนการปฏิรูปประเทศเพ่ือให้ การปฏิรูปประเทศบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามระยะเวลาท่ีก�ำหนดไว้ ทั้งน้ี ในส่วนของคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการยุติธรรม (ต�ำรวจ) มีวัตถุประสงค์ในการด�ำเนินคือการแก้ไขกฎหมายโดยเฉพาะ ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติต�ำรวจแห่งชาติ พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติสอบสวนคดีอาญา พ.ศ. .... ซึ่งปัจจุบัน อยู่ระหวา่ งดำ� เนินการ โดยคณะกรรมการท่ีคณะรฐั มนตรีได้มมี ติแตง่ ต้ังเมอื่ วันท่ี 22 สงิ หาคม 2562 พระราชบัญญัติแผนและข้ันตอนการด�ำเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 ได้ก�ำหนดให้จัดท�ำรายงานสรุปผล การด�ำเนินการประจ�ำปีตามแผนการปฏิรูปประเทศ ประจ�ำปี 2562 ข้ึนตามแนวทางที่ก�ำหนดในพระราชบัญญัติ แผนและขั้นตอนการด�ำเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 และตามหลักการการประเมินผลท่ีคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติได้ก�ำหนดไว้ เพ่ือเผยแพร่ให้ทุกหน่วยงานท้ังในฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ องค์กรอิสระ และองค์กรอื่น ๆ ตลอดจนประชาชนผู้สนใจ ทราบถึงความก้าวหน้า ผลการด�ำเนินการตาม แผนการปฏิรูปประเทศ ปัญหา อุปสรรค ความท้าทาย และข้อเสนอแนะในการด�ำเนินการต่อไป รวมทั้งเพ่ือช่วย ในการติดตาม เสนอแนะ เร่งรัด การด�ำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ ให้หน่วยงานท่ีรับผิดชอบด�ำเนินการ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายทค่ี าดหวงั วา่ จะให้บรรลผุ ลผลสัมฤทธภ์ิ ายในปี 2565 โดยมสี รปุ ความก้าวหนา้ การดำ� เนินการของ 12 แผนการปฏริ ปู ประเทศ ดังนี้ 5

(1) ดา้ นการเมือง เป้าหมาย การธ�ำรงไว้ซ่ึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขท่ีมีความม่ันคง มีความชอบธรรม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประเทศชาติ บ้านเมืองและประชาชน สรา้ งการมสี ว่ นรว่ ม รจู้ กั ยอมรบั ความเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งกนั พรรคการเมอื งดำ� เนนิ กจิ กรรมโดยเปดิ เผยและตรวจสอบได้ และพัฒนาเป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชน ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สจุ รติ และรบั ผดิ ชอบตอ่ ประชาชนในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องตน ตลอดจนเกดิ การแกไ้ ขปญั หาความขดั แยง้ ทางการเมอื ง โดยสนั ติวธิ ี สถานการณ์ ปัจจุบันความต่ืนตัวทางการเมืองของประชาชนในประเทศจะมีแนวโน้มสูงข้ึนจากการมีส่วนร่วม ทางการเมืองตามช่องทางต่าง ๆ ผ่านกิจกรรมและส่ือสังคมออนไลน์อย่างหลากหลายและกว้างขวาง แต่สัดส่วน ผ้มู าใชส้ ทิ ธเิ ลือกต้ังตอ่ จำ� นวนผู้มสี ิทธิเลือกตัง้ ยังน้อยกว่าประเทศพัฒนาแลว้ อยมู่ าก และความคิดเห็นทางการเมือง ในหลายลักษณะยังคงมีแนวโน้มที่น�ำไปสู่การแบ่งฝักแบ่งฝ่ายและการยอมรับความเห็นที่แตกต่างยังเป็นประเด็น ท้าทายที่ส�ำคัญ นอกจากน้ี ประชาชนท่ัวไปยังไม่สามารถเข้าถึงและเข้าใจกระบวนการและกลไกในการติดตาม ตรวจสอบ และถ่วงดุลการด�ำเนินการของรฐั ท้งั ฝ่ายการเมอื งและขา้ ราชการประจ�ำ ประเดน็ ดังกลา่ วสะท้อนให้เหน็ วา่ ยงั มคี วามท้าทายอย่างมากในการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการเมืองให้บรรลุตามเปา้ หมายทตี่ ัง้ ไว้ ความก้าวหน้าการด�ำเนินการในภาพรวม แผนฯ ได้ก�ำหนดเร่ืองและประเด็นปฏิรูป รวม 5 เร่ือง และมีจ�ำนวน กิจกรรมภายใต้แผนฯ รวม 18 กิจกรรม ท้ังน้ี แผนก�ำหนดให้ทุกกิจกรรมด�ำเนินการ ระหว่างปี 2561 - 2565 จงึ ทำ� ให้ในช่วงปี 2562 กจิ กรรมทั้งหมดยงั คงอยูร่ ะหว่างการด�ำเนนิ การตามระยะเวลาที่ก�ำหนด ก า ร จั ด ท� ำ ห รื อ ป รั บ ป รุ ง ก ฎ ห ม า ย ภ า ย ใ ต ้ แ ผ น 18 อยู่ระหวา่ งดำ� เนินการท้ังหมด การปฏิรูปประเทศ ด้านการเมืองได้ก�ำหนดให้จัดท�ำ • การเสริมสรา้ งวฒั นธรรมทาง กฎหมาย จ�ำนวน 1 ฉบับ คือ กฎหมายว่าด้วย การเมืองและการมีส่วนร่วมของ การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบ ประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตย ประชาธิปไตย ด�ำเนินการโดยคณะกรรมการปฏิรูป • การสรา้ งกลไกและมาตรการ ประเทศดา้ นการเมือง ในการแกไ้ ขปญั หาความขัดแยง้ ทางการเมืองใหเ้ กดิ อย่างเปน็ รูปธรรม • การกระจายอ�ำนาจให้แก่ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น • การสร้างความตระหนกั ร้ใู ห้ กบั ประชาชน เพ่อื ส่งเสริมการมี สว่ นร่วมและสรา้ งความเชื่อมนั่ ในกระบวนการเลือกต้ัง 6

(2) ดา้ นการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน เป้าหมาย องค์กรภาครัฐเปิดกว้างและเช่ือมโยงข้อมูลกันด้วยระบบดิจิทัล โครงสร้างองค์กรกะทัดรัด ท�ำงานเพื่อ ประชาชนโดยยึดการดำ� เนนิ งานเชงิ พืน้ ท่เี ปน็ หลัก บริหารและบรกิ ารประชาชนใหเ้ ป็นดจิ ิทัล สรรหาและรักษาไว้ซึ่ง ก�ำลังคนคุณภาพสูง มีคุณธรรมและจริยธรรม และเป็นท่ีไว้วางใจของประชาชน และภาครัฐมีวัฒนธรรมต่อต้าน การทุจรติ และมรี ะบบป้องกนั การแทรกแซงโดยไม่เปน็ ธรรมจากผู้มีอิทธิพล สถานการณ์ ปัจจุบันภาครัฐมีขนาดใหญ่เน่ืองจากหน่วยงานของรัฐยังเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการจัดท�ำและให้ บริการสาธารณะส่งผลท�ำให้โครงสร้างของหน่วยงานภาครัฐ มีการขยายตัวอย่างต่อเน่ืองมาโดยตลอด รวมท้ัง จ�ำนวนบุคลากรภาครัฐซึ่งมีความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์และเทคโนโลยี ที่เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วยังมีไม่เพียงพอ อย่างไรก็ตาม ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีส่งผลต่อความเป็นไป ในการบริหารจัดการภาครัฐใหม้ ีประสทิ ธิภาพย่งิ ขน้ึ แล้วเสรจ็ ร้อยละ 25 14 37 อยรู่ ะหวา่ งดำ� เนนิ การ รอ้ ยละ 66 • ศูนย์กลางบรกิ ารภาคประชาชน 5 • การบริการแบบเบด็ เสร็จและ GovChannel ศูนย์บรกิ ารร่วม • Doing Business Portal • การปรบั ปรงุ โครงสร้างและ • e-Payment Portal ระบบบริหารงานภาครัฐ • มาตรฐานทางจริยธรรม • การพัฒนาขดี ความสามารถ ในการจัดบริการสาธารณะ ล่าชา้ ร้อยละ 9 องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ • การบรู ณาการขอ้ มูลภาครัฐเพอ่ื • การส่งเสรมิ คุณธรรม การบริหารราชการแผ่นดนิ จรยิ ธรรมในการบริหาร • การปรบั ปรุงกฎหมายการบริหารราชการ ทรัพยากรบคุ คล แผ่นดนิ ความกา้ วหน้าการด�ำเนนิ การในภาพรวม แผนฯ ไดก้ ำ� หนดเรื่องและประเดน็ ปฏริ ปู รวม 6 เรือ่ ง และมจี �ำนวน กจิ กรรมภายใต้แผนฯ รวม 56 กิจกรรม ทัง้ นี้ เป็นกจิ กรรมทแ่ี ล้วเสร็จ 14 กิจกรรม หรือรอ้ ยละ 25 กจิ กรรมทอ่ี ยู่ ระหว่างการด�ำเนินการตามระยะเวลาท่ีก�ำหนด 37 กิจกรรม หรือร้อยละ 66 และกิจกรรมที่อยู่ระหว่าง การด�ำเนนิ การแตล่ า่ ช้ากว่าระยะเวลาทกี่ ำ� หนด 5 กิจกรรม หรอื ร้อยละ 9 การจัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมายภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการบริหารราชการแผ่นดินได้ก�ำหนดให้ จัดทำ� หรือปรบั ปรงุ กฎหมาย จำ� นวน 5 ฉบับ โดยเป็นกฎหมายท่ีจดั ทำ� แลว้ เสร็จ 3 ฉบับ ไดแ้ ก่ พระราชบญั ญัติ การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 นอกจากน้ี เป็นกฎหมายท่ีอยู่ระหว่าง การดำ� เนินการ คือ กฎหมายว่าดว้ ยการปฏริ ูประบบราชการ และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศนู ยร์ ับคำ� ขออนญุ าต 7

(3) ดา้ นกฎหมาย เป้าหมาย การมีกฎหมายท่ีดีและเป็นธรรม สอดคล้องกับหลักนิติธรรม เพ่ือเป็นเคร่ืองมือส่งเสริมการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม โดยไม่สร้างภาระให้แก่ประชาชน และไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ ประชาชน มีส่วนร่วมในกระบวนการการจัดท�ำกฎหมายอย่างเหมาะสม มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถเข้าถึงกฎหมาย ได้โดยง่าย และมีการบังคบั ใช้กฎหมายอย่างถกู ตอ้ งและเปน็ ธรรม สถานการณ์ ปัจจุบันกฎหมายเป็นเคร่ืองมือส�ำคัญในการก�ำหนดกฎเกณฑ์กติกาในสังคม และการด�ำเนินนโยบาย สาธารณะของรัฐ ขณะเดียวกันกฎหมายอาจจ�ำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเพ่ิมข้ึนตามจ�ำนวนกฎหมาย ท่ีมากข้ึน ท้ังยังท�ำให้ประชาชนเข้าถึงกฎหมายได้โดยยาก สร้างภาระค่าใช้จ่ายแก่ประชาชนและธุรกิจ ตลอดจน อาจเปน็ ท่มี าของการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ ความก้าวหน้าการด�ำเนินการ ตอ้ งปรับปรุงรอ้ ยละ 21 แลว้ เสร็จ ร้อยละ 11 ในภาพรวม แผนการปฏริ ปู ประเทศ • การก�ำหนดเกณฑ์ส�ำหรับใช้ในการ • การจัดท�ำร่างพระราชบัญญตั ิ ด้านกฎหมาย ได้ก�ำหนดเร่ืองและ พจิ ารณากฎหมายหรือใบอนญุ าตท่มี ี หลักเกณฑเ์ ก่ยี วกับการจดั ท�ำ ลักษณะเป็นอปุ สรรคต่อ ร่างกฎหมายและการประเมนิ ผล ประเดน็ ปฏริ ูป รวม 10 เรื่อง และ การประกอบอาชีพและการด�ำเนินการ สมั ฤทธ์ิของกฎหมาย พ.ศ. .... มีจ�ำนวนกิจกรรมภายใต้แผนฯ ธรุ กจิ ของประชาชน • พิจารณาแนวทางที่เหมาะสม รวม 115 กิจกรรม ทั้งน้ี เป็น • การเสนอร่างกฎหมายใหม้ ีการจดั ตั้ง ในการปรบั ปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวกับ กิจกรรมท่ีแล้วเสร็จ 12 กิจกรรม “คณะกรรมการลดความเหลอื่ มลำ้� และ ธรุ กรรมการขายฝาก หรอื จดั ท�ำ สร้างความเป็นธรรมในสงั คม” กฎหมายท่ชี ว่ ยบรรเทาผลกระทบ หรือร้อยละ 11 กิจกรรมที่อยู่ จากการบังคบั ใชก้ ฎหมายท่เี กี่ยว ระหว่างการด�ำเนินการตามระยะ กบั ธุรกรรมการขายฝาก หรือ เวลาท่ีก�ำหนด 27 กิจกรรม หรือ การก�ำหนดสนิ ไถท่ ีไ่ ม่เปน็ ธรรม ร้อยละ 23 และกิจกรรมที่อยู่ ล่าช้า รอ้ ยละ 45 24 12 ระหว่างการด�ำเนินการแต่ล่าช้า • การกำ� หนดให้คณะกรรมการ 27 กว่าระยะเวลาท่ีก�ำหนด 52 การอุดมศกึ ษา (กกอ.) กิจกรรม หรือร้อยละ 45 และ ซึ่งมีหน้าทก่ี �ำหนดมาตรฐาน 52 กิจกรรมท่ีต้องปรับปรุง 24 หลกั สตู รแตง่ ตง้ั “คณะกรรมการ สภานิติศึกษาแหง่ ชาต”ิ กิจกรรม หรอื รอ้ ยละ 21 • การปรับปรงุ กฎหมาย การจัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมาย เพอื่ ให้การจดั เกบ็ ภาษจี าก อย่รู ะหวา่ งดำ� เนินการ ร้อยละ 23 ภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ ผู้ประกอบการทย่ี งั ไม่อยู่ • การจดั ทำ� อนบุ ญั ญตั เิ พอ่ื กำ� หนดหลกั เกณฑ์ ด้านกฎหมายได้ก�ำหนดให้จัดท�ำ ในระบบภาษีหรือยังเสยี ภาษี การด�ำเนินการรองรบั การปฏบิ ัตติ าม หรอื ปรบั ปรงุ กฎหมาย จำ� นวน 18 ฉบบั ไมถ่ กู ตอ้ ง มีความรดั กุมและ กฎหมาย มีประสทิ ธิภาพมากขึน้ • การจดั ทำ� ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ เครอื ข่ายเชอื่ มโยง ในลกั ษณะระบบกลาง โดยเป็นกฎหมายที่จัดท�ำแล้วเสร็จ 4 ฉบับ อาทิ พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท�ำร่างกฎหมายและ การประเมินผลสัมฤทธ์ิของกฎหมาย พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติคุ้มครองประชาชนในการทำ� สัญญาขายฝากที่ดิน เพอื่ เกษตรกรรมหรอื ทอี่ ยอู่ าศยั พ.ศ. 2562 นอกจากน้ี เปน็ กฎหมายทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งการดำ� เนนิ การ 14 ฉบบั เชน่ กฎหมาย ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย กฎหมายว่าด้วยการอ�ำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ เปน็ ต้น 8

(4) ด้านกระบวนการยตุ ธิ รรม เป้าหมาย ให้การด�ำเนินงานในทุกข้ันตอนมีระยะเวลาที่ชัดเจน มีกลไกช่วยเหลือประชาชนโดยเสมอภาค มีกลไก บังคับการตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด พัฒนาระบบสอบสวนคดีอาญาท่ีมีการตรวจสอบและถ่วงดุล ระบบ นติ วิ ิทยาศาสตรม์ มี าตรฐาน สรา้ งวัฒนธรรมองคก์ รมุ่งอำ� นวยความยุติธรรม สถานการณ์ ปัจจุบันกระบวนการยุติธรรมของไทยจะผ่านการปฏิรูปด้านโครงสร้าง กระบวนการท�ำงาน และการคุ้มครองสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนมาแล้วหลายครัง้ แตย่ ังคงปรากฏข้อวพิ ากษ์วิจารณ์การดำ� เนนิ งานของ กระบวนการยุติธรรมทั้งในแง่ของความล่าช้าในการด�ำเนินงาน อุปสรรคในการเข้าถึง ความเหล่ือมล�้ำในการบังคับ ใช้กฎหมาย และความถูกต้องของการด�ำเนินงานอยู่เป็นระยะ สะท้อนให้เห็นความไม่เช่ือมั่นของประชาชนต่อ กระบวนการยตุ ธิ รรมของประเทศ ความกา้ วหนา้ การดำ� เนนิ การในภาพรวม ลา่ ช้า รอ้ ยละ 5 แล้วเสร็จ รอ้ ยละ 21 แผนฯ ได้ก�ำหนดเรื่องและประเด็นปฏิรูป • แนวทางการรับฟงั • ทนายความอาสา รวม 10 เรื่อง และมจี ำ� นวนกจิ กรรมภายใต้ พยานหลกั ฐาน ประจ�ำสถานตี �ำรวจ แ ผ น ฯ ร ว ม 3 8 กิ จ ก ร ร ม ทั้ ง น้ี ทางนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ • การรบั แจง้ ความรอ้ งทุกข์ เป็นกิจกรรมท่ีแล้วเสร็จ 8 กิจกรรม หรือ ต่างทอ้ งท่ี รอ้ ยละ 21 กจิ กรรมท่ีอย่รู ะหว่างการด�ำเนิน • จดั ตง้ั เจ้าพนกั งานต�ำรวจศาล การตามระยะเวลาที่ก�ำหนด 28 กิจกรรม หรือร้อยละ 74 และกิจกรรมท่ีอยู่ระหว่าง 28 การด�ำเนินการแต่ล่าช้ากว่าระยะเวลา 28 ที่กำ� หนด 2 กิจกรรม หรือรอ้ ยละ 5 การจัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมายภายใต้ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการ ยุติธรรมได้ก�ำหนดให้จัดท�ำหรือปรับปรุง กฎหมาย จำ� นวน 41 ฉบบั โดยเปน็ กฎหมาย ท่ีจัดท�ำแล้วเสร็จ 5 ฉบับ ได้แก่ พระราช อยูร่ ะหวา่ งด�ำเนินการ รอ้ ยละ 74 บัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 • การตราพระราชบญั ญัติระยะเวลาการด�ำเนินการของกระบวนการ ยุตธิ รรม พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) • การน�ำเทคโนโลยีมาใชใ้ นการตรวจค้น จบั กุม และการบันทึกภาพ พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติเจ้าพนักงาน และเสยี งในการสอบค�ำใหก้ ารในการสอบสวน ต�ำรวจศาล พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติ อนุญาโตตุลาการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมพระธรรมนูญศาลยุติธรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 9

((55)) ดดา้า้ นนเเศศรรษษฐฐกกจิจิ เป้าหมาย มงุ่ เน้นให้เศรษฐกิจไทย “แขง่ ขันได้ กระจายประโยชนส์ ู่ประชาชน เติบโตย่งั ยืน” โดยมผี ลติ ภาพสูงขน้ึ มีความสามารถในการแข่งขันในระดับประเทศสูงข้ึน รวมทั้งมีการเติบโตอย่างครอบคลุมทั่วทุกภาคส่วน อย่างยั่งยืน และสถาบันเศรษฐกจิ มีสมรรถนะสูงข้นึ สถานการณ์ ปจั จุบันประเทศไทยต้องเผชิญกบั ปัญหาเชิงโครงสร้างหลายเรื่อง อาทิ (1) ศักยภาพการเติบโตทีล่ ดลง ส่วนหน่ึงเป็นผลจากการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ (2) ปัญหาความเหล่ือมล�้ำในหลายมิติ ท้ังในด้าน ความเหล่ือมล�้ำด้านเศรษฐกิจและรายได้ และโอกาสของคนเมืองกับคนในพื้นที่ห่างไกล รวมท้ังโอกาสการเข้าถึง บริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพท้ังการศึกษาและสาธารณสุข (3) ปัญหากลไกและบทบาทภาครัฐท่ีไม่เอ้ือต่อ การขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ และ (4) ปญั หากฎหมายและกฎระเบียบท่มี ีจ�ำนวนมาก ลา้ สมยั ขาดการปรบั ปรุง รวมทงั้ มีช่องโหว่จากการใช้ดุลยพินิจ ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งท่ีท�ำให้ปัญหาคอร์รัปช่ันรุนแรงข้ึน หากปัญหาดังกล่าวน้ีไม่ได้รับ การแก้ไขจะเหน่ียวรั้งความก้าวหน้าของประเทศในทุกด้านทงั้ เศรษฐกจิ ดา้ นสงั คมและอนื่ ๆ ความก้าวหน้าการด�ำเนินการ ต้องปรบั ปรุงร้อยละ 8 แล้วเสรจ็ รอ้ ยละ 25 ในภาพรวม แผนฯ ไดแ้ บง่ ประเดน็ • การจดั ตั้งหน่วยงานที่ท�ำหนา้ ท่เี จ้าของ • จดั ทำ� แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรชาติ ปฏิรูปเปน็ 3 ด้าน รวม 55 ประเดน็ (บรรษทั วสิ าหกจิ แหง่ ชาต)ิ เพือ่ ดูแล ประเด็น เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ ปฏิรูป 121 กิจกรรม ทั้งน้ี รัฐวิสาหกิจกล่มุ ท่ีมีภารกิจเชิงธรุ กิจ • พัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษใน เปน็ กจิ กรรมทแี่ ลว้ เสรจ็ 30 กจิ กรรม • การจัดตง้ั หนว่ ยงานและคณะกรรมการ 10 พื้นท่ชี ายแดนเปา้ หมาย หรอื รอ้ ยละ 25 กจิ กรรมทอี่ ยรู่ ะหวา่ ง กลางเพ่อื ดแู ลยุทธศาสตร์การวิจยั พัฒนา • การดึงแรงงานนอกระบบเข้าสูร่ ะบบ การด�ำเนินการตามระยะเวลาท่ี ของประเทศ ประกนั สงั คม ก�ำหนด 46 กิจกรรม หรือร้อยละ • จัดต้งั Centre of Excellence • พระราชบญั ญตั กิ ารพัฒนาการก�ำกับ 3 8 กิ จ ก ร ร ม ท่ี อ ยู ่ ร ะ ห ว ่ า ง สำ� หรบั ภาคเกษตรร่วมกับมหาวิทยาลยั ดแู ลและบรหิ ารรฐั วสิ าหกจิ พ.ศ. 2562 ในพน้ื ที่ทวั่ ประเทศ การด�ำเนินการแต่ล่าช้ากว่าระยะ ลา่ ชา้ ร้อยละ 29 10 30 เวลาท่ีก�ำหนด 35 กิจกรรม หรือ • จัดตัง้ กองทนุ Social 35 ร้อยละ 29 และกิจกรรมที่ต้อง Investment Fund (SIF) ปรับปรุง 10 กิจกรรม หรือ • การเพ่มิ สมาชิกกองทุนการ 46 รอ้ ยละ 8 ออมแหง่ ชาติ (กอช.) • จัดต้งั สำ� นักงานบูรณาการ การแก้ไขปัญหาความยากจน และเหลอ่ื มล้�ำ อยู่ระหว่างดำ� เนนิ การ ร้อยละ 38 • การจัดท�ำมาตรการการพฒั นา การจัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมายภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ดา้ นเศรษฐกิจได้ก�ำหนดให้จดั ทำ� หรือปรบั ปรุงกฎหมาย จำ� นวน 27 ฉบับ ปี พ.ศ. 2562 – 2571 โดยเปน็ กฎหมายทจี่ ดั ท�ำแล้วเสร็จ 8 ฉบับ อาทิ พระราชบญั ญัติสถาบัน • สนับสนนุ และเรง่ รดั การตกลงการคา้ ภายใต้กรอบ RCEP การเงินประชาชน พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจเพ่ือ • จดั ท�ำแผนการด�ำเนนิ งานโครงการฯ และ สังคม พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (ฉบับท่ี 2) จดั ทำ� (รา่ ง) แผนแมบ่ ทโครงสรา้ งพืน้ ฐาน พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ เป็นกฎหมายที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการ เช่น เทคโนโลยดี จิ ิทลั ของประเทศ ระยะ 5 ปี กฎหมายว่าข้อมูลข่าวสารของราชการ และกฎหมายว่าด้วยการบริหาร และระยะ 10 ปี จดั การเงินฝากทไ่ี มม่ กี ารเคลอื่ นไหวของสถาบนั การเงิน เปน็ ตน้ • การลงทุนในโครงสรา้ งพื้นฐานส�ำคัญ 10

(6) ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม เป้าหมาย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการรักษา ฟื้นฟู ท�ำให้เกิดความย่ังยืน เป็นรากฐาน ในการพัฒนาประเทศ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม สร้างความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และ การใช้ประโยชน์ ทั้งทรัพยากรทางบก ทรัพยากรทางน�้ำ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ความหลากหลาย ทางชีวภาพ สิ่งแวดล้อม และระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ การพัฒนาประเทศในช่วงที่ผ่านมาส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมาก ซึ่งกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของประเทศ ท้ังในเรื่องขยะ น้�ำเสีย มลภาวะ รวมถึงความเส่ือมโทรมลงของทรัพยากรทางบก ทางน�้ำ ทางทะเล ความหลากหลายทางชีวภาพ และ ความยั่งยืนของประเทศในระยะยาว นอกจากนี้ ปัจจัยจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศท�ำให้เกิดภัยพิบัติ ท่ีรุนแรงและบ่อยครั้งเพ่ิมข้ึน การขาดความต่อเน่ือง ลา่ ชา้ รอ้ ยละ 14 ของนโยบายด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ • การปรบั ปรงุ และแก้ไขกฎหมายที่เกยี่ วขอ้ ง อาทิ กฎหมาย และส่ิงแวดลอ้ ม ความล้าสมัยของระเบยี บและกฎหมาย ว่าดว้ ยสิทธิชมุ ชน กฎหมายว่าด้วยการมีสว่ นรว่ มของ ท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนข้อจ�ำกัดของการมีส่วนร่วม ประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ ของประชาชนในพื้นที่ เป็นเหตุให้จ�ำเป็นต้องมี การปฏิรูปการด�ำเนินการด้านทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมของประเทศ เพื่อให้เกิดการรักษา ฟื้นฟู แล้วเสร็จ รอ้ ยละ 16 44 และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างสมดุล • การปรบั ปรงุ และแกไ้ ข 53 มีการแบ่งปันผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม น�ำไปสู่ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง อาทิ การพัฒนาที่ยั่งยืน สมดุลท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สังคม พระราชบญั ญตั ปิ า่ ไม้ 228 และสิง่ แวดลอ้ ม (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2562 ความก้าวหน้าการด�ำเนินการในภาพรวม แผนฯ พระราชบญั ญตั สิ งวนและ อยรู่ ะหวา่ งดำ� เนนิ การ รอ้ ยละ 70 ได้ก�ำหนดเร่ืองและประเด็นปฏิรูป รวม 36 เร่ือง คมุ้ ครองสตั วป์ า่ พ.ศ. 2562 • การเพมิ่ พนื้ ทส่ี เี ขยี วทวั่ ประเทศ และมีจ�ำนวนกิจกรรมภายใต้แผนฯ รวม 325 กิจกรรม • จดั ตง้ั ศนู ยอ์ ำ� นวยการ • การจัดให้มีศนู ย์ข้อมูลกลาง ท้ังน้ี เป็นกิจกรรมทแ่ี ล้วเสรจ็ 53 กจิ กรรม หรอื รอ้ ยละ รกั ษาผลประโยชนข์ อง ด้านความหลากหลายทาง 16 กิจกรรมที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการตามระยะเวลา ชาตทิ างทะเล (ศรชล.) ชวี ภาพ ท่ีก�ำหนด 228 กิจกรรม หรือร้อยละ 70 และกิจกรรม • พฒั นาระบบคลงั ขอ้ มลู • โครงการรวบรวมและจดั เก็บ ที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการแต่ล่าช้ากว่าระยะเวลา ความหลากหลาย ข้อมูลบัญชีกา๊ ซเรือนกระจก ทางชวี ภาพของ • การพฒั นาระบบที่เกยี่ วข้อง ประเทศไทย กบั กระบวนการยตุ ิธรรม สิง่ แวดลอ้ ม ทีก่ �ำหนด 44 กจิ กรรม หรอื ร้อยละ 14 การจัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมายภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ ก�ำหนดให้จัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมาย จ�ำนวน 35 ฉบับ โดยเป็นกฎหมายท่ีจัดท�ำแล้วเสร็จ 13 ฉบับ อาทิ พระราชบัญญตั อิ ทุ ยานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 พระราชบญั ญัตสิ งวนและคุม้ ครองสัตวป์ ่า พ.ศ. 2562 พระราชบญั ญัติ ป่าชุมชน พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนและการได้มาซ่ึงอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2562 นอกจากน้ี เป็นกฎหมายท่ีอยู่ระหว่างการด�ำเนินการ 22 ฉบับ เช่น กฎหมายว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ กฎหมาย ว่าด้วยจัดการทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพโดยชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตามแนวทางประชารัฐ กฎหมายวา่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เปน็ ต้น 11

(7) ด้านสาธารณสุข เป้าหมาย ประชาชนทุกภาคส่วนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีส่วนร่วมในการวางระบบในการดูแลสุขภาพ ได้รับโอกาสท่ีเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขท่ีจ�ำเป็น และอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการ มสี ขุ ภาวะตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ภายใตร้ ะบบสาธารณสขุ ทเี่ ปน็ เอกภาพและการอภบิ าลระบบทด่ี ี สถานการณ์ ปัจจุบันประเทศไทยก�ำลังเข้าสู่สังคมสูงวัยท่ีสมบูรณ์อย่างรวดเร็ว รวมทั้งการเกิดโรคอุบัติใหม่ และโรคอุบัติซ้�ำท่ีมีความถ่ีมากขึ้น ระบบบริการสาธารณสุขจึงเข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมสุขภาวะที่ดี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม เม่ือเทียบกับจ�ำนวนโครงสร้างประชากรภายในประเทศกับระบบบริการ สาธารณสุข พบว่า ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของประชน รวมท้ังความรอบรู้ด้านสุขภาวะของประชน ยังไม่เพียงพอต่อการจัดการปัญหาด้านสุขภาวะของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ซ่ึงสะท้อนให้เห็นว่า ยงั มีความทา้ ทายอย่างมากในการปฏิรปู ประเทศด้านสาธารณสขุ ให้สามารถบรรลเุ ปา้ หมายตามทต่ี ัง้ ไว้ ความก้าวหน้าการด�ำเนินการ แล้วเสร็จ รอ้ ยละ 2 ในภาพรวม แผนฯ ได้กำ� หนดเรื่อง • พฒั นารปู แบบบรกิ ารปฐมภมู ิ (คลนิ กิ หมอครอบครวั ) และประเด็นปฏิรูป รวม 10 เรื่อง • การจดั ตงั้ และดำ� เนนิ การคณะกรรมการสารสนเทศสขุ ภาพแหง่ ชาติ E-Payment Portal แ ล ะ มี จ� ำ น ว น กิ จ ก ร ร ม ภ า ย ใ ต ้ • ประกาศความรอบรขู้ องประชาชนเปน็ วาระแหง่ ชาติ แผนฯ รวม 139 กิจกรรม ทั้งน้ี เ ป ็ น กิ จ ก ร ร ม ที่ แ ล ้ ว เ ส ร็ จ ลา่ ช้า ร้อยละ 35 3 3 กิจกรรม หรือรอ้ ยละ 2 กิจกรรม • ทบทวนบทบาทโครงสร้างของหน่วยงานใน 49 ที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการตาม กระทรวงสาธารณสขุ ระยะเวลาท่ีก�ำหนด 87 กิจกรรม • การจดั ทำ� แผนแม่บทเทคโนโลยสี ารสนเทศสุขภาพ 87 หรือร้อยละ 63 และกิจกรรมท่ีอยู่ แห่งชาติ National Health IT Master Plan ระหว่างการด�ำเนินการแต่ล่าช้า • การพฒั นามาตรฐานรายงานตน้ ทนุ การจัดบรกิ าร ก ว ่ า ร ะ ย ะ เ ว ล า ท่ี ก� ำ ห น ด การทดลองใชแ้ ละขยายผลให้ทุกหนว่ ยบรกิ ารทัง้ รฐั 49 กิจกรรม หรอื รอ้ ยละ 35 และเอกชนด�ำเนนิ การ อยู่ระหว่างด�ำเนนิ การ ร้อยละ 63 • การเพม่ิ ความรอบร้ดู า้ นสุขภาพแก่ประชาชน • พฒั นาโรงพยาบาลในสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ และในสังกดั อื่น เช่น กรงุ เทพฯ เป็นแหล่งผลติ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครวั • การปรบั ระบบบริการสูร่ ะบบดิจิทัล การจัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมายภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านสาธารณสุขได้ก�ำหนดให้จัดท�ำหรือปรับปรุง กฎหมาย จ�ำนวน 14 ฉบับ โดยเป็นกฎหมายท่ีจัดท�ำแล้วเสร็จ 1 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติระบบบริการปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 นอกจากน้ี เป็นกฎหมายที่อยู่ระหว่างการดำ� เนินการ เช่น กฎหมายว่าด้วยการจัดหลักประกันสุขภาพ และแหล่งเงินส�ำหรับคนต่างชาติ กฎหมายว่าด้วยการแพทย์ฉุกเฉินเพ่ือจัดต้ังกองทุนการแพทย์ฉุกเฉินระดับเขต และกฎหมายว่าด้วยโครงสร้างการบริหารระบบสุขภาพแห่งชาติเพ่ือตั้งคณะกรรมการนโยบายสุขภาพแห่งชาติ เขตสุขภาพ/คณะกรรมการเขตสุขภาพ เปน็ ตน้ 12

(8) ด้านส่อื สารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมาย ให้เกิดดุลยภาพระหว่างเสรีภาพของการท�ำหน้าท่ีของสื่อบนความรับผิดชอบกับการก�ำกับท่ีมี ความชอบธรรม และการใช้พื้นที่ดิจิทัลเพื่อการส่ือสารอย่างมีจรรยาบรรณ ด�ำรงรักษาเสรีภาพของการแสดงออก และการรบั ร้ขู องประชาชน สถานการณ์ ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีด้านการสื่อสารส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมส่ือโดยรวม ท่ีต้องแข่งขันและเพ่ิมประสิทธิภาพให้สอดรับกับเทคโนโลยีดังกล่าว ท้ังในแง่ของคุณภาพของเน้ือหาสาระ ต้นทุน และรายไดจ้ ากการดำ� เนินการ การเปล่ยี นแปลงบทบาทของผูบ้ รโิ ภคสอ่ื กลายเป็นผู้ผลติ สื่อ สืบเนอ่ื งจากการพฒั นา ทางเทคโนโลยีขา้ งต้น ผบู้ ริโภคส่ือสามารถเปน็ ทัง้ ผรู้ บั และเปน็ ผู้คดิ หรอื สอื่ สารส่งตอ่ ขอ้ มลู ออกไป การเปล่ียนแปลง จริยธรรมในการท�ำหน้าที่ของส่ือ ในบางกรณีส่ือยังขาดจริยธรรมในการท�ำหน้าที่ ท�ำให้มีการเสนอข่าวสารท่ีอาจ ไม่เหมาะสมหรืออาจไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ส�ำหรับสาธารณชน รวมท้ัง ประเด็นความรู้เท่าทันสื่อของประชาชน ความสามารถในการแยกแยะคุณภาพ ของส่ือและข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นโทษ แล้วเสร็จ รอ้ ยละ 14 ไม่เป็นประโยชน์หรือข่าวลวงของ • การประกาศเรยี กคนื คลนื่ ความถท่ี ไ่ี มไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชนห์ รอื ใชไ้ มค่ มุ้ คา่ ประชาชนไทย • การจดั ทำ� กฎหมายวา่ ดว้ ยความมนั่ คงปลอดภยั ไซเบอร์ และกฎหมายขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ค ว า ม ก ้ า ว ห น ้ า ก า ร ด� ำ เ นิ น ก า ร ล่าชา้ รอ้ ยละ 14 อย่รู ะหวา่ งด�ำเนินการ ร้อยละ 59 ในภาพรวม แผนฯ ไดก้ ำ� หนดเรอื่ งและ • การบรรจสุ าระ • การสรา้ งการรบั รเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ในกลมุ่ ประชาชนทวั่ ไป ประเด็นปฏิรูป รวม 6 เรื่อง และมี “ร้เู ทา่ ทนั สอื่ ” • การปรบั ปรงุ การบรหิ ารจดั การโทรทศั นข์ องรฐั จำ� นวนกจิ กรรมภายใต้แผนฯ รวม 22 ในหลักสูตรระดับ • การเรง่ รดั การดำ� เนนิ การคณะกรรมการประสมั พนั ธแ์ หง่ ชาติ กิจกรรม ทั้งนี้ เป็นกิจกรรมที่แล้ว มัธยมศกึ ษา • การปรบั บทบาทของสถาบนั การประชาสมั พนั ธ์ เสร็จ 3 กิจกรรม หรือร้อยละ 14 ตอนปลาย และ กิจกรรมที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการ อดุ มศกึ ษา 3 13 ตามระยะเวลาที่ก�ำหนด 13 กิจกรรม • การจดั ท�ำ 3 หรือร้อยละ 59 กิจกรรมที่อยู่ระหวา่ ง กฎหมายว่าด้วย การด�ำเนินการแต่ล่าช้ากว่าระยะเวลา จรยิ ธรรมและ 3 ทกี่ �ำหนด 3 กจิ กรรม หรือรอ้ ยละ 14 มาตรฐาน แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ท่ี ต ้ อ ง ป รั บ ป รุ ง สอ่ื มวลชน 3 กิจกรรม หรือร้อยละ 14 ตอ้ งปรบั ปรุง รอ้ ยละ 14 • การปรับเปลย่ี นวิธกี ารประมูลคลื่นความถ่ี (Beauty Contest) • การแก้ไขกฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองเดก็ การจัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมายภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ก�ำหนดให้จัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมาย จ�ำนวน 7 ฉบับ โดยเป็นกฎหมายท่ีจัดท�ำแล้วเสร็จ 2 ฉบับ ได้แก่ พระราชบัญญัติการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 นอกจากน้ี เป็นกฎหมายท่ีอยู่ระหว่างการด�ำเนินการ คือ กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมจริยธรรมและ มาตรฐานวิชาชพี สือ่ มวลชน กฎหมายวา่ ด้วยการประกอบกจิ การกระจายเสยี งและกิจการโทรทัศน์ กฎหมายวา่ ดว้ ย การคุ้มครองเด็ก และกฎหมายว่าด้วยดาวเทียมสื่อสารและการด�ำเนนิ กจิ การในอวกาศ 13

(9) ดา้ นสงั คม เป้าหมาย คนไทยมีหลักประกันทางรายได้ในวัยเกษียณท่ีเพียงพอต่อการด�ำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ สังคมไทย เป็นสังคมแห่งโอกาสและไม่แบ่งแยก ภาครัฐมีข้อมูลและสารสนเทศด้านสังคมท่ีบูรณาการทุกหน่วยงานและ เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ ชุมชน/ท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง โดยสามารถจัดการกันเองและท�ำงานร่วม กบั ภาคส่วนต่าง ๆ ได้ คนไทยมกี ารปรบั เปล่ียนพฤติกรรมไปสู่การมีจิตสาธารณะเพมิ่ ขึ้น สถานการณ์ การพัฒนาประเทศในช่วงท่ีผ่านมาช่วยยกระดับทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมให้คนหลายกลุ่มมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีข้ึน อย่างไรก็ตาม ยังมีปัญหาและข้อท้าทายต่อการเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคตหลายด้าน ท่ีเป็นประเด็น ส�ำคัญต่อการปฏิรูปประเทศด้านสังคม อาทิ การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรไปสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ ความเหลือ่ มลำ้� ด้านรายได้ ความเหลอื่ มล้�ำด้านการเขา้ ถงึ การค้มุ ครองทางสังคม ข้อจ�ำกัดในการพฒั นาระดบั ชมุ ชน ความก้าวหน้าการด�ำเนินการ ลา่ ชา้ ร้อยละ 6 ในภาพรวม แผนฯ ไดก้ ำ� หนดเรอ่ื ง • การเสรมิ สร้างและพัฒนากองทนุ พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานทางสงั คม แ ล ะ ป ร ะ เ ด็ น ป ฏิ รู ป ร ว ม เพ่อื ให้องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ กยู้ ืม เพือ่ การพฒั นาสงั คม 5 ประเด็น และมีจ�ำนวนกิจกรรม ย่อยภายใต้แผนฯ รวม 3 แล้วเสร็จ ร้อยละ 38 50 กิจกรรมย่อย ท้ังน้ี เป็น • การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารกองทนุ กิจกรรมท่ีแล้วเสร็จ 19 กิจกรรม การออมแหง่ ชาติ (กอช.) ย่อย หรือร้อยละ 38 กจิ กรรมทีอ่ ยู่ 19 • ใชว้ สิ าหกจิ เพอื่ สงั คมกบั การพฒั นาสงั คม ระหว่างการด�ำเนินการตามระยะ เวลาท่ีก�ำหนด 28 กิจกรรม หรือ 28 • แกไ้ ขบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายทใี่ หผ้ สู้ งู อายุ ร้อยละ 56 กิจกรรมท่ีอยู่ระหว่าง สามารถรบั งานเปน็ ชนิ้ งาน การด�ำเนินการแต่ล่าช้ากว่าระยะ • จดั ทำ� กฎกระทรวงเรอื่ งหลกั ประกนั ทรพั ยส์ นิ อนื่ เวลาที่ก�ำหนด 3 กิจกรรม หรือ ตามทกี่ ำ� หนดใน พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั ทาง รอ้ ยละ 6 ธรุ กจิ พ.ศ. 2558 อยูร่ ะหว่างด�ำเนินการ รอ้ ยละ 56 • การสรา้ งระบบใหค้ นไทยมบี ำ� เหนจ็ บำ� นาญหลงั พน้ วยั ทำ� งาน • แกไ้ ข พระราชบญั ญตั สิ ภาองคช์ มุ ชน พ.ศ. 2551 การจัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมายภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านสังคมได้ก�ำหนดให้จัดท�ำหรือปรับปรุง กฎหมาย จำ� นวน 19 ฉบับ โดยเป็นกฎหมายทีจ่ ัดทำ� แล้วเสรจ็ 5 ฉบับ ไดแ้ ก่ พระราชบญั ญตั สิ ่งเสริมวิสาหกิจเพอื่ สังคม พ.ศ. 2562 พระราชบญั ญัติป่าไม้ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2562 กฎกระทรวงก�ำหนดให้ทรพั ย์สินอืน่ เป็นหลกั ประกนั พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัติสถาบันการเงินประชาชน และพระราชบัญญัติสหกรณ์ฯ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ เป็นกฎหมายทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งการดำ� เนนิ การ เชน่ กฎหมายวา่ ดว้ ยกองทนุ บ�ำเหน็จบำ� นาญ กฎหมายว่าดว้ ย สภาองค์กรชุมชน และกฎหมายล�ำดับรองภายใตพ้ ระราชบัญญัติวา่ ดว้ ยวสิ าหกิจเพอื่ สงั คม พ.ศ. 2562 เปน็ ต้น 14

(10) ดา้ นพลงั งาน เป้าหมาย ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการเพ่ือสร้างความเช่ือมั่นและการยอมรับของประชาชน ส่งเสริม ด้านเทคโนโลยีและการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้การบริหารจัดการด้านพลังงานมีธรรมาภิบาล มีการลงทุน โครงสร้างพ้ืนฐานพลังงานตามแผนจัดหาพลังงานท่ีปรับปรุงใหม่ และการลงทุนในอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับ ด้านพลังงาน สถานการณ์ ปัจจุบันประเทศไทยมีความเส่ียงด้านสัดส่วนเช้ือเพลิงท่ีไม่สมดุล ก�ำลังผลิตส�ำรองไฟฟ้าไม่เหมาะสม โครงสร้างพ้ืนฐานไม่เพียงพอรองรับต่อการผลิตไฟฟ้าใช้เองของผู้ใช้ไฟฟ้า และการวางแผนกระจายแหล่งเชื้อเพลิง ตามศักยภาพเชิงพ้ืนที่มีข้อจ�ำกัด รวมท้ังการบริหารจัดการความเสี่ยงและความมั่นคงด้านพลังงาน ท่ีเปลี่ยนแปลงไป ต้องอาศัยองค์ความรู้ด้านพลังงานเพื่อให้การท�ำงานสอดคล้องท้ังด้านนโยบาย การด�ำเนินงาน การลงทุน และการใช้โครงสร้างพื้นฐานเป็นไปอย่างมีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ ลดความซ�้ำซ้อนในการลงทุน ส่วนเกินจนกระทบต่อต้นทุนพลังงาน และระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ ล่าช้า รอ้ ยละ 27 • การออกขอ้ บัญญัติเกณฑม์ าตรฐานอาคารดา้ นพลังงาน • การออกออกระเบยี บว่าดว้ ยการสง่ เสรมิ กิจการโซลาร์รฟู เสรี ค ว า ม ก ้ า ว ห น ้ า ก า ร ด� ำ เ นิ น ก า ร • แผนปรบั ปรงุ ระบบส่งและระบบจำ� หนา่ ยให้มคี วามทันสมัยรองรบั เทคโนโลยี ในภาพรวม แผนฯ ไดก้ ำ� หนดเรอื่ งและ ระบบไฟฟา้ ในอนาคต ประเด็นปฏิรูป รวม 17 เรื่อง และมี จ�ำนวนกิจกรรมภายใต้แผนฯ รวม 71 กจิ กรรม ทัง้ นี้ เป็นกิจกรรมท่ีแลว้ 19 20 แลว้ เสรจ็ รอ้ ยละ 28 เสร็จ 20 กิจกรรม หรือร้อยละ 28 • การบรู ณาการทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งกระทรวงพลงั งาน และกระทรวงอตุ สาหกรรม ในการขบั เคลอื่ นโครงการ กิจกรรมที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการ สง่ เสรมิ การอนรุ กั ษพ์ ลงั งานภาคอตุ สาหกรรม ตามระยะเวลาท่ีก�ำหนด 32 กิจกรรม 32 • การจดั ตง้ั ศนู ยบ์ รกิ ารเบด็ เสรจ็ (OSS) ลดขนั้ ตอน หรือรอ้ ยละ 45 กิจกรรมทีอ่ ยรู่ ะหว่าง การขออนญุ าตจดั ตง้ั โรงไฟฟา้ และกา๊ ซธรรมชาติ การด�ำเนินการแต่ล่าช้ากว่าระยะเวลา อยู่ระหว่างดำ� เนินการ รอ้ ยละ 45 ที่กำ� หนด 19 กิจกรรม หรือร้อยละ 27 • การศกึ ษาปรบั โครงสรา้ งกจิ การไฟฟา้ เพอื่ รองรบั Prosumer และการคดั เลอื กโครงการ Sandbox เพอ่ื สง่ เสรมิ กจิ การไฟฟา้ เสรที ใ่ี ชพ้ ลงั งานทดแทนในชมุ ชน การจัดท�ำหรือปรับปรุงกฎหมายภาย • ปรบั แผนพฒั นาพลงั งานทดแทนและพลงั งานทางเลอื ก (AEDP) และทบทวน แผนบรหิ าร ใต้แผนการปฏิรูปประเทศ ด้าน จดั การนำ�้ มนั เชอื้ เพลงิ (Oil Plan) ใหส้ อดคลอ้ งกบั ประมาณการความตอ้ งการใชน้ ำ้� มนั (BAU) พ ลั ง ง า น ไ ด ้ ก� ำ ห น ด ใ ห ้ จั ด ท� ำ ห รื อ ปรับปรุงกฎหมาย จ�ำนวน 16 ฉบับ โดยเป็นกฎหมายที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการทั้งหมด อาทิ กฎหมายว่าด้วย การก�ำหนดพลังงานควบคุม ระเบียบและข้อก�ำหนดว่าด้วยการส่งเสริมกิจการโซลาร์รูฟเสรี ระเบียบว่าด้วย การส่งเสริมให้มีการเก็บสะสมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานทดแทน กฎหมายว่าด้วยการก�ำหนดประเภท หรือ ขนาดของอาคาร และมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. .... กฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ ง เพือ่ สนบั สนนุ การใชม้ าตรการบริษทั จดั การพลงั งาน (ESCO) ส�ำหรบั หน่วยงานภาครฐั 15

(11) ด้านการแปล้อะงปกรนั ะแพลฤะตปมิราิชบอปบรามการทจุ ริต เป้าหมาย ให้เกิดความโปร่งใส ปราศจากการทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ ผ่านการปลูกและ ปลุกจิตส�ำนึกของคนในชาติให้มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการปฏิบัติหน้าท่ีและการด�ำเนินชีวิต มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและภาคีเครือข่าย ในการแจ้งเบาะแสการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ และมีการปราบปรามด้วยความรวดเร็ว เด็ดขาด และเป็นธรรม สถานการณ์ ปัจจุบันสถานการณ์การทุจริตและประพฤติมิชอบในประเทศไทยน้ันมีหลากหลายรูปแบบ และ แพร่หลายเป็นวงกว้าง ซ่ึงมีผลกระทบเชิงลบต่อสังคมและเศรษฐกิจทุกประเทศ และในการประชุมสหประชาชาติ ครั้งท่ี 11 ได้ก�ำหนดให้การทุจริตคอร์รัปชันเป็นอาชญากรรมประเภทหน่ึงท่ีประชาคมโลกต้องให้ความร่วมมือ ในการปราบปราม โดยมีการประเมินสถานการณ์การทุจริตคอรร์ ัปชนั ในระดับสากล ซ่ึงหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบหลกั ในการประเมนิ คือ องค์กรเพอื่ ความโปรง่ ใสนานาชาติ (Transparency International: TI) ได้จัดท�ำดชั นกี ารรบั รู้ การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) และเม่ือเปรียบเทียบกับ ประเทศต่าง ๆ ในโลกทีไ่ ดร้ ับการประเมนิ 180 ประเทศ จะเหน็ ว่า ประเทศไทยได้ แลว้ เสรจ็ รอ้ ยละ 20 36 คะแนน เท่ากบั ปี 2018 ในขณะทท่ี กุ ประเทศมกี ารพฒั นา ทำ� ใหล้ ำ� ดับที่ซงึ่ ได้ • การกำ� หนดมาตรการกลไก รับการประเมินลดลงเมื่อเปรีบเทียบกับประเทศอ่ืนในทุกภูมิภาค จึงประเมินได้ว่า ในการใหค้ วามรปู้ ระชาชน ในการ ดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทยต่�ำลงในสายตาของต่างประเทศ และยัง เสรมิ สมรรถนะในการตอ่ ตา้ น การทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบ ห่างไกลจากเป้าหมายการปฏิรูปตามยุทธศาสตร์ชาติท่ีคาดหวังว่า จะได้มากกว่า • การมสี ถาบนั ทางวชิ าการทไ่ี ดร้ บั 50 คะแนน และไดล้ ำ� ดบั สูงกว่า 54 ในปี 2565 และไดล้ ำ� ดับสูงกว่า 20 ในปี 2580 มอบหมายใหศ้ กึ ษาวจิ ยั ปญั หา และพฒั นามาตรการทส่ี ำ� คญั อยา่ ง ความก้าวหน้าการด�ำเนินการในภาพรวม แผนฯ ได้ก�ำหนดเร่ืองและประเด็น ชดั เจน ปฏริ ูป รวม 6 เรือ่ ง และมีจ�ำนวนกิจกรรมภายใต้แผนฯ รวม 143 กจิ กรรม ทั้งนี้ เป็นกิจกรรมที่แล้วเสร็จ 28 กิจกรรม หรือร้อยละ 20 และกิจกรรมท่ีอยู่ระหว่าง 28 การด�ำเนนิ การตามระยะเวลาทกี่ ำ� หนด 115 กิจกรรม หรือรอ้ ยละ 80 115 ก า ร จั ด ท� ำ ห รื อ ป รั บ ป รุ ง ก ฎ ห ม า ย ภ า ย ใ ต ้ แ ผ น ก า ร ป ฏิ รู ป ป ร ะ เ ท ศ อยรู่ ะหวา่ งด�ำเนินการ รอ้ ยละ 80 ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบได้ก�ำหนดให้จัดท�ำ • การจดั อบรมเครอื ขา่ ยแจง้ เบาะแส หรือปรับปรุงกฎหมาย จ�ำนวน 25 ฉบับ โดยเป็นกฎหมายท่ีจัดท�ำแล้วเสร็จ การทจุ รติ 2 ฉบับ ได้แก่ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน • การปรบั ปรงุ การบรหิ ารจดั การ การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการน�ำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2562 และ การทำ� งานของรฐั พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต • การใหม้ มี าตรการในการคมุ้ ครอง พ.ศ. 2561 นอกจากนี้ เป็นกฎหมายทีอ่ ยรู่ ะหวา่ งการดำ� เนนิ การ เชน่ กฎหมายให้ ปกปอ้ งประชาชนจากการ ถกู กลน่ั แกลง้ ประชาชนสามารถได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะ • การใหท้ กุ หนว่ ยงานของรฐั ในครอบครองของหนว่ ยงานของรัฐ กฎหมายว่าดว้ ยการยักยอก การเบยี ดบัง หรอื ประกาศนโยบายไมร่ บั ประโยชนใ์ ด ๆ การยักย้ายถ่ายเททรัพย์สินโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ กฎหมายเก่ียวกับการต่อต้าน จากการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี การทุจริตและประพฤติมชิ อบในภาครัฐ และกฎหมายการพยายามกระท�ำความผิด การเตรียมการกระทำ� ความผิดฐาน ทุจริต (Conspiracy Theory) เป็นความผิดทางอาญา เปน็ ต้น 16

(12) ด้านการศึกษา เป้าหมาย ให้มีการยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหลื่อมล�้ำทางการศึกษา มุ่งความเป็นเลิศและ สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ในการใชท้ รัพยากร เพิ่มความคลอ่ งตวั ในการรองรับความหลากหลายของการจดั การศึกษา สถานการณ์ ปัจจุบันระบบการศึกษาไทยยังมีความซับซ้อนสูง คุณภาพของการศึกษายังไม่เป็นที่น่าพอใจ ความเลื่อมล�้ำทางการศึกษาสูง การใช้ทรัพยากรทางการศึกษายังไม่มีประสิทธิภาพ การกำ� กับดูแลและการบริหาร จัดการระบบการศึกษาของภาครัฐยังเป็นอุปสรรคส�ำคัญต่อการด�ำเนินการให้มีประสิทธิผล รวมทั้งระบบการศึกษา ของไทยยังเป็นความท้าทายอย่างย่ิงต่อการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทั้งยังไม่สอดคล้อง และตอบสนองต่อบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศในศตวรรษท่ี 21 ท่ีเทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรม ก�ำลงั เขา้ มามบี ทบาทมากขึ้น ซงึ่ จะสง่ ผลกระทบต่อการดำ� เนนิ ชวี ติ และอาชพี การงานของประชาชนไทยในอนาคต ความก้าวหน้าการด�ำเนินการในภาพรวม แผนฯ ได้ แลว้ เสรจ็ รอ้ ยละ 5 ก�ำหนดเร่ืองและประเด็นปฏิรูป รวม 7 เรื่อง และ • การจดั ทำ� ขอ้ เสนอวา่ ดว้ ยการเพม่ิ บทบาทของเอกชน มจี �ำนวนกิจกรรมภายใต้แผนฯ รวม 131 กจิ กรรม ท้งั นี้ ในการจดั การศกึ ษารปู แบบตา่ ง ๆ และกำ� กบั ดแู ลทเี่ หมาะสม เป็นกิจกรรมที่แล้วเสร็จ 6 กิจกรรม หรือร้อยละ 5 • การปรบั ปรงุ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ใหส้ อดคลอ้ ง พระราชบญั ญตั ิ กิจกรรมที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการตามระยะเวลา การศกึ ษาแหง่ ชาติ ที่ก�ำหนด 99 กิจกรรม หรือร้อยละ 77 และกิจกรรม • มกี ารเสรมิ สรา้ งสมรรถนะดา้ นดจิ ทิ ลั และการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการแต่ล่าช้ากว่าระยะเวลา ทกี่ �ำหนด 25 กจิ กรรม หรือรอ้ ยละ 19 6 ก า ร จั ด ท� ำ ห รื อ ป รั บ ป รุ ง ก ฎ ห ม า ย ภ า ย ใ ต ้ 25 แผนการปฏิรูปประเทศ ปรับปรุงกฎหมาย จ�ำนวน 7 ฉบับ โดยเป็นกฎหมายท่ีจัดท�ำแล้วเสร็จ 4 ฉบับ ได้แก่ ลา่ ชา้ ร้อยละ 19 99 พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 • การจดั ตงั้ สำ� นกั งานคณะกรรมการ พระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทาง นโยบายการศกึ ษาแหง่ ชาติ การศึกษา พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา • จดั ทำ� ขอ้ เสนอวา่ ดว้ ยการปฏริ ปู พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติพ้ืนท่ีนวัตกรรม การจดั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2562 นอกจากน้ี เป็นกฎหมายที่อยู่ระหว่าง การด�ำเนินการ คือ กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ อย่รู ะหวา่ งด�ำเนนิ การ รอ้ ยละ 77 กฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับ และกฎหมาย • การจดั ทำ� แกไ้ ข และปรบั ปรงุ กฎหมาย ใหส้ อดคลอ้ งกบั ว่าด้วยการจัดตั้งสถาบันหลักสูตรและการเรียนรู้ พระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. .... แห่งชาติ • สง่ เสรมิ นวตั กรรมในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื บคุ คลพกิ าร บคุ คลทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษ และบคุ คลทม่ี ี ความตอ้ งการการดแู ลเปน็ พเิ ศษ • จดั ทำ� ระบบขอ้ มลุ และสารสนเทศเพอื่ การศกึ ษา (Big Data In Education) • ปรบั ภาพลกั ษณแ์ ละทศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ อาชวี ศกึ ษา 17

รายงานฯ ประกอบดว้ ย 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนทห่ี นง่ึ แสดงนยิ ามและสาระส�ำคญั ของแผนการ ปฏริ ปู ประเทศ ความเชอื่ มโยงของยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละแผนระดบั ตา่ ง ๆ และผลการดำ� เนนิ การ ตามเป้าหมายของการปฏิรูปประเทศ ส่วนท่ีสอง แสดงผลการด�ำเนินการตามแผนการ ปฏิรูประเทศโดยแยกตามเรื่องและประเด็นปฏิรูปทั้ง 173 เร่ือง และส่วนที่สาม แสดง ประเดน็ ทา้ ทายและการด�ำเนนิ การในระยะต่อไป โดยมวี ิธอี ่านรายงานในสว่ นที่สอง ดงั นี้ การปฏปิรสปูรัญะปจลร�ำะักแเษทผณนศ์ รหสั แผน การปฏริ ูปประเทศ การปฏริ ูปปชรอ่ื ะแเทผนศ กมาคีรยปวทุ าฏธมศริ ดสปูา้าอสปนดตรทคระี่แ์ชลเทผาอ้ นศตงิ 18

วิธกี ารอ่านรายงาน สว่ นที่ 2.1 การสรปุ ผลในภาพรวมของแผนการปฏิรปู ประเทศ ช่อื แผนการปฏิรูปประเทศ รหัสแผน การปฏิรูปประเทศ ส่วนย่อยที่ 1 ส--- ากกสรถาาะรราสกกน�ำำำ��กคหหาญั นนรณขดดอเเแ์ รปงล่ือา้แะงหผแคมนลวากาะยามปรจรปำ�ะฏเเปดริ ็นน็ปู ปปฏระริ เูปทศ 19

สว่ นย่อยท่ี 2 ประเดน็ ทา้ ทายและข้อเสนอแนะ เพ่อื การบรรลเุ ปา้ หมายในภาพรวมของแผนการปฏิรูปประเทศ 20

ส่วนย่อยที่ 3 พรหรัส้อขมอแงถเบร่ือสงีแแสลดะงปสรถะาเนดะ็นคปวฏาิรมูปสำ� เรจ็ สรปุ ผลการด�ำเนินงาน รหสั แผนการปฏิรปู ประเทศ ในแตล่ ะเรื่องและประเด็นปฏิรปู XX XX รหัสเรือ่ งและประเดน็ ปฏริ ูป รพหรสัอ้ ขมอแงถเบร่อืสงแี แสลดะงปสรถะาเนดะ็นคปวฏาิรมปู สำ� เร็จ การแสดงสถานะ ความสำ� เรจ็ ในการด�ำเนินกจิ กรรม ของแต่ละเรื่องและ ประเด็นปฏริ ปู สแี ดง ประสบอปุ สรรค หกิจรือกยรรงั มไมอม่ ยกี่าางรเปด็น�ำเรนปู ินธรรม อยรู่สะีสหม้ วา่ งการดำ� เนนิ กจิ กรรม แตม่ คี วามลา่ ชา้ หรอื ความเสย่ี ง ทจ่ี ะไมบ่ รรลตุ ามเปา้ หมาย ทกี่ ำ� หนดไวใ้ นปี 2565 อยสเี่รู หะลหือวง่างด�ำเนินการ กิจกรรมและสามารถบรรลุ เปา้ หมายทก่ี �ำหนด ไว้ในปี 2565 มีกสาเี ขรยีดวำ� เนนิ กจิ กรรม ไดค้ รบถ้วนตามแผน 21

ส่วนท่ี 2.2 การสรปุ ผลในระดบั เรอ่ื งและประเด็นปฏริ ปู รหัสของเรือ่ งและประเดน็ ปฏริ ปู พร้อมแถบสแี สดงสถานะความส�ำเรจ็ รหัสแผนการปฏริ ปู ประเทศ XX XX รหัสเรื่องและประเดน็ ปฏริ ูป ปรชะอ่ืเดเร็นือ่ ปงฏแริลูปะ ข้อมูลและสถานการณ์ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับเร่ืองและประเด็นปฏิรปู 22

การด�ำเนนิ งานของหนว่ ยงานของรฐั และหน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ งในการขับเคล่อื น ให้บรรลผุ ลตามทีก่ ำ� หนดไว้ในเร่อื งและประเด็นปฏริ ปู ในช่วงปี 2561 - 2562 ประเดน็ ท้าทาย ทีส่ ง่ ผลตอ่ การขับเคลอื่ น ใหบ้ รรลผุ ลตาม ทกี่ ำ� หนดไวใ้ นเรื่อง และประเดน็ ปฏริ ปู ขอ้ เสนอแนะในการขบั เคลื่อนใหบ้ รรลุผลตามทกี่ �ำหนดไวใ้ นเรอ่ื ง และประเดน็ ปฏริ ปู 23

ส่วนที่ 1 บทนำ� การปฏริ ปู ประเทศ การปฏิรูป คือ การปรับปรุงส่ิงท่ีเป็นปัญหาหรืออุปสรรคให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพ่ือให้เหมาะสมหรือสมควรกับ บริบทและยุคสมัย รวมทั้งเพ่ือให้สามารถบรรลุเป้าหมายท่ีต้ังไว้ โดยการปฏิรูปประเทศได้ก�ำหนดเป้าหมายหลัก 3 ประการไวใ้ นรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย หมวด 16 การปฏิรปู ประเทศ ไดแ้ ก่ (1) ประเทศชาติมีความสงบ เรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างย่ังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ มีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ (2) สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาส อันทดั เทยี มกนั เพ่ือขจัดความเหล่ือมลำ�้ และ (3) ประชาชนมคี วามสุข มีคุณภาพชีวิตทีด่ ี และมสี ่วนรว่ มในการพฒั นา ประเทศและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข นอกจากน้ี ตามมาตรา 258 ของรัฐธรรมนูญฯ ได้ก�ำหนดให้ด�ำเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล โดยรายละเอียดของ วิธีการ การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ข้ันตอน การวัดผลและระยะเวลา รวมทั้งผลสัมฤทธิ์ ที่คาดหวังว่าจะบรรลุภายในระยะเวลาห้าปีให้ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติแผนและข้ันตอนการด�ำเนินการปฏิรูป ประเทศ พ.ศ. 2560 ความเช่ือมโยงของยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ กบั แผนการปฏริ ูปประเทศ รัฐธรรมนูญฯ มาตรา 65 ก�ำหนดให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน ตามหลกั ธรรมาภิบาลเพ่อื ใชเ้ ป็นกรอบในการจดั ทำ� แผนต่าง ๆ ใหส้ อดคลอ้ งและบรู ณาการกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ พลังผลกั ดนั ร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว เพ่ือน�ำประเทศไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ได้ตามท่ีกำ� หนดได้อย่างเป็น รูปธรรม ยุทธศาสตร์ชาติเป็นแผนระดับที่ 1 ตามนัยของมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 4 ธันวาคม 2560 เพ่ือใช้เป็น กรอบในการจัดท�ำแผนระดับที่ 2 และ 3 ของประเทศให้มีความสอดคล้องและบูรณาการกันอย่างเป็นระบบ โดยแผนระดับที่ 2 ประกอบด้วย แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการปฏริ ูปประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ และนโยบายและแผนระดบั ชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ จะเป็นการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขประเด็นปัญหาและอุปสรรคเร่งด่วนในช่วง ห้าปีแรกของยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อให้รากฐานการพัฒนามีความมั่นคง เหมาะสม และสมควรกับบริบทประเทศ และ พรอ้ มขับเคลื่อนประเทศให้บรรลเุ ปา้ หมายและวิสัยทัศนต์ ามยทุ ธศาสตรช์ าติ โดยเปน็ การมงุ่ เน้นการแกไ้ ขปัญหาเชงิ โครงสร้าง การปรับเปลี่ยนและปลดอุปสรรค “วิธีและกระบวนการ” หรือ “กลไก” หรือ “กฎระเบียบ” ท่ีส�ำคัญ เพ่ือให้การด�ำเนินงานของทุกภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง สะดวก มีประสิทธิภาพและบรรลุผลอันพึงประสงค์ ตามรัฐธรรมนูญ และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ และยุทธศาสตร์ชาติ ส�ำหรับแผนระดับท่ี 3 ประกอบด้วย แผนปฏิบัติการด้าน... แผนปฏิบัติราชการ 5 ปี และรายปี ซ่ึงเป็นแผนในเชิงปฏิบัติท่ีมีการระบุ การด�ำเนินงานท่ีความชัดเจนตามภารกิจของหน่วยงานของรัฐ จะเป็นกลไกส�ำคัญในการถ่ายทอดแนวทาง การขบั เคลอ่ื นประเทศในมติ ิต่าง ๆ ของยทุ ธศาสตรช์ าติ และแผนระดบั ที่ 2 ไปสูก่ ารปฏิบัติ 24

ส่วนที่ 1 บทนำ� 1 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 2 แผนการปฏิรปู ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ นโยบายและ ดา้ น... และสงั คมแหง่ ชาติ แผนระดบั ชาตวิ า่ ดว้ ย แผนแมบ่ ท ความมน่ั คงแหง่ ชาติ ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ 3 แผนปฏบิ ตั ริ าชการ (ราย 5 ปี และ รายป)ี แผนอื่น ๆ แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ น... ความเช่ือมโยงของยุทธศาสตร์ชาติและแผนระดับต่าง ๆ จะได้รับการถ่ายทอดผ่านแผนระดับท่ี 2 โดยเฉพาะ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติที่เป็นแผนเพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่ก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติตามที่บัญญัติไว้ ในพระราชบัญญัติการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ซึ่งจะต้องมีแนวทางการพัฒนาท่ีสอดคล้องกับ แผนระดบั ที่ 2 อกี 3 แผน ไดแ้ ก่ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และนโยบายและ แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ เพ่ือน�ำไปสู่การก�ำหนดการปฏิบัติที่มีความชัดเจนในแผนปฏิบัติราชการ และ/หรือแผนปฏิบัติการด้าน ที่ต้องมีการระบุการด�ำเนินงาน/โครงการท่ีสามารถน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมายของ ยุทธศาสตรช์ าตไิ ดอ้ ยา่ งเปน็ รูปธรรม 25

ส่วนท่ี 1 บทนำ� ท้ังนี้ แผนการปฏิรูปประเทศท้ัง 12 ด้าน มีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ สรปุ ได้ดงั นี้ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ฿ ยุ ทธ ศา ส ต ร ช า ติ ด า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ยทุ .ธ..ศ..า.ส..ต..ร..ช..า.ต...ิด.าน ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ความม่ันคง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น การพัฒนา การสรางโอกาส การสรางการเติบโต การปรับสมดุลและ และเสรมิ สรา งศักยภาพ และความเสมอภาค บนคณุ ภาพชีวติ ท่ีเปน พัฒนา การในสกราางรคแวขามงสขามันารถ มติ รตอ สิง่ แวดลอ ม ทรพั ยากรมนษุ ย ทางสังคม ระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ 26

สว่ นท่ี 1 บทน�ำ แผนการปฏริ ูปประเทศ การจัดท�ำแผนการปฏิรูปประเทศ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันท่ี 15 สิงหาคม 2560 แต่งต้ังคณะกรรมการ ปฏิรูปประเทศ จ�ำนวน 11 ด้าน เพ่ือจัดท�ำแผนการปฏิรูปประเทศ ให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี หลังจากรัฐธรรมนูญ ประกาศใช้ ประกอบไปด้วย (1) ด้านการเมือง (2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน (3) ด้านกฎหมาย (4) ด้านกระบวนการยุติธรรม (5) ด้านเศรษฐกิจ (6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (7) ด้านสาธารณสุข (8) ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ (9) ด้านสังคม (10) ด้านพลังงาน และ (11) ด้านการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยในส่วนของด้านการศึกษาและด้านกระบวนการยุติธรรม (ต�ำรวจ) ไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการขนึ้ ตามรฐั ธรรมนญู ฯ โดยมวี าระหนง่ึ ปหี ลงั จากรฐั ธรรมนญู ประกาศใช้ และสองปหี ลงั จากคณะ รัฐมนตรแี ตง่ ตงั้ ตามล�ำดบั คณะกรรมการปฏิรูปประเทศทั้ง 11 ด้านดังกล่าวได้จัดท�ำแผนการปฏิรูปประเทศข้ึนและประกาศ ในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 135 ตอนที่ 24 ก เมื่อวนั ท่ี 6 เมษายน 2561 สว่ นแผนการปฏริ ปู ประเทศด้านการศกึ ษา คณะรัฐมนตรไี ดม้ ีมติเหน็ ชอบเมอื่ วันท่ี 7 พฤษภาคม 2562 ตามทค่ี ณะกรรมการอสิ ระเพ่อื การปฏริ ูปการศึกษาเสนอ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามมาตรา 6 และมาตรา 12 ของพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการด�ำเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 โดยให้กับทุกหน่วยงานของรัฐมีหน้าท่ีด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผนการปฏิรูปประเทศเพ่ือให้ การปฏิรูปประเทศบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามระยะเวลาท่ีก�ำหนดไว้ ท้ังน้ี ในส่วนของคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการยุติธรรม (ต�ำรวจ) มีวัตถุประสงค์ในการด�ำเนินคือการแก้ไขกฎหมายโดยเฉพาะ ได้แก่ รา่ งพระราชบัญญัตติ �ำรวจแหง่ ชาติ พ.ศ. ... และรา่ งพระราชบญั ญตั ิสอบสวนคดีอาญา พ.ศ. ... ซึ่งปจั จุบนั อยู่ระหวา่ ง ด�ำเนินการ โดยคณะกรรมการทคี่ ณะรัฐมนตรไี ดม้ มี ตแิ ตง่ ตงั้ เมอื่ วันท่ี 22 สงิ หาคม 2562 แผนการปฏิรูปประเทศมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนในเชิงโครงสร้าง วิธีและกระบวนการ หรือกฎระเบียบท่ีส�ำคัญ เพื่อให้การด�ำเนินงานของทุกภาคส่วนมีประสิทธิภาพและบรรลุผลอันพึงประสงค์ตามรัฐธรรมนูญ โดยมี องค์ประกอบของแผน ได้แก่ ผลสัมฤทธ์ิท่ีคาดหวังให้บรรลุภายในระยะเวลาห้าปี แผนขั้นตอนและวิธีการ ก�ำหนด ระยะเวลา หน่วยงานรับผิดชอบ วงเงินที่คาดว่าจะใช้ โดยโครงสร้างของแผนการปฏิรูปประเทศในแต่ละด้าน จะแบ่งออกเป็นเร่ืองและประเด็นปฏิรูป และกิจกรรมภายใต้เรื่องและประเด็นปฏิรูปดังกล่าว โดยแผนการปฏิรูป ประเทศท้งั 12 ดา้ น มสี รุปสาระสำ� คัญของเป้าหมาย ดงั น้ี (1) ด้านการเมือง มีเป้าหมายเพ่ือการธ�ำรงไว้ซึ่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข เป็นการปกครองท่ีมีความม่ันคง มีความชอบธรรม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก่อให้เกิด ประโยชน์สุขแก่ประเทศชาติ บ้านเมืองและประชาชน สร้างการมีส่วนร่วม รู้จักยอมรับความเห็นท่ีแตกต่างกัน พรรคการเมืองด�ำเนินกิจกรรมโดยเปิดเผยและตรวจสอบได้และพัฒนาเป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชน ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบต่อประชาชนในการปฏิบัติหน้าท่ี ของตน และสร้างใหเ้ กิดการแก้ไขปัญหาความขดั แยง้ ทางการเมอื งโดยสันตวิ ิธี 27

ส่วนท่ี 1 บทนำ� (2) ดา้ นการบริหารราชการแผน่ ดนิ มเี ป้าหมายเพอ่ื ให้ (6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อ ง ค ์ ก ร ภ า ค รั ฐ เ ป ิ ด ก ว ้ า ง แ ล ะ เ ช่ื อ ม โ ย ง ข ้ อ มู ล กั น มีเป้าหมายให้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้รับ ด้วยระบบดิจิทัล โครงสร้างองค์กรกะทัดรัด ท�ำงานเพื่อ การรักษา ฟื้นฟู ท�ำให้เกิดความย่ังยืน เป็นรากฐาน ประชาชนโดยยึดการด�ำเนินงานเชิงพ้ืนที่เป็นหลัก ในการพัฒนาประเทศ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และ บริหารจัดการองค์กรและบริการประชาชนด้วยระบบ สิ่งแวดล้อม สร้างความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และ ดิจิทัล สรรหาและรักษาไว้ซึ่งก�ำลังคนคุณภาพสูง การใชป้ ระโยชน์ ทั้งทรัพยากรทางบก ทรพั ยากรทางนำ้� มีคุณธรรมและจริยธรรม และเป็นท่ีไว้วางใจของ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ความหลากหลายทาง ประชาชน รวมทั้ง ภาครัฐมีวฒั นธรรมต่อตา้ นการทจุ ริต ชีวภาพ สิ่งแวดล้อม และระบบการบริหารจัดการ และมีระบบป้องกันการแทรกแซงโดยไม่เป็นธรรมจาก ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ผูม้ อี ิทธิพล (7) ด้านสาธารณสุข มีเป้าหมายให้ประชาชน (3) ดา้ นกฎหมาย มเี ปา้ หมายเพอื่ ใหม้ กี ฎหมายทด่ี แี ละ ทกุ ภาคสว่ นมคี วามรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ มสี ว่ นรว่ มในการวาง เป็นธรรม สอดคล้องกับหลักนิตธิ รรม เพ่อื เปน็ เครือ่ งมอื ระบบในการดูแลสุขภาพ ได้รับโอกาสท่ีเท่าเทียมกัน ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยไม่สร้าง ในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จ�ำเป็น และอยู่ใน ภาระใหแ้ ก่ประชาชน และไมเ่ ปน็ อุปสรรคตอ่ การพัฒนา สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการมีสุขภาวะ ตามหลักปรัชญา ประเทศ ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการการจัดท�ำ ของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้ระบบสาธารณสุขท่ีเป็น กฎหมายอย่างเหมาะสม มีความรู้ความเข้าใจ และ เอกภาพและการอภิบาลระบบท่ดี ี สามารถเข้าถึงกฎหมายได้โดยง่าย และมีการบังคับใช้ (8) ดา้ นสอื่ สารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ มเี ปา้ หมาย กฎหมายอย่างถูกต้องและเป็นธรรม ให้เกิดดุลยภาพระหว่างเสรีภาพของการท�ำหน้าท่ีของ (4) ด้านกระบวนการยุติธรรม มีเป้าหมายให้ สื่อบนความรับผิดชอบกับการก�ำกับที่มีความชอบธรรม การด�ำเนินงานในทุกขั้นตอนมีระยะเวลาท่ีชัดเจน แ ล ะ ก า ร ใ ช ้ พื้ น ท่ี ดิ จิ ทั ล เ พ่ื อ ก า ร ส่ื อ ส า ร อ ย ่ า ง มี มีกลไกช่วยเหลือประชาชนโดยเสมอภาค มีกลไก จรรยาบรรณ ด�ำรงรักษาเสรีภาพของการแสดงออก บังคับการตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด พัฒนาระบบ และการรับรู้ของประชาชน สอบสวนคดีอาญาท่ีมีการตรวจสอบและถ่วงดุล ระบบ (9) ด้านสังคม มีเป้าหมายให้คนไทยมีหลักประกันทาง นิติวิทยาศาสตร์มีมาตรฐาน สร้างวัฒนธรรมองค์กรมุ่ง รายได้ในวัยเกษียณท่ีเพียงพอต่อการด�ำรงชีวิตอย่างมี อำ� นวยความยตุ ิธรรม คุณภาพ สังคมไทยเป็นสังคมแห่งโอกาสและ (5) ด้านเศรษฐกิจ มีเป้าหมายมุ่งเน้นให้เศรษฐกิจไทย ไม่แบ่งแยก ภาครัฐมีข้อมูลและสารสนเทศด้านสังคม “แข่งขันได้ กระจายประโยชน์สู่ประชาชน เติบโต ที่บูรณาการทุกหน่วยงานและเปิดโอกาสให้ประชาชน ยั่งยืน” โดยมีผลิตภาพสูงขึ้น มีความสามารถในการ สามารถเข้าถึงได้ ชุมชน/ท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง แข่งขันในระดับประเทศสูงข้ึน รวมท้ังมีการเติบโตอย่าง โดยสามารถจัดการกันเองและท�ำงานร่วมกับภาคส่วน ครอบคลุมท่ัวทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน และสถาบัน ต่าง ๆ ได้ คนไทยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปสู่ เศรษฐกจิ มีสมรรถนะสูงข้ึน การมีจิตสาธารณะเพิม่ ข้ึน 28

สว่ นที่ 1 บทนำ� (10) ด้านพลังงาน มีเป้าหมายเพ่ือปรับปรุงโครงสร้าง ให้มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดหลักธรรมาภิบาลและ การบริหารจดั การเพือ่ สร้างความเชอ่ื ม่ันและการยอมรับ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการปฏิบัติหน้าที่และ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ส ่ ง เ ส ริ ม ด ้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ การด�ำเนินชวี ติ มุ่งเน้นการมสี ่วนร่วมของภาคประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนให้การบริหารจัดการ และภาคีเครือข่ายในการแจ้งเบาะแสการทุจริตและ ด้านพลังงานมีธรรมาภิบาล มีการลงทุนโครงสร้าง ประพฤติมิชอบ และมีการปราบปรามด้วยความรวดเร็ว พ้ืนฐานพลังงานตามแผนจัดหาพลังงานที่ปรับปรุงใหม่ เด็ดขาดและเป็นธรรม แ ล ะ ก า ร ล ง ทุ น ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ท่ี เ ก่ี ย ว เ น่ื อ ง กั บ (12) ด้านการศึกษา มีเป้าหมายให้มีการยกระดับ ดา้ นพลงั งาน คุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหล่ือมล�้ำ (11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ ทางการศึกษา มุ่งความเป็นเลิศและสร้างขีด ประพฤติมิชอบ มีเป้าหมายให้เกิดความโปร่งใส ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และปรับปรุง ปราศจากการทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงาน ระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร ภาครัฐ ผ่านการปลูกและปลุกจิตส�ำนึกของคนในชาติ เพิ่มความคล่องตัวในการรองรับความหลากหลายของ การจัดการศกึ ษา ทั้งนี้ ในการด�ำเนนิ การตามแผนปฏิรปู ประเทศ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบตามแผน จะต้องมกี ารแปลงแผนดังกล่าวไปสู่ การปฏบิ ัติ โดยอาจด�ำเนนิ การในลกั ษณะโครงการหรอื กจิ กรรมท่ตี อ้ งใชเ้ งินลงทุนจากแหล่งเงนิ ตา่ ง ๆ หรืออาจ เป็นการก�ำหนดมาตรการ การปรับปรุงกฎระเบียบ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการด�ำเนินงานขององค์กร การปรับปรุงขนั้ ตอนการด�ำเนินงาน ซงึ่ อาจไมต่ ้องใชว้ งเงินจากแหลง่ เงินงบประมาณหรอื แหล่งเงินใด ผลสมั ฤทธ์ใิ นการปฏริ ูปประเทศท่ีคาดหวงั ว่าจะบรรลุภายในระยะเวลา 5 ปี แผน ขนั้ ตอน ระยะเวลา หนว่ ยงานของรัฐ วงเงินที่คาดวา่ และวิธกี าร หรือบุคคล จะใช้ การเสนอใหม้ หี รือแกไ้ ข ปรบั ปรงุ กฎหมายท่จี �ำเป็น หน่วยงานพิจารณาจดั ท�ำ แผนงาน/โครงการ การด�ำเนินงาน มาตรการ อื่นๆ 29

สว่ นท่ี 1 บทน�ำ ผลการด�ำเนนิ การตามเป้าหมายของการปฏิรูปประเทศ รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย หมวด 16 การปฏิรปู มุ่งผลสัมฤทธ์ิและความย่ังยืนทางการเงินและการคลัง ประเทศ ได้ก�ำหนดใหก้ ารปฏริ ปู ประเทศตอ้ งดำ� เนนิ การ ของประเทศ และสามารถสนับสนุนภาคประชาชนและ เพอื่ บรรลุเป้าหมาย 3 ประการ ไดแ้ ก่ (1) ประเทศชาติ ภาคธุรกิจให้มีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนา มคี วามสงบเรยี บรอ้ ย มคี วามสามคั คปี รองดอง มกี ารพฒั นา ประเทศได้อย่างสมดุลเพื่อให้ประเทศไทยมีความมั่นคง อย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และยั่งยืนเป็นต้น และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับ เป้าหมายทส่ี อง “สังคมมคี วามสงบสขุ เป็นธรรม และ การพัฒนาด้านจิตใจ (2) สังคมมีความสงบสุข มีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหล่ือมล้�ำ” เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัด ไดด้ ำ� เนนิ การผา่ นแผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นตา่ ง ๆ ซงึ่ ใน ความเหลื่อมล้�ำ และ (3) ประชาชนมคี วามสุข มีคณุ ภาพ ช่วงท่ีผ่านมามีความก้าวหน้าเป็นล�ำดับโดยก่อให้เกิดผล ชีวิตท่ีดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและ ประโยชน์ต่อประชาชน และภาคีการพัฒนาต่าง ๆ ของ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ ประเทศไทย เช่น การออกพระราชบัญญัติกองทุนเพื่อ ทรงเป็นประมุข ซึ่งแผนการปฏิรูปประเทศทั้ง 12 ด้าน ความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. 2561 ส่งผลให้ ได้ถ่ายทอดเป้าหมายดังกล่าวไปสู่เร่ืองและประเด็น เยาวชนและนักเรียนได้รับโอกาสทางการศึกษา การปฏริ ปู ประเทศภายใตแ้ ผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นตา่ ง ๆ อย่างเท่าเทียมกนั การออกพระราชบญั ญตั ิระบบบริการ และกอ่ ใหเ้ กดิ ผลประโยชนต์ อ่ ภาคประชาชน ภาคเอกชน ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 เพื่อด�ำเนินโครงการคลินิกหมอ ภาครัฐ และภาคสว่ นตา่ ง ๆ สรปุ ไดด้ งั นี้ ครอบครัว ส่งผลให้ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เป้าหมายท่ีหนึ่ง “ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย และสามารถดูแลสุขภาวะของตนเองได้ การเพิ่ม มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประสิทธิภาพการบริหารกองทุนการออมแห่งชาติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมคี วามสมดลุ การจดั ใหม้ ที นายความอาสาประจำ� สถานีต�ำรวจ การรับ ระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ” แจ้งความเร่ืองร้องทุกข์ต่างท้องที่ ท�ำให้ประชาชนได้รับ ได้ด�ำเนินการผ่านแผนการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ บริการสาธารณะ สวัสดิการ และการเข้าถึงกฎหมาย ซงึ่ ในชว่ งทผี่ า่ นมามคี วามกา้ วหนา้ เปน็ ลำ� ดบั โดยกอ่ ใหเ้ กดิ และกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาคกัน การออก ผลประโยชน์ต่อประชาชน และภาคีการพัฒนาต่าง ๆ พระราชบัญญัติ หลักเกณฑ์เก่ียวกับการจัดท�ำ ของประเทศไทย เช่น การออกพระราชบัญญัติสถาบัน ร่างกฎหมายและการประเมินผล สัมฤทธิ์ของกฎหมาย การเงนิ ประชาชน พ.ศ. 2562 ช่วยสง่ เสริมการออมและ พ.ศ. .... และการดำ� เนินการ Doing Business Portal ยกระดับแหล่งเงินทุนในระดับพื้นท่ีเพ่ือให้ประชาชน และ Gov Channel เพื่อขับเคล่ือนไปสู่ระบบอ�ำนวย ในชมุ ชนสามารถพง่ึ พาตนเองและพฒั นายกระดบั คณุ ภาพ ความสะดวกในการประกอบธุรกิจแบบครบวงจร ชีวิตได้ตามก�ำลังของตนอย่างมีภูมิคุ้มกัน การออก ช่วยให้ผู้ประกอบการทั้งภาคเอกชนและภาคการผลิต พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 ต่าง ๆ ได้รับความสะดวกในการด�ำเนินกิจการและ พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 เพื่อ สามารถแข่งขันกันภายใต้กฎระเบียบท่ีทันสมัย ไม่เป็น ยกระดบั การดำ� เนนิ การของภาครฐั ในดา้ นการเงนิ การคลงั อปุ สรรค และเท่าเทียมกัน เป็นตน้ แ ล ะ วิ ธี ง บ ป ร ะ ม า ณ ใ ห ้ ภ า ค รั ฐ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เป้าหมายที่สาม “ประชาชนมีความสขุ มีคณุ ภาพชีวิต 30

กระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาคกัน การออกพระราชบัญญตั ิ หลักเกณฑ์เก่ียวกบั การจัดทาร่างกฎหมาย และการประเมนิ ผล สัมฤทธ์ิของกฎหมาย พ.ศ. .... และการดาเนนิ การ Doing Buสsinว่ esนs Pทort่ีal1แลบะ Gทovนำ� Channel เพ่ือขับเคล่ือนไปสู่ระบบอานวยความสะดวกใน การ ประกอบธุรกิจแบบคร บวงจร ช่วยให้ ผู้ประกอบการทังภาคเอกชนและภาคการผลิตต่าง ๆ ไดร้ ับความสะดวกในการดาเนินกิจการและสามารถ แข่งขนั กันภายใต้กฎระเบียบที่ทนั สมัย ไมเ่ ป็นอุปสรรค และเท่าเทียมกนั เปน็ ต้น แพกทมผีค่ีเกปแปราดปนวะลรกรีร้ำามะะะกคแปหมภบเาหรทลกมรากวอาศ้าคปะำนงกควดียกมใฏกษหา้รทนาีิราสนัตนรอี่รูปสร่พรตว้าะำพปงิยเัฒ่าบนมปัฒใรง์ทอนร็ะนนน“รบๆาเ่ลวงปทราปต�ำซเมพศา่ระรปดึง่งะนืใดะบับใ็นชนชน้ทาๆโปอำนดำชกี่เมขชรบธยว่ตาะืออปินกง่ารปมงทง่อไงมพปตุขผี่โรใีคดรๆหยั่”าฒะวะยอน้เชเำกซนกัไนทมมิดดึ่างามาาศสใผ้ดรมธีพไปนขุลม�ทำีคิ ปชรรีเปสยวนะม่วะ่วรไามินงีเคะมเนตชทหทกุณโกรน่ยยี่ผาำา้่วศภชก่ราอวมกแำนผนษัหขนาพล์่ตามัตนรอมนช่อะอาร้างีีอิยวขปกท์ิตอรพทรงะ(เอสแเงฉร่ีหชดป่ืวน่วะเบีาม็ดปนรนเแชับาปาล็ลนลรนะทชา้อ็ปนะ่สวที่บดมมรห8มมาับัญใะีส)ลกขในโมญว่หพัับกดอกุขน้ตัปย.ทปงาศ”รกิกรปุกรร.่วา่ะอดะกไร2มรเดใ�ำกละท5ผหใ้ดรัุ่มน6ชงันศ้เงาเก2วาไมชกเิดัยทพนชืีวอำกผยนิน.ิรตงฎกศลมพกททกพาป.ีสาฒัี่รด�รำ.รภศ2รอะีใะนผ.5าทไหอโำา่ด2พ6ยกร้ปปน5้มวช1แพรร6แงานวระกะ2ตผท์ดตะเ�ำเนรท�ำอ่ลรปทหฐกาใศอ้ปรนศาหชาแมัรบนดไบร้ปละใเทใสปนปชัญะรหายฏลกกาะ้ทญกชยี่มิราำชรลัตูีปนนรรสาัพิปภชยแ่านาส์ลไพินมมะ้ี ปรดะาชรางชชีวนิตทแลีด่ ะี ไภดา้มคาีกตารรฐพาัฒนสนาากตล่างแลๆะขเหอมงาปะรสะมเทกศับไททกุ ยกลุ่มวทยั างกเาลรืออกอใกนพกราะรรเาพชิ่มบรญั ายญไัตดิป้จ่าาไกมก้ (าฉรบทบั �ำทไมี่ 8้ม)ีคพ่า.ใศน.พื้นท่ี เช2่น56ก2ารกอฎอกกรพะทรระวรงากชาบหัญนญดใัตหิกท้ ารรพั ผยัง์สเินมอื ่ืนงพเป.ศ็น.หล2กั5ป6ร2ะกันกพร.รศม.ส2ิท5ธ6์ิข1อทงตานใหป้แลระชสา่งชเสนรมิมที กาางรเลเพอื ่ิมกพในื้นกทาี่สรีเขพีย่ิมวของ เพร่ือาปยรไดับ้จเาปกลกี่ยานรกทราะไมบม้ วีคน่ากใานรพพืนัฒทน่ีกรารพม้ืนสททิ ่ีเธมข์ิ ือองงโตดนยกแาลระมสี ่งเสปรมิรกะาเทรเศพ่มิเปพ็นืนตทน้ ีส่ เี ขยี วของประเทศ เปน็ ตน้ แผแนผกนากราปรฏปริ ฏปู ิรปูปรปะเรทะศเททศ้งั ท1ัง21ด2้านด้าปนระปกรอะบกดอ้วบยด1้ว7ย31เร7อ่ื3งแเรลื่อะงปแรละะเดปน็ รกะเาดร็นปกฏาิรปูรปแฏลิระูปมีกแิจลกะรมรีกมิจหกรรือรปมรหะรเดือน็ ยอ่ ย ภาปยรใะตเด้แ็นผยน่อกยาภรปายฏใิรตูป้แปผรนะกเาทรศปรฏวิรมูป1ป,ร2ะ2เ9ทศกรจิ วกมรร1ม,229 กิจกรรม แผนกำรปฏริ ปู ประเทศ ประเดน็ กำรปฏิรปู กจิ กรรม/ประเดน็ ยอ่ ย 1 การเมอื ง 5 18 2 บริหารราชการแผ่นดิน 6 56 3 กฎหมาย 10 115 4 กระบวนการยุตธิ รรม 10 38 5 เศรษฐกจิ 55 121 6 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 36 325 7 สาธารณสุข 10 139 6 22 8 สอ่ื สารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 5 50 9 สังคม 17 71 10 พลงั งาน 6 143 11 ป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ 7 131 12 การศกึ ษา 173 1,229 รวม 10 31

สว่ นที่ 2 ผลการดำ� เนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการด�ำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ ด�ำเนินการโดยรวบรวมข้อมูล จากระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and Country Reform : eMENSCR) ซง่ึ ส�ำนักงานฯ ไดพ้ ฒั นาข้นึ เพ่อื รวบรวมข้อมลู สถานะการด�ำเนนิ งาน ของโครงการ กิจกรรม ข้อมูลด้านสถิติ และตัวช้ีวัดที่เก่ียวข้องกับการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผน การปฏิรูปประเทศ ซึ่ง ณ เดือนธันวาคม 2562 มีจ�ำนวนการรายงานโครงการหรือกิจกรรม ท้ังสิ้น 24,872 รายการ และเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ รวม 8,829 รายการ ส�ำนักงานฯ ได้ใช้ข้อมูล ดังกล่าวในการวิเคราะห์และประเมินผลสัมฤทธ์ิของการด�ำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ และสถานการณ์ ของเรื่องและประเด็นปฏิรูปบนหลักการ ดงั น้ี ผลสัมฤทธิ์การบรรลุเป้าหมายของการปฏิรูปประเทศ เนื่องจากแผนการปฏิรูปประเทศไม่ได้ก�ำหนดค่าเป้าหมาย หรือตัวช้ีวัดในระดับแผนไว้ ส�ำนักงานฯ จึงได้ประเมินผลการด�ำเนินงานของแต่ละเร่ืองและประเด็นปฏิรูปประเทศ ภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ โดยแสดงหลักการและเหตุผล และประเด็นส�ำคัญในการด�ำเนินการตามเรื่องและ ประเด็นปฏิรูป รวมทั้งเทียบเคียงข้อมูลสถานการณ์จากตัวชี้วัดในระดับประเทศหรือสากลที่เก่ียวเนื่องกัน และประเมินผลสัมฤทธิ์จากสถานะของตัวช้ีวัดดังกล่าว นอกจากนี้ ได้พิจารณาผลการด�ำเนินการของกิจกรรมภายใต้ เร่ืองและประเด็นปฏิรูป โดยแสดงผลออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ (1) สีแดง หมายถึง ประสบอุปสรรคหรือยังไม่มี การด�ำเนนิ กจิ กรรมภายใต้เรื่องและประเด็นปฏริ ปู อยา่ งเปน็ รปู ธรรม (2) สีส้ม หมายถงึ อยรู่ ะหวา่ งการด�ำเนนิ กจิ กรรม ภายใต้เร่ืองและประเด็นปฏิรูปแต่มีความล่าช้าหรือความเส่ียงที่จะไม่บรรลุตามเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ใน ปี 2565 (3) สีเหลือง หมายถึง อยู่ระหว่างการด�ำเนินการกิจกรรมภายใต้เรื่องและประเด็นปฏิรูปและสามารถบรรลุ เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ในปี 2565 และ (4) สีเขียว หมายถึง มีการด�ำเนินกิจกรรมภายใต้เรื่องและประเด็นปฏิรูปได้ ครบถว้ นตามแผน ยงั ไม่มี อยู่ระหว่าง อยรู่ ะหว่างดำ� เนนิ การ ดำ� เนินกจิ กรรม การด�ำเนินการ ด�ำเนนิ การแต่อาจ ตามแผน ไดค้ รบถ้วน ทเี่ ป็นรูปธรรม ไมบ่ รรลเุ ปา้ หมาย แผนการปฏริ ปู ประเทศทงั้ 12 ดา้ น ประกอบดว้ ยเรอื่ งและประเดน็ ปฏริ ปู รวมทง้ั สน้ิ 26 10 60 173 เรอ่ื ง โดยมีสรุปผลการประเมินตาม 4 ระดบั ได้แก่ ระดับสีแดง จำ� นวน 26 77 เรื่องและประเด็นปฏิรูป หรอื ร้อยละ 15 ระดบั สีส้ม จำ� นวน 77 เร่อื งและประเด็น ปฏิรูป หรือร้อยละ 44 ระดับสีเหลือง จ�ำนวน 60 เร่ืองและประเด็นปฏิรูป หรือ รอ้ ยละ 35 และระดบั สเี ขยี ว จำ� นวน 10 เรอ่ื งและประเดน็ ปฏริ ปู หรอื รอ้ ยละ 6 ดงั น้ี 32

สว่ นท่ี 2 ผลการด�ำเนินการตามแผนการปฏิรปู ประเทศ 24/03/63 -18.30 แผนการปฏิรูปประเทศ ด้าน... เรอื่ งและประเด็นปฏริ ูป 01 การเมือง 0101 0102 0103 0104 0105 02 การบริหารราชการแผน่ ดิน 0201 0202 0203 0204 0205 0206 03 กฎหมาย 0301 0302 0303 0304 0305 0306 0307 0308 0309 0310 04 กระบวนการยุติธรรม 0401 0402 0403 0404 0405 0406 0407 0408 0409 0410 05 เศรษฐกิจ 0501 0502 0503 0504 0505 0506 0507 0508 0509 0510 0511 0512 0513 0514 0515 0516 0517 0518 0519 0520 0521 0522 0523 0524 0525 0526 0527 0528 0529 0530 0531 0532 0533 0534 0535 0536 0537 0538 0539 0540 0541 0542 0543 0544 0545 0546 0547 0548 0549 0550 0551 0552 0553 0554 0555 06 สิ่งแวดล้อม 0601 0602 0603 0604 0605 0606 0607 0608 0609 0610 0611 0612 0613 0614 0615 0616 0617 0618 0619 0620 0621 0622 0623 0624 0625 0626 0627 0628 0629 0630 07 สาธารณสขุ 0631 0632 0633 0634 0635 0636 0701 0702 0703 0704 0705 0706 0707 0708 0709 0710 08 สอ่ื สารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 0801 0802 0803 0804 0805 0806 09 สังคม 0901 0902 0903 0904 0905 10 พลงั งาน 1001 1002 1003 1004 1005 1006 1007 1008 1009 1010 1011 1012 1013 1014 1015 1016 1017 11 การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ 1101 1102 1103 1104 1105 1106 12 การศึกษา 1201 1202 1203 1204 1205 1206 1207 สำ� หรบั ผลการดำ� เนนิ การของแผนการปฏริ ปู ประเทศ ทงั้ 12 ดา้ น ไดแ้ สดงในรายละเอยี ดโดยแบง่ ตามเรอื่ งและประเดน็ การปฏริ ปู ภายใตแ้ ตล่ ะดา้ น รวมทงั้ ปญั หาอปุ สรรคหรอื ประเดน็ ทา้ ทายทสี่ ำ� คญั และขอ้ เสนอแนะในการดำ� เนนิ การเพอื่ บรรลเุ ปา้ หมายของเรอ่ื งและประเดน็ การปฏริ ปู ดงั กลา่ ว โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 33

แผนการปฏริ ปู ประเทศ 01 ด้านการเมอื ง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ความม่ันคง การปรับสมดลุ และ พัฒนา ระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ “ ประชาชนมคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั การปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข ยอมรบั ความเห็นทแ่ี ตกต่าง พรรคการเมอื งดำ� เนินกิจกรรม โดยเปดิ เผยตรวจสอบได้ นกั การเมืองปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี ดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ ตลอดจนแกไ้ ขปัญหา ความขัดแย้งทางการเมอื งโดยสันติวิธี ”

แผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง 01 สถานการณ์การพัฒนาทางการเมืองและการปกครอง ทางการเมือง ตลอดทั้งการตรวจสอบการใช้อ�ำนาจรัฐ ในระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทยท่ีผ่านมา รู ้ จั ก ย อ ม รั บ ใ น ค ว า ม เ ห็ น ท า ง ก า ร เ มื อ ง โ ด ย สุ จ ริ ต มีความท้าทายอย่างสูง ความขัดแย้งทางการเมืองน�ำไปสู่ ท่ีแตกต่างกัน และให้ประชาชนใช้สิทธิเลือกตั้ง ความรุนแรงหลายครั้ง ซ่ึงเหตุการณ์ลักษณะน้ีได้วนเวียน และออกเสียงประชามติโดยอิสระปราศจากการครอบง�ำ มาอย่างยาวนานตลอดช่วงเวลาของการเป็นประเทศ ไม่วา่ ดว้ ยทางใด ประชาธิปไตย ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วมในความขดั แยง้ (2) ให้การด�ำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองเป็นไป จ�ำนวนมาก มีความคิดเห็นทางการเมืองแตกแยกเป็นฝัก โดยเปิดเผยและตรวจสอบได้ เพื่อให้พรรคการเมือง เป็นฝ่ายและไม่เป็นมิตรต่อกัน โดยต่างฝ่ายต่างกล่าวอ้าง พัฒนาเป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชน ซึ่งมี ความชอบธรรมในอำ� นาจทแ่ี ตกตา่ งกนั ซงึ่ เกดิ จากความเชอ่ื อุดมการณ์ทางการเมืองร่วมกัน มีกระบวนการให้สมาชิก ทัศนคติ และความเข้าใจในหลักการปกครองระบอบ พรรคการเมืองมีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบอย่าง ประชาธิปไตยที่แตกต่าง การเลือกต้ังไม่เป็นไปโดยสุจริต แท้จริงในการด�ำเนินกิจกรรมทางการเมืองและการ และเท่ียงธรรม นักการเมืองขาดคุณสมบัติและจริยธรรม คัดเลือกผู้มีความรู้ความสามารถ ซื่อสัตย์สุจริต และไม่ได้ท�ำหน้าที่เป็นผู้แทนของประชาชนอย่างแท้จริง และมีคุณธรรมจริยธรรม เข้ามาเป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง เกิดปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ พรรคการเมือง ทางการเมืองที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ถูกครอบง�ำจากนายทุน ประเด็นต่าง ๆ เหล่านี้ (3) มีกลไกท่ีก�ำหนดความรับผิดชอบของพรรคการเมือง น� ำ ป ร ะ เ ท ศ ไ ป สู ่ ค ว า ม ไ ร ้ เ ส ถี ย ร ภ า พ ท า ง ก า ร เ มื อ ง ในการประกาศโฆษณานโยบายที่มิได้วิเคราะห์ผลกระทบ และส่งผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ความคมุ้ คา่ และความเส่ียงอย่างรอบด้าน และความม่ันคงของประเทศ ด้วยเหตุน้ีจึงเป็นท่ีมาของ (4) มีกลไกท่ีก�ำหนดให้ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองต้อง การจัดท�ำแผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง โดยได้ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซ่ือสัตย์สุจริตและรับผิดชอบ ก�ำหนดเป้าหมายของแผนการปฏิรูปประเทศด้าน ต่อประชาชนในการปฏิบัติหน้าท่ีของตน การเมือง ดงั น้ี (5) มีกลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง (1) ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับ โดยสันติวิธีภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมในการด�ำเนินกิจกรรม ภาพรวมแผนการปฏริ ูปประเทศด้านการเมอื ง เรือ่ งและประเดน็ การปฏิรูปตามแผนการปฏริ ปู ประเทศด้านการเมอื ง การเสรมิ สรางวฒั นธรรมทางการเมอื งและ การกระจายอาํ นาจ การสรา งรัฐธรรมาธปิ ไตย การมสี วนรว มของประชาชนในระบอบ การปกครองสวนทองถิ่น และการจดั สรรทรพั ยากรท่เี ปน ธรรม ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย ทรงเปนประมขุ 12345 กลไกการแกไขปญ หาความ การเลือกตัง้ ท่สี จุ ริตและเทย่ี ง ขัดแยงโดยสนั ตวิ ิธแี ละการรู ธรรมเพอื่ การปฏิรูปประเทศ รกั สามคั คีของสงั คมไทย 35

01 แผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ประเด็นทา้ ทายและขอ้ เสนอแนะ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในกระบวนการประชาธิปไตย วัฒนธรรมทางการเมือง ค่านิยมและทัศนคติ ปัจจุบัน ถึงแม้กระแสความตื่นตัวทางการเมืองของประชาชน การแสดงความคดิ เหน็ ทางการเมืองของประชาชนมอี ย่าง ในประเทศจะมีแนวโน้มสูงขึ้น การมีส่วนร่วมทาง กว้างขวาง ผ่านกิจกรรมและสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ การเมืองตามช่องทางหรือกลไกตามกฎหมายยังคงเป็น อย่างไรกต็ าม ความคิดเห็นทางการเมอื งในหลายลักษณะ ประเด็นท้าทายท่ีทุกภาคส่วนจะต้องร่วมกันผลักดัน ยังคงมีแนวโน้มที่น�ำไปสู่การแบ่งฝักแบ่งฝ่ายและการ ให้เพิ่มข้ึน อย่างเช่น สัดส่วนผู้มาใช้สิทธิเลือกต้ัง ไม่ยอมรับความเห็นท่ีแตกต่าง ซ่ึงมีโอกาสท่ีจะน�ำไปสู่ ต่อจ�ำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งยังน้อยกว่าประเทศพัฒนาแล้ว ความรุนแรงได้ ท้ังนี้ การสร้างความรู้ความเข้าใจต่อการ อยู่มาก ขณะเดียวกันการมีส่วนร่วมในระดับท้องถ่ิน ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ยังมีโอกาสท่ีจะพัฒนาให้สูงข้ึนได้ ดังน้ัน หน่วยงานท่ี ทรงเป็นประมุขอย่างถูกต้องและเหมาะสมให้กับ เก่ียวข้องควรเร่งด�ำเนินการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชนเป็นประเด็นท้าทายที่ส�ำคัญ ซ่ึงหน่วยงานที่ ประชาชนในระดับต่าง ๆ โดยอาจสร้างการตระหนักรู้ให้ เกี่ยวข้องจ�ำเป็นต้องเร่งด�ำเนินการให้แก่ประชาชนในทุก ประชาชนเห็นถึงประโยชน์ของการเข้ามามีส่วนร่วม ระดับอย่างต่อเน่ืองและเหมาะสม เพ่ือเสริมสร้างค่านิยม ทางการเมือง ตลอดจนการสร้างความเชื่อม่ันของ และทัศนคติต่อประชาธิปไตยที่ถูกต้องและสร้างสรรค์ ประชาชนตอ่ สถาบันทางการเมอื งต่าง ๆ อนั เปน็ การสรา้ งพน้ื ฐานของประชาธปิ ไตยใหเ้ ขม้ แขง็ ตอ่ ไป กลไกการตรวจสอบและถ่วงดุล ปัจจุบันมีกระบวนการ และกลไกในการติดตาม ตรวจสอบ และถ่วงดุล การด�ำเนินการของรัฐท้ังฝ่ายการเมืองและข้าราชการ ประจำ� อยา่ งไรกต็ าม การสร้างความรู้ความเขา้ ใจในการ เข้าถึงกระบวนการและกลไกต่าง ๆ ให้กับประชาชน ยังเป็นประเด็นท้าทายที่ภาครัฐต้องให้ความส�ำคัญ ตลอดจนเพิ่มการพัฒนาการด�ำเนินการของกระบวนการ และกลไกในการติดตาม ตรวจสอบ และถ่วงดุล ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ โปร่งใส และยตุ ธิ รรม ดังนั้น หน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องควรเร่งสร้างการตระหนักรู้และเผยแพร่ข้อมูล ให้ประชาชนทราบถึงกระบวนการและกลไกดังกล่าว ตลอดจนเร่งพัฒนามาตรการการบังคับใช้กระบวนการ และกลไก เพ่ือให้การติดตาม ตรวจสอบ และถ่วงดุล มีประสิทธิภาพและยุติธรรม ท้ังนี้ อาจพิจารณา นำ� เทคโนโลยดี ิจิทลั และนวตั กรรมมาเปน็ เครอ่ื งมือในการ เผยแพร่ข้อมูล เสริมสร้างการมีส่วนร่วม การติดตาม และการตรวจสอบ ตลอดจนใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ในการเสนอแนะและใหค้ วามเหน็ ตอ่ การดำ� เนนิ การตา่ ง ๆ 36

แผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมอื ง 01 สรปุ การด�ำเนนิ งานของเรอ่ื งและประเดน็ ปฏริ ปู 0101 เร่ืองและประเด็นปฏิรูปที่ 1 การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ การด�ำเนินการเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ มีลักษณะเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แก่ประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ เช่น โครงการเก่ียวกับการส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตยและการมีร่วมของประชาชน การสร้างพลเมืองดวี ิถปี ระชาธปิ ไตย โดยมุ่งให้ ประชาชนมีความเขา้ ใจเกี่ยวกับสิทธิและหนา้ ที่พลเมอื งที่ดี 0102 เรอ่ื งและประเดน็ ปฏริ ปู ที่ 2 กลไกการแกไ้ ขปญั หาความขดั แยง้ โดยสนั ตวิ ธิ แี ละการรรู้ กั สามคั คขี องสงั คมไทย การด�ำเนินการท่ีผ่านมามุ่งเน้นการสร้างความตระหนักรู้ และการพัฒนากลไกหรือมาตรการต่าง ๆ เช่น การด�ำเนิน โครงการปลูกฝังจิตส�ำนึกรักสามัคคีและส่งเสริมความปรองดองของคนในชาติ เพ่ือเสริมสร้างจิตส�ำนึกเรียน รู้เชิงสร้างสรรค์ พัฒนาสังคมให้มีความสามัคคีปรองดอง และการด�ำเนินโครงการฝึกอบรมเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุม สาธารณะและข้าราชการต�ำรวจซ่ึงปฏิบัติหน้าที่ดูแลการชุมนุมสาธารณะ เพ่ือเตรียมความพร้อมในการดูแลความสงบ เรยี บร้อยจากปัญหาการใช้ความรุนแรงดว้ ยสันตวิ ิธี 0103 เรอื่ งและประเดน็ ปฏริ ปู ที่ 3 การกระจายอำ� นาจ การปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และการจดั สรรทรพั ยากรทเี่ ปน็ ธรรม ได้มีการด�ำเนินการเพ่ือขับเคล่ือนการบรรลุเป้าหมายในการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) โดยไดด้ �ำเนินโครงการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA) เพ่ือประเมินประสิทธิภาพ ศักยภาพ ความพร้อมในการด�ำเนินกิจการต่าง ๆ ของ อปท. เช่น การให้บริการสาธารณะประชาชน ความพร้อมในการรองรับ ภารกิจถ่ายโอนต่าง ๆ อีกท้ังมีการด�ำเนินการประชาสัมพันธ์เพ่ือสร้างความตื่นตัวให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการ เลอื กตง้ั ท้องถิน่ เพือ่ เข้ามาพฒั นาท้องถ่ินของตนเอง โดยตนเอง เรอื่ งและประเด็นปฏิรูปที่ 4 การเลือกตง้ั ทส่ี จุ รติ และเทยี่ งธรรมเพ่ือการปฏิรูปประเทศ 0104 ทผี่ า่ นมาไดม้ กี ารดำ� เนนิ การเพอ่ื ผลกั ดนั การบรรลเุ ปา้ หมายในการใหม้ เี ลอื กตงั้ ทส่ี จุ รติ เทย่ี งธรรม และเพอ่ื เตรยี มความพรอ้ ม ก่อนการเลือกตั้งท่ัวไปปี 2562 โดยไดม้ กี ารดำ� เนินโครงการต่าง ๆ เกีย่ วกับการประชาสมั พนั ธ์ การเตรียมการเลอื กตง้ั การจดั การเลอื กตัง้ ตลอดจนการตรวจสอบหลังการเลอื กตงั้ เพอ่ื ผลกั ดนั ให้เกดิ การเลอื กต้งั ที่สจุ รติ และเท่ียงธรรม เรอ่ื งและประเดน็ ปฏริ ปู ที่ 5 การสรา้ งรฐั ธรรมาธปิ ไตย 0105 ท่ีผ่านมาได้ด�ำเนินโครงการเพ่ือขับเคล่ือนเป้าหมายของประเด็นการสร้างรัฐธรรมาธิปไตย อาทิ โครงการ ผลติ สอ่ื และกจิ กรรมตา่ ง ๆ โครงการสำ� รวจความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ ผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซึ่ง ผดู้ �ำรงตำ� แหน่งทางการเมืองและบคุ ลากรภาครัฐ ที่มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภิบาลในการบรหิ ารประเทศ 0101 0102 0103 0104 0105 37

01 แผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมอื ง 0101 เรอื่ งและประเดน็ ปฏิรูปท่ี 1 38 การเสริมสรา้ งวฒั นธรรมทางการเมือง และการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ ทรงเปน็ ประมุข สงั คมไทยยงั คงประสบปญั หาจากการท่ี ประชาชนยงั มที ศั นคติ คา่ นยิ ม ความเชอื่ และความเข้าใจในหลักการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ ทรงเป็นประมุขท่ีแตกต่างกัน และยังมี ประชาชนในหลายกลุ่มเป้าหมาย ท่ีขาดโอกาสในการพัฒนาการเรียนรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย และการปฏิบัติ ในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวันได้อย่างเป็น รูปธรรม ซ่ึงเป็นรากฐานส�ำคัญในการ สร้างสังคมประชาธิปไตยที่ทุกคน สามารถอยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งสงบ อยา่ งไรกต็ าม การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมทางการเมอื งและการมสี ว่ นรว่ ม ของประชาชนมีแนวโน้มการพัฒนาที่ดีขึ้น โดย the Economist Intelligence Units ได้ประเมิน วัฒนธรรมทางการเมืองของไทยในปี 2562 พบว่า คะแนนของวัฒนธรรมทางการเมืองของไทย นับตั้งแต่ก่อนมีแผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในปี 2560 (5.0 คะแนน) มีพัฒนาการที่ดีข้ึนใน ปี 2562 (6.25 คะแนน) ซง่ึ ปัจจุบนั เป็นอนั ดับที่ 1 ของอาเซียนร่วมกบั สงิ คโปรแ์ ละมาเลเซยี พร้อมกัน นั้น การมีส่วนร่วมของประชาชนมีแนวโน้มการพัฒนาในทิศทางที่ดีข้ึนจากปี 2560 (5.0 คะแนน) ถึงปี 2562 (6.11) ซ่งึ อยใู่ นล�ำดบั ที่ 3 ของอาเซยี นรว่ มกับอนิ โดนีเซียอีกดว้ ย ในช่วงท่ีผ่านมาการด�ำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายของ ประเด็นการปฏิรูปเร่ืองการเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมือง และการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีลักษณะการด�ำเนินงานที่มุ่ง สร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับระบอบประชาธิปไตยให้แก่ ประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ โดยได้ด�ำเนินโครงการเก่ียวกับ การส่งเสริมประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมของประชาชน การสร้างพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย การส่งเสริมวิถีชีวิตแบบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ และโครงการ ขับเคล่ือนนโยบายของรัฐผ่านกลไกหมู่บ้าน โดยมีเป้าหมายเพ่ือ ให้ประชาชนมีความเข้าใจเก่ียวกับสิทธิและหน้าท่ีในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และให้ ประชาชนเป็นพลเมืองท่ีดีและมสี ่วนรว่ มทางการเมอื งเพมิ่ ขึ้น อยา่ งไรกต็ าม การส่งเสริมวัฒนธรรมทางการเมืองเป็นกระบวน

แผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง 01 0101 อย่างไรก็ตาม การส่งเสริมวัฒนธรรมทางการเมือง ดังน้ัน ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องควรเร่งด�ำเนินการส่งเสริมการ เป็นกระบวนการขัดเกลาทางสังคมรูปแบบหน่ึง ซ่ึงมีทั้ง มีส่วนร่วมของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยเพ่ือให้ รูปแบบทางตรงและทางอ้อม โดยการด�ำเนินการที่ผ่านมา ประชาชนได้รับประสบการณ์และเรียนรู้วัฒนธรรมทาง เน้นไปท่ีการสร้างความรู้ความเข้าใจผ่านการให้ความรู้ การเมอื งโดยตรง อาทิ โครงการสง่ เสรมิ บทบาทการมสี ว่ นรว่ ม และการศึกษา ซึ่งเป็นลักษณะของการส่งเสริมวัฒนธรรม ของประชาชนในการก�ำหนดนโยบายสาธารณะ การจัดให้ ทางการเมือง ทางอ้อม ดังน้ัน ประเด็นท้าทายที่ส�ำคัญ มีการเลือกต้ังท้องถ่ินและโครงการที่เก่ียวข้องกับการสร้าง คือการส่งเสริม การเรียนรวู้ ฒั นธรรมประชาธิปไตยทางตรง ความตระหนกั รใู้ นความสำ� คญั ของกระบวนการการเลอื กตงั้ ควบคู่ไปด้วย โดยการส่งเสริมใหป้ ระชาชนเข้ามามีสว่ นร่วม ท้องถิ่น ตลอดจนการปรับปรุงหลักสูตรการเสริมสร้าง ทางการเมืองผ่านกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การรวมกลุ่มใน วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ ห ้ เ น ้ น ก า ร ป ฏิ บั ติ เ พ่ิ ม ข้ึ น ชมุ ชน และสถาบนั พรรคการเมอื ง รฐั สภา และหน่วยงาน ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ของรฐั และการใช้สทิ ธขิ องตนผ่านการเลือกตง้ั ระดับตา่ ง ๆ ท้ังในและนอกระบบ 39

01 แผนการปฏริ ูปประเทศด้านการเมือง 0102 เรือ่ งและประเด็นปฏริ ปู ที่ 2 กลไกการแก้ไขปญั หาความขดั แย้ง โดยสันติวิธแี ละการรรู้ ักสามคั คี ของสงั คมไทย ทีม่ า: Worldwide Governance Indicators, World Bank Group สถานการณ์ทางการเมืองของประเทศไทยท่ีผ่านมายังมีความขัดแย้งทางการเมืองและการใช้ ความรุนแรงในหลายคร้ัง เกิดความคิดเห็นที่แตกแยก แบ่งเป็นฝักเป็นฝ่ายและความไม่ไว้วางใจซ่ึง กันและกัน ส่งผลให้เกิดการบั่นทอนศักยภาพในการพัฒนาและเสถียรภาพการบริหารประเทศ รวมท้ังการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประเทศขาดความต่อเน่ือง จึงมีความจ�ำเป็น ที่จะต้องส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้รักสามัคคีปรองดอง มีความสมานฉันท์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติ ยอมรับและเคารพความเห็นทางการเมืองโดยสุจริตท่ีแตกต่างกัน โดยดัชนีธรรมาภิบาลโลก (World Wide Governance Indicators) จัดท�ำโดยธนาคารโลก ได้ประเมินเสถียรภาพทางการ เมืองและการปราศจากความรุนแรง (Political Stability and Absence of Violence) พบว่า ประเทศไทยมคี ะแนนทด่ี ขี ึ้นเป็นล�ำดับ ตั้งแต่ ปี 2559 (14.29) ถึงปี 2561 (19.52) ทง้ั น้ี เสถยี รภาพ ทางการเมืองและการปราศจากความรุนแรงของไทยยังเป็นประเด็นส�ำคัญที่จ�ำเป็นต้องได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเม่ือเปรียบเทียบกับประเทศในอาเซียนพบว่า ประเทศไทยยังคงอยู่ล�ำดับ ที่ 8 ของประเทศในอาเซียน 40

แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นการเมือง 01 0102 ท่ีผ่านมาได้มีการด�ำเนินการเพ่ือขับเคลื่อนเป้าหมายของประเด็นกลไกการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี และการรู้รักสามัคคีของสังคมไทย ได้มุ่งเน้นในการสร้างการตระหนักรู้ การพัฒนากลไกและมาตรการต่าง ๆ โดยได้ด�ำเนินโครงการปลูกฝังจิตส�ำนึกรักสามัคคีและส่งเสริมความปรองดองของคนในชาติ เพ่ือเสริมสร้างกระบวนการ คิดและการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ ซ่ึงเป็นรากฐานของการพัฒนาสังคมให้มีความสามัคคีปรองดอง ให้กับประชาชน เยาวชน และจิตอาสา นอกจากน้ี ยังได้ด�ำเนินการเตรียมความพร้อมในการรักษาความสงบด้วยสันติวิธี อาทิ โครงการฝึกอบรมเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะและข้าราชการต�ำรวจซ่ึงปฏิบัติหน้าที่ดูแลการชุมนุมสาธารณะ ทั้งน้ี ความท้าทายในการบรรลุเป้าหมายของกลไกการ ดังนั้น ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องควรเร่งด�ำเนินการปลูกฝัง แก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธีและการรู้รักสามัคคี ทัศนคติ ค่านิยมประชาธิปไตย และการเคารพความเห็น ของสังคมไทย คือ การปลูกฝังประชาชนให้มีทัศนคติ ทางการเมืองโดยสุจริตท่ีแตกต่าง อาทิ โครงการ และค่านิยมการเคารพความเห็นทางการเมืองโดยสุจริตที่ ท่ีเก่ียวข้องกับการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน แตกตา่ ง โดยจำ� เปน็ ตอ้ งปลกู ฝงั ตง้ั แตเ่ ยาวว์ ยั และดำ� เนนิ การ ที่เน้นการสร้างทัศนคติและค่านิยมที่พึงประสงค์ อีกทั้ง อย่างต่อเน่ืองในทุกช่วงวัย และการมีกลไกการแก้ไข ด�ำเนินโครงการท่ีเก่ียวข้องกับการส่ือสาร เผยแพร่ ปัญหาความขัดแย้งแบบสันติวิธี โดยมีกระบวนการที่ การอบรมให้ความรู้เพ่ือสร้างทัศนคติและค่านิยมดังกล่าว เป็นธรรมและเป็นท่ียอมรับของทุกฝ่าย ซึ่งจ�ำเป็นต้อง นอกจากนี้ ควรเร่งด�ำเนินโครงการสร้างกลไกและ ดำ� เนนิ การทง้ั 2 ลักษณะควบคกู่ ันไป มาตรการในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแบบสันติวิธี รวมทั้งขยายช่องทางของกลไกต่าง ๆ ท่ีมีอยู่แล้ว อาทิ รัฐสภา ศาล และองค์กรอิสระ เพ่ือให้เกิดความเท่าเทียม ความยตุ ธิ รรม และเปน็ ท่ยี อมรบั ของทุกฝ่าย 41

01 แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นการเมือง 0103 เร่อื งและประเดน็ ปฏิรูปท่ี 3 การกระจายอำ� นาจ การปกครองสว่ นท้องถิ่น และการจดั สรรทรพั ยากรทเ่ี ปน็ ธรรม สัดส่วนรายไดข้ ององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตอ่ รฐั บาล ทีม่ า: สำ� นกั งานคณะกรรมการการกระจายอ�ำนาจใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน หลังจากปี 2540 การกระจายอ�ำนาจและการจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน (อปท.) เป็นภารกิจส�ำคัญเพ่ือให้ท้องถิ่นได้มีบทบาทที่เหมาะสม และให้ประชาชนใน ท้องถ่นิ ไดเ้ ข้ามามสี ว่ นร่วมในการบรหิ ารจัดการในการพฒั นาถิ่นฐานบ้านเกดิ ของตนเอง และสง่ เสรมิ ให้ ประชาชนได้เรียนรู้การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยผ่านการเข้าไปมีส่วนร่วมและใช้ อ�ำนาจของตนเองในทางตรง เมื่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยในระดับท้องถ่ินมีความเข้มแข็ง จะน�ำไปสู่การเมืองการปกครองระดับชาติท่ีมีความเข้มแข็งตามไปด้วย ซึ่งในปัจจุบันสถานการณ์ การกระจายอำ� นาจให้ อปท. โดยเฉพาะด้านการเงินการคลัง มีแนวโนม้ ทจี่ ะเพิม่ ขึ้นอย่างต่อเนอื่ ง แตย่ งั ไมป่ ระสบความสำ� เร็จมากนกั เมื่อเทยี บกับในชว่ งปี 2544 - 2546 ท่รี ัฐบาลเรง่ จดั สรรภาษี เงนิ อดุ หนนุ และรายได้อ่ืน ๆ ใหแ้ ก่ อปท. เพอื่ ให้ครบกำ� หนดตามเป้าหมาย คือ ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 35 ท่กี �ำหนดใน พระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอ�ำนาจฯ นอกจากนี้สถาบันพระปกเกล้า ได้รายงานสถานการณ์การกระจายอ�ำนาจ ปี 2561 โดยประเมินการกระจายอ�ำนาจในรูปแบบของ ความเป็นสถาบันของ อปท. และการมีส่วนร่วมของประชาชน พบว่า ความเป็นสถาบันของ อปท. อยู่ท่ีระดับ 3.28 และการมีส่วนร่วมของประชาชน อยู่ท่ีระดับ 2.88 ซ่ึงมีค่าอยู่ในระดับสูง แต่จะต้อง ส่งเสริมการพัฒนาภาคพลเมืองให้เข้มแข็ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม ของประชาชนในระดับทอ้ งถ่นิ ใหเ้ กิดขึ้นอย่างกว้างขวาง รายงานสถานการณก์ ารกระจายอ�ำนาจ ปี 2562 ที่มา: รายงานสถานการณก์ ารกระจายอำ� นาจ ปี 2561, สถาบนั พระปกเกล้า 42

แผนการปฏริ ูปประเทศด้านการเมือง 01 0103 การด�ำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายการปฏิรูปการเมือง ถ่ายโอนภารกิจและทรัพยากรเพ่ือให้ท้องถิ่นมีงบประมาณ ในประเด็นการกระจายอ�ำนาจและการจัดสรรทรัพยากร ในการบริหารจัดการท้องท่ีให้สอดคล้องกับความต้องการ ให้แก่ อปท. ในปี 2562 ได้มีการด�ำเนินโครงการประเมิน ของประชาชน และการผลักดันให้เกิดการมีส่วนร่วมของ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง อ ง ค ์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส ่ ว น ท ้ อ ง ถิ่ น ประชาชนในการพัฒนาท้องถ่ินตนเอง โดยในช่วงที่ผ่านมา (Local Performance Assessment : LPA) เพอ่ื ประเมิน นโยบายของรัฐเก่ียวกับการกระจายอ�ำนาจยังคงขาด ประสิทธิภาพ ศักยภาพ ตลอดจนจุดแข็ง จุดอ่อน ความต่อเน่ือง มีการเปล่ียนแปลงไปตามวาระในการเข้ามา ของ อปท. เพื่อน�ำไปใช้ในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง บรหิ ารประเทศของรัฐบาล ของ อปท. ในการปฏิบัติราชการและจัดการบริการ ดังน้ัน ภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องควรให้ความส�ำคัญกับการ สาธารณะแก่ประชาชน และโครงการการประชาสัมพันธ์ ด�ำเนินการตามเป้าหมายในการกระจายอ�ำนาจให้แก่ สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกต้ังท้องถ่ิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญฯ เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความต่ืนตัวในการไปใช้ กฎหมาย และระเบยี บอ่นื ๆ ท่ีเกย่ี วข้องและควรเร่งด�ำเนนิ สิทธิเลือกตั้งท้องถิ่น และส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกัน โครงการการส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความส�ำคัญและมี พฒั นาทอ้ งถิ่นตนเอง ส่วนร่วมในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตลอดจนการสร้าง อย่างไรก็ตามความท้าทายในการขับเคลื่อนประเด็นการ ความรู้ความเข้าใจและเตรียมการส�ำหรับการเลือกตั้ง กระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินคือการ ท้องถน่ิ ที่จะมาถึง 43

01 แผนการปฏิรปู ประเทศด้านการเมือง 0104 เร่อื งและประเด็นปฏิรูปที่ 4 การเลอื กตง้ั ทีส่ ุจรติ และเทย่ี งธรรม เพื่อการปฏิรปู ประเทศ การเลอื กตง้ั เปน็ กระบวนการทางการเมอื ง ท่ี ส� ำ คั ญ ใ น ร ะ บ อ บ ก า ร ป ก ค ร อ ง แบบประชาธิปไตย ท่ีเช่ือว่าอ�ำนาจ อ ธิ ป ไ ต ย ห รื อ อ� ำ น า จ สู ง สุ ด ใ น ก า ร ปกครองเป็นของประชาชน และเป็นการแสดงออกถึงเจตนารมณ์ ของประชาชนในการเลือกผู้แทนของ ตนเพ่ือไปใช้อ�ำนาจแทนตนในการ บ ริ ห า ร บ ้ า น เ มื อ ง ทั้ ง ใ น ร ะ ดั บ ช า ติ และระดับท้องถ่ิน ท้ังนี้การเลือกต้ังจะ สัมฤทธิ์ผลโดยบรรลุเป้าหมายแห่ง เจตนารมณ์ของการปกครองแบบ ประชาธิปไตยได้น้ัน การเลือกต้ังจะ ต้องด�ำเนินไปด้วยความเรียบร้อย สุจริตและเท่ียงธรรม ผู้ท่ีเก่ียวข้องกับ กระบวนการเลือกต้ังจะต้องไม่กระท�ำ การอันเป็นการละเมิดกฎหมาย ซ่ึงที่ผ่านมาการเลือกต้ังของไทยยังเกิดปัญหาในหลายประเด็น เช่น การซอื้ สิทธขิ ายเสยี ง การละเมิดกฎหมายเลือกตั้ง และประชาชนยงั ขาดความเชอ่ื ม่ันในการปฏิบัติ หน้าที่ของผู้ที่เก่ียวข้องกับการเลือกต้ัง โดยสะท้อนได้จากการประเมินภาพรวมการจัดการเลือกต้ัง ตง้ั แตป่ ี 2555 ถงึ ปี 2561 โดย Perception of Electoral Integrity Index พบว่าภาพลักษณ์เรอ่ื ง การเลอื กตงั้ ของประเทศไทยอยู่ทร่ี ะดับ 51 คะแนน ซงึ่ ถือเปน็ อันดับท่ี 6 ในอาเซียน โดยประเทศไทย ได้รับคะแนนมากที่สุดจากมิติกฎหมายการเลือกต้ัง ในขณะที่มิติผลลัพธ์หลังการเลือกตั้งได้รับคะแนน นอ้ ยที่สดุ ท้งั นี้ ผลการประเมนิ ดงั กลา่ วไดร้ ายงานสถานการณ์ภายในปี 2561 ซึ่งเปน็ ช่วงเวลากอ่ นทีม่ ี การเลือกต้ังทั่วไปในปี 2562 นอกจากน้ี สัดส่วนของผู้มาใช้สิทธิเลือกต้ังในปี 2562 ของไทยอยู่ที่ ร้อยละ 74.69 ของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในขณะท่ีประเทศที่ได้รับคะแนนอันดับหนึ่งจาก Perception of Electoral Integrity Index อย่างเดนมาร์กมีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งร้อยละ 84.60 และประเทศท่ีได้รับ คะแนนเป็นอันดับ 1 ในอาเซียนอย่างอินโดนีเซีย อยู่ที่ร้อยละ 81.93 อีกท้ัง การคัดค้านการเลือกต้ัง ในปี 2562 ของไทยมีจ�ำนวนที่เพ่ิมขึ้นถึงร้อยละ 18 จากปี 2554 ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงประเด็น การเลือกตงั้ ที่ประเทศไทยจำ� เป็นตอ้ งพัฒนาในมิติต่าง ๆ ต่อไป 44

แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นการเมอื ง 01 0104 ในช่วงท่ีผ่านมาได้มีการด�ำเนินการเพ่ือผลักดันการบรรลุ อย่างไรก็ตาม เป้าหมายของประเด็นการเลือกตั้งที่สุจริต เป้าหมายในการให้มีเลือกต้ังที่สุจริตเที่ยงธรรม และเพ่ือ และเที่ยงธรรมเพ่ือการปฏิรูปประเทศให้ความส�ำคัญกับ เตรียมความพร้อมก่อนการเลือกตั้งทั่วไปปี 2562 อาทิ การเข้ามามีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในกระบวนการ โครงการสร้างพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย และโครงการ เลือกต้ัง เพื่อให้เกิดการเลือกต้ังท่ีสุจริตและเท่ียงธรรม ชี้แจงแนวทางการด�ำเนินการเลือกต้ัง โดยมีเป้าหมาย ซึ่งกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนน้ันยังถือเป็น ในการก�ำหนดหลักสูตรการศึกษาเกี่ยวกับความเป็น ความท้าทายส�ำคัญของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการส่ือสาร พลเมือง การสร้างวิทยากรเพื่อถ่ายทอดความรู้เก่ียวกับ และประชาสัมพันธ์เพ่ือกระตุ้นให้ประชาชนเข้ามา ประชาธิปไตย และการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับสถาบัน มีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง ซ่ึงรวมถึงการติดตามและ การศกึ ษาทงั้ ภาครัฐและเอกชน และภาคส่วนอ่ืน ๆ รวมทง้ั ตรวจสอบเพ่ือให้การเลอื กต้ังมีความโปรง่ ใสดว้ ย นอกจากนี้ การเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจแนวทางการ แล้ว เทคโนโลยีดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลน์ได้เข้ามามี ด�ำเนินการเลือกต้ัง กฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ให้แก่ บทบาทส�ำคัญในการส่ือสารและกระจายข้อมูลต่าง ๆ คณะกรรมการการเลือกตั้ง พรรคการเมือง สื่อมวลชน สู่ประชาชน ซึ่งนับเป็นความท้าทายของหน่วยงานท่ี และผู้ที่เกี่ยวข้องท้ังหมด ส�ำหรับการเลือกตั้งทั่วไป เก่ียวข้องในการบริหารจัดการและการน�ำเทคโนโลยีดัง ในปี 2562 ได้มีโครงการส�ำคัญ อาทิ การประชาสัมพันธ์ กล่าวไปใช้เพื่อประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ การเตรยี มการและการจดั เลอื กตงั้ การตรวจสอบการเลอื กตงั้ ดังน้ัน นอกจากหน่วยงานหลักที่มีภารกิจประจ�ำ และโครงการอนื่ ๆ โดยมเี ปา้ หมายเพ่อื สรา้ งการตระหนักรู้ ในการด�ำเนินการให้บรรลุเป้าหมายในประเด็นดังกล่าวแล้ว ถงึ ความสำ� คัญของการเลือกตัง้ และสง่ เสรมิ ใหก้ ระบวนการ ยังจ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญกับการบูรณาการความร่วมมือ เลือกตั้งมีความสุจริตและโปร่งใสยิ่งข้ึน ท้ังนี้ ได้มีกฎหมาย ระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนอื่น ๆ ในการสร้างความ แ ล ะ ก ล ไ ก ใ น ก า ร ส นั บ ส นุ น ใ ห ้ เ กิ ด ก า ร เ ลื อ ก ต้ั ง ที่ ตระหนักรู้ให้กับประชาชน เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม สุจริตเที่ยงธรรม และส่งเสริมให้การด�ำเนินกิจการของ และสร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการเลือกต้ัง ตลอดจน พรรคการเมืองต้องเป็นไปอย่างเปิดเผย มีคุณธรรม ควรเร่งน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมมาเป็นเครื่องมือ และเพ่ือประโยชน์ของประชาชนอย่างแท้จริง ในการเผยแพร่ข้อมูล เสริมสร้างการมีส่วนร่วม การติดตาม และการตรวจสอบการเลอื กตัง้ และกจิ กรรมท่ีเก่ียวเน่อื ง 45

01 แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นการเมือง 0105 เร่ืองและประเด็นปฏริ ปู ที่ 5 การสรา้ งรัฐธรรมาธปิ ไตย รฐั ธรรมาธปิ ไตยมงุ่ สรา้ งรฐั ทม่ี กี ารยดึ ถอื ประโยชน์ของปวงชนและส่วนรวม Vietnam เป็นที่ต้ัง และยึดถือเหตุผล ความจริง Myanmar 136 122 ความถูกต้อง เป็นธรรมในการบริหาร Thailand Lao PDR จัดการบ้านเมืองของผู้มีอ�ำนาจในการ บริหารราชการแผ่นดิน ไม่ว่าจะเป็น 68 155 รัฐบาล ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง Malaysia Cambodia Philippines และบคุ ลากรภาครฐั มเี ปา้ หมายเพอ่ื ให้ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองเป็น 43 124 54 Singapore 75 ผู้มีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรม Indonesia จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าล มกี ารควบคมุ 64 และการตรวจสอบการใช้อ�ำนาจรัฐ Lower number = better ranking อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซ่ึงเป้าหมายดังกล่าวสามารถสะท้อน ได้จากการประเมินสถานการณ์ความเป็นประชาธิปไตยของประเทศไทย โดยสถาบันพระปกเกล้า ซงึ่ ประเมนิ ความเปน็ ประชาธปิ ไตยดว้ ย 7 มติ ิ ดงั นี้ การเคารพสทิ ธิ เสรภี าพและหนา้ ที่ การยดึ มนั่ ในหลกั นิติธรรม การมีส่วนร่วมของประชาชน การมีทุนทางสังคม การเชื่อมั่นในสถาบันต่าง ๆ การสนับสนุนประชาธิปไตย และการต่อต้านการทุจริต โดยการประเมินในปี 2562 (58.41) คา่ คะแนนนอ้ ยลงกวา่ ปี 2561 (60.02) ซง่ึ ถอื วา่ มี ความเป็นประชาธิปไตยในระดับปานกลางท่ียังต้องพัฒนา ในประเด็นต่าง ๆ อาทิ การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามา 71.9 มีส่วนร่วมทางการเมือง และการมีทุนทางสังคม ซ่ึงมีความ สอดคลอ้ งกบั ภาพรวมของการประเมนิ Democracy Index 2562 (6.32 คะแนน) โดย the Economist Intelligence Unites ไดจ้ ดั อนั ดบั ประชาธปิ ไตยของประเทศไทยอยอู่ นั ดบั ท่ี 68 ของโลก และเป็นอันดับที่ 4 ในอาเซียน โดยจัดอยู่ ในกลมุ่ ประชาธปิ ไตยกลมุ่ ท่ี 2 จาก 4 กลมุ่ ซง่ึ เปน็ กลมุ่ ทส่ี ทิ ธิ เสรีภาพขั้นพื้นฐานได้รับการคุ้มครองและมีรัฐบาล ท่ีมาจากการเลือกต้ัง แต่ยังคงมีความท้าทายในการพัฒนา ประชาธปิ ไตยอกี หลายมติ ิ ในการพฒั นาประชาธปิ ไตยของ ประเทศเพ่ือไปสู่กลุ่มท่ี 1 หรือ กลุ่ม “ประชาธิปไตย ที่สมบูรณ์” (Full Democracy) อย่างประเทศนอร์เวย์ สวเี ดน สหราชอาณาจกั ร และอน่ื ๆ 46

แผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง 01 0105 ท่ีผ่านมาได้มีการด�ำเนินการเพ่ือขับเคลื่อนเป้าหมายของ ดังนั้น ภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องควรให้ความส�ำคัญกับการ ประเด็นการสร้างรัฐธรรมาธิปไตย โดยได้ด�ำเนินโครงการ คดั กรองบคุ ลากรเขา้ สตู่ ำ� แหนง่ ทางการเมอื ง โดยดำ� เนนิ การ ส�ำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง กำ� หนดมาตรฐานและคณุ สมบตั ขิ องผทู้ จี่ ะเขา้ ดำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมือง เพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง ทางการเมอื งอยา่ งเครง่ ครดั และไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ ตลอดจนเรง่ การเมอื งใหเ้ ปน็ บคุ คลทน่ี า่ เชอื่ ถอื ศรทั ธา และเปน็ ทย่ี อมรบั พัฒนาเพ่ิมประสิทธิภาพกลไกในการติดตาม ตรวจสอบ ของประชาชน นอกจากนี้ ยังได้มีการผลิตสื่อและกิจกรรม และควบคุมการด�ำเนินงานต่าง ๆ ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง เกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริต เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีในการ การเมืองและบุคลากรภาครัฐอย่างจริงจัง และบังคับใช้ สนบั สนนุ และมสี ว่ นรว่ มในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ทกุ รปู แบบ อยา่ งเทา่ เทยี ม เกิดความละอายในการประพฤติมิชอบ และเกิดค่านิยม ในการไมเ่ พกิ เฉยตอ่ พฤตกิ รรมทไี่ มม่ คี วามชอบธรรม ทั้งนี้ การสร้างรัฐธรรมาธิปไตยให้ความส�ำคัญกับการสร้าง คนเกง่ และคนดใี หม้ าบรหิ ารประเทศ พรอ้ มกบั มกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบและควบคมุ การใชอ้ ำ� นาจรฐั โดยความทา้ ทายการ บรรลุเป้าของการสร้างรัฐธรรมาธิปไตยคือ การมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าลของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง และบคุ ลากรภาครัฐ การพัฒนาและการบงั คับใชก้ ลไกหรอื มาตรการตา่ ง ๆ ในการตดิ ตาม ตรวจสอบ ควบคมุ ตลอดจน การลงโทษการใชอ้ ำ� นาจรฐั ของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง และบคุ ลากรภาครฐั ในทางทผี่ ดิ 47

02 แผนการปฏริ ูปประเทศ ดา้ นการบริหาร ราชการแผน่ ดนิ ฿ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ด า น การสรางโอกาส การปรับสมดุลและ และความเสมอภาค พัฒนา การในสกราางรคแวขามงสขามันารถ ทางสังคม ระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ “ องค์กรภาครฐั เปิดกวา้ งและเช่อื มโยงขอ้ มูลกนั กะทดั รดั แต่แขง็ แรง บรู ณาการความรว่ มมือของทกุ ภาคส่วน ในการท�ำงานเพื่อประชาชนโดยเชิงพ้ืนทเ่ี ป็นหลกั จดั ระบบบรหิ าร และบรกิ ารให้เป็นดิจิทลั จดั ระบบบคุ ลากรใหม้ มี าตรฐานกลาง มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม และสร้างวัฒนธรรม ต่อต้านการทจุ ริต ”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook