4) การจัดโครงสรา้ งเน้อื หาทีเ่ รยี นใหเ้ ป็นระเบียบและนาเสนอเป็นผงั มโนทศั น์ท่แี สดง ภาพรวมของสิ่งทจี่ ะเรยี นลว่ งหน้าใหแ้ กผ่ เู้ รียน 51
ทฤษฎีการเรียนรู้ พทุ ธินิยมเชิงสงั คม (social-cognitive learning theory) แบนดรู า มนุษยเ์ รียนรู้การแสดงพฤตกิ รรมใหมผ่ ่านการสงั เกตพฤติกรรมของผู้อน่ื หรอื ตัวแบบ (model) และผลท่ีตามมาของพฤติกรรม ซึ่งเป็นสารสนเทศที่นามาใช้ในการพิจารณาว่า พฤตกิ รรมอันใดไดร้ บั การยอมรบั ให้ปฏบิ ัตบิ ุคคลกจ็ ะใช้เปน็ แนวทางสาหรับการแสดง พฤติกรรมใหม่ของตนตอ่ ไป 52
องค์ประกอบของทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทางพทุ ธนิ ิยมเชงิ สังคม ประกอบดว้ ย 1) พฤตกิ รรมตัวแบบ 53 2) การเสริมแรงให้กบั ผลทต่ี ามมาของ พฤติกรรมตวั แบบ 3) กระบวนการทางปญั ญา 4) การกากบั ตนเอง (self regulation) 5) การรบั รู้ศกั ยภาพของตนเอง (self efficacy)
การประยกุ ตส์ กู่ ารสอน 1) ใช้ตวั แบบเปน็ แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศสาหรับผูเ้ รยี นในการพฒั นาท้งั ทางดา้ น ทักษะทางกายและทักษะทางปญั ญารวมไปถึงการพัฒนาทักษะทางภาษา 2) นาเสนอตัวแบบดว้ ยส่อื และวธิ กี ารตา่ ง ๆ ใหผ้ ูเ้ รียนได้จดจาซ้ายา้ ทวน พฤติกรรมของตวั แบบ 3) ใช้วิธสี อนและกิจกรรมการเรยี นการสอนตา่ ง ๆ ท่ีใหผ้ ู้เรยี นได้เกยี่ วขอ้ งกบั ตัวแบบ 4) พัฒนาผู้เรยี นให้เกดิ การรบั รู้ตนเองว่ามีศกั ยภาพทจ่ี ะทาไดต้ ามตวั แบบ 5) ใหก้ ารเสริมแรงแกผ่ ูเ้ รียนเม่ือสามารถแสดงพฤติกรรมตามตวั แบบท่กี าหนดได้ 54
ทฤษฎกี ารสร้างความรู้ (constructivism) ทฤษฎีการสร้างความรู้ (constructivism) มีพื้นฐานมาจากปรัชญาเหตุผลนิยม (rationalism) ซ่ึงเช่ือว่าเหตุผลเป็นแหล่งกาเนิดของความรู้ความจริงในโลกน้ีเกิดจาก การสรา้ งมากกวา่ การค้นพบ ดังนน้ั การเรียนรู้จึงเป็นการสร้างความรู้โดยผู้เรียนเป็นผู้ ลงมอื กระทาดว้ ยตนเองมากกวา่ การรับการถา่ ยทอดความรจู้ ากผูอ้ ืน่ 55
แนวคดิ การสรา้ งความรู้ สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ลักษณะ ดงั น้ี 1. การสรา้ งความร้เู ป็นกระบวนการทางปญั ญาของแตล่ ะบุคคล 2. การสร้างความรเู้ ปน็ กระบวนการทางสงั คม 56
การประยุกต์สู่การสอน 1) การเรยี นร้ปู ระสบการณใ์ หม่ข้ึนกับประสบการณ์เดิมของผเู้ รียน 2) การเรียนรคู้ อื การสรา้ งความหมาย จากประสบการณท์ ี่ไดร้ บั 3) ก่อนการจดั การเรยี นรู้เรอ่ื งใหม่ ควรตรวจสอบความรูเ้ ดิมของผเู้ รยี นวา่ เป็นความรู้ ที่ถกู ต้องหรอื ไม่ หากเปน็ ความรู้ทไ่ี ม่ถูกต้องหรือเปน็ ความเขา้ ใจผดิ ต้องแก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง 57
4) การเรียนรู้เป็นปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ดังนั้นควรจัดให้ผู้เรียนได้ทางาน เป็นกลุ่มเล็ก เพื่อให้มีโอกาสแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ระหว่างผู้เรียน ดว้ ยกนั 58
5) ลดการบรรยาย จัดกิจกรรมหรือสถานการณ์ท่ีท้าทายสติปัญญาและ ศกั ยภาพของผ้เู รียนให้ผ้เู รยี นสรา้ งความรดู้ ว้ ยการลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ 59
60
หลักการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลาง แนวคิดของ ดิวอี เร่ือง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใหน้ กั เรยี นไดพ้ ัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้จากการลงมือปฏบิ ัติ 61
พฤติกรรมทแ่ี สดงวา่ เปน็ การเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง ไดแ้ ก่ 1) ผเู้ รียนมีประสบการณ์ตรงสัมพนั ธ์กบั ธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 2) ผู้เรยี นฝึกประสบการณจ์ นค้นพบความถนัดและวธิ ีการของตนเอง 62
3) ผ้เู รยี นทากจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรยี นร้จู ากกล่มุ 63
4) ผู้เรียนฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการตลอดจนได้แสดงออกอย่าง ชัดเจนและมเี หตผุ ล 64
5) ผเู้ รยี นได้รับการเสรมิ แรงให้คน้ หาคาตอบ แก้ปัญหา ท้งั ดว้ ยตนเองและรว่ มด้วยช่วยกัน 65
6) ผ้เู รยี นได้ฝึกคน้ ควา้ รวบรวมข้อมูลและสรา้ งสรรคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง 7) ผเู้ รียนได้เลอื กทากิจกรรมตามความสามารถความถนัดและความสนใจ ของตนเองอย่างมคี วามสุข 66
8) ผเู้ รียนฝกึ ตนเองใหม้ วี นิ ัยและมคี วามรับผิดชอบในการทางาน 9) ผเู้ รียนฝกึ ประสบการณ์ ปรับปรงุ ตนเองและยอมรับผู้อ่ืน ตลอดจนสนใจใฝห่ าความรู้อยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง 67
พฤตกิ รรมทแี่ สดงวา่ ครจู ดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ ศนู ย์กลาง ไดแ้ ก่ 1) ครูเตรียมการสอนทง้ั เน้ือหาและวิธกี าร 68
69
6) ครูสง่ เสริมกจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ จากกลมุ่ พรอ้ มท้งั สงั เกตส่วนดี และ ปรับปรงุ ส่วนด้อย ของผ้เู รยี น 7) ครใู ชส้ ื่อการสอนเพ่ือฝกึ การคดิ การแกป้ ญั หาและการคน้ พบความรู้ 8) ครใู ช้แหล่งเรียนร้ทู ี่หลากหลายและเช่ือมโยงประสบการณ์กบั ชวี ิตจริง 70
9) ครฝู ึกฝนกริ ยิ ามารยาทและวนิ ยั ตามวถิ วี ฒั นธรรมไทย 10) ครูสงั เกตและประเมนิ พัฒนาการของผู้เรียน 71 อยา่ งตอ่ เน่อื ง
หนา้ หลกั การจดั การเรยี นการสอนทคี่ านึงถงึ ผู้เรียนเปน็ ศูนยก์ ลางน้นั ครจู าเป็นต้องเข้าใจบทบาทของ ตนเองและพฤตกิ รรมที่ควรสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ขึ้นแกน่ กั เรียน ดงั นน้ั ตัวบง่ ชี้บทบาทครูและนกั เรยี นที่ กลา่ วมาข้างตน้ นจี้ ึงเปน็ แนวทางสาคัญสาหรบั นาไปใช้พัฒนาบทบาทของครูและผ้เู รยี นใน กระบวนการเรยี นการสอนท่จี ดั ข้นึ 72
หน้าหลกั 73
องค์ประกอบการจัดการเรยี นรู้ 74
เน้ือหาวชิ า ผสู้ อน ผเู้ รียน สภาพแวดลอ้ ม สอ่ื 75
องค์ประกอบการจดั การเรียนรู้ ผสู้ อนเป็นองคป์ ระกอบท่สี าคัญยง่ิ ต่อการสอน เพราะต้องเป็นผรู้ หู้ ลักสตู รและนาเนื้อหาสาระมา ดาเนินการสอน มกี ารวดั ผลและประเมนิ ผลการ เรียนรู้ตลอดเวลาของการเรียนการสอน 76
เป็นอีกองคป์ ระกอบหน่ึงทมี่ ีความสาคญั ต่อ การจัดการเรยี นรู้ ซง่ึ ผเู้ รียนแต่ละคนมีความแตกตา่ ง กนั ท้ังบุคลิกภาพ สตปิ ญั ญา ความถนัด ความสนใจ และความสมบรู ณ์ของรา่ งกาย อีกทงั้ การสอน จะเกิดขน้ึ ได้น้นั จาเปน็ ตอ้ งมผี เู้ รียนเป็นผ้ไู ดร้ บั ความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ต่างๆ ท่ีผูส้ อนจัดให้ 77
78
อปุ กรณ์ช่วยในการจดั การเรียนรใู้ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ข้นึ 79
หน้าหลกั 5.สภาพแวดลอ้ ม และ บรรยากาศการเรยี นรู้ ในการสอนทตี่ อ้ งการใหเ้ กิดผลดีทัง้ ผสู้ อนและผู้เรยี นน้นั สภาพแวดลอ้ มท้งั ในและนอกหอ้ งเรียนกม็ ีความจาเป็นอยา่ งยงิ่ ที่ ต้องคานึงถึง 80
หน้าหลกั 81
รปู แบบการเรียนการสอน คาว่า รูปแบบการสอน รปู แบบการเรียนการสอน และรูปแบบการเรียนรู้ ยังคงเปน็ คาทม่ี ี การนามาใชใ้ นความหมายทเี่ หมอื นกัน นักการศึกษาไดใ้ ห้ความหมาย ของรูปแบบการเรียนการสอนดังนี้ 82
จอยส์และวลี อา้ งแนวคิดของดวิ อี้ (Dewey) ทกี่ ล่าววา่ แกน่ ของกระบวนการสอน กค็ ือ การจัดสง่ิ แวดล้อมใหผ้ เู้ รยี นมีปฏิสมั พนั ธ์รว่ มด้วยเพอื่ ศึกษาหาวิธีวา่ จะเรยี นรู้ ได้อย่างไร ตง้ั แต่การวางแผนหลกั สตู ร รายวิชา หนว่ ยการเรยี นรูแ้ ละบทเรียน ไป จนถงึ การออกแบบและพัฒนาสื่อการเรยี นการสอน 83
เอกเกนและคอชัค (Eggen & Kauchak) กล่าวว่ารูปแบบการสอน หมายถงึ กลวธิ ีการสอนเฉพาะท่ไี ดร้ บั การออกแบบโดยมี พื้นฐานมาจากทฤษฎกี ารเรียนรู้และการจงู ใจเพ่ือชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นบรรลจุ ดุ ประสงค์การ เรยี นรู้ 84
ทิศนา แขมมณี ให้ความหมายของรูปแบบการเรียนการสอน คอื สภาพลกั ษณะของการเรียนการสอนท่ี ครอบคลุมองคป์ ระกอบสาคญั ซงึ่ ได้รบั การจดั ไวอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ ตามหลกั ปรัชญา ทฤษฎหี ลักการ แนวคิดหรือความเช่ือต่าง ๆ โดยประกอบด้วยกระบวนการ หรือขัน้ ตอนสาคัญในการเรยี นการสอน รวมท้ังวธิ ีสอนและเทคนคิ การสอนตา่ ง ๆ ทสี่ ามารถช่วยใหก้ ารเรียนการสอนน้นั เปน็ ไปตามทฤษฎี 85
สรปุ ไดว้ า่ จากความหมายทน่ี ามากล่าวข้างต้น รูปแบบการเรยี นการสอนจงึ เปน็ แบบแผนของ การจดั การเรยี นการสอนทไี่ ด้รบั การออกแบบโดยมีทฤษฎกี ารเรยี นรู้และการจงู ใจเปน็ พน้ื ฐาน เพ่ือใช้เปน็ แนวทางให้แกค่ รูนาไปจดั การเรยี นการสอนใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ เฉพาะของรปู แบบการเรยี นการสอนนนั้ 86
รปู แบบการเรียนการสอนแบบ การเรียนรแู้ บบใฝ่รู้ (Active Learning) การเรียนรู้แบบใฝ่รู้ (Active Learning) เป็นการเรยี นรูท้ ่พี ฒั นาทักษะความคดิ ระดับสงู อยา่ ง มีประสิทธภิ าพช่วยใหผ้ ้เู รียนวิเคราะห์สงั เคราะห์ใหมไ่ ด้ดีและประเมินข้อมูลในสถานการณ์ในที่สดุ จะชว่ ยใหผ้ ้เู รียนเกดิ แรงจูงใจ จนสามารถชน้ี าตลอดชีวติ ในฐานะผูฝ้ ักใฝก่ ารเรยี นรู้ ธรรมชาติ ของการเรียนรู้แบบ Active Learning ประกอบดว้ ยลักษณะสาคัญตอ่ ไปนี้ 87
1. เป็นการเรียนรู้ท่ีมุ่งลดการถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนสู่ผู้เรียนให้น้อยลง และพัฒนาทักษะให้เกดิ กบั ผเู้ รียน 2. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรยี นโดยลงมอื กระทามากกวา่ น่งั ฟังเพยี งอยา่ งเดียว 3. ผู้เรยี นมีส่วนในกิจกรรมเช่นอ่านอภปิ รายและเขยี น 4. เน้นการสารวจเจตคติและคุณคา่ ท่มี ีอยู่ในผู้เรยี น 5. ผเู้ รียนได้พัฒนาการคดิ ระดบั สงู ในการวเิ คราะหส์ ังเคราะห์และประเมินผลการนาไปใช้ 6. ท้ังผเู้ รยี นและผู้สอนรบั ข้อมลู ปอ้ นกลับจากการสะท้อนความคิดไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 88
การสอนแบบ Active Learning ไดด้ ังน้ี 1. เป็นการเรยี นการสอนที่พัฒนาศกั ยภาพทางสมองได้แก่การคิด การแกป้ ัญหาและการนาความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ 2. เปน็ การเรียนการสอนท่เี ปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนมสี ว่ นรว่ มใน กระบวนการเรียนรสู้ ูงสุด 3. ผเู้ รียนสร้างองค์ความรูแ้ ละจัดระบบการเรยี นรู้ด้วยตนเอง 89
4. ผเู้ รียนมสี ่วนร่วมในการเรียนการสอนทง้ั ในด้านการสร้างองค์ ความรูก้ ารสรา้ งปฎสิ ัมพนั ธ์ร่วมกันร่วมมอื กนั มากกวา่ การแข่งขัน 90
5. ผเู้ รียนเรยี นรูค้ วามรบั ผดิ ชอบร่วมกนั การมีวนิ ัยในการ ทางานการแบง่ หนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบ 6. เปน็ กระบวนการสรา้ งสถานการณ์ให้ผเู้ รยี นอ่านพูดฟงั คดิ อยา่ ง ลมุ่ ลกึ ผ้เู รียนจะเป็นผู้จัดระบบการเรียนรดู้ ้วยตนเอง 7. เป็นกจิ กรรมการเรียนการสอนเน้นทักษะการคิดข้ันสงู 91
8. เปน็ กจิ กรรมทเี่ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นบรู ณาการข้อมลู ขา่ วสารหรอื สารสนเทศและ หลักการความคดิ รวบยอด 9. ผสู้ อนจะเปน็ ผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรเู้ พ่ือให้ผ้เู รียนเปน็ ผู้ปฏิบตั ิดว้ ย ตนเอง 10.ความรู้เกิดจากประสบการณก์ ารสร้างองค์ความร้แู ละการสรปุ ทบทวนของผเู้ รยี น 92
การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ครจู งึ ต้องมีความตน่ื ตวั และเตรยี มพรอ้ มในการจดั การเรยี นรูเ้ พ่อื เตรียมความพรอ้ มใหน้ กั เรียน มีทักษะสาหรับการออกไปดารงชวี ติ ในโลก นัน่ คอื ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ทสี่ ่งผล ใหม้ กี ารเปลยี่ นแปลงการจัดการเรยี นรู้เพ่ือใหเ้ ดก็ มคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะจาเปน็ ซ่งึ เปน็ ผลจากการปฏริ ปู เปลีย่ นแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความ พรอ้ มด้านตา่ ง ๆ 93
ทักษะด้านการเรยี นรู้และนวตั กรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเขา้ สู่โลกการทางานท่ีมคี วามซบั ซอ้ นมากข้นึ ในปัจจุบนั ไดแ้ ก่ ความรเิ ริ่มสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และการแกป้ ัญหา การสื่อสารและการรว่ มมือ 94
ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี เนอ่ื งดว้ ยในปัจจุบนั มกี ารเผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสารผา่ นทางส่ือและเทคโนโลยมี ากมาย ผู้เรยี นจงึ ตอ้ งมีความสามารถในการแสดงทกั ษะการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและ ปฏบิ ัติงานได้หลากหลาย โดยอาศยั ความรู้ในหลายด้าน ดงั น้ี ความรดู้ า้ นสารสนเทศ ความรเู้ กีย่ วกบั สอื่ และความรู้ดา้ นเทคโนโลยี 95
ทักษะดา้ นชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวติ และทางาน ในยุคปจั จุบนั ให้ประสบความสาเรจ็ นกั เรยี นจะตอ้ งพัฒนาทักษะชีวิตทีส่ าคญั คือ ความ ยืดหยนุ่ และการปรบั ตัว การรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์และเปน็ ตวั ของตวั เอง ทกั ษะสังคมและ สังคมขา้ มวฒั นธรรม การเป็นผู้สร้างหรอื ผผู้ ลติ และความรับผดิ ชอบเชอ่ื ถอื ได้ ภาวะ ผนู้ าและความรับผดิ ชอบ 96
ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 การเรยี นรู้ 3R Reading (อา่ นออก) Riting (เขียนได)้ Rithemetics (คิดเลขเปน็ ) 97
ทักษะอาชีพ และ ทกั ษะดา้ นการ ทกั ษะการเรยี นรู้ สรา้ งสรรค์ และ นวตั กรรม ทกั ษะดา้ นการส่ือสาร การเรียนรู้ 7C ทักษะด้านการคดิ อย่างมี สารสนเทศ และรูเ้ ท่าทนั สือ่ วจิ ารณญาณ และทกั ษะในการ แกป้ ัญหา ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ ทักษะดา้ นความเขา้ ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ใจความตา่ ง การทางานเป็นทมี และ และการสือ่ สาร วัฒนธรรม ต่าง ภาวะผู้นา กระบวนทัศน์ 98
กระบวนการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 1. กระบวนการเรยี นรูแ้ บบลงมือปฏบิ ัติ มี 3 ลกั ษณะ คือ 2. กระบวนการเรยี นรู้ผา่ นการสอ่ื สารอย่างสร้างสรรค์ 3. การเรียนร้แู บบข้นั บนั ได(IS) 99
1.กระบวนการเรยี นรแู้ บบลงมือปฏบิ ตั ิ เปน็ แนวคดิ หรือความเชอ่ื ท่ีสนับสนนุ ใหค้ นเราปฏบิ ตั ิสงิ่ ต่างๆดว้ ยตนเองตามความสนใจ ตาม ความถนัดและศกั ยภาพ ด้วยการศกึ ษา ค้นคว้า ฝกึ ปฏิบตั ิ ฝกึ ทกั ษะจนถงึ การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง เพราะเชอ่ื ว่าหากคนเราได้กระทาจะทาใหเ้ กิดความเช่ือม่ันเปน็ แรงจูงใจให้เกดิ การใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น ผเู้ รยี นจะสนกุ สนานที่จะสบื คน้ หาความรูต้ อ่ ไป มคี วามสุขทจ่ี ะเรียน มีลกั ษณะดงั น้ี 100
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334