Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงานสาธารณสุข ประจำปี 2562

รายงานผลการดำเนินงานสาธารณสุข ประจำปี 2562

Published by suthirak.song, 2020-08-27 09:52:19

Description: รายงานผลการดำเนินงานสาธารณสุข ประจำปี 2562

Keywords: รายงานประจำปี

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 อุบัติเหตุทางถนน ยังคงเป็นสาเหตุสาคัญของการบาดเจ็บและเสียชีวิตของคนในจังหวัด นราธิวาสทกุ ปี จากรายงานข฾อมูล 19 สาเหตุ ปีงบประมาณ 2562 มีผ฾ูบาดเจ็บจานวน 9,655 คน คิดเป็น อตั รา 1209.77 ต฽อประชากรแสนคน มีผู฾เสียชีวิตจานวน 116 คน คิดเป็นอัตรา 14.53 ต฽อประชากรแสน คน (ยังไม฽เกินเปูาหมายตัวช้ีวัดท่ีกระทรวงฯ กาหนด คือ อัตราตายไม฽เกิน 23.2 ต฽อประชากรแสนคน) อาเภอเมืองนราธิวาส มีอัตราการเสียชีวิตสูงสุด 57.47 ต฽อประชากรแสนคน รองลงมา คือ อาเภอแว฾ง 11.11 ต฽อประชากรแสนคน และอาเภอยี่งอ 10.81 ต฽อประชากรแสนคน สาเหตุส฽วนใหญ฽เกิดจาก รถจักรยานยนตแ อาชีพผ฾ูใช฾แรงงาน และนักเรียนนักศึกษา พฤติกรรมเสี่ยงขับรถเร็วเกินกว฽าที่กฎหมาย กาหนดไมส฽ วมหมวกนิรภัย เมื่อเปรียบเทียบกับปีงบประมาณ 2561 อัตราตายเพ่ิมข้ึนร฾อยละ 3.57 (ปีงบประมาณ 2561 ผ฾ูเสียชีวิต จานวน 112 คน คิดเป็นอัตรา 14.15 ต฽อประชากรแสนคน) และเม่ือเปรียบเทียบกับ ค฽ามัธยฐาน ปี 2554-2559 จานวนผู฾เสียชีวิตลดลงร฾อยละ 21.62 (เกณฑแกระทรวงฯ ให฾ลดลงร฾อยละ 28 จากค฽ามัธยฐาน ปี 2554-2559 คอื 148 คน) 2. การบรหิ ารจัดการ จงั หวดั นราธิวาสได฾มกี ารขับเคลื่อนการดาเนินงานปูองกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ในระดับจังหวัด โดยคณะกองเลขานุการศูนยแอานวยการความปลอดภัยทางถนนได฾มีการประชุมร฽วมกัน ทุกสามเดือน มกี ารวิเคราะหแข฾อมูลการบาดเจ็บและเสยี ชวี ติ ท้งั เชิงปริมาณและคุณภาพร฽วมกับทีมสหสาขา ท่ีเก่ียวข฾อง และมีการสร฾างกลไกการดาเนินงาน D-RTI โดยการบูรณาการร฽วมกับคณะกรรมการพัฒนา คุณภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) และในส฽วนของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส มีการขับเคลื่อน การดาเนินงานโดยคณะกรรมการการขับเคล่ือนการดาเนินงานอุบัติเหตุและEMS ของจังหวัดนราธิวาส ดาเนินงานตามมาตรการ 4 ด฾าน (ด฾านการจัดการข฾อมูล ด฾านการปูองกัน ด฾านการรักษา ด฾านการรักษา และตอบสนองหลังเกิดเหตุ และด฾านการบริหารจัดการ) โดยการขับเคล่ือนการดาเนินงานปูองกันการ บาดเจ็บจากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนในระดบั จงั หวดั มีกิจกรรมดงั นี้ 1. ขับเคล่ือนการดาเนินงานโครงการแกนนาอาสาจราจรการใช฾รถจักรยานยนตแอย฽างปลอดภัย ณ โรงเรยี นอัครศาสนแ อาเภอยง่ี อ จังหวดั นราธวิ าส 2. ขบั เคล่อื นการดาเนินงานโครงการชุมชนวัฒนธรรมความปลอดภัยการใช฾รถจักรยานยนตแ ณ ชมุ ชนตาบลบาเจาะ จังหวัดนราธวิ าส 3. ขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการโรงเรียนสอนศาสนาต฾นแบบการใช฾ค฽ูมือสองภาษา (ไทย-มลายู)และโครงการสถานศึกษาต฾นแบบด฾านความปลอดภัยทางถนน ณ โรงเรียนดารุสสาลาม อาเภอ ระแงะ จงั หวัดนราธวิ าส 4. ขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการสถานศึกษาต฾นแบบด฾านความปลอดภัยทางถนน ณ โรงเรยี นสวนพระยาวิทยา อาเภอจะแนะ จงั หวดั นราธวิ าส 5. ขับเคล่ือนการดาเนินงานโครงการชุมชนปลอดอุบัติเหตุในเขตเมืองและในท฾องท่ี ทุรกันดาร จังหวัดนราธิวาส ณ องคแการบริหารส฽วนตาบลริโกเ และองคแการบริหารส฽วนตาบลจวบ จังหวัด นราธวิ าส 6. มกี ารจดั ตัง้ ด฽านชุมชนโดยบรู ณาการกบั ด฽านความม่ันคงช฽วงเทศกาล (ปีใหม฽และสงกรานตแ) และ การเฝูาระวัง 7 วันเข฾มข฾น ในส฽วนของอาเภอรือเสาะ จะมีการตั้งด฽านชุมชนในหมู฽บ฾าน โดยหน฽วยกู฾ชีพ กทบ. ซือเลาะ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส หนา้ 122

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 7. การขับเคลอ่ื น Service plan สาขาอบุ ตั ิเหตใุ นรปู ของคณะกรรมการ 3. ผลการดาเนินงาน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ดาเนินงานปูองกันและแก฾ไขปัญหาการบาดเจ็บและ เสียชีวิตจากการจราจรทางถนนโดยให฾หน฽วยงานสาธารณสุข (สสจ./รพ./สสอ.) มีการดาเนินงานปูองกัน แก฾ไขปัญหาการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการจราจรทางถนนตามแนวทางกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 ตามภารกจิ ของหน฽วยงานแตล฽ ะระดับ โดยใชง฾ บประมาณของแตล฽ ะหนว฽ ยงาน ไดแ฾ ก฽ ระดบั จังหวดั 1. จงั หวดั มแี ผนปฏบิ ัติการ SAT/EOC-RTI ทมี ตระหนักรู฾ (SAT) รวบรวมข฾อมลู ประเมินสถานการณแเสนอผ฾ูบรหิ ารในการตดั สนิ ใจ 2. จงั หวดั มีการบรู ณาการข฾อมูลจาก 3 หนว฽ ยงาน และนาเสนอข฾อมลู เขา฾ ศปถ.จังหวดั 3. ช้ีเปูาจุดเสยี่ งผา฽ น ศปถ.จงั หวดั หรือการประชุมของสหสาขา สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ได฾จัดตั้ง EOC-RTI ทีมตระหนักรู฾ (SAT) รวบรวม ข฾อมูลประเมินสถานการณแเสนอผ฾ูบริหารใช฾ในการตัดสินใจ ได฾บูรณาการข฾อมูลจาก 3 ฐาน (ตารวจ สาธารณสุข บริษัทกลางฯ) นาเสนอข฾อมูลใน ศปถ.จังหวัดฯ และได฾ชี้เปูา/แก฾ไขจุดเส่ียง 5 จุด/ไตรมาส ผา฽ น ศปถ.จังหวัด อาเภอ ระดับอาเภอ 1. อาเภอ (สสอ./รพช.) รว฽ มดาเนนิ งาน (ศปถ.อาเภอ) ร฾อยละ 50 ของอาเภอในจงั หวัด 2. อาเภอมกี ารขับเคลือ่ นการดาเนนิ งาน D-RTI 3. อาเภอขับเคลื่อนการดาเนินงานด฽านชุมชน/มาตรการชุมชนช฽วงเทศกาล (ปีใหม฽และ สงกรานตแ) ผลการดาเนินงานสสอ./รพช.ทุกแห฽งร฽วมดาเนินงาน ศปถ.อาเภอ ได฾ขับเคล่ือนการดาเนินงาน D-RTI ใน 5 อาเภอ (อาเภอย่ีงอ รือเสาะ ศรีสาคร จะแนะ แว฾ง) ได฾จัดตั้งด฽านชุมชนโดยบูรณาการกับด฽านความ มั่นคงชว฽ งเทศกาล (ปีใหม฽และสงกรานตแ) จานวน 27 ดา฽ น โรงพยาบาลระดับ A S M1 1. โรงพยาบาล A S M1 พัฒนา Trauma Admin Unit ให฾มีการดาเนินงานอย฽างเป็น รูปธรรม 2. โรงพยาบาลมีการดาเนนิ งานมาตรการองคกแ ร (รถพยาบาล) 3. การพัฒนาคุณภาพการรักษาตามแนวทาง Service Plan Trauma and Emergence และมีผ฾บู าดเจ็บทีม่ คี า฽ Ps>0.75 เสียชีวิตไมเ฽ กนิ รอ฾ ยละ 1 ผลการดาเนินงาน ไดพ฾ ฒั นา Trauma Admin Unit ในโรงพยาบาล S M1จานวน 2 แห฽ง ได฾ ดาเนินงานมาตรการองคแกร (รถพยาบาล) โดยผลักดันให฾มีการทาประกันภัย ร฾อยละ 95.55 จากัดความเร็ว ติดตั้งกล฾องหน฾ารถ ร฾อยละ 88.88 ติดตั้งอุปกรณแ GPS ร฾อยละ 80.00 การรายงานข฾อมูล ได฾พัฒนาคุณภาพ การรักษาตามแนวทาง Service Plan Trauma and Emergence และมีผู฾บาดเจ็บท่ีมีค฽า Ps>0.75 เสียชีวิต ไม฽เกิน 1 จากผลการดาเนินงานปูองกันและลดอุบัติเหตุทางถนนปีงบประมาณ 2562 มีผู฾บาดเจ็บ จานวน 9655 คน คดิ เป็นอัตรา 1209.77 ต฽อประชากรแสนคน มีผูเ฾ สยี ชีวิต จานวน 116 คน คิดเป็นอัตรา สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส หน้า 123

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 14.53 ตอ฽ ประชากรแสนคน (ยงั ไม฽เกนิ เปาู หมายตัวชี้วัดที่กระทรวงฯกาหนด คือ อัตราตายไม฽เกิน 23.2 ต฽อ ประชากรแสนคน) อาเภอเมืองนราธิวาสมีอัตราการเสียชีวิตสูงสุด 57.47 ต฽อประชากรแสนคน รองลงมา คือ อาเภอแวง฾ 11.11 ตอ฽ ประชากรแสนคน และอาเภอยง่ี อ 10.81 ตอ฽ ประชากรแสนคน รายละเอยี ดดังตาราง ตารางท่ี 70 แสดงข฾อมูลจานวนและอัตราตายจากอบุ ัตเิ หตุทางถนน เปรียบเทียบปงี บประมาณ 2561 และ 2562 อาเภอ ปีงบประมาณ 2561 ปีงบประมาณ 2562 จานวน อัตรา จานวน อตั รา เมอื ง 65 52.37 72 57.47 สุไหงโก-ลก 10 12.81 7 8.91 ระแงะ 2 2.17 4 4.32 ตากใบ 7 9.71 6 8.26 รือเสาะ 1 1.39 1 1.38 สไุ หงปาดี 2 3.55 1 1.77 แวง฾ 1 1.87 6 11.11 บาเจาะ 5 9.27 5 9.17 ยงี่ อ 13 28.32 5 10.81 เจาะไอร฾อง 1 2.49 3 7.43 ศรสี าคร 1 2.53 2 5.00 จะแนะ 3 7.88 3 7.78 สุคิริน 1 3.83 1 3.80 รวม 112 14.15 116 14.53 ทีม่ า: รายงาน 19 สาเหตุ ปงี บประมาณ 2561 และ 2562 อตั รา: อัตราตอ฽ ประชากรแสนคน 4. ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ หนา้ 124 4.1 ปัญหาอุปสรรค สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดนราธวิ าส

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 - การขับเคล่ือนการดาเนินงานอุบัติเหตุทางถนนได฾ดาเนินการในคณะกรรมการในระดับ จังหวัด ส฽วนในระดับอาเภอยังดาเนินการไม฽ครบทุกอาเภอ หากมีการขับเคล่ือนการดาเนินงานไปพร฾อมๆ กัน ทั้งจังหวดั ผลการดาเนนิ งานนา฽ จะมปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา฽ น้ี 4.2 ข้อเสนอแนะ - ควรผลักดันให฾เกิดการขับเคลื่อนการดาเนินงานอุบัติเหตุทางถนนในคณะกรรมการระดับ อาเภอในทกุ อาเภอ โดยมกี ารประชุมอย฽างสมา่ เสมอ และขบั เคล่ือนการดาเนนิ งานไปพรอ฾ มๆ กัน 4.4 โอกาสการพัฒนาตอ่ ไป - ผลักดันให฾เกิดการขับเคล่ือนการดาเนินงานอุบัติเหตุทางถนนในคณะกรรมการระดับ อาเภอใน ทุกอาเภอ ให฾ดาเนินการแก฾ไขปัญหาตามสภาพในแต฽ละพื้นท่ี และให฾ดาเนินงานในเชิงรุกและ เขา฾ ถึงกลม฽ุ เปาู หมายมากขึน้ ทั้งในชมุ ชนและโรงเรียน โดยใหด฾ าเนนิ การไปพร฾อมๆ กันทั้งจงั หวดั 8.5 การดาเนินงานควบคุมปูองกนั โรคมะเร็ง 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา ผลการดาเนินงานควบคุมปูองกันโรคมะเร็งในจังหวัดนราธิวาส ในปี 2562 มีการตรวจคัดกรอง มะเร็งเต฾านม ร฾อยละ79.33 (ปี 2558-2561 ร฾อยละ 61.57, 74.45, 81.79 และ 80.33 ตามลาดับ) คัดกรอง มะเร็งปากมดลูกสะสมปี 2558-2562 ร฾อยละ 49.89 (ปี 2558-2561 ร฾อยละ 11.13, 21.82 , 27.99 และ 38.12 ตามลาดับ) รายละเอียดตามแผนภูมิ ส฽วนการคัดกรองมะเร็งลาไส฾ใหญ฽ดาเนินการในประชากรสิทธิ์ UC เปาู หมาย 6,000 ราย ดาเนินการคดั กรอง โดยใชช฾ ุดตรวจ Fit Test คดิ เปน็ ร฾อยละ 78.16 แผนภมู ิที่ 4 แสดงการคัดกรองมะเรง็ เต฾านมและมะเร็งปากมดลกู ปี 2558-2562 100 81.79 87.64 78.16 90 80.33 79.33 80 49.89 70 74.45 60 61.57 50 40 30 38.12 20 21.82 27.99 10 11.13 เต้านม ปากมดลกม ลาโส้ 0 2558 2559 2560 2561 2562 ทมี่ า: ระบบ Health Data Center (HDC) จังหวัดนราธิวาส ขอ฾ มูล ณ ปี 2558–2562 2. การบริหารจดั การ จังหวัดนราธิวาส ได฾ดาเนินการควบคุมปูองกันโรคมะเร็งและการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาโรคมะเร็ง โดยได฾จัดทาโครงการเร฽งรัดการดาเนินงานเฝูาระวังควบคุมปูองกันโรคมะเร็ง สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส หน้า 125

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 จังหวัดนราธิวาส ปี 2562 เพ่ือพัฒนาระบบบริการและเฝูาระวังควบคุมปูองกันโรคมะเร็งเต฾านมมะเร็ง ปากมดลูกมะเร็งลาไส฾ใหญ฽ และรณรงคแตรวจคัดกรองมะเร็งเต฾านมโดยเคร่ืองเอ็กซเรยแเต฾านมเคลื่อนที่ Mammogramในสตรีกลุ฽มเสี่ยงและด฾อยโอกาสเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ฾าอย฽ูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูรมีการประชุมชี้แจงนโยบาย ตัวชี้วัดการดาเนินงานแก฽ผ฾ูรับผิดชอบงานและติดตามการดาเนินงาน ผ฽านการประชุมคณะกรรมการ Service Plan สาขามะเร็ง โดยมีเปูาหมายหลัก คือ การค฾นหาผู฾ปุวยและการ วนิ ิจฉยั โรคมะเร็งให฾ได฾ในระยะเร่ิมแรกเพื่อลดอัตราปุวยซึง่ ได฾ดาเนนิ การกจิ กรรมท่สี าคัญดังนี้ - เร฽งรัดการดาเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต฾านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลาไส฾ใหญ฽ ให฾ ครอบคลุมกล฽ุมเปาู หมาย - จดั กจิ กรรมรณรงคตแ รวจคัดกรองมะเร็งเตา฾ นมโดยเครอื่ งเอ็กซเรยแเต฾านมเคลื่อนที่เฉลิมพระ เกยี รติฯ รว฽ มกบั มลู นิธกิ าญจนบารมี - ดาเนนิ การตรวจคัดกรองมะเร็งลาไส฾ใหญ฽ในประชากรสิทธิ UC ในจังหวัดนราธิวาสจานวน เปาู หมาย 6,000 ราย โดยดาเนนิ การในทุกอาเภอ - จัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ เน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล฾าเจ฾าอยู฽หัวตลอดทั้งเดือน พฤษภาคม 2562 ณ บริเวณห฾องโถง ชั้นล฽าง หอประชุมเฉลิมพระเกียติ 7 รอบ พระชนมพรรษา ศาลากลางจังหวัดนราธิวาส 3. ผลการดาเนินงาน 3.1 ผลการดาเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปี 2562 - ผลการดาเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต฾านม ปีงบประมาณ 2562 มีการตรวจคัดกรองมะเร็ง เต฾านม จานวน 113,538 ราย คิดเป็นร฾อยละ 77.90 โดยอาเภอท่ีมีการคัดกรองได฾สูงสุด คือ อ.ตากใบ, อ.แว฾ง และอ.บาเจาะ คิดเป็นร฾อยละ 94.40, 94.25 และ 94.09 ตามลาดับ อาเภอที่มีการคัดกรองน฾อยท่ีสุด คือ อ.รอื เสาะ คดิ เป็นร฾อยละ 47.54 - ผลการดาเนินงานกิจกรรมรณรงคแตรวจคัดกรองมะเรง็ เต฾านม โดยเครอ่ื งเอ็กซเรยแเตา฾ นมเคล่อื นท่ี เฉลิมพระเกียรติฯ ร฽วมกับมูลนิธิกาญจนบารมี ในวันท่ี 6- 8 กุมภาพันธแ 2562 มีกลุ฽มเปูาหมายและประชาชน ทั่วไปให฾ความสนใจเข฾าร฽วมกิจกรรมจานวน 660 คน ผลการดาเนินกิจกรรมคัดกรอง พบผู฾ที่มีอาการผิดปกติ (BIRADS 5) จานวน 3 ราย ตดั ชนิ้ เนอ้ื สง฽ ตรวจพบเปน็ มะเร็งทัง้ 3 ราย - ผลการดาเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ปี 2558-2561 จานวน 47,266 ราย คิดเป็นร฾อยละ 41.91 โดยอาเภอท่ีมีผลการดาเนินงานคัดกรองได฾สูงสุด คือ อ.จะแนะ และ อ.ย่ีงอ คิดเป็น ร฾อยละ 68.83 และ 67.79 ตามลาดับ อาเภอท่ีมีการคัดกรองน฾อยท่ีสุด คือ อ.เมือง และอ.เจาะไอร฾อง ร฾อยละ 21.21 - ผลการดาเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งลาไส฾ ปี 2562 เปูาหมาย จานวน 6,000 ราย ดาเนินการ ตรวจคัดกรองโดยใช฾ชุดตรวจ Fit Test ค฽า Cut off ที่100 ng/ml จานวน 4,224 ราย คิดเป็นร฾อยละ 70.42 โดยอาเภอที่มีผลการดาเนินงานคัดกรองได฾สูงสุด คือ อ.ตากใบ และอ.บาเจาะ คิดเป็นร฾อยละ 94.73 และ 93.33 ตามลาดับ อาเภอที่มีการคดั กรองน฾อยท่สี ดุ คือ อ.รอื เสาะ รอ฾ ยละ 4.36 ตารางท่ี 71 ผลการดาเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเรง็ เตา฾ นม ปี 2562 จาแนกรายอาเภอ หนว่ ยงาน ผลการคัดกรองมะเร็งเตา้ นม ผลการคดั กรองมะเรง็ ผลการคดั กรองลาไส้ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส หน้า 126

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 รอ้ ยละ 80 ปากมดลูก ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 เปาู หมาย ผลงาน ร้อยละ เปูาหมาย ผลงาน ร้อยละ เปูาหมาย ผลงาน รอ้ ยละ เมือง 24,406 18,584 76.15 19,157 4,064 21.21 800 639 79.88 ตนารกาธใบิวาส 14,066 13,278 94.40 11,092 6,378 57.5 550 521 94.73 บาเจาะ 9,532 8,969 94.09 7,323 4,369 59.66 450 420 93.33 ย่งี อ 8,786 6,944 79.03 6,771 4,590 67.79 350 238 68.00 ระแงะ 16,063 12,304 76.60 12,432 6,434 51.75 700 687 98.14 รือเสาะ 14,023 6,666 47.54 10,611 3,768 35.51 550 24 4.36 ศรีสาคร 7,288 5,194 71.27 5,557 2,709 48.75 250 73 29.20 แว฾ง 9,653 8,905 92.25 7,463 3,373 45.2 400 207 52.00 สุคิริน 4,389 2,995 68.24 3,443 2,010 58.38 250 201 80.40 สุไหงโก-ลก 13,556 10,676 78.75 10,655 2,517 23.62 650 405 62.31 ลสไุกหงปาดี 10,364 8,221 79.32 7,970 2,530 31.74 500 434 86.80 จะแนะ 6,554 5,569 84.97 4,905 3,376 68.83 300 288 96.00 เจาะไอ 7,076 5,233 73.95 5,412 1,148 21.21 250 87 34.80 ร฾องรวม 145,756 113,53 77.90 112,791 47,266 41.91 6,000 4,224 70.42 ทท่มี าง้ั ห: รมะดบบ Health Data C8enter (HDC) จงั หวดั นราธิวาส ข฾อมูล ณ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2562 3.2 การดาเนนิ ของโรคมะเร็งเต฾านมและมะเร็งปากมดลกู ในระยะตา฽ งๆ (Stage) ปี 2562 - สถานการณแโรคมะเร็ง จังหวัดนราธิวาส ข฾อมูลจากสถาบันมะเร็งแห฽งชาติ โปรแกรม Thai cancer base พบผป฾ู ุวยโรคมะเร็งเต฾านม จานวน 24 ราย อยู฽ในระยะ Early stage (ระยะที่ 1 และ 2) จานวน 5 ราย คิดเป็นร฾อยละ 20.83 ระยะ Late stage (ระยะท่ี 3 และ 4) จานวน 6 ราย คิดเป็นร฾อยละ 25.00 Unknow stage (ไม฽ระบุระยะ) จานวน 13 ราย คิดเป็นร฾อยละ 54.17 ส฽วนผ฾ูปุวยโรคมะเร็งปากมดลูก ไมม฽ รี ายงานข฾อมูล รายละเอยี ดดังตาราง ตารางที่ 72 แสดงสัดสว฽ นผปู฾ ุวยโรคมะเรง็ เต฾านม-มะเร็งปากมดลกู ปี 2562 ตัวชวี้ ัด จานวน Staging รอ้ ยละ (คน) 1 234 ไม่ ระยะที่ ระบุ 1 - 2 1.สัดส฽วนของผูป฾ วุ ยมะเรง็ เต฾านม 24 235 1 13 20.83 ระยะท่ี 1 และ 2 ไมน฽ อ฾ ยกว฽า หน้า 127 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดนราธิวาส

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 ร฾อยละ 70 2.สัดสว฽ นของผ฾ูปวุ ยมะเรง็ ปากมดลูก ระยะท่ี 1 และ 2 ไม฽ 0 00000 0 นอ฾ ยกว฽ารอ฾ ยละ 70 3.สดั สว฽ นของผป฾ู วุ ยมะเร็งเต฾านม และมะเร็งปากมดลกู ระยะท่ี 1 24 2 3 5 1 13 20.83 และ 2 รวมกนั ไม฽นอ฾ ยกวา฽ ร฾อยละ 70 ทีม่ า: ระบบรายงาน TCB ณ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2562 3.3 อัตราปุวยรายใหม฽ด฾วยโรคมะเรง็ ข฾อมูลจาก HDC ปี 2562 มีผู฾ปุวยโรคมะเร็งเต฾านมมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งปอด ประเภทละ 5 ราย อัตรา 0.62/แสนปชก. ส฽วนข฾อมูลจากสถาบันมะเร็งแห฽งชาติ โปรแกรม Thai cancer base ปี2562 พบผป฾ู วุ ยโรคมะเร็งรายใหม฽ จานวน 40 ราย โดยพบในเพศหญิง จานวน 28 ราย พบมากท่ีสุด คือ มะเร็งเต฾านม 23ราย มะเร็งลาไส฾ใหญ฽ 2 ราย มะเร็งปอด 2 ราย และมะเร็งปากมดลูก 1 ราย คิดเป็นอัตรา 5.66,0.49 และ 0.25/ประชากรเพศหญิงแสนคน ตามลาดับ ส฽วนในเพศชายพบ จานวน 12 ราย (เฉพาะข฾อมูล รพ.สุไหงโก-ลก สว฽ นรพ.นราธิวาสฯ ไมม฽ ีขอ฾ มลู ) พบมากท่ีสุด คือ มะเร็งลาไส฾ใหญ฽ จานวน 6 ราย, มะเร็งตับ 3 ราย ปอด 1 ราย และหลอดอาหาร 1 ราย คิดเปน็ อตั รา 1.51, 0.75 และ 0.25/ประชากรเพศชายแสนคน ตามลาดับ 4. ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ 4.1 ปญั หาอุปสรรค 4.1.1 แพทยแไม฽ได฾ระบุ staging ทาให฾ไม฽สามารถสรุประยะการดาเนินของโรคได฾ถูกต฾อง ครบถว฾ น 4.1.2 ปัญหาเร่ืองการบนั ทกึ และการใชข฾ ฾อมลู 4.1.2.1 โรงพยาบาลท่ัวไป ไม฽มีผ฾ูรับผิดชอบการบันทึกข฾อมูล Thai cancer Base ทาให฾ ข฾อมูลไม฽เป็นปัจจุบัน และมีการบันทึกข฾อมูลน฾อยมาก ทาให฾ไม฽สามารถสะท฾อนและวิเคราะหแปัญหาได฾อย฽าง แทจ฾ รงิ เช฽นมขี อ฾ มลู ผ฾ูปุวยเสียชวี ติ ด฾วยโรคมะเรง็ ปลี ะ 0-2 ราย 4.1.2.2 ข฾อมูลอัตราปุวยโรคมะเร็ง จาก HDC มีข฾อมูลเฉพาะโรคมะเร็งบางชนิด ได฾แก฽ โรคมะเร็งปากมดลูก, มะเร็งเต฾านม และมะเร็งปอด ซ่ึงมีข฾อมูลน฾อยมาก กล฽าวคือ ในปี 2560-2562 มีจานวน ผู฾ปุวยโรคมะเร็งเต฾านม จานวน 6,4,5 ราย ตามลาดับ โรคมะเร็งปากมดลูก จานวน 3,3,5 ราย ตามลาดับ และ โรคมะเรง็ ปอด จานวน 7,6,5 ราย ตามลาดบั 4.1.2.3 ขอ฾ มลู การเสียชีวิตจากโรคมะเร็งจากข฾อมูลของสานักนโยบายและแผน มีข฾อจากัดใน การดงึ ข฾อมูลต฾องอาศัยความร฾ูความสามารถจาก IT เฉพาะบคุ คล 4.1.2.4 ข฾อมูลผู฾ปุวยที่ส฽งต฽อเพ่ือรับการรักษาโดยรังสีรักษา ท่ีรพ.สงขลานครินทรแ ไม฽มีระบบ การจดั เกบ็ ข฾อมูล และการคนื ข฾อมูลจากรพ.สงขลานครนิ ทรแ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดนราธิวาส หนา้ 128

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 3. สตรีกลุ฽มเปูาหมายบางส฽วนไปตรวจที่คลินิก หรือโรงพยาบาลเอกชน หรือโรงพยาบาลรัฐใน ต฽างจังหวัด ทาให฾ขาดความครอบคลุมของข฾อมูลในส฽วนของการคัดกรอง/ตรวจรักษา เนื่องจากไม฽ได฾รับผลการ ตรวจรกั ษา และการรวบรวมจัดเก็บข฾อมูล 4.2 ขอ้ เสนอแนะ 4.2.1 ขอความร฽วมมือใหแ฾ พทยแระบุ staging ของโรค 4.2.2 สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ ควรให฾ความรู฾และประชาสัมพันธแความรู฾โรคมะเร็งส฽ู ชุมชนอย฽างต฽อเน่ือง เพื่อให฾กลุ฽มเปูาหมายเกิดความตระหนักต฽อการตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง โดยเฉพาะ โรคมะเร็งท่ีมีอัตราปุวย หรือเสียชีวิตสูง ได฾แก฽ มะเร็งเต฾านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งปอด และมะเร็งตับ เพื่อ สร฾างความเข฾าใจ และปรับเปล่ียนทัศนคติท่ีถูกต฾องให฾แก฽กลุ฽มเสี่ยง กลุ฽มสตรีเปูาหมายและสามีอย฽างต฽อเนื่อง รวมทั้งเพื่อสร฾างความตระหนักในการตรวจรักษาแต฽เนิ่นๆ ตลอดจนเพื่อให฾กลุ฽มเปูาหมายเกิดความมั่นใจและ เชื่อถอื มากยิ่งขึ้น 4.2.3 พัฒนาศักยภาพเจ฾าหน฾าที่ ในการตรวจคัดกรองและดูแลผู฾ปุวยโรคมะเร็ง รวมท้ังการ บรหิ ารจดั การข฾อมูล การประสานงานและหาช฽องทางในการคืนข฾อมูลกลบั ท่ีโรงพยาบาล 4.2.4 จัดกิจกรรมรณรงคแและออกหน฽วยบริการเชิงรุกตรวจคัดกรองมะเร็งเต฾านมและมะเร็ง ปากมดลกู ในชุมชนอย฽างต฽อเนื่อง 4.2.5 ควรมีผ฾ูรับผิดชอบการบันทึกข฾อมูลที่ชัดเจน และควรมีระบบการจัดการข฾อมูล การ ตรวจสอบขอ฾ มูลการรวบรวมข฾อมูลและการคืนข฾อมูลกลบั 4.2.6 ควรมีการพัฒนาโปรแกรมการบันทึกข฾อมูล ให฾ครอบคลุมโรคมะเร็งทุกประเภท และ ครอบคลมุ สถานบริการสาธารณสุขทุกแห฽งโดยสามารถลิงคแข฾อมูลจาก 43 แฟูม และประมวลผลการดาเนินงาน จาก HDC ได฾ 5. โอกาสการพฒั นาต่อไป 5.1 บรู ณาการงานคัดกรองมะเรง็ เข฾ากับงานโรคเรื้อรังอ่ืนๆ เชน฽ งานคัดกรองความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดยใช฾ภาคเี ครือข฽ายในการดาเนนิ การ 5.2 พัฒนาระบบการทางานเป็นเครือข฽ายเชงิ รุกในชมุ ชนใหม฾ ากขน้ึ 5.3 พฒั นาระบบการจัดเก็บขอ฾ มูลโดยสามารถลงิ คแขอ฾ มูลจาก 43 แฟูมได฾ 8.6 การรณรงค์ปูองกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ (TO BE NUMBER ONE) 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา จังหวัดนราธิวาส ดาเนินโครงการรณรงคแปูองกันและแก฾ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) มาตั้งแต฽ ปี 2546 จนถึงปัจจุบัน โดยให฾ความสาคัญอันเนื่องด฾วยเป็นโครงการตาม พระราชดาริ อันเกยี่ วเนอ่ื งกบั พระบรมวงศานุวงศแ สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธิวาส หน้า 129

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 ในปัจจุบันปัญหายาเสพติดยังคงเป็นปัญหาท่ีสาคัญและต฾องเร฽งรัดในการปูองกันและแก฾ไข ปัญหาอย฽างจริงจังและต฽อเนื่องโดยเฉพาะในกล฽ุมเยาวชนซ่ึงเป็นเปูาหมายของผู฾ค฾ายาเสพติด จากข฾อมูล ศูนยแอานวยการปูองกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวดั นราธิวาส พบว฽ามีเยาวชนเสพยาเสพติดถึงร฾อยละ 10 ของประชากรของจังหวัดนราธิวาส การนาเอายุทธศาสตรแการปูองกันและแก฾ไขปัญหายาเสพติดมา ใชใ฾ นการดแู ลปูองกันและแย฽งชิงกลุ฽มเปูาหมายเยาวชน อายุ 6-24 ปี คนื มาส฽สู ังคมจงึ เป็นสิง่ ท่สี าคัญจังหวดั นราธิวาส น฾อมนาโครงการรณรงคแปูองกันและแก฾ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ใน ทูลกระหม฽อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี องคแประธานโครงการ มาเป็นหลักในการ ขับเคลื่อนการปูองกันและแก฾ไขปัญหายาเสพติดมาตั้งแต฽ปี พ.ศ. 2546 โดยนา โครงการ TO BE NUMBER ONE บูรณาการร฽วมกับภารกิจต฽างๆ ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน เพื่อทาให฾เยาวชนของ จงั หวัดนราธิวาส เก฽ง ดี มสี ุข เปน็ หนง่ึ โดยไม฽พึ่งยาเสพติด 2. การบรหิ ารจดั การ ภายใต฾การนาของผู฾ว฽าราชการจังหวัดนราธิวาส ศูนยแอานวยการปูองกันและปราบปรามยา เสพติดจังหวัดนราธิวาส (ศอ.ปส.จ.นธ.) และศูนยแอานวยการปูองกันและปราบปรามยาเสพติดอาเภอทุก แห฽ง (ศอ.ปส.อ.)ดาเนินกิจกรรมแบบบูรณาการ ร฽วมกันในทุกหน฽วยงานท่ีเกี่ยวข฾อง โดยมี นายแพทยแ สาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส เป็นเลขานุการในการดาเนินงานสาหรับงบประมาณได฾รับการสนับสนุนงบ จากสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด และงบพฒั นาจังหวัด นับว฽าเป็นหัวใจหลักสาคัญที่ทาให฾กิจกรรมประสบ ผลสาเร็จได฾ด฾วยดี สาหรับแผนงานโครงการรณรงคแปูองกันและแก฾ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) ปงี บประมาณ 2562 จงั หวดั นราธวิ าสได฾ดาเนนิ การดังนี้ 2.1 ประชุมช้แี จงการดาเนินงาน TO BE NUMBER ONE ปี 2562 2.2 ประชุมซ฾อมใหญ฽การประกวด TO BE NUMBER ONE ปี 2562 จานวน 3 คร้ัง กลุ฽ม ตน฾ แบบและกลมุ฽ ดีเดน฽ 2.3 เขา฾ ร฽วมประกวด จงั หวัด/ชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับภาคใต/฾ ประเทศ 2.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเยาวชนต฾นแบบเก฽งและดี TO BE NUMBER ONE IDOL ปี 2562 จานวน 3 คร้งั 2.5 เขา฾ ร฽วมกิจกรรมคา฽ ย TO BE NUMBER ONE CAMP รนุ฽ ที่ 21 - 22 กับกรมสุขภาพจิต 2.6 เขา฾ ร฽วมประกวดเยาวชนตน฾ แบบเก฽งและดี TO BE NUMBER ONE ระดบั ภาคใต฾ จงั หวัด ภเู ก็ต 2.7 ประชมุ พัฒนาและขยายเครือข฽ายการดาเนินงานTO BE NUMBER ONE เพื่อลดนักเสพ หนา฾ ใหม฽ระดับจังหวัด 2.8 ประชาสัมพนั ธแโครงการ TO BE NUMBER ONE เพ่ือแจกจา฽ ยให฾กบั หน฽วยงานที่ เกยี่ วข฾อง 2.9 ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทาค฽ูมือองคแความรู฾ เพชร เม็ดงาม การบาบัดฟ้ืนฟู และปูองกัน ยาเสพติด ส฽ูความสาเรจ็ จงั หวัดนราธิวาส 2.10 ประชุมเตรียมความพร฾อมการประกวด TO BE NUMBER ONE ระดับจังหวัดประเภท กลุ฽มดเี ด฽นและต฾นแบบระดบั เงนิ /ทอง เข฾าสู฽ระดับประเทศ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส หน้า 130

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 2.11 ประชุมเตรียมความพร฾อมการประกวด TO BE NUMBER ONE ระดับจังหวัดประเภท กลุ฽มดีเด฽นและต฾นแบบระดับเพชร เขา฾ สู฽ระดบั ประเทศ 2.12 เข฾าร฽วมประกวด TO BE NUMBER ONE TEEN DANCERCISE CHAMPIONSHIP 2019 ระดบั ภาคใต฾ จงั หวัดภูเก็ต 2.13 กิจกรรมรวมพลสมาชิก TO BE NUMBER ONE ในการจัดทาอนาซีด TO BE NUMBERR ONE ตน฾ แบบ จังหวัดนราธิวาส 2.14 ร฽วมงานแถลงข฽าวการประกวด TO BE NUMBER ONE IDOL ระดับประเทศ พร฾อมส฽งผ฾ูเข฾า ประกวด TO BE NUMBER ONE IDOL เก็บตัวบ฾าน TO BE NUMBER ONE IDOL ณ เดอะไพนแ รีสอรแท จังหวัด ปทุมธานี 2.15 กิจกรรมรวมพลสมาชกิ TO BE NUMBER ONE ในเรือนจา จังหวัดนราธิวาส 3. ผลการดาเนนิ งาน ผลการดาเนินโครงการ TO BE NUMBER ONE ปี 2562ดังน้ี 3.1 เกิดชมรม TO BE NUMBER ONE ใหม฽ ในโรงเรียนประถมศึกษานาร฽อง 13 โรงเรียน ในโรงเรยี นมัธยมทุกโรงเรยี นในสถานตี ารวจ 19 ชมรม ใน 13 อาเภอ 3.2 จังหวัดนราธิวาส สามารถเพิ่ม สมาชิก TO BE NUMBER ONE กลุ฽มอายุ 6–24 ปี เพม่ิ ขึน้ ทุกปีจากจานวนสมาชิกในปี 2557 ที่มีเพียง 253,533 คน ในปี 2562 เพ่ิมขึ้นอีก จานวน 92,652 คน รวมสมาชกิ ทั้งหมด ในปี 2562 จานวน 345,180 คน คดิ เป็นร฾อยละ 94.12 ของเยาวชนอายุ 6–24 ปี ทั้งหมดของจังหวดั จานวน 366,433 คน 3.3 โรงเรียนสวนพระยา อ.จะแนะได฾เป็นModel และศูนยแเรียนร฾ูชมรม TO BE NUMBER ONE ตามวิถีมสุ ลิม ของโรงเรียนสอนศาสนาอสิ ลามใน 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใต฾ 3.4 ศูนยเแ พ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE มจี านวน452 แห฽ง 3.5 จงั หวัดนราธิวาสส฽งประกวดระดับภาคใตไ฾ ด฾ถึง 13 ชมรม และได฾รับรางวัลพระราชทาน ท้งั 11 ชมรม เพ่อื เข฾าสก฽ู ารประกวดระดับประเทศ นบั ว฽าเปน็ ความภาคภมู ใิ จของจงั หวดั เลยทีเดยี ว ความสาเร็จในการประกวด TO BE NUMBER ONE ปี 2562 1.จังหวัดสามารถรักษามาตรฐานพร฾อมเป็นต฾นแบบระดับเพชรปีท่ี 1 ได฾ลาดับที่ 4 ระดับประเทศ ไดค฾ ะแนนสะสม 0.5 คะแนน 2.จังหวัดนราธิวาสสามารถสนับสนุนให฾กล฽ุมต฾นแบบได฾รับรางวัลระดับประเทศ จานวน 8 รางวัลและ 4 รางวัล ผา฽ นระดับภาคใตแ฾ ละเขา฾ สร฽ู ะดับประเทศ ดงั น้ี จงั หวดั นราธิวาสสามารถทาให้ได้รางวัลระดบั ประเทศ จานวน 8 รางวลั สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส หน้า 131

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 กลมุ฽ ตน฾ แบบผา฽ นระดบั ประเทศ จานวน 8 รางวลั ดงั ตอ฽ ไปน้ี 1 ประเภทจงั หวัด สามารถรักษามาตรฐานพรอ฾ มเป็นต฾นแบบระดับเพชร ปที ่ี 1 ได฾รบั TO BE NUMBER ONE รางวัลท่ี 4 ระดับประเทศ (สามารถสะสมคะแนน 0.5 คะแนน) 2. โรงเรยี นนราสิกขาลยั สามารถรกั ษามาตรฐานพรอ฾ มเปน็ ต฾นแบบระดับเพชร ปีที่ 1 ได฾รบั อาเภอเมือง รางวลั ท่ี 2 ระดับประเทศ (สามารถเลอ่ื นระดับประเทศ เป็นรกั ษา เพชรปที ่ี 2) 3. โรงเรยี นนราธิวาส อาเภอเมือง สามารถรักษามาตรฐานพร฾อมเป็นต฾นแบบระดับเงนิ ปที ่ี 1 ได฾รบั รางวลั ท่ี 5 ระดบั ประเทศ (สามารถเล่อื นระดับประเทศ เปน็ เงนิ ปีที่ 2 เนื่องจากปี 62 ได฾รบั รางวัล ท่ี 6 มีคะแนนสะสม0.5ปนี ี้ได฾ 0.5 คะแนนรวมเปน็ 1คะแนน) 4.ชมุ ชนผดุงมาตร อาเภอจะแนะ สามารถเปน็ ตน฾ แบบระดับเงนิ ได฾รับรางวัลที่ 2 ระดบั ประเทศ (สามารถเลื่อนระดับประเทศ เป็นรักษาทองปีที่ 1) 5. ชุมชนหวั กุญแจ สามารถรกั ษามาตรฐานพรอ฾ มเปน็ ตน฾ แบบระดับเงิน ปีท่ี 1 ไดร฾ บั รางวัล อาเภอสไุ หงโก-ลก ท่ี 4 ระดับประเทศ (สามารถเลื่อนระดับประเทศ เปน็ เงนิ ปีท่ี 2 เนอ่ื งจากปี 62 ไดร฾ ับรางวลั ท่ี 5 มคี ะแนนสะสม0.5ปนี ีไ้ ด฾ 0.5คะแนน รวมเปน็ 1คะแนน) 6. ประเภทสถานพินจิ และ สามารถรักษามาตรฐานพร฾อมเป็นต฾นแบบระดบั เงิน ปที ี่ 1 ได฾รับรางวลั คุ฾มครองเด็กและเยาวชนจงั หวดั ที่ 3 ระดบั ประเทศ(สามารถเล่ือนระดบั ประเทศ เป็นเงินปีที่ 2) นราธิวาส 7.ชุมชนเจาะไอร฾อง อ.เจาะไอร฾อง สามารถรักษามาตรฐานพรอ฾ มเปน็ ตน฾ แบบระดบั เงิน ปีที่ 1 ไดร฾ บั รางวัลที่ 5 ระดับประเทศ (สามารถสะสมคะแนน 0.5 คะแนน) 8. ประเภทบุคคลดเี ดน฽ ประเภทสถานศกึ ษา ระดับประเทศ นายกฤษฎา ปรชี าหาญ ครโู รงเรยี น นราสกิ ขาลยั กล฽มุ ต฾นแบบผา฽ นระดับภาคใตเ฾ ข฾าสรู฽ ะดบั ประเทศ จานวน 1 รางวลั ดังต฽อไปนี้ โรงเรยี นสวนพระยาวทิ ยา อ.จะแนะ รกั ษามาตรฐานพร฾อมเป็นตน฾ แบบระดับเงนิ ปีที่ 1 กล฽ุมดีเด฽นผ฽านระดับภาคใต฾เข฾าส฽ูระดับประเทศจานวน 3 รางวัล ดังตอ฽ ไปนี้ 1 เรอื นจาจงั หวัดนราธิวาส สามารถผ฽านระดบั ภาคใต฾เข฾าส฽รู ะดบั ประเทศ 2. โรงเรียนผดุงมาตร สามารถผา฽ นระดับภาคใตเ฾ ข฾าสรู฽ ะดบั ประเทศ 3. โรงเรียนบูเกะ฿ ตาโมง มติ รภาพที่ 128 สามารถผ฽านระดบั ภาคใตเ฾ ข฾าสู฽ระดบั ประเทศ สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั นราธิวาส หน้า 132

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 4. ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 4.1 ปัญหา ผู฾นาศาสนาส฽วนใหญ฽เข฾าใจว฽างาน TO BE NUMBER ONE เป็นกิจกรรมที่มีแต฽การบันเทิง มากกว฽าการปูองกันและแก฾ไขปัญหายาเสพติดทาให฾เกิดการต฽อต฾านและไม฽ยอมรับที่จะให฾มีการขยายการ ดาเนินงาน (ชมรมใหม/฽ สมาชิกใหม)฽ 4.2 ข้อเสนอแนะ 4.2.1 ปี 2562 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส เน฾นการทาความเข฾าใจกับทุกภาค ส฽วน โดยเฉพาะผ฾ูนาศาสนา มีการจัดกิจกรรมให฾สอดคล฾องกับวัฒนธรรมและวิถีมุสลิม เช฽น การประกวด อนาซดี TO BE NUMBER ONE ระดับจงั หวัด เพ่ือเปน็ การประชาสัมพันธแ โครงการฯ และขยายเครือข฽าย ทาใหส฾ ามารถเข฾าถึงกล฽มุ เปาู หมายเพิม่ มากขึน้ 4.2.2 แต฽งตั้งคณะกรรมการ TO BE NUMBER ONE Board จังหวัดนราธิวาสในการ ขบั เคลอ่ื นงาน TO BE NUMBER ONE ระดบั จงั หวดั ให฾ครบทุกภาคส฽วน 5. โอกาสพฒั นาต่อไป 5.1 โครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นโครงการพระราชดาริ อันเก่ียวเน่ืองกับพระบรม วงศานุวงศแ และการได฾นาผลการดาเนินงานไปถวายรายงานต฽อองคแประธานโครงการ ทูลกระหม฽อมหญิง อุบลรัตนราชกญั ญาสิริวัฒนาพรรณวดี ส฽งผลให฾ผู฾บริหารเห็นความสาคัญของงานและมีการสนับสนุน โดย เนน฾ การขยายเครอื ข฽ายสมาชิกและชมรม TO BE NUMBER ONEการพัฒนาทีมวิทยากรระดับอาเภอ การ ประกวดกจิ กรรมโครงการ ขับเคลอ่ื นตามยทุ ธศาสตรแ ทงั้ 3ยุทธศาสตรโแ ดยยึดหลักวถิ ีมสุ ลิม 5.2 รางวลั ทไี่ ด฾รบั พระราชทานทุกปี สง฽ ผลให฾สมาชิก/ชมรม TO BE NUMBER ONE มีพลังที่ จัดกจิ กรรมสร฾างสรรคแอยา฽ งตอ฽ เน่อื ง และมุ฽งมนั ตง้ั ใจรวบรวมผลงานเพ่ือเขา฾ ร฽วมประกวดในปีต฽อไป 8.7 การฆ่าตวั ตายสาเร็จไมเ่ กนิ 6.3 ตอ่ แสนประชากร 1. สถานการณ์และสภาพปญั หา ปัญหาการฆ฽าตัวตายหรือพยายามฆ฽าตัวตายถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญปัญหาหนึ่ง ในระดับประเทศ นอกจากจะก฽อให฾เกิดความร฾ูสึกสูญเสียต฽อบุคคลใกล฾ชิด ครอบครัว ชุมชนของผู฾ท่ีฆ฽าตัวตาย แล฾ว ยังส฽งผลกระทบเป็นวงกว฾าง ทาให฾ต฾องสูญเสียทรัพยากรบุคคลที่มีค฽าก฽อนวัยอันควร สาหรับจังหวัด นราธิวาส จากสถิติผู฾ท่ีพยายามฆ฽าตัวตายและฆ฽าตัวตายสาเร็จ ท่ีมารับบริการ ณ สถานบริการสาธารณสุข ตั้งแต฽ ปี พ.ศ.2555-2561 มีผ฾ูพยายามฆ฽าตัวตาย จานวน 70, 67, 57, 55, 45, 40 และ 44 คน ตามลาดับ โดย มีจานวนการฆ฽าตัวตายสาเร็จ 10, 6, 12, 9, 7, 5 และ 8 คนตามลาดับ คิดเป็นอัตราการฆ฽าตัวตายสาเร็จ 1.38, 0.79, 1.56, 1.16, 0.90, 0.64 และ 1.03 ต฽อแสนประชากร สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส หน้า 133

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 สถานการณแการฆ฽าตัวตายของจังหวัดนราธิวาส ปี 2561 พบว฽า มีผ฾ูพยายามฆ฽าตัวตาย ทั้งหมด 44 คน และฆ฽าตัวตายสาเร็จ 8 คน เป็นชาย 7 คน เป็นหญิง 1 คน คิดเป็นอัตรา 1.03 ต฽อแสน ประชากร เมอ่ื พิจารณาแยกตามเพศ พบวา฽ เพศชายมแี นวโน฾มการฆ฽าตัวตายสาเร็จสูงกว฽าเพศหญิง วิธีการ ทีน่ ิยม คอื ใชอ฾ าวุธปืน 2. การบรหิ ารจดั การ 2.1 กาหนดเปน็ นโยบายระดับจังหวัด และตดิ ตามเปน็ ตัวช้ีวัดรายอาเภอ 2.2 มีการจดั ระบบแนวทางการเฝูาระวัง การส฽งตอ฽ ทบทวนและตดิ ตาม การฆา฽ ตวั ตายสาเร็จ และพยายามฆา฽ ตวั ตาย 2.3 ส฽งเสริมองคแความรู฾ด฾านสุขภาพจิต การดูแลตนเองเบ้ืองต฾น และการเข฾าถึงบริการและ ประชาสมั พันธแ แก฽ประชาชนอยา฽ งทั่วถึงและครอบคลมุ 2.4 พัฒนาศักยภาพบุคลากรผ฾ูเก่ียวข฾องในการประเมิน เข฾าถึงและการให฾บริการดูแล ช฽วยเหลือตดิ ตาม 2.5 สรา฾ งความตระหนกั และความร฽วมมือ การเฝูาระวงั และสง฽ ต฽อกบั หน฽วยงานต฾นสังกัด 2.6 สง฽ เสริมระบบการเฝาู ระวัง ช฽วยเหลือ และตดิ ตามดูแลในชมุ บน 3. ผลการดาเนนิ งาน จากรายงาน การฆ฽าตัวตาย (รง.506 DS) ปี 2555–2562 ข฾อมูลการฆ฽าตัวสาเร็จจังหวัด นราธิวาส มีจานวน 4 อาเภอ คือ อาเภอสุคิริน ร฾อยละ 2.55, อาเภอแว฾ง ร฾อยละ 1.41, อาเภอตากใบ ร฾อยละ 1.40, อาเภอเมอื ง ร฾อยละ 0.83 ตามลาดบั อตั ราการฆ฽าตวั ตายจังหวดั นราธิวาส เฉลี่ยอย฽ูท่ี ร฾อยละ 0.51 ตารางท่ี 73 จานวนผ฾ูฆ฽าตัวตายสาเร็จและจานวนผ฾ูพยายามฆ฽าตัวตายท่ีได฾รับการติดตามแยกตามราย อาเภอ ปงี บประมาณ 2562 (ตลุ าคม 61-กนั ยายน 62 ) ผลงานรอบที่ 1 ผลงานรอบท่ี 2 คปสอ. เปาู หมาย ฆ่าตัว อตั ร/ ฆ่าตวั การ เปาู หมาย ฆา่ ตวั อัตรา / ฆา่ ตัว การ ไม่เกนิ ตาย แสน ตายไม่ ตดิ ตาม ไม่เกนิ ตาย แสน ตายไม่ ติดตาม (คน ) สาเรจ็ ปชก. สาเร็จ (รอ้ ยละ) (คน ) สาเร็จ ปชก. สาเรจ็ (ร้อยละ) เมอื ง 8 1 0.83 8 100 8 1 0.83 14 100 สไุ หงโก-ลก 5 - - 5 100 5 - - 5 100 .ระแงะ 4 - - 4 100 4 - - 4 100 ตากใบ 5 1 1.40 1 100 5 1 1.40 5 100 รอื เสาะ 4 - - - 100 4 - - 4 100 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธวิ าส หน้า 134

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 สไุ หงปาดี 4 - - - 100 4 - - 4 100 แวง฾ 3 - - 6 100 3 1 1.41 3 100 บาเจาะ 4 - - - 100 4 - - 4 100 ยง่ี อ 3 - - 2 100 3 - - 3 100 เจาะไอรอ฾ ง 3 - - - 100 3 - - 3 100 ศรีสาคร 4 - - 2 100 4 - - 1 100 จะแนะ 2 - - - 100 2 - - 2 100 สุคริ นิ 2 1 2.55 2 100 2 1 2.55 2 100 รวมท้ังหมด 55 3 0.38 55 100 55 4 0.51 55 100 ทม่ี า: รายงานการฆ฽าตัวตาย (รง. 506 DS) ปี 2562 4. ปัญหาอุปสรรค 4.1 มผี ูพ฾ ยายามฆา฽ ตวั ตายและผฆ฾ู ฽าตวั ตายสาเร็จท่ียงั ไม฽เข฾าถึงบริการ 4.2 แพทยสแ ว฽ นใหญย฽ ังไมท฽ ราบรหัส ICD 10 ในการวนิ ิจฉัยโรค ซึ่งทาให฾ไม฽มีการบันทึกข฾อมูล ใน HDC 4.3 ชุมชนและประชาชนยังขาดความรู฾เร่ืองสุขภาพจิต แนวทางการดูแลตัวเองเบ้ืองต฾นและ ช฽องทางเข฾าถึงบริการ 4.4 กล฽ุมข฾าราชการ ทหาร ตารวจ เป็นกลุ฽มเสี่ยงขาดการคัดกรองและเช่ือมโยงเข฾าส฽ูระบบ การดแู ลในพนื้ ที่ 4.5 ผู฾ปวุ ยมคี วามรู฾สกึ เป็นตราบาป (Stigma) ต฽อการเขา฾ ถงึ บริการ 5. ข้อเสนอแนะและโอกาสพฒั นา 5.1 พัฒนามาตรฐานระบบการดูแลชว฽ ยเหลือและติดตามผูท฾ ่ีเส่ียงฆ฽าตัวตาย จังหวัดนราธวิ าส (ใน และนอกโรงพยาบาล) 5.2 เพิ่มการเข฾าถึงบรกิ าร 5.3 แนวทางสง฽ เสรมิ ปูองกันเชิงรกุ ในชุมชนเพอ่ื ปูองกันการฆา฽ ตัวตาย 5.4 ประชาสัมพันธแ สายดว฽ น 1323 5.5 สรา฾ งความตระหนักและเช่ือมโยงการดแู ลกับหนว฽ ยงานตน฾ สังกัด 5.6 สร฾างความข฾าใจในการวินิจฉัย โรคตามรหัส X60–X84 ใน รพ.ทุกแห฽ง (แต฽ถ฾า F/U ให฾ลง Z91.5) 5.7 ชุมชนควรมีความร฾ูเรื่องโรคทางจิตเวช เพื่อช฽วยเหลือดูแลกล฽ุมเสี่ยง และสามารถช฽วยเหลือ ผู฾ที่อย฽ูในภาวะเสย่ี งตอ฽ การฆา฽ ตวั ตายได฾ 5.8 ควรมีการพัฒนาความรู฾ด฾านระบาดวิทยาการฆ฽าตัวตายแก฽ทีมงานและเครือข฽ายอย฽าง ต฽อเน่ือง เพ่ือให฾มีความร฾ูความสามารถ ในการดูแล เฝูาระวังติดตามดูแลกล฽ุมเสี่ยงและรายงานข฾อมูลผ฽าน โปรแกรม on line ได฾ 8.8 การคดั กรองพฒั นาการล่าชา้ ด้วยเคร่อื งมือ TEDA4I 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส หน้า 135

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 จังหวัดนราธิวาสมีการดูแลเด็กกลุ฽มเส่ียงที่ได฾รับการติดตามกระต฾ุนพัฒนาการและดูแล ต฽อเน่ืองด฾วยเคร่ืองมือ TEDA4I โดยขับเคลื่อนงานผ฽านผู฾รับผิดชอบงานสุขภาพจิตและจิตเวชและบันทึก ข฾อมูลในระบบ 43 แฟูม และ HDC การกระต฾ุนพัฒนาการด฾วยเครื่องมือ TEDA4I สามารถทาได฾ในระดับ โรงพยาบาลทั่วไปโรงพยาบาลชุมชน เด็กท่ีมีพัฒนาการล฽าช฾าส฽งต฽อเพ่ือกระต฾ุนพัฒนาการด฾วยเครื่องมือ TEDA4Iปี 2560 จานวน 78 คน ได฾รับการกระต฾ุน จานวน 48 คน (ร฾อยละ 61.54) ปี 2561 เด็กท่ีต฾องรับ การกระต฾ุน จานวน 253 คน ได฾รับการกระตุ฾นจานวน 117 คน (ร฾อยละ 46.25) ปัญหาโดยรวมเด็กท่ีมี พัฒนาการล฽าช฾าได฾รับการการกระตุ฾นพัฒนาการด฾วยเคร่ืองมือ TEDA4I ยังไม฽ครอบคลุม เพราะผู฾ปกครอง ยังขาดความตระหนกั ในการนาเด็กมารับการกระต฾ุน และขาดการติดตามเข฾ารบั การกระต฾ุนในแต฽ละช฽วงวัย เจ฾าหน฾าที่ที่รับผิดชอบงานบางแห฽งยังทางานได฾ไม฽เต็มที่ เพราะต฾องรับผิดชอบงานหลายงาน ทาให฾ไม฽ ทันเวลาในการคดั กรองและตดิ ตามกระต฾นุ ตามช฽วงเวลาที่กาหนด 2. การบรหิ ารจดั การ ในปีงบประมาณ 2562 ได฾มีการจัดประชุมทบทวนแนวทางการดาเนินงานกระตุ฾นพัฒนาการ ด฾วยเครื่องมือ TEDA4I และทบทวนการคียแข฾อมูลเข฾าส฽ูระบบ HDC ให฾แก฽ผู฾รับผิดชอบในระดับ รพท. รพช. ทุกแห฽ง ตลอดจนเน฾นย้าการติดตามให฾ครอบคลุม และการให฾บริการเชิงรุกอย฽างต฽อเนื่อง ให฾มีการ บูรณาการการทางานระหว฽างงานเฝูาระวังและส฽งเสริมพัฒนาการเด็ก DSPM กับงานกระต฾ุนพัฒนาการ เดก็ ด฾วยเครอื่ งมือ TEDA4I ในการส฽งตอ฽ ขอ฾ มูลพัฒนาการเด็ก 3. ผลการดาเนนิ งาน ผลผลติ ปีงบประมาณ 2562 ผลการดาเนินงานเด็กปฐมวัยที่ได฾รับการคัดกรองแล฾ว พบว฽า มี พัฒนาการล฽าช฾าแล฾วส฽งต฽อเพื่อรับการกระตุ฾นด฾วย TEDA4I จานวน 247คน ได฾รับการกระตุ฾นด฾วยเคร่ืองมือ TEDA4I จานวน 130 คน ร฾อยละ 52.63 (เปูาหมาย ร฾อยละ 60) กาลังติดตาม 14 คน ร฾อยละ 5.66 ติดตามไม฽ได฾ 103 คน ร฾อยละ 41.70 ซ่ึงอาเภอที่มีการดาเนินการสูงสุด คือ อาเภอเจาะไอร฾อง รองลงมา อาเภอแว฾ง และอาเภอที่มีการดาเนินการต่าสุด คือ อาเภอสุคิริน และในปีนี้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด นราธิวาส ได฾มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและพัฒนาแนวทางการดาเนินงานพัฒนาการเด็กล฽าช฾า และทบทวนระบบการลงรายงาน HDC ตารางที่ 74 ผลการคดั กรองพฒั นาการเด็กท่ีพบว฽าล฽าชา฾ แล฾วได฾รับการกระตุน฾ ดว฾ ย TEDA4I ผลงานปี 2562 คปสอ. อยู่ ติดตาม อัตรา เปูาหมาย ผลงาน อัตรา ระหว่าง อัตรา ไม่ได้ 50.00 ติดตาม 41.67 43.33 เมอื ง 12 4 33.33 2 16.67 6 61.54 41.67 สุไหงโก-ลก 12 7 58.33 0 0.00 5 ระแงะ 30 17 56.67 0 0 13 ตากใบ 13 4 30.77 1 7.69 8 รือเสาะ 12 7 58.33 0 05 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั นราธิวาส หน้า 136

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 สไุ หงปาดี 11 6 54.55 1 9.09 4 36.36 แว฾ง 68 53 77.94 5 7.35 10 14.71 บาเจาะ 19 2 10.53 1 5.26 16 84.21 ย่งี อ 43 14 32.56 3 6.98 26 60.46 เจาะไอรอ฾ ง 17 14 82.35 1 5.89 2 11.76 ศรสี าคร 2 1 50 0 0.00 1 50 จะแนะ 5 1 20 0 0.00 4 80 สุคิริน 3 00 0 0.00 3 100 รวมทั้งหมด 247 130 52.63 14 5.67 103 41.70 ทม่ี า: รายงาน HDC ณ วันท่ี 30 ตลุ าคม 2562, กระทรวงสาธารณสุข 1.2 อภิปรายผลลัพธ์ จากผลการดาเนนิ งาน ปี 2562 อาเภอเจาะไอรอ฾ ง อาเภอแว฾ง มีการดาเนินงานได฾เกินเปูาหมาย ร฾อยละ 60 และพบว฽า อาเภอสุคิริน การติดตามยังเป็นศูนยแ เน่ืองจากเป็นผู฾รับผิดชอบงานใหม฽ ไม฽ได฾ลง รายงานระบบฐานขอ฾ มลู และยังไมไ฽ ดร฾ บั งานกระตุ฾นพัฒนาการเต็มตัว เน่ืองจากกรอบโครงสร฾างกลุ฽มงานยังไม฽ ชดั เจน ทาใหต฾ ฾องปฏบิ ัตงิ านในหอผปู฾ ุวยใน และแผนกผป฾ู ุวยนอกรว฽ มดว฾ ย 4. ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ 4.1 ผูร฾ ับผิดชอบงานหลายพนื้ ที่ ไมส฽ ามารถปฏิบัติงานได฾อย฽างเต็มท่ีเนื่องจากกรอบโครงสร฾าง กล฽ุมงานยังไม฽ชัดเจน ทาให฾ต฾องปฏิบัติงานในหอผ฾ูปุวยใน และแผนกผู฾ปุวยนอก ทาให฾ยังมีผ฾ูรับบริการ ที่ผ฽าน การคดั กรองแลว฾ แต฽รอการกระต฾ุนพัฒนาการเปน็ จานวนมาก 4.2 ผ฾ูรับผิดชอบงานบางแห฽งขาดความเข฾าใจในการบันทึกข฾อมูลคียแรหัส TEDA4I/การ ตรวจสอบและการเพ่ิมรหัส เน่ืองจากผ฾ูรับผิดชอบงานบางแห฽งยังไม฽ได฾ทบทวนทาความเข฾าใจขั้นตอนการ ให฾รหัส บางแหง฽ เพิง่ มารับงานใหม฽ 4.3 การติดตามเด็กปฐมวัยกล฽ุมเสี่ยงให฾มารับบริการยังทาได฾ยาก เนื่องจากผ฾ูปกครองขาด ความตระหนักถึงผลของการกระตุ฾นพัฒนาการ และขาดความร฽วมมืออีกท้ังด฾วยปัญหาทางด฾านเศรษฐกิจ สงั คม และการเดินทาง 4.4 ฐานข฾อมูลจากระบบ HDC และฐานข฾อมูลจากการบันทึก การปฏิบัติงานจริง ไม฽ตรงกัน เน่ืองจากข฾อจากัดของโปรแกรมด฾านระยะเวลาการลงข฾อมูล, ภาระงานของผ฾ูปฏิบัติงาน และปัญหาในการ ติดตามมารับบริการ 5. โอกาสพฒั นาต่อไป 5.1 เสนอให฾มกี รอบโครงสร฾างการทางานของกลม฽ุ งานทช่ี ัดเจน 5.2 เนน฾ ย้าการกระตุ฾นพัฒนาการตามเกณฑมแ าตรฐาน และการตดิ ตามอย฽างต฽อเนอื่ ง 5.3 พัฒนาระบบการส฽งต฽อเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล฽าช฾าเข฾าส฽ูระบบการดูแลช฽วยเหลืออย฽าง รวดเร็วและตอ฽ เนอ่ื ง 5.4 ต฾องอาศัยความร฽วมมือเจ฾าหน฾าที่สาธารณสุขร฽วมกับผู฾ปกครอง รวมทั้งเช่ือมโยงการส฽ง ตอ฽ ขอ฾ มลู ในทกุ ระดับสถานบรกิ าร สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส หน้า 137

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 5.5 การจดั อบรมเจา฾ หน฾าทีเ่ พ่ือทบทวนระบบการบันทึกข฾อมูล HDC 8.9 การบาบดั รักษาฟ้ืนฟผู ู้เสพ/ผ้ตู ิดยาเสพติด จังหวัดนราธิวาส 1. สถานการณ์และสภาพปญั หา จังหวัดนราธิวาสเป็นจังหวัดท่ีมีการแพร฽ระบาดของยาเสพติดและมีสถิติการแพร฽ระบาด เพ่ิมข้ึนทุกปีและจากข฾อมูลสถิติพบว฽าผู฾เข฾ารับการบาบัดรักษา ในทุกระบบสามารถเข฾ารับการบาบัดได฾ถึง รอ฾ ยละ 100 ผเู฾ ข฾ารบั การบาบดั รกั ษาส฽วนใหญ฽ อย฽ูในช฽วงอายุ 18-24 ปี (ร฾อยละ 40.61) รองลงมาช฽วงอายุ 25-29 ปี (ร฾อยละ 21.98) และช฽วงอายุ 30-34 ปี (ร฾อยละ 15.97) ตามลาดับ ยาเสพติดที่มีผู฾เข฾ารับการ บาบัดรักษามากที่สุดคือยาบ฾า ร฾อยละ 55.24 ซ่ึงเป็นยาเสพติดที่มีการแพร฽ระบาดมากต฽อเนื่องกัน มาหลายปี รองลงมาเป็นกระท฽อมร฾อยละ 33.79 และในส฽วนค฽ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจังหวัดนราธิวาส ไดด฾ าเนนิ การไปแล฾ว 13 รุ฽น จานวน 1,776 คน/ค฽าย CAMP 35 จานวน 60 คน และงานบาบัดยาเสพติด นโยบายเร฽งด฽วน ของแมท฽ ัพภาพท่ี 4 จานวน 2,641 คน ตารางท่ี 75 แสดงสถติ กิ ารบาบดั รักษายาเสพติด ผลการดาเนินการบาบัดรกั ษายาเสพติด จังหวดั ระบบบังคับบาบดั ระบบสมคั รใจ (รพ./คสช.) ต้องโทษ รวม เปาู หมาย ผลงาน เปูาหมาย ผลงาน เปูาหมาย ผลงาน นราธวิ าส 207 369 647 1,380 100 129 ร้อยละ 100 100 100 1,879 ตารางท่ี 76 แสดงชว฽ งอายขุ องผูเ฾ ข฾ารบั การบาบัดรักษาทกุ ระบบ ช่วงอายุ 12-17 ปี 18-24 ปี 25-29 ปี 30-34 ปี 35-39 ปี มากกว่า 39 ปี จานวนคน 49 763 413 300 205 149 ร้อยละ 2.69 40.61 21.98 15.97 10.91 7.93 ตารางที่ 77 แสดงชนดิ ของยาเสพติดทีเ่ ขา฾ รับการบาบดั รักษาทุกระบบ ชนดิ ยาเสพติด ยาบา้ ไอซ์ กระทอ่ ม กญั ชา เฮโรอีน อืน่ ๆ จานวนคน 1,052 52 645 52 76 2 รอ้ ยละ 55.24 2.77 33.79 2.77 4.04 0.11 ที่มา: ฐานข฾อมลู ระบบรายงานยาเสพตดิ (บสต.2) http://antidrug.moph.go.th 2. การบรหิ ารจัดการ การดาเนินงานสอดคล฾องตามนโยบายของรัฐบาล/คสช./กระทรวงสาธารณสุข/จังหวัด นราธิวาส และสานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดนราธิวาส มกี ารประชุมเพือ่ รบั ทราบแนวทางการดาเนินงานยา เสพติด แก฽หน฽วยงานท่ีเก่ียวข฾อง เน฾น การดาเนินงานภายใต฾ศูนยแการคัดกรองและศูนยแประสานเพ่ือ ประสานการดูแลผ฾ูผ฽านการบาบัดในแต฽ละอาเภอให฾เป็นไปตามแนวทางท่ีกระทรวงกาหนดภายใต฾การ ปฏบิ ัติงาน ของคณะทางานระดับจังหวัด โดยศึกษาและวิเคราะหแกระบวนงานเพ่ือวางแผนการปฏิบัติงาน ให฾นาข฾อมูลมาปรับปรุงแก฾ไขระบบภายในจังหวัดให฾มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยการจัด ทา แผนงาน/โครงการบาบัดรักษาฟ้ืนฟูสมรรถภาพเพ่ือปูองกันและแก฾ไขปัญหายาเสพติด ปีงบประมาณ สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธวิ าส หนา้ 138

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 2562 จังหวัดนราธิวาส มีกิจกรรม 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแลกเปล่ียนเรียนร฾ูรูปแบบการบาบัด/ รักษาฟ้ืนฟูผ฾ูปุวยยาเสพติดแบบครบวงจรโดยภาคีเครือข฽าย ระดับจังหวัดอย฽างยั่งยืน 2.ประชุมเชิง ปฏิบัติการพัฒนาระบบงานยาเสพติด เพื่อรับรองคุณภาพงานยาเสพติด (HA ยาเสพติด) 3.ประชุมเชิง ปฏิบัติการจัดการระบบรายงานข฾อมูลยาเสพติด (บสต.) อย฽างมีประสิทธิภาพ 4.สนับสนุนงบประมาณค฽า ตรวจพิสูจนแแก฽สถานบริการสาธารณสุขระดับอาเภอ 5.ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนนโยบายด฾านการ ลดอันตรายจากการใช฾ยาเชิงบูรณาการท้ังจังหวัดนราธิวาส 6.ค฽าจัดจ฾างบุคลากรในการติดตามข฾อมูลงาน ยาเสพติ 7.สนับสนุนงบประมาณค฽าบาบัดรักษายาเสพติดระบบบังคับบาบัด แบบไม฽ควบคุมตัว 8.สนับสนุนงบประมาณดา฾ นการบาบดั รกั ษายาเสพติด และกลมุ฽ เสี่ยงที่มีประวัติเสพยาเสพติด 9.ค฽าบริหาร จัดการการดาเนนิ งานบาบดั ยาเสพติดสานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธวิ าส 10.สนับสนุนงบประมาณการ ติดตามผูป฾ ุวยทีผ่ ฽านการบาบดั รักษายาเสพติด และกล฽ุมเสี่ยงท่ีมีประวัติเสพยาเสพติด 11.เข฾าร฽วมประกวด จังหวัด/ชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับประเทศ 12.ประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาเยาวชน ตน฾ แบบเก฽งและดี TO BE NUMBER ONE IDOL 13.เข฾าร฽วมกิจกรรมค฽าย TO BE NUMBER ONE CAMP ร฽ุนที่ 22 กับกรมสุขภาพจิ 14.ประชุมช้ีแจง TO BE NUMBER ONE จังหวัดนราธิวาส วารสาร TO BE NUMBER ONE 15.ประชุมเตรียมความพร฾อมการประกวด TO BE NUMBER ONE ระดับจังหวัด ประเภทกล฽ุมดีเด฽นและต฾นแบบระดับเงินเข฾าส฽ูระดับประเทศ 16.ติดตามและประเมินผล ชมรม TO BE NUMBER ONE ในพน้ื ที่ 3. ผลการดาเนนิ งานการบาบัดรกั ษาและฟนื้ ฟูสมรรถภาพ 3.1 ด้านการบาบัดรกั ษา จาแนกตามการคดั กรอง ผ้เู สพ/ผู้ติด/ผ้ตู ดิ รุนแรง จากข฾อมูลระบบรายงานการติดตามและเฝูาระวังปัญหายาเสพติด (บสต.2) พบจานวน 2,841 ราย จาแนกผ฾ูปุวยเป็นผู฾ใช฾ 67 ราย คิดเป็นร฾อยละ 2.35 เป็นผ฾ูเสพ 2,290 ราย คิดเป็นร฾อยละ 80.60 และเป็นผู฾ติด 473 ราย คิดเป็นร฾อยละ 16.64 และจากข฾อมูลการส฽งต฽อและเข฾ารับการบาบัด ในหน฽วยบาบัดรักษาพบว฽ามีผ฾ูบาบัดรักษาเอง จานวน 475 ราย คิดเป็นร฾อยละ 16.71 มีการส฽งผ฾ูปุวยไป บาบัดค฽ายปรับเปล่ียนพฤติกรรมฯ จานวน 1,104 ราย คิดเป็นร฾อยละ 38.85 และส฽งไปบาบัดใน สถานพยาบาล/ศนู ยแบาบดั โรงพยาบาล จานวน 1,296 ราย คดิ เปน็ ร฾อยละ 45.61 ตารางที่ 78 แสดงผ฾ูใช฾สารเสพติดที่ได฾รับการคัดกรอง ผู฾เสพ/ผ฾ูติด/ผ฾ูติดรุนแรง และส฽งต฽อเข฾ารับการบาบัดรักษา (บสต.2) จานวน ผลการจาแนกผู้ปุวย การรักษา อาเภอ บสต.2 สง่ ต่อ ผู้ใช้ ผู้เสพ ผ้ตู ดิ รกั ษาเอง ค่าย สถานพยาบาล/ ปรับเปลย่ี น ศนู ย์บาบัด พฤตกิ รรม โรงพยาบาล เมือง 1,477 5 1,087 375 174 81 1,211 สไุ หงโก-ลก 132 15 99 17 4 85 38 ระแงะ 94 1 89 4 4 90 0 ตากใบ 114 0 95 19 16 92 6 รอื เสาะ 87 0 87 0 0 85 2 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั นราธวิ าส หนา้ 139

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 สุไหงปาดี 23 0 22 1 1 22 0 แวง฾ 167 0 124 43 69 89 9 บาเจาะ 78 0 78 0 0 78 0 ยีง่ อ 184 0 184 0 2 151 28 เจาะไอรอ฾ ง 122 42 79 1 58 63 1 ศรีสาคร 128 2 124 2 69 58 1 จะแนะ 87 2 74 11 18 62 0 สคุ ริ ิน 148 0 148 0 0 148 0 รวม 2,841 67 2,290 473 475 1,104 1,296 ร้อยละ 2.35 80.60 16.64 16.71 38.85 45.61 ที่มา: ฐานข฾อมูลระบบรายงานยาเสพตดิ (บสต.2) http://antidrug.moph.go.th หมายเหตุ: ในอาเภอเมืองยอดข฾อมูลสูง เน่ืองจากข฾อมูลร฽วมทั้งของสานักงานคุมประพฤติจังหวัด นราธวิ าส/สถานพนิ จิ และค฾มุ ครองเด็กและเยาวชนจังหวัดนราธิวาส ข฾อมูลด฾านการบาบัดรักษาฟ้ืนฟูสมรรถภาพผ฾ูปุวยยาเสพติดของหน฽วยบาบัดทุกแห฽งใน จังหวัดนราธิวาสมีผ฾ูปุวยทั้งหมด 1,380 ราย ผลการจาแนกผ฾ูปุวยเป็น ผ฾ูใช฾ 11 ราย คิดเป็น ร฾อยละ 0.8 เป็นผู฾เสพ 1,189 ราย คิดเป็นร฾อยละ 86.15และเป็นผ฾ูติด 171 ราย คิดเป็นร฾อยละ 12.36 และไม฽ระบุ 9 ราย คิดเป็นร฾อยละ 0.65 ผ฾ูปุวยเข฾ารับการบาบัดรักษาด฾วยระบบสมัครใจ ร฾อยละ 100 และพบว฽าผ฾ูปุวย เข฾ารับการบาบัดสูงสุดท่ีเมือง 700 ราย รองลงมาอาเภอสุคิริน 266, อาเภอศรีสาคร 74, อาเภอแว฾ง 21 ราย ตามลาดับ ตารางท่ี 79 แสดงผู฾ใช฾สารเสพติดท่ีเข฾ารับการบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ (บสต.3) (ระบบสมัครใจ ในสถานพยาบาล/คสช.108) อาเภอ จานวน ผใู้ ช้ ผลการจาแนกผู้ปวุ ย ไม่ระบุ บสต.3 ผเู้ สพ ผู้ตดิ เมือง 700 0 580 115 5 สไุ หงโก-ลก 32 1 20 11 0 ระแงะ 4 0 2 2 0 ตากใบ 19 0 8 11 0 รอื เสาะ 0 0 0 0 0 สไุ หงปาดี 0 0 168 0 0 แวง฾ 55 0 28 27 0 บาเจาะ 0 0 0 0 0 ยี่งอ 0 0 0 0 0 เจาะไอรอ฾ ง 53 8 41 0 4 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธวิ าส หน้า 140

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ศรีสาคร 74 2 67 5 0 0 จะแนะ 9 0 9 0 0 สุคริ ิน 266 0 266 0 9 0.65 รวม 1,380 11 1,189 171 ร้อยละ 0.8 86.15 12.36 ทีม่ า: ฐานขอ฾ มูลระบบรายงานยาเสพติด (บสต.3) http://antidrug.moph.go.th 3.2 ด้านการบาบดั รกั ษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ (บสต.3)จาแนกตามประเภทสารเสพตดิ ข฾อมลู ด฾านการบาบัดรักษาฟ้ืนฟูสมรรถภาพผ฾ูปุวยยาเสพติด มีผ฾ูปุวยทั้งหมด 756 รายพบว฽า ผ฾ูปุวยใช฾สารเสพติดประเภทยาบ฾ามากที่สุด 1,052 ราย ซึ่งเป็นยาเสพติดท่ีมีการแพร฽ระบาดมาก ตอ฽ เนอื่ งกนั มาหลายปี รองลงมาเปน็ กระทอ฽ ม 645 ราย ตารางที่ 80 แสดงผู฾ใช฾สารเสพติดท่ีเข฾ารับการบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ (บสต.3) จาแนกตาม ประเภทสารเสพตดิ ทกุ ระบบ จานวน ประเภทสารเสพตดิ อาเภอ บสต.3 ยาบา้ กญั ชา กระทอ่ ม ยาไอซ์ เฮโรอีน อืน่ ๆ เมอื ง 1,006 550 31 386 29 9 1 สไุ หงโก-ลก 94 38 - 21 19 16 - ระแงะ 17 10 7 - - - - ตากใบ 27 12 - 2 3 10 - รือเสาะ 30 20 1 9 - - - สุไหงปาดี 174 106 2 56 - 10 - สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส หน้า 141

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 แว฾ง 58 25 1 1 - 30 1 0 บาเจาะ 0 0 0 0 0 0 0 ย่ีงอ 0 0 0 0 0 0 - - เจาะไอร฾อง 67 32 4 30 - 1 - 2 ศรีสาคร 107 94 6 7 - - จะแนะ 33 31 - 10 1 1 สคุ ิริน 266 134 13 116 - 3 รวม 1,879 1,052 52 645 52 76 ท่มี า: ฐานข฾อมูลระบบรายงานยาเสพตดิ (บสต.3) http://antidrug.moph.go.th 3.3 ดา้ นการติดตามผลการบาบดั รักษาผู้ปวุ ยยาเสพตดิ พบวา฽ จากการจาหนา฽ ยผป฾ู ุวยสารเสพติดที่ผ฽านการบาบัดฟ้ืนฟูสมรรถภาพแบบครบกาหนด มีการตดิ ตามผู฾ปุวยตามระยะเวลา ผป฾ู ุวย จานวน 659 ราย มากท่ีสุดที่อาเภอศรีสาคร 120 ราย รองลงมา ท่อี าเภอจะแนะ 119 ราย และอาเภอเจาะไอร฾อง 73 ราย ตามลาดบั ผลสรุปเม่ือส้ินสุดการติดตามได฾ 659 ราย พบผู฾ปุวยตดิ ตามไดค฾ รบ 402 ราย ตารางท่ี 81 แสดงผลการดาเนินงานอตั ราคงอย฽ูในระบบการติดตามการรกั ษา ปี 2562 (Retention Rate) จงั หวดั นราธวิ าส ปงี บประมาณ 2562 คปสอ. (อัตราคงอย฽ูในระบบการติดตามการรกั ษา ปี 62 (Retention Rate) รอ฾ ยละ 20 ) เปาู หมาย ผลงาน รอ฾ ยละ/อตั รา เมือง 77 35 45.45 สุไหงโก-ลก 67 23 34.32 ระแงะ 25 24 96.00 ตากใบ 34 32 94.12 รอื เสาะ 43 32 74.17 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธวิ าส หน้า 142

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 สุไหงปาดี 24 18 75.00 แวง฾ 15 4 26.67 บาเจาะ 6 2 33.33 ยี่งอ 30 20 66.67 เจาะไอร฾อง 72 68 94.44 ศรีสาคร 120 120 100 จะแนะ 119 98 81.35 สคุ ริ นิ 27 26 74.74 รวมทั้งหมด 659 402 76.17 ท่ีมา: ฐานขอ฾ มูลระบบรายงานยาเสพติด (http://antidrug.moph.go.th (ขอ฾ มลู Manual) 3.4 ดา้ นการติดตามตามระยะเวลาท่กี าหนด (อัตราการหยดุ เสพ) พบวา฽ จากการจาหน฽ายผ฾ูปุวยสารเสพติดที่ผ฽านการบาบัดฟ้ืนฟูสมรรถภาพแบบครบกาหนด มีการติดตามผ฾ูปุวยตามระยะเวลา ผู฾ปุวย จานวน 1,722 ราย มากที่สุด อาเภอเมือง 881 ราย รองลงมา อาเภอสุไหงปาดี 202 ราย และอาเภอสุคิริน 117 ราย ตามลาดับ ผลสรุปเม่ือสิ้นสุดหารหยุดได฾/เลิกได฾ใน ผ฾ูบาบดั จานวน 1,722 ราย พบผ฾ูปวุ ยหยุดเสพ 1,154 ราย คดิ เปน็ รอ฾ ยละ 67.02 ตารางท่ี 82 แสดงผลการดาเนินงานร฾อยละของผ฾ปู ุวยยาเสพตดิ ท่ีหยดุ เสพต฽อเนื่อง 3 เดือน หลังจาหน฽าย จากการบาบดั รักษา (3 Months Remission Rate) จังหวดั นราธิวาส ปี 2562 ปีงบประมาณ 2562 คปสอ. รอ฾ ยละของผู฾ปวุ ยยาเสพติดท่ีหยุดเสพตอ฽ เน่ือง 3 เดือน หลังจาหน฽ายจากการ บาบัดรักษา (3 Months Remission Rate) รอ฾ ยละ 40 เปาู หมาย ผลงาน ร฾อยละ/อตั รา เมือง 881 701 79.57 สุไหงโก-ลก 112 28 25.00 ระแงะ 14 2 14.29 ตากใบ 0 0 0.00 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั นราธิวาส หน้า 143

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 รือเสาะ 15 13 86.67 สไุ หงปาดี 202 104 51.49 แวง฾ 22 17 77.27 บาเจาะ 8 4 62.5 ยง่ี อ 3 3 100 เจาะไอร฾อง 75 69 90 ศรสี าคร 116 42 36.21 จะแนะ 97 33 34.02 สุคริ ิน 177 137 77.4 รวมทั้งหมด 1,722 1,154 67.02 ที่มา: ฐานขอ฾ มูลระบบรายงานยาเสพตดิ (http://antidrug.moph.go.thและฐานข฾อมูลในระบบ รายงานยาเสพติดของแต฽ละโรงพยาบาล 4. ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ 4.1 ปญั หา 4.1.1 ระบบการบันทกึ ขอ฾ มลู ซง่ึ ไมส฽ ามารถดาเนนิ การไดเ฾ ปน็ ปัจจบุ นั 4.1.2 การมสี ว฽ นร฽วมของชมุ ชน ค฽อนขา฾ งน฾อย 4.2 ขอ้ เสนอแนะ 4.2.1พัฒนาระบบขอ฾ มูลให฾เปน็ ปัจจบุ ันได฾ 4.2.2 ส฽งเสรมิ ให฾ชมุ ชนมสี ฽วนร฽วมในการบาบดั โดยใช฾ CBTx 5. โอกาสพฒั นาต่อไป 5.1 จังหวัดนราธิวาส ประกาศนโยบายการแก฾ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระของจังหวัดให฾ ดาเนนิ งานโดยการรวมพลงั ทกุ ภาคส฽วน ท้งั ภาครัฐ เอกชน และองคแกรปกครองส฽วนท฾องถิ่น มีการจัดเตรียม ความพร฾อมของหน฽วยบริการและทีมบาบัดที่จะรองรับผ฾ูปุวยยาเสพติดไว฾รักษาระยะส้ันเข฾าส฽ูกระบวนการ บาบดั และ สัง่ การใหม฾ ีการกากบั ติดตามชว฽ ยเหลอื อย฽างเป็นระบบ 5.2. เนน฾ การบาบัด โดยใหช฾ ุมชนเปน็ ศูนยแกลาง CBTx ใหค฾ รอบคลุมทกุ อาเภอ ผลสาเรจ็ ทเี่ ป็นรปู ธรรมของจังหวัดนราธวิ าส ปงี บประมาณ 2561 1. สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาสไดร฾ บั ประกาศเกยี รตคิ ณุ เป็นจังหวัดที่มีผลงานดีเด฽น ระดับเขตสุขภาพท่ี 12 ด฾านการพฒั นาระบบบริการ (Service Plan) ด฾านยา และสารเสพติด ประจาปี 2561 2. ปี 2561 จังหวัดสามารถรับพระราชทาน ถ฾วยรางวัลเกียรติยศ ประเภทจังหวัด TO BE NUMBER ONE ต฾นแบบระดับทอง จากทูลกระหม฽อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพัฒนาพรรณวดี องคปแ ระธานโครงการ 3. ปี 2561 นายเพ็ญภาส เพชรภาณ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ ได฾รับโล฽ เกียรติยศ เป็นผปู฾ ฏิบตั ิงาน ดีเด฽น TO BE NUMBER ONE ของ ศอ.บต. 4. ปี 2561 นายเดชวทิ ยแ ใหมแ฽ ย฾ม นกั วิชาการสาธารณสุขชานาญการ เป็นผ฾ูดูแลระบบรายงาน ยาเสพตดิ (บสต.) ของจังหวัดนราธิวาส สามารถทาใหจ฾ ังหวดั นราธวิ าส มีขอ฾ มลู บสต.ทีม่ คี ณุ ภาพ สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดนราธิวาส หนา้ 144

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 5. ปี 2561 นางชนิศา ไชยประดษิ ฐแ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ สสอ.สุไหงโก-ลก ดแู ลชมรม TO BE NUMBER ONE ชมุ ชนหัวกุญแจ จนสามารถได฾รับรางวลั ที่ 5 ระดบั ประเทศ 6. ปี 2561 นางนซี ะ บอื ซา พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ รพ.เจาะไอร฾อง ดแู ลชมรม TO BE NUMBER ONE ชุมชนเจาะไอรอ฾ ง จนสามารถไดร฾ บั รางวัลท่ี 3 ระดบั ประเทศ 7. ปี 2561 นายเพ็ญภาส เพชรภาณ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ สสอ.สุไหงปาดี ดูแลชมรม TO BE NUMBER ONE ชุมชนโผลง จนสามารถได฾รับรางวลั ที่ 4 ระดบั ประเทศ 8. รายชอื่ วิทยากรค฽ายปรับเปล่ียนพฤติกรรมผ฾ูเสพยาเสพตดิ จงั หวัดนราธิวาส ประจาปี 2561 1. นางอรสา ธัญวงษแ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ รพ.ศรสี าคร 2. นางสาวโนรยี ะหแ มอื ลี พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ รพ.ระแงะ 3. นายต฽วนมะสกั รี รายอคาลี พยาบาลวิชาชีพชานาญการ รพ.ย่ีงอฯ 4. นางสาวสริ มิ า แวมซู อ พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ สสอ.ระแงะ 5. ว฽าทร่ี ฾อยตรีเดชวิทยแ ใหม฽แย฾ม นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ สสอ.ศรสี าคร 6. นางเนวรตั นแ สติ งั นันทแ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ รพ.สไุ หงโก-ลก 7. นายดานสิ ดงิ ปาเนาะ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สสอ.เจาะไอร฾อง 8. นายวรี ะโชติ รัตนกุล นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการ สสอ.สุคริ ิน 9. นายวิธาน จันทรอแ ฽ุย พยาบาลวิชาชีพชานาญการ รพ.แวง฾ 10. นางสาวฟารีดา มามะ พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ รพ.สุไหงปาดี 11. นางนีซะ บอื ซา พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ รพ.เจาะไอร฾อง 9. ค฽ายศาสนบาบดั อาเภอสไุ หงปาดี นาทีมโดย ดังนี้ 1. นายเพญ็ ภาส เพ็ญภาน สาธารณสุขอาเภอสุไหงปาดี สสอ.สุไหงปาดี สสอ.สุไหงปาดี 2. นายฮสู นนั อารง ผร฾ู บั ผิดชอบงานยาเสพตดิ รพ.สุไหงปาดี รพ.สต.สุไหงปาดี 3. นางสาวฟารีดา มามะ ผร฾ู ับผิดชอบงานยาเสพตดิ รพ.สต.กาวะ รพ.สต.กาวะ 4. นายรังสรรคแ บุตรมาตา วทิ ยากรค฽ายฯ 5. นางนอรวแ ีณา ยรี ะ วทิ ยากรคา฽ ยฯ 6. นางสาวนรู ีดา สามูนงิ วิทยากรคา฽ ยฯ ผูร้ บั ผดิ ชอบงานยาเสพตดิ ระดับจังหวัด (สสจ.นราธวิ าส) ประจาปี 2561 1. นายสาธติ ทิมขา นายแพทยแสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส 2. นายสถาพร สนิ เจริญกจิ นายแพทยเแ ชย่ี วชาญด฾านเวชกรรมปูองกัน 3. นายอดุล บินยโู ซะ฿ เภสชั กรเช่ียวชาญ (ดา฾ นเกื้อกลู ) 4. นางอภญิ ญา ก฾อเด็ม ผผ฾ู ู฾รบั ผิดชอบงานยาเสพตดิ (รบั ช฽วงสงิ หาคม 2561) 5. นางปาริชาต ชทู พิ ยแ ผรู฾ ับผดิ ชอบงานยาเสพติด 6. นางสาวอิกบารนแ ราซดี ผู฾รับผดิ ชอบงานยาเสพติด ผู้รบั ผดิ ชอบงานยาเสพติดระดบั โรงพยาบาลประจาปี 2561 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั นราธวิ าส หนา้ 145

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 1. นางสุชาดา อดุ มลาสกลุ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ รพ.นราธวิ าส รพ.สุไหงโก-ลก 2. นางสุดารตั นแ เก฾าเอ้ียน พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ รพ.สุงไหงปาดี รพ.แว฾ง 3. นางฟารีดา มามะ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ รพ.ตากใบ รพ.สุคริ ิน 4. นายวิธาน จันทรอแ ฽ุย พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ รพ.ระแงะ รพ.เจาะไอร฾อง 5. นางอรุโนทัย พลู เทพ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ รพ.จะแนะ รพ.ศรีสาคร 6. นางนวอร นรานุกูล พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ รพ.ยงี่ อ รพ.รอื เสาะ 7. นางสาวโนรียะหแ มือลี พยาบาลวิชาชีพชานาญการ รพ.บาเจาะ 8. นางนีซะ บือซา พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ สสอ.เมือง สสอ.สไุ หงโก-ลก 9. นางคอลเี ยาะ แซจิ พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ สสอ.สงุ ไหงปาดี สสอ.แว฾ง 10. นางอรสา ธญั วงษแ พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ สสอ.ตากใบ สสอ.สุคริ นิ 11. นายตว฽ นมะสักรี รายอคาลี พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ สสอ.ระแงะ สสอ.เจาะไอรอ฾ ง 12. นางสาวจฑุ ามาส คงสีพทุ ธ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ สสอ.จะแนะ สสอ.ศรสี าคร 13. นางสาวรอฮานี ยโู ซะ฿ พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ สสอ.ยีง่ อ สสอ.รอื เสาะ ผ้รู บั ผดิ ชอบงานยาเสพตดิ ระดับโรงพยาบาลประจาปี 2561 สสอ.บาเจาะ 1. นายอาคม บนิ ฑาประสิทธ์ิ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ 2. นางชนศิ า ไชยประดิษฐแ นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ 3. นายฮสู นัน อารง นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ 4. นางสาวจิราพรรณ บังเกิดไทย พยาบาลวิชาชีพชานาญการ 5. นายยงยุทธแ หนพู รม นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการ 6. นายวรี ะโชติ รัตนกุล นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการ 7. นางสาวสริ มิ า แวมซู อ พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ 8. นายดานชิ ดงิ ปาเนาะ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ 9. นายอัสบาฮา สือแม นกั วิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ 10. วา฽ ท่รี อ฾ ยตรีเดชวิทยแ ใหมแ฽ ยม฾ นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ 11. นางสาววรรณี อย฽ุ สกุล นกั วชิ าการสาธารณสุขชานาญการพเิ ศษ 12. นางสาวอาธรี ญา หะไร นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ 13. นางซารีฮะหแ เบญจมาพร นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ 8.10 การเขา้ ถึงบริการโรคซึมเศรา้ 1. สถานการณแ์ ละสภาพปญั หา โรคซึมเศร฾าเป็นปัญหาสาธารณสุขท่ีสาคัญท้ังในปัจจุบันและจากการคาดการณแในอนาคต เป็นโรคที่ก฽อให฾เกิดความสูญเสียท่ีรุนแรงก฽อให฾เกิดผลเสียต฽อปีสุขภาวะของประชาชน จากการประมาณ ภาระโรคซ่ึงวัดจากการสูญเสียปีสุขภาวะพบว฽าโรคซึมเศร฾าก฽อให฾เกิดความสูญเสียเป็นอันดับ 4 และ องคแการอนามัยโลกไดค฾ าดการณวแ ฽าโรคซมึ เศร฾าจะก฽อใหเ฾ กิดความสูญเสยี ดา฾ นสุขภาพของประชากรโลกเป็น เทา฽ ตวั ในปี ค.ศ. 2020 จากการวิเคราะหแปัญหาโรคซึมเศร฾าในจังหวัดนราธิวาส พบว฽าประชาชนส฽วนใหญ฽ยังขาดความร฾ู เรื่องโรคซึมเศร฾า และความสูญเสียท่ีเกิดจากการจากการปุวยด฾วยโรคซึมเศร฾า การท่ีประชาชนมีความเข฾าใจไม฽ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั นราธิวาส หนา้ 146

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 ถูกต฾องคิดว฽าอาการซึมเศร฾าเป็นเร่ืองธรรมดาเป็นแล฾วหายเองได฾ ทาให฾ประชาชนเข฾าถึงบริการช฾าซ่ึงเป็นสาเหตุ ของการฆ฽าตัวตายในผู฾ปุวยบางราย สาหรับจังหวัดนราธิวาส ในปี 2561 คาดประมาณการว฽ามีผ฾ูปุวยโรค ซึมเศร฾า 13,191 คน เขา฾ รับบริการ 11,346 คน คิดเปน็ ร฾อยละ 86.01 2. มาตรการและแนวทางการพฒั นาหรือแกไ้ ขปัญหา 2.1 กาหนดเป็นนโยบายระดับจังหวัด และตดิ ตามเปน็ ตวั ชี้วดั รายอาเภอ 2.2 มีการจดั ระบบแนวทางการเฝาู ระวงั การส฽งตอ฽ ทบทวนและตดิ ตาม โรคซึมเศร฾า 2.3 ส฽งเสริมองคแความรู฾ด฾านสุขภาพจิต และองคแความร฾ูเก่ียวกับโรคซึมเศร฾า การดูแลตนเอง เบอื้ งต฾น การเขา฾ ถึงบรกิ ารและประชาสมั พันธแ แก฽ประชาชนอยา฽ งทว่ั ถงึ และครอบคลุม 2.4 พฒั นาศกั ยภาพบุคลากรผเู฾ ก่ยี วขอ฾ งในการประเมิน เน฾นการเข฾าถึงและการให฾บริการดูแล ชว฽ ยเหลือตดิ ตาม 2.5 สร฾างความตระหนักและความร฽วมมือ การเฝาู ระวงั และสง฽ ตอ฽ กับหนว฽ ยงานทเี่ ก่ียวข฾อง 2.6 ส฽งเสริมระบบการเฝาู ระวัง ช฽วยเหลอื และตดิ ตามดแู ลในชุมชน 2.7 ขบั เคลื่อนการดาเนนิ งานตามแนวทางการดแู ลเฝูาระวังโรคซมึ เศรา฾ ระดับจังหวัด 3. ผลการดาเนินงาน 3.1 ผลผลติ : จังหวัดนราธิวาส ในปี 2562 คาดประมาณการว฽ามีผ฾ูปุวยโรคซึมเศร฾า 13,191 คน เข฾ารับบริการ 12,103 คน คิดเป็นร฾อยละ 91.75 ผลการดาเนินการเข฾าถึงบริการโรคซึมเศร฾าสูงสุด ร฾อยละ 100 มี 6 อาเภอ คอื อาเภอเมอื ง, สไุ หงโก-ลก, บาเจาะ, เจาะไอร฾อง, ศรีสาคร, จะแนะ การเข฾าถึงบริการโรคซึมเศร฾าต่าสุด คอื อาเภอรือเสาะ รอ฾ ยละ 39.89 คน ซ่ึงในปี 2562 ได฾จัดโครงการจิตแพทยแสัญจรทุกโรงพยาบาล 1 ครั้ง ต฽อเดือนในแต฽ละ โรงพยาบาลชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพแพทยแและสหวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนทุกแห฽ง เพ่ือให฾แพทยแมี ความมัน่ ใจในการวินจิ ฉัยและถกู ต฾องมากขึ้น รวมถึงสามารถให฾การดูแลรักษาฟื้นฟูผ฾ูปุวยโรคซึมเศร฾า ตาม บริบทของโรงพยาบาลได฾ ตารางที่ 83 การเขา฾ ถึงบรกิ ารโรคซมึ เศร฾า ปี 2562 (แยกรายอาเภอ) จานวนประชากร ปี 2561 ปี 2562 อาเภอ ผลการ ร้อยละ ผลการ คาดประมาณการณ์ ดาเนินงาน ดาเนินงาน รอ้ ยละ (คน) (คน) 2,187 100 เมอื ง 2,081 2,083 100 812 51.98 1,507 100 ระแงะ 1,562 887 56.78 812 65.96 472 39.89 สไุ หงโก-ลก 1,320 1,241 94.02 660 71.20 ตากใบ 1,231 772 62.71 หนา้ 147 รอื เสาะ 1,183 470 39.72 สุไหงปาดี 927 648 69.90 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 แว฾ง 905 645 71.27 657 72.59 100 บาเจาะ 879 1005 100 984 90.86 100 ยงี่ อ 777 709 91.25 706 100 100 เจาะไอร฾อง 641 1,004 100 1136 83.64 91.75 ศรีสาคร 633 741 100 799 จะแนะ 618 802 100 802 สุคิรนิ 434 339 78.11 363 รวม 13,191 11,346 86.01 12,103 ท่มี า: จากรายงานการเข฾าถงึ บรกิ ารโรคซึมเศร฾า โปรแกรม รพ.พระศรมี หาโพธ์ิ 3.2 ผลลัพธ์ การเข฾าถงึ บรกิ ารโรคซึมเศร฾าของจังหวัดนราธิวาสเฉลี่ย ในปี 2562 ร฾อยละ 91.75 ส฽วนใหญ฽ มีอัตราการเข฾าถึงบริการตามเกณฑแ (มากกว฽า ร฾อยละ 65) ยกเว฾น โรงพยาบาลระแงะ และโรงพยาบาล รือเสาะ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบข฾อมูลการเข฾าถึงบริการ ในปี 2561 และ ปี 2562 พบว฽า มีอัตราการเข฾าถึง บริการเพ่ิมขึ้นจาก ร฾อยละ 86.01 เป็น ร฾อยละ 91.75 แต฽เมื่อวิเคราะหแแยกตามรายอาเภอ ยังพบว฽า โรงพยาบาลระแงะ และโรงพยาบาลรือเสาะ อัตราการเข฾าถึงบริการ ยังคงต่ากว฽าเกณฑแ ส฽วนหน่ึงอาจเป็น จากการเพมิ่ เกณฑแ อัตราการเข฾าถึงบริการ จากปี 2561 ร฾อยละ 55 เพ่ิมเป็น ร฾อยละ 65 ในปี 2562 และ ผ฾รู บั ผดิ ชอบงานยงั ไมส฽ ามารถคดั กรองได฾อยา฽ งสมา่ เสมอ 4. ปัญหาอปุ สรรค 4.1 แพทยแในโรงพยาบาลบางแห฽งมีการหมุนเวียนบ฽อยและยังขาดความมั่นใจในการ วนิ จิ ฉัยโรค 4.2 ยงั มีโรงพยาบาลทผ่ี ลงานยงั ไม฽ผ฽านเกณฑแ 4.3 ผร฾ู ับผิดชอบหนา฾ งานในบางพ้ืนที่ ยังไมส฽ ามารถคัดกรองได฾อยา฽ งสม่าเสมอ 5. ขอ้ เสนอแนะและโอกาสพฒั นา 5.1 พัฒนาค฽มู อื ฉบับใช฾งานประจาคลนิ ิก สาหรบั โรงพยาบาลชุมชน (One page) 5.2 ติดตาม และกระตุ฾นการคัดกรอง การวินิจฉัย และการส฽งข฾อมูลเข฾าสู฽ระบบโปรแกรม อยา฽ งตอ฽ เนื่อง 5.3 ประชาสมั พันธแ สายดว฽ น 1323 5.4 วิเคราะหแข฾อมูลและพัฒนาระบบการส฽งเสริม ปูองกัน รักษา ฟ้ืนฟู ผู฾ปุวยโรคซึมเศร฾าใน เชิงคุณภาพต฽อไป 9. กลมุ่ งานสง่ เสรมิ สุขภาพ 9.1 การส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามัยแม่และเดก็ 1. สถานการณแ์ ละสภาพปัญหา การบริการอนามัยแม฽และเด็ก เป็นบริการสุขภาพพ้ืนฐานท่ีสาคัญเป็นการพัฒนาคุณภาพ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส หน้า 148

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 ประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต฽การดูแลครรภแเพื่อให฾ได฾การตั้งครรภแและการคลอดที่มีคุณภาพ มารดาและทารก ปลอดภัยปราศจากภาวะแทรกซ฾อนซ่ึงการที่มารดาและทารกจะปลอดภัยจากการต้ังครรภแและการคลอด นั้นข้ึนกับการเข฾าถึงบริการและคุณภาพบริการท่ีได฾รับท้ังเชิงรับและเชิงรุก ปัญหาสุขภาพสตรีและเด็กในจังหวัดนราธิวาส 3 ปี ท่ีผ฽านมา ปี 2560-2562 พบว฽า อัตราสว฽ นการตายของมารดาเท฽ากบั 32.69, 68.39 และ 50.86 ตอ฽ แสนการเกดิ มีชีพ ตามลาดับ ซึ่งสูงกว฽า เกณฑแท่ีกาหนด (ไม฽เกิน 20 ต฽อแสนการเกิดมีชีพ) เม่ือพิจารณารายปี พบว฽า ปี 2561 อัตราส฽วนการตายของ มารดาเพิ่มขึ้นจากปี 2560 ถึง 2.1 เท฽า สาหรับในปี 2562พบมารดาตายลดลงเป็น 1.3 เท฽า จากปี 2561 ซึ่งสาเหตุการตายทั้งหมด 18 ราย (3 ปี) เกิดจากสาเหตุทางตรง จานวน 6 ราย คิดเป็นร฾อยละ 33.33 โดย เกิดจาก PPH, Uterine rupture และ Chorioamnionitis สาเหตุทางอ฾อม จานวน 11 ราย คิดเป็นร฾อยละ 61.11 โดยเกดิ จากโรคหวั ใจ หอบหดื โรคขาดวิตามินบี 1 โรคเอดสแ และไม฽ทราบสาเหตุ 1 ราย คิดเป็นร฾อยละ 5.56 ในปี 2562 มีปัญหามารดาเสียชีวิตจานวน 6 ราย อัตรา 50.86 ต฽อแสนการเกิดมีชีพ (เปูาหมาย ไม฽เกิน 20 ต฽อแสนการเกิดมีชีพ) โดยเกิดจากสาเหตุทางตรง คือ PPH จานวน 1 ราย (ร฾อยละ 16.7) สาเหตุ ทางอ฾อม 4 ราย (ร฾อยละ 66.7) คือ CHF, Asthma, โรคหัวใจจากการขาดวิตามินบี 1 และ B24 ไม฽ทราบ สาเหตุ 1 ราย (ร฾อยละ 16.7) ประวัติการฝากครรภแ พบว฽า ฝากครรภแครั้งแรกก฽อน 12 สัปดาหแ 2 ราย คิดเป็น ร฾อยละ 33.33 ฝากครรภแครบ 5 คร้ังตามเกณฑแ 2 ราย คิดเป็นร฾อยละ 33.33 ระยะของการเสียชีวิตพบว฽า เสียชีวิตในระยะหลังคลอด 3 ราย คิดเป็นร฾อยละ 50.00 ระยะตั้งครรภแ 2 ราย ร฾อยละ 33.33 และ ระยะ คลอด 1 ราย คิดเป็นร฾อยละ 16.67 ซ่ึงมาตรการในการลดการตายของมารดา ปี 2562 พัฒนาการบริการท่ีได฾ มาตรฐานทั้งเครื่องมืออุปกรณแ และทักษะของบุคลากร การมีระบบส฽งต฽อที่มีประสิทธิภาพ รวมท้ังการส฽งเสริม ความคิด ความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองและชุมชน โดยการมีส฽วนร฽วมบูรณาการจากทุกภาคส฽วน อยา฽ งยัง่ ยนื ต฽อไป 2. การบริหารจัดการ 2.1 ระดบั จังหวัด 2.1.1 แลกเปลี่ยนเรียนร฾ูการดูแลหญิงตั้งครรภแเส่ียงระหว฽างแพทยแโซนกับแพทยแ โรงพยาบาลชุมชน และเจ฾าหน฾าท่ผี ูร฾ บั ผดิ ชอบงานอนามัยแมแ฽ ละเด็ก 2.1.2 ฟื้นฟคู วามรเ฾ู จา฾ หนา฾ ท่ีเร่ืองการดแู ลหญิงตั้งครรภแทีม่ ีภาวะเสยี่ ง 2.1.3 พฒั นาแนวทางการดาเนนิ งาน fast track ในเรื่องท่ีเปน็ สาเหตุการตายที่ปูองกนั ได฾ 2.1.4 จัดประชุม Dead Case Conference 2.1.5 จดั ประชุมคณะกรรมการ MCH Board จังหวดั 2.1.6 นิเทศหนา฾ งานของแผนกฝากครรภแ ห฾องคลอด หลงั คลอด และคลินิกสุขภาพเด็กดี เพื่อตดิ ตามการนา CPG ไปใช฾ในการดูแล และการให฾บรกิ ารตามมาตรฐาน 2.2 ระดบั อาเภอ 2.2.1 จัดประชมุ MCH Board ระดบั อาเภอ โดยกาหนดใหม฾ กี ารประชุมทุก 3 เดอื น 2.2.2 รพช.นิเทศติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานอนามัยแม฽และเด็กของ รพ.สต. ทกุ แห฽งในเขตรับผดิ ชอบ 2.2.3 สตู ิแพทยโแ ซนนง่ิ ให฾ความรู฾วชิ าการแก฽ผ฾เู กี่ยวขอ฾ งของโรงพยาบาลชุมชน 2.2.4 ประชมุ Death Case Conference สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส หน้า 149

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 2.2.5 แจกโฟเลตในหญงิ วยั เจรญิ พนั ธุแแ ละคูส฽ มรสใหม฽ 3. ผลการดาเนนิ งาน 3.1 ผลการดาเนินงานอนามัยแม฽และเด็กทผ่ี ฽านเกณฑแ ปงี บประมาณ 2562 3.1.1 อัตราฝากครรภแคร้ังแรกก฽อน 12 สัปดาหแจากรายงาน HDC ภาพรวมท้ังจังหวัด ครอบคลุมร฾อยละ 79.98 ซึ่งผ฽านเกณฑแ (เปูาหมาย≥60) เมื่อจาแนกรายอาเภอ พบว฽า ผ฽านเกณฑแทุกอาเภอ รายละเอยี ดดงั ตาราง 3.1.2 อัตรา ANC 5 ครั้งภาพรวมจังหวัด ร฾อยละ 67.04 ผ฽านเกณฑแ (เปูาหมาย≥60) เม่ือจาแนกรายอาเภอพบวา฽ มีเพียง 4 อาเภอท่ีไม฽ผ฽านเกณฑแ คือ อาเภอระแงะ, สุคิริน, เมือง และศรีสาคร คดิ เปน็ ร฾อยละ 59.89, 58.68, 58.25 และ 58.17 ตามลาดบั รายละเอียดดงั ตาราง 3.1.3 อัตรา BA ในนาที ท่ี 1 ภาพรวมจังหวัด มีอัตรา 16.95 ต฽อพันการเกิดมีชีพ ซ่ึงผ฽าน เกณฑแ (เปูาหมาย≤25) เมื่อจาแนกรายอาเภอพบว฽ามีเพียง 1 อาเภอที่ไม฽ผ฽านเกณฑแ คือ อาเภอเมือง คิดเป็นอัตรา 26.36 ต฽อพันการเกิดมีชีพ สาหรับ BA ในนาที ที่ 5 มีอัตรา 7.21 ต฽อพันการ เกิดมีชีพ ซ่ึงผ฽าน เกณฑแ (เปูาหมาย≤10) เมื่อจาแนกรายอาเภอพบว฽ามีเพียง 2 อาเภอท่ีไม฽ผ฽านเกณฑแ คือ อาเภอเจาะไอร฾อง และเมือง คิดเปน็ อัตรา 11.11 และ 10.54 ต฽อพนั การเกดิ มชี ีพ ตามลาดับ รายละเอยี ดดงั ตาราง 3.1.4 อัตราการตกเลอื ดหลังคลอดภาพรวมจังหวัด ร฾อยละ 1.64 (เปูาหมาย ร฾อยละ 5) เม่ือ จาแนกรายอาเภอ พบว฽า มีเพียง 1 อาเภอ ที่ไม฽ผ฽านเกณฑแ คือ อาเภอจะแนะ สาหรับร฾อยละของการช็อก จากการตกเลือดหลังคลอด พบร฾อยละ 6.81 (เปูาหมาย ร฾อยละ 0) เม่ือจาแนกรายอาเภอพบว฽า มีเพียง 5 อาเภอท่ผี ฽านเกณฑแ คือ อาเภอระแงะ, สุไหงปาด,ี แวง฾ , ศรสี าคร และสุคริ ิน รายละเอยี ดดงั ตาราง 3.1.5 อัตราทารกตายปริกาเนิดภาพรวมท้ังจังหวัด มีทารกตายปริกาเนิดครอบคลุมทั้งจังหวัด คิดเป็นอัตรา 4.80 ต฽อพันการคลอด ซ่ึงผ฽านเกณฑแ (เปูาหมาย≤ 9) เม่ือจาแนกรายอาเภอพบว฽าผ฽านเกณฑแท้ัง จังหวัด ตามลาดบั รายละเอียดดงั ตาราง 3.1.6 อตั ราการดแู ลหลงั คลอด ครบ 3 คร้ัง ภาพรวมจงั หวัด ร฾อยละ 70.14 ผา฽ นเกณฑแ (เปาู หมาย ≥65) เม่ือจาแนกรายอาเภอพบวา฽ มีเพียง 5 อาเภอ ที่ไม฽ผ฽านเกณฑแ คือ อาเภอรือเสาะ, สุไหงปาด,ี เมือง, ศรีสาคร และสุคริ ิน คิดเป็นร฾อยละ 64.58, 60.59, 59.87, 59.78, และ 58.23 ตามลาดับ รายละเอียดดังตาราง 3.1.7 อัตราทารกตาย 1 วัน-1 ปี ภาพรวมทั้งจังหวัด มีทารกตาย ครอบคลุมท้ังจังหวัด คิดเป็น อัตรา 7.38 ต฽อพันการเกิดมีชีพ ซ่ึงผ฽านเกณฑแ (เปูาหมาย ≤15) เมื่อจาแนกรายอาเภอ พบว฽ามีเพียง 4 อาเภอ ที่ไม฽ผ฽านเกณฑแ คือ อาเภอเจาะไอร฾อง แว฾ง สุคิริน และระแงะ คิดเป็นอัตรา 22.22, 22.08, 21.74 และ 19.66 ตอ฽ พนั การเกิดมีชีพ ตามลาดับ รายละเอยี ดดังตาราง 3.2 ผลการดาเนินงานอนามัยแม฽และเด็กท่ไี มผ฽ ฽านเกณฑแ ปีงบประมาณ 2562 3.2.1 อัตราส฽วนการตายของมารดาภาพรวมท้ังจังหวัดมีมารดาตาย ทั้งหมด 6 ราย คิดเป็น อัตรา 50.86 ต฽อแสนการเกิดมีชีพ ซ่ึงไม฽ผ฽านเกณฑแ (เปูาหมาย≤ไม฽เกิน 20) เมื่อจาแนกรายอาเภอพบว฽า มี 3 อาเภอ ที่ไม฽ผ฽านเกณฑแ คือ อาเภอสุไหงโก-ลก, รือเสาะ และสุไหงปาดี คิดเป็นอัตรา 133.87, 279.33 และ 300.30 ตอ฽ แสนการเกิดมีชีพ รายละเอยี ดดงั ตาราง 3.2.2 อัตราทารกตาย 1-28 วันภาพรวมท้ังจังหวัด มีทารกตาย 1-28 วันคิดเป็นอัตรา 5.43 ต฽อพันการเกิดมชี พี ซงึ่ ไมผ฽ ฽านเกณฑแ (เปูาหมาย≤3.4) เม่ือจาแนกรายอาเภอพบว฽ามีเพียง 3 อาเภอที่ผ฽านเกณฑแ คือ อาเภอย่ีงอ, สุไหงโก-ลก และเมือง คิดเป็นอัตรา 0.00, 1.78 และ 3.29 ต฽อพันการเกิดมีชีพ รายละเอียดดัง ตาราง สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดนราธิวาส หนา้ 150

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 3.2.3 สาหรับอัตราภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภแ ปีงบประมาณ 2562 พบวา฽ อตั ราภาวะโลหติ จางท่ีพบเมื่อฝากครรภแครง้ั แรกภาพรวมร฾อยละ 19.37 ไม฽ผ฽านเกณฑแ (เปูาหมาย ≤18) เมอื่ จาแนกเป็นรายอาเภอ พบว฽ามีเพียง 6 อาเภอ ท่ีผ฽านเกณฑแ คือ อาเภอเจาะไอร฾อง, รือเสาะ, ศรีสาคร, ตากใบ, เมือง และสุคิริน คิดเป็นอัตรา 10.40, 12.42, 13.92, 15.06, 15.89 และ 16.60 ตามลาดับ สาหรับ ก฽อนคลอดพบภาวะซีด ร฾อยละ 18.01 (เปูาหมาย≤10) เม่ือพิจารณารายอาเภอ พบว฽ามีเพียง 2 อาเภอที่ผ฽าน เกณฑแ คือ อาเภอเจาะไอร฾อง และรือเสาะ คดิ เปน็ รอ฾ ยละ 8.96 และ 9.74 ตามลาดบั รายละเอยี ดดังตาราง 3.2.4 อตั รา LBW จากรายงาน HDC ภาพรวมจังหวดั ร฾อยละ 8.06 ซง่ึ ไมผ฽ า฽ นเกณฑแ (เปูาหมาย≤7) เมื่อจาแนกรายอาเภอ พบว฽า มี 5 อาเภอที่ผา฽ นเกณฑแ คือ อาเภอจะแนะ, สุคิรนิ , เจาะไอร฾อง, บาเจาะ และสไุ หงโก-ลก คดิ เป็นรอ฾ ยละ 5.15, 5.47, 6.61, 6.70 และ 6.84 ตามลาดบั รายละเอยี ดดังตาราง สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส หนา้ 151

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ปร ตารางท่ี 84 ผลการดาเนินงานอนามยั แม฽และเด็ก ปี 2562 อาเภอ ฝากครรภค์ รั้งแรกกอ่ น 12 สัปดาห์ ดูแ ฐาน ผลงาน รอ้ ยละ ฐาน เมอื ง 1,279 908 70.99 1,248 ระแงะ 985 739 75.03 945 สไุ หงโก-ลก 516 449 87.02 504 ตากใบ 885 748 84.52 861 รอื เสาะ 873 743 85.11 867 สุไหงปาดี 507 409 80.67 491 แวง฾ 538 446 82.90 529 บาเจาะ 631 540 85.58 619 ยง่ี อ 546 445 81.50 518 เจาะไอรอ฾ ง 513 440 85.77 498 ศรีสาคร 530 396 74.72 514 จะแนะ 358 288 80.45 357 สคุ ิรนิ 331 241 72.81 317 รวม 8,492 6,792 79.98 8,268 ท่มี า: รายงาน HDC จงั หวัดนราธวิ าส ปี 2562, ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562 ตารางที่ 85 ผลการดาเนินงานอนามยั แมแ฽ ละเด็ก ปี 2562 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส

ระจาปี 2562 แลก่อนคลอด 5 ครัง้ ดแู ลหลังคลอด 3 ครง้ั ผลงาน ร้อยละ ฐาน ผลงาน รอ้ ยละ 727 58.25 1,343 804 59.87 566 59.89 974 756 77.62 369 73.21 554 496 89.53 642 74.56 956 740 77.41 632 72.90 912 589 64.58 317 64.56 543 329 60.59 363 68.62 572 436 76.22 477 77.06 675 509 75.41 376 72.59 557 374 67.15 357 71.69 528 410 77.65 299 58.17 537 321 59.78 232 64.99 398 271 68.09 186 58.68 328 191 58.23 5,543 67.04 8,877 6,226 70.14 หนา้ 152

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ปร ทม่ี า: รายงาน HDC จังหวดั นราธิวาส ปี 2562, รายงานเฝูาระวงั อนามัยแม฽และเดก็ แผนกหอ฾ งค อาเภอ ฐาน ซดี ครง้ั ที่ 1 รอ้ ยละ ซีดใกลค้ ลอด ผลงาน ฐาน ผลงาน ร เมอื ง 1,133 15.89 ระแงะ 1,295 180 20.62 4,447 828 1 สุไหงโก-ลก 1,936 267 21.69 771 149 1 ตากใบ 1,275 420 15.06 2,224 516 2 รือเสาะ 982 192 12.42 623 99 1 สไุ หงปาดี 556 122 20.32 729 71 แว฾ง 861 113 20.21 323 53 1 บาเจาะ 747 174 21.95 312 39 1 ยง่ี อ 939 164 36.63 575 105 1 เจาะไอร฾อง 644 344 10.40 321 60 1 ศรีสาคร 510 67 13.92 268 24 จะแนะ 440 71 21.14 430 75 1 สุคริ นิ 512 93 16.60 415 43 1 11,830 85 19.37 229 39 1 รวม 2,292 11,667 2,101 1 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส

ระจาปี 2562 คลอด ปี 2562 สสจ.นราธิวาส ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562 ตกเลอื ดหลังคลอด ช็อกจากภาวะตกเลือด ร้อยละ ฐาน ผลงาน ร้อยละ ฐาน ผลงาน ร้อยละ 18.62 4,447 45 1.01 45 4 8.89 19.33 771 19 2.46 19 0 0.00 23.20 2,224 21 0.94 21 1 4.76 15.89 623 5 0.80 5 1 20.00 9.74 729 21 2.88 21 1 4.76 16.41 323 5 1.55 5 0 0.00 12.50 312 2 0.64 2 0 0.00 18.26 575 11 1.91 11 2 20.00 18.69 321 5 1.56 5 1 20.00 8.96 268 10 3.73 10 2 20.00 17.44 430 10 2.33 10 0 0.00 10.36 415 28 6.75 28 1 0.00 17.03 229 9 3.93 9 0 0.00 18.01 11,667 191 1.64 191 13 6.81 หน้า 153

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ปร ตารางที่ 86 ผลการดาเนินงานอนามัยแม฽และเดก็ ปี 2562 จาแนกรายอาเภอ อาเภอ แม่ตาย ทาร ฐาน ผลงาน อัตรา ฐาน เมือง 4,553 0 0.00 4,553 ระแงะ 763 0 0.00 763 สไุ หงโก-ลก 2,241 3 133.87 2,241 ตากใบ 634 0 0.00 634 รอื เสาะ 716 2 279.33 716 สุไหงปาดี 333 1 300.30 333 แว฾ง 317 0 0.00 317 บาเจาะ 573 0 0.00 573 ยี่งอ 322 0 0.00 322 เจาะไอร฾อง 270 0 0.00 270 ศรสี าคร 427 0 0.00 427 จะแนะ 417 0 0.00 417 สคุ ริ ิน 230 0 0.00 230 รวม 11,796 6 50.86 11,796 ทีม่ า: รายงานเฝูาระวังอนามยั แม฽และเด็กแผนกห฾องคลอดปี 2562. สสจ.นราธิวาส ณ วันท่ี 30 กนั สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส

ระจาปี 2562 รกแรกเกิดขาดออกซิเจน เด็กแรกคลอดน้าหนัก น้อยกวา่ 2,500 กรมั ผลงาน อัตรา ฐาน ผลงาน ร้อยละ 120 26.36 1,029 86 8.36 0 0.00 893 89 9.97 38 16.96 497 34 6.84 7 11.04 881 68 7.72 4 5.59 747 71 9.50 1 3.00 355 32 9.01 7 22.08 480 51 10.63 4 6.98 612 41 6.70 2 6.21 457 32 7.00 4 14.81 469 31 6.61 5 11.71 421 34 8.08 4 9.59 388 20 5.15 4 17.39 256 14 5.47 200 16.95 7,485 603 8.06 นยายน 2562, รายงาน HDCจงั หวดั นราธิวาส ปี 2562 หนา้ 154

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ปร ตารางที่ 87 ผลการดาเนนิ งานอนามัยแมแ฽ ละเดก็ ปี 2562 อาเภอ ทารกตายปริกาเนิด ฐาน ฐาน ผลงาน อัตรา เมือง 4,447 28 6.30 4,55 ระแงะ 771 5 6.49 763 สุไหงโก-ลก 2,224 8 3.60 2,24 ตากใบ 623 5 8.03 634 รอื เสาะ 729 1 1.37 716 สุไหงปาดี 323 1 3.10 333 แว฾ง 312 0 0.00 317 บาเจาะ 575 4 6.96 573 ยง่ี อ 321 0 0.00 322 เจาะไอรอ฾ ง 268 1 3.73 270 ศรีสาคร 430 1 2.33 427 จะแนะ 415 2 4.82 417 สคุ ิริน 229 0 0.00 230 รวม 11,667 56 4.80 11,79 ทม่ี า: รายงานเฝูาระวงั อนามัยแมแ฽ ละเดก็ แผนกฝากครรภแและแผนกห฾องคลอด ปี 2562 ส สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั นราธวิ าส

ระจาปี 2562 ทารกตาย 1-28 วัน ทารกตาย1วัน-1 ปี น ผลงาน อตั รา ฐาน ผลงาน อัตรา 53 15 3.29 4,553 21 4.61 3 10 13.11 763 15 19.66 41 4 1.78 2,241 6 14.29 4 3 4.73 634 3 4,73 6 9 12.57 716 9 12.57 3 1 3.00 333 1 3.00 7 4 12.62 317 7 22.08 3 3 5.24 573 5 8.73 2 0 0.00 322 3 9.32 0 5 18.52 270 6 22.22 7 3 7.03 427 3 7.03 7 2 4.80 417 3 7.19 0 5 21.74 230 5 21.74 96 64 5.43 11,796 87 7.38 สสจ.นราธวิ าส, ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562 หน้า 155

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 4. ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ 4.1 ปัญหาอุปสรรค 4.1.1 ขาดการตดิ ตามหญิงหลังคลอดอยา฽ งตอ฽ เน่ือง 4.1.2 หญิงตั้งครรภแและสามีขาดความร฾ู ความเข฾าใจในภาวะเส่ียง ขาดการวางแผน ครอบครวั (ในปี 2562 หญิงตัง้ ครรภเแ ส่ียงมีการวางแผนครอบครัวหลังคลอดครอบคลมุ เพียงร฾อยละ 81.40) 4.2 ขอ้ เสนอแนะ 4.2.1 คืนขอ฾ มลู ให฾ผ฾ูบรหิ ารรบั ทราบโดยผ฽านเวทปี ระชุม คปสจ. และ MCH Board 4.2.2 เรง฽ รัดพืน้ ท่ใี นการเยย่ี มตดิ ตามหลงั คลอด 4.2.3 กาหนดนโยบายการเยี่ยมบ฾านให฾เป็นตัวชี้วดั ของ สสอ./รพ./รพ.สต. 4.2.4 คนื ข฾อมูลใหผ฾ บู฾ รหิ ารรับทราบโดยผ฽านเวทปี ระชมุ คปสจ. และ MCH Board 4.2.5 ใหค฾ วามรู฾ในเรื่องภาวะเสี่ยงในขณะตั้งครรภแและหลังคลอด โดยเฉพาะในโรงเรียน พอ฽ แม฽รวมทั้งความจาเปน็ ในการวางแผนครอบครัว 5. โอกาสพัฒนาต่อไป 5.1 ทบทวนบทบาทของ MCH Nurseให฾ความสาคัญเกี่ยวกับการค฾นหาหญิงตั้งครรภแให฾ ได฾รับบริการฝากครรภแท้ังเชิงรับและเชิงรุก ติดตามดูแลหญิงหลังคลอด การให฾ความรู฾ความเข฾าใจแก฽หญิง ตั้งครรภแที่มีภาวะเสยี่ ง และสามใี นการวางแผนครอบครวั ท่เี หมาะสม 5.2 กาหนดบทบาท และหน฾าท่ีของ อสม.ในการประชาสัมพันธแ แก฾ข฽าวร฾าย กระจายข฽าวดี ช้ีนบริการอนามัยแม฽และเด็ก ประสานงานสาธารณสุขร฽วมกับ MCH Nurse ค฾นหาหญิงต้ังครรภแรายใหม฽ ติดตามให฾มารบั บริการตามนดั ดารงตนเป็นตัวอย฽างท่ีดดี ฾านแม฽และเด็ก 5.3 ฟ้ืนฟูทักษะการดูแลหญิงตั้งครรภแขณะต้ังครรภแของเจ฾าหน฾าที่ท่ีรับผิดชอบงานอนามัยแม฽ และเด็กประจาโรงพยาบาลส฽งเสริมสขุ ภาพ โดยการฝกึ ปฏิบัติ ณ โรงพยาบาลชุมชนประจาอาเภอ 5.4 ฟ้ืนฟูทักษะการดูแลหญิงต้ังครรภแขณะคลอดของพยาบาลประจาห฾องคลอด/พยาบาล แผนกอุบัตเิ หตุฉุกเฉิน/เจ฾าหน฾าที่ทจี่ บใหม฽ของโรงพยาบาลชมุ ชน โดยการฝีกปฏิบัติ ณ โรงพยาบาลแม฽ข฽าย 9.2 การส่งเสรมิ สขุ ภาพเดก็ ปฐมวัย 1. สถานการณแ์ ละสภาพปัญหา การส฽งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการตามวัย การเล้ียงดูเด็กภายใต฾ส่ิงแวดล฾อมท่ีเอ้ือ ต฽อการเจริญเติบโต เป็นปัจจัยสาคัญท่ีกระทบต฽อพัฒนาการ และสติปัญญาของเด็ก จากรายงานการ เฝูาระวังการเจริญเติบโตประเมินพัฒนาการ ปี 2561 พบว฽า เด็กมีส฽วนสูงระดับดีและรูปร฽างสมส฽วน ร฾อยละ 42.33 (เปาู หมาย≥รอ฾ ยละ 54) มีพัฒนาการสมวัยร฾อยละ 96.84 (เปาู หมาย≥ร฾อยละ 85) จะเห็นได฾ว฽าการประเมินพัฒนาการเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือนแม฾ว฽าการดาเนินงาน เด็กมีพัฒนาการสมวัยผ฽านตามเกณฑแเปูาหมายที่กาหนด แต฽พบปัญหาในการประเมินพัฒนาการและติดตาม เด็กท่ีพบสงสัยพัฒนาการล฽าช฾าซ่ึงยังคงต฾องเฝูาระวังและแก฾ไขปัญหาต฽อเพ่ือส฽งเสริมให฾เด็กอายุ 0-5 ปีของ จังหวัดนราธิวาสมีพัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้นโภชนาการตามเกณฑแ และอยู฽ในส่ิงแวดล฾อมท่ีเอ้ือต฽อการเรียนร฾ู และพัฒนาตอ฽ ไป สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส หนา้ 156

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 สาหรบั เปูาหมายตามตวั ชวี้ ดั ในปี 2562 1. เด็กอายุ 0-5 ปี มีโภชนาการตามเกณฑคแ ือ มสี ว฽ นสงู ระดับดแี ละรูปรา฽ งสมส฽วนไมน฽ อ฾ ยกว฽า ร฾อยละ 57 2. เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวยั ไม฽นอ฾ ยกวา฽ ร฾อยละ 85 2. การบรหิ ารจดั การ 2.1 ระดับจงั หวดั 2.1.1 ช้ีแจงนโยบายและแนวทางการดาเนินงาน ส฽งเสริมสุขภาพแม฽และเด็ก เด็กปฐมวัย ให฾แก฽เจา฾ หนา฾ ท่สี าธารณสุขทร่ี บั ผดิ ชอบของ รพ./สสอ.ทกุ แห฽ง 2.1.2 นิเทศเฉพาะกิจหน฾างานการดาเนินงานคลินิกสุขภาพเด็กดีในรพ. ทุกแห฽ง ร฽วมกับ ทีมนิเทศงานอนามัยแม฽และเด็ก และสุ฽มนิเทศติดตามการดาเนินงานคลินิกเด็กดีคุณภาพทุกอาเภอๆ ละ 2 รพ.สต. 2.2 ระดบั อาเภอ/ตาบล 2.2.1 เฝูาระวังภาวะโภชนาการเด็กทุกคน ทุก 3 เดือน วิเคราะหแพฤติกรรมการบริโภค และแจ฾งผลแก฽ผ฾ูปกครองทุกครั้ง เพื่อให฾ผู฾ปกครองมีส฽วนร฽วมในการเฝูาระวัง และแก฾ไขปัญหาทุพโภชนาการ รวมท้งั ส฽งเสริมและกระตน฾ุ พฒั นาการให฾เดก็ มพี ัฒนาการตามวยั 2.2.2 ดาเนนิ การแก฾ไขปญั หาเด็กขาดสารอาหาร โดยการวิเคราะหพแ ฤติกรรมการบริโภค หาสาเหตุการขาดอาหารรายบุคคล ให฾คาแนะนา/คาปรึกษาแก฽ผู฾ปกครอง เช฽น การจัดอาหารมื้อหลักให฾มี คุณค฽าทางโภชนาการและปริมาณเหมาะสม เพียงพอสาหรับเด็กการหลีกเล่ียงขนมกรุบกรอบท่ีไม฽มี ประโยชนแ การดูแลสุขลักษณะและสุขภาพของเด็กฯลฯ ให฾การรักษาเด็กตามสภาวะสุขภาพ หรือโรคท่ี เก่ียวข฾อง 2.2.3 การประสานความร฽วมมือในการแก฾ไขปัญหา โดยการนาเสนอข฾อมูลภาวะโภชนาการ ของเด็กแก฽องคแกรปกครองส฽วนท฾องถ่ิน พร฾อมท้ังร฽วมกันหาแนวทางแก฾ไขปัญหา และเสนอข฾อคิดเห็น นอกจากนย้ี ังมีการรวมกลุ฽มผ฾ปู กครองในการคิดหาแนวทางร฽วมกันเพือ่ แก฾ไขปญั หา สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั นราธวิ าส หน้า 157

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 3. ผลการดาเนินงาน 3.1 ผลการดาเนนิ งานในปี 2562 และยอ฾ นหลัง 3 ปี ตารางท่ี 88 การเฝาู ระวงั และดแู ลเดก็ ปฐมวยั จังหวัดนราธิวาส ย฾อนหลงั 3 ปี ตวั ช้วี ดั /เปาู หมาย ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1.เดก็ ไดร฾ ับการเฝาู ระวังโภชนาการ 64.15 78.48 94.67 76.43 (≥ร฾อยละ 90) 2.เด็กมีส฽วนสงู ดีรูปรา฽ งสมสว฽ น 45.04 46.54 42.40 50.80 (≥รอ฾ ยละ 57) 3.เดก็ อายุ 9, 18, 30 และ 42 เดอื น 91.26 85.40 93.94 89.87 ได฾รบั การประเมินพฒั นาการ (≥ร฾อยละ 90) 4.เดก็ อายุ 9, 18, 30 และ 42 เดอื น 28.91 13.94 25.11 31.22 พบสงสัยพัฒนาการลา฽ ช฾า (≥รอ฾ ยละ 20) 5.เด็กท่ีพบสงสัยพัฒนาการล฽าช฾า 85.79 72.59 90.31 90.13 ไดร฾ ับ การติดตามภายใน 30 วัน (≥รอ฾ ยละ 90) 6.เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน 70.74 95.67 96.84 96.12 พฒั นาการสมวัย (≥รอ฾ ยละ 85) 7. ศูนยเแ ด็กเลก็ ผ฽านเกณฑคแ ุณภาพ 87.74 89.81 91.71 - (≥รอ฾ ยละ 70) ศพด.ผ฽านเกณฑแคณุ ภาพปี 2562 มกี ารเปล่ียนแปลงเกณฑแในการประเมิน พมจ./อปท.เป็นเจ฾าภาพ 3.2 ผลการดาเนินงานเฝูาระวังและแก฾ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี การเฝูาระวังภาวะโภชนาการ ในปี 2562 จากรายงาน HDCครอบคลุมร฾อยละ76.43 ของจานวนเด็กอายุ 0-5 ปที ัง้ หมด (เปูาหมาย ≥ร฾อยละ 90) พบเด็กมีสว฽ นสูงระดับดแี ละรูปร฽างสมส฽วน ร฾อยละ 50.80 (เปูาหมาย≥ร฾อยละ 57) พบ 3 อาเภอทผี่ า฽ นตามเปูาหมาย คือ อาเภอแว฾ง, ตากใบ, และสุไหงปาดี คิดเป็น ร฾อยละ 63.95, 62.66 และ 61.00 ตามลาดับ รายละเอยี ดดงั ตาราง 3.3 ผลการคัดกรองพัฒนาการในเด็ก 9, 18, 30 และ 42 เดือน ด฾วยเครื่องมือ DSPM จาก รายงาน HDC ณ เดือนกันยายน 2562 คัดกรองได฾ครอบคลุมร฾อยละ 89.87 ของจานวนกล฽ุมเปูาหมาย (เปูาหมาย≥ ร฾อยละ 90) พบ 7 อาเภอท่ีผ฽านตามเปูาหมาย คือ อาเภอสุไหงโก-ลก, เจาะไอร฾อง, จะแนะ, เมือง, แว฾ง, บาเจาะ และรือเสาะ คิดเป็นร฾อยละ 98.08, 97.74, 97.20, 95.96, 94.90, 92.74 และ 92.02 ตามลาดับ พบสงสัยพัฒนาการล฽าช฾า ร฾อยละ 31.22 (เปูาหมาย ≥ ร฾อยละ 20) ผ฽านตามเกณฑแ ทกุ อาเภอเดก็ ทพี่ บสงสัยพฒั นาการลา฽ ช฾าได฾รับการติดตามกระตุ฾นพัฒนาการภายใน 30 วัน ร฾อยละ 90.13 (เปูาหมาย≥ ร฾อยละ 90) พบ 7 อาเภอท่ีผ฽านตามเปูาหมาย คือ อาเภอสุไหงโกลก, เมือง, แว฾ง,ตากใบ, สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธิวาส หน้า 158

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 ศรสี าคร, เจาะไอร฾อง และรือเสาะ ร฾อยละ 97.18, 95.12, 94.17, 92.60, 91.41, 91.23 และ 90.95 เด็ก ท่ีมีพัฒนาการสมวัย ร฾อยละ 96.84 (เปูาหมาย ≥ร฾อยละ 85) มีผลการดาเนินงานได฾ตามเปูาหมายในทุก อาเภอ รายละเอยี ดดงั ตาราง ตารางท่ี 89 ผลการดาเนนิ งานเฝูาระวังภาวะโภชนาการในเดก็ อายุ 0-5 ปีจาแนกรายอาเภอ อาเภอ จานวนเด็ก จานวนเด็ก รอ้ ยละ ส่วนสงู ระดับดีและ รอ้ ยละ 0-5 ปที ้ังหมด 0-5 ปที ่เี ฝูาระวัง รปู รา่ งสมส่วน เมอื ง 8,931 6,850 76.70 3,317 48.42 สไุ หงโก-ลก 4,485 3,554 79.24 1,886 53.07 ระแงะ 6,596 4,705 71.33 2,244 47.69 ตากใบ 6,860 6,087 88.73 3,814 62.66 รือเสาะ 5,528 4,660 84.30 2,371 50.88 สไุ หงปาดี 4,092 3,013 73.63 1,838 61.00 แวง฾ 3,974 2,904 73.07 1,857 63.95 บาเจาะ 4,617 4,056 87.85 1,588 39.15 ย่งี อ 3,433 2,221 64.70 1,051 47.32 เจาะไอร฾อง 3,343 2,207 66.02 1,071 48.53 ศรีสาคร 3,368 2,131 63.27 650 30.50 จะแนะ 2,725 2,015 73.94 818 40.60 สคุ ิริน 2,152 1,534 71.28 831 54.17 รวมท้ังจงั หวดั 60,104 45,937 76.43 23,336 50.80 ท่มี า: Health Data Center. สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดนราธวิ าส, ข฾อมูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562 ตารางที่ 90 ผลการคดั กรองพัฒนาการเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน จาแนกรายอาเภอ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธวิ าส หนา้ 159

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 ร้อยละเด็กที่ ร้อยละเด็กที่พบ ร้อยละเดก็ ท่ีได้รบั รอ้ ยละเด็กที่มี อาเภอ ไดร้ ับการ สงสยั พฒั นาการ การตดิ ตามภายใน พัฒนาการสมวัย ประเมนิ ล่าช้า 30 วนั พัฒนาการ เมอื ง 95.96 26.26 95.12 98.47 สไุ หงโก-ลก 98.08 40.40 97.18 98.42 ระแงะ 80.03 31.76 79.73 92.59 ตากใบ 86.30 30.71 92.60 97.34 รือเสาะ 92.02 33.73 90.95 96.56 สุไหงปาดี 71.97 28.91 86.45 95.52 แว฾ง 94.90 39.48 94.17 94.35 บาเจาะ 92.74 29.88 80.71 93.60 ย่งี อ 87.96 30.48 87.77 93.68 เจาะไอร฾อง 97.74 31.86 91.23 96.32 ศรีสาคร 86.72 29.88 91.41 97.32 จะแนะ 97.20 28.24 86.30 95.85 สุคิริน 88.93 22.20 89.02 97.31 รวมท้ังจงั หวดั 89.87 31.22 90.13 96.12 ท่ีมา: Health Data Center. สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั นราธิวาส, ข฾อมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562 4. ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ 4.1 ปญั หาอุปสรรค 4.1.1 เดก็ ท่ีมภี าวะทุพโภชนาการไม฽มาตามวัน เวลาท่ีนดั 4.1.2 เจา฾ หน฾าทีส่ าธารณสขุ บางส฽วนทรี่ ับผิดชอบงานพัฒนาการ มีความเขา฾ ใจคลาดเคล่ือน ในการประเมิน DSPM 4.2 ขอ้ เสนอแนะ 4.2.1 หาสาเหตุของการไมม฽ าตามนัดและวิเคราะหแความเป็นไปได฾ในการแก฾ปัญหา รว฽ มกับผ฾ปู กครอง 4.2.2 มกี ารใหบ฾ ริการประเมนิ ภาวะโภชนาการ ช่งั นา้ หนกั วดั สว฽ นสูง ลงกราฟภาวะ เจริญเตบิ โต ให฾บริการเชงิ รกุ ในชมุ ชน 4.2.3 ให฾ อสม.รว฽ มกบั นกั แนะแนวด฾านโภชนาการตดิ ตามเดก็ ทไี่ ม฽มาตามนัด 4.2.4 จงั หวัดและอาเภอเนน฾ ย้าการพฒั นาทักษะการประเมินพัฒนาการตามมาตรฐาน และมีการตดิ ตามอย฽างต฽อเนื่อง 4.2.5 นิเทศเฉพาะกจิ หน฾างานการดาเนนิ งานคลินิกสุขภาพเด็กดีใน รพ. ทุกแห฽ง และสุ฽ม นเิ ทศใน รพ.สต. อาเภอละ 2 แหง฽ 5. โอกาสพฒั นาต่อไป หน้า 160 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั นราธวิ าส

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 5.1 ให฾ อสม.ร฽วมกบั นกั แนะแนวดา฾ นโภชนาการติดตามเด็กทไี่ มม฽ าตามนดั 5.2 นิเทศเฉพาะกิจหน฾างานการดาเนินงานคลินิกสุขภาพเด็กดีในรพ.ทุกแห฽ง ร฽วมกับทีม นเิ ทศงานของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส พรอ฾ มท้ังใหค฾ าแนะนาในการดาเนนิ งาน 5.3 ส฽งเสริม/สนับสนุนทีมระดับโรงพยาบาลและอาเภอเป็นแกนนาในการพัฒนาทักษะใน การประเมนิ พฒั นาการเดก็ ด฾วยเครือ่ งมอื DSPM และการติดตามเชิงรกุ ในชมุ ชน 9.3 งานส่งเสรมิ สขุ ภาพเด็กวัยเรยี นและวัยรุ่น 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีค฽าและมีความสาคัญย่ิง จึงจาเป็นอย฽างยิ่งท่ีจะต฾องได฾รับ การพัฒนาสุขภาพให฾มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อให฾มีสุขภาพสมบูรณแทั้งร฽างกาย จิตใจและสติปัญญา ซึ่งการ ลงทุนด฾านสุขภาพต้ังแต฽ในวัยเด็ก เป็นการลงทุนที่ค฾ุมค฽ามหาศาล เพราะเด็กและเยาวชนจะเจริญเติบโต เป็นผใู฾ หญท฽ ่ีมีสขุ ภาพท่ีดีตอ฽ ไป ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนมีผลกระทบต฽อพัฒนาการทั้งร฽างกาย สติปัญญา อารมณแและ สังคมและเป็นปัญหาสาธารณสุขเร฽งด฽วนท่ีต฾องดาเนินการควบคุมปูองกันและแก฾ไข คือ ภาวะ ทุพโภชนาการท้ังขาดและเกิน จากการดาเนินงานเฝูาระวังภาวะสุขภาพโดยการช่ังน้าหนักและวัดส฽วนสูง พบว฽า เด็กวัยเรียนมีการเจริญเติบโตสมวัยสูงดีสมส฽วนเพียง ร฾อยละ 58.52 (เปูาหมายไม฽น฾อยกว฽าร฾อยละ 66) เนื่องจากจังหวัดนราธิวาส มีปัญหาทุพโภชนาการท่ีสาคัญ ได฾แก฽ ภาวะผอม ร฾อยละ 7.99 และ ภาวะเตย้ี ร฾อยละ 10.62 (เปูาหมายไม฽เกินร฾อยละ 5) ซ่ึงเปน็ ผลกระทบจากการขาดสารอาหารเรื้อรังทาให฾ รา฽ งกายเตยี้ และยังสง฽ ผลต฽อการทากิจกรรม การสร฾างภูมิต฾านทานโรค และสติปัญญา นั่นคือ เด็กจะขาด ประสิทธิภาพในการทากิจกรรมต฽างๆ มีโอกาสเจ็บปุวยบ฽อยหรือเป็นนาน ความสามารถในการเรียนร฾ู บกพร฽องและเฉื่อยชา ส฽งผลให฾ผลการเรียนไม฽ดี นอกจากน้ีปัญหาโภชนาการอีกด฾านหน่ึงที่มีแนวโน฾ม เพิ่มขึ้นอย฽างรวดเร็ว คือ ภาวะอ฾วนในเด็ก (เร่ิมอ฾วนและอ฾วน) เพ่ิมขึ้นจากร฾อยละ 6.32 ในปี 2560 เป็น ร฾อยละ 6.56 ในปี 2561 เนื่องจากรูปแบบการบริโภคอาหารที่เปลี่ยนแปลงไป บริโภคอาหารท่ีมีพลังงาน สูงและเส฾นใยน฾อย รวมถึงการขาดการออกกาลังกายอย฽างต฽อเนื่อง เด็กที่มีภาวะอ฾วนจะนาไปสู฽โรคเร้ือรัง ซึง่ กลยทุ ธแสาคัญที่จะช฽วยในการส฽งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและควบคุมปูองกันปัญหาต฽างๆ ในเด็กวัยเรียน คือ การใชก฾ ลยุทธแโรงเรียนส฽งเสริมสุขภาพ ซ่ึงเป็นแนวคิดที่กว฾างขวางครอบคลุมด฾านสุขภาพอนามัยทั้งใน โรงเรียนและชุมชน เพื่อพัฒนาสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชน ให฾มี ความสามารถในการนาขอ฾ มลู ดา฾ นสุขภาพมาประยุกตใแ นใช฾ในชวี ติ ประจาวัน ตลอดจนสามารถดูแลสุขภาพ ของตนเองและผู฾อ่นื ตารางที่ 91 รอ฾ ยละของเด็กนักเรียน (อายุ 6-14 ป)ี สูงดีสมสว฽ นจงั หวัดนราธิวาส ต้ังแต฽ปงี บประมาณ 2559–2562 จาแนกรายอาเภอ สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนราธวิ าส หนา้ 161

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 อาเภอ 2559 ปงี บประมาณ 2562 2560 2561 เมอื ง 58.16 57.17 52.17 52.37 สไุ หงโก-ลก 59.80 56.66 59.04 51.78 ระแงะ 55.51 64.05 56.25 56.08 ตากใบ 60.36 63.74 69.71 64.07 รอื เสาะ 54.15 51.01 58.31 62.65 สไุ หงปาดี 56.96 59.89 56.22 55.68 แวง฾ 54.82 57.99 62.41 62.56 บาเจาะ 55.04 56.25 55.31 45.90 ย่งี อ 76.15 53.30 52.86 51.46 เจาะไอร฾อง 56.56 53.09 50.32 53.55 ศรีสาคร 50.11 52.59 55.58 30.38 จะแนะ 57.54 56.44 58.33 47.82 สคุ ิรนิ 54.84 59.94 57.64 58.36 รวม 57.31 58.64 58.52 54.86 ท่มี า: รายงาน HDC สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธวิ าส 2. การบรหิ ารจัดการ การดาเนินงานเฝูาระวังการเจริญเติบโตในเด็กนักเรียน (อายุ 6–14 ปี) โดยการชั่งน้าหนัก และวัดส฽วนสูง ซึ่งครูประจาชั้นและเจ฾าหน฾าท่ีสาธารณสุข จะต฾องดาเนินการช่ังน้าหนักและวัดส฽วนสูง พร฾อมท้งั แปลผลการเจริญเติบโตโดยการบันทึกข฾อมูลเข฾าระบบ 43 แฟูม ปีการศึกษาละ 2 คร้ัง คือ คร้ังที่ 1 ภายในเดือนกรกฎาคม และครั้งท่ี 2 ภายในเดือนมกราคมของทุกปี ซ่ึงในปีงบประมาณ 2562 กรมอนามัยได฾ กาหนดเปูาหมายเด็กนักเรียน (อายุ 6-14 ป)ี ส฽วนสงู ดีสมส฽วน ไม฽น฾อยกว฽าร฾อยละ 66 ในปีงบประมาณ 2562 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ได฾จัดทาโครงการเด็กวัยเรียน สุขภาพดี สูงดีสมส฽วน แข็งแรงและฉลาด เพื่อส฽งเสริมให฾เด็กวัยเรียนมีสุขภาพท่ีดี มีการเจริญเติบโตตามวัย และส฽งเสริมให฾ภาคีเครือข฽ายด฾านสาธารณสุขและการศึกษา ได฾ร฽วมกันจัดกิจกรรมทางกายให฾เด็กวัยเรียนมีการ ออกกาลังกายที่เหมาะสม มีความรู฾ในเรื่องการบริโภคอาหารที่ได฾สัดส฽วน ตลอดจนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บรโิ ภคทถี่ กู ต฾อง มีความรอบรดู฾ ฾านสุขภาพ ซ่ึงจะส฽งผลใหเ฾ ดก็ วยั เรียนมีการเจริญเติบโตสมวัยและมีพฤติกรรม สุขภาพที่พึงประสงคแต฽อไป โดยมกี ิจกรรมการดาเนนิ งานดังต฽อไปนี้ 1. ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพครแู ละเจา฾ หนา฾ ทีส่ าธารณสขุ ในการดแู ลสุขภาพ นกั เรยี นในโรงเรียนพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาสยามบรมราชกมุ ารี 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาศักยภาพครูและเจ฾าหน฾าท่ีสาธารณสุขในการดาเนินงาน โรงเรยี นรอบรู฾ด฾านสุขภาพ 3. การเยีย่ มประเมินรบั รองโรงเรียนพระราชดาริฯ ตามเกณฑแมาตรฐานโรงเรยี นสง฽ เสรมิ สขุ ภาพ และโรงเรียนสง฽ เสริมสุขภาพระดับเพชร สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส หน้า 162

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ ประจาปี 2562 4. ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพ่อื ตดิ ตามความก฾าวหน฾าของการดาเนินงานวยั เรยี น 5. นเิ ทศติดตามการดาเนินงานสง฽ เสรมิ สขุ ภาพเด็กวัยเรยี น/วยั รนุ฽ 3. ผลการดาเนินงาน การดาเนินงานเฝูาระวังการเจริญเติบโตในเด็กวัยเรียน (อายุ 6–14 ปี) ในปี 2561 พบว฽า เดก็ นกั เรยี น (อายุ 6–14 ปี) ทมี่ ีการเจรญิ เติบโตตามเกณฑแ คอื สูงดีสมส฽วน เพียงร฾อยละ 54.86 ลดลงจาก ปีทผ่ี ฽านมา และต่ากวา฽ เปูาหมายท่ีกาหนดไว฾ไมน฽ ฾อยกว฽าร฾อยละ 66 และเมื่อเปรียบเทียบผลการดาเนินงาน จาแนกรายอาเภอ พบวา฽ ไมม฽ อี าเภอใดดาเนินการได฾ตามเปูาหมายที่กาหนด เน่ืองจากเด็กวัยเรียนในพ้ืนท่ี จังหวัดนราธิวาส จะมีปัญหาทุพโภชนาการในเร่ืองของภาวะเตี้ย ร฾อยละ 15.97 และผอม ร฾อยละ 7.27 รายละเอยี ดดงั ตาราง ผลการดาเนินงานโรงเรียนส฽งเสริมสุขภาพ ในปีงบประมาณ 2562 พบว฽า โรงเรียนทุกสังกัด จานวน 454 แห฽ง มีโรงเรียนผ฽านเกณฑแมาตรฐานโรงเรียนส฽งเสริมสุขภาพทุกระดับ จานวน 387 แห฽ง ร฾อยละ 85.24 (เปูาหมายร฾อยละ 80) เม่ือพิจารณาผลการดาเนินงานรายอาเภอ พบว฽า อาเภอท่ีมีการ ประเมินโรงเรียนส฽งเสรมิ สุขภาพและตดิ ตามการดาเนินงานอย฽างตอ฽ เนื่อง ส฽งผลให฾โรงเรียนส฽งเสริมสุขภาพ ผ฽านเกณฑแมาตรฐานโรงเรียนส฽งเสริมสุขภาพระดับทอง จานวน 162 แห฽ง คิดเป็นร฾อยละ 36.40 และใน ปีงบประมาณ 2562 มีโรงเรียนส฽งเสริมสุขภาพระดับทองท่ีเข฾าสู฽กระบวนการพัฒนาเป็นโรงเรียนส฽งเสริม สุขภาพระดับเพชรและผ฽านการประเมินรับรองเป็นโรงเรียนส฽งเสริมสุขภาพระดับเพ ชรจากศูนยแอนามัยที่ 12 ยะลา จานวน 6 แห฽ง ในพน้ื ท่ีอาเภอแวง฾ ทง้ั หมด ดังนี้ 1. โรงเรยี นบา฾ นศาลาอูมา ตาบลกายคู ละ 2. โรงเรียนอนบุ าลเออ้ื องั กรู ตาบลแว฾ง 3. โรงเรียนบ฾านนิคมสร฾างตนเองแว฾ง ตาบลแม฽ดง (โรงเรียนส฽งเสริมสุขภาพระดับเพชร ตอ฽ เน่อื งปีท่ี 2) 4. โรงเรียนเทพประทานไทยยืนยง ตาบลโละจูด 5. โรงเรียนบ฾านบางขดุ ตาบลฆอเลาะ 6. โรงเรยี นบา฾ นตอแล ตาบลแมด฽ ง ตารางที่ 92 ผลการดาเนนิ งานเฝาู ระวังการเจริญเติบโตในเด็กนักเรยี นอายุ 6-14 ปี จงั หวัดนราธิวาส จาแนกรายอาเภอ ปี 2562 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั นราธิวาส หน้า 163

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 อาเภอ นร. สงู ดี ร้อยละ เริ่ม ผอม รอ้ ยละ เตยี้ ร้อยละ ท่ไี ด้รบั สมส่วน อว้ น (คน) (คน) เมอื ง การ (คน) 52.37 และ ร้อยละ เฝูาระวงั อ้วน 447 5.16 1,543 17.80 ทง้ั หมด 4,540 (คน) (คน) 978 11.30 8,669 สุไหงโก-ลก 7,557 3,913 51.78 664 8.79 496 6.56 1,478 19.56 ระแงะ 6,516 3,654 56.08 569 8.73 466 7.15 755 11.59 ตากใบ 8,453 5,416 64.07 651 7.70 608 7.19 700 8.28 รอื เสาะ 6,753 4,231 62.65 534 7.91 400 5.92 1,031 15.27 สไุ หงปาดี 3,804 2,118 55.68 229 6.02 380 9.99 363 9.54 แว฾ง 1,581 989 62.56 94 5.95 103 6.51 129 8.16 บาเจาะ 4,255 1,953 45.90 675 15.86 409 9.61 984 23.13 ย่ีงอ 2,161 1,112 51.46 128 5.92 245 11.34 269 12.45 2,982 1,597 53.55 179 6.00 286 9.59 482 16.16 เจาะไอร฾อง 1,488 452 30.38 343 23.05 118 7.93 661 44.42 ศรสี าคร จะแนะ 4,360 2,085 47.82 431 9.89 312 7.16 1,095 25.11 สุคิริน 2,118 1,236 58.36 133 6.28 141 6.66 201 9.49 รวม 60,697 33,296 54.86 5,608 9.24 4,411 7.27 9,691 15.97 ท่มี า: รายงาน HDC เทอม 1 ปีการศึกษา 2562 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั นราธวิ าส ขอ฾ มูล ณ วนั ท่ี 21 ตลุ าคม 2562 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส หน้า 164

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 ตารางท่ี 93 ผลการดาเนินงานโครงการโรงเรียนส฽งเสรมิ สขุ ภาพท่ีผ฽านเกณฑแประเมนิ ระดับทอง จงั หวัด นราธิวาส จาแนกรายอาเภอ จานวน ผ฽านเกณฑแมาตรฐานโรงเรยี นส฽งเสรมิ สขุ ภาพ อาเภอ จานวน รร.ที่ ระดับเพชร ระดับทอง ระดับเงนิ ระดับทองแดง รร. ผ฽าน ร฾อยละ เกณฑแ จานวน รอ฾ ยละ จานวน รอ฾ ยละ จานวน ร฾อยละ ทั้งหมด ทุก จานวน รอ฾ ยละ (แห฽ง) ระดับ (แห฽ง) เมอื ง 66 61 92.42 24 42.11 23 37.70 23 37.70 23 37.70 สไุ หงโก-ลก 24 19 79.17 14 60.87 13 56.52 13 56.52 13 68.42 ระแงะ 51 47 92.16 16 32.00 23 48.94 23 48.94 23 48.94 ตากใบ 36 33 91.67 14 40.00 14 38.89 16 44.44 16 61.54 รือเสาะ 52 36 69.23 14 26.92 12 23.53 12 23.53 12 33.33 สไุ หงปาดี 37 32 86.49 12 32.43 16 43.24 16 43.24 16 50.00 แว฾ง 36 36 100.00 20 58.82 24 66.67 24 66.67 19 52.77 บาเจาะ 36 32 88.89 9 25.00 12 33.33 12 33.33 12 37.50 ย่งี อ 33 27 81.82 6 18.18 6 18.18 6 18.18 6 22.22 เจาะไอรอ฾ ง 22 21 95.45 3 14.29 3 14.29 3 14.29 3 14.29 ศรีสาคร 24 21 87.50 4 16.67 6 25.00 6 25.00 6 28.57 จะแนะ 20 13 65.00 10 50.00 11 55.00 11 55.00 11 84.61 สคุ ิรนิ 17 9 52.94 2 11.76 2 11.76 2 11.76 2 11.76 รวม 454 387 85.24 148 33.71 165 37.08 167 37.53 162 36.40 ท่มี า: แบบรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการโรงเรียนสง฽ เสริมสุขภาพ 3. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ หนา้ 165 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นราธวิ าส

รายงานผลการดาเนินงานสาธารณสุข ประจาปี 2562 3.1 ปัญหาอุปสรรค 3.1.1 ผู฾รับผิดชอบงานในระดับตาบลและอาเภอมีการโยกย฾ายและสับเปล่ียนงานบ฽อย ทาให฾ขาดทักษะในการประเมินโรงเรียน และขาดความต฽อเนื่องในการติดตามและประเมินโรงเรียนตาม เกณฑมแ าตรฐานทีก่ าหนด 3.1.2 โรงเรียนขาดแกนนาสุขภาพนักเรียน ทาให฾การดูแลสุขภาพนักเรียนไม฽ต฽อเนื่อง และปญั หาสุขภาพ/ส่งิ แวดล฾อมในโรงเรยี นไม฽ไดร฾ บั การแก฾ไข 3.2 ข้อเสนอแนะ 3.2.1 การจัดประชุมติดตามความก฾าวหน฾าของการดาเนินงานอย฽างต฽อเน่ือง เพ่ือให฾ ผปู฾ ฏิบตั งิ านในระดับพนื้ ที่มีการแลกเปล่ยี นเรยี นร฾อู ยา฽ งตอ฽ เนื่อง 3.2.2 สรา฾ งเครือข฽ายในการดูแลสขุ ภาพนกั เรียน โดยสร฾างแกนนาหรอื ผ฾นู าด฾านสง฽ เสริม สขุ ภาพนกั เรียนอย฽างต฽อเนอ่ื ง เพือ่ ใหเ฾ ด็กสามารถดแู ลสขุ ภาพตนเองและเพื่อนๆ ในโรงเรียนอย฽างย่งั ยืน 4. โอกาสพัฒนาต่อไป เพอื่ ให฾การดาเนินงานเฝูาระวังการเจริญเติบโตของเด็กนักเรียนเป็นไปอย฽างมีคุณภาพ และ เติบโตเต็มศักยภาพ เจ฾าหน฾าท่ีสาธารณสุขจะต฾องประสานความร฽วมมือในการดาเนินงานด฾านสุขภาพกับ โรงเรียนอย฽างต฽อเนื่อง โดยเฉพาะอย฽างย่ิงการดาเนินงานโรงเรียนส฽งเสริมสุขภาพซึ่งเป็นแนวคิดท่ี ครอบคลุมกิจกรรมด฾านสุขภาพทุกด฾านไม฽ว฽า สุขภาพ ส่ิงแวดล฾อม และความร฽วมมือระหว฽างชุมชนและ โรงเรียน ตลอดจนภาคีเครือขา฽ ยโดยเฉพาะองคแกรปกครองส฽วนท฾องถิ่น ในการจากัดการจาหน฽ายอาหารท่ี ไม฽มีคุณค฽าทางโภชนาการบริเวณรอบร้ัวโรงเรียน และสร฾างความตระหนักแก฽ผ฾ูปกครองในการเฝูาระวัง ภาวะอ฾วนของบุตรหลานได฾อยา฽ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 9.4 การต้งั ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควร 1. สถานการณแ์ ละสภาพปญั หา การต้ังครรภแในวัยรุ฽นเป็นเร่ืองท่ีปูองกันได฾ แต฽วัยร฽ุนจานวนมากยังเข฾าไม฽ถึงข฾อมูลและบริการ ด฾านเพศทาให฾วัยรุ฽นขาดความร฾ูและทักษะการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเส่ียง ไม฽ได฾รับการจัดการเรียนร฾ู เพศศึกษาอย฽างต฽อเน่ือง ขาดความเข฾าใจเร่ืองการคุมกาเนิดอย฽างถูกวิธี ไม฽สามารถควบคุมอารมณแหรือ ตนเองเม่ืออยก฽ู บั เพศตรงขา฾ ม ถูกกระตุ฾นอารมณแเพศจากสอื่ ทางลบ และใช฾สารเสพติด รวมทั้งการเข฾าไม฽ถึง บริการคุมกาเนิดท่ีมีประสิทธิภาพ ส่ิงเหล฽านี้เป็นปัจจัยเสริมต฽อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ฽นท่ีสถานการณแ และแนวโน฾มขณะน้ี น฽าเป็นห฽วง กล฽าวคือ อายุเฉลี่ยของการมีเพศสัมพันธแคร้ังแรกของวัยรุ฽นลดลง อัตราการ ใชถ฾ งุ ยางอนามัยลดลง ซงึ่ ผลกระทบสาคัญที่เกิดจากพฤติกรรมเส่ียงทางเพศของวัยร฽ุน นอกจากโรคติดต฽อทาง เพศสมั พันธแแ ละเอดสแ คือ การตงั้ ครรภแในวัยรุ฽น การต้ังครรภแในวัยรุ฽นจะมีภาวะแทรกซ฾อนจากการต้ังครรภแสูง กว฽าผู฾ที่มีอายุมากกว฽า 20 ปี เช฽น ภาวะโลหิตจาง ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภแ ภาวะคลอดก฽อนกาหนดสูง เจ็บครรภแคลอดนาน ภาวะทารกแรกเกิดน้าหนักน฾อยกว฽า 2,500 กรัม และทารกตายในครรภแ อัตราตายของ มารดาอายุ 15-19 ปี สูงกว฽ามารดาท่ีมีอายุ 20-24 ปี ถึง 3 เท฽า และวัยรุ฽นยังไม฽พร฾อมด฾านจิตใจสาหรับการ เป็นแม฽ นอกจากน้ียังก฽อให฾เกิดปัญหาทางด฾านเศรษฐกิจและสังคมอีกด฾วย ปัญหาเหล฽านี้ส฽งผลต฽อคุณภาพ ชีวิตของท้ังแม฽วัยรุ฽นและบุตรที่เกิดมา ทาให฾ปัญหา“เด็กเกิดด฾อยคุณภาพ” ดังน้ันปัญหาการต้ังครรภแใน สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดนราธวิ าส หนา้ 166

รายงานผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข ประจาปี 2562 วัยร฽ุนจึงเป็นเร่ืองเร฽งด฽วนท่ีต฾องได฾รับการปูองกันและแก฾ไขโดยทุกภาคส฽วน ท่ีต฾องอาศัยความร฽วมมืออย฽าง จริงจงั จากการดาเนินงานปูองกันและแก฾ไขปัญหาการตั้งครรภแในวัยร฽ุน พบว฽า อัตราการคลอดในมารดา อายุ 15–16 ปี ลดลงจาก 27.84 ในปี 2560 เป็น 21.06 ต฽อพันประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี ในปี 2561 ซึ่งบรรลุตามเปูาหมายท่ีกาหนดไว฾ไม฽เกิน 42 ต฽อพันประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี แต฽สถานการณแท่ีน฽าเป็นห฽วง คือ อัตราการตั้งครรภแซ้าในมารดาอายุน฾อยกว฽า 20 ปี มีแนวโน฾มเพ่ิมขึ้นจาก ต้ังแต฽ปี 2559-2561 เท฽ากับ ร฾อยละ 11.44, 19.44 และ 19.57 ตามลาดับ รายละเอียดดังตาราง ซึ่งสูงกว฽าเปูาหมายที่กาหนดไว฾ไม฽เกิน ร฾อยละ 10 นอกจากสภาพปัญหาดังกล฽าวแล฾ว ยังพบว฽า โรงพยาบาลที่ให฾บริการคลินิกที่เป็นมิตรกับวัยร฽ุน จานวน 9 แห฽ง ยังไม฽ผ฽านเกณฑแมาตรฐานท่ีกาหนดและภาคีเครือข฽ายในระดับอาเภออีก จานวน 10 แห฽ง ยังไมผ฽ า฽ นเกณฑแมาตรฐานอาเภออนามัยเจริญพันธุแ ตารางท่ี 94 อัตราคลอดบุตรมารดาอายุ 15–19 ปี และร฾อยละของการตง้ั ครรภซแ ้าในมารดาอายุน฾อยกวา฽ 20 ปี จาแนกรายอาเภอ ปงี บประมาณ 2559–2562 ปงี บประมาณ 2559 2560 2561 2562 อาเภอ อตั รา อตั รา อตั รา อัตรา อตั รา อตั รา อัตรา อตั รา คลอด คลอด คลอด คลอด คลอด คลอด คลอด คลอด อายุ ซา้ อายุ ซ้า อายุ ซ้า อายุ ซ้า 15-19 ปี 15-19 ปี 15-19 ปี 15-19 ปี เมือง 24.09 4.10 33.44 18.89 24.39 17.41 23.04 16.21 สไุ หงโก-ลก 34.10 12.62 27.74 15.76 23.71 20.86 14.10 15.20 ระแงะ 25.51 11.71 21.14 21.62 17.22 20.69 20.27 24.62 ตากใบ 29.60 16.09 20.88 11.76 18.45 22.64 20.17 26.67 รอื เสาะ 24.16 19.79 25.26 17.11 17.13 28.33 25.77 17.81 สุไหงปาดี 30.40 6.06 40.82 27.78 15.61 16.67 24.82 18.18 แวง฾ 24.62 14.55 27.49 19.57 27.99 12.77 21.41 7.32 บาเจาะ 28.45 20.69 26.69 24.66 22.83 10.64 22.75 20.41 ยีง่ อ 24.61 16.33 29.95 21.62 29.87 27.78 28.66 14.29 เจาะไอรอ฾ ง 29.24 15.09 27.67 25.58 21.96 25.00 23.14 38.10 ศรสี าคร 28.57 15.15 30.36 23.91 19.01 6.67 30.95 12.50 จะแนะ 26.12 1.54 19.22 22.22 14.41 20.00 16.88 25.93 สคุ ิรนิ 32.53 16.67 42.76 17.14 24.19 35.00 30.17 28.00 รวม 27.22 11.44 27.84 19.44 21.06 19.57 22.60 18.13 ที่มา: รายงาน HDC สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นราธิวาส ขอ฾ มลู ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2562 2. การบรหิ ารจดั การ หน้า 167 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook