การวัดด้านทักษะพสิ ัย ทักษะพิสัยเป็นความสามารถในเชิงปฏิบัติการหรือ การ ก ร ะ ท า ใ ห้ เ กิ ดผ ล อ ย่ าง ใดอ ย่ าง ห นึ่ ง ทั กษ ะ พิ สั ย ส าม าร ถ จาแนกออกเป็น 7 ระดบั 1)การรับรู้ 2)เตรยี มความพร้อม 3) การตอบสนองตามแนวทางท่ีกาหนดให้ 4) ความสามารถดา้ นกลไก 5) การตอบสนองที่ซับซ้อน 6) ความสามารถในการดดั แปลง 7)ความสามารถในการรเิ ร่ิม 301
หลกั การวัดทางการศึกษา การท่ีจะวัดให้มีคุณภาพต้องนิยามคุณลักษณะที่ ตอ้ งการวัดให้ตรงและชัดเจน 1. นยิ ามสง่ิ ท่ตี อ้ งการวดั ใหช้ ดั เจน 2. ใช้เครอื่ งมือวัดที่มีคณุ ภาพ คุณภ าพข องเคร่ือง มือมีหลาย ประก าร ที่ส าคัญคือ มคี วามตรง (validity) คือวัดได้ตรงกับคุณลกั ษณะที่ตอ้ งการ 3. กาหนดเง่ือนไขของการวดั ใหช้ ัดเจน วัด และมีความเท่ียง (reliability) คือวัดได้คงที่ คือวัดได้ก่ี ครั้งก็ให้ผลการวดั ทีไ่ ม่เปลย่ี นแปลง กาหนดให้แน่นอนว่าจะทาการวัดอะไร วัดอย่างไร กาหนดตวั เลขและสญั ลักษณ์อยา่ งไร 302
ข้ันตอนการวดั ทางการศึกษา 1. ระบจุ ดุ ประสงค์และขอบเขตของการวัด วา่ วดั อะไร วัดใคร 2. นยิ ามคณุ ลกั ษณะทีต่ ้องการวัดใหเ้ ป็นพฤตกิ รรมที่วดั ได้ 3. กาหนดวธิ ีการวัดและเครอื่ งมือวดั 4. จดั หาหรอื สรา้ งเคร่อื งมอื วดั 5. ดาเนนิ การวดั ตามวิธกี ารที่กาหนด 6. ตรวจสอบและวเิ คราะหผ์ ลการวัด 7. แปลความหมายผลการวัดและนาผลการวดั ไปใช้ 303
การประเมิน (Evaluation or Assessment or Appraisal) การประเมิน เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากการวัด คือ นาตัวเลขหรือสัญลักษณ์ท่ีได้จากการวัดมาตีค่า อย่างมีเหตุผล โดยเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ เช่น โรงเรียนกาหนดคะแนนที่น่าพอใจของ วิชาคณิตศาสตร์ไว้ท่ีร้อยละ 60 นักเรียนท่ีสอบได้คะแนนต้ังแต่ 60 % ข้ึนไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ท่ีน่าพอใจ หรืออาจจะกาหนดเกณฑไ์ วห้ ลายระดบั การประเมนิ ผล มคี วามหมายเช่นเดียวกบั การประเมนิ แต่ เปน็ กระบวนการต่อเนอื่ งจากการวัดผล 304
สาหรับภาษาอังกฤษมหี ลายคา ท่ีใชม้ ากมี 2 คา คือ evaluation และ assessment 2 คานม้ี คี วามหมายตา่ งกัน คือ evaluation เป็นการประเมินตัดสิน มีการกาหนด Assessment เป็นการประเมินเชิงเปรียบเทียบ ใช้ เกณฑ์ชัดเจน (absolute criteria) เช่น ได้คะแนน เกณฑ์เชิงสัมพันธ์ (relative criteria) เช่น เทียบกับผล ร้อยละ 80 ขึ้นไป ตัดสินว่าอยู่ในระดับดี ฯลฯ การประเมินคร้ังก่อน เทียบกับเพื่อนหรือกลุ่มใกล้เคียง evaluation จะใช้กับการประเมินการดาเนินงานท่ัวๆ กัน assessment มักใช้ในการประเมินผลสัมฤทธ์ิ เช่น ไ ป เ ช่ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น โ ค ร ง ก า ร ( Project ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การประเมินตนเอง (Self Evaluation) การประเมินหลักสูตร (Curriculum Assessment) Evaluation) 305
ลักษณะการประเมนิ ทางการศึกษา 2. เป็นการประเมินคุณลักษณะ หรือพัฒนาการการเรียนรู้ของ 1. เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนการสอนหรือ ผู้เรียนว่าบรรลุตามจุดประสงค์ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงควรทาการประเมิน หรือไม่ อย่างต่อเน่ือง เพ่ือนาผลการประเมินไปปรับปรุง กระบวนการเรียนการสอนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยิ่งขึน้ 3. เป็นการประเมินในภาพรวมทั้งหมดของ 4. เปน็ กระบวนการเก่ียวข้องกับบุคลหลายกลุ่ม ผู้เรียน โดยการรวบรวมข้อมูลและประมวล ทง้ั ครู นกั เรยี น ผูป้ กครองนักเรียน ผู้บริหาร จากตัวเลขจากการวัดหลายวิธีและหลาย โรงเรียน และอาจรวมถึงคณะกรรมการต่างๆ แหล่ง ของโรงเรียน 306
หลักการประเมนิ ทางการศึกษา 1. ขอบเขตการประเมนิ ตอ้ งตรงและครอบคลุมหลักสูตร 2. ใชข้ ้อมูลจากผลการวดั ทคี่ รอบคลมุ จากการวดั หลายแหล่ง หลายวิธี 3. เกณฑ์ท่ใี ช้ตดั สินผลการประเมินมคี วามชดั เจน เป็นไปได้ มคี วามยุติธรรม ตรงตามวัตถุประสงคข์ องหลักสตู ร 307
ข้ันตอนในการประเมนิ ทางการศึกษา 1. กาหนดจดุ ประสงคก์ ารประเมนิ 2. กาหนดเกณฑเ์ พ่ือตีค่าขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ าการวัด 3. รวบรวมข้อมลู จากการวดั หลายๆ แหล่ง 4. ประมวลและผสมผสานขอ้ มลู ตา่ งๆ ของทุกรายการที่วดั ได้ 5. วินิจฉัยชีบ้ ่งและตดั สินโดยเทียบกับเกณฑท์ ่ีตั้งไว้ 308
ประเภทของการประเมินทางการศึกษา 1. แบง่ ตามจดุ ประสงค์ของการประเมนิ 1.1 การประเมินก่อนเรยี น หรอื ก่อนการจัดการเรียนรู้ หรอื การประเมนิ พนื้ ฐาน (Basic Evaluation) เปน็ การประเมนิ ก่อนเริ่มต้นการเรียนการสอนของแตล่ ะบทเรียนหรือแตล่ ะ หนว่ ย 1.2 การประเมินเพื่อพัฒนา หรือการประเมินย่อย การประเมนิ เพ่ือจัดตาแหน่ง (Placement (Formative Evaluation) เป็นการประเมินเพ่ือใช้ผลการ Evaluation) ประเมินเพื่อปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ การ ประเมินประเภทน้ใี ชร้ ะหว่างการจัดการเรียนการสอน การประเมินเพ่ือวินจิ ฉยั (Diagnostic Evaluation) 309
1.3 การประเมินเพื่อตัดสินหรือการประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อตัดสิน ผลการจัดการเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผู้เรียนได้ เรียนไปแล้ว อาจเป็นการประเมินหลังจบหน่วยการ เรยี นรู้หน่วยใดหน่วยหน่งึ 310
2. แบ่งตามการอา้ งอิง 2.1 การประเมินแบบอิงตน (Self-referenced Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อนาผลจากการเรียนรู้มาเปรียบเทียบกับ 2 . 3 ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ บ บ อิ ง เ ก ณ ฑ์ ความสามารถของตนเอง เป็นการประเมินเพ่ือปรับปรุงตนเอง (Criterion-referenced Evaluation) (Self Assessment) เช่น ประเมินโดยการเปรียบเทียบผลการ เป็นการนาผลการสอบท่ีได้ไปเทียบกับ ทดสอบก่อนเรยี นกับทดสอบหลังเรยี นของตนเอง เกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ ความสาคัญอยู่ที่ เกณฑ์ โดยไม่จาเป็นต้องคานึงถึง 2.2 การประเมินแบบอิงกลุ่ม (Norm-referenced ความสามารถของกลุ่ม Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อพิจารณาว่าผู้ได้รับ การประเมินแต่ละคนมีความสามารถมากน้อยเพียงใด เม่ือเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ถูกวัดด้วยแบบทดสอบฉบับ เดียวกนั 311
3. แบ่งตามผ้ปู ระเมนิ 3.1 การประเมินตนเอง (Self Assessment) หรือการประเมิน ภายใน (Internal Evaluation) เป็นการประเมินลักษณะเดียวกับ การประเมนิ แบบองิ ตน 3.2การประเมินโดยผู้อ่ืนหรือการประเมินภายนอก (External Evaluation) สืบเน่ืองจากการประเมิน ตนเองหรือการประเมินภายในซึ่งมีความสาคัญมากใน การพัฒนาปรับปรุง แต่การประเมินภายในมีจุดอ่อนคือ ความน่าเช่อื ถือ 312
ความสาคญั ของการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นองค์ประกอบสาคัญในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ทาให้ได้ข้อมูลสารสนเทศท่ีจาเป็นในการพิจารณาว่าผู้เรียน เกดิ คุณภาพการเรยี นรตู้ ามผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั และมาตรฐานการเรียนรู้ 313
ประโยชน์ของการวัดและการประเมินผลการเรยี นรู้จาแนก เปน็ ดา้ นๆ ดังน้ี 1. ดา้ นการจัดการเรียนรู้ 2. ดา้ นการแนะแนว 3. ดา้ นการบรหิ าร 4. ด้านการวิจยั 314
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ เพื่อคดั เลอื ก (Selection) เพอ่ื แยกประเภท (Classification) 1.1 เพื่อจัดตาแหน่ง (Placement) เพอ่ื พัฒนาการเรียนรขู้ องผ้เู รียน 1.2 เพ่ือวนิ จิ ฉัย (Diagnostic) เพ่ือปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ 315
1.3 เพื่อตรวจสอบและปรับปรงุ ปรับเปลยี่ นวิธกี ารสอน (Teaching Method) ปรบั เปลี่ยนสอ่ื การสอน (Teaching Media) ใชน้ วตั กรรมการจดั การเรียนรู้ (Teaching Innovation) 1.4 เพื่อการเปรียบเทยี บ (Assessment) ผูเ้ รยี นมพี ฒั นาการจากเดิมเพียงใด และอยู่ ในระดับทีพ่ ึงพอใจหรอื ไม่ 1.5 เพือ่ การตัดสิน ใช้ข้อมูลท่ไี ด้จากการวัดเทยี บกับเกณฑเ์ พือ่ ตัดสินผลการเรยี น วา่ ผ่าน-ไม่ผ่าน หรอื ให้ระดบั คะแนน 316
2. ด้านการแนะแนว ผลจากการวดั และประเมนิ ผู้เรียน ช่วยให้ ทราบว่าผู้เรียนมีปัญหาและข้อบกพร่องในเร่ืองใด มากน้อยเพียงใด ซึ่งสามารถแนะนาและช่วยเหลือ ผู้เรียนให้แก้ปัญหา มีการปรับตัวได้ถูกต้องตรง ประเด็น นอกจากนี้ผลการวัดและประเมินยังบ่ง บอกความรู้ความสามารถ ความถนัด และความ สนใจของผู้เรียน ซึ่งสามารถนาไปใช้แนะแนว การศึกษาต่อและแนะแนวการเลือกอาชีพให้แก่ ผูเ้ รียนได้ 317
3. ดา้ นการบริหาร ช่วยให้ผู้บริหารเห็นข้อบกพร่องต่างๆ ของการจัดการเรียนรู้ เป็นการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของครู และบ่งบอกถึงคุณภาพการ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ผู้ บ ริ ห า ร สถานศกึ ษามกั ใชข้ ้อมลู ได้จากการวัดและประเมนิ ใช้ในการตัดสินใจหลายอย่าง เช่น การพัฒนา บุคลากร การจัดครูเข้าสอน การจัดโครงการ การเปล่ียนแปลงโปรแกรมการเรียน 318
4. ดา้ นการวจิ ยั 4.1 ข้อมูลจาการวัดและประเมินผลนาไปสู่ปัญหาการวิจัย เช่น ผลจากการวัดและประเมินพบว่าผู้เรียนมี จุดบกพร่องหรือมีจุดที่ควรพัฒนาการแก้ไขจุดบกพร่องหรือการพัฒนาดังกล่าวโดยการปรับเปล่ียนเทคนิควิธี สอนหรือทดลองใช้นวัตกรรมโดยใช้กระบวนการวิจัย การวิจัยดังกล่าวเรียกว่า การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Research) นอกจากน้ีผลจากการวัดและประเมินยังนาไปสู่การวิจัยในด้านอ่ืน ระดับอ่ืน เช่น การวจิ ัยของสถานศกึ ษาเก่ยี วกบั การทดลองใชร้ ปู แบบการพัฒนาคุณลกั ษณะของผ้เู รยี น เปน็ ต้น 4.2 การวัดและประเมินเป็นเครื่องมือของการวิจัย การวิจัยใช้การวัดในการรวบรวมข้อมูลเพ่ือศึกษา ผลการวิจยั ข้ันตอนนเ้ี ริม่ จากการหาหรือสร้างเครือ่ งมอื วดั การทดลองใช้เคร่ืองมือ การหาคุณภาพเคร่ืองมือ จนถึงการใชเ้ ครอ่ื งมือทม่ี ีคณุ ภาพแล้วรวบรวมข้อมูลการวัดตัวแปรที่ศึกษา หรืออาจต้องตีค่าข้อมูล จะเห็นว่า การวัดและประเมนิ ผลมบี ทบาทสาคญั มากในการวจิ ยั เพราะการวัดไม่ดี ใชเ้ ครือ่ งมอื ไมม่ คี ณุ ภาพ ผลของการ วิจยั ก็ขาดความน่าเชื่อถอื 319
การวัดและประเมินกอ่ นเรยี น ระหว่างเรียน และหลังเรยี น 1. ก่อนเรียน การวัดและประเมนิ ก่อนเรยี นมจี ดุ ประสงค์เพอื่ มทราบสภาพของผ้เู รียน ณ เวลาก่อนทีจ่ ะ เรยี น เชน่ ความรูพ้ ื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ งๆ เป็นตน้ 2. ระหวา่ งเรยี น จุดประสงค์ของการวัดและประเมินระหว่างเรียน เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าหรือพัฒนาการของผู้เรียนด้าน ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ จากการเรียนรู้และการร่วมกิจกรรมของผู้เรียน โดยเทียบกับ ผลการวัดและประเมินกอ่ นเรยี น การวดั และประเมินระหวา่ งเรยี นจะทาให้ได้ข้อมูลที่บ่งบอกถึงพัฒนาการการเรียนรู้ของ ผเู้ รียน ในขณะเดยี วกนั ยงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของครดู ้วย 320
3. หลงั เรยี น หนา้ หลกั จุดประสงค์ของการวัดและประเมินหลังเรียน เพื่อ 321 ตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ จากการ เรยี นรูแ้ ละการร่วมกจิ กรรมของผู้เรียน โดยเทียบกบั ผลการ วัดและประเมินก่อนเรียนและระหว่างเรียน การวัดและ ประเมินหลังเรียนจะทาให้ได้ข้อมูลท่ีบ่งบอกถึงพัฒนาการ การเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะเดียวกันยังสะท้อนให้เห็นถึง คุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของครดู ว้ ย
หนา้ หลกั 322
หลกั การสอนทจ่ี าเปน็ สาหรบั ครู 323
หลกั การสอน การสอน เป็นหน่ึงในกระบวนการท่ีจะทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามความหมายของ การศึกษา คือ การส่งเสริมให้บุคคลเจริญเติบโตและมีความเจริญงอกงามทางกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาและพฒั นาขึน้ ไปสคู่ วามเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม การสอนมีความ หมายที่ หลากหลาย ขึ้นอยกู่ ับปรัชญาหรอื จุดมงุ่ หมายท่เี ราตอ้ งการใหเ้ กิดขน้ึ ในตวั ผูเ้ รยี น 324
ความหมายของการสอน จาแนกตามความมงุ่ หมาย การสอน หมายถึง การถา่ ยทอดความรู้ การสอน หมายถงึ การจดั ใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ การสอน หมายถึง การฝึกให้ผเู้ รยี นคดิ แกป้ ญั หาตา่ ง ๆ การสอน หมายถึง การแนะแนวทางแก่ผเู้ รยี นเพือ่ ให้ศกึ ษาหาความรู้ การสอน หมายถงึ การสรา้ งหรอื การจัดสถานการณ์เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรยี นรู้ การสอน หมายถึง กระบวนการท่ีช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เกิดความคิดที่จะนาความรู้ไปใช้เกิดทักษะหรือ ความชานาญที่จะแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม การสอน หมายถึง การจัดประสบการณ์ที่เหมาะสมให้นักเรียนได้ปะทะเพื่อที่จะให้เกิดการเรียนรู้หรือเปล่ียนแปลง พฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น การสอนจงึ เปน็ กระบวนการสาคญั ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดการเจริญงอกงาม 325
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นการสอน 1.จดุ ประสงค์ทวั่ ไป เ ป็ น จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ที่ มี ค ว า ม ห ม า ย ก ว้ า ง ไม่เฉพาะเจาะจง และเป็นจุดประสงค์ท่ี ต้งั ข้นึ เพ่ือแสดงใหเ้ หน็ อยา่ งชัดแจ้ง เพื่อให้มีนิสัยใฝ่หาความรู้ เพื่อให้มี ความรู้ความเข้าใจ และเหน็ คุณค่า ในศิลปวฒั นธรรมไทย 326
2.จดุ ประสงค์เฉพาะ เปน็ จดุ ประสงคท์ ม่ี เี ฉพาะเจาะจง และเปน็ จุด ท่ตี ้งั ขึ้นเพื่อแสดงให้เหน็ อย่างชดั แจง้ นักศกึ ษาสามารถบอกเคร่ืองมอื พื้นฐานได้ นักศึกษาสามารถวาดรปู 3 มติ ิ ได้ 327
ดา้ นพุทธิพสิ ยั (Cognitive Domain) 328
ด้านทกั ษะพสิ ยั (Psychomotor Domain) 329
ด้านจิตพสิ ยั (Effective Domain) 330
รูปแบบการสอน การสอนมีอยู่มากมายหลายวิธี แต่ละวิธีก็จะมีข้อเด่นข้อด้อยในตัวเอง เราไม่สามารถกล่าวได้ว่า วิธีใดเปน็ วิธีสอนที่ดีท่สี ดุ เพราะการเรยี นการสอนต้องขน้ึ กบั องค์ประกอบหลายประการ 1. สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ของบทเรยี น เป็นวธิ ที ่ีมน่ั ใจวา่ จะสามารถช่วยให้ผู้เรียน บรรลุจดุ ประสงค์อย่างมีประสทิ ธิภาพมากทส่ี ุด 2. สอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาสาระทีจ่ ะสอน 3. เหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และจานวนผู้เรียน 331
ลักษณะการสอนท่ดี ี ผูเ้ รียน อาจารยผ์ ู้สอน วธิ กี ารสอน 332
เนือ้ หาวิชา สอื่ การสอน สงิ่ แวดลอ้ ม มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั น 333 ระหว่างวิชาที่เรียนกับ วิชาอื่น ๆ ในหลักสูตร เปน็ อยา่ งดี
หน้าหลกั การประเมินผล 1.ควรมีการประเมนิ ผลตลอดเวลา โดยวธิ ีการต่าง ๆ เชน่ การสงั เกต การซักถาม การทดสอบเพ่ือใหแ้ น่ใจวา่ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ ของ ครตู รงตามจุดประสงค์มากท่ีสุด 2.การวัดผล มีการป้อนกลับ และการเสริม ใช้การวดั ผลเป็นสว่ นหน่งึ ของการ เรยี นการสอน ร้จู ักออกข้อสอบทีด่ ี ใหค้ ะแนนยตุ ธิ รรม 3. มีการวัดผลการเรียนการสอน โดยจะทาการวดั ผลเปน็ ระยะ ๆ ใหต้ ิดตอ่ กนั ทัง้ นี้เพอื่ ให้เกดิ ความสนใจ ตัง้ ใจเรียนและยังเป็นการวัดความเข้าใจของนักเรียนด้วย 334
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334