1.1 การเรยี นรู้ผ่านการทางาน (Work-based Learning) การเรียนรู้แบบนเี้ ป็นการจดั การเรียนการสอนทส่ี ง่ เสริมผ้เู รียนใหเ้ กดิ พฒั นาการทกุ ด้าน ไม่ว่าจะ เป็นการเรียนรู้เน้ือหาสาระ การฝกึ ปฏิบัติจริง ฝึกฝนทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะวชิ าชพี การ พัฒนาทักษะการคดิ ข้นั สงู โดยสถาบันการศกึ ษามักร่วมมอื กบั แหลง่ งานในชุมชน 101
1.2 การเรียนรผู้ ่านโครงงาน (Project-based Learning) การเรยี นร้ดู ้วยโครงงานเปน็ การจดั การเรยี นรู้ท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญรูปแบบหนงึ่ ท่ีเป็นการ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้ลงมือปฏิบัติจรงิ ในลกั ษณะของการศึกษา สารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดษิ ฐ์คิดคน้ 102
1.3 การเรยี นรูผ้ า่ นกจิ กรรม (Activity-based Learning) ยดึ หลกั การให้ผูเ้ รียนสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง “Child Centered” การเรียนโดยการปฏบิ ตั ิ จริง Learning by Doing และปฏบิ ัติเพือ่ ให้เกิดการเรียนร้แู ละแกป้ ญั หาได้ 103
1.4 การเรยี นร้ผู ่านการแก้ปัญหา (Problem-based Learning) เน้นผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง และร้จู ักการทางานรว่ มกันเป็นทมี ของผู้เรียน โดยผูส้ อนมสี ่วนรว่ มน้อย แตก่ ็ท้าทายผสู้ อนมากที่สดุ กระบวนการการเรยี นรู้โดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน จะจดั ผู้เรยี นเปน็ กล่มุ ย่อย ขนาดประมาณ 8 -10 คน โดยมีครหู รอื ผูส้ อนประจากลุ่ม 1 คน ทาหนา้ ทเี่ ป็นผสู้ นับสนุน การการเรยี นรู้ 104
1.5 การเรยี นร้ผู ่านกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื วธิ ีวิจยั (Research-based Learning) การเรียนรู้ท่เี นน้ การวิจยั ถือไดว้ า่ เปน็ หวั ใจของบณั ฑิตศึกษา เพราะเปน็ การเรียนทีเ่ นน้ การแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองของผู้เรยี นโดยตรง เปน็ การพัฒนากระบวนการแสวงหา ความรู้ และการทดสอบความสามารถทางการเรียนรู้ด้วยตนเองของผเู้ รียน 105
1.6 ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community) การรวมตัว รว่ มใจร่วมพลงั ร่วมทา และรว่ มเรียนรรู้ ่วมกนั ของครูผู้บรหิ าร และนกั การศกึ ษา บนพน้ื ฐานวัฒนธรรมความสมั พนั ธ์แบบกัลยาณมติ ร มีวิสยั ทศั น์ คณุ ค่า เป้าหมายและภารกิจ รว่ มกนั โดยทางานร่วมกนั แบบทมี เรียนรู้ทค่ี รเู ปน็ ผนู้ ารว่ มกัน และผ้บู ริหารแบบผู้ดแู ล สนบั สนนุ สูก่ ารเรยี นรแู้ ละพัฒนาวิชาชพี เปล่ยี นแปลงคุณภาพตนเอง 106
1.7 การสอนแบบสรา้ งสรรค์เป็นฐาน (Creativity-based learning) เปน็ หนึ่งในรปู แบบการสอนแนว active learning ทว่ี ิจัยกับเด็กไทย เพื่อออกแบบการสอน ให้ผู้เรยี นได้ ครบสองด้าน คอื ได้ทงั้ ด้านเนอ้ื หาวิชา และทักษะในศตวรรษท่ี21 โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ดว้ ยการสอนรูปแบบนี้จะทาใหผ้ ู้เรยี นมที กั ษะในการคดิ สร้างสรรคไ์ ดอ้ ย่างเป็น รูปธรรม ไดม้ กี ารนาไปใช้แล้วและไดผ้ ลดคี อื เปน็ การสอนท่ที าให้ผู้เรียน คดิ วิเคราะหแ์ ละคดิ สรา้ งสรรค์ ตา่ งจากการสอนแบบด้ังเดมิ 107
การสือ่ สารเป็นกระบวนการสง่ หรือถ่ายทอดเรอ่ื งราว ขา่ วสาร ขอ้ มูล ความรู้ เหตุการณ์ ต่าง ๆ จากผู้สอนยังไปผ้เู รียนดว้ ยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย ดังนี้ 1.การฝึกทกั ษะในการฟงั อย่างลกึ ซ้งึ 2.การฝกึ ทกั ษะการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ โดยใช้เทคนคิ 3.การฝกึ ทกั ษะการทางานเป็นทมี , เรยี นรู้แบบกล่มุ ปฏบิ ัตงิ านกลุ่ม 4. การฝึกทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีการสอ่ื สาร ใช้เทคโนโลยเี พือ่ วิจัย จดั ระบบ ประเมิน และสื่อสาร สารสนเทศ ใช้เคร่อื งมอื ส่อื สาร เชือ่ มโยงเครอื ขา่ ย (คอมพวิ เตอร์ เครอื่ งเลน่ มีเดยี ฯลฯ) 108
3. การเรยี นรแู้ บบขัน้ บันได (IS) มขี นั้ ตอนดงั น้ี ข้นั L1 การตงั้ ประเดน็ คาถาม/สมมตฐิ าน (Learning to Question) ขนั้ L2 การสบื ค้นความรู้จากแหลง่ เรียนรแู้ ละสารสนเทศ (Learning to Search) ข้นั L3 การสรปุ องคค์ วามรู้ (Learning to Construct) ขนั้ L4 การสอื่ สารและการนาเสนออยา่ งมีประสิทธภิ าพ (Learning to Communicate) ข้นั L5 การบรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ (Learning to Serve) 109
คุณลักษณะของครใู นยคุ ศตวรรษที่ 21 E-Teacher จะประกอบดว้ ย 9 คุณลกั ษณะทีค่ รูพงึ ปฏบิ ัติ มีดังนี้ 1.Experience คอื มปี ระสบการณ์การเรียนรแู้ บบใหม่ ใชเ้ ครื่องมอื ต่างๆ เช่น Internet , E-Mail 2. Extended คอื มที ักษะการคน้ หาความรู้ไดต้ ลอดเวลา เพราะ เทคโนโลยีอินเทอรเ์ น็ต สามารถใช้ไดต้ ลอด 24 ช่วั โมง 3. Expanded คอื การขยายผลของความรูน้ นั้ สูน่ กั เรียน ประชาชนทว่ั ไป และชุมชน สามารถถา่ ยทอดความรลู้ ง CD , VDO โทรทัศน์หรอื บน Web 4. Exploration คอื สามารถเลอื กเนอ้ื หาทท่ี ันสมยั เอกสารอ้างอิง คน้ ควา้ ทงั้ สาระ และบนั เทงิ เพื่อให้เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ เพอื่ นามาออกแบบการเรียนการสอน 110
5. Evaluation คอื เป็นนักประเมนิ ท่ดี ี สามารถใชเ้ ทคโนโลยีในการประเมนิ ผล 111 6. End-User คอื เป็นผใู้ ชป้ ลายทางทด่ี ี เชน่ สามารถ Browse ไป Web Site ที่ มีคณุ คา่ บนอินเทอร์เนต็ และเป็นผูใ้ ชเ้ ทคโนโลยีได้อย่างหลากหลาย 7. Enabler คือ สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี รา้ งบทเรยี นและเน้อื หาเพม่ิ เตมิ มาใชใ้ น การประกอบการเรยี นการสอน สามารถใช้ซอฟต์แวรแ์ ละฮารด์ แวร์มาสร้าง บทเรยี น อย่างน้อยท่ีสุดกส็ ามารถสรา้ งการนาเสนอเนอ้ื หาด้วย Power Point
8. Engagement คอื ครูที่รว่ มมือกนั แลกเปล่ียนความเห็น หาแนวร่วม เพ่ือใหเ้ กิด ชุมชน เช่น การคุยกันบน Web ทาใหม้ ีความคดิ ใหมๆ่ มขี อ้ เสนอแนะ เกิดชมุ ชนครบู น Web 9. Efficient and Effective คอื ครูทีม่ ีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล จะตอ้ ง เปน็ ผ้ใู ช้เทคโนโลยไี ด้อย่างคล่องแคลว่ เปน็ ผผู้ ลติ ผกู้ ระจาย และผใู้ ชค้ วามรู้ 112
รปู แบบการเรยี นการสอน 1.Motivation แบบ MIAP 2.Information 3.Application 4.Progress 113
Motivation ขั้นสนใจ คือการกระตุน้ ความสนใจก่อนเข้าบทเรยี น อาจจะเปน็ การเลา่ เรือ่ งทีน่ ่าสนใจ การใช้คาถามนา การแสดง หรือทาอะไรกแ็ ลว้ แต่ทจ่ี ะใหผ้ ูเ้ ขา้ เรยี นรู้สกึ และคดิ ตามหลังจากนน้ั ก็ทาการโยงเรือ่ งไปสูข่ ้นั ตอนท่ีสอง 114
Information Information ขั้นศกึ ษาขอ้ มลู ข้ันตอนนี้จะเป็นการให้เน้ือหากับผู้เขา้ อบรม เปน็ ขั้นตอนของสาระ เนือ้ หา รายละเอยี ด และความรู้ตา่ งๆ จะอยูใ่ นช่วงน้ี 115
Application 3.Application ขนั้ พยายาม เปน็ ขัน้ ตอนที่ตอ้ งการตรวจสอบผูเ้ รียนวา่ มีพฤตกิ รรมทเี่ ปลีย่ นไป ตามวัตถุประสงคท์ ี่ตอ้ งการหรอื ไม่ ขน้ั ตอนนีจ้ ะถอื เปน็ การสอบผู้เรยี นนั่นเอง อาจจะใชข้ ้อสอบ หรอื ใช้การถามคาถาม หรือให้อธิบายให้ฟัง หรอื ใหแ้ สดงใหด้ ู ใหป้ ฏบิ ตั ิจริง 116
Progress ขั้นสาเรจ็ ผล ข้นั ตอนน้กี จ็ ะตอ่ เนือ่ งกบั ช่วง Aplication เรากจ็ ะนาเอาผลของการสอบ การปฏบิ ัตมิ าทาการตรวจสอบว่าผ่านตามวตั ถปุ ระสงคห์ รือไม่ แล้วก็ Feedback กลบั ไป ถ้าไม่บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคเ์ รากจ็ ะร้วู า่ ผ้เู รียนยังขาดความรู้อะไร และกท็ าการแกไ้ ข แล้วกส็ รปุ ทาความเข้าใจอีกคร้งั หน่ึง 117
รปู แบบการเรียนการสอนแบบ MACRO model โมเดลการสอนส่ศู ตวรรษที่ 21 มีองค์ประกอบทส่ี าคญั 5 ส่วน M จากคาวา่ Motivation A จากคาว่า Active learning C จากคาว่า Conclusion R จากคาว่า Reporting O จากคาว่า Obtain 118
การสรา้ งแรงจูงใจ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ ความสนใจและความตอ้ งการในการเรยี นรู้ ข้ันนี้เป็น ขั้นแรกของการเรียนรู้ตามแนวการสอนนี้ เป็นข้ันท่คี รผู ้สู อนจะต้องร่วมมอื กับผู้เรียนในการ กาหนดและต้งั ประเดน็ การเรยี นรู้ ในหวั ขอ้ ที่เกี่ยวกับการเรียนรตู้ ามแผนท่ียดึ โยงกบั หลกั สูตร 119
เปน็ การเรยี นรู้ที่ให้ผเู้ รยี นไดม้ โี อกาสได้ความรโู้ ดยตรงจากการลงมือทาดว้ ยตนเองผ่าน วิธกี ารเรยี นร้ทู ห่ี ลากหลาย จากแหล่งเรยี นรตู้ า่ ง ๆ โดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ 120
ซงึ่ เปน็ การทผี่ ูเ้ รยี นสามารถสรปุ องคค์ วามรู้หรอื สังเคราะหส์ ิง่ ที่ได้เรียนรตู้ ามความคิดและ ภาษาของตนเองได้ โดยขน้ั น้ีจะเปน็ การท่ีผู้เรยี นจะนาผลการอภิปรายและสาธติ ทเ่ี ป็นผล จากการแลกเปลยี่ นเรียนรูร้ ะหว่างกนั มากาหนดเปน็ ความคิดหรอื องคค์ วามรูใ้ หม่ 121
คือการที่ผู้เรียนสอ่ื สารและนาเสนอผลการเรยี นรดู้ ้วยภาษา วธิ ีการและเทคโนโลยี สารสนเทศทเี่ หมาะสม ซ่ึงเป็นข้ันของการชว่ ยให้ผู้เรยี นได้มโี อกาสนาเสนอและ แสดงผลงาน ทีไ่ ดจ้ ากการสร้างองคค์ วามร้ขู องตวั เอง เพือ่ ให้บุคคลอื่นไดร้ ับรู้ 122
ซ่งึ เปน็ การทผ่ี ้เู รียนนาผลการเรียนรทู้ ่ีไดร้ บั ไปใชป้ ระโยชน์ เผยแพรค่ วามรสู้ ูค่ รอบครัว ชมุ ชน และสงั คมตา่ ง ๆ ซ่ึงขน้ั นจ้ี ะเป็นการส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นได้ฝกึ ฝนการนาความรู้ ความเขา้ ใจของตนไปประยกุ ต์ใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ท่ีหลากหลาย เพ่อื เพิ่มความ ชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปญั หาและความจาในเร่อื งนนั้ มากย่ิงขนึ้ 123
รปู แบบการเรยี นการสอนแบบ MOOC รปู แบบการเรยี นการสอนแบบ MOOC 124 MOOC เปน็ คาท่มี าจากตัวอกั ษรตัวแรกของคาเตม็ วา่ Massive Open Online Course หมายถงึ รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ทีเ่ ปดิ โอกาศให้ ผเู้ รยี นเสามารถเรียนรู้ไดจ้ านวนมาก ๆ ผ่านทางหนา้ เว็บไซต์
นอกจากนี้ยงั หมายถึง รูปแบบการนาเสนอการเรยี นรู้หลกั สตู รต่าง ๆ ทางออนไลน์ ท่เี ขา้ ถึง ผ้เู รยี นจานวนมาก ๆ ไดผ้ า่ นทางหน้าเว็บไซต์ โดยสว่ นใหญเ่ ปน็ การให้บริการฟรี ซึ่ง MOOC นี้เป็นนวัตกรรมใหมข่ องวงการการศึกษาของโลก โดยการนาเทคโนโลยแี ละวิธกี ารเรยี นการ สอนสมัยใหม่มาผสมผสานกนั 125
ผ้เู รยี นสามารถเชือ่ มตอ่ เขา้ ไปดวู ดิ ีโอการบรรยาย เขา้ ไปฝึกปฏบิ ตั ิ ทาแบบทดสอบ แบบฝกึ หดั หรอื เข้าไปร่วมสนทนากับผ้เู รียนอน่ื ๆ ได้ ทาให้คนทว่ั โลกสามารถเข้าถึง การศึกษาได้ผ่านช่องทางออนไลนซ์ งึ่ ตอนน้ีมีเครือข่ายครอบคลุมไปทวั่ ทุกมุมโลก 126
ในการเรยี นรปู แบบดังกล่าวมีวดี โิ อใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรยี นซา้ ได้ มีหนงั สอื ออนไลนใ์ หศ้ ึกษา คน้ คว้าเพิ่มเติม มแี บบฝึกหัดให้ผ้เู รียนได้ฝกึ ทดสอบ และมฟี อรัม (Forum) ให้ผ้เู รยี นได้ แลกเปล่ยี นสนทนาระหวา่ งนกั เรียนดว้ ยกัน หรอื กบั ผู้สอน และผชู้ ว่ ยสอนได้อกี ดว้ ย 127
แนวคดิ การเรียนการสอนทางวิศวกรรมแบบ CDIO โดยแนวการเรียนการสอนแบบ CDIO มุ่งเนน้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ (Learning Outcomes) 4 ดา้ นหลัก ซง่ึ นับเป็นหัวใจสาคัญของวชิ าชพี วิศวกรรม ไดแ้ ก่ 128
การคดิ วิเคราะห์ (Conceive) สามารถคิดวิเคราะห์และช้ีปัญหา ในทางวิศวกรรมได้ การออกแบบ (Design) สามารถออกแบบและหาแนวทางแก้ไขปญั หา ทางวศิ วกรรมได้ Implement สามารถดาเนนิ การ ประยกุ ต์ หรอื แกไ้ ขปัญหาทาง วิศวกรรมให้สาเร็จลลุ ่วงได้ Operate สามารถพัฒนาและควบคุมระบบตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม 129
หนา้ หลกั องคค์ วามร้แู ละเหตผุ ล โดยหลกั สตู รควรประกอบ ทักษะทางวชิ าชีพและ ทางวชิ าชีพ ไปด้วยองค์ประกอบตา่ ง ๆ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ทกั ษะดา้ นการทางาน ดังน้ี CDIO ระบบในบรบิ ทของ เปน็ ทมี และการสื่อสาร องค์กร สงั คม และ ส่ิงแวดล้อม 130
หนา้ หลกั 131
การบรู ณาการเน้อื หาสาระการเรยี นรู้ 132
การสอนแบบบูรณาการ การนาศาสตร์หรือความรู้ วิชาต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน น า ม า เ ข้ า ด้ ว ย กั น ห รื อ ผสมผสานได้อยา่ งกลมกลืน 133
ลกั ษณะสาคัญของการสอนแบบบูรณาการ 1.เป็นการบรู ณาการระหวา่ งความรู้ กระบวนการ และการปฏบิ ัติ 2.เปน็ การบรู ณาการระหว่างวิชาได้อย่างกลมกลนื 3.เป็นการบรู ณาการระหวา่ งสงิ่ ทีเ่ รียนกับชวี ติ จริง 4.เป็นการบูรณาการเพื่อจัดความซ้าซอ้ นของเนอ้ื หาตา่ งๆ 5.เปน็ การบรู ณาการใหเ้ กดิ ความสมั พันธก์ ันระหวา่ งความคิดรวบยอด ของวชิ าตา่ งๆ เพอ่ื ทาใหเ้ กิดการเรยี นร้ทู ่มี คี วามหมาย 134
การจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการ การบรู ณาการภายในวชิ า การบรู ณาการระหว่างวิชา มจี ดุ เนน้ อยภู่ ายในวชิ าเดียวกนั อาจ มีจุดเน้นอยู่ท่ีการนาวิชาอื่นเข้าเชื่อมโยง นาวิชาต่างๆ ทสี่ มั พันธก์ นั มาบรู ณา ด้วยกัน ตั้งแต่ 2 วิชาขึ้นไป โดย การกนั เองของวชิ านั้นและไม่แยกหรอื ภายใต้หัวข้อเดียวกันว่าวิชาใดท่ีสามารถ นาเข้ามาบูรณาการด้วยกันได้ ไม่ ขยายไปกับวชิ าอื่น จาเป็นว่าต้องทุกวิชา หรือทุกกลุ่ม ประสบการณ์เข้าด้วยกัน หรืออาจครบ ทุกวิชาหรือทกุ กลุม่ ประสบการณก์ ไ็ ด้ 135
การวางแผนการจัดทาแผนแบบบรู ณาการ 1.การเลอื กหวั เรอื่ ง จากประเดน็ ตา่ งๆ ทีต่ ้องการเรยี น เชน่ ประเดน็ แนวคดิ ประเด็นของเน้ือหา 2.การนาจดุ ประสงคข์ องรายวชิ าตา่ งๆ ท่สี ัมพันธ์กนั มาสร้างเปน็ หัวข้อเร่ือง และนามาจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ 136
ขนั้ ที่.1 เลอื กหวั เร่ือง (Theme) โดยวธิ ตี ่อไปน้ี 1. ระดมสมองของครแู ละนกั เรียน 2. เน้นท่กี ารสอดคล้องกบั ชวี ติ จรงิ 3. ศึกษาเอกสารตา่ งๆ 4. ทาหวั เร่อื งใหแ้ คบลงโดยคานงึ ถงึ ความสมั พนั ธ์เกย่ี วข้องกับชวี ิต จริงความสะดวกในการเชอื่ มโยงระหว่างวชิ าความรู้ และความสนใจของนกั เรยี น 137
ข้นั ท่ี.2 พัฒนาหัวเรื่อง (Theme) ดงั นี้ 1. เขียนวัตถุประสงค์โดยกาหนดความรู้และความสามารถท่ีต้องการ จะให้เกิดแก่ผู้เรียน เขียนวัตถปุ ระสงค์ในลักษณะท่ีจะช่วยให้เกิดความเช่ือมโยงระหว่างวิชา กาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน เพอ่ื นาไปส่กู ิจกรรม 2. กาหนดเวลาในการสอนให้เหมาะสมกับกาหนดเวลาต่างๆ ตามปฏิทินของโรงเรียน เช่น จาสอนเมื่อใด ใช้เวลาเทา่ ไร ยืดหยุน่ ได้หรอื ไม่ ตอ้ งใชเ้ วลาออกสารวจหรือทากจิ กรรมนอกหอ้ งเรียน หรอื ไม่ ฯลฯ 3. จองเคร่อื งมือเครอ่ื งใชท้ ่ีจาเปน็ ในการกระทากิจกรรม ข้นั ที่.3 ระบุทรพั ยากรทต่ี อ้ งการ ควรคานึงถงึ ทรัพยากรทีห่ าไดง้ า่ ย แล้วติดตอ่ แหล่งทรพั ยากร 138
ข้นั ที่.4 พฒั นากิจกรรมการเรยี นการสอน ดงั นี้ 1. พฒั นากจิ กรรมท่ีชว่ ยให้เกดิ ความเชอ่ื มโยงกับเนอ้ื หาวชิ าอนื่ 2. ตัง้ จุดม่งุ หมายของกิจกรรมใหช้ ดั เจน 3. เลือกวธิ ที ่คี รูวชิ าตา่ งๆ จะทางานร่วมกนั เพอ่ื เชอื่ มโยงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวิชา 4. เลอื กวธิ ีการสอนทจี่ ะใช้ 5. สรา้ งเอกสารแนะนาการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 6. สงิ่ ท่ีครูควรจะตอ้ งเตรียมลว่ งหน้าอาจประกอบด้วยสงิ่ ต่อไปนี้ - ใบความรู้ - ใบงาน - แบบบันทกึ (ซึ่งอาจเป็นแบบทค่ี รูออกแบบใหเ้ ลย หรอื อาจเปน็ แบบบันทกึ ที่นกั เรียน จะต้องช่วยกันออกแบบก็ได้) 139
ประโยชนข์ องการบรู ณาการ 1.เป็นการนาวชิ าหรือศาสตร์ต่างๆ เช่ือมโยงกนั ภายใตห้ วั ขอ้ เดยี วกัน 2.ช่วยให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนทล่ี กึ ซ้งึ และมลี กั ษณะใกล้เคียงกับชวี ติ จรงิ 3.ช่วยให้ผ้เู รยี นได้รบั ความรู้ ความเขา้ ใจ ในลักษณะองคร์ วม 4.ชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ ความเข้าใจ จากสง่ิ ต่างๆ ท่มี อี ยรู่ อบตวั 5.เปน็ แนวทางทีช่ ่วยใหค้ รูได้ทางานรว่ มกนั หรอื ประสานงานรว่ มกนั อย่างมคี วามสุข 6.สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ครูไดค้ ิดวิธีการหรือนาเทคนคิ ใหมๆ่ มาใช้ 140
เหตุผลท่สี นับสนนุ การเช่อื มโยงวชิ าตา่ ง ๆ เขา้ ด้วยกันในการสอน 1. สิง่ ที่เกดิ ขนึ้ ในชวี ิตจรงิ ไมไ่ ดจ้ ากัดว่าจะเก่ยี วขอ้ งกับสาขาวชิ าใดสาขาวิชาหน่ึง 2. ช่วยให้เกิดความสัมพันธ์เชอื่ มโยง ระหว่างความคดิ รวบยอดในศาสตร์ตา่ ง ๆ ทาใหเ้ กดิ การเรียนร้ทู ม่ี ีความหมาย 3. ชว่ ยให้นักเรยี นเชือ่ มโยงสง่ิ ท่เี รยี นเขา้ กบั ชวี ติ จริงไดแ้ ละในทางกลับกันก็จะสามารถเช่อื มโยง เรื่องของชวี ติ จรงิ ภายนอกห้องเรยี นเข้ากับสิ่งที่เรยี นได้ 4. ประโยชน์ในการขจัดความซา้ ซอ้ นของเน้อื หาตา่ ง ๆ ในหลักสตู ร 141
รูปแบบของการบูรณาการ 1.การสอนบูรณาการแบบสอดแทรก (Infusion Instruction) วิชาอบชุบ ทาการสอน วชิ า.โลหะวทิ ยา 142
2.การสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) 143
3. การสอนบรู ณาการแบบสหวทิ ยาการ (Multidisciplinary Instruction) 144
145
หนา้ หลกั 4. การสอนบูรณาการแบบขา้ มวชิ าหรือเปน็ คณะ (Transdisciplinary Instrction) การสอนตามรูปแบบน้ีครูท่ีสอนวิชาต่าง ๆ จะร่วมกันสอนเป็นคณะหรือเป็นทีม ร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือ และกาหนดหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด/ปัญหาร่วมกัน แล้วร่วมกนั ดาเนินการสอนนกั เรยี นกลมุ่ เดียวกนั 146
หนา้ หลกั 147
การบรู ณาการการเรียนรู้แบบรวม 148
บกพรอ่ งทางสายตา พลอย สโรชา สาวผู้พิการทาง สายตา บณั ฑิตเกียรตนิ ยิ ม จุฬาฯ 149
บกพร่องทางการไดย้ นิ น้องไนท์ นศ.พกิ ารเรียนรว่ ม มสด. สดุ เก่ง ไดร้ บั ทุนแลกเปลี่ยน เขา้ เรียนที่ สหรัฐฯ 150
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334