Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.9-2.12

(2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.9-2.12

Published by agenda.ebook, 2020-06-19 00:28:33

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 7-8 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ วันที่ 24-25 มิถุนายน 2563

Search

Read the Text Version

ผลการเบิกจ่ายงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (Disbursement of UCS Budget) ปีงบประมาณ 2562 มีการเบิกจ่ายงบกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ คิดเปน็ ร้อยละ 99.65 รายละเอยี ดดังแผนภาพที่ 14 14 ผลการเบกิ จา่ ยงบกองทนุ หลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ จำ� แนกตามรายการ ปีงบประมาณ 2562 (UCS Budget disbursement in Fiscal Year 2019) แผนภาพ ทีม่ า: 1) ประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลกั เกณฑก์ ารดำ� เนนิ งานและการบริหารจัดการกองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพ แห่งชาติ สำ� หรบั ผมู้ ีสิทธิหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2562 2) รายงานการเงนิ กองทุนหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ สปสช. ปงี บประมาณ 2562 ขอ้ มูล ณ 30 กันยายน 2562 Source: 1) National Health Security Commission Guidelines for the implementation and management of the National Health Security Fund in Fiscal Year 2019 2) Financial Report of UCS Budget in Fiscal Year 2019, NHSO, Data at 30 September 2019, NHSO 2 .2 ง(บNบHรSิหOารAจdดั mกาinรiสst�ำrนatกั ivงeานBหuลdกัgปetร)ะกนั สุขภาพแหง่ ชาติ งบประมาณเพอ่ื การดำ� เนนิ งานของสำ� นกั งานหลกั ประกนั และแผนส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา จ�ำนวน 1,344.81 สขุ ภาพแหง่ ชาติ เปน็ งบประมาณที่ใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ ล้านบาท ผลการเบิกจ่าย ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 และขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติราชการของส�ำนักงาน จำ� นวน 1,344.81 ลา้ นบาท โดยมกี ารเบกิ จา่ ยงบสำ� นกั งานฯ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้บรรลุเป้าประสงค์ที่ ทงั้ สนิ้ รอ้ ยละ 100 กำ� หนดไว้ ในปงี บประมาณ 2562 ไดร้ ับการจัดสรรแยก สัดส่วนงบประมาณส�ำหรับบริหารจัดการส�ำนักงานฯ จากงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นหมวด ตง้ั แตป่ งี บประมาณ 2558-2562 ดังแสดงตารางที่ 1 งบอดุ หนนุ ทว่ั ไปตามแผนพฒั นาระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพ 47 |

01 จำ� นวนและรอ้ ยละงบบรหิ ารจดั การสำ� นกั งานฯ เทยี บกบั งบกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ปงี บประมาณ 2558-2562 (Number and percentage of NHSO Administrative Budget to UCS Budget in Fiscal ตาราง Year 2015-2019) หน่วย : ล้านบาท (Million Baht) งบที่ได้รับ (Budget) 2558 (2015) 2559 (2016) 2560 (2017) 2561 (2018) 2662 (2019) งบกองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ (UCS Budget) 153,151.66 163,152.18 169,752.42 175,559.80 181,584.09 งบบริหารจัดการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NHSO Administrative Budget) 1,427.10 1,414.09 1,411.57 1,376.87 1,344.81 รอ้ ยละ (งบบริหารจดั การฯ ต่องบกองทุนฯ) 0.93 0.87 0.83 0.78 0.74 (% of NHSO Administrative Budget to UCS Budget) ทม่ี า: สำ� นักบริหารแผนและงบประมาณ สปสช. Source: Bureau of Planning and Budget Administration, NHSO หมายเหต:ุ กองทุนฯ ได้รับงบกลางท่จี ัดสรรเพ่ิมเตมิ ในปี 2560 และปี 2561 จำ� นวน 3,979.41 ล้านบาท และ 4,186.13 ล้านบาท ตามลำ� ดับ 48 | รายงานประจำ� ปี 2562

3. ความครอบคลมุ สิทธิ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประชาชนไทย (UHC Population Coverage) ระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยประกอบด้วย ถงึ แมว้ า่ ความครอบคลมุ สทิ ธกิ ารเขา้ ถงึ การรกั ษาพยาบาล สิทธิสวัสดิการการรักษาพยาบาลของข้าราชการ สิทธิ ที่จ�ำเป็นของสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจะสูงถึง ประกนั สังคม สิทธหิ ลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ และสิทธิ ร้อยละ 99.88 หรือครอบคลมุ ประชากรถงึ 47.523 ล้าน สวัสดกิ ารรกั ษาพยาบาลอืน่ ทรี่ ัฐจัดให้ (รัฐวิสาหกิจ อปท. คน หรือร้อยละ 72 ของประชากรไทย แต่พบว่ายังมี องคก์ รมหาชน หน่วยงานท่ีมี พ.ร.บ.เฉพาะ เป็นต้น) ประชากรบางกลมุ่ ทย่ี งั เขา้ ไมถ่ งึ สทิ ธกิ ารรบั บรกิ ารสขุ ภาพ ในปี 2562 ประชากรไทยผู้มีสิทธิในระบบหลักประกัน อาทิ ผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ พระภิกษุ ผู้สูงอายุที่มีภาวะ สขุ ภาพทง้ั ประเทศมี 66.564 ล้านคน ลงทะเบียนสทิ ธิใน พึ่งพงิ คนพิการ และกลมุ่ ชนเผา่ ซึ่งเป็นประชากรในพน้ื ที่ ระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ จำ� นวน 66.508 ลา้ นคน หา่ งไกล คิดเป็นความครอบคลุมสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพ ดังน้ัน แผนปฏิบัติราชการของส�ำนักงานหลักประกัน ถ้วนหนา้ (Universal Health Coverage: UHC) ร้อยละ สุขภาพแหง่ ชาติ ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2561–2565 จงึ มุ่งเนน้ 99.92 เป็นสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 47.523 ประสานความร่วมมือกบั ภาคส่วนตา่ งๆ อาทิ ลา้ นคน สทิ ธปิ ระกนั สงั คม 12.584 ลา้ นคน สทิ ธสิ วสั ดกิ าร • การขึน้ ทะเบยี นสถานพยาบาลในเรือนจ�ำ ทงั้ หมด 142 ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ 5.149 ล้านคน สิทธิสวัสดิการ รักษาพยาบาลอ่ืนท่ีรัฐจัดให้ 0.729 ล้านคน และสิทธิ แห่ง เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิในระบบหลักประกัน ส�ำหรับผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ 0.522 ล้านคน และ สขุ ภาพแหง่ ชาติ การพัฒนาระบบส่งต่อข้อมลู ระหวา่ ง ความครอบคลุมสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หนว่ ยบรกิ ารฯ และจบั ครู่ ะหวา่ งสถานพยาบาลเรอื นจำ� (Universal Coverage Scheme: UCS) รอ้ ยละ 99.88 กบั โรงพยาบาลแมข่ ่ายเพอ่ื ดูแลรกั ษาผตู้ ้องขงั และเพ่มิ (แผนภาพที่ 15 และแผนภาพท่ี 17) (ตารางท่ี 23 และ การเข้าถึงบริการสุขภาพส�ำหรับกลุ่มผู้ต้องขัง การ ตารางท่ี 39 ในภาคผนวก 5) ลงทะเบียนอัตโนมตั สิ �ำหรบั ผู้ต้องขงั ซงึ่ พบว่าผตู้ อ้ งขงั เม่ือพิจารณาตามโครงสร้างอายุ จ�ำแนกในแต่ละสิทธิ ลงทะเบยี นสทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พบว่า สิทธิหลักประกัน ถงึ หนว่ ยบรกิ าร (CUP) ตรงกบั พื้นทเ่ี รือนจ�ำ รอ้ ยละ สุขภาพแห่งชาติส่วนใหญ่เป็นเด็ก (อายุ 0-19 ปี) และ 85.18 ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป สิทธิประกันสังคมเป็นวัยแรงงาน • การขับเคลือ่ นธรรมนญู สขุ ภาพพระสงฆ์ ดแู ลสขุ ภาวะ (อายุ 25-49 ป)ี สว่ นสทิ ธสิ วสั ดกิ ารขา้ ราชการ/รฐั วสิ าหกจิ พระภิกษุสงฆ์ให้เข้าถึงบริการสุขภาพ โดยส�ำรวจ กระจายในทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะอายุ 40 ปีข้ึนไป เลขทะเบียนประจ�ำตัวประชาชน 13 หลัก พร้อมลง (แผนภาพที่ 16) ทะเบยี นสทิ ธิให้กบั พระภกิ ษุสงฆ์ท่ีจ�ำวดั ในพื้นท่ี มกี าร ขับเคลอ่ื นงานในระดบั เขตอยา่ งตอ่ เน่อื ง เนน้ กจิ กรรม 49 |

ถวายความรู้ ให้พระสงฆ์เข้าใช้สิทธิได้อย่างถูกต้อง • การประสานเพอ่ื ดำ� เนนิ การคน้ หาผมู้ ปี ญั หาสถานะทาง เหมาะสมตามจำ� เปน็ อบรมแกนนำ� พระสงฆใ์ นพนื้ ท่ีให้ ทะเบียน และพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ครอบคลุม รบั รสู้ ทิ ธิ นำ� ไปสกู่ ารลงทะเบยี นสทิ ธเิ ลอื กหนว่ ยบรกิ าร ผู้มีปัญหาสถานะทางทะเบียนให้สามารถเข้าถึงสิทธิ เพิ่มการเข้าถงึ บรกิ ารของพระสงฆร์ ่วมกบั 6 เครอื ขา่ ย ประโยชน์อย่างครอบคลุมส�ำหรับกลุ่มคนไทยไร้สิทธิ ซึ่งพบว่ามีพระสงฆ์ที่สังกัดวัด ตรงกับจังหวัดท่ีมีสิทธิ หรอื ไร้สถานะ เช่น ชนเผา่ ชาวเล ทอ่ี ยู่ในประเทศไทย รอ้ ยละ 81.62 มานานแต่ไมม่ เี ลข 13 หลัก ใหไ้ ด้รบั สิทธิบตั รทอง 15 จำ� นวนประชากรไทย จำ� แนกตามสิทธหิ ลกั ประกนั สุขภาพ ปีงบประมาณ 2562 (Number of Thai Population classified by Health security schemes in Fiscal Year 2019) แผนภาพ ท่ีมา : ส�ำนักบรหิ ารงานทะเบยี น สปสช. ข้อมลู ณ 30 กันยายน 2562 Source: Bureau of Registration, NHSO, Data at 30 September 2019 หมายเหตุ: *หมายถึง ประชากรท้ังหมดไมน่ บั รวมบคุ คลท่ีไมอ่ ยู่ในทะเบยี นบา้ น (รอยืนยันสิทธ)ิ , คนไทยในต่างประเทศ และคนตา่ งดา้ ว 50 | รายงานประจำ� ปี 2562

16 สัดสว่ นประชากรไทย จำ� แนกตามเพศ กลุม่ อายุ และสทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพ ปีงบประมาณ 2562 (Proportion of Thai Population classified by gender, age group and health security schemes in Fiscal แผนภาพ Year 2019) ท่มี า: ส�ำนักบรหิ ารงานทะเบยี น สปสช. ขอ้ มลู ณ 30 กันยายน 2562 Source: Bureau of Registration, NHSO, Data at 30 September 2019 17 ร้อยละความครอบคลมุ สทิ ธใิ นระบบหลักประกันสขุ ภาพถว้ นหน้า ปงี บประมาณ 2545-2562 (Percentage of Universal Health Coverage (UHC) and Universal Coverage Scheme (UCS) in Fiscal Year 2002-2019) แผนภาพ ้รอยละ (%) 98.75 99.16 99.47 99.36 99.95 99.90 99.87 99.84 99.92 99.95 99.95 99.94 99.92 97.82 98.36 98.90 99.31 99.15 99.93 99.87 99.83 99.78 99.90 99.93 99.93 99.92 99.88 96.25 97.22 95.47 92.47 93.01 95.26 ร้อยละความครอบคลุมสิทธิระบบหลักประกนั สุขภาพถ้วนหนา้ 94.33 (Universal Health Coverage :UHC) 91.33 ร้อยละความครอบคลมุ สทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ 90.79 (Universal Coverage Scheme :UCS) พB..Eศ..((Aค..Dศ..)) (22504063) (22504074) (22050458) (22050469) (22050570) (22050581) (22050592) (22505130) (22501541) (22505125) (22501536) (22505174) (22051558) (22055169) (22506107) (22051681) (22051692) ท่ีมา: สำ� นกั บริหารงานทะเบียน สปสช. ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน 2562 Source: Bureau of Registration, NHSO, Data at 30 September 2019 หมายเหต ุ 1) ประชากรไทยท้ังหมด ไม่นับรวมบุคคลทร่ี อยืนยนั สทิ ธิ, คนไทยในต่างประเทศ และคนต่างด้าว 2) ร้อยละความครอบคลุมสิทธใิ นระบบหลักประกันสุขภาพถว้ นหน้า (Universal Health Coverage: UHC) = สทิ ธิ UC ทล่ี งทะเบยี น + สิทธปิ ระกันสุขภาพกองทนุ อนื่ + บคุ คลท่มี ีปญั หาสถานะสิทธิ x 100 จ�ำนวนประชากรไทยท้งั หมด 3) ร้อยละความครอบคลุมสิทธิหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ (Universal Coverage Scheme: UCS) = สทิ ธิ UC ที่ลงทะเบียน x 100 . สทิ ธิ UC ท่ลี งทะเบยี น + บุคคลทีย่ งั ไม่ลงทะเบียนสิทธิ 51 |

4. สิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (Benefit Package of Universal Coverage Scheme) มีการพัฒนาปรับปรุงชุดสิทธิประโยชน์อย่างต่อเน่ือง ยุทธศาสตร์ระยะท่ี 2 (พ.ศ. 2551-2554) เพ่ิมสิทธิ เพ่ือขยายขอบเขตบริการให้ครอบคลุมบริการสุขภาพ ประโยชน์เพื่อให้เข้าถึงบริการบ�ำบัดทดแทนไต บริการ ท่ีจ�ำเป็น ต้ังแต่ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกัน สารทดแทนยาเสพตดิ บริการบ�ำบัดโรคจติ เวช ขยายสทิ ธิ สุขภาพแห่งชาติระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2546-2550) ถึง ประโยชน์หลักประกันสุขภาพไปสู่คนที่มีปัญหาสถานะ แผนปฏิบัติราชการของส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพ และสิทธิ คดั กรองภาวะแทรกซ้อนในผ้ปู ว่ ยโรคเบาหวาน แหง่ ชาติ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) โดย และความดันโลหิตสูง ในชว่ งยทุ ธศาสตรร์ ะยะท่ี 1 (พ.ศ.2546-2550) นอกจาก ยุทธศาสตร์ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2555-2559) เพ่ิมสิทธิ สิทธิประโยชน์พื้นฐานแล้ว มีการพัฒนาสิทธิประโยชน์ ประโยชน์เพอ่ื ใหเ้ ข้าถงึ การปลกู ถ่ายตบั ในเดก็ การผา่ ตัด เพื่อให้เข้าถึงบริการในกลุ่มเฉพาะท่ีมีข้อจ�ำกัดเรื่องการ เปลยี่ นหัวใจ วคั ซนี ไขห้ วัดใหญ่ตามฤดกู าล การปลกู ถา่ ย เข้าถึงบริการ เช่น การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วย เซลล์ต้นก�ำเนิดในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาว/มะเร็ง- เอดส์ เพ่ิมการเขา้ ถงึ โรคที่มีค่าใช้จ่ายสงู อาทิ การผา่ ตัด ตอ่ มนำ�้ เหลอื ง บรู ณาการรกั ษามะเรง็ มาตรฐานเดยี ว เพม่ิ โรคหวั ใจ ผา่ ตดั ต้อกระจก การเข้าถึงยาจ�ำเป็นและราคา การเข้าถึงยา จ(2) อีก 4 รายการ การรักษาผู้ติดเชื้อ แพง เอชไอวีผู้ป่วยเอดสด์ ว้ ยยาตา้ นไวรัส (ARV) โดยไมจ่ ำ� กดั 52 | รายงานประจำ� ปี 2562

ระดับภูมิคุ้มกัน (CD4) การเลือกเปล่ียนหน่วยบริการได้ รวม 5 ชนิด คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ไวรสั ตบั อักเสบบี 4 คร้ังต่อปี คลอดบุตรไม่จ�ำกัดจ�ำนวนคร้ัง บูรณาการ เยอื่ หมุ้ สมองอกั เสบ รบั ยาทรี่ า้ นยาใกลบ้ า้ นลดความแออดั พัฒนาระบบประกันสุขภาพ 3 กองทุน การดูแลผู้ป่วย ในโรงพยาบาล ดแู ลผปู้ ว่ ยโรคหายาก 24 โรค ขยายความ จิตเวชเร้ือรังในชุมชน การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ครอบคลุมบริการผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงในชุมชนทุกสิทธิ ในกลุ่มเส่ียง การดูแลผูส้ งู อายุท่มี ภี าวะพงึ่ พิง (LTC) ทุกกลุ่มอายุ วัคซีนป้องกันโรคท้องร่วงในเด็ก เป็นต้น ยุทธศาสตร์ระยะที่ 4 (พ.ศ. 2560) และแผนปฏิบัติ (แผนภาพท่ี 18) (ตารางที่ 24 ในภาคผนวก 5) ราชการของสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) เพิ่มสิทธปิ ระโยชนเ์ พ่ือให้เขา้ ถึง บริการระดับปฐมภูมิที่มีแพทย์ประจ�ำครอบครัว (PCC) วคั ซนี HPV ป้องกนั มะเรง็ ปากมดลูกส�ำหรับนกั เรยี นหญิง ช้ัน ป.5 การตรวจคัดกรองมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ การตรวจ คดั กรองและเพม่ิ ยารกั ษาไวรสั ตบั อกั เสบซี ผา่ ตดั วนั เดยี ว กลบั บา้ นได้ (ODS) ผา่ ตดั สอ่ งกลอ้ งแผลเลก็ (MIS) วคั ซนี 53 |

คนไทยทกุ คนมสี ทิ ธหิ ลักประกันสขุ ภาพ ลดควิ ผา ตดั ตาตอกระจก เพ่มิ งบกองทุนฟน ฟสู มรรถภาพคนพกิ าร ถวนหนา ไดร ับการสงเสรมิ สุขภาพ ปอ งกันโรค จัดตั้งศนู ยป ระสานงานหลักประกนั สุขภาพ วนิ จิ ฉัย รักษา ฟน ฟูสมรรถภาพ ภาคประชาชน และยาตามบญั ชีหลักแหง ชาติ 2547 ยทุ ธศาสตร 2554 ระยะที่ 1 2545 2546 2555 ยุทธศาสตร คัดกรองภาวะแทรกซอน ระยะท่ี 3 โรคเบาหวาน และความดนั โลหติ สงู ปลูกถายตบั ในเดก็ <18 ป ทมี่ ภี าวะทอน้ำดีอดุ ตนั ตัง้ แตก ำเนดิ ผาตัดเปลยี่ นหวั ใจ เจบ็ ปวยฉุกเฉิน 3 กองทุน เปลย่ี นหนวยบริการได 4 ครงั้ /ป 2557 2558 2559 2556 ขยายความครอบคลุมวัคซีน ระบบเบิกจายกลาง เพ่มิ การเขาถึงบัญชยี า จ(2) 4 รายการ ไดแ ก บูรณาการพฒั นาระบบประกนั สุขภาพ ไขหวดั ใหญตามฤดกู าล ของประเทศ (NCH) ยา Trastuzumab ในมะเร็งเตา นมระยะเรม่ิ ตน (3 กองทุน)เพอ่ื ลดความเหล่ือมลำ้ ปลูกถายเซลลต นกำเนิด บูรณาการบริการรกั ษา ยา Peginterferon ในผปู วยติดเช้ือตับอกั เสบซี ปองกนั การติดเชื้อเอชไอวใี นกลมุ เส่ียง ผปู วยมะเรง็ เมด็ เลือดขาว/ มะเร็งมาตรฐานเดยี ว สายพันธุ 2,3 สายพนั ธุ 1, 6 และทีต่ ิดเชอ้ื เอชไอวี ไดแ ก กลุม ชายทีม่ เี พศสัมพันธกับชาย (MSM), มะเร็งตอมน้ำเหลือง งบเพิ่มประสทิ ธิภาพ ยา Nilotinib และยา Dasatinib ในผูปวยมะเร็ง สาวประเภทสอง (TG), พนกั งานบริการ หนวยบริการพืน้ ทก่ี นั ดาร เมด็ เลอื ดขาวและตอมนำ้ เหลอื ง ชาย (MSW), พนักงานบริการหญิง (FSW), เสี่ยงภัย ผูต ดิ เช้อื เอชไอวีผูปวยเอดสเขา ถงึ ยาตานไวรสั (ARV) ผใู ชย าเสพตดิ ดว ยวธิ ฉี ีด (PWID) โดยไมจำกัดระดับภมู ิคมุ กัน (CD4) ดูแลระยะยาวดา นสาธารณสุขสำหรับ คลอดบตุ รไมจ ำกดั จำนวนครั้ง ผูสูงอายุที่มภี าวะพึ่งพิงในพนื้ ท่ี (LTC) ดูแลผูป วยจติ เวชเร้อื รังในชุมชน

18 สิทธปิ ระโยชนห์ ลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ปี 2545-2562 (Benefit Package of UCS in Fiscal Year 2002-2019) แผนภาพ ดแู ลผตู ดิ เชือ้ เอชไอวี จดั ตัง้ กองทุนสขุ ภาพระดบั ตำบลหรอื พนื้ ที่ ลดควิ ผาตดั หัวใจ (จาก 2 ป เปน 6 เดอื น) และผปู วยเอดส รว มกบั อปท. บริการแพทยแ ผนไทย (ยาตานไวรัส, ตรวจ LAB, จัดตั้งศูนยบ ริการหลกั ประกันสุขภาพ เพ่มิ การเขาถึงโรคที่มคี าใชจ ายสูง ใหคำปรึกษาตรวจเลือด ในหนวยบรกิ าร แบบสมคั รใจ, บรกิ ารยาจำเปนราคาแพง (ยา CL) บรกิ ารถงุ ยางอนามยั ) 2548 2549 2550 ยุทธศาสตร 2553 2552 2551 ระยะที่ 2 ขยายสิทธิ UC เพิม่ การเขา ถึงยาราคาแพงบัญชยี า จ(2) บำบดั ทดแทนไตผปู วยไตวายเร้ือรงั ในคนทม่ี ีปญหา ลดรอคิวผาตัดนวิ่ ในทางเดินปสสาวะ (ลางไตผา นชอ งทอ ง, ฟอกไต, ปลกู ถายไต) สถานะและสิทธิ วคั ซีนปองกนั ไขหวัดใหญ บรกิ ารสารทดแทนยาเสพตดิ (เมทาโดน) เพ่มิ การเขาถงึ จดั ตัง้ หนว ยรบั เรือ่ งรองเรยี นอ่นื ทีเ่ ปน ยากำพรา / อสิ ระจากผูถ กู รองเรียน ม.50(5) ยาแพทยแ ผนไทย ตออายุยา CL 2560 2561 2562 ขยายการบำบัดโรคทาง จติ เวช โดยไมจ ำกัดเวลา รบั ไวรักษาเปนผปู ว ยใน แผนปฎบิ ตั ิ ขยายการตรวจคดั กรอง บริการระดับปฐมภูมทิ มี่ ี เพ่มิ สิทธิประโยชนด า นวคั ซนี และยา จ(2) ราชการ มะเรง็ ปากมดลูก คลินกิ หมอครอบครัว(PCC) วคั ซีนรวม 5 ชนิด คอตบี บาดทะยัก ไอกรน ไวรัสตับอกั เสบบี ประกาศนโยบาย เพ่มิ วคั ซีน HPV ปอ งกนั และเย่อื หมุ สมองอกั เสบ (DTP-HB-Hib) “เจ็บปวยฉกุ เฉนิ วกิ ฤติ มะเร็งปากมดลกู สำหรับ วัคซนี พิษสนุ ขั บา มีสิทธทิ ุกที”่ (UCEP) นักเรียนหญงิ ช้นั ป. 5 เพ่มิ ยาตา นไวรสั เอชไอว:ี Raltegravir ปอ งกันถา ยทอด เรมิ่ 1 เม.ย. 2560 ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไสใหญ เชอ้ื เอชไอวจี ากมารดาสทู ารก ตอยอดจากนโยบาย ตรวจคัดกรองและเพม่ิ ยารักษา เพิ่มยา Bevacizumab สำหรบั โรคหลอดเลือด เจ็บปวยฉุกเฉิน 3 กองทนุ ไวรสั ตับอักเสบซี ดำในจอตาอดุ ตนั ผา ตัดวันเดยี วกลับบานได เพิ่มสิทธปิ ระโยชนส งเสริมสุขภาพ ปอ งกนั โรค 8 รายการในหญิงต้งั ครรภแ ละทารก

5. หน่วยบรกิ ารในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (UCS Healthcare Providers) 5.1 (หUนC่วSยบHรeกิ aาltรhทc่ีใaหreบ้ รUิกnาiรtsใ)นระบบหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ในปีงบประมาณ 2562 มีหน่วยบริการข้ึนทะเบียนให้ 3) หนว่ ยบรกิ ารรบั สง่ ตอ่ จำ� นวน 1,382 แหง่ (เปน็ หนว่ ย บรกิ ารสรา้ งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ตรวจวนิ จิ ฉยั รกั ษา บริการในสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ ร้อยละ 69.46 พยาบาล และฟ้นื ฟูสมรรถภาพ ประกอบดว้ ย และหน่วยบริการเอกชน ร้อยละ 22.14) โดยเป็น 1) หน่วยบริการปฐมภูมิ จ�ำนวน 11,750 แห่ง (เป็น หน่วยบริการท่ีรับค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่าย รายหัว (Capitation) จ�ำนวน 994 แห่ง และหนว่ ย หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ บริการท่ีไม่รับค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายราย 93.02) (Non-Capitation) จ�ำนวน 388 แหง่ (แผนภาพท่ี 2) หน่วยบริการประจำ� จ�ำนวน 1,360 แหง่ (เป็นหนว่ ย 19) (ตารางท่ี 40 ในภาคผนวก 5) บรกิ ารในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ รอ้ ยละ 66.99, หน่วยบริการเอกชน รอ้ ยละ 20.66) 19 จ�ำนวนหนว่ ยบริการในระบบหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ 2562 (Number of UCS Healthcare units in Fiscal Year 2019) แผนภาพ ท่มี า: ส�ำนักบรหิ ารงานทะเบียน สปสช. ข้อมลู ณ 30 กันยายน 2562 Source: Bureau of Registration, NHSO, Data at 30 September 2019 หมายเหต:ุ 1) หน่วยบรกิ ารสามารถขน้ึ ทะเบยี นเป็นหน่วยบรกิ ารในระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ไดม้ ากกวา่ 1 ประเภท 2) หน่วยบริการรบั สง่ ตอ่ แบบ capitation หมายถึงหนว่ ยบริการทร่ี บั ค่าบรกิ ารทางการแพทย์แบบเหมาจ่ายรายหัว แบบ non-capitation หมายถึง หนว่ ยบรกิ ารที่ไมร่ บั คา่ บรกิ ารทางการแพทยแ์ บบเหมาจา่ ยรายหวั 3) สงั กดั กระทรวงอืน่ ๆ เชน่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงศกึ ษาธิการ 56 | รายงานประจำ� ปี 2562

5.2 การรบั รองคณุ ภาพและมาตรฐานหน่วยบริการ (Hospital Accreditation) หนว่ ยบรกิ ารรบั สง่ ตอ่ ในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ขนั้ HA, รอ้ ยละ 7.98 (86 แหง่ ) ไดร้ บั การรบั รองคณุ ภาพ มีการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการตามกระบวนการ ข้ัน 2 และร้อยละ 1.11 (12 แห่ง) ได้รับการรับรอง รับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation: คณุ ภาพขนั้ 1 นอกจากนมี้ หี นว่ ยบรกิ ารทอี่ ยรู่ ะหวา่ งพฒั นา HA) ปีงบประมาณ 2562 มหี นว่ ยบรกิ ารรับส่งต่อ รอ้ ยละ 42 แห่ง (ร้อยละ 3.90) และอยู่ในกระบวนการ 92.39 (996 แหง่ ) จากหนว่ ยบริการท่ขี อรบั การประเมนิ ตรวจรบั รอง 40 แหง่ (ร้อยละ 3.71) (แผนภาพท่ี 20) 1,078 แห่ง) ได้รับการรับรองคุณภาพในข้นั ตา่ ง ๆ โดย (ตารางที่ 41 ในภาคผนวก 5) ร้อยละ 83.30 (898 แห่ง) ได้รับการรับรองคุณภาพ 20 สดั ส่วนโรงพยาบาลที่ไดร้ ับการรบั รองคณุ ภาพมาตรฐาน จำ� แนกตามขั้นการรบั รองคุณภาพมาตรฐาน (HA) ปงี บประมาณ 2546-2562 แผนภาพ (Proportion of UCS Hospitals by level of Accreditation in Fiscal Year 2003-2019) ้รอยละ (%) 6.1 6.7 13.9 15.8 20.0 22.6 26.7 23.5 29.9 40.0 16.0 16.2 5.0 31.3 48.2 22.1 42.7 45.1 46.4 20.8 55.2 26.5 76.4 79.6 83.3 63.6 56.2 65.6 63.6 53.3 51.8 43.7 44.9 37.4 54.7 55.8 50.6 42.9 17.6 8.6 5.8 25.4 14.4 10.0 6.0 4.3 (223205..151536) 03..58 14..14 13..20 15.3 1031..92.3 83..09 1.1 (22050458) (22050469) (22050570) 2.7 (2205051.930) (22050.15641) (222.0541552) (22605.95174) (322.0511585) (22350.25169) 30..17 (52205.01681) (322.0576192) พB..Eศ.. ((Aค..Dศ..)) (22050463) (22504074) 3.8 (22050592) (22405.66170) (22050581) รับรองข้นั HA (Final HA) รับรองข้นั 2 (Step 2 - HA) รบั รองขั้น 1 (Step 1 - HA) กำ� ลงั พฒั นา (Being Development) อยใู่ นกระบวนการตรวจรบั รอง (Being in Assessment) ทมี่ า: สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2562 วิเคราะห์โดย ส�ำนักสนับสนุนคุณภาพและมาตรฐาน หน่วยบรกิ าร สปสช. Source: The Hospital Accreditation Institute, Data at 30 September 2019, Analyse by Bureau of Health Care Quality Management หมายเหต:ุ 1. ขอ้ มลู สถานะการรบั รองกระบวนการคณุ ภาพสถานพยาบาลจากสถาบนั รับรองคณุ ภาพสถานพยาบาล (สรพ.) ณ 30 กันยายน 2562 2. ข้อมูลสถานะการข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการรับส่งต่อในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (Capitation และ Non-capitation) จากสำ� นกั บรหิ ารงานทะเบียน สปสช. ณ 1 ตลุ าคม 2562 57 |

6. การใชบ้ รกิ ารสาธารณสุขของผู้มสี ิทธิหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (Health Service Utilization) 6.1 การใชส้ ทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตเิ มอื่ รบั บรกิ ารสขุ ภาพ (Compliance Rate) จากผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสำ� รวจอนามยั และสวสั ดกิ าร ส�ำหรับอัตราการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ในปี พ.ศ. 2560 พบวา่ พฤตกิ รรม เม่ือเข้ารับบริการสุขภาพในหน่วยบริการ (Compliance การดูแลสุขภาพตนเองเม่ือเจ็บป่วยของผู้มีสิทธิหลัก- Rate) ในปี 2560 กรณีไมไ่ ดน้ อนโรงพยาบาล (ผปู้ ว่ ยนอก) ประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีไม่ได้นอนโรงพยาบาล เปน็ ร้อยละ 80.19 กรณนี อนโรงพยาบาล (ผปู้ ว่ ยใน) เปน็ (ผ้ปู ว่ ยนอก) พบวา่ ไปรบั บริการทีส่ ถานพยาบาลของรฐั รอ้ ยละ 87.88 (แผนภาพที่ 21) รอ้ ยละ 57.08 สถานพยาบาลเอกชน รอ้ ยละ 13.78 และ เหตผุ ลหลกั ของการไม่ใชส้ ทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ร้อยละ 28.82 กรณีนอน กรณีไม่ได้นอนโรงพยาบาล คือ ช้า รอนาน รองลงมา โรงพยาบาล (ผู้ป่วยใน) เลือกใช้บริการมากท่ีสุด ไม่สะดวกไปรับบริการในเวลาท�ำการ และการเจ็บป่วย ทโ่ี รงพยาบาลทว่ั ไป/โรงพยาบาลศนู ย์ รองลงมาโรงพยาบาล เพียงเล็กน้อย กรณีนอนโรงพยาบาล เหตุผลคือ ช้า ชุมชน (ตารางท่ี 2) รอนาน รองลงมา ประสบอบุ ัติเหตุ-เจบ็ ป่วยฉกุ เฉนิ และ สิทธิประโยชน์ของสวัสดิการไม่ครอบคลุมบริการที่ได้รับ ตามล�ำดับ (ตารางที่ 3) 02 ร้อยละพฤติกรรมการรบั บรกิ าร/ดูแลสุขภาพเมือ่ เจ็บปว่ ย จ�ำแนกตามประเภทการใชบ้ ริการสขุ ภาพ ตาราง ปี พ.ศ. 2560 (Percentage of Health care seeking behavior of UCS population in Year 2017) พฤตกิ รรมการรบั บรกิ าร/ดแู ลสุขภาพเมื่อเจ็บปว่ ย (Seeking behavior) (Ouผtู้ป-่วpยaนtiอeกnts) หน่วย: รอ้ ยละ (%) 1. ไม่ได้รักษา (no treatment) 6.19 (Inผ-ูป้pa่วtยiใeนnts) 2. ซือ้ /หายากนิ ยาแผนปจั จุบัน (Drug stores, Modern medicine) 21.59 3. ซ้ือ/หายากิน ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร (Traditional medicine) 0.74 - 4. ไปหาหมอพนื้ บา้ น/หมอแผนโบราณ/หมอนวดแผนไทย (Thai Traditional Doctor) 0.30 - 5. ไปโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพต�ำบล (รพ.สต.) / ศนู ยบ์ ริการสาธารณสุข 19.25 - - (Sub-District hospitals) 16.15 - 6. ไปโรงพยาบาลชุมชน (District hospitals) 16.15 7. ไปโรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลศูนย์ (Regional hospitals/Provincial hospitals) 0.81 33.61 8. ไปโรงพยาบาลของมหาวิทยาลัย (Medical schools) 43.37 4.07 58 | รายงานประจำ� ปี 2562

พฤติกรรมการรบั บริการ/ดูแลสุขภาพเมอื่ เจบ็ ปว่ ย (Seeking behavior) (Ouผtปู้ -ว่pยaนtiอeกnts) (Inผ-ปู้pa่วtยiใeนnts) 9. ไปโรงพยาบาลสงั กัดอ่ืนของรัฐ (non-MOPH hospitals) 4.72 9.55 10. ไปคลินกิ เอกชน (Private clinics) 10.24 - 11. ไปโรงพยาบาลเอกชน (Private hospitals) 3.53 9.37 12. อ่ืน ๆ (Others) 0.32 0.03 100.00 100.00 รวม (Total) ทม่ี า: ขอ้ มลู สำ� รวจอนามยั และสวสั ดกิ าร สำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ปี พ.ศ. 2560, วเิ คราะหโ์ ดย สำ� นกั สารสนเทศและประเมนิ ผลลพั ธส์ ขุ ภาพ สปสช. Source: Health and Welfare Survey, National Statistical Office in Year 2017, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation หมายเหตุ: 1) ผูป้ ่วยนอก คำ� นวณจากผู้ทีต่ อบว่ามีการเจบ็ ปว่ ยในรอบ 1 เดือนท่ผี ่านมาก่อนการสำ� รวจ 2) ผูป้ ว่ ยใน คำ� นวณจากผู้ท่ีตอบวา่ มกี ารเจบ็ ป่วยในรอบ 12 เดอื นท่ีผา่ นมาก่อนการสำ� รวจ 21 รอ้ ยละการใชส้ ทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เมอ่ื ไปใชบ้ รกิ ารแบบผปู้ ว่ ยนอก และผปู้ ว่ ยใน ปี พ.ศ. 2546- 2560 (Compliance Rate of Out-patients services and In-patients services under UC scheme in แผนภาพ Year 2003–2017) 79.85้รอยละ (%) 80.38 83.71 84.35 87.03 90.53 91.20 91.21 87.58 87.88 71.48 67.88 71.58 62.04 77.91 79.45 78.87 75.30 80.19 พB..Eศ..((Aค..Dศ..)) (22504063) (22050447) (22050458) (22050469) 60.09 ผู้ป่วยนอก (Out-patients) (22050570) (22055092) ผู้ปว่ ยใน (In-patients) (22051541) (22051536) (22051558) (22501607) ทีม่ า: ขอ้ มูลส�ำรวจอนามัยและสวัสดกิ าร ส�ำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ ปี พ.ศ. 2546-2560, วเิ คราะห์โดย ดร.สพุ ล ลมิ้ วัฒนานนท์ Source: Health and Welfare Survey, National Statistical Office in Year 2003-2017 หมายเหตุ: 1) หลังปี 2550 สำ� นักงานสถติ ิแห่งชาติ กำ� หนดส�ำรวจทุก 2 ปี 2) ค�ำนวณจากผู้ที่ตอบว่ามีการเจ็บป่วยในรอบ 1 เดือนท่ีผ่านมาก่อนการส�ำรวจของผู้ป่วยนอก และมีการเจ็บป่วยในรอบ 12 เดือน ของผู้ป่วยใน และใช้สิทธิหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เมื่อไปใชบ้ ริการสขุ ภาพทห่ี นว่ ยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ 59 |

รอ้ ยละเหตุผลท่ีไม่ใชส้ ทิ ธหิ ลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ 03 เม่ือไปใช้บริการแบบผปู้ ่วยนอก และผปู้ ่วยใน ปี พ.ศ. 2560 ตาราง (Percentage of reasons for not applying UCS Benefit when accessing Healthcare units in Year 2017) เห(ตReผุ aลsทoไ่ี nมs่ใfชoส้ rิทnธoิหtลaกัpปplรyะinกgันสUขุCภSาBพeแnหe่งfชitา)ติ (Ouผtปู้ -ว่pยaนtiอeกnts) หนว่ ย: ร้อยละ (%) 1. เจ็บป่วยเพียงเลก็ นอ้ ย (Mild illness) 10.48 3 2. อบุ ตั ิเหต-ุ เจ็บปว่ ยฉกุ เฉนิ (Accident-Emergency) 1.93 (Inผ-ปู้paว่ tยiใeนnts) 3. สถานพยาบาลอยูไ่ กล/เดินทางไมส่ ะดวก (Too far/Inconvenience to travel) 3.98 - 4. ไมส่ ะดวกรบั บรกิ ารในเวลาทำ� การ (Inconvenience to visit in working time) 14.42 2 5. ช้า รอนาน (Long waiting time) 41.90 1 20.08 2 6. ไมแ่ น่ใจในคณุ ภาพยา (not ensure to quality of drugs) 9.60 4.65 7. ถกู เลือกปฏบิ ัติ (Discriminated against) - 34.8 1 4.46 0.81 - 8. บุคลากรในโรงพยาบาลดุ/เจ้าหนา้ ท่ีพดู ไมไ่ พเราะ (Healthcare providers take care 0.45 1.07 not well) 9. แพทย์ไม่มีเวลาใหซ้ ักถามอาการ/ไม่ให้ข้อมลู (Doctors not provided information/ 0.06 - not have time to ask about symptoms) 10. แพทยว์ ินิจฉัยโรคไมเ่ ก่ง/รักษาไมห่ าย (Doctors treat and diagnosis not well) 7.38 7.98 11. ไมอ่ ยู่ในภูมลิ ำ� เนาที่ใช้สิทธสิ วัสดกิ าร (Got services outside registered area) 2.49 5.37 12. สิทธปิ ระโยชนข์ องสวสั ดกิ ารไม่ครอบคลมุ บริการที่ไดร้ บั 4.79 12.46 3 (Benefit package not covered services) 13. อ่ืน ๆ (Others) 1.71 9.13 รวม (Total) 100.00 100.00 ที่มา: ข้อมูลสำ� รวจอนามัยและสวสั ดกิ าร สำ� นักงานสถิตแิ หง่ ชาติ ปี พ.ศ. 2560, วเิ คราะหโ์ ดย สำ� นกั สารสนเทศและประเมนิ ผลลัพธ์สุขภาพ สปสช. Source: Health and Welfare Survey, National Statistical Office in Year 2017, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation หมายเหตุ: คำ� นวณจากผู้ทต่ี อบเหตุผลของการไม่ใชส้ ทิ ธิหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เม่อื ไปใช้บรกิ ารสขุ ภาพ 6 .2 ก(Sาeรrใvชic้บeรกิ Uาtรilผizูป้ a่วtiยoนnอoกf Oแลuะt-ผpู้ปa่วtยieใnนts and In-patients) ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติใช้บริการผู้ป่วยนอก ในปี 2562 ส�ำหรับการใช้บริการผู้ป่วยในเพ่ิมขึ้นจาก ระหว่างปีงบประมาณ 2546-2562 มีจ�ำนวนเพ่ิมขึ้นจาก 4.304 ล้านครั้ง ในปี 2546 เปน็ 6.300 ล้านคร้งั ในปี 111.95 ลา้ นครง้ั ในปี 2546 เป็น 182.69 ล้านครัง้ ในปี 2562 โดยอตั ราการใช้บรกิ ารผู้ปว่ ยใน เพิม่ ข้ึนจาก 0.094 2562 โดยอตั ราการใชบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยนอก เพม่ิ ขนึ้ จาก 2.450 ครัง้ ต่อคนต่อปี ในปี 2546 เป็น 0.132 ครั้งต่อคนตอ่ ปี ครัง้ ตอ่ คนต่อปี ในปี 2546 เป็น 3.834 ครัง้ ต่อคนต่อปี ในปี 2562 (แผนภาพท่ี 22) 60 | รายงานประจำ� ปี 2562

22 จ�ำนวนและอัตราการใช้บริการผู้ป่วยนอก-ผู้ป่วยในของผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2546-2562 (Number of Visits and Utilization rate of Out-patients and In-patients under Universal แผนภาพ Coverage Scheme in Year 2003-2019) 182.69 ลา้ นครั้ง 111.95 3.123 3.061 3.068 3.072 3.119 3.340 3.522 3.618 3.821 3.693 3.834 ลา้ นครั้ง 2.450 2.407 2.367 2.416 2.554 2.749 6.300 4.304 ล้านครั้ง ล้านครัง้ 0.094 0.089 0.092 0.100 0.105 0.110 0.112 0.116 0.116 0.118 0.120 0.118 0.120 0.126 0.125 0.130 0.132 พB..Eศ..((Aค..Dศ..)) (22504063) (22504074) (22050458) (22050469) (22050570) (22050581) (22050592) (22051503) (22501514) (22501525) (22505136) (22051547) (22051585) (22055196) (22506107) (22051681) (22051692) อตั ราการใช้บรกิ ารผ้ปู ว่ ยนอก (คร้งั /คน/ปี) (UR-OP,visits/person/year) อัตราการใช้บริการผูป้ ว่ ยใน (คร้ัง/คน/ปี) (UR-IP,admissions/person/year) ที่มา: ข้อมูลบรกิ ารผ้ปู ่วยนอก-ผปู้ ่วยใน รายบุคคล สทิ ธิ UC ส�ำนักบรหิ ารสารสนเทศการประกนั ข้อมลู ณ 30 กันยายน 2562 วเิ คราะหโ์ ดย ส�ำนกั บริหารแผนและงบประมาณ สปสช. Source: Data of Out-patient and In-patient Services, UC Scheme, Bureau of Information Technology, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Planning and Budget Administration หมายเหตุ: 1. อัตราการใช้บรกิ ารผู้ป่วยนอก สทิ ธิ UC = ผลรวมจ�ำนวนคร้ังการรับบรกิ ารผปู้ ่วยนอก สิทธิ UC ในรอบปที ีร่ ายงาน จ�ำนวนประชากรสิทธิ UC เฉล่ยี 12 เดือน ในปที ่รี ายงาน 2. อตั ราการใชบ้ ริการผ้ปู ว่ ยใน สิทธิ UC = ผลรวมจ�ำนวนครัง้ การรับบริการผู้ปว่ ยใน สทิ ธิ UC ในรอบปีท่รี ายงาน จำ� นวนประชากรสิทธิ UC เฉล่ยี 12 เดอื น ในปีท่ีรายงาน 61 |

7. แผน/ผลการใชบ้ รกิ ารตามหมวดบรกิ าร ในงบเหมาจา่ ยรายหวั และงบบรกิ ารเพิ่มเตมิ ในกลมุ่ เฉพาะ (Utilization in UCS Budget Service Items) ผลงานการใชบ้ รกิ ารทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ของผมู้ สี ทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ตามแผนท่ีไดร้ บั จดั สรร ในปีงบประมาณ 2562 ดังตารางท่ี 4 (ตารางท่ี 27 ในภาคผนวก 5) 04 แผน/ผลงานการใช้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขของผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตาม ตาราง เปา้ หมายท่ีได้รบั จัดสรรงบกองทุนหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ปงี บประมาณ 2562 (Actual Service Utilization categorized by service items in UCS Budget, Fiscal Year 2019) รายการ/บริกา(รS/eโrรvคice(หiนteว่ mยนs)ับ)ท่มี า (หมายเหตุ) (Taแrผgeนts) (Oผuลtงpาuนts) (P%teoroรftof้อaroยrmguลeatะptnsuc)tes 1. ผลงานตามเป้าหมายการใชบ้ ริการทางการแพทย์ในงบเหมาจ่ายรายหวั (Services under capitation) 1.1 ประชากรเปา้ หมาย (Targeted Population) - ประชากรในระบบหลกั ประกันสุขภาพถว้ นหน้าทล่ี งทะเบยี น (คน) 1 65,700,000 66,507,909 101.23 (Registered UHC Population: persons) - ประชากรสิทธิหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติที่ลงทะเบียน (คน) 1 48,575,000 47,522,681 97.83 (Registered UC Scheme Population: persons) 1.2 การใช้บรกิ ารแบบผู้ป่วยนอก 2 (Out-patients Services) - จ�ำนวน (ครงั้ ) (OP Visit : visits) 163,706,979 182,688,049 111.59 - อัตรา (ครงั้ /คน/ป)ี (Utilization Rate: visits/person/year) 3.370 3.834 113.76 1.3 การใช้บริการแบบผปู้ ว่ ยใน 2 (In-patients Services) - จำ� นวน (ครั้ง) (IP Admission: admissions) 6,249,047 6,299,512 100.81 - อัตรา (ครง้ั /คน/ป)ี (Utilization Rate: admissions/person/year) 0.129 0.132 102.77 1.4 การใชบ้ รกิ ารกรณเี ฉพาะ (Specialize Care/ High cost Services) 1.4.1 การใช้บรกิ ารนอกเครอื ขา่ ยกรณจี �ำเป็น (Accident and Emergency) 1) บรกิ ารอบุ ตั เิ หตุ เจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉนิ : กรณีใชบ้ รกิ ารขา้ มจงั หวดั ทผ่ี มู้ สี ทิ ธลิ ง 1,401,926 1,356,106 96.73 ทะเบียน และกรณีคนพิการที่ใชบ้ ริการตา่ งหน่วยทล่ี งทะเบยี น (ครง้ั ) 3 (Accident and Emergency Services across to non-registered provinces or Services outside registered hospitals in disabled people: visits) 62 | รายงานประจำ� ปี 2562

รายการ/บริกา(รS/eโrรvคice(หiนteว่ mยนs)บั )ที่มา (หมายเหต)ุ (Taแrผgeนts) (Oผuลtงpาuนts) (P%teoroรftofอ้aroยrmguลeatะptnsuc)tes 2) บรกิ ารรบั ส่งตอ่ ผปู้ ่วยนอก: กรณีใช้บริการในหนว่ ยบรกิ ารนอกจงั หวดั 377,475 408,807 108.30 ที่ลงทะเบียน หรอื สง่ ตอ่ จาก รพศ. /รพท. ไป รพ.มหาวทิ ยาลัย 261,648 202,402 77.36 ภายในจงั หวัด (ครั้ง) 4 9,675 8,706 89.98 (Out-patients referral out of registered provinces or Referred to University hospitals within provinces: visits) 4,682 4,474 95.56 3) ค่าพาหนะรับส่งต่อระหวา่ งหน่วยบริการ (ครงั้ ) 3 4,576 (Referred cases with transportation cost: visits) 120,000 6,326 138.24 4) ผู้มีสิทธทิ ย่ี งั ไมล่ งทะเบยี นเลือกหนว่ ยบริการประจำ� (มาตรา 8) และ 1,449 ผปู้ ระกันตนที่ยงั ไม่ไดร้ บั สทิ ธปิ ระกันสังคม ใช้บรกิ ารแบบผปู้ ่วยในครง้ั 135,284 112.74 แรก (คน) 3(1) 12,000 1,273 87.88 (Non-registered UCS accessing to services in the first times or 11 the insurers not entitled to the Social Security Fund: persons) 591 12,166 101.38 1.4.2 การใช้บรกิ ารทมี่ ีคา่ ใชจ้ ่ายสูงในโรคท่ีมีปัญหาการเข้าถงึ บริการ: เพิม่ ความ 12 109.09 มน่ั ใจเรื่องคณุ ภาพบริการ (Confidence in Quality of Care improve- 614 103.89 ment) 1) ได้ยาละลายลิม่ เลือดในโรคทเี่ กี่ยวกบั การอุดตนั ของหลอดเลือด หวั ใจ (คน) 3 (STEMI Fast Track, Thrombolytic therapy for ST-elevated myocardial infarction patients: persons) 2) ไดย้ าละลายล่มิ เลือดในโรคทเ่ี กี่ยวกบั การอดุ ตันของหลอดเลอื ดสมอง (คน) 3 (Stroke Fast Track, Thrombolytic therapy for Cerebral infarction patients: persons) 3) ไดผ้ า่ ตัดเปลี่ยนเลนสต์ าในโรคตอ้ กระจก (คร้งั ) 5 (Cataract lens replacement Surgery: visits) 4) ไดผ้ า่ ตัดและฝกึ การพดู ในผูป้ ว่ ยปากแห่วงเพดานโหว่ (คน) 6 (Orthodontics for patients with cleft lip and cleft palate: persons) 1.4.3 การใชบ้ ริการหัตถการ ในโรคทม่ี ีปญั หาการเข้าถงึ : ลดความเสยี่ งดา้ นการ เงนิ ของหนว่ ยบรกิ าร (Reducing financial risk of healthcare providers) 1) ไดผ้ ่าตดั เปลี่ยนข้อเข่า (คน) 5 (Knee Surgery for Osteoarthritis patients: persons) 2) ไดร้ ักษาดว้ ยออกซเิ จนความกดดันสูง (คน) 3(2) (Hyperbaric Oxygen Therapy: persons) 3) ไดจ้ ดั หาและจดั เกบ็ ดวงตาจากผูบ้ รจิ าค สำ� หรบั ผา่ ตดั เปล่ียนกระจกตา (ดวงตา) 6 (Corneal Transplantation, including supply, storage and treatment: eyes) 63 |

รายการ/บริก(าSรe/rโvรicคe(iหteนmว่ ยs)นับ)ที่มา (หมายเหตุ) (Taแrผgeนts) (Oผuลtงpาuนts) (P%teoroรftofอ้aroยrmguลeatะptnsuc)tes 308 128.87 4) ได้ปลกู ถ่ายอวยั วะ (Transplants) 239 106 98.15 - ไดป้ ลูกถ่ายตับและรบั ยากดภมู ิต่อเน่ือง (คน) 7(3) 108 75 77.32 (Liver transplant: persons) 97 - ผ่าตัดเปลี่ยนหวั ใจและรับยากดภมู ติ ่อเนอ่ื ง (คน) 7(3) 8,007 70.37 (Heart transplant: persons) 11,379 43,068 91.63 - ไดป้ ลกู ถ่ายเซลลต์ น้ ก�ำเนดิ เมด็ เลือด ในผปู้ ว่ ยมะเร็งเมด็ เลือดขาว 47,004 189,030 61.20 มะเรง็ ต่อมนำ้� เหลือง และโรคไขกระดกู ผิดปกติ (คน) 8 308,861 5,395 76.00 (Hematopoietic stem cell transplantation: persons) 7,099 11,085 87.97 1.4.4 การเข้าถึงยาอย่างต่อเน่ือง ในกลุ่มท่ีจ�ำเป็นต้องก�ำกับการใช้บริการอย่าง 12,601 ใกลช้ ดิ (Services required closed monitoring) 91,239 79.59 1) ได้สารเมทาโดนส�ำหรับการบำ� บัดรกั ษาระยะยาว (คน) 3(4) 114,640 24,075 135.69 (Methadone Maintenance Therapy (MMT): persons) 17,742 2) รับยาตามบญั ชี จ(2) (คน) 9 (Essential, High-costs medicines, 2,945,165 91.24 E(2) of the National List of Essential Medicine: persons) 3,228,026 3) รับยา Clopidogrel ซึง่ ใชส้ ทิ ธิ Compulsory licensing: CL (คน) 9 (Clopidogrel, Compulsory licensing: persons) 4) รับยาก�ำพรา้ ยาต้านพษิ (คน) 9 (Orphan drugs and Antidotes: persons) 1.4.5 การใช้บรกิ ารโรคที่ตอ้ งบรหิ ารแบบเฉพาะโรค (Disease Management or Vertical Programs) 1) ผูป้ ่วยโรคโลหิตจางธาลสั ซีเมยี ชนดิ รนุ แรง ไดร้ ับเลอื ดและหรือ ยาขบั เหลก็ อย่างต่อเนอื่ ง (คน) 10 (Blood transfusion and iron-chelating therapy for Transfusion Dependent Thalassemia patients: persons) 2) ผปู้ ว่ ยวณั โรคได้รับการดแู ล (คน) 7(5) (Tuberculosis patients Care: persons) 3) ผปู้ ่วยระยะสดุ ท้ายไดร้ บั การดแู ลแบบประคับประคอง (คน) 3(6) (Palliative Care: persons) 1.5 การใชบ้ ริการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค (Health Promotion and Disease Prevention Services) - ได้วคั ซนี ปอ้ งกันไข้หวดั ใหญ่ตามฤดูกาลในกลุม่ เปา้ หมายเฉพาะ (คน) 3 (Influenza Vaccines for targeted population: persons) 64 | รายงานประจำ� ปี 2562

รายการ/บริก(าSรe/rโvรicคe(iหteนm่วยs)นับ)ทมี่ า (หมายเหต)ุ (Taแrผgeนts) (Oผuลtงpาuนts) (P%teoroรftofอ้aroยrmguลeatะptnsuc)tes 1.6 การใช้บริการฟน้ื ฟูสมรรถภาพดา้ นการแพทย์ (Rehabilitation Services) 1) คนพกิ ารลงทะเบยี น: ท.74 (คน) 1 (Registered Disables: persons) 1,302,878 1,296,608 99.52 2) คนพิการท่ีได้รบั อปุ กรณเ์ ครือ่ งชว่ ย (คน) 3 (Assisted Instrument for 15,226 27,890 183.18 Disables: persons) 3) การใช้บรกิ ารฟ้นื ฟูสมรรถภาพ (คน) 3 (Rehabilitation Services: persons) 1,015,208 1,051,157 103.54 - คนพิการ (Services for Disables) 290,644 193,683 66.64 - ผูส้ งู อายทุ ่จี ำ� เป็นต้องไดร้ ับการฟน้ื ฟู (Services for needed elderly) 268,916 486,798 181.02 - ผปู้ ว่ ยท่ีจำ� เป็นตอ้ งไดร้ บั การฟน้ื ฟู (Services for needed patients) 450,213 369,825 82.14 - ผ้ปู ่วยติดบ้านตดิ เตยี ง (คน) (Services for dependency and bed ridden 5,435 851 15.66 patients) 4) คนพกิ ารไดฝ้ กึ ทักษะการท�ำความคุ้นเคยกบั สภาพแวดล้อม การเคล่อื นไหว 2,627 780 29.69 และการใช้อปุ กรณ์: O&M (คน) 3 (Orientation and Mobility: O&M for Disabled: persons) 1.7 การใช้บรกิ ารแพทยแ์ ผนไทย (Thai Traditional Medicine Services) - บริการ นวด ประคบ อบสมุนไพร (ครง้ั ) 3 (Traditional Thai herbal 4,187,633 5,292,137 126.38 massage: visits) - บริการฟ้นื ฟแู ม่หลงั คลอด (คน) 3 (Postpartum care: persons) 34,424 60,833 176.72 - บรกิ ารยาสมุนไพรในบญั ชียาหลกั แห่งชาติ (ครงั้ ) 3 (Herbal medicine 7,390,460 9,469,352 128.13 prescriptions of the National List of Essential Medicine: visits) 2. ผลงานตามเปา้ หมายการใชบ้ ริการทางการแพทย์ นอกงบเหมาจ่ายรายหวั (งบเพม่ิ เตมิ ) (Services for Specialized Care) 2.1 ผู้ตดิ เชือ้ เอชไอวีผู้ปว่ ยเอดส์ได้รับการดแู ลรกั ษาด้วยยาต้านไวรัส (คน) 11 229,400 271,704 118.44 (Antiretroviral Therapy for HIV/AIDS patients: persons) 2.2 กลุ่มเสีย่ งที่ไดบ้ รกิ ารปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื เอชไอวี (คน) 7 72,500 59,850 82.55 (HIV/AIDS prevention for at-risk population: persons) 2.3 ผูป้ ว่ ยไตวายเรือ้ รังได้รบั การบำ� บัดทดแทนไต (คน) 12 53,100 60,210 113.39 (Renal Replacement Therapy for Chronic renal failure: persons) - ลา้ งไตผา่ นช่องท้องอย่างตอ่ เนือ่ ง (Continuous Ambulatory Peritoneal 25,340 30,722 121.24 Dialysis: CAPD) - ฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียม (Hemodialysis: HD) 20,170 20,186 100.08 - ฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทยี มรายใหม่: (Hemodialysis with patient‘s 5,510 6,712 121.08 self-pay: HD self-pay) - ผา่ ตัดปลูกถา่ ยไต (Kidney Transplantation: KT) 172 220 127.91 - รับยากดภูมิคุม้ กนั หลังปลกู ถ่ายไต (Kidney Transplantation Immunosup- 1,908 2,370 124.23 pressive Drug: KTI) 65 |

รายการ/บริก(าSรe/rโvรicคe(iหteนm่วยs)นบั )ท่ีมา (หมายเหต)ุ (Taแrผgeนts) (Oผuลtงpาuนts) (P%teoroรftof้อaroยrmguลeatะptnsuc)tes 2.4 การใชบ้ ริการควบคมุ ป้องกนั และรักษาโรคเร้ือรงั 2(7) 3,032,195 4,137,071 136.44 12,000 - ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหติ สูงได้รับบรกิ ารควบคมุ และป้องกันการเกดิ 11,380 94.83 ภาวะแทรกซอ้ น (คน) (Secondary prevention for diabetic and 158 hypertension patients: persons) 44 158 100.00 152,800 44 100.00 2.5 ผ้ปู ว่ ยจิตเวชเรือ้ รงั ไดร้ ับการดูแลในชมุ ชน (คน) 10 730,000 219,518 143.66 (Community care for chronic psychiatric patients: persons) 678,539 92.95 2.6 บริการสาธารณสขุ เพมิ่ เตมิ ส�ำหรับหนว่ ยบรกิ ารในพื้นที่กันดาร พน้ื ทเี่ สย่ี งภยั และพ้ืนทีช่ ายแดนภาคใต้ (แห่ง) 6 (Compensation for remote and hardship areas and Southern border provinces: healthcare units) - หนว่ ยบรกิ ารทบ่ี ริการในพื้นท่ีกนั ดาร พ้ืนทีเ่ สย่ี งภยั หรอื พนื้ ท่ปี ระชากร เบาบาง (Remote and Hardship areas) - หนว่ ยบริการทีอ่ ยู่ในพ้นื ทเ่ี สีย่ งภยั ภาคใต้ (Southern Border provinces) 2.7 ผู้สงู อายุทมี่ ีภาวะพ่งึ พิง (กลมุ่ ตดิ บา้ นติดเตยี ง) ได้รบั การดแู ลตามแผนการดูแล รายบคุ คล: Care plan (คน) 13(8) (Long Term Care for Dependent elderly: persons) 2.8 การใช้บรกิ ารระดับปฐมภมู ิท่มี แี พทยป์ ระจ�ำครอบครัวแบบผู้ป่วยนอก (ครั้ง)10 (9) (Out-patients Services by Primary care cluster team: visits) ท่ีมา: 1 สำ� นกั บริหารงานทะเบียน สปสช. ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน 2562 (Source: Bureau of Registration, NHSO) 2 สำ� นกั บรหิ ารแผนและงบประมาณ สปสช. ขอ้ มลู ณ 30 กนั ยายน 2562 (Source: Bureau of Planning and Budget Administration, NHSO) 3 รายงานผลงานท่ีสนับสนนุ การบริหารจัดการกองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพถ้วนหนา้ สปสช. ข้อมลู ณ 30 กันยายน 2562 ประมวลผล ณ 27 มกราคม 2563 (Source: Report for Monitoring and Evaluation for Payment: H0401, NHSO) 4 ส�ำนกั บรหิ ารสารสนเทศการประกัน สปสช. ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน 2562 (Source: Bureau of Information and Technology, NHSO) 5 E-Claim Review and Monitoring Web Report สำ� นกั บรหิ ารการจัดสรรและชดเชยค่าบรกิ าร สปสช. ขอ้ มูล ณ 30 กนั ยายน 2562 ประมวลผล ณ 5 มกราคม 2563 (Source: E-Claim Review and Monitoring Web Report, Bureau of Fund Allocation and Reimbursement, NHSO) 6 โปรแกรม E-Claim สำ� นักบริหารการจดั สรรและชดเชยคา่ บริการ สปสช. ขอ้ มลู ณ 30 กันยายน 2562 ประมวลผล ณ 19 พฤศจกิ ายน 2562 (Source: Program E-Claim, Bureau of Fund Allocation and Reimbursement, NHSO) 7 สำ� นักสนับสนนุ ระบบบรกิ ารทตุ ิยภูมิและตตยิ ภมู ิ สปสช. ขอ้ มลู ณ 30 กันยายน 2562 (Source: Bureau of Secondary and Tertiary Care Management, NHSO) 8 สำ� นกั สนับสนนุ คุณภาพและมาตรฐานหน่วยบรกิ าร สปสช. ข้อมูล ณ 30 กนั ยายน 2562 ประมวลผล ณ 8 พฤศจกิ ายน 2562 (Source: Bureau of Health Care Quality Management, NHSO) 9 ส�ำนกั สนับสนุนระบบบรกิ ารยาและเวชภัณฑ์ สปสช. ขอ้ มลู ณ 30 กนั ยายน 2562 (Source: Bureau of Medicine and Medical Supply Management, NHSO) 10 สำ� นกั สนับสนนุ ระบบบริการปฐมภูมิ สปสช. ข้อมลู ณ 30 กันยายน 2562 (Source: Bureau of Primary Care Management, NHSO) 11 ข้อมูลสารสนเทศการให้บริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ส�ำนักสนับสนุนระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ สปสช. ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2562 ประมวลผล ณ 30 พฤศจิกายน 2562 (National AIDS Program, Bureau of Secondary and Tertiary Care Management, NHSO) 66 | รายงานประจำ� ปี 2562

12 ระบบรายงานสารสนเทศผู้ป่วยไตวายเร้ือรัง ส�ำนักสนับสนุนระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ สปสช. ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2562 ประมวลผล ณ 31 ธันวาคม 2562 (Source: Chronic Kidney Disease: CKD Reports, Bureau of Secondary and Tertiary Care Management, NHSO) 13 สำ� นักสนับสนนุ ระบบบรกิ ารสุขภาพชมุ ชน ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน 2562 (Source: Bureau of Community Health Management, NHSO) หมายเหตุ: (1) หมายถงึ เปา้ หมายไม่รวมเดก็ แรกเกิด (2) หมายถงึ เป็นคา่ บริการเฉพาะการรักษาโรคทเ่ี กิดจากการด�ำน้�ำ (Decompression sickness) (3) หมายถึง เปน็ ค่าชดเชยค่าบรกิ ารผ่าตัดส�ำหรบั ผ้บู ริจาคอวัยวะ และผรู้ ับอวัยะ (ต้ังแต่การเตรยี มก่อนผ่าตัด ผ่าตดั และการดแู ลหลัง ผ่าตัด) และคา่ ยากดภมู คิ ุม้ กันภายหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายอวยั วะ (4) หมายถึง เปน็ คา่ สารเมทาโดนในการบ�ำบดั รกั ษาผปู้ ่วยตดิ สารเสพตดิ ในกลุ่มอนพุ ันธฝ์ น่ิ (อาทิ เฮโรอีน) (5) หมายถึง เป็นการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่ครอบคลุมค่ายา การตรวจกลุ่มเส่ียง และกิจกรรมการดูแลให้ผู้ป่วยกินยารักษาวัณโรคอย่าง สมำ่� เสมอ (6) หมายถึง เป็นการให้ยา Morphine เพื่อบรรเทาอาการปวด และการดูแลประคับประคองอย่างเป็นองค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สงั คม และจติ วิญญาณ (7) หมายถงึ ผ้ปู ่วยเบาหวานได้รบั การตรวจหาระดับ HbA1C, Lipid profile, Micro albuminuria, จอประสาทตา และการตรวจเท้า อย่างละเอียดปีละครั้ง และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจหาระดับ Fasting plasma Glucose, lipid profile, Urinalysis อยา่ งน้อยปลี ะครั้ง (8) หมายถึง เป็นชุดบริการส�ำหรับดูแลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง (กลุ่มติดบ้านติดเตียง) ท่ีได้รับการประเมินความสามารถในการด�ำเนิน ชีวิตประจำ� วนั ตามดชั นบี าร์เธลเอดีแอลเทา่ กบั หรอื นอ้ ยกวา่ 11 คะแนน โดยทีมหมอครอบครัวและ อปท. (9) หมายถงึ การใช้บรกิ ารท้งั ในหนว่ ยบรกิ ารระดับปฐมภูมิ และบรกิ ารในชุมชนท่มี ีองค์ประกอบด้านบคุ ลากร และระบบการจัดบรกิ าร ตามที่ก�ำหนด คณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์ มีการทบทวนหลักเกณฑ์คุณภาพของการขึ้นทะเบียนและจัดต้ังคลินิก หมอครอบครัว ในส่วนนอกเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร เพ่ิมจ�ำนวนวันของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ปฏิบัติงานประจ�ำที่คลินิก หมอครอบครัว จากเกณฑ์เดิมของปี 2561 ท่ีก�ำหนดไว้ 3 วันต่อสัปดาห์ เป็น 5 วันต่อสัปดาห์ กระทรวงสาธารณสุขโดย ส�ำนักสนบั สนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ จึงมกี ารประเมนิ และขนึ้ ทะเบียนคลินกิ หมอครอบครัวของปี 2562 ใหม่ 67 |

8. ประสิทธิภาพ คณุ ภาพผลงานบรกิ ารสาธารณสุข (Efficiency and Quality of care) 8.1 ประสิทธภิ าพหนว่ ยบริการ (Efficiency of care) 1) ค่าเฉล่ียน้�ำหนักสัมพัทธ์ท่ีปรับตามวันนอนของผู้ป่วย ทวั่ ไป (รพท.) และโรงพยาบาลชมุ ชน (รพช.) แสดงให้ ในทั้งหมด หรือ CaseMix Index Adjusted Relative เห็นว่าหน่วยบริการในแต่ละระดับมีการพัฒนาระบบ Weight (CMI-Adj.RW) เปน็ คา่ ดชั นที ีแ่ สดงถงึ ศกั ยภาพ บริการให้มีศักยภาพสอดคล้องกับระดับบริการที่เป็นอยู่ ของการให้บริการรักษาพยาบาล มีแนวโน้มสูงข้ึนทุก (แผนภาพท่ี 23) ระดบั โดยเฉพาะโรงพยาบาลศนู ย์ (รพศ.) โรงพยาบาล 23 คา่ เฉลยี่ นำ้� หนกั สมั พทั ธท์ ปี่ รบั ตามวนั นอนของผปู้ ว่ ยในทงั้ หมด (CMI-Adj.RW) จำ� แนกตามประเภทหนว่ ยบรกิ าร ปงี บประมาณ 2558-2562 แผนภาพ (CaseMix Index Adjusted Relative Weight classified by hospital type in Fiscal Year 2015-2019) CMI-Adj.RW โรงพยาบาลศนู ย์ (Reginal hosp.) (22501585) (22505196) (22506107) (22506118) (22506129) 1.86 1.88 1.92 1.91 1.93 โรงพยาบาลท่ัวไป (Provincial hosp.) 1.26 1.27 1.31 1.31 1.33 โรงพยาบาลชมุ ชน (District hosp.) 0.65 0.65 0.67 0.67 0.68 โรงพยาบาลสังกัดกรมใน สธ. (MoPH hosp.) 2.10 2.11 2.17 2.16 2.16 โรงพยาบาลรัฐนอก สธ. (non-MoPH hosp.) 3.49 3.56 3.74 3.44 3.46 โรงเรยี นแพทย์ (Medical schools) 2.75 2.78 2.84 2.75 2.74 โรงพยาบาลเอกชน (Private Hosp.) 1.64 1.59 1.61 1.59 1.64 ภาพรวมประเทศ (Total) 1.23 1.23 1.26 1.24 1.25 ทีม่ า: ขอ้ มูลผปู้ ่วยใน (IP E-Claim) ปีงบประมาณ 2558-2562 ส�ำนักบริหารสารสนเทศการประกนั ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน 2562 ประมวลผล ณ 31 มกราคม 2563, วเิ คราะห์โดย สำ� นกั สารสนเทศและประเมินผลลัพธส์ ุขภาพ สปสช. Source: Data from IP E-Claim, Bureau of Information and Technology in Fiscal Year 2015-2019, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 หมายเหต:ุ 1) ไม่รวมทารกปกติ (Well Baby) ทค่ี ลอดในโรงพยาบาล (รหสั Z380) 2) การประมวลผลข้อมลู ใชส้ ถานะของประเภทโรงพยาบาล ในปีงบประมาณ 2562 และประมวลผลย้อนหลงั 68 | รายงานประจำ� ปี 2562

2) ผลรวมคา่ น้�ำหนักสัมพัทธ์ท่ปี รบั ตามวนั นอน (Sum of ประเภทหนว่ ยบริการ พบวา่ โรงพยาบาลศนู ย์ (34 แหง่ ) Adjusted Relative Weight: Sum of Adj.RW) สะทอ้ น มี Sum of Adj.RW สูงสุด คอื ร้อยละ 33.54 รองลงมาคือ ถึงความรุนแรงของโรคท่ีให้การรักษาของผู้ป่วยในและ โรงพยาบาลท่ัวไป (85 แห่ง) ร้อยละ 24.58 และ ภาระงบประมาณท่ีเกิดข้ึน เมื่อจ�ำแนกตามระดับหรือ โรงพยาบาลชมุ ชน (753 แหง่ ) ร้อยละ 24.32 ตามลำ� ดับ (แผนภาพที่ 24) 24 สดั สว่ นผลรวมคา่ นำ้� หนกั สมั พทั ธท์ ปี่ รบั ตามวนั นอน (Sum of Adj.RW) จำ� แนกตามประเภทหนว่ ยบรกิ าร ปงี บประมาณ 2562 แผนภาพ (Proportion of Sum of Adjusted Relative Weight classified by hospital type in Fiscal Year 2019) 24.32% 4.14% โรงพยาบาลชมุ ชน (753 แหง่ ) โรงพยาบาลสังกัดกรมใน สธ. (54 แหง่ ) (District hosp.) (MoPH hosp.) 24.58% โ3ร.ง3พ5ย%าบาลรฐั นอก สธ. (82 แหง่ ) (Pโรroงพv(8iยn5าcบiแaาหlลง่hท)o่ัวsไpป.) (non-MoPH hosp.) 33.54% 6.60% โรงพยาบาลศูนย์ (34 แห่ง) โรงเรียนแพทย์ (16 แหง่ ) (Reginal hosp.) (Medical schools) โ3ร.ง4พ8ย%าบาลเอกชน (61 แห่ง) (Private Hosp.) ท่ีมา: ข้อมลู ผู้ปว่ ยใน (IP E-Claim) ปงี บประมาณ 2562 ส�ำนกั บรหิ ารสารสนเทศการประกัน ขอ้ มลู ณ 30 กนั ยายน 2562 ประมวลผล ณ 31 มกราคม 2563, วเิ คราะหโ์ ดย ส�ำนกั สารสนเทศและประเมนิ ผลลัพธส์ ขุ ภาพ สปสช. Source: Data from IP E-Claim, Bureau of Information and Technology in Fiscal Year 2019, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 หมายเหตุ: ไม่รวมทารกปกติ (Well Baby) ทค่ี ลอดในโรงพยาบาล (รหสั Z380) 69 |

3) คา่ นำ้� หนกั สมั พัทธ์ (Relative Weight : RW) เปน็ ร้อยละของการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลแบบผู้ป่วยใน ตัวเลขเปรียบเทียบการใช้ต้นทุนเฉล่ียในการดูแลรักษา ทม่ี คี า่ นำ้� หนกั สมั พทั ธน์ อ้ ยกวา่ 0.5 ในแตล่ ะประเภทหนว่ ย ผปู้ ว่ ยของ DRG นนั้ วา่ เปน็ กเี่ ทา่ ของตน้ ทนุ เฉลย่ี ของผปู้ ว่ ย บริการ พบว่า ส่วนใหญ่มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไม่มาก ทุกกลุ่ม DRG ดังน้ันค่า RW จึงใช้เป็นค่าที่บ่งบอกถึง และคอ่ นขา้ งคงที่ ยกเวน้ โรงพยาบาลเอกชน มีแนวโน้ม ศกั ยภาพและประสทิ ธภิ าพในการรกั ษาผปู้ ว่ ยใน ซง่ึ พบวา่ เพมิ่ ข้นึ จากรอ้ ยละ 30.80 เปน็ ร้อยละ 38.35 (แผนภาพ คา่ นำ�้ หนกั สมั พทั ธ์ (RW) ในแตล่ ะชว่ งสอดคลอ้ งกบั ระดบั ท่ี 26) หรือประเภทของหนว่ ยบรกิ าร (แผนภาพท่ี 25) 25 สดั สว่ นการรบั ไวร้ กั ษาแบบผปู้ ว่ ยใน จำ� แนกตามประเภทหนว่ ยบรกิ าร และคา่ นำ้� หนกั สมั พทั ธ์ (RW) ปงี บประมาณ 2562 (Proportion of admission classified by hospital type and relative weight in Fiscal Year 2019) แผนภาพ (กIาPร: ัรบaไdว้รัmiกssษiาoแn)บบ ู้ผป่วยใน: ครั้ง 204,371 112040,,868050 3554298,,7,26165820 23,094 2103,,357304 45,916 1193,,814106 162,520 378,296 868,201 37,514 35,048 32,357 31,901 352,329 346,503 279,806 525,935 39,832 31,769 44,815 33,652 369,580 1,460,317 26,546 58,466 31,463 65,553 23,065 32,596 โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทว่ั ไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลสังกัด โรงพยาบาลรฐั โรงเรยี นแพทย์ โรงพยาบาลเอกชน (Reginal hosp.) (Provincial (District hosp.) กรมใน สธ. นอก สธ. (Medical (Private (MoPH hosp.) (non-MoPH schools) Hosp.) hosp.) hosp.) RW < 0.5 RW = 0.5-0.9 RW = 1-1.9 RW = 2-2.9 RW >= 3 ทีม่ า: ขอ้ มูลผู้ป่วยใน (IP E-Claim) ปีงบประมาณ 2562 ส�ำนกั บรหิ ารสารสนเทศการประกัน ขอ้ มูล ณ 30 กนั ยายน 2562 ประมวลผล ณ 31 มกราคม 2563, วเิ คราะหโ์ ดย สำ� นักสารสนเทศและประเมนิ ผลลพั ธส์ ขุ ภาพ สปสช. Source: Data from IP E-Claim, Bureau of Information and Technology in Fiscal Year 2019, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 70 | รายงานประจำ� ปี 2562

26 รอ้ ยละการรบั ไวร้ กั ษาแบบผปู้ ว่ ยในทม่ี คี า่ นำ้� หนกั สมั พทั ธ์ (RW) นอ้ ยกวา่ 0.5 จำ� แนกตามประเภท หนว่ ยบรกิ าร ปงี บประมาณ 2558-2562 (Percentage of admission in low relative weight (RW<0.5) แผนภาพ classified by hospital type in Fiscal Year 2015-2019) ร้อยละ (%) โรงพยาบาลศูนย์ (Reginal hosp.) (22055185) (22505196) (22506107) (22506118) (22506129) 24.85 24.76 23.73 23.57 23.58 โรงพยาบาลทว่ั ไป (Provincial hosp.) 33.87 33.65 32.08 31.95 31.82 โรงพยาบาลชุมชน (District hosp.) 53.23 52.51 50.53 50.45 50.52 โรงพยาบาลสงั กดั กรมใน สธ. (MoPH hosp.) 15.16 14.99 13.19 13.08 11.84 โรงพยาบาลรฐั นอก สธ. (non-MoPH hosp.) 31.89 32.51 31.20 31.84 30.12 โรงเรียนแพทย์ (Medical schools) 14.87 15.02 14.10 14.53 14.73 โรงพยาบาลเอกชน (Private Hosp.) 30.80 33.65 34.98 36.55 38.35 ภาพรวมประเทศ (Total) 38.78 38.69 37.29 37.43 37.54 ท่ีมา: ขอ้ มูลผปู้ ่วยใน (IP E-Claim) ปีงบประมาณ 2558-2562 สำ� นกั บรหิ ารสารสนเทศการประกัน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2562 ประมวลผล ณ 31 มกราคม 2563, วิเคราะหโ์ ดย ส�ำนกั สารสนเทศและประเมนิ ผลลัพธ์สุขภาพ สปสช. Source: Data from IP E-Claim, Bureau of Information and Technology in Fiscal Year 2015-2019, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 หมายเหตุ: 1) ไมร่ วมทารกปกติ (Well Baby) ท่ีคลอดในโรงพยาบาล (รหัส Z380) 2) การประมวลผลข้อมลู ใช้สถานะของประเภทโรงพยาบาล ในปงี บประมาณ 2562 และประมวลผลยอ้ นหลงั 71 |

4) วันนอนเฉลี่ยของผูป้ ว่ ยใน (Average Length of วนั นอนเฉลยี่ ของผปู้ ว่ ยใน มแี นวโนม้ คอ่ นขา้ งคงท่ี ยกเวน้ Stay : Average LOS) เปน็ อกี หนึ่งตัวแปรทสี่ ะท้อนความ หน่วยบริการในสังกัดกรมของกระทรวงสาธารณสุข ที่มี รนุ แรงของโรค ประสทิ ธภิ าพการรกั ษาผปู้ ว่ ยใน และมผี ล วนั นอนเฉลยี่ ของผปู้ ว่ ยในสงู สดุ และมแี นวโนม้ เพม่ิ ขนึ้ จาก ต่อค่าใช้จ่าย กล่าวคือ หากมีวันนอนนานข้ึนจะส่งผลต่อ 12.24 วนั เป็น 13.09 วนั (แผนภาพท่ี 27) ค่าใช้จ่ายท่ีสูงข้ึน จากการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยในสิทธิ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ต้ังแต่ปี 2558–2562 พบว่า 27 วนั นอนเฉลย่ี ของผปู้ ว่ ยใน (Average LOS) จำ� แนกตามประเภทหนว่ ยบรกิ าร ปงี บประมาณ 2558-2562 (Average length of stay classified by hospital type in Fiscal Year 2015-2019) แผนภาพ AvวัeนrนaอgeนเLฉOลี่Sย((dวัaนy)s) โรงพยาบาลศนู ย์ (Reginal hosp.) (22055158) (22505196) (22506107) (22506118) (22506129) 4.92 4.93 4.95 4.90 4.90 โรงพยาบาลท่ัวไป (Provincial hosp.) 4.29 4.28 4.32 4.30 4.26 โรงพยาบาลชมุ ชน District hosp.) 3.03 3.06 3.08 3.10 3.07 โรงพยาบาลสงั กดั กรมใน สธ. (MoPH hosp.) 12.24 12.10 12.93 13.11 13.09 โรงพยาบาลรฐั นอก สธ. (non-MoPH hosp.) 5.63 5.76 5.65 5.74 5.77 โรงเรียนแพทย์ (Medical schools) 7.15 6.97 6.90 6.71 6.64 โรงพยาบาลเอกชน (Private Hosp.) 3.13 3.24 3.53 3.43 3.32 ภาพรวมประเทศ (Total) 4.19 4.18 4.24 4.21 4.17 ทม่ี า: ขอ้ มลู ผ้ปู ่วยใน (IP E-Claim) ปงี บประมาณ 2558-2562 สำ� นักบริหารสารสนเทศการประกัน ข้อมลู ณ 30 กันยายน 2562 ประมวลผล ณ 31 มกราคม 2563, วิเคราะหโ์ ดย สำ� นักสารสนเทศและประเมนิ ผลลัพธส์ ุขภาพ สปสช. Source: Data from IP E-Claim, Bureau of Information and Technology in Fiscal Year 2015-2019, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 หมายเหตุ: 1) วนั นอนเฉลยี่ ของผปู้ ่วยใน นับรวมผู้ปว่ ยท่รี บั ไวร้ กั ษาในโรงพยาบาลตง้ั แต่ 6 ชัว่ โมงขึ้นไป 2) การประมวลผลขอ้ มูลใชส้ ถานะของประเภทโรงพยาบาล ในปงี บประมาณ 2562 และประมวลผลยอ้ นหลัง 72 | รายงานประจำ� ปี 2562

5) การผา่ ท้องคลอด (Caesarean section) เปน็ ในระยะสั้นและระยะยาว ท้ังกับผู้เป็นแม่และทารกท่ี หตั ถการทางการแพทยท์ สี่ ำ� คญั ในการชว่ ยชวี ติ ทง้ั แมแ่ ละ คลอดมา ทารกกรณที ี่มคี วามจ�ำเป็น ซ่งึ องคก์ ารอนามัยโลกระบุวา่ ซงึ่ สถานการณก์ ารผา่ ทอ้ งคลอด สทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพ การผ่าท้องคลอดที่มีความจ�ำเป็นตามข้อบ่งชี้ทางการ แห่งชาติ พบวา่ ร้อยละการผา่ ท้องคลอดในหน่วยบริการมี แพทย์ หากมีอตั ราการผ่าคลอดเกนิ รอ้ ยละ 15 แลว้ จะ แนวโน้มเพ่ิมขึ้นทุกระดับ ยกเว้นโรงพยาบาลเอกชนท่ีมี เปน็ การผา่ ทอ้ งคลอดโดยไมจ่ ำ� เปน็ โดยระยะหลงั ประเทศ แนวโน้มลดลง จากร้อยละ 48.48 เป็นร้อยละ 40.98 ไทยมีอตั ราการผา่ ทอ้ งคลอดเพ่มิ สงู ข้นึ อย่างรวดเร็ว ทง้ั ที่ (แผนภาพที่ 28) การผา่ ทอ้ งคลอดมโี อกาสเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นมากกวา่ การ คลอดปกติ และยังมีผลกระทบด้านสุขภาพตามมาท้ัง 28 รอ้ ยละการผา่ ทอ้ งคลอด สทิ ธิ UC จำ� แนกตามประเภทหนว่ ยบรกิ าร ปงี บประมาณ 2558-2562 (Percentage of delivery with cesarean section classified by hospital type in Fiscal Year 2015-2019) แผนภาพ ้รอยละ (%) โรงพยาบาลศนู ย์ (Reginal hosp.) (22501585) (22505196) (22506107) (22506118) (22506129) 45.42 45.57 46.33 47.26 47.44 โรงพยาบาลท่วั ไป (Provincial hosp.) 44.68 44.63 45.44 46.04 46.17 โรงพยาบาลชมุ ชน (District hosp.) 10.13 10.91 12.31 12.91 14.07 โรงพยาบาลสงั กัดกรมใน สธ. (MoPH hosp.) 30.24 33.46 30.29 30.78 31.79 โรงพยาบาลรัฐนอก สธ. (non-MoPH hosp.) 29.48 31.45 33.48 31.92 31.71 โรงเรยี นแพทย์ (Medical schools) 39.19 39.36 40.40 41.52 42.26 โรงพยาบาลเอกชน (Private Hosp.) 48.48 46.05 41.97 40.40 40.98 ภาพรวมประเทศ (Total) 30.52 30.91 31.90 32.68 33.42 ที่มา: ข้อมลู ผปู้ ว่ ยใน (IP E-Claim) ปงี บประมาณ 2558-2562 ส�ำนกั บรหิ ารสารสนเทศการประกนั ข้อมูล ณ 30 กนั ยายน 2562 ประมวลผล ณ 31 มกราคม 2563, วเิ คราะห์โดย ส�ำนกั สารสนเทศและประเมนิ ผลลพั ธส์ ขุ ภาพ สปสช. Source: Data from IP E-Claim, Bureau of Information and Technology in Fiscal Year 2015-2019, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 หมายเหตุ: การประมวลผลขอ้ มูลใช้สถานะของประเภทโรงพยาบาล ในปงี บประมาณ 2562 และประมวลผลย้อนหลัง 73 |

05 20 อนั ดบั โรค/กลุ่มโรค ของผู้ปว่ ยนอก สทิ ธิ UC ปีงบประมาณ 2562 ตาราง (Top 20 Diseases of UCS Out-patient visits in Fiscal Year 2019) อันดบั (No.) โรค/กล่มุ โรค (Diseases: ICD10) รวม: ครง้ั (Total: visits) 16,209,115 1 Essential (primary) hypertension: I10 11,184,217 2 (Non-insulin-dependent diabetes mellitus: E11 9,066,812 3 Acute nasopharyngitis [common cold]: J00 4,192,915 4 Other soft tissue disorders, not elsewhere classified: M79 3,220,210 5 Dental caries: K02 3,096,937 6 Dyspepsia: K30 2,603,817 7 Other disorders of muscle: M62 2,286,984 8 Chronic renal failure: N18 2,139,163 9 Dizziness and giddiness: R42 1,797,031 10 Gingivitis and periodontal diseases: K05 1,779,537 11 Diseases of pulp and periapical tissues: K04 1,437,896 12 Acute pharyngitis: J02 1,415,732 13 Fever of unknown origin: R50 1,298,091 14 Diarrhea and gastroenteritis of presumed infectious origin: A09 1,249,934 15 Dorsalgia: M54 1,204,684 16 Disorders of lipoprotein metabolism and other lipidaemias: E78 1,109,248 17 Schizophrenia: F20 993,139 18 Asthma: J45 992,945 19 Unspecified human immunodeficiency virus (HIV) disease: B24 987,236 20 Abdominal and pelvic pain: R10 68,265,643 รวม 20 อันดบั กลุ่มโรค (Top 20 Diseases) 161,945,180 รวม (Total) ที่มา: ข้อมูลระบบคลงั ขอ้ มลู สำ�นักบรหิ ารสารสนเทศการประกัน ณ 30 กันยายน 2462 ประมวล ณ 31 มกราคม 2563, วิเคราะหโ์ ดย สำ�นักสารสนเทศและประเมินผลลัพธส์ ขุ ภาพ สปสช. หมายเหต:ุ 1. ค�ำนวณจากจำ� นวนคร้งั ทเ่ี ขา้ รบั บริการผปู้ ่วยนอก นบั ตามโรคหลัก 2. การจัดกลมุ่ สาเหตกุ ารป่วย ตามบัญชีจ�ำแนกโรคระหวา่ งประเทศ (ICD-10-TM) ซง่ึ เปน็ รหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติท่ตี รวจพบ อ้างองิ รายงานสถิติสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข Source: Data Center in NHSO, Bureau of Information and Technology, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 Note: 1. Calculated from number of out-patient visits by Principle Diagnosis (PDx) 2. Identified diagnosis/disease according to ICD-10-TM, refer to Public Health Statistic, Ministry of Pubic Health. 74 | รายงานประจำ� ปี 2562

06 20 อันดับโรค/กลุ่มโรค ของผู้ปว่ ยที่รบั ไวร้ ักษาในโรงพยาบาล สทิ ธิ UC จ�ำแนกตามกลมุ่ อายุ ปีงบประมาณ 2562 ตาราง (Top 20 Diseases of UCS In-patient admissions classified by age group in Fiscal Year 2019) อNนั oด.บั (Diโsรeคa/sกeลs:มุ่ IโCรDค10) adรmว(Tมios:stiaคolรn:ั้งs ) น(<อ้ ย1กyวe่าa1rsป)ี กล่มุ อายุ (Age-group) (1-14-4yeปaีrs) (5-51-414yeปaีrs) (151-55-959yeปarี s) (606-06-969yeปarี s) (7>=070ปyีขeน้ึ aไrปs) 1 Diarrhea and gastroenteritis of presumed infectious 299,317 28,160 62,874 40,517 86,779 34,787 46,200 origin: A09 2 Live born infants according to place of birth: Z38 285,294 285,294 0 0 0 0 0 3 Pneumonia\\, organism unspecified: J18 223,525 24,689 58,532 14,590 39,542 28,024 58,148 4 Senile cataract: H25 136,916 0 0 0 22,502 54,629 59,785 5 Single spontaneous delivery: O80 128,167 0 0 1,130 127,037 0 0 6 Other chronic obstructive pulmonary disease: J44 125,533 16 181 72 19,762 36,355 69,147 7 Chronic renal failure: N18 122,859 24 71 247 41,701 35,399 45,417 8 Thalassemia: D56 106,220 471 9,960 48,205 37,453 5,490 4,641 9 Acute bronchitis: J20 104,865 12,528 44,256 17,369 13,471 6,502 10,739 10 Non-insulin-dependent diabetes mellitus: E11 99,503 6 15 172 41,188 29,553 28,569 11 Heart failure: I50 95,788 175 137 212 28,680 24,510 42,074 12 Other disorders of urinary system: N39 93,703 2,382 2,752 3,221 28,804 19,505 37,039 13 Cerebral infarction: I63 93,484 26 28 56 30,212 27,225 35,937 14 Neonatal jaundice from other and unspecified 81,124 81,124 0 00 0 0 causes: P59 15 Acute appendicitis: K35 75,910 11 892 16,333 46,804 6,860 5,010 16 Fever of unknown origin: R50 74,776 3,110 7,709 9,991 31,821 9,750 12,395 17 Dengue fever [classical dengue]: A90 71,649 816 5,480 36,348 26,832 1,330 843 75 |

76 | อNนั oด.ับ (Diโsรeคa/sกeลs:ุ่มIโCรDค10) adรmว(Tมios:tsaคiolร:n้งั s) น(<อ้ ย1กyวeา่ a1rsป)ี กลมุ่ อายุ (Age-group) 18 Dengue hemorrhagic fever: A91 (1-14-4yeปaีrs) (5-51-414yeปaีrs) (151-55-959yeปarี s) (606-06-969yeปarี s) (7>=070ปyีขeึ้นaไrปs) รายงานประจำ� ปี 2562 68,861 741 2,594 28,618 34,824 1,326 758 19 Cellulitis: L03 63,691 630 3,806 3,455 26,212 13,382 16,206 20 Intracranial injury: S06 62,063 550 2,441 5,334 35,293 8,256 10,189 รวม 20 อนั ดบั กล่มุ โรค (Top 20 Diseases) 2,413,248 440,753 201,728 225,870 718,917 342,883 483,097 รวม (Total) 6,299,512 691,914 447,630 489,088 2,566,008 961,095 1,143,777 ทม่ี า: ข้อมูล IP E-Claim ใน DWRESEARCH ส�ำนกั บริหารสารสนเทศการประกัน ณ 30 กนั ยายน 2562 ประมวลผล ณ 31 มกราคม 2563, วิเคราะหโ์ ดย สำ� นักสารสนเทศและประเมินผลลพั ธ์สขุ ภาพ สปสช. หมายเหตุ: 1. ค�ำนวณจากจ�ำนวนคร้ังทเี่ ข้ารบั บริการผู้ปว่ ยใน นบั ตามโรคหลกั 2. การจัดกลุ่มสาเหตกุ ารปว่ ย ตามบัญชีจ�ำแนกโรคระหวา่ งประเทศ (ICD-10-TM) ซึ่งเป็นรหสั ของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติทตี่ รวจพบ อา้ งองิ รายงานสถิตสิ าธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ Source: Data from IP E-claim, Bureau of Information and Technology, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 Note: 1. Calcuated from number of In-patient admissions by Principle Diaghosis (PDx) 2. Identified diagnosis/disease to ICD-10-TM, refer to Public Health Statistic. Ministry of Pubic Health.

8.2 ประสทิ ธผิ ลและคณุ ภาพบรกิ าร (Effectiveness and Quality of care) 1) อตั ราปว่ ยตายในโรงพยาบาล (Case fatality Rate) ในภาพรวมมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้นเล็กน้อย โดยเฉพาะใน เปน็ ดชั นวี ดั ความรนุ แรงของโรคทสี่ ะทอ้ นประสทิ ธผิ ลของ กลมุ่ ผสู้ งู อายุ และลดลงในกลมุ่ เดก็ วยั เรยี น และวยั ทำ� งาน การดูแลรักษาพยาบาล การจัดบริการสุขภาพ และการ (แผนภาพที่ 29) เฝ้าระวัง พบว่า อัตราป่วยตายของผู้ป่วยในสิทธิ UC 29 รอ้ ยละการปว่ ยตายในโรงพยาบาลของผปู้ ว่ ยใน สทิ ธิ UC จำ� แนกตามกลมุ่ อายุ ปงี บประมาณ 2558-2562 (Case fatality Rate of In-patients classified by age group in Fiscal Year 2015-2019) แผนภาพ caัอsตeรpfาae(tra่ตl1iอ0ty010ra0t)e นอ้ ยกว่า 1 ปี (less than 1 year) (22505158) (22505196) (22506107) (22506118) (22506129) 1-4 ปี (1-4 years) 0.97 0.92 0.90 0.86 0.81 5-14 ปี (5-14 years) 0.23 0.21 0.20 0.19 0.21 15-59 ปี (15-59 years) 0.32 0.31 0.31 0.29 0.28 60-69 ปี (60-69 years) 2.59 2.62 2.63 2.61 2.61 70 ปขี ึ้นไป (more than 70 years) 5.21 5.35 5.34 5.24 5.26 ภาพรวมประเทศ (Total) 8.10 8.38 8.32 8.29 8.30 3.01 3.07 3.12 3.11 3.17 ทีม่ า: ข้อมลู ผปู้ ว่ ยใน (IP E-Claim) ปงี บประมาณ 2558-2562 สำ� นกั บรหิ ารสารสนเทศการประกนั ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน 2562 ประมวลผล ณ 31 มกราคม 2563, วิเคราะหโ์ ดย สำ� นกั สารสนเทศและประเมนิ ผลลพั ธส์ ขุ ภาพ สปสช. Source: Data from IP E-Claim, Bureau of Information and Technology in Fiscal Year 2015-2019, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 หมายเหต:ุ อตั ราปว่ ยตายในผปู้ ว่ ยอายนุ ้อยกว่า 1 ปี ไมร่ วมทารกปกติ (Well Baby) ทค่ี ลอดในโรงพยาบาล (รหสั Z380) 20 อนั ดบั โรค/กลุม่ โรค (Top 20 Diseases) ของผปู้ ่วย Intracerebral hemorrhage และ Bacterial pneumonia สิทธิ UC ที่เสียชีวิตในโรงพยาบาล 3 อันดับแรก คือ ซงึ่ มากสดุ ในกลมุ่ วยั ทำ� งาน และวยั ผสู้ งู อายทุ งั้ 3 กลมุ่ โรค Pneumonia organism unspecified, เช่นกัน (ตารางที่ 7) 77 |

78 | 07 20 อันดับโรค/กลุ่มโรค ของผปู้ ่วยในทม่ี กี ารเสยี ชวี ิต สิทธิ UC จำ� แนกตามกลมุ่ อายุ ปงี บประมาณ 2562 ตาราง (Top 20 Diseases of in-patient mortality by age group in Fiscal Year 2019) รายงานประจำ� ปี 2562 อNันoด.ับ (Diโsรeคa/sกeลs:่มุ IโCรDค10) รว(cTมaost:easคl):น เพศ (Gender) กลุ่มอายุ (Age-group) (Mชaายle) (Feหmญaงิ le) น(<อ้ ย1กyวeา่ a1rsป)ี (1-14-4yeปaีrs) (5-51-414yeปaีrs) (151-55-959yeปarี s) (606-06-969yeปarี s) (7>=070ปyขี e้ึนaไrปs) 1 Pneumonia, organism 13,653 7,652 6,000 unspecified: J18 4,249 2,482 128 107 69 3,552 2,651 7,146 2 Intracerebral hemorrhage: I61 6,735 3,330 2,310 1 4 8 3,089 1,529 2,104 3 Bacterial pneumonia, not 5,642 2,427 2,342 63 40 34 1,405 1,113 2,987 4,769 3,038 924 6 2 2 881 1,200 2,678 elsewhere classified: J15 3,963 1,628 2,238 18 30 147 2,399 648 721 4 Acute myocardial infarction: I21 1,759 1,969 6 8 13 1,039 897 1,903 5 Intracranial injury: S06 3,057 670 1 3 2 757 871 2,094 6 Heart failure: I50 3,866 3 4 1 291 799 2,629 7 Cerebral infarction: I63 3,728 2,510 966 8 Other chronic obstructive 3,727 1,780 1,616 0 1 0 1,336 1,158 981 1,178 2,083 pulmonary disease: J44 3,476 42 19 27 1,037 682 1,590 9 Malignant neoplasm of liver and 3,397 2,092 1,168 3,261 1,464 1,679 6 5 4 558 684 2,004 intrahepatic bile ducts: C22 1,439 1,314 10 Other septicemia: A41 3,260 1 1 2 903 1,034 1,319 11 Other disorders of urinary 3,144 1 3 6 1,011 869 1,254 2,753 22 14 30 980 612 1,095 system: N39 12 Malignant neoplasm of bronchus and lung: C34 13 Chronic renal failure: N18 14 Shock, not elsewhere classified: R57

อNนั oด.บั (Diโsรeคa/sกeลs:มุ่ IโCรDค10) รว(cTมaost:easคl):น เพศ (Gender) กลุ่มอายุ (Age-group) (Mชaายle) (Feหmญaิงle) น(<้อย1กyวeา่ a1rsป)ี (1-14-4yeปaีrs) (5-51-414yeปaีrs) (151-55-959yeปarี s) (606-06-969yeปarี s) (7>=070ปyขี eึ้นaไrปs) 15 Other diseases of digestive 2,752 1,873 879 system: K92 4 2 5 1,253 589 899 16 HIV disease resulting in infectious 1,514 845 and parasitic diseases: B20 2,359 1 4 6 2,185 132 31 1,322 991 17 Pneumonitis due to solids and 2,313 16 27 25 379 390 1,476 liquids: J69 859 896 18 Diarrhea and gastroenteritis of 602 892 20 12 5 554 396 768 presumed infectious origin: A09 1,755 736 613 2 3 1 235 292 961 44,509 32,877 10 8 13 477 312 529 19 Decubitus ulcer: L89 1,494 74,232 56,315 351 297 400 24,321 16,858 35,169 20 Cardiac arrest: I46 1,349 2,611 670 1,042 44,706 28,654 52,892 รวม 20 อันดับกลมุ่ โรค (Top 20 Diseases) 77,396 รวม (Total) 130,575 ทม่ี า: จำ� นวนคน (PID) ทีเ่ ข้ารบั บรกิ ารผูป้ ่วยใน นบั ตามโรคหลกั และมีสถานะจ�ำหน่ายเปน็ เสยี ชวี ิต (Discharge type = 8 or 9) (ขอ้ มูล IP E-Claim ใน DWRESEARCH) สำ� นักบริหารสารสนเทศการประกัน ณ 30 กนั ยายน 2562 ประมวลผล ณ 31 มกราคม 2563, วิเคราะห์โดย ส�ำนักสารสนเทศและประเมินผลลัพธ์สขุ ภาพ สปสช. หมายเหต:ุ การจดั กลมุ่ สาเหตกุ ารปว่ ย ตามบญั ชจี ำ� แนกโรคระหวา่ งประเทศ (ICD-10-TM) ซึง่ เปน็ รหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผดิ ปกติทต่ี รวจพบ อา้ งองิ รายงานสถติ ิสาธารณสขุ ส�ำนกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสขุ Source: Data from IP E-Claim, Bureau of Information and Technology, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 Note: Calculated from number of In-patients by Personal Identification (PID) and Principle Diagnosis (PDx) and Discharge type = 8 or 9 (Dead) 79 |

2) อตั ราการรับไว้รกั ษาในโรงพยาบาลในผู้ปว่ ยกลุ่มโรค บริการได้ในโรงพยาบาลทุกระดับที่มีการให้บริการผู้ป่วย ที่ควรรักษาแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory Care นอก ไดแ้ ก่ กลมุ่ โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู หดื ปอด Sensitivity Condition: ACSC) อดุ กน้ั เรอื้ รงั และโรคลมชกั หากการดแู ลกลมุ่ โรคดงั กลา่ ว ภาวะที่ควรควบคุมได้ด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC) มีคุณภาพ แนวโน้มการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลควร เปน็ การประเมนิ โรคหรอื ภาวะ ซง่ึ หากไดร้ บั การดแู ลรกั ษา ลดลง ซ่ึงในภาพรวม พบว่า อัตราการรับไว้รักษาใน แบบผู้ป่วยนอกที่เหมาะสมแล้ว จะสามารถป้องกันการ โรงพยาบาลของผู้ปว่ ยตอ่ ประชากรแสนคน สิทธิ UC ใน นอนพกั รกั ษาตวั ในโรงพยาบาลโดยไมจ่ ำ� เปน็ ได้ โดยอตั รา กลุ่มโรคความดันโลหิตสูง หืด และปอดอุดกันเรื้อรัง การพักรักษาในโรงพยาบาลด้วยภาวะ ACSC ท่ีสูง จะ ชะลอตวั ลงเม่อื เทียบกบั ปที ผี่ า่ นมา แตก่ ลุ่มโรคเบาหวาน สะท้อนคุณภาพและการเข้าถึงบริการผู้ป่วยนอก/บริการ และลมชัก มีอัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลเพ่ิม ปฐมภมู ิในอัตราที่ต่ำ� สำ� หรบั กลมุ่ โรคท่ีไม่ซับซอ้ นและจดั สงู ขนึ้ อยา่ งชดั เจน (แผนภาพท่ี 30) 30 อตั ราการรบั ไวร้ กั ษาในโรงพยาบาลในผปู้ ว่ ยกลมุ่ โรคทคี่ วรรกั ษาแบบผปู้ ว่ ยนอก สทิ ธิ UC ปงี บประมาณ 2558- 2562 (Admission rate per 100,000 population of Ambulatory Care Sensitivity Condition: ACSC, แผนภาพ in Fiscal Year 2015-2019) admissiอัoตnรrาaต่tอe pปeรrะช1า0ก0,ร0แ0สpนoคpนulation (22505158) (22505196) (22506107) (22506118) (22506129) 215.78 215.02 215.19 227.98 238.99 เบาหวาน (DM) 140.97 143.02 145.68 152.51 150.92 ความดนั โลหติ สูง (HT) 56.79 59.06 67.76 66.08 61.47 หืด (Asthma) 148.86 157.43 167.63 176.39 167.17 ปอดอดุ กันเรื้อรงั (COPD) 54.78 54.98 58.81 59.55 61.59 ลมชัก (Epilepsy) ทีม่ า: 1) รายงานตวั ชว้ี ดั บริการสขุ ภาพ สปสช. (NHSO Health Service Indicator: H0301) ข้อมูล ณ 30 กนั ยายน 2562 สำ� นกั บรหิ ารสารสนเทศการประกนั ประมวลผล ณ 28 มกราคม 2563, วเิ คราะหโ์ ดย สำ� นกั สารสนเทศและประเมนิ ผลลพั ธส์ ขุ ภาพ สปสช. 2) ขอ้ มลู ผปู้ ่วยใน (IP E-Claim) ปีงบประมาณ 2558-2562 สำ� นักบริหารสารสนเทศการประกนั ประมวลผล ณ 31 มกราคม 2563, วเิ คราะห์ โดย ส�ำนกั สารสนเทศและประเมินผลลัพธส์ ุขภาพ สปสช. Source: 1) NHSO Health Service Indicator Report (H0301), Bureau of Information and Technology, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 28 January 2020 2) Data from IP E-Claim, Bureau of Information and Technology in Fiscal Year 2015-2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 31 January 2020 80 | รายงานประจำ� ปี 2562

3) ตัวชี้วัดตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (Quality ผลงานบริการตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2562 and Outcomes Frameworks: QOF) เปน็ การดำ� เนนิ เทียบกับปีที่ผ่านมา พบว่า ตัวช้ีวัดมีผลการด�ำเนินงาน ตามนโยบายการยกระดับคุณภาพบริการท่ีมุ่งขับเคล่ือน ในทิศทางท่ีดีขึ้น หน่วยบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการ แบบมีส่วนร่วมระหว่างกระทรวงสาธารณสุข สปสช. ประจ�ำ มีการพัฒนาคุณภาพผลงานบริการมากขึ้นส่งผล และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เน้นการวัดผลลัพธ์มากกว่า ให้ประชาชนได้รับบริการท่ีมีคุณภาพมาตรฐานเพ่ิมข้ึน กระบวนการ และใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมลู ที่มีอยเู่ ดมิ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะตัวชี้วัดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง เพ่ือไม่ให้เป็นภาระแก่หน่วยบริการในการจัดเก็บข้อมูล รับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันและ สามารถสะท้อนคณุ ภาพบริการท่เี ช่อื มโยงทุกระดับ และ โรคติดเช้ือระบบทางเดินหายใจ ส่วนตัวชี้วัดอัตราการ เป็นปัญหาสาธารณสุข อาทิ โรคท่ีมีภาระโรคสูง ความ รับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคที่ควรรักษาแบบ เสย่ี งสงู คา่ ใชจ้ า่ ยสงู (High burden, High risk, High cost) ผู้ปว่ ยนอก (ACSC) ตอ่ ประชากรแสนคน พบว่า มีอัตรา และสอดคลอ้ งตามสภาพปญั หาและบริบทของพืน้ ท่ี การ เพ่ิมขึ้นเม่ือเทียบกับปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นความท้าทายของ คัดเลือกตัวชี้วัดที่สะท้อนคุณภาพผลงานบริการ และ ทุกส่วนที่เก่ียวข้องเพื่อยกระดับคุณภาพผลงานบริการ การสร้างแรงจูงใจให้หน่วยบริการจัดบริการที่มีคุณภาพ ต่อไป ดงั ตารางที่ 8 มาตรฐาน โดยใช้งบสนับสนุนส�ำหรับการบริหารจัดการ 4) โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST- จาก 3 ส่วน ได้แก่ งบบริการผปู้ ว่ ยนอกทว่ั ไป 9.00 บาท elevated Myocardial Infraction (STEMI) เป็นโรคที่ ต่อประชากรผู้มีสิทธิ UC 48.6 ล้านคน งบบริการ เป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่ส�ำคัญ สปสช. มีกลไกทางการ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค 9.00 บาท ตอ่ ประชากร เงินสนับสนุนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงการรักษาตามมาตรฐาน ไทย 65.7 ล้านคน และงบบรกิ ารจ่ายตามเกณฑค์ ุณภาพ โดยมีการจ่ายเพิ่มเป็นค่ายาละลายลิ่มเลือด และค่า ผลงานบริการ 2.00 บาท ต่อประชากรผ้มู ีสิทธิ UC 48.6 อปุ กรณ์ในการท�ำหัตการใสส่ ายสวนหัวใจ (PCI) ล้านคน สถานการณ์อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยโรค ตัวช้ีวัดคุณภาพผลงานบริการสาธารณสุข ประกอบด้วย STEMI อายุ 15 ปขี ้ึนไป สิทธหิ ลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ 2 ส่วน คอื พบวา่ เพมิ่ ขน้ึ จาก 23.60 ตอ่ ประชากรแสนคน (8,417 คน) ในปี 2552 เปน็ 35.90 ตอ่ ประชากรแสนคน (13,297 คน) 1) ตัวชี้วัดกลาง ไม่เกิน 10 ตัว เป็นการบูรณาการ ในปี 2562 เป็นผู้ป่วยได้รับยาละลายล่ิมเลือดและ/หรือ ระหว่าง สปสช. กระทรวงสาธารณสขุ สำ� นักงาน ทำ� หตั ถการใสส่ ายสวนหัวใจ (PCI) มีแนวโนม้ เพ่ิมข้ึนจาก กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร้อยละ 27.71 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 83.88 ในปี 2562 โดย สปสช.เขต ทุกเขตด�ำเนินการจา่ ยตามเกณฑ์ โดยจำ� แนกเปน็ ไดร้ บั ยาละลายลม่ิ เลอื ดเพม่ิ ขน้ึ จากรอ้ ยละ คณุ ภาพผลงานบริการ 17.29 (ปี 2552) เป็นร้อยละ 34.93 (ปี 2562) และ ท�ำหัตถการผ่านสายสวนหัวใจเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 11.64 2) ตวั ชวี้ ดั ระดบั เขต ไมเ่ กนิ 5 ตวั สปสช.เขต สามารถ (ปี 2552) เปน็ รอ้ ยละ 66.11 (ปี 2562) เลอื กจากตวั ชว้ี ดั ทมี่ ี หรอื กำ� หนดเพม่ิ เตมิ ขนึ้ มาใหม่ โดยใช้กลไกการมีส่วนร่วมกับผู้เก่ียวข้องในพื้นที่ โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการ หลกั ประกนั สุขภาพระดับเขตพื้นท่ี (อปสข.) 81 |

ส่วนอัตราป่วยตายภายใน 30 วันหลังจากรับไว้รักษาใน มีแนวโน้มค่อนข้างคงที่ อยู่ระหว่างร้อยละ 3.43-5.37 โรงพยาบาล มแี นวโนม้ ลดลงจากรอ้ ยละ 22.83 ในปี 2552 (แผนภาพที่ 31) (ตารางท่ี 26 และตารางท่ี 42 ในภาค เปน็ รอ้ ยละ 15.76 ในปี 2562 และอตั ราการกลบั มารกั ษา ผนวก 5) ซ�้ำแบบผูป้ ่วยในภายใน 28 วันหลังการจ�ำหนา่ ยครั้งกอ่ น 08 ผลการด�ำเนนิ งานตัวชี้วัดตามเกณฑค์ ุณภาพผลงานบรกิ าร ปี 2560-2562 ตาราง (Indicator for Quality and Outcome Framework in Year 2017-2019) อNันoด.บั (Indicator for Qualityตaัวnชdี้วดั Outcome Framework) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 (2017) (2018) (2019) ตัวชว้ี ัดที่ 1 ร้อยละของประชากรไทย อายุ 35-74 ปี ทุกสิทธทิ ี่ได้รับการคัด UCS: 59.34 50.58 56.57 กรองเบาหวาน โดยตรวจวัดระดบั น�้ำตาลในเลือด (UCS: 56.29) (UCS: 62.90) (เป้าหมาย: ไม่ตำ�่ กวา่ รอ้ ยละ 90) Percentage of Screening DM under all schemes population 35-74 years of age (Target: >=90%) ตวั ชว้ี ัดที่ 2 รอ้ ยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ทุกสทิ ธทิ ่ีไดร้ ับการคัดกรอง UCS: 60.86 51.26 55.74 ความดนั โลหติ สงู (เป้าหมาย: ไม่ต่ำ� กวา่ ร้อยละ 90) (UCS: 56.87) (UCS: 62.30) Percentage of Screening HT under all schemes population 35-74 years of age (Target: >=90%) ตวั ชีว้ ดั ท่ี 3 ร้อยละของหญิงมีครรภ์ทกุ สทิ ธิ ได้รับการฝากครรภค์ รง้ั แรกภายใน 53.50 52.83 54.60 12 สัปดาห์ (เปา้ หมาย: ไม่ตำ�่ กวา่ ร้อยละ 60) (UCS: 53.80) (UCS: 53.20) (UCS: 55.32) Percentage of ANC under all schemes received first antena- tal within 12 weeks (Target >=60%) ตวั ชว้ี ดั ท่ี 4 ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคดั กรองมะเรง็ ปากมดลกู ใน 34.64 36.30 40.07 สตรี 30-60 ปี ทกุ สทิ ธภิ ายใน 5 ปี (เปา้ หมาย: ไมต่ ำ่� กวา่ รอ้ ยละ 80) (UCS: 39.86) (UCS: 41.80) (UCS: 45.77) Percentage of Pap test for cervical cancer within 5 years in women 30-60 years of age under all schemes (Target >=80%) ตัวชี้วัดท่ี 5 การใช้ยาปฏิชวี นะอยา่ งรบั ผดิ ชอบในผู้ป่วยนอกทุกสิทธิ Rational Drug Use (RDU) in antibiotics for out-patients under all schemes 5.1 รอ้ ยละการใช้ยาปฏชิ วี นะอยา่ งรับผิดชอบในผูป้ ว่ ยนอกโรค 39.08 24.07 15.98 อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (เปา้ หมาย: ไมเ่ กนิ ร้อยละ 40) Percentage of Rational Drug Use: RDU in antibiotics for Acute Diarrhea out-patients (Target <=40%) 5.2 รอ้ ยละการใชย้ าปฏชิ วี นะอย่างรบั ผิดชอบในผปู้ ว่ ยนอกโรคติด 32.92 20.57 14.54 เชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection) (เปา้ หมาย: ไมเ่ กินรอ้ ยละ 40) Percentage of Rational Drug Use: RDU in antibiotics for Respiratory Infection out-patients (Target <=40%) 82 | รายงานประจำ� ปี 2562

อNนั oด.บั (Indicator for Qualityตaัวnชd้ีวดั Outcome Framework) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 (2017) (2018) (2019) ตวั ช้วี ัดท่ี 6 อัตราการรับไวร้ กั ษาในโรงพยาบาลด้วยกลุม่ โรคท่ีควรรกั ษาแบบ +8.23 +7.56 +11.15 ผูป้ ่วยนอก (ACSC) ต่อประชากรแสนคน ในโรคลมชกั ปอดอุดก้ัน (เพ่มิ ขนึ้ เมอ่ื เทียบกับปที ผ่ี า่ นมา) เรื้อรัง หืด เบาหวาน และความดนั โลหิตสงู สทิ ธิ UC เทียบกับปีที่ ผ่านมา (เป้าหมาย: ไม่เพิม่ ขน้ึ ) Admission rate in Ambulatory Care Sensitive Condition under UC scheme ACSC in Epilepsy, COPD, Asthma, Diabetes Mellitus and Hypertension patients compare with the previous year (Target: admission rate less than previous year) ท่มี า: สำ� นักสนับสนุนระบบบรกิ ารปฐมภมู ิ และสำ� นกั สารสนเทศและประเมนิ ผลลัพธส์ ขุ ภาพ สปสช. ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน 2562 ประมวลผล ณ 30 พฤศจกิ ายน 2562 Source: Bureau of Primary Care Management and Bureau of Health Information and Outcome Evaluation, NHSO. Data at 30 September 2019, Analyze at 30 November 2019 หมายเหตุ: 1) ผลงานบริการตามเกณฑค์ ณุ ภาพ (QOF) ในปที ีร่ ายงาน ใช้ผลงานไตรมาสท่ี 3, 4 ของปกี อ่ นหนา้ และไตรมาสท่ี 1, 2 ของปที ่รี ายงาน เช่น ปี 2562 ใช้ผลงานในช่วงไตรมาสท่ี 3, 4 ปีงบประมาณ 2561 และ ไตรมาสที่ 1, 2 ปงี บประมาณ 2562 (1 เมษายน 2561 - 31 มนี าคม 2562) 2) ตัวช้ีวดั ที่ 3 และ 4 เปน็ ตัวช้ีวัดทีด่ �ำเนนิ งานต่อเนือ่ งจากปงี บประมาณ 2560 ภายใต้โครงการงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ และผลงานบรกิ ารปฐมภมู ิ 3) ตัวชวี้ ดั ที่ 6 เปน็ ผลตา่ งของอตั ราการรบั ไวร้ ักษาในโรงพยาบาลดว้ ยกลุ่มโรคทคี่ วรรักษาแบบผู้ปว่ ยนอก (ACSC) ในกลุ่มโรคลมชัก ปอดอุดกั้นเร้อื รงั หดื เบาหวาน และความดันโลหิตสูง ต่อประชากรแสนคน เทียบกับปที ผ่ี ่านมา ซง่ึ ตัวเลขเป็น (+) หมายถึง อตั ราเพิม่ ขนึ้ จากปีที่ผา่ นมา 31 บรกิ ารผปู้ ว่ ยโรคกลา้ มเนอื้ หวั ใจขาดเลอื ดเฉยี บพลนั ชนดิ STEMI สทิ ธิ UC อายุ 15 ปขี นึ้ ไป ปงี บประมาณ 2552-2562 (Service for ST-elevated Myocardial Infarction (STEMI) patients under the UC scheme แผนภาพ in Fiscal Year 2009-2019) (pอัerตร1า0ต่0,อ0ป0ร0ะชpาoกpรulแaสtiนoคn)น 28.76 30.62 31.32 32.24 33.30 34.42 35.90 รอ้ ยละ (%) 23.60 24.56 25.96 26.93 66.16 70.43 72.28 75.49 78.77 81.84 83.88 43.50 49.77 27.71 55.65 22.83 21.91 21.64 20.58 20.15 19.29 18.54 18.18 16.87 17.39 15.76 3.73 3.43 3.73 3.76 4.80 พB..Eศ..((Aค..Dศ..)) (22505029) (22505130) (22051514) (22051525) (22051536) (22550.510472) (522.05115385) (522.50315796) (422.50116207) 3.30 3.91 (22506118) (22501629) อัตราการรับไวร้ ักษาในโรงพยาบาลต่อประชากรแสนคน (Admission Rate per 100,000 pop.) รอ้ ยละผูป้ ่วยรบั ยาละลายลิ่มเลอื ดและหรือใสส่ ายสวนหวั ใจ (% of Thrombolytic treatment and/or Primary PCI) รอ้ ยละผ้ปู ่วยที่เสียชวี ิตภายใน 30 วัน หลังรับไว้รักษา (% of Fatality rate within 30 days) ร้อยละการกลบั มารกั ษาซำ้� แบบผปู้ ่วยในภายใน 28 วัน (Re-admission rate within 28 days) ทม่ี า: รายงานตัวชีว้ ดั บรกิ ารสุขภาพ สปสช. (NHSO Health Service Indicator: H0301) ขอ้ มูล ณ 30 กันยายน 2562 สำ� นักบริหารสารสนเทศ การประกัน ประมวลผล ณ 16 ธนั วาคม 2562 วเิ คราะหโ์ ดย ส�ำนกั สารสนเทศและประเมนิ ผลลพั ธส์ ุขภาพ สปสช. Source: NHSO Health Service Indicator Report (H0301), Bureau of Information and Technology, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 16 December 2019 83 |

5) โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (Cerebral in- 216.88 ตอ่ ประชากรแสนคน (80,323 คน) ในปี 2562 farction) เป็นโรคท่ีมีแนวโน้มของอัตราการพิการ และ โดยผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือด มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนจาก การเสียชีวิตสูงขึ้นทุกปี สปสช. มีกลไกทางการเงิน ร้อยละ 0.53 ในปี 2552 เปน็ 7.97 ในปี 2562 และอตั รา สนบั สนนุ เพอื่ เพมิ่ การเขา้ ถงึ การรกั ษาตามมาตรฐาน โดย ปว่ ยตายภายใน 30 วนั หลงั จากรบั ไวร้ กั ษาในโรงพยาบาล มกี ารจา่ ยเพ่ิมเป็นค่ายาละลายลมิ่ เลอื ด มีแนวโน้มลดลง จากร้อยละ 15.97 ในปี 2552 เป็น สถานการณ์อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยโรค ร้อยละ 8.89 ในปี 2562 (แผนภาพที่ 32) (ตารางที่ 27 Cerebral infarction อายุ 15 ปขี ้ึนไป เพ่ิมข้ึนจาก 90.37 และตารางท่ี 43 ในภาคผนวก 5) ต่อประชากรแสนคน (32,238 คน) ในปี 2552 เป็น 32 บรกิ ารผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองตบี หรอื อดุ ตนั สทิ ธิ UC อายุ 15 ปขี นึ้ ไป ปงี บประมาณ 2552-2562 (Service for Cerebral Infarction patients under the UC scheme in Fiscal Year 2009-2019) แผนภาพ 15.97 16.02 14.64 13.87 13.72 12.61 160.36 170.85 184.11 202.01 216.88 pอัerตร1า0 ่ต0,อ0ป0ร0ะชpาoกpรulแaสtนoiคn)น ร้อยละ (%) 90.37 100.79 112.58 122.78 134.03 146.61 11.87 11.34 9.98 9.46 8.89 1.25 1.64 2.22 3.13 4.98 5.96 6.80 7.97 3.97 0.53 4.40 พB..Eศ..((Aค..Dศ..)) (22505029) (22051503) (22051514) (22051525) (22055136) (22055174) (22055185) (22051569) (22506170) (22051681) (22051629) อัตราการการรับไวร้ ักษาในโรงพยาบาลตอ่ ประชากรแสนคน (Admission Rate per 100,000 pop.) รอ้ ยละผปู้ ่วยรับยาละลายลม่ิ เลอื ด (% of Thrombolytic treatment) ร้อยละผปู้ ่วยทีเ่ สยี ชวี ติ ภายใน 30 วนั หลงั รับไว้รกั ษา (% of Fatality rate within 30 days) ทมี่ า: รายงานตวั ชีว้ ดั บริการสขุ ภาพ สปสช. (NHSO Health Service Indicator: H0301) ขอ้ มูล ณ 30 กันยายน 2562 สำ� นกั บรหิ ารสารสนเทศ การประกัน ประมวลผล ณ 16 ธันวาคม 2562 วิเคราะห์โดย ส�ำนักสารสนเทศและประเมนิ ผลลพั ธ์สุขภาพ สปสช. Source: NHSO Health Service Indicator Report (H0301), Bureau of Information and Technology, Data at 30 September 2019, Analyze by Bureau of Health Information and Outcome Evaluation at 16 December 2019 84 | รายงานประจำ� ปี 2562

9. การค้มุ ครองสิทธิ และการมสี ่วนรว่ มจากท้องถิ่น/ ภาคีเครอื ข่าย (Rights Protection Services and Stakeholders Participation) 9.1 การคุม้ ครองสทิ ธิ (Rights Protection Services) สปสช. เปิดช่องทางโทรศัพท์สายด่วน 1330 จดหมาย ร้อยละ 87.40 สอบถามโดยประชาชน ร้อยละ 12.60 โทรสาร อเี มลล์ ติดตอ่ ดว้ ยตนเอง หรือบริการผ่านระบบ สอบถามโดยผู้ให้บริการ) 2) รับเร่ืองร้องเรียนจ�ำนวน ตอบอตั โนมตั ิ (IVR) ใหบ้ รกิ ารสอบถามขอ้ มลู รอ้ งเรียน 4,052 เรอ่ื ง 3) รบั เรื่องรอ้ งทุกข์จ�ำนวน 5,832 เรอ่ื ง และ รอ้ งทกุ ข์ และประสานสง่ ตอ่ เพอื่ สำ� รองเตยี ง ปงี บประมาณ 4) ประสานส่งตอ่ ผู้ปว่ ยจ�ำนวน 19,631 คน (แผนภาพท่ี 2562 ใหบ้ รกิ ารทงั้ หมด 916,428 เรอ่ื ง โดย 1) รบั บรกิ าร 33) สอบถามข้อมูล ร้อยละ 96.78 (จำ� นวน 886,913 เรอื่ ง, 33 จำ� นวนการสอบถามขอ้ มลู รอ้ งเรยี น รอ้ งทกุ ข์ และประสานสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ย ปงี บประมาณ 2562 (Number of rights protection services in Fiscal Year 2019) แผนภาพ ทม่ี า: สำ� นกั บริการประชาชนและคุ้มครองสทิ ธิ สปสช. ข้อมูล ณ 30 กนั ยายน 2562 Source: Bureau of Consumer Services and Right Protection, Data at 30 September 2019 85 |

1) บรกิ ารสอบถามขอ้ มูล (Information Inquiries) จ�ำนวน 369,506 เรอ่ื ง (รอ้ ยละ 49.46) รองลงมาสอบ ประชาชนสอบถามขอ้ มลู จำ� นวน 775,175 เรอ่ื ง เปน็ สทิ ธิ ถามเรื่องสิทธิและวิธีการใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุข หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จ�ำนวน 747,110 เรื่อง จ�ำนวน 224,642 เร่อื ง (รอ้ ยละ 30.07) การลงทะเบยี น (ร้อยละ 96.38) ส่วนใหญ่ขอให้ตรวจสอบข้อมูลสิทธิ และการเลอื กหนว่ ยบรกิ าร จำ� นวน 96,819 เรอ่ื ง (รอ้ ยละ 12.96) (ตารางท่ี 9) 09 จ�ำนวนการสอบถามขอ้ มูลของประชาชน จ�ำแนกตามสทิ ธิ ปงี บประมาณ 2558-2562 ตาราง (Number of Information Inquiries serviced of consumers in Fiscal Year 2015-2019) หนว่ ย: เรื่อง (cases) ก(าIรnสqอuบirถieาsมfขro้อmมลู Cขoอnงsปuรmะชeาrsช)น ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 (2015) (2016) (2017) (2018) (2019) 1. สิทธิหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ (Consumers in UCS) 410,140 504,239 676,215 811,259 747,110 1.1 การลงทะเบยี นและการเลือกหนว่ ยบรกิ าร (Registration & 85,267 100,393 151,386 85,496 96,819 selecting healthcare units) 1.2 สทิ ธแิ ละวธิ ีใชส้ ิทธิรบั บริการสาธารณสุข (Benefit 89,808 85,933 143,936 217,529 224,642 package & health care) 1.3 การรับเงินชว่ ยเหลือเบ้อื งต้นตามมาตรา 41 (Early 239 261 173 278 264 payment for harmed from health service in accor- dance with section 41 of the act) 1.4 ขอให้ตรวจสอบขอ้ มลู สทิ ธิ (Health insurance status 179,920 256,760 322,765 402,296 369,506 confirmation) 1.5 ขอข้อมูลหน่วยบริการ (Hospital information) 14,790 16,471 16,884 66,643 18,129 1.6 ขอขอ้ มลู องคก์ ร (Organization information) 2,352 2,987 3,166 3,424 4,125 1.7 นโยบายเจบ็ ป่วยฉุกเฉินวกิ ฤติ มีสิทธทิ กุ ท่ี (Universal 6,535 11,368 9,606 3,892 3,704 Coverage Emergency Patients: UCEP) 1.8 สทิ ธิไม่ตรงตามจรงิ (Invalid medical welfare) - - - 1,511 1,674 1.9 ผ้ปู ระกนั ตนคนพิการ (ม.44) (Disability Person in Social - - - 1,627 958 Security Schemes) 1.10 อนื่ ๆ (ข่าวประชาสัมพนั ธ์ ขอ้ มูลหน่วยงานอนื่ ฯลฯ) 31,229 30,066 28,299 28,563 27,289 (Others: news, other organizations, follow-up cases etc.) 2. สทิ ธสิ วสั ดิการข้าราชการ/รฐั วิสาหกิจ (Consumers in CSMBS) 4,082 3,743 4,459 3,781 3,373 3. สทิ ธปิ ระกนั สังคม (Consumers in SSS) 14,440 10,622 12,661 13,708 11,154 4. สิทธิ อปท. (Consumers in Local Administrative 4,253 7,488 9,212 11,989 11,094 Organization Scheme: LAOs) 5. สทิ ธสิ วัสดิการอน่ื ๆ (Other medical welfare) - - - 2,352 2,444 รวม (Total) 432,915 526,092 702,547 843,089 775,175 ท่ีมา: สำ� นกั บรกิ ารประชาชนและคุ้มครองสิทธิ สปสช. ขอ้ มลู ณ 30 กนั ยายน 2562 Source: Bureau of Consumer Services and Right Protection, Data at 30 September 2019 86 | รายงานประจำ� ปี 2562

ผใู้ หบ้ รกิ ารสอบถามขอ้ มลู จำ� นวน 111,738 เรอ่ื ง เปน็ สทิ ธิ Provider center จำ� นวน 65,365 เรื่อง (รอ้ ยละ 62.67) หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จ�ำนวน 104,308 เร่ือง และขอให้ตรวจสอบข้อมูลสิทธิ จ�ำนวน 15,862 เรื่อง (ร้อยละ 93.35) ส่วนใหญ่เป็นเร่ืองระบบและโปรแกรม (รอ้ ยละ 15.21) (ตารางที่ 10) 10 จ�ำนวนการสอบถามข้อมูลของผู้ให้บรกิ าร จ�ำแนกตามสิทธิ ปงี บประมาณ 2558-2562 (Number of Information Inquiries serviced of healthcare providers in Fiscal Year 2015-2019) ตาราง หนว่ ย: เร่อื ง (cases) (Inqกuารirสieอsบfถroาmมขh้อeมaลู ltขhอcงaผreู้ใหpบ้ roรvิกiาdรers) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 (2015) (2016) (2017) (2018) (2019) 1. สทิ ธหิ ลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ (Providers in UCS) 29,515 30,898 36,529 50,281 104,308 1.1 การลงทะเบยี นและการเลอื กหนว่ ยบรกิ าร (Registration & 5,088 3,996 3,425 1,570 1,520 selecting healthcare units) 1.2 สทิ ธปิ ระโยชนก์ ารรับบรกิ ารสาธารณสุข (Benefit 3,296 3,750 4,822 4,349 4,400 package) 1.3 วิธกี ารขอรบั ค่าใช้จา่ ยเพื่อบรกิ ารสาธารณสุข (Receiving 665 736 1,368 2,189 2,169 refund) 1.4 การรบั เงนิ ช่วยเหลือเบือ้ งต้นตามมาตรา 41 29 22 5 13 35 (Early payment for harmed from health service in accordance with section 41 of the act) 1.5 การรบั เงนิ ชดเชยเบ้ืองตน้ ตามมาตรา 18(4) 18 38 12 9 7 Early payment for harmed from health service in accordance with section 18(4) of the act) 1.6 ขอให้ตรวจสอบขอ้ มูลสิทธิ (Health insurance status 9,895 11,243 11,911 12,233 15,862 confirmation) 1.7 ขอขอ้ มูลหน่วยบรกิ าร (Hospital information) 409 448 460 437 345 1.8 ขอขอ้ มลู องค์กร (Organization information) 482 523 617 801 841 1.9 นโยบายเจ็บป่วยฉกุ เฉินวิกฤติ มสี ทิ ธทิ ุกท่ี (Universal 367 460 645 735 713 Coverage Emergency Patients: UCEP) 1.10 สิทธิไมต่ รงตามจริง (Invalid medical welfare) - - - 592 629 1.11 ผปู้ ระกนั ตนคนพิการ (ม.44) - - - 420 227 (Disability Person in Social Security Schemes) 1.12 เรื่องระบบและโปรแกรม - - 1,506 14,488 65,365 (Provider center: System and Program) 1.13 อื่น ๆ (ขา่ วประชาสัมพนั ธ์ ขอ้ มูลหนว่ ยงาน) 9,266 9,682 11,758 12,445 12,195 (Others; news, other organizations etc.) 87 |

หนว่ ย: เรือ่ ง (cases) (Inqกuารirสieอsบfถroาmมขh้อeมaูลltขhอcงaผreูใ้ หpบ้ roรvิกiาdรers) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 (2015) (2016) (2017) (2018) (2019) 2. สทิ ธสิ วัสดกิ ารขา้ ราชการ/รฐั วิสาหกิจ 1,207 1,071 1,612 2,091 2,005 (Providers in CSMBS) 3. สทิ ธิประกนั สงั คม (Providers in SSS) 1,014 899 1,334 1,519 1,600 4. สทิ ธิ อปท. (Providersr in LAOs) 2,539 1,333 1,434 3,164 2,781 5. สิทธิสวัสดกิ ารอ่นื ๆ (รฐั วิสาหกิจ ครูเอกชน) - - - 840 1,044 (Other medical welfare) รวม (Total) 34,275 34,201 40,909 57,895 111,738 ทมี่ า: สำ� นกั บรกิ ารประชาชนและคมุ้ ครองสิทธิ สปสช. ข้อมลู ณ 30 กันยายน 2562 Source: Bureau of Consumer Services and Right Protection, Data at 30 September 2019 2) การรบั เร่อื งรอ้ งเรยี น (Complaints Services) (แผนภาพท่ี 34) โดยเร่ืองร้องเรียนด�ำเนินการแล้วเสร็จ การรับเร่ืองร้องเรียนเป็นกลไกการคุ้มครองสิทธิของ 3,787 เร่ือง และเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขภายใน ประชาชนผู้รับบริการ เพ่ือให้ประชาชนมีช่องทางในการ 25 วันท�ำการ จ�ำนวน 2,982 เรื่อง (ร้อยละ 76.09) แจ้งปัญหาท่ีเกิดจากการใช้บริการสุขภาพ ช่วยให้เกิด (แผนภาพที่ 35) ความกระจ่างในการใช้บริการและความเข้าใจที่ถูกต้อง 3) การรับเรอื่ งรอ้ งทกุ ข์ (Petition Services) มากข้ึน แม้อาจจะไม่ใช่ความผิดพลาดของผู้ให้บริการ ในปงี บประมาณ 2562 สปสช. ใหบ้ รกิ ารรบั เรอ่ื งรอ้ งทกุ ข์ แตอ่ าจเกิดจากความเข้าใจที่ไมต่ รงกนั จำ� นวน 5,832 เรอื่ ง เปน็ สทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ในปงี บประมาณ 2562 สปสช. ใหบ้ รกิ ารรบั เรอื่ งรอ้ งเรยี น จ�ำนวน 5,760 เร่อื ง (รอ้ ยละ 98.77) สว่ นใหญเ่ ป็นเรอ่ื ง จ�ำนวน 4,052 เร่ือง โดยเป็นการร้องเรียนเร่ืองไม่ได้ การลงทะเบยี นและเลอื กหนว่ ยบรกิ าร จำ� นวน 3,834 เรอื่ ง รับบริการตามสิทธทิ ีก่ ำ� หนด (ม.59) จ�ำนวน 1,590 เรอื่ ง (รอ้ ยละ 66.56) รองลงมาคอื ขอความช่วยเหลอื จ�ำนวน (ร้อยละ 39.24) รองลงมาคอื การไม่ได้รบั ความสะดวก 661 เรอ่ื ง (รอ้ ยละ 11.48) และสทิ ธไิ มต่ รงตามจรงิ (สทิ ธิ ในการใช้บรกิ าร (ม.59) จำ� นวน 1,562 เร่ือง (ร้อยละ ซำ้� ซอ้ นกบั สทิ ธขิ า้ ราชการ สทิ ธปิ ระกนั สงั คม) จำ� นวน 523 38.55) การถูกหน่วยบริการเรียกเก็บค่าบริการโดยไม่มี เรอื่ ง (ร้อยละ 9.08) (ตารางที่ 11) สิทธเิ รยี กเกบ็ (ม.59) จำ� นวน 736 เรอ่ื ง (ร้อยละ 18.16) และการไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ (ม.57) จ�ำนวน 164 เรื่อง (ร้อยละ 4.05) ตามล�ำดับ 88 | รายงานประจำ� ปี 2562

34 จำ� นวนเรอื่ งทป่ี ระชาชนรอ้ งเรยี น จำ� แนกตามประเดน็ การรอ้ งเรยี น ปงี บประมาณ 2558-2562 (Number of complaints serviced classified by according to UCS Act. in Fiscal Year 2015-2019) แผนภาพ จำ�นวนเร่ือง (Cases) 2558 (2015) 1,580 2559 (2016) 1,678 1,689 2560 (2017) 1,997 2561 (2018) 1,590 2562 (2019) 1,013 1,023 1,073 1,976 1,562 956 979 1,143 1,102 736 720 725 733 173 164 ไม่ไดร้ ับบรกิ ารตามสทิ ธทิ ี่ ไม่ได้ความสะดวกในการใช้ ถกู หน่วยบริการเรยี กเก็บ ไมป่ ฏบิ ัติตามมาตรฐานการให้ p(upHrrsoeuกvaaiำ�ldntหhit(nนcStgaด.o5rte9(trehม)u)ea.5nitr9mit)reingnohttts (Inctohnevบesรenิกrievาinรcce(esมw.(5Sh9.i5)le9)u)sing sew(riBvteihcioคenuา่sgtบbcaรyhuกิ ahtาhreรgoae(rldiมtthy.fc5e(a9eSr)se.5f9uo)nr)it (บtHoรseิกtmaaาlneรtdhสecatา(aธrtSdrhาe.eร5oณ7ufp)nsrส)eeiขุtrssvc(firมacibei.l5eisn7dg) ทีม่ า: สำ� นักบรกิ ารประชาชนและคุ้มครองสิทธิ สปสช. ขอ้ มลู ณ 30 กนั ยายน 2562 Source: Bureau of Consumer Services and Right Protection, Data at 30 September 2019 35 จำ� นวนและรอ้ ยละเรอ่ื งรอ้ งเรยี นที่ไดร้ บั การแกไ้ ขภายใน 25 วนั ทำ� การ ปงี บประมาณ 2562 (Number of complaint management and success rate within 25 days in Fiscal Year 2019) แผนภาพ ทมี่ า: สำ� นักบริการประชาชนและคุม้ ครองสทิ ธิ สปสช. ขอ้ มลู ณ 30 กันยายน 2562 Source: Bureau of Consumer Services and Right Protection, Data at 30 September 2019 หมายเหต:ุ รอ้ ยละเรื่องรอ้ งเรยี นที่ได้รบั การแกไ้ ข = เร่ืองรอ้ งเรยี น (ม.57, ม.59) ด�ำเนนิ การแลว้ เสร็จภายใน 25 วนั ท�ำการ X 100 (เรื่องรอ้ งเรียนทั้งหมด - เรอื่ งร้องเรียนทอี่ ยู่ระหว่างดำ� เนนิ การท่ยี งั ไมค่ รบ 25 วนั ท�ำการ) 89 |

11 จ�ำนวนการรับเรือ่ งร้องทุกข์ จ�ำแนกตามสทิ ธิ ปงี บประมาณ 2558-2562 (Number of petition serviced in Fiscal Year 2015-2019) ตาราง บ(รPกิ eาtรitรiบัonเรSอื่ eงrรv้อicงeทsุก)ข์ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 หนว่ ย: เรือ่ ง (cases) (2015) (2016) (2017) ปี 2561 ปี 2562 9,872 (2018) (2019) 1. สทิ ธิหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ (UCS) 13,408 10,722 1,202 8,752 5,760 6,373 3,834 1.1 การลงทะเบยี นและเลอื กหนว่ ยบริการ (Registration and 1,340 808 6,605 selecting healthcare units) 1,117 586 523 467 900 661 1.2 สทิ ธิไมต่ รงตามจริง (Invalid medical welfare) 8,474 8,053 366 356 - 35 1.3 ขอความช่วยเหลือ (asking for help) 1,604 961 131 12 5 1.4 ปรกึ ษา/เสนอแนะ (consult/recommend) 834 371 - 182 164 1.5 สถานบรกิ ารอน่ื ปฏิเสธการใช้สทิ ธิมาตรา 7 -- 350 330 212 (being refused pursuant to section 7) 96 26 36 68 14 12 1.6 สถานบรกิ ารอ่นื ปฏิเสธการใชส้ ิทธเิ จ็บปว่ ยฉุกเฉนิ วิกฤติ 209 262 54 65 24 มีสทิ ธทิ ุกท่ี (being refused to use UCEP service) 10,090 8,857 5,832 1.7 บัตรสนเทห่ ์ (anonymous letter) -- 1.8 อ่นื ๆ (Others) 947 267 2. สิทธิสวสั ดิการข้าราชการ/รฐั วิสาหกิจ (CSMBS) 312 140 3. สิทธปิ ระกนั สังคม (SSS) 158 78 4. สทิ ธิ อปท. (LAOs) 147 95 14,025 11,035 รวม (Total) ที่มา: ส�ำนกั บริการประชาชนและคุ้มครองสิทธิ สปสช. ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2562 Source: Bureau of Consumer Services and Right Protection, Data at 30 September 2019 4) การประสานส่งต่อผู้ป่วย (Coordination for เป็นกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตสีแดง (UCEP) ร้อยละ Referral Services) 86.30) สทิ ธสิ วสั ดกิ ารขา้ ราชการ สทิ ธปิ ระกนั สงั คม สทิ ธิ ในปีงบประมาณ 2562 ศูนย์ประสานการส่งต่อผู้ป่วย อปท. และผปู้ ว่ ยอื่น ๆ เชน่ คนตา่ งดา้ ว หรอื ไมท่ ราบสิทธิ อบุ ตั เิ หตแุ ละเจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉนิ รบั เรอื่ งใหช้ ว่ ยประสานสง่ ตอ่ ส่วนสาเหตุท่ีประสานส่งต่อไปไม่ได้/ยุติการประสาน ผปู้ ่วย จ�ำนวน 19,631 คน เปน็ สทิ ธหิ ลักประกันสขุ ภาพ เน่ืองจากผู้ป่วยอาการดีขึ้น กลับบ้าน ตัดสินใจไม่ย้าย แหง่ ชาติ จำ� นวน 19,164 คน (รอ้ ยละ 97.62) ส่วนใหญ่ อาการเคลือ่ นย้ายไม่ได้ ขอไปรกั ษาตอ่ ท่ีหนว่ ยบริการอน่ื เป็นเรื่องท่ีผู้ป่วยเข้ารักษาในโรงพยาบาลเอกชนท่ีไม่เข้า โดยผปู้ ว่ ยรับผดิ ชอบคา่ ใช้จา่ ยเอง หรอื เสยี ชวี ติ (ตารางที่ รว่ มโครงการ จำ� นวน 19,045 คน (ร้อยละ 99.38 โดย 12) 90 | รายงานประจำ� ปี 2562

12 จ�ำนวนการประสานสง่ ต่อผู้ป่วย จ�ำแนกตามสทิ ธิ ปีงบประมาณ 2558-2562 (Number of Coordination issues for referral services in Fiscal Year 2015-2019) ตาราง หนว่ ย: เรื่อง (cases) (CoordกinาaรtปioรnะสfoาrนRสe่งfตe่อrrผaู้ปl ่วSยervices) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 (2015) (2016) (2017) (2018) (2019) 1. สทิ ธหิ ลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ (Refer to UCS) 2,891 3,340 6,510 14,809 19,164 1.1 เขา้ โรงพยาบาลเอกชนท่ีไม่เข้ารว่ มโครงการกรณีเจบ็ ป่วย ฉกุ เฉิน (being in private hospitals outside UCEP 2,177 2,483 5,790 14,511 19,045 service) 1.2 หนว่ ยบรกิ ารเตยี งเต็ม (no bed/bed not available) 120 171 162 32 11 1.3 เกนิ ศกั ยภาพหน่วยบรกิ ารทร่ี กั ษาอยู่ (not enough 516 600 438 240 97 competency/exceed capacity of healthcare units) 1.4 ต้องการส่งตัวผู้ปว่ ยกลบั ต้นสังกดั 78 86 115 26 10 (want to go back to contracting unit) 1.5 อน่ื ๆ (Other issues) --5 -1 2. สทิ ธิสวัสดิการขา้ ราชการ/รัฐวิสาหกิจ (Refer to CSMBS) 144 199 133 39 26 3. สิทธิประกนั สังคม (Refer to SSS) 51 34 22 23 17 4. สทิ ธิ อปท. (Refer to LAOs) 10 4 29 279 379 5. อ่นื ๆ (Others) 21 28 9 63 45 3,117 3,605 6,703 15,213 19,631 รวม (Total) ทม่ี า: สำ� นักบริการประชาชนและค้มุ ครองสิทธิ สปสช. ข้อมลู ณ 30 กันยายน 2562 Source: Bureau of Consumer Services and Right Protection, Data at 30 September 2019 P9a.2tie กnาtรsชa่วnยdเหHลeือaเlบthื้อcงaตrน้eผPูร้ rับoบviรdิกeาrsร)และผู้ใหบ้ รกิ าร (Liability Compensation for ในปีงบประมาณ 2562 การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้รับ ไดร้ บั ชดเชยเพมิ่ กรณอี ทุ ธรณ์ 5.727 ลา้ นบาท (ตารางที่ บรกิ าร มผี รู้ บั บรกิ ารยนื่ คำ� รอ้ ง 1,188 คน ไดร้ บั การชดเชย 13) ส�ำหรับการช่วยเหลือเบ้ืองต้นแก่ผู้ให้บริการ กรณี จำ� นวน 970 คน (ร้อยละ 81.65) วงเงินชดเชย 228.014 ชดเชยความเสียหายท่ีเกิดจากการให้บริการ โดยมีผู้ให้ ลา้ นบาท เปน็ การชดเชยกรณเี สียชีวติ /ทุพลภาพ 466 คน บรกิ ารยืน่ คำ� ร้อง 538 คน ไดร้ ับการชดเชย จำ� นวน 464 เงนิ ชดเชย 167.578 ล้านบาท กรณสี ญู เสียอวยั วะ/พกิ าร คน (รอ้ ยละ 86.25) วงเงนิ ชดเชย 7.005 ลา้ นบาท (ตาราง 126 คน เงินชดเชย 26.023 ล้านบาท และกรณบี าดเจ็บ/ ท่ี 14) เจบ็ ปว่ ยตอ่ เนอื่ ง 378 คน เงนิ ชดเชย 28.686 ลา้ นบาท และ 91 |

13 การชว่ ยเหลือเบอ้ื งต้นแกผ่ รู้ ับบรกิ าร กรณีไดร้ บั ความเสียหายจากการรักษาพยาบาล ปงี บประมาณ 2558-2562 (Harmed patients and Liability compensation in Fiscal Year 2015-2019) ตาราง ผ(Pรู้ eบั tบieรnกิ tาsร) (c2ปa(คs25นี e205s5)1855(8)2ล0า้(Mน1บ5Bา))ท 2559 (2016) 2560 (2017) 2561 (2018) 2562 (2019) (caคsนes) ลา้(MนบBา)ท (caคsนes) ลา้(MนบBา)ท (caคsนes) ล้า(MนบBา)ท (caคsนes) ล้า(MนบBา)ท 1. ผรู้ บั บรกิ ารผ้ยู น่ื คำ� รอ้ ง 1,045 1,069 823 970 1,188 (Lodging petition) 661 755 970 324 116.010 317 113.010 466 167.578 2. ผรู้ ับบริการไดร้ บั ชดเชย 824 885 (Receiving compensation) 84 18.226 98 21.564 126 26.023 - เสียชวี ติ /ทพุ ลภาพถาวร 442 157.188 457 162.344 253 18.301 340 24.102 378 28.686 (death/complete disability) 7.513 6.834 5.727 661 160.050 755 165.509 970 228.014 - สญู เสียอวยั วะ/พิการ 105 22.879 118 25.856 (organ loss/partial disability) - บาดเจ็บ/เจ็บปว่ ยต่อเนอื่ ง 277 20.062 310 21.659 (injury/continuing illness) 3. กรณีอทุ ธรณ*์ 2.801 3.094 (Being in appeal) รวม (Total) 824 202.929 885 212.952 ทม่ี า สำ� นักกฎหมาย สปสช. ขอ้ มูล ณ 30 กันยายน 2562 Source: Bureau of Legal Affair, NHSO, Data at 30 September 2019 หมายเหต:ุ * กรณีอุทธรณ์นับรวมอยู่ในผ้ยู ืน่ คำ� รอ้ งทเี่ ข้าหลักเกณฑแ์ ล้ว 14 ตารางท่ี 14 การชว่ ยเหลอื เบอ้ื งตน้ แกผ่ ูใ้ หบ้ รกิ าร กรณีได้รบั ความเสยี หายจากการให้บริการ ปีงบประมาณ 2558-2562 (Harmed healthcare providers and Liability compensation in Fiscal Year 2015-2019) ตาราง (Healthผcู้ใaหr้บeรPกิ rาoรviders) (c2ปa(คs25นีe205s5)1855(8)2ล0า้(Mน1บ5Bา))ท 2559 (2016) 2560 (2017)** 2561 (2018) 2562 (2019) 1. ผ้ใู ห้บริการผู้ยนื่ ค�ำร้อง 398 (caคsนes) ล้า(MนบBา)ท (caคsนes) ลา้(MนบBา)ท (caคsนes) ลา้(MนบBา)ท (caคsนes) ลา้(MนบBา)ท (Lodging petition) 253 - 511 538 2. ผู้ให้บริการได้รบั ชดเชย 325 (Receiving compensation) 223 - 427 464 - เสยี ชวี ิต/ทุพลภาพถาวร - - 1 0.400 -- 3 1.200 3 1.200 (death/complete disability) 92 | รายงานประจำ� ปี 2562

(Healthผcู้ใaหr้บeรPิกrาoรviders) (c2ปa(คs25นี e205s5)1855(8)2ล0า้(Mน1บ5Bา))ท 2559 (2016) 2560 (2017)** 2561 (2018) 2562 (2019) (caคsนes) ล้า(MนบBา)ท (caคsนes) ลา้(MนบBา)ท (caคsนes) ล้า(MนบBา)ท (caคsนes) ลา้(MนบBา)ท - สูญเสียอวยั วะ/พกิ าร 2 0.330 1 0.180 - - - - 3 0.440 (organ loss/partial disability) - บาดเจบ็ /เจ็บปว่ ยต่อเนือ่ ง 323 3.014 221 2.402 - - 424 5.072 458 5.330 (injury/continuing illness) 3. กรณอี ทุ ธรณ์* 0.010 0.020 - - 0.033 0.035 (Being in appeal) 325 3.354 223 3.002 - 427 6.305 464 7.005 รวม (Total) ท่ีมา ส�ำนกั กฎหมาย สปสช. ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2562 Source: Bureau of Legal Affair, NHSO, Data at 30 September 2019 หมายเหต:ุ * กรณอี ทุ ธรณน์ บั รวมอยู่ในผ้ยู ่ืนค�ำร้องท่ีเข้าหลักเกณฑแ์ ลว้ ** ปี 2560 อยู่ระหว่างการรา่ งระเบยี บการคลงั วา่ ดว้ ยการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นแกผ่ ู้ใหบ้ รกิ ารสาธารณสุข ท่ีได้รับความเสยี หาย จากการให้บรกิ ารสาธารณสุข ซงึ่ ถูกประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา วนั ที่ 28 มนี าคม 2561 มผี ลบังคบั ใชว้ นั ที่ 29 มนี าคม 2561 9.3 การมสี ่วนรว่ มจากองคก์ รภาคเี ครือข่าย (Stakeholders Participation) 1) การมีส่วนร่วมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 99.51 จาก 7,776 แหง่ รวมกรงุ เทพมหานคร และเมอื ง (Participation of Local Administrative Organization) พัทยา) วงเงินทั้งส้ิน 3,719 ล้านบาท โดยกองทุน กลไกสำ� คญั ทจี่ ะทำ� ใหร้ ะบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตมิ ี หลักประกันสุขภาพแห่งชาติสมทบ 2,474 ล้านบาท ความยงั่ ยนื สามารถตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการดา้ นสขุ ภาพ (รอ้ ยละ 66.53) องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ สมทบ 1,218 ของประชาชนในท้องถ่ินได้อย่างแท้จริง เกิดจากการมี ล้านบาท (รอ้ ยละ 32.75) และจากชุมชนและแหล่งอื่น ๆ ส่วนร่วมของท้องถิ่นในการร่วมคิดร่วมท�ำร่วมตัดสินใจ สมทบ 27 ล้านบาท (ร้อยละ 0.72) โดยมีการเบิกจ่าย และรว่ มเปน็ เจา้ ของ ตามเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญตั ิ งบกองทุนฯ ได้ทั้งสิ้นร้อยละ 100 เพื่อด�ำเนินการ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 47 สง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรคในกลมุ่ ประชากรกลมุ่ เสย่ี ง ในปีงบประมาณ 2562 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ กลมุ่ เด็กวัยเรยี นและเยาวชน กลมุ่ วยั ทำ� งาน กลุ่ม สมทบงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับ ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยโรคเร้ือรัง และสร้างความ ทอ้ งถน่ิ (องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล เทศบาลตำ� บล เทศบาล ร่วมมือในการท�ำงานเชื่อมโยงกับเครือข่ายอ่ืน เช่น เมือง และเทศบาลนคร) จ�ำนวน 7,738 แห่ง (ร้อยละ เครอื ขา่ ยวชิ าชพี เครอื ขา่ ยภาคประชาชน เครอื ขา่ ยสอ่ื สาร มวลชน (แผนภาพที่ 36) 93 |

36 สดั สว่ นกลมุ่ เปา้ หมายทท่ี อ้ งถน่ิ ดำ� เนนิ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค ปงี บประมาณ 2562 (Proportion of Target groups implemented health promotion and disease prevention in local sector in แผนภาพ Fiscal Year 2019) 7.56% หญงิ ตง้ั ครรภ/์ หญิงหลังคลอด (Pregnancy and Postpartum) 12.70% 14.08% อนื่ ๆ (Etc.) เด็กเลก็ เด็กกอ่ นวยั เรยี น (Preschool age children) 16.41% 14.65% กลุม่ ทม่ี ภี าวะเสี่ยง เด็กวัยเรยี น/ (Risk groups) เยาวชน 4.46% (School age คนพิการ/ทุพพลภาพ children) (Disabilities) 11.45% 11.35% ทมี่ า: สำ� นกั สนบั สนนุ ระบบบริการสขุ ภาพชมุ ชน 7.36% ผสู้ ูงอายุ วยั ท�ำงาน ข้อมูล ณ 30 กนั ยายน 2562 (Elderly) (working age Source: Bureau of Community Health Management, ผู้ป่วยเร้อื รัง people) NHSO, Data at 30 September 2019 (Chronic Disease patients) 2) ภาคีเครือขา่ ย (Partner networks participation) หลักการร่วมพัฒนา และบริหารจัดการระบบ สปสช. สนบั สนนุ การจัดตัง้ เครือข่ายงานคุ้มครองสทิ ธใิ น หลักประกันสุขภาพ น�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ ระบบหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ประกอบดว้ ย มาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ (3) หน่วยรับเรื่องร้องเรียนท่ีเป็นอิสระจากผู้ถูก (1) ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพในหน่วยบริการ รอ้ งเรยี น ตามมาตรา 50(5) จำ� นวน 129 แหง่ ใน จำ� นวน 886 แหง่ ใน 77 จงั หวดั ทว่ั ประเทศ สำ� หรบั 75 จงั หวดั เพอ่ื เปน็ ชอ่ งทางสำ� คญั ในการคมุ้ ครอง เป็นช่องทางให้ความดูแลช่วยเหลือในการใช้ สิทธิท�ำให้ประชาชนสามารถร้องเรียนได้โดย บริการของผูม้ ีสทิ ธิ สรา้ งความเขา้ ใจระหว่างผ้ใู ห้ สะดวก เปน็ อสิ ระจากผถู้ ูกร้องเรยี น และให้การ บริการและผู้รับบริการ และช่วยลดความขัดแย้ง ช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้รับบริการกรณีได้รับความ ในระบบบริการสขุ ภาพ เสยี หายจากการรกั ษาพยาบาล ซงึ่ เปน็ การทำ� งาน รว่ มกนั ระหวา่ งองคก์ รภาคประชาชนและสำ� นกั งาน (2) ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน หลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ จ�ำนวน 185 แหง่ ใน 77 จงั หวดั เป็นการเขา้ มามี ส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาชน องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องคก์ รวชิ าชพี ตา่ ง ๆ ภายใต้ 94 | รายงานประจำ� ปี 2562

10. ความพึงพอใจต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (Consumers and Stakeholders Satisfaction) ผลการส�ำรวจความพึงพอใจต่อระบบหลักประกันสุขภาพ 9 ดา้ น) อยทู่ ี่ร้อยละ 93.21 (คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจ แห่งชาติ ซ่งึ ส�ำรวจโดยสถาบนั วิชาการตั้งแต่ปี 2546 ภาพ ขององค์กรภาคี 8.42 คะแนน) (แผนภาพท่ี 37) ใน รวมมแี นวโนม้ สงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทงั้ ในสว่ นของประชาชน ภาพรวมแสดงว่าผู้รับบริการมีความพึงพอใจที่สูงกว่าผู้ให้ ผู้ให้บริการ และองค์กรภาคี บริการ ทั้งนี้อาจจะเกิดจากหลายปัจจัย แสดงให้เห็นว่า ในปีงบประมาณ 2562 กลุ่มเป้าหมายท่ีให้คะแนนความ ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สามารถให้บริการ พึงพอใจตอ่ ระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ระดับมาก ได้ตรงกับความคาดหวังของประชาชนได้เป็นอย่างดี ใน ถึงมากท่ีสุด (7-10 คะแนน) ในกลุ่มประชาชนอยู่ที่ ขณะท่ีการจัดการบางอย่างที่ส่งผลต่อผู้ใหบ้ ริการ อาจจะ รอ้ ยละ 97.11 (คะแนนเฉลยี่ ความพึงพอใจของประชาชน ยังไม่ตรงกับความคาดหวังของผู้ให้บริการ ซึ่งเป็นเรื่อง 8.98 คะแนน) ผู้ให้บรกิ ารร้อยละ 75.99 (คะแนนเฉลี่ย ทา้ ทายของ สปสช.ทจี่ ะทำ� อย่างไรใหก้ ลุม่ เปา้ หมายต่าง ๆ ความพงึ พอใจของผู้ให้บริการ 7.27 คะแนน) และองคก์ ร มีความพึงพอใจในระดบั มากถงึ มากที่สดุ เพ่มิ สงู ขึน้ ภาคี (องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และเครอื ขา่ ยประชาชน 37 รอ้ ยละ (คะแนน) ความพงึ พอใจของประชาชนสทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตผิ เู้ คยใชบ้ รกิ าร ผใู้ หบ้ รกิ ารและ องคก์ รภาคี ตอ่ การดำ� เนนิ งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ปงี บประมาณ 2558-2562 แผนภาพ (Percentage and Score of Satisfaction from Consumers, Healthcare providers and other Stakeholders in Fiscal Year 2015-2019) ้รอยละ (%) (994..1515) (981..9856) (995..2626) (983..7921) (987..9181) (983..4221) (779.9.898) (878..9260) (878..9979) (970..9061) (775..2979) (665..9989) (666..9291) (679..0635) (770..1647) พB..Eศ..((Aค..Dศ..)) (22505185) (22051569) (22056107) (22051618) (22501629) ประชาชน (Consumer) ผใู้ ห้บริการ (Providers) องคก์ รภาคี (Stakeholders) ท่ีมา: สำ� นกั สารสนเทศและประเมินผลลัพธส์ ขุ ภาพ สปสช. Source: Bureau of Health Information and Outcome Evaluation, NHSO หมายเหตุ: 1) คา่ ร้อยละความพึงพอใจของกลุม่ เปา้ หมายท่ีใหค้ ะแนนความพงึ พอใจ ระดับมากถงึ มากทสี่ ดุ (7-10 คะแนน) 2) ปี 2562 ใช้แผนการสุ่มตวั อย่าง จากสำ� นักงานสถติ ิแหง่ ชาติ และส�ำรวจโดย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 95 |

ส่วนท่ี 3 ผลงานส�ำนักงาน หลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ (The National Health Security Office Performance)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook