Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงานสาธารณสุข ประจำปี 2562

รายงานผลการดำเนินงานสาธารณสุข ประจำปี 2562

Published by suthirak.song, 2020-08-27 09:52:19

Description: รายงานผลการดำเนินงานสาธารณสุข ประจำปี 2562

Keywords: รายงานประจำปี

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 4. ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ โรงพยาบาลขาดการพัฒนาคณุ ภาพการดาเนินงานอย฽างต฽อเนื่อง 5. โอกาสพฒั นาตอ่ ไป ควรมีการนเิ ทศ ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพอยา฽ งน฾อยปีละ 2 ครงั้ 5.3 การพฒั นาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 1. สถานการณแ์ ละสภาพปัญหา การพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) 22 สาขา ภาพรวมจังหวัดนราธิวาส สานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายในการจัดทาแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพในรูปแบบ เครือข฽าย บริการแทนการขยายโรงพยาบาลเป็นรายแห฽ง และเห็นว฽าการจัดทาแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service achievement Plan) จะต฾องผสมผสานงานส฽งเสริม ปูองกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพเข฾าด฾วยกัน ทั้งระดับ Primary Care Secondary Care และ Tertiary Care ร฽วมทั้งการบริหารจัดการต฽างๆ โดยเน฾น ทก่ี ารพฒั นาขดี ความสามารถของระบบบริการที่เป็นปัญหา ได฾แก฽ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ทารก แรกเกิด อุบัติเหตุ จิตเวช ทันตกรรม สูติกรรมและนรีเวชกรรม ศัลยกรรม อายุรกรรม กุมารเวชกรรม และ ศัลยกรรมกระดูก ตา ไต Primary Care และHolistic Care ยาเสพติด โรคไม฽ติดต฽อเรื้อรัง แผนไทยและ การแพทยผแ สมผสาน การใช฾ยาอย฽างสมเหตผุ ล การดแู ลประคับประคอง และในปี 2562 ปรบั เปลี่ยนหลาย สาขา ได฾เพ่ิมเติมอีก 2 สาขารวมเป็น 22 สาขา ซ่ึงแผนท่ีกาหนดจะเป็นแผนแม฽บทที่ใช฾ในระยะเวลา ปี 2560-2565 โดยการดาเนินการพัฒนาตามแนวทางดังกล฽าวนั้น เครือข฽ายสุขภาพ แต฽ละเขตพื้นท่ี ได฾มี การแต฽งตั้งคณะทางานในระดับเขต กาหนดให฾แต฽ละจังหวัดในเขตทาหน฾าท่ีเป็นผู฾รับผิดชอบหลักในแต฽ละ สาขาเพ่ือการพัฒนาในภาพรวมรว฽ มกันท้ังเขต 2. การบรหิ ารจัดการ สาหรับจังหวัดนราธิวาส ได฾รับหลักการและแนวคิดการพัฒนาระบบบริการสุขภาพมา ดาเนินการทั้ง 12 สาขาต้ังแต฽ปี 2556 เป็นต฾นมา และในปี 2562 ได฾พัฒนาระบบบริการสุขภาพเป็น 22 สาขา โดยมีเปูาหมายการดาเนินงานในการพัฒนา 74 ตัวชี้วัด สามารถดาเนินงานผ฽านทั้งส้ิน 56 ตัวช้ีวัด คิดเป็นร฾อยละ 75.6 และแต฽สาขาสามารถพัฒนาตัวช้ีวัดผ฽านเกณฑแร฾อยละ 70 จานวน 7 สาขา คิดเป็น ร฾อยละ 70.2 ได฾แก฽สาขาอุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด หัวใจและหลอดเลือด สาขาโรคไม฽ติดต฽อ สาขาจิตเวช สาขาปฐมภูมิ สาขาแพทยแแผนไทยและทางเลือก นอกจากนี้ยังพบว฽าหลายสาขายังไม฽เช่ือมโยงถึงหน฽วย บริการปฐมภูมิ ชุมชน และระดับอาเภอ อีกทั้งยังมีส฽วนขาดในด฾านการพัฒนาบุคลากร สถานท่ี ครุภัณฑแ ระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีทางการแพทยแ ขาดระบบฐานข฾อมูลในการกากับ ติดตามประเมินผลการ พัฒนา Service plan ซึ่งส฽วนขาดดังกล฽าว ต฾องอาศัยความร฽วมมือ ร฽วมใจ และการบริหารจัดการของ ผู฾บริหารและใช฾กลไก พบส.อย฽างจริงจัง มีการจัดทาแผนปฏิบัติการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแผนงาน/ โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 22 สาขา จังหวัดนราธิวาส โดยมีกระบวนการจัดการ หลกั ดงั นี้ 2.1 ทบทวนและจัดทาคาสั่งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับจังหวัดให฾เป็น ปัจจุบัน สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธวิ าส หน้า 74

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 2.2 จัดประชุมชี้แจงให฾คณะกรรมการและผ฾ูรับผิดชอบมีความรู฾ความเข฾าใจตัวชี้วัด แนว ทางการดาเนนิ งาน และการจดั เก็บตวั ชี้วดั 2.3 การประชมุ นิเทศ ตดิ ตามการดาเนนิ งาน 2.4 การประชมุ เชิงปฏิบตั ิการในการวเิ คราะหแและประเมนิ ความสาเร็จในการดาเนินงาน - การวิเคราะหสแ ฽วนขาดและการพฒั นาต฽อเน่อื ง - การทบทวนแผนพฒั นาระบบบรกิ าร - การประเมินความสาเร็จของการดาเนินงาน 2.5 สนับสนนุ งบประมาณให฾กบั 9 สาขาๆละ 10,000 บาท เพื่อใช฾ในการจดั ประชมุ ควบคุม กากับ ตดิ ตาม และประเมินผลการดาเนินงานในแต฽ละสาขา 2.6 ประเมนิ และสรุปผลโครงการ ดังนั้น เพ่ือให฾แต฽ละสาขามีการขับเคล่ือนการดาเนินงานอย฽างต฽อเนื่องและพัฒนาระบบ บรกิ ารดังกล฽าวอย฽างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามเปูาหมายท่ีวางไว฾ จึงได฾จัดทาโครงการขับเคล่ือน การพฒั นาระบบบริการสุขภาพ 20 สาขา จงั หวัดนราธิวาสข้ึน โดยมุ฽งหวังให฾หน฽วยงานบริการแต฽ละระดับ สามารถจดั บริการท่ีครอบคลมุ ทั้งดา฾ นสาธารณสุข การปูองกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟ้ืนฟูสภาพ ได฾อย฽างมีคุณภาพมาตรฐาน ประชาชนสามารถเข฾าถึงบริการได฾อย฽างท่ังถึงเท฽าเทียม ลดความเหลื่อมล้า บรรลุตามเปูาหมายท่ีวางไว฾ คือ ลดอัตราปุวย ลดอัตราตาย ลดความแออัด ลดระยะเวลารอคอย เกิด ประโยชนแตอ฽ ประชาชนและประเทศอย฽างสูงสดุ 3. ผลการดาเนนิ งาน ตารางที่ 46 การพฒั นางานระบบบรกิ าร (Service Plan) ปี 2562 (30/10/61–30/9/62) ลาดบั ชอ่ื โรงพยาบาลคะแนนท่ีได฾ สาขาท่ีไมผ฽ า฽ น หมายเหตุ (คะแนนเตม็ 120) -สาขาไต คัดกรองไมเ฽ ปน็ ตามเปาู -NCD ไมผ฽ า฽ นในเรื่องของร฾อยละของ 1. นราธวิ าสราชนครินทรแ - สาขาไต ผปู฾ วุ ยเบาหวานทค่ี วบคุมระดับ นา้ ตาลในเลือดไดด฾ ี 81.8 คะแนน - สาขาโรคไม฽ติดต฽อ -สาขาทันตกรรมและมะเรง็ คัดกรอง ไมเปน็ ไปตามเปูา - สาขาทนั ตกรรม -RDU ข้ัน 2 ไม฽ผ฽านเกณฑแ -สาขาไต คัดกรองไม฽เป็นตามเปูา - สาขามะเร็ง -NCD ไม฽ผา฽ นเกณฑแในเรือ่ งของ รอ฾ ยละของผ฾สู ูงอายไุ ดร฾ ับการ - สาขา RDU คดั กรอง DM/HT -RDU ขน้ั 2 ไมผ฽ า฽ นเกณฑแ 2. สุไหงโก-ลก - สาขาไต -สาขาหวั ใจ ตกเกณฑแในเรื่อง 78.6 คะแนน - สาขา NCD (door to needle) - สาขา RDU -NCD ไมผ฽ า฽ นในเรื่องของร฾อยละของ 3. ระแงะ - สาขาทนั ตกรรม ผปู฾ ุวยเบาหวานที่ควบคุมระดับ 75.4 คะแนน - สาขาหวั ใจ - สาขาโรคไม฽ติดต฽อ - สาขาไต - สาขาทันตกรรม สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส หน้า 75

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 - สาขามะเรง็ น้าตาลในเลอื ดได฾ดี -สาขาไต ตกเกณฑแเร่ืองร฾อยละของ 4. ตากใบ - สาขามะเรง็ ผ฾ูปวุ ยโรค DM ได฾รับการคดั กรอง 83.3 คะแนน - สาขาโรคไม฽ตดิ ต฽อ โรคไต - สาขา RDU -สาขาทันตกรรมและมะเรง็ คัดกรอง - สาขาทันตกรรม ไมเ฽ ปน็ ไปตามเปูา -สาขามะเรง็ ตกเกณฑแในเรอื่ งของ 5. รอื เสาะ - สาขาไต การคดั กรองมะเรง็ ปากมดลูก 81.8 คะแนน - สาขาโรคไมต฽ ิดต฽อ -NCD ไมผ฽ ฽านในเรื่องของร฾อยละของ - สาขาทันตกรรม ผูป฾ วุ ยเบาหวานท่คี วบคุมระดับ - สาขา RDU น้าตาลในเลือดได฾ดี - สาขาตา -RDU ยงั พบวา฽ มีการจา฽ ยยาไม฽ เหมาะสมกับโรค 6. สุไหงปาดี - สาขาไต สาขาทันตกรรมพบอัตราการใช฾ 76.6 คะแนน - สาขาโรคไม฽ตดิ ต฽อ บริการของประชาชนรวมทุกสทิ ธแยัง - สาขาจติ เวช ไม฽ผา฽ นเกณฑแ - สาขาทันตกรรม - สาขาไต คดั กรองไมเ฽ ปน็ ตาม เปาู หมาย สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส -NCD ไม฽ผ฽านเกณฑแในเรอื่ งของรอ฾ ย ละของผ฾ูสงู อายุได฾รบั การคดั กรอง DM/HT -สาขาทนั ตกรรม พบอตั ราการใช฾ บรกิ ารของประชาชนรวมทุกสทิ ธยแ ัง ไม฽ผ฽านเกณฑแ -RDU ขนั้ 2 ไม฽ผา฽ นเกณฑแ -สาขาตา ไมผ฽ ฽านเกณฑแในเรอ่ื งการ ผา฽ ตดั ใน 30 วนั -สาขาไต คัดกรองไม฽เป็นตามเปูา หมาย -NCD ไม฽ผ฽านในเร่ืองของร฾อยละของ ผ฾ูปวุ ยเบาหวานทคี่ วบคุมระดับ น้าตาลในเลอื ดได฾ดี -สาขาจติ เวช การเข฾าถงึ บริการยงั ไม฽ เปน็ ตามเกณฑแ -สาขาทนั ตกรรม พบอตั ราการใช฾ บริการของประชาชนรวมทุกสิทธแยงั ไม฽ผ฽านเกณฑแ หนา้ 76

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 7. แวง฾ - สาขาไต -สาขาไต คดั กรองไม฽เป็นตามเปูา 75.7 คะแนน - สาขามะเรง็ หมาย - สาขาทนั ตกรรม -สาขามะเรง็ ไมผ฽ า฽ นเกณฑแ - สาขาโรคไมต฽ ิดต฽อ ของการคัดกรองมะเร็งปากมดลกู - สาขาแพทยแแผนไทย -สาขาทนั ตกรรม พบอัตราการใช฾ - สาขา RDU บริการของประชาชนรวมทุกสิทธยแ งั ไมผ฽ า฽ นเกณฑแ -NCD ไม฽ผ฽านเกณฑแในเรือ่ งของร฾อย ละของผสู฾ ูงอายุไดร฾ บั การคดั กรอง DM/HT -สาขาแพทยแแผนไทยการการเขา฾ ถึง บริการในผ฾ปู วุ ยนอกยังตกเกณฑแ -สาขา RDU ยังพบวา฽ มีการจ฽ายยาไม฽ เหมาะสมกับโรค 8. บาเจาะ - สาขาโรคไมต฽ ิดต฽อ -NCD ไม฽ผา฽ นในเร่ืองของร฾อยละของ 75.8 คะแนน - สาขาไต ผปู฾ ุวยเบาหวานที่ควบคุมระดับ - สาขาRDU นา้ ตาลในเลอื ดไดด฾ ี 9. ย่ีงอฯ - สาขาทนั ตกรรม -สาขาไต พบว฽าร฾อยละของผูป฾ ุวยโรค 83.3 คะแนน - สาขาแพทยแแผนไทย HTไม฽ได฾รับการคดั กรองโรคไต -RDU ขน้ั 2 ไมผ฽ ฽านเกณฑแ 10. เจาะไอรอ฾ ง - สาขาโรคไมต฽ ิดต฽อ -สาขาทันตกรรมและแพทยแแผนไทย 78.7 คะแนน - สาขาไต ไมผ฽ า฽ นในเร่ืองของการเข฾าถึงบรกิ าร - สาขาทนั ตกรรม -NCD จะไมผ฽ ฽านในเร่ืองของร฾อยละ - สาขาไต ของผปู฾ วุ ยเบาหวานที่ควบคุมระดับ - สาขาโรคไม฽ตดิ ต฽อ นา้ ตาลในเลอื ดได฾ดี - สาขา RDU -สาขาไต พบวา฽ ร฾อยละของผ฾ปู ุวยโรค - สาขาแพทยแแผนไทย HTไม฽ได฾รับการคดั กรองโรค - สาขาทนั ตกรรม -สาขาทันตกรรม พบอตั ราการใช฾ บรกิ ารของประชาชนรวมทุกสทิ ธยแ งั ไม฽ผ฽านเกณฑแ -สาขาไต พบว฽าร฾อยละของผู฾ปุวยโรค HTไม฽ไดร฾ บั การคดั กรองโรคไต -NCD จะไมผ฽ า฽ นในเร่ืองของร฾อยละ ของผป฾ู ุวยเบาหวานที่ควบคมุ ระดับ นา้ ตาลในเลอื ดได฾ดี สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส หนา้ 77

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 11. ศรีสาคร - สาขาไต -RDU ขนั้ 2 ไมผ฽ ฽านเกณฑแ 78.7 คะแนน - สาขาโรคไม฽ตดิ ต฽อ -สาขาทันตกรรมและแพทยแแผนไทย - สาขาทันตกรรม ไมผ฽ ฽านในเร่ืองของการเข฾าถึงบรกิ าร - สาขา RDU -สาขาไต พบวา฽ ร฾อยละของผูป฾ ุวยโรค HTไม฽ไดร฾ ับการคัดกรองโรคไต -NCD ไม฽ผา฽ นเกณฑแในเร่อื งของร฾อย ละของผ฾ูสงู อายุไดร฾ ับการคดั กรอง DM/HT -สาขาทันตกรรมไม฽ผา฽ นในเรื่องของ การเขา฾ ถึงบริการ -สาขา RDU ยังพบว฽ามีการจ฽ายยาไม฽ เหมาะสมกบั โรค 12. จะแนะ - สาขาโรคไม฽ตดิ ต฽อ -NCD ไม฽ผ฽านเกณฑแในเรือ่ งของ 78.6 คะแนน - สาขาไต ร฾อยละของผู฾สงู อายไุ ดร฾ ับการ - สาขาตา คัดกรอง - สาขาทนั ตกรรม -สาขาไต พบว฽าร฾อยละของผู฾ปุวยโรค HTไม฽ไดร฾ ับการคัดกรองโรคไต DM/HT - สาขาตา ไมผ฽ า฽ นเกณฑแในเรอ่ื งการ ผ฽าตัดใน 30 วัน - -สาขาทันตกรรมไมผ฽ ฽านในเร่ืองของ การเข฾าถึงบรกิ าร 13. สุคิริน - สาขาไต -สาขาไต คดั กรองไม฽เป็นตามเปูา 81.8 คะแนน - สาขาโรคไมต฽ ดิ ต฽อ หมาย - สาขายาเสพติด -NCD ไม฽ผ฽านเกณฑแในเร่ืองของร฾อย - สาขา RDU ละของผสู฾ งู อายไุ ด฾รบั การคัดกรอง -สาขายาเสพติด อัตราการหยุดเสพ ลดลงไมเ฽ ปน็ ไปตามเกณฑแ -สาขา RDUขั้น 2 ไม฽ผ฽านเกณฑแตาม เปาู หมาย ท่มี า: สรุปข฾อมูลรายงานการประเมิน สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดนราธวิ าส รอบ 2/2561 4. ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ 4.1 ปัญหาอุปสรรค สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส หนา้ 78

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 จากรายงานการประเมิน พบว฽า สาขาไตปัญหาที่พบ คือ ยังคัดกรองไม฽เป็นไปตามเปูาหมาย ท่ีวางไว฾สาขามะเร็ง เรื่องลดระยะเวลาการรอคอย ผ฽าตัด เคมีบาบัด รังสีรักษา มะเร็ง 5 อันดับแรก มะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต฾านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลาไส฾ ยังไม฽เป็นไปตามเกณฑแสาขาโรคไม฽ ติดต฽อ พบว฽าการคัดกรองโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ยังไม฽ถึงเปูาหมาย คือ ร฾อยละ 90 สาขา สุขภาพช฽องปาก (ทันตกรรม) อัตราการใช฾บริการสุขภาพช฽องปากของประชาชนในพ้ืนท่ีรวมทุกสิทธแยังไม฽ ถงึ เกณฑแ ส฽วนสาขาแพทยแแ ผนไทยฯ รอ฾ ยละของผ฾ูปุวยนอกได฾รับบริการการแพทยแแผนไทยและการแพทยแ ผสมผสานท่ีได฾มาตรฐาน ยังไม฽ถึงเกณฑแ ในส฽วนของการจัดบริการสาขา NCD กรณีในรายบุคคล case manager มีโอกาสและเวลาจัดการยังน฾อยเนื่องจากภาระงานมาก ประกอบกับจานวนผ฾ูปุวยมากข้ึน โดย ส฽วนใหญ฽จะจัดการในรูปแบบรายกล฽ุมทาให฾ผู฾ปุวยขาดความใส฽ใจในปัญหาของตนเอง และทาให฾ผลการ ดาเนินงานผ฾ูปุวยควบคุมระดับน้าตาลในเลือดและผ฾ูปุวยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันได฾ยังมี ผลงานที่ต่า ขาดการทบทวน CPG, CASE Conference, KM ลงสู฽ผ฾ูปฏิบัติระดับตาบล ยังขาดในส฽วน ระบบสารสนเทศและขอ฾ มลู ทีเ่ ชอ่ื มโยงแลกเปล่ียนของโรงพยาบาลแม฽ข฽ายกับรพสต. ศสม. เพื่อการบริการ ตอ฽ เนอื่ งในเครือขา฽ ย ขาดสถานที่ ในการให฾คาปรึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พร฾อมทั้งอุปกรณแ ส่ือการ เรียนรตู฾ ฽างๆ 4.2 ข้อเสนอแนะ 4.2.1 ใหท฾ กุ สาขาพัฒนาระบบข฾อมูลใหม฾ ีความทันสมัย ทันเวลา ถูกต฾อง เป็นระบบ Real Time 4.2.2 ควรชี้แจงความสาคัญของการบันทึกข฾อมูล การลงรหัส ICD 10 การตรวจสอบ ขอ฾ มูลก฽อนสง฽ ข฾อมลู และเสน฾ ทางการสง฽ ข฾อมูลให฾ทันเวลา 4.2.3 บางสาขาควรเพิ่มเจ฾าหน฾าที่ในการให฾บริการในคลินิกให฾เพียงพอ เช฽น สาขา โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต฾น 4.2.4 ขาดแพทยแเฉพาะทาง ได฾แก฽ ประสาทแพทยแ/อายุรแพทยแท่ีผ฽านการอบรม แพทยแ เวชกรรมฟนื้ ฟู, บุคลกรที่มีความร฾ูความเช่ยี วชาญเฉพาะโรคยังมนี อ฾ ย 4.2.5 อุปกรณแเครือ่ งมอื ทางการแพทยยแ ังมไี ม฽เพียงพอ เชน฽ Monitor EKG, Infusion pump, Alpha bed เปน็ ต฾น 5. โอกาสพฒั นาต่อไป - สาขาหวั ใจและหลอดเลอื ด 1. ผลงาน DHS Public AED โดยการประสานความรว฽ มมือของโรงพยาบาลสุไหงโก-ลกและ ภาคีเครือข฽ายภาคประชาชน ในการดาเนินการจัดหาเครื่อง AED ติดต้ังในสถานท่ี ที่มีความหนาแน฽นของ ประชากร ความชุกของการเสียชวี ติ นอกโรงพยาบาล (OHCA :Out hospital cardiac arrest) ครอบคลุม พ้ืนท่ีในเขตอาเภอสุไหงโก-ลก สอนการใช฾อุปกรณแ การทา CPR แก฽กลุ฽ม อ.ส.ม.และประชาชนในพ้ืนท่ี สถานีท่ีรับผิดชอบเครื่อง เปูาหมายเพ่ือให฾ประชาชนตื่นตัว มีความร฾ูความสามารถในการดูแลตนเองและ บุคคลรอบขา฾ งในภาวะฉุกเฉนิ ดา฾ นหัวใจได฾อย฽างเหมาะสม เข฾าถึงอุปกรณแช฽วยชีวิต AED อย฽างรวดเร็ว หวัง ผลลดอัตราการเสียชีวติ นอกโรงพยาบาลท่ีเกิดจากโรค Non Trauma จากการดาเนินการดังกล฽าวปัจจุบัน มเี ครือ่ ง AED 28 เคร่ือง บนพื้นท่ี 20 จดุ (เปน็ Mobile AED ประจารถ Ambulance 7 เคร่อื ง) สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส หน้า 79

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 2. งานวารแฟารินคลินกิ โรงพยาบาลระแงะ มกี ารดาเนินงานเชิงรุกในการคัดกรองผ฾ูปุวยหรือ กลมุ฽ เส่ียงที่มภี าวะหัวใจเตน฾ ผิดจงั หวะ ชนิด AF เพอื่ ให฾ผ฾ปู วุ ยได฾รบั การรักษาและตดิ ตามในคลินิกวารแฟาริน หวงั ผลลดอัตราการเกดิ โรคหลอดเลอื ดสมอง (Stroke) จดุ เริม่ ต฾นจากผู฾ปุวยกล฽ุม NCD ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ในคลินกิ ของโรงพยาบาลต้งั แต฽เดอื นมกราคม 2560 และขยายผลลงคัดกรองใน รพ.สต.เขตพ้ืนท่ีอาเภอ ระแงะครบ ร฾อยละ 100 โดยบูรณาการงานแบบครบวงจร ท้ังการตรวจร฽างกาย ตรวจทางห฾องปฏิบัติการ ตรวจคดั กรองตา และคลืน่ ไฟฟาู หวั ใจ ต้ังแตเ฽ ดือนตุลาคม 2560-ปัจจุบันเป็นต฾นมา รวมทั้งสิ้น 3,191 ราย พบผ฾ูปุวยท่ีเป็น AF 56 ราย (ร฾อยละ 1.75) สมัครใจเข฾ารับการรักษาในคลินิก 27 ราย คิดเป็นร฾อยละ 48.2 ของผู฾ปุวย AF ที่คัดกรองพบ และยังคงมีการดาเนินการคัดกรองอย฽างต฽อเนื่อง พร฾อมมีแผนพัฒนา งานในการขยายงานคดั กรองในกลม฽ุ ผปู฾ ุวยโรคทว่ั ไปทีม่ ีอายุ 60 ปีขึน้ ไปทีมารับบรกิ ารในโรงพยาบาล - สาขาไต 1. คลินิกโรคไตเร้ือรังดีเด฽น (excellent CKD clinic) รพ.ย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา โดยมีวัตถุประสงคแเพ่ือชะลอความเสื่อมของไตในผู฾ปุวยไต ระยะ3-4 เพื่อลดจานวนผ฾ูปุวยที่ต฾องบาบัด ทดแทนไต เพื่อให฾ผู฾ปุวยระยะที่ 5 ท่ีปฏิเสธฟอกไต ได฾รับการดูแลอย฽างต฽อเนื่องและมีคุณภาพ โดยผลการ ดาเนินงาน พบว฽า ลด Stage CKD ผ฾ูปุวยเบาหวาน CKD ระยะที่ 5ได฾รับการส฽งต฽อไปรพ.นราธิวาสราช นครินทรรแ อ฾ ยละร฾อย และผู฾ปุวย CKD ระยะท่ี 5 ทป่ี ฏิเสธฟอกไต ไดร฾ บั การเยย่ี มบา฾ นรอ฾ ยละรอ฾ ย 2. โครงการขยายบริการการฟอกเลือดด฾วยเครื่องไตเทียม มีวัตถุประสงคแเพื่อลดจานวน ผป฾ู ุวยทรี่ อควิ ในการฟอกเลือดด฾วยเคร่ืองไตเทียม ผลการดาเนินงาน พบว฽า สามารถให฾บริการได฾สูงสุด 16 เคร่อื ง (ปจั จุบันเปิดให฾บริการ 8 เครื่อง) รับผู฾ปุวยได฾สูงสุด 144 คน (ปัจจุบันมีผ฾ูปุวยจานวน 56 คน) และ ลดอตั ราการรอคอยจาก > 1 ปี เป็นไม฽มคี ิวรอคอย 3. โครงการพัฒนาสมรรถนะแพทยแอายุรกรรมในการวางสายทางหน฾าท฾อง มีวัตถุประสงคแ เพ่ือลดระยะเวลาในการรอคิวในการวางสายทางหน฾าท฾อง ผลการดาเนินงาน พบว฽า สามารถให฾บริการได฾ 18 ราย และลดอัตราการรอคอยจาก > 1 เดือน เปน็ ไมม฽ คี ิวรอคอ - สาขาการแพทยแแ ผนไทยและการแพทยแผสมผสาน มกี ารสร฾างนวัตกรรม ยาเบอะฟูบะลูตุ (ถงุ ยารกั ษาเข฽า) ของโรงพยาบาลตากใบเพ่ือ แกป฾ ญั หาผปู฾ วุ ยข฾อเข฽าเส่ือมไม฽มารักษาต฽อเน่ือง เน่ืองจากเดินทางมารพ.ไมส฽ ะดวกแก฾ปัญหาการพอกยาไม฽ ตอ฽ เนอ่ื งไม฽ไดต฾ ามเวลารักษาและผา฾ ก฿อชหลดุ ขณะพอกยา เป็นตน฾ 4.พฒั นาศกั ยภาพเจ฾าหนา฾ ท่ใี นการใหบ฾ รกิ ารจัดการข฾อมูลให฾ทันสมัยแบบ One stop service เป็นต฾น 5.4 รอ้ ยละ 60 ของคณะกรรมการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ระดับอาเภอ (พชอ.) ทมี่ คี ุณภาพ 1. สถานการณ์และสภาพปญั หา จังหวัดนราธิวาส ประกอบด฾วยอาเภอทั้งสิ้น 13 อาเภอ ซึ่งได฾มีการขับเคลื่อนงานตาม นโยบาย คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) โดยการมีส฽วนร฽วมของทุกภาคส฽วน เพ่ือให฾เกิดการ ขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับพื้นที่ท่ีอยู฽ใกล฾ชิดกับประชาชน เกิดการบูรณาการเปูาหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตรแร฽วมกันระหว฽างหน฽วยงานของรัฐ ภาพเอกชน และภาคประชาชนอย฽างเป็นองคแรวม โดยมีพ้ืนท่ี เป็นฐานและประชาชนเป็นศูนยแกลางและในปีงบประมาณ 2562 มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ อาเภอ (พชอ.) ท่ีมีคุณภาพครอบคลุมท้ัง 13 อาเภอ คิดเป็นร฾อยละ 100 โดยมีการสนับสนับงบประมาณ สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธิวาส หน้า 80

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ขับเคลื่อนงานทั้งจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส และมูลนิธิสุขภาพภาคใต฾ ทั้งน้ีในการพัฒนา พชอ. บางพ้นื ท่ยี ังขาดความตอ฽ เน่อื ง เพราะมกี ารเปล่ียนประธาน (นายอาเภอ) และประเด็นสขุ ภาพในแต฽ละอาเภอ 2. การบริหารจัดการ 2.1 จังหวัดมีการจัดประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับอาเภอให฾กับหน฽วยงานระดับพื้นท่ีได฾รับทราบ โดยมี นพ.วราวุธ สุรพฤกษแ ผู฾เชี่ยวชาญจากมูลนิธิสุขภาพ ภาคใต฾เป็นท่ีปรกึ ษา 2.2 จังหวัดมีการสนับสนุนให฾มีการพัฒนาบุคลากร โดยการส฽งทีมเลขานุการ พชอ.เข฾าร฽วมอบรม ความรูแ฾ ละทักษะในการเปน็ เลขานุการพชอ. 2.3 จังหวัดมีการลงพื้นที่จัด Work Shop การดาเนินงาน พชอ. ในระดับพื้นท่ี โดยมีคณะกรรมการ พชอ. เขา฾ ร฽วมรับฟงั และจดั ทาแผนการขบั เคลื่อนงาน 2.4 มีสถาบันวชิ าการ ไดแ฾ ก฽ สคร. ลงพ้นื ที่สนบั สนุนขอ฾ มูลวชิ าการเพือ่ การพัฒนา 2.5 จังหวัดมีการติดตามการความก฾าวหน฾าในการขับเคล่ือนงาน พชอ. ซ่ึงมีการแต฽งต้ังคาส่ัง คณะกรรมการดาเนินงานครอบคลุมทุกอาเภอ และมีการกาหนดประเด็นการพัฒนาครบ 2 ประเด็นครบ ทกุ อาเภอ 3. ผลการดาเนนิ งาน ร฾อยละ 100 ของคณะกรรมการพฒั นาคุณภาพชีวติ ระดบั อาเภอ (พชอ.) ท่ีมคี ณุ ภาพ ตารางที่ 47 ผลการดาเนนิ งานคณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) จงั หวัดนราธวิ าส อาเภอ คาสั่ง การประชมุ ประเด็นปญั หา มี ไม฽มี มี ไมม฽ ี เมอื งนราธวิ าส / / -การดแู ลผู฾สงู อายุในเขตเทศบาล -การจดั การขยะ สุไหงโก-ลก / / -อาหารปลอดภัย -ตลาดปลอดภยั ระแงะ / / -การดูแลผป฾ู ุวยติดเตียง -การดูแลผ฾ดู อ฾ ยโอกาส ตากใบ / / -การจดั การขยะ -ผกั ปลอดสารพิษ รอื เสาะ / / -การจัดการสิง่ แวดล฾อม -การดแู ลผด฾ู อ฾ ยโอกาส สไุ หงปาดี / / -ยาเสพติด -การบรหิ ารจดั การน้า แวง฾ / / -ผ฾กู ารดแู ลผ฾ดู ฾อยโอกาส -การจดั การขยะ บาเจาะ / / -การจัดการเบาหวานโดยชมุ ชน -ผ฾ดู อ฾ ยโอกาส ผูพ฾ ิการ และผ฾ปู ุวยตดิ เตยี ง สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส หนา้ 81

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ยีง่ อ / / -การดแู ลผู฾ดอ฾ ยโอกาส -การจดั การขยะ เจาะไอรอ฾ ง / / -การดแู ลผด฾ู อ฾ ยโอกาส -การจัดการขยะ ศรสี าคร / / -การจัดการขยะ -การสง฽ เสริมอาชีพผม฾ู รี ายไดน฾ ฾อย จะแนะ / / -การดูแลผ฾ูดอ฾ ยโอกาส -ชุมชนตน฾ แบบแก฾ไขปญั หายาเสพตดิ To be Number One สุคิรนิ / / -การจดั การขยะ -สุขภาพจติ ทม่ี า: รายงานผลการดาเนนิ งาน พชอ.จงั หวดั นราธวิ าส, 31 พฤษภาคม 2562 ผลลพั ธ์ 1) มีการแต฽งต้ังคณะกรรมการ พชอ. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว฽าด฾วยการพัฒนา คุณภาพชีวิตระดบั พ้ืนที่ พ.ศ.2561 ครบทง้ั 13 อาเภอ 2) อาเภอมีการกาหนดประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต จานวน 13 อาเภอ คิดเป็นร฾อยละ 100 3) มตี ัวอย฽างศนู ยแเรยี นรก฾ู ารพัฒนาคุณภาพชวี ติ ดังนี้ - อาเภอตากใบ ในประเดน็ ผดู฾ ฾อยโอกาส (คนพกิ าร, คนยากจน) - อาเภอบาเจาะ ในประเดน็ ผู฾ด฾อยโอกาส ผู฾พิการ ผ฾ูปวุ ยติดเตียง - อาเภอสไุ หงโก-ลก ในประเดน็ อาหารปลอดภยั ตลาดปลอดภัย 4. ปัญหาอปุ สรรค - การแต฽งต้ังคาส่ัง พชอ. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว฽าด฾วยการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับพ้ืนที่ พ.ศ. 2561 ในระยะแรก พื้นที่ยังขาดความเข฾าใจในประเด็นของจานวน และกล฽ุมเปูาหมายของ คณะกรรมการฯ ทาให฾ตอ฾ งมีการปรบั แกห฾ ลายครงั้ 5. ปัจจัยความสาเรจ็ /ขอ้ เสนอแนะและโอกาสพัฒนา 5.1 ปัจจัยความสาเร็จ 5.1.1 ผ฾บู รหิ ารใหค฾ วามสาคญั และเปน็ นโยบายชัดเจน 5.1.2 มกี ารประชมุ ติดตาม คณะกรรมการขบั เคล่ือนระดับจังหวัดทกุ เดือน 5.1.3 มีผูร฾ ับผิดชอบระดบั อาเภอ ทาใหก฾ ารประสานงานมปี ระสทิ ธภิ าพ 5.1.4 มี พชอ. นาร฽อง ให฾อาเภออ่นื ๆได฾แลกเปลย่ี นเรยี นรู฾ 5.2 ข้อเสนอแนะและโอกาสพัฒนา 5.2.1 จัดการประชุมติดตามอย฽างสม่าเสมอเพ่ือกระต฾ุนการมีส฽วนรวมของชุมชนและรับ ฟังข฾อเสนอแนะของชุมชน 5.2.2 นโยบาย พชอ. ทาให฾มุมมองเร่ืองสุขภาพ เป็นเร่ืองของทุกคน ทุกหน฽วยงาน ใน การท่จี ะบรู ณาการความร฽วมมือ เพอื่ การมีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ี สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส หนา้ 82

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 5.5 มาตรฐานระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา กรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ เป็นองคแกรหลักในการพิทักษแ และคุ฾มครองผ฾ูบริโภคด฾านระบบ บริการสุขภาพ ได฾จัดทามาตรฐานระบบบริการสุขภาพข้ึน เพ่ือประกาศให฾หน฽วยงานของสานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขใช฾ในการส฽งเสริมพัฒนาคุณภาพบริการ ซ่ึงได฾บูรณาการมาตรฐานและสร฾าง ความรว฽ มมอื กบั สถาบนั รับรองคณุ ภาพสถานพยาบาล (สรพ.) (องคกแ ารมหาชน) ควบค฽ูกับการพัฒนากลไก การกากับคุณภาพตามมาตรฐานระบบบริการสุขภาพอย฽างเป็นระบบ ม฽ุงเน฾นการค฾ุมครองผู฾บริโภคใน ระบบริการสุขภาพด฾านความปลอดภัยของผู฾ปุวย (Patient Safety) รวมท้ังผู฾รับบริการมีพฤติกรรม สุขภาพท่ีถูกต฾อง สามารถจัดการตนเอง/ดูแลสุขภาพตนเองได฾ ดังน้ันความปลอดภัยของผู฾ปุวย นับเป็น ปญั หาสาคญั และมผี ลกระทบตอ฽ วงการแพทยแและสาธารณสขุ ทว่ั โลก รวมทั้งมีผลกระทบต฽อร฽างกาย จิตใจ สังคมของผใ฾ู หแ฾ ละผ฾รู ับริการ เกดิ ปัญหาการฟอู งรอ฾ ง และความสูญเสียทางเศรษฐกิจ จากรายงานพบว฽าใน แต฽ละปีมีผู฾ปุวยกว฽าล฾านคนต฾องเจ็บปุวย มีภาวะแทรกซ฾อนหรือเสียชีวิตจากการเข฾ารับบริการทาง การแพทยแ องคแการอนามัยโลกระบุว฽า อุบัติการณแความเสี่ยงของผู฾ปุวยที่รักษาในโรงพยาบาล ท่ีเกิดข้ึนมี ถึงร฾อยละ 4-16 และพบว฽าในประเทศท่ีพัฒนาแล฾วประมาณ 1 ใน 10 คน ที่เข฾ารับการรักษาจะได฾รับ อันตรายที่อาจเกิดจากความผิดพลาดหรือเหตุการณแไม฽พึงประสงคแต฽างๆ และอุบัติการณแในประเทศกาลัง พัฒนาเกิดข้ึนสูงกว฽าประเทศท่ีพัฒนาแล฾วหลายเท฽า (อ฾างในสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคแการมหาชน) ) ด฾วยความจาเป็นดังกล฽าว กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จึงตระหนักถึงปัญหาด฾านความ ปลอดภัยจากการรับบริการของประชาชน ท่ีมีแนวโน฾มจะเพิ่มขึ้น มีความสาคัญอย฽างย่ิงต฽อการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพของประเทศให฾มีคุณภาพและความปลอดภัยอย฽างมีมาตรฐานสากล จึงได฾สร฾างองคแ ความรู฾และแนวทางปฏิบัติเพื่อขับเคล่ือนในระดับประเทศ ส฽งเสริม สนับสนุนให฾สถานบริการสุขภาพของ กระทรวงสาธารณสุข นามาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ไปใช฾ในทางปฏิบัติ ตลอดจนสร฾างการมีส฽วนร฽วม และความร฽วมมือกับภาคีเครือข฽ายท่ีเกี่ยวข฾อง ในการกากับติดตามคุณภาพมาตรฐานผ฽านกลไกการเยี่ยม ประเมนิ มาตรฐานระบบรกิ ารสุขภาพอยา฽ งมีคณุ คา฽ มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ หมายถึง เกณฑแท่ีกาหนดข้ึนเป็นกรอบแนวทางในการ ดาเนินงานและวัดความสาเร็จของสถานบริการสุขภาพภาครัฐ (รพศ./รพท./รพช./รพร.) ในการจัดการ คุณภาพและความปลอดภัย รวมทั้งพฤติกรรมสุขภาพ ประกอบด฾วย 2 ด฾าน คือด฾านอาคาร สิ่งแวดล฾อม และเคร่ืองมอื แพทยใแ นโรงพยาบาล และดา฾ นการดาเนินงานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ ซ่ึงเป็นระบบ บรกิ ารสขุ ภาพทีร่ ฐั พึงจัดให฾แก฽ประชาชน และส฽งมอบบรกิ ารทม่ี ีคุณภาพ เป็นท่ีไว฾วางใจของประชาชนและ สงั คม เพอ่ื คุม฾ ครองผ฾ูบริโภคดา฾ นระบบบริการสขุ ภาพเอ้ือให฾เกิดความปลอดภัย สวัสดิภาพของผ฾ูรับบริการ ผ฾ูใหบ฾ ริการ ผู฾มาเยือนและชมุ ชน 2. การบริหารจัดการ องคแประกอบของมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ประกอบด฾วย 1. มาตรฐานระบบการจัดการคุณภาพและความปลอดภัยด฾านอาคาร ส่ิงแวดล฾อม และ เครอื่ งมือแพทยใแ นโรงพยาบาล สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธวิ าส หน้า 83

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 หมายถึง มาตรฐานอาคารและสภาพแวดล฾อมกับมาตรฐานการจัดการวิศวกรรมการแพทยแ ในสถานพยาบาล ทมี่ ีความมุ฽งหวงั เพือ่ ส฽งเสริม พฒั นา ปรบั ปรงุ โรงพยาบาลใหม฾ ีการดาเนินการท่ีมีคุณภาพ และความปลอดภัย ทง้ั ในภาวะปกตแิ ละภาวะฉกุ เฉิน โดยประกอบดว฾ ย 1.1 ด฾านระบบการจัดการคุณภาพและความปลอดภัยในโรงพยาบาล 1.2 ดา฾ นอาคารและสภาพแวดล฾อมในโรงพยาบาล 1.3 ดา฾ นความปลอดภัยในโรงพยาบาล 1.4 ดา฾ นสิง่ แวดล฾อมในโรงพยาบาล 1.5 ดา฾ นสอื่ สารในโรงพยาบาล 1.6 ดา฾ นเครื่องมือแพทยใแ นโรงพยาบาล 2. มาตรฐานงานสุขศึกษา มาตรฐานงานสุขศึกษา เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงานและวัดความสาเร็จของงานสุข ศกึ ษาและพฒั นาพฤติกรรมสุขภาพในโรงพยาบาลอย฽างเป็นระบบ มคี วามชดั เจนทั้งเรื่องของปัจจัยนาเข฾า/ สิ่งสนับสนุน กระบวนการ ผลผลิต และผลลัพธแ ซ่ึงต฾องมีการใช฾องคแความร฾ูในหลายๆ ด฾านในการ ดาเนินงานการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาครอบคลุมท้ังในส฽วนของงานบริการที่จะส฽งมอบให฾กับ ประชาชนเพ่ือนาไปส฽ูการมีสุขภาพดี และการพัฒนาบุคลากรของสถานบริการสุขภาพให฾มีคุณภาพเป็นท่ี ยอมรบั และสามารถสร฾างผลงานให฾เปน็ ท่ีประจักษแและพัฒนาตอ฽ ยอดได฾ในอนาคต มาตรฐานงานสุขศึกษา จึงเป็นมาตรฐานเชิงระบบท่ีครอบคลุมการบริหารจัดการองคแกร สนับสนุนให฾เกิดกระบวนการดาเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ให฾ได฾ผลลัพธแการดาเนินงาน สุขศกึ ษาและพฒั นาพฤติกรรมสขุ ภาพทพี่ งึ ประสงคแ ซ่ึงประกอบดว฾ ย 4 หมวด 10 องคปแ ระกอบ ดงั น้ี หมวดที่ 1 การบรหิ ารจัดการองคแกร หมวดท่ี 2 กระบวนการดาเนนิ งาน หมวดท่ี 3 การพฒั นาคุณภาพงาน หมวดท่ี 4 ผลลพั ธแการดาเนินงาน 2. เครื่องมือและเกณฑกแ ารประเมนิ มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ 2.1 เครอื่ งมือในการประเมินมาตรฐานระบบบริการสขุ ภาพ เครื่องมือในการประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ มี 2 ด฾าน คือ ด฾านระบบการจัดการคุณภาพและ ความปลอดภัยด฾านอาคาร ส่ิงแวดล฾อม และเคร่ืองมือแพทยแในโรงพยาบาล และด฾านการดาเนินงานสุข ศกึ ษาและพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ดงั น้ี 2.1.1ดา฾ นระบบการจดั การคุณภาพและความปลอดภัยด฾านอาคาร สงิ่ แวดลอ฾ มและ เครื่องมือแพทยแในโรงพยาบาลแบบประเมินด฾านระบบการจัดการคุณภาพและความปลอดภัยด฾านอาคาร สิ่งแวดล฾อม และเคร่ืองมือแพทยแ จัดทาขึ้นตามแนวทางการบูรณาการร฽วมกับมาตรฐานอาคารและ สภาพแวดลอ฾ มกับมาตรฐานการจัดการวศิ วกรรมการแพทยแในสถานพยาบาล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มคี วามม฽ุงหวังเพ่ือส฽งเสริมพัฒนา ปรับปรุงโรงพยาบาลให฾มีการดาเนินการท่ีมีคุณภาพและความปลอดภัย ทง้ั ในภาวะปกตแิ ละภาวะฉกุ เฉนิ ประกอบดว฾ ย สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดนราธิวาส หน้า 84

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 1. แบบประเมนิ ดา฾ นระบบการจดั การคุณภาพและความปลอดภยั ในโรงพยาบาล แบบประเมินนี้ ใช฾เป็นแนวทางหรือข฾อกาหนดในการบริหารจัดการระบบการจัดการ คณุ ภาพและความปลอดภัย เป็นข฾อกาหนดเพ่ือช฽วยให฾โรงพยาบาลควบคุมความเสี่ยงต฽างๆที่เก่ียวข฾องกับ คุณภาพและความปลอดภัยและปรับปรุงสมรรถนะด฾านอาคาร สิ่งแวดล฾อมและเครื่องมือแพทยแของ โรงพยาบาลตามมาตรฐานและสามารถนาไปประยุกตแใช฾ได฾กับ โรงพยาบาลทุกแห฽งท่ีต฾องการ ซึ่ง ประกอบด฾วย 1) การจดั ทาระบบการจดั การคณุ ภาพและความปลอดภัย เพ่อื กาหนดทิศทางในการใช฾ ทรพั ยากรทั้งหลายอย฽างมปี ระสิทธภิ าพ เกิดประสิทธผิ ลและใหบ฾ รรลถุ งึ เปูาหมายของโรงพยาบาล 2) การนาระบบการจดั การคุณภาพและความปลอดภยั ไปปฏิบตั ิ รกั ษาไวแ฾ ละมกี าร พฒั นาปรบั ปรงุ อย฽างต฽อเน่อื ง 3) การให฾หลกั ประกนั ว฽าโรงพยาบาลสามารถปฏบิ ตั ไิ ดส฾ อดคล฾องกับนโยบายคณุ ภาพและ ความ ปลอดภัยดา฾ นอาคาร ส่ิงแวดลอ฾ มและเคร่ืองมือแพทยแท่ปี ระกาศไว฾ 4) การแสดงความสอดคล฾องกบั ข฾อกาหนดของมาตรฐานนี้ โดย 1. พิจารณาตนเองและการประกาศรับรองตนเอง 2. รบั การยนื ยนั ถงึ ความสอดคล฾องกบั ข฾อกาหนดจากผม฾ู สี ฽วนได฾ส฽วนเสียกบั โรงพยาบาล 3. รับการยืนยนั ถึงการประกาศรับรองตนเองจากหน฽วยงานภายนอก 4. ขอรบั การรบั รองระบบการจดั การคณุ ภาพและความปลอดภัย จากหน฽วยงาน ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานระบบการจัดการคณุ ภาพและความปลอดภัยน้ี มีความต้ังใจให฾โรงพยาบาล นาข฾อกาหนดทั้งหมดไปใช฾ร฽วมกับระบบการจัดการท่ีได฾ดาเนินการอย฽ูแล฾วในโรงพยาบาล ขอบเขตการ นาไปประยุกตแใช฾ จะข้ึนกับปัจจัยต฽างๆ ที่เก่ียวข฾องลักษณะของกิจกรรมต฽างๆ รวมถึงความซับซ฾อนในการ ดาเนนิ งานของโรงพยาบาล 2. แบบประเมนิ ดา฾ นอาคารและสภาพแวดลอ฾ มในโรงพยาบาล แบบประเมินน้ี ใช฾เป็นแนวทางหรือข฾อกาหนดในการบริหารจัดการด฾านอาคารและ สภาพแวดลอ฾ มในโรงพยาบาล เพ่ือช฽วยให฾โรงพยาบาลควบคุมความเส่ียงต฽างๆ ท่ีเก่ียวข฾องในการปรับปรุง คุณภาพและส฽งเสริมให฾เกิดการจัดการคุณภาพและความปลอดภัยด฾านอาคารและสภาพแวดล฾อมใน โรงพยาบาลแบ฽งเปน็ 7 หมวด ประกอบดว฾ ย 1) หมวดงานสถาปัตยกรรมประกอบด฾วย แผนการพัฒนาและการวางผังโรงพยาบาล ทางเขา฾ -ออกของโรงพยาบาลการเข฾าถึงแผนก/สว฽ นบรกิ ารของโรงพยาบาลปาู ยนาทาง ปูายจราจร ปูายช่ือ โรงพยาบาล ปูายชอ่ื อาคาร ถนนภายในโรงพยาบาลทางเดนิ เท฾าทางเดินเช่ือมระหว฽างอาคารสาหรับผ฾ูปุวย ทางลาด สาหรับผ฾ูปวุ ยทจี่ อดรถยนตแและจกั รยานยนตแบรเิ วณรบั -สง฽ ผูป฾ ุวยหน฾าอาคาร หอ฾ งน้า-สว฾ ม สาหรับ ผูร฾ ับบริการ 2) หมวดงานมัณฑนศลิ ป฼ประกอบด฾วยงานตกแตง฽ ภายในและเฟอรนแ เิ จอรแภายในอาคาร 3) หมวดงานภูมิทัศนสแ ภาพแวดลอ฾ มและภูมิทัศนแ 4) หมวดงานโครงสร฾างความมนั่ คงแขง็ แรงของอาคาร 5) หมวดงานระบบไฟฟาู และส่ือสารประกอบดว฾ ยระบบไฟฟูากาลังระบบไฟฟูาแสงสว฽าง ระบบไฟฟูาสารองฉุกเฉินระบบโทรศัพทแระบบเสียงตามสายระบบเรียกพยาบาลระบบแจ฾งเหตุเพลิงไหม฾ สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั นราธิวาส หนา้ 85

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 ระบบทีวีรวม ระบบทีวีวงจรปิดระบบปูองกันการเข฾า-ออกระบบส่ือสารด฾วยความเร็วสูงระบบปูองกัน ฟาู ผา฽ ระบบปูองกันแรงดนั และกระแสเกิน 6) หมวดงานระบบประปาและสุขาภิบาลประกอบด฾วยระบบปูองกันอัคคีภัยระบบ ประปา ระบบระบายนา้ และระบบสขุ าภิบาลระบบบาบดั นา้ เสยี การจดั เก็บและกาจัดขยะ 7) หมวดงานระบบเคร่อื งกล ประกอบด฾วยลฟิ ตแ (ถ฾ามี) ระบบระบายอากาศ/ปรับอากาศ ระบบแก฿สทางการแพทยแ 3. แบบประเมินด฾านความปลอดภยั ในโรงพยาบาล แบบประเมินนี้ใชเ฾ ป็นแนวทางหรอื ขอ฾ กาหนดในการบรหิ ารจัดการในการจัดทาขนั้ ตอนปฏบิ ตั งิ าน การกากับ ควบคุม ดูแล บารุงรกั ษา เพอื่ ให฾เกดิ ความปลอดภัยในโรงพยาบาลของการให฾บริการงานด฾านสุขภาพ และเกิดความปลอดภัยแก฽บุคลากรหรือผู฾เกี่ยวข฾อง ในเรื่องของเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณแใน ระบบงานวศิ วกรรม โดยสามารถนาไปประยกุ ตใแ ชไ฾ ด฾กบั โรงพยาบาลทุกแห฽งท่ีต฾องการซ่งึ ประกอบดว฾ ย 1) เคร่ืองจกั ร ได฾แก฽ การตรวจสอบ การทดสอบ ผ฾รู ับผดิ ชอบและการจัดทาข฾อมูลประวัติ ครุภณั ฑแ ได฾แก฽ ลิฟตแ เครือ่ งเชื่อมไฟฟูาและเคร่ืองเช่ือมกา฿ ซ เปน็ ตน฾ 2) หม฾อน้า ไดแ฾ ก฽ ผ฾ูควบคมุ หมอ฾ น้า การตรวจสอบ การทดสอบ การติดตั้ง การซ฽อมบารุง การซ฽อมแซมและการใชค฾ วบคมุ ผ฾รู ับผดิ ชอบและการจัดทาขอ฾ มูลประวัติครุภัณฑเแ ปน็ ตน฾ 3) บริภัณฑแไฟฟูา ได฾แก฽ ฉนวนไฟฟูา แรงดันไฟฟูา กระแสไฟฟูา หม฾อแปลงเครื่องวัด เครือ่ งกาเนิดไฟฟูา ระบบปูองกันฟูาผ฽า (ระบบล฽อฟูา) หลกั ล฽อฟูา สายนาประจุ หลักดิน สายดิน การไฟฟูา ประจาทอ฾ งถ่ิน เปน็ ตน฾ 4) อัคคภี ัย ได฾แก฽ อาคาร สถานที่ซึง่ มีสภาพเสี่ยงต฽อการเกิดอัคคีภัยอย฽างปานกลางอย฽าง รา฾ ยแรง เพลิงประเภท เอ เพลงิ ประเภท บี เพลงิ ประเภท ซี เพลิงประเภท ดี วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ เคร่ือง ดับเพลิงแบบเคลื่อนย฾ายได฾ ระยะเข฾าถึง ความปลอดภัยเกี่ยวกับอาคารและทางหนีไฟ การดับเพลิง การปูองกนั อัคคภี ัย การดาเนนิ การเกี่ยวกับความปลอดภัยจากอัคคีภัยและการรายงาน 5) รังสีชนิดก฽อไอออน ได฾แก฽ ต฾นกาเนิดรังสี (Source) ต฾นกาเนิดรังสีชนิดไม฽ปิดผนึก (Unsealed source) กากกัมมันตรังสี (Radioactive waste) ปริมาณรังสีสะสม พื้นท่ีควบคุมบริเวณรังสี สูง อุปกรณแบันทึกปริมาณรังสีประจาตัวบุคคล การผลิต มีไว฾ในครอบครอง การควบคุมและปูองกัน อันตราย เคร่อื งหมาย ฉลากและสญั ญาณเตือนภยั การคุ฾มครองความปลอดภยั สว฽ นบคุ คล 6) ระบบก฿าซทางการแพทยแได฾แก฽ อากาศทางการแพทยแ (Medical Air) ไนโตรเจน (Nitrogen) ออกซิเจน (Oxygen) ไนตรัสออกไซดแ (Nitrous Oxide) ท฽อบรรจุหรือภาชนะบรรจุท่ีเป็นท฽อ (Cylinder) เส฾นท฽อ (Pipeline หรือPipe) ระบบเส฾นท฽อก฿าซ (Piped Gas System)การวางเส฾นท฽อ (Piping) ชุดจ฽ายก฿าซ (Manifold) แหล฽งจ฽ายสารอง (Reserve Supply) ระบบสัญญาณเตือนหลัก (Master Alarm System) ระบบสัญญาณเตือนประจาที่ (Alarm System) ระบบสัญญาณเตือนเฉพาะ (Local Alarm System) อตั โนมัติ (Automatic) แหลง฽ กา฿ ซ การจา฽ ยก฿าซ ระบบสัญญาณเตอื น การฝกึ อบรมเป็นต฾น 4. แบบประเมนิ ด฾านส่ิงแวดลอ฾ มในโรงพยาบาล แบบประเมินนี้ใช฾เป็นแนวทางหรือข฾อกาหนดในการบริหารจัดการในการจัดทาขั้นตอน ปฏิบัติงาน การกากับ ควบคุม ดูแล บารุงรักษา งานด฾านส่ิงแวดล฾อม เพ่ือให฾เกิดความปลอดภัยและ ภมู ทิ ัศนทแ ส่ี วยงามในโรงพยาบาลและเกิดความสะดวก ความปลอดภัยแก฽บุคลากรหรือผู฾เกี่ยวข฾อง ในเร่ือง ของวิศวกรรมส่ิงแวดล฾อมบุคลากรผ฾ูเกี่ยวข฾อง สิ่งปฏิกูล มูลฝอย มูลฝอยท่ัวไปมูลฝอยย฽อยสลายมูลฝอยท่ี สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดนราธวิ าส หน้า 86

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 ยังใช฾ได฾ (รีไซเคิล) มูลฝอยอันตรายมูลฝอยติดเช้ือ น้าเสีย มลพิษทางอากาศ น้าบริโภค น้าอุปโภค โดย สามารถใช฾ไดก฾ ับโรงพยาบาลทุกประเภท ทกุ ขนาดซง่ึ ประกอบดว฾ ย 1) การจดั การส่ิงปฏิกลู และมูลฝอย 2) การจัดการมูลฝอยตดิ เชื้อ 3) การจดั การนา้ เสยี 4) การจัดการน้าอปุ โภคบรโิ ภค 5) การจัดการระบบระบายอากาศ 6) การจัดการระบบแสงสวา฽ ง 7) การจัดการมลพิษทางเสียง 5. แบบประเมนิ ด฾านสื่อสารในโรงพยาบาล แบบประเมินน้ีใช฾เป็นแนวทางหรือข฾อกาหนดในการบริหารจัดการในการจัดทาข้ันตอน ปฏิบัติงาน การกากับ ควบคุม ดูแล บารุงรักษา งานด฾านการส่ือสาร เพื่อการส฽งผ฽านข฾อมูล การประสานงาน ให฾เกิดความปลอดภัยและความสะดวกสบาย มีความพร฾อมใช฾กับบุคลากรหรือผ฾ูเก่ียวข฾อง ในการให฾บริการ ด฾านสาธารณสุขในโรงพยาบาล ในเรื่องของระบบสื่อสาร เคร่ืองวิทยุคมนาคม ตรวจสอบบารุงรักษาทดสอบ ผ฾ูควบคุมการติดต้ังและบารุงรักษาระบบสื่อสาร การยกเลิกการใช฾งานครุภัณฑแสื่อสารโดยสามารถใช฾ได฾กับ โรงพยาบาลทุกประเภท ทุกขนาดซ่งึ ประกอบดว฾ ย 1) เครอ่ื งวิทยุคมนาคม 2) ระบบเสยี งตามสาย 3) ระบบโทรศัพทแ 4) ระบบเรียกพยาบาล 5) ระบบกลอ฾ งวงจรปดิ 6) ระบบเคเบิ้ลทวี ี 7) ระบบเครอื ข฽ายสอื่ สารข฾อมูล 6. แบบประเมนิ เครื่องมือแพทยแในโรงพยาบาล แบบประเมินนี้ใชเ฾ ป็นแนวทางหรือข฾อกาหนดในการบริหารจัดการ ในการจัดทาข้ันตอนการ ปฏิบัติงาน การกากับ ควบคุม ดูแล บารุงรักษา งานด฾านเคร่ืองมือวัดและอุปกรณแทางการแพทยแ เพ่ือให฾ เกดิ คณุ ภาพและความปลอดภัยในด฾านการมี การใช฾ รวมทั้งมคี วามพร฾อมใช฾กับบุคลากรหรือผ฾ูเกี่ยวข฾อง ใน การใหบ฾ ริการด฾านสาธารณสุขในโรงพยาบาลในเร่ืองของเคร่อื งมือแพทยแในโรงพยาบาล บารุงรักษา ตรวจสอบ ทดสอบ การสอบเทียบ โดยสามารถใชไ฾ ด฾กบั โรงพยาบาลทกุ ประเภท ทุกขนาดซ่ึงประกอบดว฾ ย 1) หลักเกณฑแการได฾มา 2) การใช฾งานและบารุงรักษา 3) การตรวจสอบ ทดสอบหรือสอบเทียบ 4) การซ฽อมแซม 5) การยกเลิกการใช฾งาน 2. 2. ด้านกระบวนการดาเนินงานสุขศกึ ษาและพฤติกรรม เครือ่ งมอื ในการประเมิน ประกอบด฾วย 4 หมวด 10 องคแประกอบ ดงั น้ี หมวดที่ 1 การบรหิ ารจัดการ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส หนา้ 87

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 องค์ประกอบที่ 1 นโยบายการดาเนินงานสขุ ศกึ ษาและพฒั นาพฤตกิ รรมสุขภาพ เป็นทิศทางและแนวทางในการปฏิบัติที่สะท฾อนค฽านิยมของหน฽วยงานในการดาเนินงาน สุขศึกษา สามารถปรับเปลี่ยนได฾ตามสถานการณแของปัญหาสุขภาพ ช฽วยให฾ผ฾ูปฏิบัติสามารถกาหนดแนว ปฏบิ ตั ิในการดาเนินงานปรบั เปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพไดอ฾ ย฽างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบที่ 2 ทรัพยากรการดาเนินงานสุขศกึ ษาและพฒั นาพฤตกิ รรมสุขภาพ เพื่อใหอ฾ งคกแ รหน฽วยงานไดจ฾ ดั สรรทรัพยากรในการดาเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรม สุขภาพอย฽างเหมาะสมเพียงพอเพ่ือสนับสนุนการดาเนินปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพขอ งประชาชนใน พื้นทร่ี ับผดิ ชอบ ได฾อย฽างมีประสทิ ธิภาพ องค์ประกอบท่ี 3 ระบบขอ้ มูลสารสนเทศด้านการดาเนนิ งานสุขศกึ ษาและพัฒนา พฤติกรรมสขุ ภาพ เปน็ ระบบการบริหารจดั การขอ฾ มูลใหเ฾ กิดประโยชนสแ งู สดุ ต฽อการนาไปใช฾ มีวิธีการเกบ็ รวบรวมและจัดเก็บอยา฽ งเป็นระบบ มีความถูกต฾องครบถว฾ น เป็นปัจจบุ นั ตรวจสอบได฾ อ฾างอิงแหล฽งที่มาได฾ และมีการเชอ่ื มโยงข฾อมลู ระหวา฽ งเครอื ข฽ายในระบบบรกิ ารสุขภาพได฾ จาแนกฐานข฾อมลู 3 ด฾าน ดงั นี้ 3.1 ฐานข฾อมูลด฾านพฤติกรรมสุขภาพ 3.2 ฐานข฾อมูลดา฾ นสื่อสุขศึกษา 3.3 ฐานข฾อมูลด฾านเครือข฽ายการดาเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ หมวดที่ 2 กระบวนการดาเนินงาน ประกอบดว฾ ย องค์ประกอบที่ 4 แผนการดาเนนิ งานสุขศึกษาและพฒั นาพฤตกิ รรมสุขภาพ เปน็ เครือ่ งมือในการควบคมุ กากบั และประเมินผลความสาเร็จของงาน จึงเป็นเคร่ืองมือในการบริหารงาน โครงการและทรพั ยากรท่ีมีอยใ฽ู หเ฾ กิดประโยชนสแ งู สดุ องค์ประกอบที่ 5 กิจกรรมสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพเป็นการจัดกิจกรรม เพื่อให฾กลุ฽มเปูาหมายเกิดการเรียนรู฾และพัฒนาทักษะที่จาเป็นด฾านสุขภาพท่ีเป็นส฽วนขาด รวมท้ังพัฒนา ปัจจัยแวดล฾อมที่เอ้ือต฽อการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงคแ ทั้งในสถานบริการสาธารณสุขและในชุมชน โดยเน฾นให฾ประชาชนกลุ฽มเปูาหมายเป็นศูนยแกลางของการเรียนร฾ู และมีส฽วนร฽วมในการจัดการเรียนรู฾และ รว฽ มเรยี นรดู฾ ว฾ ย องค์ประกอบท่ี 6 การติดตามสนับสนุนการดาเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรม สุขภาพ เป็นการช฽วยเหลือ สนับสนุน ควบคุม กากับดูแล และตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ฾าหน฾าท่ี ผู฾ปฏิบัติงานให฾มีประสิทธิภาพ และถูกต฾องตามเปูาประสงคแขององคแกร และความต฾องการของประชาชน กลม฽ุ เปาู หมายมากท่สี ุด องค์ประกอบท่ี 7 การประเมินผลการดาเนินงานสุขศึกษาและพฒั นาพฤติกรรมสขุ ภาพ เป็นเคร่ืองมือในการบริหารแผนงานโครงการด฾วยการควบคุม กากับ สร฾างผลงานให฾ตรงกับวัตถุประสงคแ ของแผนงานและโครงการ เพ่ือใหท฾ ราบสถานการณแและผลการดาเนนิ งานสขุ ศึกษา หมวดที่ 3 กระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการประกอบด฾วย องค์ประกอบที่ 8 การเฝูาระวังพฤติกรรมสุขภาพเป็นกระบวนการศึกษาและวิเคราะหแ ตลอดจนเฝูาติดตามพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นสาเหตุหรือปัจจัยสาคัญของปัญหาสุขภาพ อย฽างต฽อเนื่องและ เป็นระบบ เพื่อประโยชนแสาหรับการดาเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ให฾ทันกับ สถานการณขแ องปัญหาสขุ ภาพทเี่ กดิ ขึน้ หรอื เปลยี่ นแปลงไป องคป์ ระกอบที่ 9 การวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้องกับสุขศกึ ษาและพฤตกิ รรมสขุ ภาพ สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั นราธิวาส หนา้ 88

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 เป็นกระบวนการหาคาตอบในการดาเนินงานด฾านพฤติกรรมสุขภาพเพ่ือพัฒนางานในระบบบริการสาธารณสุข ท่เี ก่ียวเนือ่ งกบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพของประชาชน หมวดที่ 4 ผลลัพธ์การดาเนนิ การประกอบด฾วย องคป์ ระกอบที่ 10 ผลลัพธ์การดาเนนิ งานสุขศึกษาและพฒั นาพฤติกรรมสุขภาพ เป็นการประเมินผลการดาเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสขุ ภาพจาแนกได฾ 3 ด฾าน คอื 10.1 ผลลพั ธดแ า฾ นผ฾ูรับบรกิ าร 10.2 ผลลพั ธดแ า฾ นชมุ ชน 10.3 ผลลพั ธดแ า฾ นพัฒนาคุณภาพบริการ นอกจากนี้ มาตรฐานงานสุขศึกษา ได฾กาหนดเกณฑแสาหรับการดาเนินงานท่ีต฽อเนื่องอีก 4 เกณฑแ ดังน้ี 1. ผู฾บริหารระดับสูงของหน฽วยงานมีส฽วนร฽วมในการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา ผู฾บริหาร ระดับสูงของหนว฽ ยงานมีสว฽ นรว฽ มในการพฒั นาคุณภาพงานสขุ ศึกษา 2. มีการแก฾ปัญหาพฤติกรรมตามปัญหาสาธารณสขุ ของพนื้ ท่ีตอ฽ เน่ือง จากปที ผี่ า฽ นการประเมิน 3. จานวนกลุ฽มเปูาหมายมีพฤติกรรมเสี่ยงลดลงหรือพฤติกรรมที่ถูกต฾องเพ่ิมข้ึนจากเดิม ใน ปีท่ีประเมิน (2 พฤติกรรม) 4. อัตราภาวะแทรกซ฾อนในกลุ฽มโรคไม฽ติดต฽อเรื้อรัง หรือจานวนผู฾ปุวยท่ีเกิดจากพฤติกรรม เสีย่ งต฽อโรคติดตอ฽ ในปีที่ตรวจประเมิน ตารางท่ี 48 เกณฑแการประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ระดับ มาตรฐานระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 1 1. สถานบรกิ ารสขุ ภาพมกี ารประเมินองคแกรตนเอง ครบ 2 ด฾าน และ 2. สถานบรกิ ารไดร฾ บั การเยีย่ มประเมนิ โดยคณะกรรมการฯ แต฽ ผลการเยี่ยมประเมิน ไม฽ผา฽ น เกณฑแ (คะแนนต่ากว฽าร฾อยละ 60) 2 ระดับ 2 1. สถานบริการสขุ ภาพมกี ารประเมนิ องคแกรตนเองครบ 2 ดา฾ น และ 2. สถานบริการได฾รบั การเยี่ยมประเมนิ โดยคณะกรรมการฯ มผี ลการเย่ยี มประเมนิ ผา฽ นเกณฑแ (คะแนนต้งั แต฽รอ฾ ยละ 60 ขึ้นไป) ระดบั 2 ดีมาก 1. สถานบรกิ ารสขุ ภาพมกี ารประเมินองคแกรตนเอง ครบ 2 ด฾าน และ 2. สถานบริการได฾รบั การเยย่ี มประเมินโดยคณะกรรมการฯ มผี ลการเย่ียมประเมนิ ผ฽านเกณฑแ (คะแนนตง้ั แตร฽ อ฾ ยละ 60 ขึน้ ไป) และ 3. มี Best Practice /นวัตกรรม อยา฽ งน฾อย 1 เร่ือง ในด฾านใดดา฾ นหนงึ่ 3 1. สถานบรกิ ารสุขภาพมีการประเมินองคแกรตนเอง และ ผลการประเมินตนเองผ฽านร฾อยละ 90 ท้งั 2 ด฾าน 2. สถานบริการสมคั รใจขอรับการเยีย่ มประเมินมาตรฐานระบบบรกิ ารสุขภาพทุกระบบทั้ง โรงพยาบาล 3. สถานบริการได฾รับการเย่ียมประเมินโดยคณะกรรมการฯ มผี ลการเย่ยี มประเมินทุกระบบ สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธิวาส หน้า 89

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ทงั้ โรงพยาบาล ผา฽ นเกณฑแ (คะแนนต้งั แต฽ร฾อยละ 90 ขึ้นไป) ประเมินองคแกรตนเอง ครบ 2 ด฾าน หมายถึง (1) ด฾านระบบการจัดการคุณภาพและความ ปลอดภัยด฾านอาคาร ส่งิ แวดล฾อมและเครื่องมอื แพทยใแ นโรงพยาบาล และ (2) ด฾านสขุ ศึกษา การเย่ียมประเมินโดยคณะกรรมการ หมายถึง ในปี 2562 คณะกรรมการเยี่ยมประเมินจะลง เย่ียมชมเฉพาะในตึกท่ีมีบริการผู฾ปุวยนอก (OPD) อุบัติเหตุฉุกเฉิน (ER) และสภาพแวดล฾อมของโรงพยาบาล (สาหรับการประเมนิ ตนเองโรงพยาบาลยงั คงต฾องประเมินทั้งระบบตามแบบท่ีกาหนด) หากผลการเย่ียมประเมิน ของคณะกรรมการได฾คะแนนร฾อยละ 60 ขน้ึ ไป ถือว฽าผ฽านเกณฑแมาตรฐานระบบบริการฯ ระดบั 2 และ 2 ดีมาก ในกรณีท่ีสถานบริการสุขภาพมีความประสงคแ จะขอรับการเยี่ยมประเมินทุกระบบท้ัง โรงพยาบาล สถานบรกิ ารสุขภาพต฾องแจง฾ ความจานงให฾คณะกรรมการเยี่ยมประเมินดาเนินการ และหาก ผลการเยย่ี มประเมนิ ไดค฾ ะแนนรอ฾ ยละ 90 ขน้ึ ไป ถือว฽าผ฽านเกณฑแมาตรฐานระบบบรกิ ารสุขภาพ ระดบั 3 Best Practice/นวัตกรรมอย฽างน฾อยด฾านใดด฾านหนึ่ง หมายถึง เป็น Best Practice/ นวัตกรรม ด฾านระบบการจัดการคุณภาพและความปลอดภัยด฾านอาคาร สิ่งแวดล฾อมและเครื่องมือแพทยแ ในโรงพยาบาล (มี 6 ด฾าน อาจเป็น Best Practice/นวัตกรรม ด฾านใดด฾านหน่ึงใน 6 ด฾าน และ/หรือ ด฾าน สุขศึกษา ซ่ึงอาจได฾รับการพัฒนามาต้ังแต฽ปีก฽อนปัจจุบัน และนามาต฽อยอดองคแความรู฾/ขยายผลในปี ปจั จุบนั กไ็ ด฾ ตารางที่ 49 แบบสรุปผา฽ นเกณฑแมาตรฐานระบบบรกิ ารสุขภาพ มาตรฐานระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ประเดน็ การ ผลเยย่ี มประเมนิ ตึกที่มบี ริการ ผลเยย่ี ม OPD/ER สภาพแวดลอ้ มทง้ั ประเมินทุก ประเมนิ รพ. ระบบท้ัง รพ. ผ่านระดับ 2 2 ดีมาก ระดบั 3 1.มฐ.ระบบการจัดการคุณภาพและความปลอดภยั ด้านอาคาร สภาพแวดลอ้ มและเคร่ืองมือแพทยใ์ น โรงพยาบาล 1.ดา฾ นระบบจัดการคุณภาพและ 8 เรือ่ ง/73 ข฾อ 60 % ขึ้นไป ร฾อยละ 90 ึข้นไป 90 % ข้ึนไป และ ีมbest practice /นวัตกรรมอย฽าง ฾นอย1 เรื่อง ( ฾ดานใด ฾ดาน ความปลอดภัย ห ึ่นง) 2.ด฾านอาคาร/สภาพแวดลอ฾ ม 7 เร่อื ง/147 ขอ฾ 60 % ขึน้ ไป 90 % ขน้ึ ไป 3.ด฾านความปลอดภัยในรงพยาบาล 21 เรอ่ื ง/60 ขอ฾ 60 % ข้นึ ไป 90 % ขน้ึ ไป 4. ด฾านส่งิ แวดลอ฾ มในโรงพยาบาล 15 เรือ่ ง/48 ขอ฾ 60 % ขน้ึ ไป 90 % ข้นึ ไป 5.ด฾านการส่อื สาร 6 เรอื่ ง/20 ข฾อ 60 % ข้นึ ไป 90 % ขน้ึ ไป 6.ด฾านเครื่องมอื แพทยแ 5 เร่ือง/19 ข฾อ 60 % ข้นึ ไป 90 % ขึ้นไป 2. มฐ.งานสุขศกึ ษา 2.1 หมวดบรหิ ารจัดการ 3 เรื่อง(อป.1,2,3) 60 % ขึ้นไป 90 % ขึน้ ไป 18 ขอ฾ จาก 20 ข฾อ จาก 41 ขอ฾ ของ 2.2 หมวดกระบวนงาน อป.1-10 4 เรอื่ ง(อป. 4,5,6,7) อป. 3 (11 ข฾อ) (ขอบเขต รพศ/ 2.3 หมวดคุณภาพงาน 13 ข฾อ อป. 4 (5 ข฾อ) รพท, รพช. อยา฽ งนอ฾ ย 5,4 2 เรอ่ื ง (อป.8,9) อป.5 (3 ข฾อ) 6 ข฾อ สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดนราธิวาส หนา้ 90

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 2.4 หมวดผลลพั ธแ 1 เรื่อง (อป.10) 4 อป.7 (1 ข฾อ ) ปญั หา ขอ฾ สาธารณสุข ตามลาดับ จังหวัดนราธิวาส มีการดาเนินงานมาตรฐานงานสุขศึกษา จากการเยี่ยมประเมินมาตรฐาน ระบบบริการสขุ ภาพ ปี 2562 พบวา฽ ตารางท่ี 50 รพท.และรพช. ผา฽ นมาตรฐานสุขศึกษาจากสานักงานสนับสนุนบริการสขุ ภาพ ปี 2562 จังหวัดนราธวิ าส สถานบริการ ระดบั พืน้ ฐาน ผลการประเมิน สาธารณสขุ มาตรฐานระบบบรกิ ารสุขภาพ ระดบั พัฒนา ระดบั คุณภาพ รพ.ทีผ่ ่านการประเมิน รพท. - / รพ.นราธวิ าสราชนครินทรแ ร฾อยละ / รพ.สุไหงโก-ลก รพช. - / รพ.ระแงะ / รพ.ตากใบ / รพ.รือเสาะ / รพ.สุไหงปาดี / รพ.แว฾ง / รพ.บาเจาะ / รพ.ย่งี อฯ / รพ.เจาะไอร฾อง / รพ.ศรสี าคร / รพ.จะแนะ / รพ.สคุ ริ ิน ท่ีมา: ประเมนิ โดยสานกั งานสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพเขต 12 จงั หวดั สงขลา โปรแกรม H4S 5. โอกาสพัฒนาตอ่ ไป 5.1 ในปี 2562 จังหวัดนราธิวาสแนวทางในการประเมินมาตรฐานงานสุขศึกษา โดย นโยบายในระดับเกี่ยวกับการประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพแบบบูรณาการ โดยมีมาตรฐาน สขุ ศกึ ษา มาตรฐานด฾านวิศวกรรม และมาตรฐานด฾านอาคารสถานท่ี เพื่อสง฽ ผลให฾การดาเนินงานมาตรฐาน สขุ ศึกษามปี ระสิทธภิ าพมากยิง่ ขึน้ 5.6 รอ้ ยละของประชาชนมีการรับรูข้ า่ วสารด้านสาธารณสขุ ปี 2562 (รอ้ ยละ 80) 1. สถานการณแ์ ละสภาพปัญหา ปัญหาทางด฾านสุขภาพของประชาชนเป็นปัญหาหนึ่งที่สาคัญของจังหวัดนราธิวาส ซ่ึงต฾อง ได฾รับการดูแลช฽วยเหลือ และแก฾ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนตามบริบทของแต฽ละพื้นท่ี การ สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั นราธิวาส หนา้ 91

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ประชาสัมพันธแข฾อมูลข฽าวสารสาธารณสุข จึงเป็นแนวทางหน่ึงท่ีสามารถให฾ประชาชนเกิดการรับรู฾และ มี ทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง เพ่ือให฾เกิดการปรับเปล่ียนพฤติกรรมไปในทางท่ีดีข้ึน ยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนในจังหวัดนราธิวาสให฾มีสุขภาพดี อยู฽ในสังคมอย฽างมีความสุข ดังนั้น การ ประชาสัมพันธแผ฽านส่ือต฽างๆ จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ทาให฾ประชาชนได฾รับร฾ูข฾อมูลข฽าวสารสาธารณสุขได฾ใน หลายๆ ช฽องทาง ไม฽ว฽าจะเป็น ส่ือวิทยุ สื่อส่ิงพิมพแ สื่อโทรทัศนแ ส่ืออิเล็กทรอนิกสแ สื่อบุคคลและอ่ืนๆ นอกจากนน้ั การสรา฾ งกระแสสังคมยงั เปน็ อกี แนวทางหน่ึงทส่ี ามารถกระตุ฾นให฾สังคม ประชาชนในพ้ืนท่ีเห็น ความสาคัญในเร่ืองสุขภาพที่ดีของตนเอง เพ่ือนาไปสู฽การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเกิดการปฏิบัติตัวที่ ถูกต฾อง 2. การบริหารจัดการ 2.1 สร฾างแบบสอบถามในการประเมินการรับร฾ูข฾อมูลข฽าวสารด฾านสาธารณสขุ 2.2 ส฽งแบบสอบถามให฾กับโรงพยาบาล และสาธารณสุขอาเภอ เพื่อให฾ประชาชนตอบ แบบสอบถามฯ ตามเปูาหมายที่กาหนด 2.3 โรงพยาบาล และสาธารณสุขอาเภอ ให฾ประชาชนตอบแบบสอบถามฯ และรวบรวม สง฽ กลับใหก฾ ลม฽ุ งานพัฒนาคณุ ภาพและรปู แบบบริการ เพอื่ ประเมินผล 2.4 บันทกึ ข฾อมลู และประเมินผลการรบั ร฾ูข฾อมลู ขา฽ วสารดา฾ นสาธารณสขุ 2.5 สรุปผลการประเมนิ การรบั ร฾ขู ฾อมลู ข฽าวสารดา฾ นสาธารณสขุ 3. ผลการดาเนินงาน จากการสารวจแบบสอบถามประเมินการรับรู฾ข฾อมูลข฽าวสารด฾านสาธารณสุข จานวนทั้งส้ิน 520 ชุด ประชาชนมกี ารรบั รู฾ข฾อมลู ขา฽ วสารดา฾ นสาธารณสุข จานวน 405 คน คิดเป็นร฾อยละ 77.8 และได฾รับ มากที่สุดจากแหล฽งวิทยุ ร฾อยละ 42.7 รองลงมา คือ ปูายประกาศ/ปูายโฆษณา ร฾อยละ 34.5 เจ฾าหน฾าที่ สาธารณสุข รอ฾ ยละ 32.8 และอสม. ร฾อยละ 31.6 ตามลาดบั - ช฽องทางการรับร฾ูข฾อมูลข฽าวสารด฾านสาธารณสุข ระดับความพึงพอใจมาก ได฾แก฽ วิทยุ ร฾อยละ 48.6 รองลงมา คอื ปูายประกาศ/ปูายโฆษณา ร฾อยละ 44.2 ระดับความพึงพอใจปานกลาง ได฾แก฽ แผ฽นพับ ร฾อยละ 33.5 รองลงมา คือ โปสเตอรแ ร฾อยละ 32 และระดับความพึงพอใจนอ฾ ย ได฾แก฽ นิทรรศการ รอ฾ ยละ 30 ตามลาดับ - ความรู฾เกี่ยวกับงานสาธารณสุขที่ได฾รับฟัง ได฾แก฽ โรคไข฾เลือดออก ร฾อยละ 52.9 รองลงมา คอื โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสงู รอ฾ ยละ 49.5 และยาเสพติด ร฾อยละ 46.6 ตามลาดับ - ความร฾ูเกี่ยวกับงานสาธารณสุขท่ีได฾รับฟัง อย฽ูในระดับความรู฾มาก คือ โรคไข฾เลือดออก ร฾อยละ 48.7 อย฽ูในระดับความรู฾ปานกลาง คือ โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ร฾อยละ 39.6 และ ยาเสพตดิ รอ฾ ยละ 37.5 4. ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 4.1 ประชาชนตอบแบบสอบถามไม฽ครบถ฾วน 4.2 แบบสอบถามอาจมีประเด็นขอ฾ คาถามท่ยี ังไมค฽ ฽อยชดั เจน 5. โอกาสพฒั นาตอ่ ไป สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส หนา้ 92

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 5.1 มีการประชาสัมพันธแข฽าวสารความร฾ูเกี่ยวกับโรคต฽างๆ ท่ียังเป็นปัญหาสาธารณสุขใน พืน้ ท่ใี ห฾เขา฾ ถึงทกุ กล฽ุมเปาู หมาย และเพมิ่ ช฽องทางให฾หลากหลายมากข้ึน 5.2 มกี ารผลิตสอ่ื ประชาสมั พันธหแ ลากหลายรูปแบบมากขน้ึ 5.3 มกี ารพัฒนาแบบสอบถามฯ ใหม฾ รี ายละเอยี ดท่ีชดั เจนและครบถ฾วน 5.7 การดาเนนิ งานตาบลจัดการสุขภาพแบบบรู ณาการ 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา จังหวัดนราธิวาส ประกอบด฾วย 13 อาเภอ 77 ตาบล 15 เทศบาล และ 589 หม฽ูบ฾าน ซึ่งใน เกณฑแชี้วัดการดาเนินงานตาบลจัดการสุขภาพแบบ ผ฽านเกณฑแระดับดี ไม฽น฾อยกว฽า ร฾อยละ 70 สานักงาน สาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ได฾กาหนดเปูาหมายในการดาเนินการในทุกตาบลตาบล รวม 77 ตาบล ซ่ึง เป็นตาบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ คือ ตาบลท่ีมีการจัดการระบบสุขภาพของคนในชุมชน เพื่อให฾ ชุมชนมีความเข฾มแข็งสามารถจัดการปัญหาและเป็นเจ฾าของระบบสุขภาพได฾ด฾วยตนเอง ภายใต฾การ สนบั สนุนการใชเ฾ ทคโนโลยี บุคลากร งบประมาณ ทรัพยากร และภูมิปัญญาที่มีอยู฽ในชุมชนหรือจากแหล฽ง อ่ืนๆ มาจัดกระบวนงานการสร฾างความร฾ูความเข฾าใจ และสร฾างการมีส฽วนร฽วมตลอดจนสร฾างความร฽วมมือ ระหว฽างสาขาจากทุกภาคส฽วนในตาบล อาทิเช฽น เทศบาล องคแการบริหารส฽วนตาบลภาคประชาชน เจ฾าหน฾าที่สาธารณสุข เพ่ือจัดทาแผนสุขภาพตาบลท่ีมีความสัมพันธแในหลายมิติ นาสู฽การพัฒนาบทบาท ภาคประชาชน และกอ฽ ให฾เกิดการแลกเปล่ียนเรยี นร฾ูท่ีเป็นนวัตกรรม ท้ังในด฾านนวัตกรรมกระบวนการและ นวตั กรรมผลผลติ อันจะสง฽ ผลใหเ฾ กดิ การปรับเปลยี่ นพฤติกรรมสขุ ภาพของประชาชนในระยะยาว 2. การบรหิ ารจดั การ 2.1 รบั นโยบายจากสานักงานสนับสนุนบริการสุขภาพ เขต 12 จังหวดั สงขลา 2.2 ประชมุ ชแ้ี จงตัวชวี้ ดั แก฽ผร฾ู ับผิดชอบงานสขุ ภาพภาคประชาชน 2.3 จดั อบรมเจา฾ หน฾าทแี่ ละอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหม฽บู ฾าน 2.4 ตรวจสอบและตดิ ตามการบนั ทกึ ข฾อมลู ตาบลจดั การสขุ ภาพ ทางเวบ็ ไซตแ www.thaiphc.net 2.5 สรปุ ผลและส฽งขอ฾ มลู ยอ฾ นกลบั ให฾ทกุ อาเภอไดด฾ าเนินการในส฽วนขาดและวิเคราะหแผลการ ดาเนนิ งาน 3. ผลการดาเนนิ งาน ผลการประเมินตาบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ปี 2562 โดยผลการประเมินผ฽านตาม เกณฑแตัวชี้วัด คือ ผ฽านเกณฑแระดับดีข้ึนไป คิดเป็นร฾อยละ 100 (เปูาหมาย ร฾อยละ 70) รายละเอียดดัง ตาราง สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส หนา้ 93

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ตารางท่ี 51 ผลการดาเนินงานตาบลจัดการสขุ ภาพ ปี 2562 แยกรายอาเภอ ตาบลเปูาหมายจดั การดา้ นสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด อาเภอ จานวน จานวน จานวน ไมผ่ า่ น ผา่ น ตาบล ตาบล ตาบล จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ เมืองนราธิวาส ทั้งหมด ท่ยี ังไม่ ทั้งหมด ตากใบ ประเมิน บาเจาะ ย่งี อ 7 - 7 0 0.00 7 100.00 ระแงะ รอื เสาะ 8 - 8 1 12.50 7 87.50 ศรสี าคร แวง฾ 6 - 6 0 0.00 6 100.00 สคุ ริ นิ สไุ หงโก-ลก 6 - 6 0 0.00 6 100.00 สไุ หงปาดี จะแนะ 7 - 7 0 0.00 7 100.00 เจาะไอร฾อง 9 - 9 0 0.00 9 100.00 รวม รอ้ ยละ 6 - 6 5 83.33 1 16.67 6 - 6 0 0.00 6 100.00 5 - 5 4 80.00 1 20.00 4 - 4 2 50.00 2 50.00 6 - 6 5 83.33 1 16.67 4 - 4 0 0.00 4 100.00 3 - 3 0 0.00 3 100.00 77 0 77 17 - 60 - 0 50.65 22.28 25.97 77.92 ที่มา: รายงานผลการดาเนนิ งานตาบลจัดการสุขภาพ ประจาปี 2562 จงั หวดั นราธิวาส (www.thaiphc.net) 4. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ หน้า 94 4.1 ปญั หาอุปสรรค 4.1.1 ไม฽มีงบประมาณสนับสนนุ ในการดาเนินงาน 4.1.2 การดาเนินงานสว฽ นใหญห฽ น฽วยงานสาธารณสขุ เป็นผ฾ูดาเนนิ การ 4.1.3 การสนับสนนุ ส่ือในการดาเนนิ งานไมพ฽ อเพียง 4.2 ขอ้ เสนอแนะ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 4.2.1 แต฽งตงั้ คณะกรรมการประเมินระดับอาเภอ และจังหวัด 4.2.2 ใช฾งบประมาณจากกองทุนตาบลมาใชใ฾ นการดาเนนิ งาน 4.2.3 สานักงานสนับสนุนบริการ เขต 12 จังหวัดสงขลา ควรติดตามการดาเนินการ ตาบลจดั การแบบบรู ณาการเป็นระยะๆ รว฽ มกบั จังหวัด และเพอื่ ทราบปัญหาท่ีแทจ฾ รงิ 5. โอกาสพฒั นาต่อไป 5.1 ก฽อใหเ฾ กดิ การประสานงานท่ดี ีกับท฾องถ่ินในหลายภาคี เชน฽ อบต. อสม. ผ฾ูนาทอ฾ งถิน่ เป็นตน฾ 5.2 ชมุ ชนสามารถจัดการสุขภาพได฾ โดยการคนื ขอ฾ มลู สุขภาพใหก฾ ับพื้นท่ี 5.8 งานพัฒนาระบบส่งตอ่ 1. สถานการณแ์ ละสภาพปัญหา ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได฾มีแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โดยมุ฽งเน฾น พัฒนาระบบบริการทุกระดับต้ังแต฽ระดับปฐมภูมิ ระดับทุติยภูมิ ระดับตติยภูมิ รวมถึงการพัฒนาความ เชี่ยวชาญระดับสูง การสร฾างระบบเครือข฽ายบริการที่เชื่อมโยงกันในระดับจังหวัดและภายในเขตสุขภาพ โดยมกี รอบแนวคิด คือ 1) เครือข฽ายบริการไร฾รอยต฽อ (Seamless Health Service Network) 2) แนวคิด การพัฒนาเครือข฽ายบริหารระดับจังหวัด (Province Health Service Network) 3) การจัดให฾มี โรงพยาบาลรับผ฾ูปุวยส฽งต฽อ (Referral Hospital cascade) เพื่อใช฾ทรัพยากรในเครือข฽ายท่ีมีจากัดให฾มี ประสิทธิภาพสูงสุด หลีกเลียงการลงทุนซ้าซ฾อนและขจัดสภาพการแข฽งขัน ท฽ามกลางทรัพยากรท่ีมีอย฽ูอย฽าง จากดั รวมถงึ การจัดบรกิ ารดูแลรักษาพยาบาลผูป฾ ุวยยังมีศักยภาพที่ไม฽เท฽าเทียมกันใน แต฽ละเขตสุขภาพ การ ส฽งต฽อผู฾ปุวยไปดูแลรักษาพยาบาลในสถานบริการที่มีศักยภาพสูงกว฽าและมีการส฽งต฽อผู฾ปุวยออกนอกเขต สุขภาพของตนเองมีแนวโน฾มเพ่ิมสูงขึ้นในแต฽ละปี จึงจาเป็นที่จะต฾องมีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขา ตา฽ งๆ ในแต฽ละเขตสขุ ภาพ และพฒั นาระบบส฽งต฽อให฾มีประสิทธิภาพยิง่ ข้ึนอย฽างต฽อเน่ือง ในการดาเนินการที่ผ฽านมา กระทรวงสาธารณสุข ได฾มีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพทางด฾าน การดแู ลรักษาทตี่ ฾องใช฾ความเชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา ได฾แก฽ โรคหัวใจ โรคมะเร็ง อุบัติเหตุและฉุกเฉิน และ ทารกแรกเกิด การพัฒนาศักยภาพ โครงสร฾างพื้นฐานที่จาเป็น รวมท้ังการใช฾ทรัพยากรอย฽างค฾ุมค฽าด฾วยการ พัฒนาความร฽วมมือในการดูแลสุขภาพอย฽างเป็นระบบ เพ่ือให฾ประชาชนสามารถเข฾าบริการได฾อย฽างท่ัวถึง ทัดเทียม และเบด็ เสร็จภายในเครือข฽าย ผลการดาเนินงานปี 2562 การส฽งต฽อภายในจังหวัด 19,451 ราย การส฽งต฽อภายในเขต 2,075 ราย การส฽งต฽อนอกเขต 31 ราย การส฽งต฽อส฽วนกลาง 46 ราย รวมส฽งต฽อทั้งหมด 21,603 ราย ไม฽มี การถูกปฏิเสธ ในทุกระดับ ภาพรวมการส฽งต฽อพบว฽าแนวโน฾ม การส฽งต฽อนอกเขตสุขภาพ 4 สาขา ได฾แก฽ โรคหวั ใจ โรคมะเรง็ อุบัติเหตุและฉุกเฉิน และทารกแรกเกิดคิดเปน็ ร฾อยละลดลง 26.9 รายละเอียดดงั ตาราง สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั นราธิวาส หนา้ 95

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ตารางท่ี 52 ผลการดาเนนิ งานตรวจราชการปี 2562 ส่งต่อผปู้ ุวยนอกเขตสุขภาพ ส่งตอ่ ผู้ปุวยนอกเขตสุขภาพ ส่งตอ่ ผูป้ ุวยนอกเขตสุขภาพ สง่ ต่อผูป้ ุวยนอกเขตสุขภาพ (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) (ไตรมาส 3) (ไตรมาส ๔) Service Plan ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ สาขา 2561 2562 2561 2562 2561 2562 2561 2562 (1 ต.ค. 60– (1 ต.ค. 61 – (1 ม.ค. 61- (1 ม.ค. 62- (1 เม.ย. 61- (1 เม.ย.62- (1 ก.ค. 61- (1 ก.ค.62– 31 ธ.ค. 60) 31 ธ.ค. 61) 31 ม.ี ค. 61) 31 มี.ค. 62) 30 ม.ิ ย. 61) 30 มิ.ย. 62) 30ก.ย. 61) 30ก.ย. 62) โรคหัวใจ(รหสั 9 6 8 3 8 5 5 4 I20 – I 25) โรคมะเรง็ (รหสั 1 1 3 -2 -0 8 3 2 C และ D) อบุ ัตเิ หตุและ 0 0 0 0 0 0 0 0 ฉกุ เฉนิ (รหสั V01 - Y98 ) ทารกแรกเกิด 0 0 0 0 0 0 0 0 (รหสั วินิจฉยั ที่ เด็กอายนุ อ฾ ย กว฽าหรอื เท฽ากบั 28 วัน เทียบกบั วนั เกิดแฟูม PERSON) รวม 10 7 11 5 8 13 8 6 2. การบริหารจัดการ การพัฒนาระบบส฽งต฽อ บริหารจัดการภายใต฾คณะกรรมการพัฒนาระบบส฽งต฽อจังหวัด นราธิวาส มีการขับเคล่ือน โดยใช฾ยุทธศาสตรแดังน้ี 2.1 การพฒั นาระบบงานและการเช่ือมโยงบริการการส฽งต฽อผู฾ปุวย ระหว฽าง โรงพยาบาล รพ.สต. รวมท้ังการจัดระบบ Fast track และ/หรือ Network ต฽างๆ ได฾แก฽ Trauma Network, Newborn Network ฯลฯ รวมท้ังการวางระบบ Case Manager ในกลุม฽ โรคเร้ือรัง ใน รพท. รพช. และรพ.สต. เพ่ือนาไปส฽ูการ จดั บรกิ ารแบบไร฾รอยตอ฽ ภายในเขต ภายในจงั หวัด และลดความแออัดในโรงพยาบาล 2.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากร โดยจัดให฾มี Referal Audit/Referal conference ในกลุ฽มโรค ทพ่ี บปญั หาขณะส฽งตอ฽ โดยจัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนร฾ู หรือ KM ปีละ 2 คร้ังรว฽ มกบั การจดั ประชุม คณะกรรมการ สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส หนา้ 96

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 พัฒนาระบบส฽งต฽อ มีการนาเสนอปัญหาและข฾อเสนอแนะ ซึ่งจะนาไปสู฽กระบวนการ จัดอบรมและให฾ คาปรกึ ษาเฉพาะดา฾ น ในหัวข฾อที่เป็นปญั หา 2.3 พัฒนาระบบข฾อมูลและระบบประสานการส฽งต฽อโดยการจัดทาแนวทางการส฽งต฽อผ฾ูปุวย จดั ทาทาเนยี บแพทยแผ฾เู ชย่ี วชาญแตส฽ าขาในระดบั เครือข฽าย เพ่ือความสะดวกในการประสานการส฽งต฽อเป็น รายปี 3. ผลการดาเนินงาน ปงี บประมาณ 2562 ทางจังหวดั นราธวิ าส ไดม฾ ีการวางแผนในการจัดประชุมระบบการส฽งต฽อ ในทุกสาขาของService Planเพ่ือแลกเปล่ียนข฾อมูลด฾านวิชาการและประเด็นปัญหาที่พบ อีกท้ังยังสร฾าง ความเขา฾ ใจและความร฽วมมอื ไปในทิศทางเดยี วกัน 4. ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 4.1 ปญั หาอุปสรรค 4.1.1 ขาดแคลนอัตรากาลังในศูนยแส฽งต฽อ ไม฽มีการจัดต้ังศูนยแประสานการส฽งต฽อ ท่ีแยก กรอบและอตั รากาลงั ทช่ี ัดเจน เพิม่ ภาระงานให฾ผู฾รบั ผิดชอบ 4.1.2 โปรแกรม Thai Refer ตอบสนองกับการปฏิบัติงานจริงได฾น฾อย ยังไม฽มีการขยาย ลงไปส฽ู โรงพยาบาลส฽งเสริมสขุ ภาพตาบล 4.1.3 พยาบาลที่เปน็ ผ฾ูจัดการรายกรณเี กี่ยวกับดแู ลผ฾ูปุวยติดเชื้อในกระเสโลหิต (sepsis) มีน฾อย และไมเ฽ คยผา฽ นการอบรมเฉพาะทาง ทาให฾การบรหิ ารจดั การการดูแลผู฾ปุวยท้ังหมดยงั ไม฽ครอบคลมุ 4.1.4 แพทยแมีการหมุนเวียนตลอด และบางรายไม฽มีความเชียวชาญในการดูแลผู฾ปุวย ตดิ เช้ือในกระเสโลหิต (sepsis) ทาให฾การดแู ลผป฾ู วุ ยทัง้ หมดยงั ถูกตอ฾ งตาม protocol 4.1.5 ผูป฾ ุวยหรือญาติตอ฾ งการไปรกั ษานอกเขต 4.2 แนวทางแก฾ไข 4.2.1 ผ฾ูบริหารควรให฾ความสาคัญในการดาเนินงานของศูนยแประสานการส฽งต฽อผ฾ูปุวย อย฽างเปน็ รปู ธรรม โดยการสนบั สนุนอตั รากาลงั และงบประมาณในการดาเนนิ งาน 4.2.2 ควรปรับปรุงโปรแกรม Thai Refer ให฾สมบูรณแย่ิงขึ้น ขยายลงไปสู฽ โรงพยาบาล ส฽งเสรมิ สุขภาพตาบล 4.2.3 ควรเพ่มิ อตั รากาลงั พยาบาลที่ดูแลผ฾ูปวุ ยตดิ เชือ้ ในกระแสเลือด (sepsis) และมีการ อบรมเพ่ิมศกั ยภาพบคุ ลากรดว฾ ย 5. โอกาสพัฒนาตอ่ ไป 5.1 กาหนดการพัฒนาระบบส฽งต฽อ ผ฽าน ช฽องทาง ระบบ Service Plan รายสาขา ซ่ึงมีส฽วน ชว฽ ยในการพฒั นาระบบส฽งตอ฽ ท้งั ด฾านการจดั ทาแผนงาน การพฒั นาบคุ ลากร และการวางแผนงบลงทุน 5.2 พัฒนาระบบเฝูาระวัง การจัดการระบบส฽งต฽อ ท้ังโดยกระทรวง และโดยเขตเครือข฽าย บริการ เพอื่ ขับเคล่ือนงานพัฒนาระบบส฽งตอ฽ และแก฾ไขปญั หาอปุ สรรคท่เี กิดขึ้นอย฽างต฽อเนอื่ ง 5.3 ทาให฾การส฽งต฽อผู฾ปวุ ยนอกเขตสุขภาพลดลง 5.4 การดาเนินการเช่ือมโยงฐานขอ฾ มูลสง฽ ต฽อ สามารถนามาวเิ คราะหแข฾อมูลเชงิ ลกึ ได฾ 5.5 ทีมงานเครือข฽ายที่เข฾มแข็งภายในเขตสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส หนา้ 97

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 5.6 ประชาชนจะได฾การรักษาท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ิมขนึ้ 5.9 งานพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ (PMQA) 1. สถานการณ์และสภาพปจั จบุ นั สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได฾กาหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการองคแกร ประจาปีงบประมาณพ.ศ.2562 โดยนาเกณฑแคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) มาใช฾เป็นเคร่ืองมือในการขับเคล่ือนการพัฒนาองคแกร ซ่ึงในปี พ.ศ.2562 ได฾กาหนดเป็นตัวชี้วัดระดับ ความสาเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส฽วนราชการในสังกัดสานักงาน ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ตามแผนยทุ ธศาสตรชแ าติ ระยะ 20 ปี (ด฾านสาธารณสุข) ยุทธศาสตรแที่ 4 บริหาร เป็นเลิศด฾วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) แผนงานท่ี 11 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและ องคแกรคุณภาพ โครงการที่ 39 โครงการพัฒนาองคแกรคุณภาพ ตัวช้ีวัดที่ 63 ระดับความสาเร็จของการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของส฽วนราชการในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและได฾ กาหนดเป็นตัวชี้วัดในคารับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement) ของผ฾ูตรวจกระทรวง สาธารณสขุ มีเปาู หมายการดาเนนิ การระยะ 5 ปี กาหนดการดาเนินการภาคบังคับปีละ 2 หมวด ในระยะ 3 ปี โดยในประจาปีงบประมาณพ.ศ.2562 กาหนดการดาเนินการภาคบังคับในหมวด 2 และ หมวด 4 ให฾ มีการดาเนินการในสานักงานสาธารณสุขอาเภอและสานักงานสาธารณสุขจังหวัด มีเปูาหมายระดับ ความสาเร็จของการดาเนินการในระดับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด และสานักงานสาธารณสุขอาเภอใน ภาพรวมประเทศ คดิ เป็นร฾อยละ 70 และ 40 ตามลาดับ 2. การบรหิ ารจัดการ 2.1 จัดทาโครงการส฽งเสริมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ของ สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดนราธวิ าสปงี บประมาณ 2562 ซึ่งมีกจิ กรรมดงั นี้ 2.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) แก฽บุคลากรสาธารณสุขของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาสสานักงานสาธารณสุขอาเภอและ หน฽วยงานในสงั กดั เพ่อื ดาเนนิ การประเมนิ องคกแ รตามแบบฟอรแมต฽างๆ ที่กาหนด จนได฾แผนการดาเนินการ และตัวช้ีวัดในการปรับปรุงแก฾ไขการบรหิ ารจดั การ 2.3 ดาเนินการตามแผนการดาเนินการเพ่ือนาผลการดาเนินการไปตอบตัวชี้วัดรายไตรมาส จนสิ้นสุดการดาเนนิ การ 2.4 มีการติดตามผลการดาเนินการของแต฽ละสานักงานสาธารณสุขเป็นรายไตรมาสเพ่ือ นามาสรุปเป็นภาพรวมของจังหวัดต฽อไป 3. ผลการดาเนินการ - ระดับสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธวิ าสมีผลการดาเนนิ การ คดิ เปน็ ร฾อยละ 100 - ระดับสานักงานสาธารณสุขอาเภอที่ผ฽านการดาเนินการ 13 แห฽ง จากท้ังหมด 13 แห฽ง คิดเป็น รอ฾ ยละ 78.40 ภาพรวมท้งั จงั หวดั คิดเปน็ ร฾อยละ 79.90 จากการวิเคราะหแสถานการณแข฾างต฾น พบว฽า ในปีงบประมาณ 2562 การดาเนินการในแต฽ละปี ดาเนินการปีละ 2 หมวด ทาให฾ต฾องใช฾เวลาในการทาความเข฾าใจในเน้ือหาการดาเนินงานของ PMQA สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส หนา้ 98

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ส฽งผลทาให฾การดาเนินการจัดทาเอกสาร PMQA ในบางอาเภอ ที่ประกอบในแบบฟอรแมมีเนื้อหาท่ีไม฽ ครบถว฾ นสมบูรณแ ตารางท่ี 53 แสดงผลการดาเนนิ งานพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การภาครฐั (PMQA) แยกรายอาเภอ คปสอ. ปี 2561 ปี 2562 ฐาน ผลงาน อตั รา ฐาน ผลงาน อัตรา เมือง 5 5 100 5 3.5 70 สุไหงโก-ลก 5 5 100 5 5 100 ระแงะ 5 5 100 5 3.025 60.50 ตากใบ 5 5 100 5 4 80 รือเสาะ 5 5 100 5 3.875 77.50 สุไหงปาดี 5 5 100 5 4 80.00 แว฾ง 5 5 100 5 4.3 86.00 บาเจาะ 5 5 100 5 2.325 46.50 ยง่ี อ 5 5 100 5 3 60.00 เจาะไอรอ฾ ง 5 2 50 5 5 100 ศรสี าคร 5 1 25 5 5 100 จะแนะ 5 1 25 5 4.375 87.50 สุคริ ิน 5 4 100 5 3.525 70.50 สสจ.นราธิวาส 5 4 100 5 5 100 รวมทั้งหมด 5670 57 81.42.2 70 55.93 79.90 ท่มี า: การรวบรวมข฾อมูลของ สสจ.นราธวิ าส ปี 2561 และ http://pmqa.moph.go.th ปี 2562 4. ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 4.1 ความเร฽งรีบจากระยะเวลาที่กระชั้นชิด ทาให฾การทาความเขา฾ ใจในการดาเนนิ งานของ PMQA การเตรยี มข฾อมูลต฽างๆ ไมด฽ เี ท฽าที่ควร ทาให฾การลงข฾อมลู ในฟอรแมต฽างๆ ไม฽ครบถ฾วนสมบรู ณแ 4.2 ภาระงานทีต่ ฾องเรง฽ ด฽วนในช฽วงเวลาท่ีต฾องดาเนนิ การทา PMQA 4.3 ขาดผเ฾ู ชยี่ วชาญ/ทมี พเ่ี ลยี้ งในการตรวจสอบความถกู ต฾อง สมบูรณขแ องขอ฾ มลู 5. โอกาสพัฒนาต่อไป 5.1 พฒั นาศักยภาพบุคลากรท้ังในระดับจังหวัดและระดับอาเภอในการการพัฒนาคุณภาพการ บรหิ ารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 3 และ หมวด 6 ให฾มีความร฾ู ความเข฾าใจทถี่ กู ตอ฾ ง 5.2 จดั ตงั้ ทีมพี่เลีย้ งนเิ ทศติดตามระดับจงั หวัดและระดับอาเภอในการตรวจสอบเอกสาร PMQA ในแต฽ละแบบฟอรแมใหม฾ คี วามถูกต฾อง ครบถ฾วนสมบรู ณแ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส หนา้ 99

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 6. กลุ่มงานทรัพยากรบคุ คล 6.1 การบริหารและจัดการทรัพยากรบคุ คล 1. สถานการณแ์ ละสภาพปญั หา - ด฾านอัตรากาลังของบุคลากรในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส มีจานวน บุคลากรท้ังส้ิน 4,542 ราย ประกอบด฾วย ข฾าราชการ จานวน 3,081 ราย ลูกจ฾างประจา จานวน 224 ราย พนกั งานราชการ จานวน 181 คน พนักงานกระทรวงสาธารณสุข จานวน 873 ราย ลกู จา฾ งชั่วคราว จานวน 183 คน ด฾วยจังหวัดนราธิวาสประสบกับปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรบุคคล โดยในส฽วนของ โรงพยาบาลทุกแห฽งขาดแคลนบุคลากรสายวิชาชพี สาขาทสี่ าคญั ได฾แก฽ นกั รังสีการแพทยแ/เจ฾าพนักงานรังสี การแพทยแ นักโภชนาการ/โภชนากร และเจ฾าพนักงานเภสัชกรรม แต฽วิชาชีพท่ีเกินกรอบอัตรากาลัง คือ พยาบาลวิชาชีพ เจ฾าพนักงานโสตทัศนศึกษา และนักจิตวิทยา ในส฽วนของสานักงานสาธารณสุขอาเภอ มโี รงพยาบาลสง฽ เสรมิ สขุ ภาพตาบล จานวน 111 แห฽ง ขาดแคลนบุคลากรสายวิชาชีพสาขาที่สาคัญ ได฾แก฽ และแพทยแแผนไทย/เจา฾ พนักงานสาธารณสุข(อายรุ เวท) - ดาเนนิ การคดั เลือกเพ่ือบรรจุและต้ังแต฽งบุคคลเข฾ารับราชการ จานวน 2 ตาแหน฽ง 6 อัตรา ได฾แก฽ ตาแหนง฽ เจ฾าพนกั งานเภสชั กรรมจานวน 4 อัตรา และตาแหนง฽ เจ฾าพนักงานเวชสถิติ จานวน 2 อัตรา และได฾เรียกบัญชีผ฾ูสอบคัดเลือกได฾เพ่ือบรรจุและต้ังแต฽งบุคคลเข฾ารับราชการ ในตาแหน฽ง เจ฾าพนักงาน ทนั ตสาธารณสุข จานวน 5 อัตรา - ดาเนนิ การสรรหาพนักงานราชการ ในตาแหนง฽ เจ฾าพนักงานการเงินและบัญชี 1 จานวน 1 ตาแหน฽ง 1 อตั รา - การจดั สรรนกั เรียนทุนตาแหน฽งเพื่อคัดเลือกเพื่อบรรจุลูกจ฾างช่ัวคราวรายเดือน (ท่ีจ฾างด฾วย เงินทุกประเภท) ในปี 2562 ในตาแหน฽งต฽างๆ ได฾แก฽ ตาแหน฽งพยาบาลวิชาชีพ จานวน 2 อัตรา ตาแหน฽ง แพทยแแผนไทย จานวน 1 อัตรา ตาแหน฽งนักวิชาการสาธารณสุข จานวน 1 อัตรา ตาแหน฽งนักวิชาการ ทันตสาธารณสุข จานวน 2 อัตรา ตาแหน฽งเจ฾าพนักงานเภสัชกรรม จานวน 1 อัตราและได฾รับการบรรจุ เป็นข฾าราชการเม่ือวันท่ี 16 พฤศจกิ ายน 2561 - การย฾าย/โอน/ลาออก ของข฾าราชการในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ใน ปีงบประมาณ 2562 มีข฾าราชการขอย฾าย (ต฽างจังหวัด) จานวน ทั้งสิ้น 10 ราย ข฾าราชการขอโอน ไปรับ ราชการทางสังกัดอนื่ จานวน 2 ราย และข฾าราชการลาออก จานวน 13 ราย 2. การบริหารจดั การ - มีการบริหารจัดการ กระจายบุคลากร ในส฽วนของโรงพยาบาลชุมชนมีการใช฾ฐานข฾อมูล FTE มาเปน็ เกณฑแในการจัดสรรอัตรากาลังลงส฽ูพื้นที่ เพื่อความเหมาะสมตามบริบทของโรงพยาบาล และ ในสว฽ นของโรงพยาบาลส฽งเสริมสขุ ภาพตาบลใชส฾ ดั สว฽ นประชากรมาเปน็ เกณฑใแ นการจดั สรรอตั รากาลังลงสู฽พนื้ ที่ - มีการวิเคราะหแอัตรากาลังคนและวางแผนความต฾องการในอนาคต โดยทุก คปสอ.มีการ วางแผนกรอบกาลังคนและมีการดาเนินงานตามแผน ม฽ุงเน฾นการวางแผนให฾สอดคล฾องกับภารกิจเพื่อให฾ เกิดความค฾ุมค฽า เตรียมกาลังคนท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพสาหรับการเปล่ียนแปลงในอนาคต นามา เปน็ เครื่องมือชว฽ ยในการตัดสินใจในการบริหารทรพั ยากรมนุษยแตอ฽ ไป สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธวิ าส หนา้ 100

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 - ดาเนินการในโครงการพัฒนาศักยภาพผ฾ูปฏิบัติงานและการบริหารงานบุคคลด฾านสุขภาพ ในจังหวัดนราธิวาส ผ฽านกิจกรรมการวัดและประเมินดัชนีความสุขของบุคลากรสาธารณสุข และการ วิเคราะหแกาลังคนดา฾ นสุขภาพ - การบริหารจัดการใช฾ดัชนีความสุขของคนทางาน และ Core Value MOPH มีแนวทางในการ ดาเนินงาน โดยนาคา฽ นิยม MOPH เปน็ กรอบในการวเิ คราะหแองคแกร เพ่ือนาไปสู฽การพัฒนาหน฽วยงาน โดย กระทรวงสาธารณสุขให฾ความสาคัญในการสนับสนุนให฾บุคลากรทุกระดับได฾รับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ที่เช่ือว฽าเป็นการส฽งเสริม ก฽อให฾เกิดความสุข ท้ังยังเกิดประโยชนแและความมั่นคงต฽อตนเอง ครอบครวั สังคมและประเทศชาติ และจะใช฾ ดัชนีความสุขของคนทางาน เป็นเคร่ืองมือในการวัดความสุข ของบุคลากร และองคแกร เพ่ือนาไปส฽ูการสร฾างเสริมความสุขให฾บุคลากรในหน฽วยงานต฽อไปโดยจังหวัดได฾ ดาเนินการช้ีแจงรายละเอียดและส่ือสารเกี่ยวกับการใช฾ดัชนีความสุขของคนทางานและ Core Value “MOPH” ให฾กับหน฽วยบริการทุกแห฽งผ฽านทางวาระที่ประชุม คปสจ. และเรียกผู฾รับผิดชอบงานเข฾าร฽วม ประชุมเพ่ือช้ีแจงรายละเอียดในการดาเนินการอย฽างละเอียดเพ่ือให฾เจ฾าหน฾าที่แต฽ละหน฽วยงานสามารถนา ดชั นี ความสขุ ของคนทางาน (Happy Work Life Index) และ Core Value “MOPH” ไปใช฾งานได฾อย฽างถูกต฾อง และเกิดประสิทธิภาพสงู สดุ 3. ผลการดาเนินงาน ตารางท่ี 54 ผลการดาเนนิ งานตามแผนกาลังคน ปี 2562 ลาดบั ที่ ตวั ชว้ี ัด ผลการดาเนินงาน ปี 2561 ปี 2562 1 มีแผนกาลังคนและดาเนินการตามแผน มี มี - มีการบริหารจัดการการกระจาย √√ บคุ ลากรในเขต/จังหวัด √√ - มกี ารใช฾ทรัพยากรบคุ คลร฽วมกนั √√ √√ - มกี ารใช฾ FTE - มีการบริหารจัดการ Labour cost ที่ เหมาะในเขต/จงั หวัด - มีการวิเคราะหแอัตรากาลังคนและ √ √ วางแผนความตอ฾ งการในอนาคต ที่มา: กลม฽ุ งานทรัพยากรบุคคล สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดนราธิวาส 4. ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ หนา้ 101 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดนราธวิ าส

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 4.1 ปญั หาอปุ สรรค 4.1.1 การสูญเสียบุคลากร เนื่องจากอัตราการย฾ายและลาออกมากกว฽าการบรรจุและการย฾าย เข฾าซ่ึงมีผลกระทบต฽อการจัดบริการ โดยเฉพาะวิชาชีพ แพทยแ และทันตแพทยแ ที่ประสบกับปัญหาการขาด แคลนบุคลากรอยเ฽ู สมอ 4.1.2 การจัดสรรตาแหน฽งท่ีใช฾ในการบรรจุเป็นข฾าราชการสายสนับสนุน มีจานวนน฾อย มี อตั ราการแขง฽ ขนั้ สงู 4.1.3 วชิ าชีพรังสีการแพทยแเป็นวชิ าชีพที่มีความขาดแคลนในพืน้ ท่ีจังหวดั นราธวิ าส ซ่งึ แม฾ว฽า จะไดร฾ ับการจัดสรรตาแหน฽งให฾ แตย฽ งั ขาดบุคคลทมี่ ีคุณสมบัติในการมาปฏบิ ตั ิงานในตาแหน฽งดงั กลา฽ ว 4.1.4 สานักงานสาธารณสขุ อาเภอบางอาเภอมีความต฾องการในวิชาชีพต฽างๆ แต฽ไม฽มีความสามารถ ในการจา฾ งเน่อื งจากเงนิ บารงุ ไมเ฽ พยี งพอ 4.2 ข฾อเสนอแนะ 4.2.1 ด฾านอัตรากาลัง การจัดสรรแพทยแ และทันตแพทยแ ให฾เพียงพอและสมดุล กับการย฾าย ออกไปอย฽ใู นพ้ืนทอ่ี นื่ และการสร฾างแรงจูงใจท่ีแตกต฽างจากพื้นท่ีปกติ ให฾สามารถดึงวิชาชีพท่ีขาดแคลนจริง ให฾อย฽ูในพ้นื ที่ 4.2.2 การจัดสรรกรอบอัตรากาลังให฾เพียงพอต฽อความต฾องการใช฾บริการในพื้นท่ี รวมถึง การพฒั นาศกั ยภาพของผปู฾ ฏิบตั ิงานให฾มีความเป็นมืออาชพี ใน 4.2.3 สร฾างความร฽วมมือด฾านการผลิตด฾านกาลังคนโดยทา MOU กับ วสส.ท่ัวประเทศ และวิทยาลัยเทคโนโลยีการแพทยแกาญจนาภิเษกนนทบุรี เมื่อสาเร็จการศึกษากลับมาปฏิบัติงานในพ้ืนที่ ตามแผนความต฾องการบคุ ลากร (เฉพาะสายงานทขี่ าดแคลน) 4.2.4 มีการจัดสรรงบประมาณในการจ฾างจากจังหวัดให฾อาเภอ เพ่ือใช฾ในการดาเนินการ จา฾ งบคุ ลากรดา฾ นสาธารณสขุ ท่ีจบมาในแต฽ละปี 5. โอกาสพฒั นา จัดให฾มีระบบใหโ฾ ควตานักเรยี นทนุ สาขาขาดแคลนตาม FTE และการวางแผนเพิ่มอัตรากาลัง กรณมี เี ปูาหมายขยายบรกิ ารในอนาคตให฾ครอบคลุมอยา฽ งต฽อเน่ือง 7. กลุ่มงานนิตกิ าร หน้า 102 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั นราธิวาส

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 7.1 การประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงาน (ITA) 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา ตามยุทธศาสตรแชาติ ว฽าด฾วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ได฾กาหนดวิสัยทัศนแว฽า “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล฾ว ด฾วยการ พัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และแผนแม฽บทการปูองกัน ปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ กระทรวงสาธารณสุข ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) ได฾กาหนดวิสัยทัศนแว฽า “กระทรวง สาธารณสุขใสสะอาด รว฽ มตา฾ นทุจรติ ” เพื่อสร฾างวัฒนธรรมต฽อต฾านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการ บริหารจัดการแบบบูรณาการ ปฏิรูปกระบวนการปูองกันและปราบปรามการทุจริตท้ังระบบให฾มี ประสิทธิภาพ และยกระดับมาตรฐานจริยธรรม คุณธรรม และความโปร฽งใสของกระทรวงสาธารณสุขใน ทุกมิติโดยในปีงบประมาณ 2561 หน฽วยงานในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ได฾เข฾าร฽วม ประเมนิ ITAจานวน 27 หน฽วยงาน ผลการประเมินมีหน฽วยงานที่ผ฽านการประเมิน ร฾อยละ 90 จานวน 14 หน฽วยงาน คิดเปน็ ร฾อยละ 51.85, ไม฽ผ฽าน จานวน 13 หน฽วยงาน คดิ เป็นร฾อยละ 48.14 2. การบรหิ ารจดั การ 2.1 กระทรวงสาธารณสุข ได฾กาหนดตัวชี้วัดท่ี 44 ร฾อยละของหน฽วยงานในสังกัดสานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ฽านเกณฑแการประเมิน ITA (ร฾อยละ 90) โดยกาหนดการประเมินหน฽วยงาน เปูาหมาย จากการตอบแบบสารวจใช฾หลักฐานเชิงประจักษแ (Evidence-Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT) ซึ่งกลุ฽มเปูาหมายในจังหวัดนราธิวาส ประกอบด฾วย สานักงาน สาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และสานักงานสาธารณสุขอาเภอทุกแห฽ง รวม ทั้งส้ิน 27 หนว฽ ยงาน 2.2 กลุ฽มงานนิติการได฾จัดทาแผนปฏิบัติการปูองกันปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ และส฽งเสริมจริยธรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส เพื่อ เป็นกรอบแนวทางการดาเนนิ งาน โดยไดจ฾ ดั โครงการ/กจิ กรรมดงั นี้ 2.2.1 โครงการพัฒนาศักยภาพผู฾ปฏิบัติงานด฾านการจัดซื้อจัดจ฾างเพื่อการบริหารงานที่ โปรง฽ ใส 2.2.2 กิจกรรมการแสดงเจตจานงสุจริตของนายแพทยแสาธารณสุขจังหวัด ต฽อบุคลากร และสาธารณชน 2.2.3 จัดต้ังกล฽ุมเครือข฽ายอาสาสมัครเฝูาระวังการทุจริตในหน฽วยงานซ่ึงมีวัตถุประสงคแ เพอื่ ตรวจสอบการบรหิ ารงานของหนว฽ ยงานให฾มคี วามโปร฽งใส ใช฾ชอื่ กลุ฽ม “WhitePower: พลังสีขาว” 3. ผลการดาเนนิ งาน 3.1 จากการประเมินคุณธรรมและความโปร฽งใสของหน฽วยงาน (ITA) โดยใช฾แบบสารวจ หลักฐานเชิงประจักษแ (Evidence-Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT) ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน฽วยงานในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ผ฽านเกณฑแการ ประเมินร฾อยละ 90 จานวน 22 แห฽ง คิดเป็นร฾อยละ 81.48 ไม฽ผ฽านเกณฑแ จานวน 5 แห฽ง คิดเป็นร฾อยละ 18.51 ตารางที่ 55 หนว฽ ยงานในสังกัดสานักงานสาธารณสขุ จังหวดั นราธวิ าส ผ฽านเกณฑกแ ารประเมิน ITA สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส หนา้ 103

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 หนว่ ยงาน เปูาหมาย ผลงาน หมายเหตุ (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 1.สสจ.นราธวิ าส ไม฽ผ฽านเกณฑแ 90 100 ไมผ฽ า฽ นเกณฑแ 2.รพท. นราธวิ าสราชนครนิ ทรแ 90 100 ไม฽ผ฽านเกณฑแ 3.รพท. สไุ หงโก-ลก 90 100 ไม฽ผ฽านเกณฑแ 4.รพช. ระแงะ 90 100 ไม฽ผ฽านเกณฑแ 5.รพช. ตากใบ 90 100 6.รพช. รือเสาะ 90 100 7.รพช. สุไหงปาดี 90 100 8.รพช. แวง฾ 90 100 9.รพช. บาเจาะ 90 100 10.รพช. ยง่ี อเฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษา 90 100 11.รพช. เจาะไอรอ฾ ง 90 100 12.รพช. ศรีสาคร 90 13.รพช. จะแนะ 65.38 14.รพช. สุคิริน 90 15.38 15.สสอ. เมอื งนราธวิ าส 90 96.15 16.สสอ. สุไหงโก-ลก 90 96.15 17.สสอ. ระแงะ 90 92.31 18.สสอ. ตากใบ 90 88.46 19.สสอ. รอื เสาะ 90 100 20.สสอ. สไุ หงปาดี 90 100 21.สสอ. แว฾ง 90 100 22.สสอ. บาเจาะ 90 100 23.สสอ. ย่งี อ 90 88.46 24.สสอ. เจาะไอร฾อง 90 92.31 25.สสอ. ศรสี าคร 90 100 26.สสอ. จะแนะ 90 73.08 27.สสอ. สุคริ ิน 90 92.31 90 92.31 คะแนนเฉลี่ย 90 92.30 ตารางท่ี 56 เปรียบเทียบผลการประเมิน ITA ของหน฽วยงานในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัด นราธวิ าส ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 และ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ผลการประเมิน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน (แห่ง) รอ้ ยละ จานวน (แห่ง) ร้อยละ ผ฽านเกณฑรแ ฾อยละ 90 14 51.85 22 81.48 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส หนา้ 104

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ไมผ฽ า฽ นเกณฑแ 13 48.14 5 18.51 3.2 กล฽ุมงานนิติการ ได฾จัดประชุมให฾ความร฾ูเร่ืองการปูองกันผลประโยชนแทับซ฾อนแก฽ เจา฾ หน฾าทขี่ องสานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั นราธิวาส ในปีงบประมาณ 2562 จานวน 1 คร้งั 3.3 กล฽ุมงานนติ กิ าร ได฾สนับสนุนวิทยากรให฾ความรู฾เร่ืองการปูองกันผลประโยชนแทับซ฾อนแก฽ เจ฾าหนา฾ ท่ี ในโรงพยาบาลรือเสาะ โรงพยาบาลเจาะไอร฾อง และสานักงานสาธารณสุขอาเภอแว฾ง จานวน 3 ครง้ั 4. ปัญหาอปุ สรรค/ขอ้ เสนอแนะ 4.1 ผ฾ูบริหารของหน฽วยงานในสังกัดบางแห฽ง ไม฽ให฾ความสาคัญในเรื่องการประเมินคุณธรรม และความโปร฽งใส ทาให฾ขาดการควบคมุ กากับ และตดิ ตามผลการดาเนินการตามระยะเวลาทกี่ าหนดไว฾ 4.2 ผร฾ู บั ผิดชอบงาน ITA ของหนว฽ ยงาน ไมไ฽ ดส฾ ฽งแบบสารวจหลักฐานเชงิ ประจักษแ (Evidence-Based) พร฾อมเอกสารหลักฐาน ตามกรอบระยะเวลาที่กาหนดไว฾ 4.3 ผู฾รับผิดชอบงาน ITA ของหน฽วยงานไม฽สามารถส่ือสารภายในองคแกรเพื่อเก็บข฾อมูลและ เอกสารหลักฐานที่เกยี่ วข฾องมาตอบแบบประเมินได฾ 5. โอกาสพัฒนาตอ่ ไป ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชน และสานักงานสาธารณสุขอาเภอทุกแห฽งในจังหวัดนราธิวาส ต฾องเข฾ารับการประเมิน ITA โดยศูนยแปฏิบัติการต฽อต฾านการทุจริตกระทรวงสาธารณสุข ผู฾รับผิดชอบหลักการประเมิน ITA ได฾กาหนดจัด โครงการอบรมให฾ความร฾กู ารประเมนิ ITA ของหนว฽ ยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการ บริหารส฽วนภูมิภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สาหรับเขตสุขภาพท่ี 11 และ 12 ในระหว฽างวันที่ 7-8 พฤศจิกายน 2562 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ฽ จังหวัดสงขลา เพ่ือเป็นการเตรียมความพร฾อม และเสรมิ สร฾างความรูค฾ วามเข฾าใจให฾กบั ผ฾รู ับผดิ ชอบงาน ITA ของทุกหน฽วยงานแล฾ว 8. กลุ่มงานควบคมุ โรคไม่ตดิ ตอ่ สุขภาพจิต และยาเสพตดิ หน้า 105 8.1 การดาเนนิ งานส่งเสริมสุขภาพและปูองกันควบคุมโรคไมต่ ิดตอ่ 1. สถานการณส์ ภาพปญั หาของพืน้ ท่ี สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั นราธิวาส

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 จากการรายงานข฾อมลู ดา฾ นโรคไม฽ติดต฽อเร้ือรงั ของจังหวัดนราธิวาส ในปี 2562 พบว฽ามีอัตราตาย โรคไม฽ติดต฽อเร้ือรังที่สาคัญ ได฾แก฽ โรคความดันโลหิตสูง 505.9 ต฽อแสนประชากร โรคเบาหวาน 206.3 ต฽อ แสนประชากร โรคหัวใจขาดเลือด 62.2 ต฽อแสนประชากร โรคหลอดเลือดสมอง 47.4 ต฽อแสนประชากร อัตราปุวยรายใหม฽โรคความดันโลหิตสูง ร฾อยละ 832.5 ต฽อแสนประชากร โรคเบาหวาน 370.3 ต฽อแสน ประชากร โรคหัวใจและหลอดเลือด 20.7 ต฽อแสนประชากร โรคหลอดเลือดสมอง 2.7 ต฽อแสนประชากร โรค ไตรายใหม฽ 1,397.2 ต฽อแสนประชากร โดยมียอดผปู฾ ุวยสะสม โรคเบาหวาน จานวน 24,146 คน คิดเป็นความ ชุก ร฾อยละ 3.0 โรคความดันโลหิตสูง จานวน 70,975 คน คิดเป็นความชุก ร฾อยละ 8.9 โรงพยาบาลทุกแห฽ง ได฾ดาเนินงานประเมินตนเองตามเกณฑแ NCD Clinic Plus ผ฽านการประเมินระดับพ้ืนฐานทุกแห฽ง คิดเป็นร฾อย ละ 100 โรงพยาบาลชุมชนทุกแห฽งในจังหวัดนราธิวาส สามารถให฾บริการยา SK เพื่อเปิดหลอดเลือดสาหรับ ผ฾ูปุวย STEMI ได฾ทุกแห฽ง และโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทรแ และโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก สามารถ ใหบ฾ รกิ ารยา RT-PA แกผ฽ ปู฾ ุวยโรคหลอดเลอื ดสมอง ตารางท่ี 57 อัตราตายโรคไม฽ตดิ ตอ฽ เร้ือรัง จังหวัดนราธวิ าส ปี 2560–2562 โรค 2560 2561 2562 จานวน อตั ราตอ่ แสน จานวน อัตราต่อแสน จานวน อัตราตอ่ เบาหวาน 706 90.1 665 84.2 1,653 2แ0ส6น.3 ความดันโลหติ สูง 1,738 221.8 1,689 213.9 4,053 505.9 หัวใจและหลอดเลอื ด 340 43.4 338 42.8 498 62.2 หลอดเลือดสมอง 340 43.4 335 42.4 380 47.4 ท่ีมา: HDC จังหวัดนราธวิ าส (ขอ฾ มลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562) ตารางที่ 58 อัตราปุวยรายใหม฽ โรคไม฽ตดิ ตอ฽ เร้อื รัง จังหวัดนราธวิ าส ปี 2560-2562 โรค 2560 2561 2562 จานวน อตั ราตอ่ แสน จานวน อัตราตอ่ แสน จานวน อัตราต่อแสน เบาหวาน 2,831 361.3 2,686 340.1 2,967 370.3 ความดนั โลหิตสงู 7,569 965.9 6,690 847.2 6,670 832.5 หวั ใจและหลอดเลอื ด 255 32.5 109 13.8 166 20.7 หลอดเลอื ดสมอง 25 3.2 44 5.6 22 2.7 ไตรายใหม฽ 5,809 741.3 7,886 998.6 11,194 1,397.2 ทม่ี า: HDC จังหวดั นราธิวาส (ขอ฾ มลู ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2562) 2. การบริหารจดั การ จากเปูาหมายการลดภาระโรคจากการปุวยและการตายด฾วยโรคไม฽ติดต฽อเร้ือรังในปี 2562 จังหวัดนราธวิ าส ตง้ั เข็มมุง฽ ในการวางแผนการดาเนินงานควบคุมโรคไม฽ติดต฽อผ฾ูปุวยเบาหวานควบคุมระดับ น้าตาลในเลือดได฾ และผู฾ปุวยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได฾ โดยพัฒนาระบบบริการมี สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส หนา้ 106

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 อายรุ แพทยแ ออกใหค฾ าปรกึ ษาในโรงพยาบาลชมุ ชนทกุ แห฽ง เพือ่ ปรับมาตรฐานการรักษาพยาบาลผ฾ูปุวยโรค เร้อื รัง ใน รพช. ใหเ฾ ทา฽ เทยี มกันทกุ แหง฽ ลดภาระค฽าใช฾จา฽ ยสาหรบั ผูป฾ ุวย โดยจังหวัดนราธิวาส ได฾พัฒนาความรู฾ผ฾ูให฾บริการท้ังองคแกรแพทยแ พยาบาล และผู฾ให฾บริการ ทุกระดับ สนับสนุนระบบข฾อมูลสาหรับการดาเนินงาน การนิเทศแก฾ไขปัญหาหน฾างานในสถานบริการ ติดตามผลการดาเนินงานผ฽านการประชุมคณะกรรมการ NCD BOARD จังหวัดนราธิวาส และ Service Plan สาขาโรคไม฽ติดต฽อ 3. ผลการดาเนนิ งาน 3.1 ร฾อยละสถานบรกิ ารผ฽านเกณฑแประเมนิ NCD Clinic Plus ในปี 2562 จังหวัดนราธิวาส ได฾ให฾ทุกโรงพยาบาลประเมินตนเองตามแบบประเมิน และ ผลลัพธแ ในการดาเนินงาน พบว฽าผ฽านเกณฑแการประเมินระดับพื้นฐาน 6 แห฽ง คิดเป็นร฾อยละ 46.15 ได฾แก฽ รพ.สุไหงโก-ลก, ตากใบ, ระแงะ, บาเจาะ, สุไหงปาดี และยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา และต่ากว฽า พ้ืนฐาน 7 แหง฽ คิดเป็นร฾อยละ 53.85 ได฾แก฽ รพ.นราธวิ าสราชนครนิ ทรแ, รอื เสาะ, ศรีสาคร, แวง฾ , สุคิริน, จะแนะ และเจาะไอร฾อง 3.2 ร฾อยละของประชาชนอายุ 35 ปีข้ึนไป ไดร฾ ับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหติ สงู (รอ฾ ยละ 90) สาหรบั ผลการคดั กรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปี ข้ึนไป (ไม฽ รวมผ฾ูปุวย) ในภาพรวม จังหวัดนราธิวาส คัดกรองโรคเบาหวาน จานวน 230,979 คน คิดเป็นร฾อยละ 93.63 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จานวน 177.009 คน คิดเป็นร฾อยละ 93.71 เมื่อจาแนกรายอาเภอ พบว฽าอาเภอที่คัดกรองเบาหวานได฾มากที่สุด คือ อาเภอตากใบ ร฾อยละ 96.97 และอาเภอที่คัดกรอง ความดนั โลหติ สงู ไดม฾ ากทส่ี ดุ คือ อาเภอรือเสาะ ร฾อยละ 97.18 ซง่ึ เกดิ จากความรว฽ มมอื ของคปสอ. และชุมชนใน การคดั กรองเชงิ รุก พบผป฾ู ุวยเบาหวานรายใหม฽จากกลุ฽มเสี่ยง 711 ราย คิดเป็นร฾อยละ 1.92 พบมากท่ีสุดในอาเภอ เจาะไอร฾อง ร฾อยละ 3.62 รองลงมาอาเภอสุไหงโกลก ร฾อยละ 3.59 รองลงมาอาเภอศรีสาคร ร฾อยละ 3.04 อาเภอที่น฾อยที่สุด คือ อาเภอระแงะ ร฾อยละ 0.8 รองลงมา อาเภอบาเจาะ ร฾อยละ 0.9 รองลงมา อาเภอ จะแนะ ร฾อยละ 1.55 ผลการดาเนินงานกลุ฽มเส่ียงโรคความดันโลหิตสูงได฾ทา HMBP กลุ฽มเส่ียงโรคความดันโลหิตสูง 8,988 คน ได฾รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ฾าน 3,757 คน คิดเป็น ร฾อยละ 41.80 อาเภอท่ีมีผลการ ดาเนินงานสูงท่ีสุด คือ อาเภอรือเสาะ ร฾อยละ 85.85 รองลงมาอาเภอสุคิริน ร฾อยละ 55.45 รองลงมา อาเภอศรีสาคร ร฾อยละ 49.92 อาเภอที่มีผลการดาเนินงานน฾อยท่ีสุด คือ อาเภอระแงะ ร฾อยละ 29.63 รองลงมา อาเภอเมือง รอ฾ ยละ 31.7 รองลงมา อาเภอเจาะไอร฾อง ร฾อยละ 33.41 ตารางท่ี 59 ผลการดาเนินงานคดั กรอง DM/HT ในประชากรอายุ 35 ปีขึน้ ไป (ไมร฽ วมผูป฾ ุวย) จงั หวดั นราธิวาส ปี 2562 คัดกรองเบาหวาน คดั กรองความดนั โลหติ สูง อาเภอ เปาู หมาย ผลงาน รอ้ ยละ เปาู หมาย ผลงาน รอ้ ยละ เมอื ง 37,927 33,198 87.53 32,172 27,932 86.82 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั นราธวิ าส หนา้ 107

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ตากใบ 22,725 22,037 96.97 18,450 17,777 96.35 บาเจาะ 15,713 14,990 95.4 12,887 12,239 94.97 ยง่ี อ 14,692 14,066 95.74 11,602 11,214 96.66 ระแงะ 25,978 23,653 91.05 20,896 19,269 92.21 รอื เสาะ 21,796 20,883 95.81 17,914 17,409 97.18 ศรสี าคร 11,643 10,931 93.88 9,798 9,274 94.65 แว฾ง 15,642 14,733 94.19 12,582 11,818 93.93 สุคริ ิน 7,261 6,981 96.14 5,629 5,396 95.86 สุไหงโก-ลก 19,516 18,452 94.55 16,200 15,303 94.46 สุไหงปาดี 16,305 15,773 96.74 12,830 12,381 96.5 จะแนะ 10,918 10,433 95.56 9,210 8,787 95.41 เจาะไอร฾อง 10,863 10,135 93.3 8,724 8,210 94.11 รวม 230,979 216,265 93.63 188,894 177,009 93.71 ทมี่ า: HDC จงั หวัดนราธวิ าส (ขอ฾ มูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562) ตารางท่ี 60 อตั ราปุวยรายใหมเ฽ บาหวานจากกลม฽ุ เสยี่ ง อาเภอ เปาู หมาย กล่มุ เส่ียงเบาหวาน ผลงาน ร้อยละ เมือง 6,446 101 1.57 ตากใบ 4,986 133 2.67 บาเจาะ 3,573 32 0.9 ยีง่ อ 2,601 50 1.92 ระแงะ 5,519 44 0.8 รอื เสาะ 3,294 58 1.76 ศรีสาคร 1,741 53 3.04 แว฾ง 1,506 33 2.19 สุคริ นิ 1,255 27 2.15 สุไหงโก-ลก 1,976 71 3.59 สไุ หงปาดี 2,587 65 2.51 จะแนะ 710 11 1.55 เจาะไอรอ฾ ง 912 33 3.62 1.92 รวม 37,106 711 ร้อยละ ที่มา: HDC จังหวดั นราธวิ าส (ขอ฾ มูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562) 31.7 ตารางท่ี 61 ร฾อยละกลุม฽ เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงไดท฾ า HMBP 37.64 อาเภอ เปูาหมาย กจิ กรรม HMBP เมือง 798 ผลงาน ตากใบ 253 1,193 449 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั นราธวิ าส หนา้ 108

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 บาเจาะ 811 351 43.28 ยง่ี อ 1,251 467 37.33 ระแงะ 1,431 424 29.63 รือเสาะ 546 85.85 ศรีสาคร 636 327 49.92 แว฾ง 655 106 42.91 สคุ ริ นิ 247 112 55.45 สไุ หงโก-ลก 202 278 46.88 สุไหงปาดี 593 214 40.23 จะแนะ 532 91 40.81 เจาะไอร฾อง 223 139 33.41 รวม 416 3757 41.80 8988 ทม่ี า: HDC จังหวัดนราธวิ าส (ขอ฾ มูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562) 3.3 ร฾อยละของผ฾ูปุวยเบาหวานท่ีควบคุมระดับน้าตาลในเลือดได฾ดี (ไม฽น฾อยกว฽าร฾อยละ 40) และผ฾ูปวุ ยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหติ ไดด฾ ี (ไม฽นอ฾ ยกว฽ารอ฾ ยละ 50) สาหรับผ฾ูปุวยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้าตาลในเลือดได฾ดี ผลงานท่ี ร฾อยละ 25.90 โดยอาเภอ สุไหงปาดี มีผลการดาเนินงานสูงท่ีสุด ร฾อยละ 53.3 รองลงมา อาเภอตากใบ ร฾อยละ 37.88 รองลงมา อาเภอ สุไหงโก-ลก ร฾อยละ 37.47 อาเภอที่มีผลการดาเนินงานน฾อยท่ีสุด คือ อาเภอรือเสาะ ร฾อยละ 12.22 รองลงมา อาเภอศรีสาคร ร฾อยละ 12.27 รองลงมา อาเภอบาเจาะ ร฾อยละ 14.76 สาหรับผลงานการควบคุมระดับความดันโลหิตในผู฾ปุวยโรคความดันโลหิตสูงได฾ ร฾อยละ 27.40 อาเภอที่มีผลการดาเนินงานสูงท่ีสุด คือ อาเภอสุไหงโก-ลก ร฾อยละ 43.1 รองลงมาอาเภอตากใบ รอ฾ ยละ 35.90 รองลงมา อาเภอสุไหงปาดี ร฾อยละ 34.2 อาเภอท่ีมีผลการดาเนินงานน฾อยท่ีสุด คือ อาเภอรือเสาะ ร฾อยละ 13.4 รองลงมา อาเภอเมอื งนราธิวาส ร฾อยละ 17.30 รองลงมา อาเภอศรีสาคร ร฾อยละ 22.3 ซ่ึงทุกอาเภอมีเจ฾าหน฾าท่ีได฾รับการอบรมการดูแลผู฾ปุวยโรคเรื้อรัง (Case manager) ประจา คลินิก อาเภอที่ทาผลงานได฾ดีเกิดจากการมีกระบวนการจัดคลินิกให฾บริการท่ีมีการร฽วมมือของทีม สหวชิ าชีพในการดแู ลผป฾ู วุ ยทกุ ด฾าน เช฽น โภชนาการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด฾านการลดหวาน มัน เค็ม และการออกกาลงั กาย การตดิ ตามการรบั ประทานยา การตดิ ตามเย่ียมบ฾านผู฾ปุวย และการมีจานวนผ฾ูปุวย ไม฽มากเกินไป ทาให฾ง฽ายในการดูแลผู฾ปุวยโดยการแบ฽งกล฽ุมการให฾สุขศึกษารายบุคคลและรายกลุ฽ม มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู฾ระหว฽างผู฾ปุวยในการดูแลตนเอง จนผ฾ูปุวยเข฾าใจภาวะสุขภาพของตนเองและเกิดการ ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมตนเองจนเร่ิมควบคุมระดับน้าตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได฾ แต฽เนื่องจาก อยใ฽ู นระหวา฽ งการปรบั ปรงุ ฐานข฾อมูลผป฾ู ุวยทาใหไ฾ มส฽ ามารถจัดการผู฾ปวุ ยทั้งหมดได฾ รายละเอยี ดดังตาราง ตารางที่ 62 แสดงร฾อยละของผ฾ปู วุ ยเบาหวานท่ีควบคุมระดับนา้ ตาลในเลือดไดด฾ ีและผ฾ูปุวยความดันโลหิตสูง ทคี่ วบคุมความดันโลหติ ได฾ดี จังหวดั นราธิวาส ปี 2562 อาเภอ เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู เมือง เปูาหมาย ผลงาน รอ้ ยละ เปาู หมาย ผลงาน ร้อยละ 4,624 677 14.64 11,063 1,916 17.3 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดนราธวิ าส หนา้ 109

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 ตากใบ 2,883 1,092 37.88 7,472 2,682 35.9 บาเจาะ 1,355 200 14.76 4,428 1,373 31 ยงี่ อ 1,621 475 29.3 5,038 1,441 ระแงะ 2,685 836 31.14 8,396 1,947 28.6 รือเสาะ 1,817 222 12.22 6,286 840 23.2 ศรีสาคร 864 106 12.27 2,902 646 13.4 แว฾ง 1,740 312 17.93 5,160 1,447 22.3 สุคริ ิน 808 168 20.79 2,638 837 สไุ หงโก-ลก 2,322 870 37.47 5,984 2,581 28 สุไหงปาดี 1,636 872 53.3 5,452 1,862 31.7 จะแนะ 685 121 17.66 2,599 839 43.1 เจาะไอร฾อง 1,114 312 28.01 3,572 1,026 34.2 รวม 24,154 6263 25.9 70,990 19,437 32.3 28.7 27.4 ท่มี า: HDC จงั หวัดนราธิวาส (ขอ฾ มลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562) 3.6 ร฾อยละของผ฾ูปุวยโรคกล฾ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (STEMI) ได฾รับยาละลายลิ่ม เลอื ด และ/หรอื การขยายหลอดเลือดหัวใจ เขตสขุ ภาพที่ 12 จงั หวดั นราธิวาส ปีงบประมาณ 2562 โรงพยาบาลทุกแห฽งในจังหวัดนราธิวาสสามารถให฾บริการยา SK แก฽ผู฾ปุวยโรคหัวใจชนิด เฉยี บพลนั โดยมโี รงพยาบาลนราธวิ าสราชนครินทรแและโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก เป็นแม฽ข฽ายรับส฽งต฽อผู฾ปุวย โดยผูป฾ ุวยเปูาหมายทกุ รายสามารถใหบ฾ ริการได฾ ร฾อยละ 100 ทุกแหง฽ ภาพรวมปี 2562 มีผู฾ปุวยทั้งสิ้น 452 ราย ได฾รับยา SK 176 ราย คิดเป็นร฾อยละ 38.94 เน่ืองจากผ฾ูปุวยโรคหัวใจขาดเลือดกลับเป็นซ้า ทาให฾ ผู฾ให฾บริการต฾องระมัดระวังการให฾ยา SK เพิ่มข้ึน ส฽งผลให฾มีการให฾ยา SK ลดลง โดยอาเภอที่มีผลการ ดาเนนิ งานสูงท่ีสุด คือ อาเภอสุคิริน ร฾อยละ 100 รองลงมา อาเภอระแงะ ร฾อยละ 79.5 รองลงมา อาเภอจะแนะ รอ฾ ยละ 76.9 อาเภอทมี่ ีผลการดาเนนิ งานนอ฾ ยทส่ี ดุ คอื อาเภอยี่งอ ร฾อยละ 8.3 รองลงมา อาเภอศรีสาคร ร฾อยละ 20.0 รองลงมา อาเภอรือเสาะ รอ฾ ยละ 22.2 และอตั ราตายผป฾ู ุวยโรคหวั ใจและหลอดเลือด จงั หวัดนราธิวาส ภาพรวมอัตรา 62.2 ต฽อแสน ประชากร อาเภอระแงะ มีอัตราตายสูงที่สุด อัตรา 140.7 ต฽อแสนประชากร รองลงมา อาเภอศรีสาคร อัตรา 116.9 ต฽อแสนประชากร รองลงมาอาเภอสุคิริน อัตรา 109.8 ต฽อแสนประชากร อาเภอที่มีอัตราตายน฾อย ที่สุด คือ อาเภอสุไหงโก-ลก อัตรา 22.1 ต฽อแสนประชากร รองลงมา อาเภอยี่งอ อัตรา 34.4 ต฽อแสน ประชากร รองลงมา อาเภอเจาะไอร฾อง อัตรา 39.4 ตอ฽ แสนประชากร ตารางที่ 63 รอ฾ ยละของผป฾ู วุ ยโรคกล฾ามเนอื้ หวั ใจขาดเลือดเฉียบพลัน (STEMI) ไดร฾ ับยาละลายลม่ิ เลือด และ/หรอื การขยายหลอดเลือดหัวใจ เขตสุขภาพท่ี 12 จังหวัดนราธวิ าส อาเภอ เปาู หมาย ผปู้ ุวยโรคหวั ใจและหลอดเลือด ร้อยละ เมอื ง ผลงาน 182 57 31.3 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดนราธิวาส หนา้ 110

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 สไุ หงโก-ลก 121 38 31.4 ระแงะ 44 35 79.5 ตากใบ 52 40.0 รอื เสาะ 18 4 22.2 สุไหงปาดี 00 0 แวง฾ 51 20.0 บาเจาะ 25 17 68.0 ยงี่ อ 12 1 8.3 เจาะไอร฾อง 10 6 60.0 ศรสี าคร 15 3 20.0 จะแนะ 13 10 76.9 สุคริ ิน 22 100.0 รวม 452 176 38.9 ที่มา: HDC จงั หวดั นราธวิ าส (ข฾อมูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562) ตารางท่ี 64 อตั ราตายโรคหวั ใจและหลอดเลือดตอ฽ แสนประชากร จงั หวัดนราธิวาส ปี 2562 อาเภอ เปูาหมาย ผลงาน อตั ราตอ่ แสนประชากร เมอื ง 125,871 50 39.7 ตากใบ 72,843 40 54.9 บาเจาะ 54,745 45 82.2 ยี่งอ 46,487 16 34.4 ระแงะ 92,808 138 148.7 รือเสาะ 72,731 36 49.5 ศรสี าคร 40,217 47 116.9 แว฾ง 54,190 12 22.1 สุคิรนิ 26,409 29 109.8 สไุ หงโก-ลก 78,733 19 24.1 สุไหงปาดี 56,831 31 54.5 จะแนะ 38,744 19 49.0 เจาะไอร฾อง 40,584 16 39.4 รวม 801,193 498 62.2 ที่มา: HDC จงั หวดั นราธวิ าส (ข฾อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562) 3.7 อัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง มีการจัดต้ังคลินิก STROKE Unit ในโรงพยาบาล 2 แห฽ง คือโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทรแ (9 เตียง) และโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก (4 เตียง) มี STROKE Nurse ท้ัง 2 แห฽ง สามารถให฾ยา RT-PA ท้ัง 2 แหง฽ มรี ะบบการส฽งกลับผป฾ู ุวยไปยงั โรงพยาบาลชุมชนระดับ F ทุกแห฽ง มีการให฾สุขศึกษาประชาสัมพันธแ สัญญาณโรค STROKE ผ฽านสื่อประชาสมั พันธแ สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั นราธิวาส หนา้ 111

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ผป฾ู วุ ยโรคหลอดเลือดสมอง 1,361 ราย เสียชีวิต 95 ราย คิดเป็น ร฾อยละ 7.0 เป็นผ฾ูปุวยโรค หลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน 985 ราย เสียชีวิต 43 ราย คิดเป็น ร฾อยละ 4.4 และผู฾ปุวยโรคหลอดเลือด สมองแตก 376 ราย เสียชีวิต 52 ราย คิดเป็น ร฾อยละ 13.8 ผู฾ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ท่ีมี อาการไมเ฽ กนิ 72 ช่วั โมง จานวน 1361 ราย รกั ษาใน Stroke Unit 1016 ราย คดิ เป็นร฾อยละ 74.5 ผ฾ูปุวย โรคหลอดเลอื ดสมองตีบ/อุดตัน ระยะเฉียบพลัน (I63) ท่ีมีอาการ 4.5 ชั่วโมง จานวน 146 ราย ได฾รับการ รกั ษาดว฾ ยยาละลายลิม่ เลือดทางหลอดเลอื ดดาภายใน 60 นาที (Door to needle time) 64 ราย คิดเป็น ร฾อยละ 43.8 จังหวัดนราธิวาสผ฾ูปุวยโรคหลอดเลือดสมองแตก จานวน 122 ราย ได฾รับการผ฽าตัด 4 ราย คิดเป็น รอ฾ ยละ 3.3 รายละเอยี ดดงั ตาราง ตารางที่ 65 แสดงผลการดาเนินงานโรคหลอดเลือดสมอง ฐาน ผลงาน ร฾อยละ ตวั ชีว้ ัด 1. อัตราตายผปู฾ วุ ยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อดุ ตนั (Ischemic stroke: 985 43 4.4 I63) 2. อตั ราผู฾ปุวยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก (Hemorrhagic stroke : I60-I62) 376 52 13.8 3. อัตราตายของผู฾ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke : I60-I69) 1361 95 7.0 4. รอ฾ ยละผป฾ู วุ ยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ทีม่ ีอาการไม฽เกิน 72 ชั่วโมง 1361 1016 74.5 รักษาใน Stroke Unit 5. ร฾อยละผูป฾ วุ ยโรคหลอดเลอื ดสมองตีบ/อุดตนั ระยะเฉยี บพลนั (I63) ท่ีมี อาการ 4.5 ชวั่ โมงไดร฾ บั การรักษาด฾วยยาละลายลมิ่ เลอื ดทางหลอดเลือดดา 146 64 43.8 ภายใน 60 นาที (Door to needle time) 6. รอ฾ ยละผปู฾ ุวยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก (I60-I62) ไดร฾ บั การผ฽าตดั ภายใน 122 4 3.3 90 นาที (Door to operation room time ) ทมี่ า: รายงานการรับยา RT-PA โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครนิ ทรแ และโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ปี 2562 4. ปัญหาอุปสรรค 4.1 ปญั หาอุปสรรค 4.1.1 การใช฾ระบบข฾อมูล 43 แฟูม ในการติดตามผลการดาเนินงานเนื่องจากความครบถ฾วน สมบูรณแของการบันทึกข฾อมูลในเจ฾าหน฾าท่ีปฏิบัติงานยังขาดความชานาญ ความเข฾าใจที่ถูกต฾อง ทาให฾ผล การประมวลผลขอ฾ มูลจากคลังขอ฾ มลู ไมค฽ รบถ฾วนตามทไ่ี ด฾บันทกึ หน฾างาน สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั นราธิวาส หน้า 112

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 4.1.2 การขับเคลื่อนการดาเนินงานในภาพรวมของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมท้ังภาค ประชาชน และผู฾ปุวยท่ีขาดความต฽อเน่ือง รวมทั้งประชาชนยังไม฽ตระหนักในการปรับเปล่ียนพฤติกรรม ตนเองเท฽าทีค่ วร 4.2 ข้อเสนอแนะ 4.2.1 พัฒนาระบบการขับเคล่ือนการดาเนินงานแบบ พชอ. ให฾ภาคีเครือข฽ายให฾ ความสาคัญในการร฽วมมือวางแผนแก฾ไขปัญหาที่สาคัญของพื้นท่ี และวางแผนการแก฾ไขปัญหาด฾วยตนเอง ใหม฾ ีความยง่ั ยนื 4.2.2 การวางแนวทางการบันทกึ ข฾อมลู ทีถ่ กู ตอ฾ ง การปรบั เปูาหมายให฾ตรงกนั กับทะเบียนผู฾ปุวยที่ รักษาอยจ฽ู ริง เพอ่ื วางแผนการดาเนินงานได฾อย฽างถูกต฾อง 5. โอกาสพัฒนาต่อไป นเิ ทศหน฾างานโรงพยาบาลท่ีมีผลการดาเนินงานตา่ กว฽าที่อืน่ ๆ 3 ลาดบั สุดทา฾ ย เพ่ือรว฽ มวางแผน และแก฾ไขปัญหาจากการดาเนินงานเปน็ ระยะ อย฽างต฽อเน่ือง ทุก 3 เดอื น 6. Best practice 6.1 อายุรแพทยแออกให฾บรกิ ารตรวจ เคสผู฾ปุวยโรคเร้ือรังที่มีภาวะแทรกซ฾อนต฽างๆ ในโรงพยาบาล ชุมชน ลดการเดินทางของผู฾ปุวย การส฽งต฽อผู฾ปุวยมายังโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทรแ และโรงพยาบาล สไุ หงโก-ลก 6.2 การใช฾โปรแกรมทางคอมพิวเตอรแ สาหรับวิเคราะหแข฾อมูลปุวยโรคไม฽ติดต฽อเรื้อรังอาเภอ บาเจาะ ในการวางแผน การดูแลผูป฾ ุวยได฾สะดวกข้นึ 6.3 ทุกอาเภอมีต฾นแบบการดาเนินชุมชนลดปัจจัยเส่ียงโรคไม฽ติดต฽อเร้ือรังสามารถเป็น ตน฾ แบบในการดาเนนิ งานใหก฾ บั พนื้ ทขี่ องอาเภอตนเองได฾ 8.2 งานระบบบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉิน 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา จังหวัดนราธิวาสได฾ดาเนินงานตามระบบบริการการแพทยแฉุกเฉิน โดยมีการให฾บริการใน ปี 2562 (ต.ค.2561-ก.ย.2562) จานวน 15,051 คร้ัง ให฾บริการ โดยหน฽วย FR จานวน 11,629 คร้ัง คิดเป็นร฾อยละ 77.26 ให฾บริการโดยหน฽วยบริการระดับ BLS จานวน 1,648 ครั้ง คิดเป็นร฾อยละ 10.95 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั นราธวิ าส หนา้ 113

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 ให฾บริการโดยหน฽วยบริการระดับ ILS จานวน 656 คร้ัง คิดเป็นร฾อยละ 4.36 ให฾บริการโดยหน฽วยบริการ ระดับ ALS จานวน 1,118 คร้ัง คิดเป็นร฾อยละ 7.43 ช฽องทางขอความช฽วยเหลือ ผ฽านหมายเลขสายด฽วน 1669 จานวน 6,551 ครั้ง คิดเป็นร฾อยละ 43.53 หมายเลข 1669 ท่ีเป็น Second Call จานวน 6,605 ครั้ง คิดเป็นรอ฾ ยละ 43.88 วทิ ยุส่อื สาร จานวน 1,884 คร้งั คิดเปน็ รอ฾ ยละ 12.52 การขยายเครือข฽ายการให฾บริการ ปัจจุบัน การจัดหน฽วยบริการระดับพื้นฐานของจังหวัด นราธิวาส มีหน฽วยปฏิบัติการการแพทยแฉุกเฉิน ในเครือข฽าย 146 หน฽วย ประกอบด฾วยหน฽วยบริการระดับ ALS จานวน 14 หน฽วย BLS จานวน 65 หน฽วย (อปท. 1 หน฽วย/เอกชน 2 หน฽วย) และระดับ FR จานวน 67 หน฽วย (อปท. 59 หน฽วย/เอกชน 8 หน฽วย) ประกอบด฾วยบุคลากร จานวน 2,321 คน จาแนกเป็นแพทยแ EP 3 ราย Paramedic 2 ราย ALS จานวน 484 คน, A-EMT จานวน 49 คน BLS จานวน 351 คน, และ FR จานวน 1,432 คน 2. การบรหิ ารจัดการ การบริหารจัดการงานในระบบบริการการแพทยแฉุกเฉินใช฾การบริหารจัดการผ฽านคณะกรรมการ EMS Board และขับเคล่ือน โดยใชย฾ ทุ ธศาสตรแดังนี้ 2.1 กาหนดนโยบายในการดาเนินงานให฾มีระบบบริการการแพทยแฉุกเฉินท่ีมีคุณภาพ และ ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ โดยเน฾นให฾องคแกรปกครองส฽วนท฾องถิ่น สมัครเข฾าร฽วมหน฽วยบริการการแพทยแฉุกเฉิน เพอ่ื รบั ส฽งผู฾ปุวยฉุกเฉิน 2.2 ขับเคล่ือนทางสังคมและสื่อสาธารณะ โดยการประชาสัมพันธแหมายเลข 1669 ผ฽านสื่อ วทิ ยุท฾องถิน่ และเครอื ข฽ายชมุ ชนทุก คปสอ. อย฽างตอ฽ เน่ือง 2.3 พฒั นาศักยภาพบุคลากรและชุมชน โดยการอบรมฟื้นฟูเจ฾าหน฾าที่ปฏิบัติการฉุกเฉิน เพื่อ ยกระดับความร฾ูข้ันพื้นฐาน ประชุมเชิงปฏิบัติการในกล฽ุมบุคลากรองคแกรปกครองส฽วนท฾องถิ่น ซ฾อมแผน อุบัติเหตุอุบัติภัย และสาธารณภัย ในพื้นท่ี 13 อาเภอ อบรมการช฽วยฟ้ืนคืนชีพและการใช฾เคร่ืองกระตุก หวั ใจดว฾ ยไฟฟาู แบบอตั โนมตั ิ (AED) ในทสี่ าธารณะ จานวน 11 แห฽ง ในประชาชน 1,000 คน พร฾อมติดต้ัง เครื่องกระตุกหัวใจด฾วยไฟฟูาแบบอัตโนมัติ (AED) ในท่ีสาธารณะ ได฾แก฽ สนามบินนราธิวาส สถานีขนส฽ง นราธวิ าส สถานีขนส฽งสุไหงโก-ลก และสถานีรถไฟสุไหงโก-ลก ซึ่งอาเภอสุไหงโก-ลก สามารถ ดาเนินการ ติดตงั้ เพิ่มเติมจานวน 28 จดุ อาเภอรือเสาะ 15 จดุ 2.4 พัฒนาระบบโดยการขับเคล่ือนในรูปแบบของคณะกรรมการ EMS Board มีการจัดตั้ง คณะอนุกรรมการการแพทยแฉุกเฉินแห฽งชาติ จังหวัดนราธิวาส โดยมีผู฾ว฽าราชการจังหวัด เป็นประธานจัด ประชุมปีละ 1 ครั้ง (ได฾บูรณาการกับการประชุมของสานักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย) จัดตั้ง คณะกรรมการดาเนินงาน ระบบบริการการแพทยแฉุกเฉินจังหวัดนราธิวาส ระดับอาเภอและระดับจังหวัด จัดประชุมทุก 3 เดือน เพอ่ื ขบั เคลอื่ นงานพัฒนาระบบ และ แก฾ไขปัญหาอปุ สรรคท่เี กดิ ข้นึ 2.5 การสรา฾ งความเขม฾ แขง็ ของระบบสนับสนนุ ยุทธศาสตรแ โดยการสนับสนุนวัสดุอุปกรณแทุก ระดับ ทง้ั หน฽วยบรกิ ารสาธารณสขุ ระดับ ALS, BLS และ FR เพือ่ ยกระดบั ตามมาตรฐานท่ีกาหนด พัฒนา ระบบวิทยุส่ือสารในงาน EMS โดยจัดทาคาสั่งคณะกรรมการวิทยุส่ือสาร พร฾อมจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพอ่ื แก฾ไขปญั หาเกย่ี วกบั วิทยสุ ่ือสาร และมกี ารทดสอบความสมบรู ณขแ องระบบทกุ วัน 3. ผลการดาเนนิ งาน สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดนราธวิ าส หนา้ 114

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 3.1 อัตราการเสียชีวิตผู฾เจ็บปุวยวิกฤติฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง ใน รพ. A,S,M1 ข้ึนไป ปี 2562 (ต.ค.2561–ก.ย.2562) มีผู฾ปุวยฉุกเฉินวิกฤติ 1,849 ราย เสียชีวิตภายใน 24 ช่ัวโมง จานวน 216 ราย คดิ เปน็ รอ฾ ยละ 11.68 ผา฽ นเกณฑทแ ่กี าหนด (เปาู หมาย <รอ฾ ยละ 12) 3.2 สดั สว฽ นผู฾ปวุ ยฉุกเฉินวกิ ฤตมิ าโดยระบบบรกิ ารการแพทยแฉุกเฉิน ปี 2562 (ต.ค.2561– ก.ย. 2562) มีผู฾ปุวยฉุกเฉินวิกฤติ 13,117 ราย มาด฾วยระบบบริการการแพทยแฉุกเฉิน 1,561 ราย คิดเป็นร฾อยละ 11.90 ไม฽ผ฽านเกณฑแ (เปูาหมาย ≥ร฾อยละ 60) เม่ือจาแนกรายอาเภอพบว฽า ผ฽านเกณฑแ 2 อาเภอ ได฾แก฽ อาเภอจะแนะ 65.85 และ อาเภอเจาะไอร฾อง 61.64 3.3 ร฾อยละ รพ. F2 ข้ึนไปผ฽านเกณฑแ ECS คุณภาพร฾อยละ 40 รายโรงพยาบาล ภาพรวมทั้ง จังหวัด ครอบคลุมร฾อยละ 92.31 ผ฽านเกณฑทแ กี่ าหนด (เปาู หมาย ≥ร฾อยละ 70) 3.4 อัตราการเสียชีวิตผ฾ูปุวย severe Traumatic Brain injury ในโรงพยาบาลท่ัวไปปี 2562 (ต.ค.2561–ก.ย.2562) มีผูป฾ ุวย 86 ราย เสียชวี ิต จานวน 27 ราย คิดเปน็ ร฾อยละ 31.39 ผ฽านเกณฑแที่กาหนด (เปูาหมาย <ร฾อยละ 40) 3.5 อัตราการเสียชีวิตผ฾ูบาดเจ็บที่ PS≥0.75 ในโรงพยาบาลท่ัวไปปี 2562 (ต.ค.2561–ก.ย. 2562) มีผู฾ปุวย 4,615 ราย เสียชีวิต จานวน 15 ราย คิดเป็นร฾อยละ 0.33 ผ฽านเกณฑแที่กาหนด (เปูาหมาย <ร฾อยละ 1) 3.6 สัดส฽วนผ฾ูปุวยฉุกเฉินวิกฤติที่เร่ิมได฾รับปฏิบัติการฉุกเฉินภายใน 8 นาที ปี 2562 (ต.ค. 2561–ก.ย.2562) ทัง้ หมด 962 ราย จากผ฾ูปุวยฉุกเฉินวิกฤติ (สีแดง) ท่ีมาโรงพยาบาลทั้งหมด 1,561 ราย คิดเปน็ รอ฾ ยละ 61.63 ไมผ฽ ฽านเกณฑแ (ร฾อยละ 70) 3.7 ร฾อยละความครอบคลุมขององคแกรปกครองส฽วนท฾องถิ่นท่ีมีบทบาทในการดาเนินงาน การแพทยแฉุกเฉินระดับท฾องถน่ิ หรือพ้ืนท่ี ร฾อยละ 75 จังหวัดนราธิวาส มีองคแกรปกครองส฽วนท฾องถ่ินสมัคร เข฾าร฽วม จานวน 60 แห฽ง จาก 88 แห฽ง คิดเป็นร฾อยละ 68.18 เม่ือเปรียบเทียบรวมทุกหน฽วยในพ้ืนท่ีท่ีมี บทบาทในการดาเนินงาน (อปท., รพ., รพสต., ภาคเอกชน) จานวน 77 ตาบล คิดเป็นร฾อยละ 89.77 (รอ฾ ยละ 80) 3.8 มีการส฽งเสริมพัฒนาให฾มีอาสาฉุกเฉินชุมชนในการแจ฾งเหตุ การปฐมพยาบาลและการ ช฽วยชีวติ เบอ้ื งต฾นให฾แก฽ผเ฾ู จ็บปวุ ยฉุกเฉนิ วิกฤติท่ีเกิดขึ้นในชุมชน จานวน 2,833 ราย ร฾อยละ 0.38 ไม฽ผ฽าน เกณฑทแ ่ีกาหนด (รอ฾ ยละ 0.5) 3.9 อตั ราการแจ฾งเหตุผา฽ นหมายเลข 1669 จานวน 6,551 คร้ัง จากทง้ั หมด 15,051 ปฏิบัตกิ าร คดิ เป็นร฾อยละ 43.53 ไมผ฽ ฽านเกณฑแที่กาหนด (ร฾อยละ 80) ตารางที่ 66 ผลการดาเนินงานระบบบริการการแพทยฉแ ุกเฉนิ ปี 2558-2562 ตวั ชี้วดั /เปาู หมาย ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 14.21 11.68 - อัตราการเสยี ชีวิตผูเ฾ จบ็ ปวุ ยวิกฤติฉุกเฉนิ ภายใน - - - 12.33 11.90 24 ช่ัวโมง ใน รพ. A,S,M1 ข้ึนไป รอ฾ ยละ <12 - สัดส฽วนผ฾ปู วุ ยฉกุ เฉินวกิ ฤติมาโดยระบบบรกิ าร 25.67 12.10 13.27 การแพทยแฉุกเฉิน ≥ร฾อยละ 60 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส หนา้ 115

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 - อัตราการเสยี ชวี ิตผเ฾ู จ็บปุวยวกิ ฤติฉกุ เฉินภายใน - - - 14.21 11.68 24 ชวั่ โมง ใน รพ. A,S,M1 ข้ึนไป รอ฾ ยละ <12 - ร฾อยละ รพ. F2 ข้ึนไปผ฽านเกณฑแ ECS คุณภาพ - - - 92.31 92.31 รายโรงพยาบาลร฾อยละ 40 - อตั ราการเสียชวี ติ ผูป฾ ุวย severe Traumatic - - - 26.51 31.39 Brain injury <รอ฾ ยละ 40 - อัตราการเสียชวี ิตผบ฾ู าดเจ็บที่ PS≥0.75 ภาพรวม - - - 0.43 0.33 ท้งั จงั หวดั <ร฾อยละ 1 - ผปู฾ วุ ยฉกุ เฉินวกิ ฤติ (สีแดง) ทีเ่ รม่ิ ไดร฾ บั ปฏิบัติการ 74.71 65.41 63.76 73.66 61.63 ฉุกเฉินภายใน 8 นาที ร฾อยละ 55 - องคกแ รปกครองสว฽ นทอ฾ งถน่ิ สมคั รเข฾าหน฽วย 61.36 65.90 68.18 68.18 68.18 บรกิ ารการแพทยแฉุกเฉินครอบคลมุ ทกุ พน้ื ที่ ร฾อยละ 90 - องคแกรปกครองสว฽ นทอ฾ งถิ่นท่มี ีบทบาทในการ 89.77 89.77 89.77 89.77 89.77 ดาเนนิ งานการแพทยแฉกุ เฉนิ ระดับท฾องถิ่นหรือพน้ื ท่ี รอ฾ ยละ 75 - การส฽งเสรมิ พัฒนาใหม฾ ีอาสาฉุกเฉินชุมชนในการ 0.38 0.38 0.38 0.38 0.38 แจ฾งเหตุ การปฐมพยาบาลและการช฽วยชวี ิต เบ้อื งตน฾ ร฾อยละ 0.5 - การแจง฾ เหตุผา฽ นทางหมายเลขโทรศพั ทแ 1669 38.81 41.64 41.39 39.45 43.53 ครอบคลุมจากจานวนการแจ฾งเหตุทง้ั หมด ร฾อยละ 80 ที่มา: แบบรายงานระบบบริการการแพทยแฉุกเฉิน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส หน้า 116

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ตารางท่ี 67 ผลการดาเนนิ งานระบบบรกิ ารการแพทยฉแ ุกเฉิน ปี 2562 จาแนกเป็นราย อาเภอ มาโดยระบบบริการการแพทยแ ผู฾ป เปาู หมา เปูาหมาย ผลงาน อัตรา เมือง 2,556 471 18.43 471 ตากใบ 642 62 9.66 62 บาเจาะ 1,375 156 11.35 156 ยีง่ อ 687 130 18.92 130 ระแงะ 1,026 186 18.13 186 รือเสาะ 1,277 68 5.32 68 ศรีสาคร 111 42 37.84 42 แวง฾ 1,263 56 4.43 56 สุคิรนิ 535 23 4.3 23 สไุ หงโก-ลก 3,095 133 4.3 133 สุไหงปาดี 249 45 18.07 45 จะแนะ 82 54 65.85 54 เจาะไอรอ฾ ง 219 135 61.64 135 รวม 13,117 1,561 11.90 1,561 ท่ีมา: แบบรายงานระบบบริการการแพทยแฉุกเฉิน ตารางท่ี 68 ผลการดาเนนิ งานระบบบรกิ ารการแพทยฉแ ุกเฉิน ปี 2562 จาแนกเปน็ ราย สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธิวาส

ข ประจาปี 2562 ยอาเภอ ปุวยสีแดงรับบรกิ ารใน 8 นาที ECS คณุ ภาพ ผลงาน าย ผลงาน อัตรา เปูาหมาย 59.4 อตั รา 40 55.7 92.3 266 56.48 40 44.9 40 47.92 39 62.90 40 46 40 37.9 101 64.74 40 47.1 40 41.1 79 60.77 40 40.1 40 52.6 98 52.69 40 42.2 40 49.8 54 79.41 40 40.12 40 12 23 54.76 13 36 64.29 19 82.61 104 78.20 28 62.22 35 64.81 80 59.26 1 962 61.63 ยอาเภอ หน้า 117

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ อาเภอ อปท. สมัครเข฾าหน฽วย EMS เปาู ห เปาู หมาย ผลงาน อตั รา 57 34 เมือง 7 6 85.71 25 21 ตากใบ 8 8 100.00 43 33 บาเจาะ 8 4 50.00 18 25 ยี่งอ 7 7 100.00 12 36 ระแงะ 9 6 66.67 25 17 รือเสาะ 10 5 50.00 18 3,70 ศรสี าคร 7 3 42.86 แวง฾ 8 4 50.00 สุคริ ิน 6 2 33.33 สไุ หงโก-ลก 4 4 100.00 สุไหงปาดี 7 5 71.43 จะแนะ 4 4 100.00 เจาะไอร฾อง 3 2 66.67 รวม 88 60 68.18 ทมี่ า: แบบรายงานระบบบริการการแพทยฉแ ุกเฉิน สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส

ข ประจาปี 2562 แจง฾ เหตผุ า฽ นหมายเลข 1669 เปูาหมาย ผลงาน อตั รา ส฽งเสรมิ พัฒนาใหม฾ ี อฉช. 4,832 1,957 40.50 หมาย ผลงาน อตั รา 1,758 213 12.12 70 348 0.31 43 150 0.22 458 422 92.14 52 150 0.30 717 344 47.98 17 181 0.42 1,099 647 58.87 36 573 0.66 916 284 31.00 38 0 0.00 409 123 30.07 83 321 0.88 317 165 52.05 52 176 0.35 585 94 16.07 23 150 0.61 963 336 34.89 69 132 0.18 532 113 21.24 58 274 0.53 1,561 1,090 69.83 75 228 0.65 904 763 84.40 89 150 0.40 15,051 6,551 43.53 04 2,833 0.38 หน้า 118

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 4. ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ 4.1 ปญั หาอุปสรรค 4.1.1 การใหบ฾ รกิ ารตามระบบบรกิ ารการแพทยแฉุกเฉิน มีผ฾ูขอใช฾บริการน฾อยเม่ือเทียบกับ สดั ส฽วน การเกดิ อบุ ตั เิ หตขุ องประชาชนในพ้นื ที่ 4.1.2 งบประมาณได฾รับจัดสรรน฾อยลง ทาให฾กระบวนการพัฒนาในภาพรวมของจังหวัดไม฽ คลอ฽ งตัวเน่ืองจากมีเรื่องใหม฽ๆ เข฾ามา ท่ีต฾องพัฒนาเจ฾าหน฾าท่ี/หน฽วยกู฾ชีพกู฾ภัย เช฽นการขยายเครือข฽ายหน฽วยกู฾ ชีพส฽ู องคแกรปกครองส฽วนท฾องถ่ิน การอบรมฟื้นฟูศักยภาพเจ฾าหน฾าท่ีการสนับสนุนแบบฟอรแมเอกสาร แบบ รายงาน 4.2 ข้อเสนอแนะ 4.2.1 เพมิ่ การประชาสัมพันธแการบริการการแพทยฉแ กุ เฉินอยา฽ งต฽อเน่ือง ในทุกช฽องทางให฾ ครอบคลุมทุกพื้นท่ี 4.2.2 ประชมุ ชแ้ี จงขยายเครือขา฽ ยหน฽วยกู฾ชีพสูอ฽ งคกแ รปกครองสว฽ นทอ฾ งถน่ิ 4.2.3 ขอสนับสนุนงบประมาณบางส฽วนจาก องคแกรปกครองสว฽ นท฾องถน่ิ และโรงพยาบาล ในสังกัด 4.2.4 ลดแบบฟอรมแ รายงานทไ่ี มจ฽ าเปน็ ลง 5. โอกาสในการพฒั นา 5.1 สง฽ เสริมการมีสว฽ นร฽วมจากองคแกรปกครองส฽วนท฾องถิ่น ทั้งเร่ืองการขอสนับสนุนงบประมาณ การดาเนินงานให฾บริการระบบบริการการแพทยแฉุกเฉิน การประชาสัมพนั ธแ คัดเอาทแ เสยี งตามสาย 5.2 การบูรณาการงานระบบบริการการแพทยแฉุกเฉินกับสานักงานปูองกันและบรรเทา สาธารณภยั จงั หวัด บริษัทกลางประกนั ภัย งานประกนั สุขภาพ 5.3 การพัฒนาระบบ Service Plan ในสาขาทเี่ กี่ยวขอ฾ งกับการแพทยแฉุกเฉิน ช฽วยเสริมสร฾าง แนวทางการทางาน การพัฒนางาน และ การจัดทาคม฽ู ือ ใหม฾ ีทศิ ทางไปในแนวทางเดียวกัน 5.4 สง฽ เสรมิ การจดั ประชุมวชิ าการ EMS Rally แข฽งขันทักษะด฾านการแพทยแฉุกเฉินท่ีจุดเกิด เหตุ ทั้งในระดับเขต ระดับจังหวัด และระดับอาเภอ โดย มุ฽งเน฾น การพัฒนาทักษะ ก฽อนการเข฾าร฽วมแข฽งขัน และการประเมินผลทักษะในการแขง฽ ขันคร้งั ที่ผา฽ นมา เปรยี บเทยี บกบั รอบปัจจบุ นั 8.3 งานควบคมุ ปูองกันการจมนา้ ในเดก็ อายตุ ่ากวา่ 15 ปี 1. สถานการณแ์ ละสภาพปัญหา รายงานการจมนา้ ระดับโลก (Global Report on Drowning) ขององคกแ ารอนามัยโลก พบว฽าทุกปีมี เด็กอายุต่ากว฽า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้า 140,219 คน โดยเสียชีวิตเป็นอันดับ 3 รองจากโรคเย่ือห฾ุม สมองอักเสบและเอดสแ ประเทศไทยพบว฽าการจมน้าเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุต่า กว฽า 15 ปี ในทุกๆวันจะมีเดก็ อายตุ ่ากวา฽ 15 ปี จมน้าเสียชีวติ 2 คน ปี 2562 กระทรวงฯ กาหนดตัวชี้วัดให฾การเสียชีวิตจากการจมน้าของเด็กอายุต่ากว฽า 15 ปี ไม฽เกิน 3.9 ต฽อประชากรแสนคน เปูาหมายการดาเนินงานปีน้ีให฾มีการจัดตั้ง “ทีมผู฾ก฽อการดี (Merit Maker) ปูองกันการจมน้า” เปูาหมายในการจัดต้ังทีมใช฾เกณฑแตามพื้นที่ความเสี่ยง จังหวัดนราธิวาสเป็น สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส หน้า 119

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 พ้ืนที่เสี่ยงปานกลาง (อัตราการเสียชีวิต 5–7.4 ต฽อประชากรแสนคน) ต฾องดาเนินการจัดตั้งให฾มี “ทีมผ฾ูกอ฽ การด”ี ระดับทองแดงอยา฽ งน฾อยร฾อยละ 70 ของจานวนอาเภอ จังหวดั นราธวิ าส มแี นวโน฾มการเสยี ชีวติ จากการจมน้าของเดก็ อายตุ ่ากว฽า 15 ปี เพ่ิมข้ึนทุกปี (ข฾อมูลต้ังแต฽ปี 2558–2562 ร฾อยละ 2.96, 5.43, 7.30, 3.46, 4.59) จานวนเด็กเสียชีวิตจากการจมน้า สะสมตั้งแต฽ปี 2554–2562 จานวน 84 คน เฉลี่ยเสียชีวิตปีละ 10 คน ปี 2562 มีเด็กอายุต่ากว฽า 15 ปี จมน้าเสียชีวิต 10 คน คิดเป็นอตั รา 4.95 ต฽อประชากรแสนคน ซง่ึ เกินเกณฑทแ ี่กระทรวงฯกาหนด 2. การบริหารจัดการ จากการวิเคราะหแข฾อมูลท่ีผ฽านมา สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ได฾ขับเคลื่อนการ ดาเนินงานปอู งกนั การจมน้าในเด็กอายตุ า่ กว฽า 15 ปี โดยบูรณาการกบั หน฽วยงานที่เก่ียวข฾อง ได฾สร฾างทีมครู ก ของจังหวัดนราธิวาส จานวน 4 คน เพ่ือเป็นทีมขับเคลื่อนการดาเนินงานในจังหวัดต้ังแต฽ปี 2559 ได฾ จัดทาแผนงานและโครงการปูองกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนและการจมน้า ในเด็กอายุตา่ กวา฽ 15 ปี จังหวดั นราธวิ าส ปงี บประมาณ 2561 และมกี ิจกรรมทด่ี าเนนิ การ ไดแ฾ ก฽ 1. จัดประชมุ เชิงปฏิบัติการทีมอาสาสมัครชว฽ ยเหลือคนจมน้า (ไลฟ฼การแด) ระหว฽างวนั ที่ 8-10 เมษายน 2562 ผูเ฾ ขา฾ รว฽ มการฝึกอบรมท้ังหมด 30 คน ผ฽านการอบรม 28 คน ไม฽ผ฽าน 2 คน 2. ขับเคลือ่ นให฾มีการจัดต้ังทีมผ฾กู ฽อการดีระดับทองแดงเพิ่มข้ึนอีก 1 ทมี รวมเป็น 11 ทมี ใน 10 อาเภอ คดิ เป็นร฾อยละ 76.92 3. ขับเคล่ือนให฾พื้นที่มีการวางแผน และดาเนินการสารวจเด็กอายุต่ากว฽า 2 ปี ให฾มีคอกกั้นเด็กพร฾อม ให฾คาแนะนาเรือ่ งการดแู ลเดก็ 3. ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงานปูองกันการจมน้าในเด็กอายุต่ากว฽า 15 ปี ปี 2562 มีเด็กจมน้าเสียชีวิต 10 คน คิดเป็นอัตรา 4.95 ต฽อประชากรแสนคน (ซ่ึงเกินเปูาหมายตัวช้ีวัดที่กระทรวงฯ กาหนด คือ อัตราการ เสียชีวิตไม฽เกิน 3.9 ต฽อประชากรแสนคน) เป็นเพศหญิง 2 คน เพศชาย 8 คน เสียชีวิตในบ฽อขุด 6 คน แม฽น้า 2 คน ทะเล 1 คน และสระประปา 1 คน ทั้ง 10 เหตุการณแ เกิดเหตุในช฽วงเวลา 07.40-17.00 น.อาเภอ ย่ีงอฯ มีอัตราการเสียชีวิตสูงสุด 25.29 ต฽อประชากรแสนคน รองลงมา คือ อาเภอบาเจาะ 13.63 ต฽อ ประชากรแสนคน และอาเภอสุไหงโก-ลก 10.42 ตอ฽ ประชากรแสนคน รายละเอียดดงั ตาราง ตารางที่ 69 แสดงข฾อมูลจานวนและอตั ราการเสียชวี ิตจากการจมน้าในเดก็ อายตุ ่ากว฽า 15 ปี เปรยี บเทยี บ ปงี บประมาณ 2561 และ 2562 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส หน้า 120

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 อาเภอ ปีงบประมาณ 2561 ปงี บประมาณ 2562 จานวน อตั รา จานวน อัตรา เมอื ง 2 6.61 2 6.59 สุไหงโก-ลก 0 0.00 2 10.42 ระแงะ 0 0.00 0 0.00 ตากใบ 2 10.95 0 0.00 รือเสาะ 0 0.00 0 0.00 สุไหงปาดี 0 0.00 0 0.00 แวง฾ 0 0.00 0 0.00 บาเจาะ 1 6.88 2 13.63 ยง่ี อ 0 0.00 3 25.29 เจาะไอรอ฾ ง 1 9.46 1 9.59 ศรีสาคร 1 8.58 0 0.00 จะแนะ 0 0.00 0 0.00 สคุ ิรนิ 0 0.00 0 0.00 รวม 7 3.46 10 4.95 ที่มา: รายงานการสอบสวนจากอบุ ัตเิ หตุจมน้า ปีงบประมาณ 2561 และ 2562 อัตรา: อัตราต฽อประชากรแสนคน 4. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรค การขับเคลื่อนการดาเนินงานปูองกันการจมน้าในเด็กอายุต่ากว฽า 15 ปี ในปีงบประมาณ 2562 เปน็ ปีที่ 4 ของการดาเนินงาน ยังดาเนินการได฾ไม฽ครอบคลุมในทุกอาเภอ เน่ืองจากบางอาเภอไม฽ได฾ กาหนดเปน็ ปัญหาของพนื้ ที่ จงึ ไมไ฽ ดบ฾ รรจใุ นแผนงาน/โครงการ ทาให฾ขาดงบประมาณในการดาเนนิ การ ขอ้ เสนอแนะ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส กาหนดนโยบายให฾ทุกอาเภอมีการจัดต้ัง “ทีมผู฾ก฽อการ ดี (Merit Maker)” ปูองกันการจมน้า ระดับทองแดงอย฽างน฾อยอาเภอละ 1 ทีม และได฾มีอาเภอท่ีได฾ดาเนินการ แล฾ว 10 อาเภอ การจะดาเนินการให฾ได฾ผลดีจะต฾องขยายผลการดาเนินการให฾ครอบคลุมทุกอาเภอ ตาบล และจะตอ฾ งสร฾างเครือขา฽ ยดาเนินการอยา฽ งต฽อเนื่องและย่ังยืน โดยใชง฾ บประมาณของพ้ืนท่เี อง 5. โอกาสการพัฒนาตอ่ ไป ผลักดันให฾เกิดการขับเคลื่อนการดาเนินงานปูองกันการจมน้าในเด็กอายุต่ากว฽า 15 ปี ให฾ ครอบคลุมในทุกอาเภอ โดยการสนับสนุน คปสอ. ในการจัดต้ังทีมผู฾ก฽อการดีระดับทองแดงให฾ครอบคลุม ทกุ อาเภอ สนบั สนุน คปสอ.ในการจัดใหม฾ ีสถานท่เี ลน฽ น้าปลอดภยั ทกุ อาเภอ สง฽ เสริมและสนับสนุนให฾พื้นท่ี เกิดการใชค฾ อกกน้ั เด็ก (Playpen) 8.4 การดาเนินงานควบคมุ ปูองกนั อุบัติเหตทุ างถนน 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา หนา้ 121 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั นราธิวาส


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook