Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book

E-book

Description: E-book

Search

Read the Text Version

ความสมั พันธข์ องกระบวนการเรียนการสอน การเรียน การสอน การสนใจปัญหาหรอื บทเรยี น การนาเข้าสู่บทเรยี น การรบั ขอ้ มูล การให้เนือ้ หา การทาแบบฝกึ หดั หรือกจิ กรรม การให้แบบฝึกหดั การทราบผลของกิจกรรม การตรวจผลการฝกึ หัด 251

1. การสอนทฤษฎแี บบบรรยาย การสอ่ื สารจะเกิดจากผูส้ อนเทา่ นั้น 252

ความหมายของการสอนแบบบรรยาย ( Lecture ) หมายถงึ วิธีสอนทถ่ี อื เอากจิ กรรม หรือ บทบาทของผู้สอนเปน็ หลัก โดยผ้สู อนจะพูดบอกดา่ หรอื อธิบายเนอ้ื หาต่างๆใหแ้ ก่ผู้เรยี น ซึง่ ผู้ สอนไดเ้ ตรยี มการศึกษาคน้ ควา้ เน้อื เร่อื งมาแล้วเป็นอยา่ งดเี ปน็ วิธสี อน แบบผู้สอนเป็นสาคญั หรอื แบบผสู้ อนเปน็ ศนู ย์กลาง. Teacher Center 253

เทคนคิ การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบบรรยายควรมีขัน้ ตอนการเตรียมตวั ดงั น้ี ขนั้ เตรยี มการสอน ขั้นดาเนินการสอน ขน้ั ติดตามผล วินจิ ฉัยผเู้ รียน ขัน้ นาการบรรยาย การวัดผลและการ เตรียมเนอื้ หา ข้นั อธิบายเนอื้ หา ประเมินผลผู้เรยี น เตรยี มสอื่ การสอน ข้นั สรปู เนอื้ หา เตรยี มการวดั ผล การประเมนิ ผลของ และประเมินผล ผูส้ อน 254

ขอ้ ดขี องการสอนทฤษฎแี บบบรรยาย 255 สามารถสอนกบั ผู้เรยี นจานวนมากได้ สะดวกในการให้เน้อื หาทางทฤษฎีแกผ่ ้เู รยี น ผ้เู รียนรับรเู้ รอ่ื งท่เี รียนตรงกันและพรอ้ มกัน ผู้สอนสามารถดาเนนิ การสอนไดเ้ พียงคนเดยี ว ใหเ้ น้ือหาแกผ่ ้เู รียนได้มากกวา่ ในเวลาอนั จากัด สามารถสรปุ เนือ้ หาจากส่ิงตา่ งๆ เข้าเป็นกลมุ่ ก้อนไดง้ ่าย

ข้อเสยี ของการสอนทฤษฎีแบบบรรยาย ผู้เรียนไม่มโี อกาสแสดงความคิดเห็น ตอ้ งเสริมการจดและท่องจามากกวา่ การ เขา้ ใจ ไม่ไดค้ านงึ ถึงความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการเรยี นนอ้ ยทาใหห้ มด ไมไ่ ดค้ านึงถึงความแตกตา่ งของผ้เู รยี น ความสนใจไดง้ ่าย การบรรยายทีด่ ตี ้องอาศยั ทกั ษะและเทคนคิ ใช้ไดด้ ีเฉพาะผู้เรียนทม่ี ีชว่ งความสนใจใน การพูดที่เราความสนใจ การฟังยาว เปน็ การแสดงออกของผสู้ อนคนเดียว 256

2. การสอนทฤษฎแี บบบรรยายประกอบส่อื

ข้อดีและขอ้ เสยี ของการสอนทฤษฎีแบบบรรยายประกอบส่อื ข้อดี ขอ้ เสยี เปน็ การเพ่ิมคณุ ภาพการเรยี นรู้ ครตู อ้ งมกี ารเตรียมสือ่ การสอน สอนไดป้ รมิ าณเนือ้ หามาก ครตู ้องมกี ารเตรียมความ ใช้สือ่ แก่ผเู้ รียนขณะเรยี นรู้ พร้อมกอ่ นการสอนมากขนึ้ . สามารถสอนกับจานวน ไม่มีโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นมีสว่ นร่วม ผเู้ รียนครั้งละมากๆ เชน่ การตอบคาถาม เพมิ่ การสรา้ งความสนใจดว้ ย สง่ เสรมิ ให้การจดบนั ทกึ และ การใชส้ ่ือแก่ผเู้ รียนขณะเรียนรู้ การท่องจาขณะเรียนรู้ 258

3. การสอนทฤษฎแี บบถาม - ตอบ 259

เทคนิคการเลือกใช้คาถามขณะสอน 260 ตอ้ งเปน็ คาถามท่ีมีความชัดเจน ถกู ต้อง ไมก่ ากวม สองแงส่ องง่าม ต้องเป็นคาถามทใี่ ช้คาพดู อยา่ งง่ายๆ ต้องเป็นคาถามที่ชวนใหต้ ิดตามใหส้ นุกไปกบั บทเรยี นทก่ี าหนด ตอ้ งเป็นคาถามท่ีท้าทายความคดิ ตอ้ งเปน็ คาถามที่นักเรียนตอบได้ทกุ คาถาม ต้องเป็นคาถามทส่ี นั้ ๆและจากัดขอบเขตของคาถาม ต้องเป็นคาถามที่สัมพันธ์กบั เนือ้ หาและวัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ตอ้ งเปน็ คาถามที่ไมง่ า่ ยจนทาใหเ้ กดิ ความเบือ่ หน่าย ตอ้ งไม่เป็นคาถามทต่ี อบว่าใช่หรือไมใ่ ช่ จรงิ หรือไม่จรงิ บอ่ ยครัง้ เกนิ ไป

ขอ้ ดีของการสอนทฤษฎแี บบถาม-ตอบ รกั ษาความต้ังใจและความสนใจบทเรยี นของผู้เรยี นได้ดี สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นคิดหาเหตผุ ล ทาใหม้ ีความเข้าใจในการเรียนได้ดี การสรุปเน้ือหาทาได้ดว้ ยความเข้าใจของผู้เรียน ผสู้ อนมีโอกาสไดท้ ราบขอ้ มลู หรอื ผลการเรยี นของผู้เรยี นตลอดเวลา สรา้ งบรรยากาศความเป็นกันเองขณะสอน ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีการแสดงออกและมีความเช่ือมั่นในตนเอง เป็นวธิ ีท่ีคานึงถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งผูเ้ รียนได้ดี 261

ใชไ้ ด้กับผ้เู รยี นเปน็ กลุม่ เดก็ ไมเ่ กิน 20 คน. ใชเ้ วลาในการสอนมากกวา่ แบบบรรยาย. ผู้สอนต้องมีการเตรยี มการสอนและวธิ กี าร ดาเนินการสอน ท่ีทาให้ยากกว่าวธิ บี รรยาย. ตอ้ งมกี ารเตรียมสือ่ ประกอบการสอน. 262

4. การสอนทฤษฎแี บบอภปิ ราย 263

ขอ้ ดีและข้อเสียของการสอนทฤษฎแี บบอภปิ ราย ขอ้ ดี ข้อเสยี เพมิ่ คุณภาพการเรยี นรู้โดยการ ผู้สอนต้องมีการสรุป ร่วมกันทาการอภิปราย เนื้อหาต่างๆ เปน็ การสร้างความสนใจและให้ ให้ครบถว้ นกอ่ นจบ การอภิปราย โอกาสผู้เรยี นไดม้ สี ่วนร่วม โอกาสในการจดจาเนื้อหาวชิ าจะ ผู้เรียนต้องมีการเตรียมตวั เพือ่ พูดอภปิ รายหน้าหอ้ ง สูงกว่าการสอนแบบอืน่ ใชเ้ วถามากขณะทาการอภปิ ราย และขณะเตรียมการอภิปราย. 264

5. การสอนทฤษฎีดว้ ยแบบเรยี นด้วยตนเอง 265

การสอนทฤษฎดี ว้ ยแบบเรยี นด้วยตนเอง หมายถงึ วธิ กี ารสอนทผ่ี ้สู อนมอบหมายใหผ้ เู้ รียนปฏบิ ัติงาน ตามใบงาน หรือ ใบมอบหมายงาน โดยผูเ้ รยี นจะตอ้ งศกึ ษาหาแนว ความรู้จากเอกสารประกอบการเรียนเช่น ใบความรู้ หรือ ใบเนื้อหา ใบแบบฝกึ หัด ใบเฉลยแบบฝกึ หดั ใบทดสอบ เป็นตน้ ผเู้ รียนจะเกดิ ทักษะ และได้ประสบการณ์ตรงจากการลงมืออ่านหรอื ศกึ ษาหาความรู้ หรือ ลงมอื ทาแบบฝึกหดั ต่างๆ หรอื ปฏบิ ตั ิงานฝึกตามใบสง่ั งาน 266

จานวนของเคร่อื งจกั รตอ่ จานวนของผูฝ้ กึ ความพรอ้ มของอุปกรณ์ตา่ งๆ ความรู้ความสามารถของครฝู ึก (ทักษะ) เวลาของการฝึก 267

ขน้ั ตอนการสอนดว้ ยวิธีศึกษาดว้ ยตนเอง 268 1. ข้ันเตรียมการสอน. 2. ขัน้ ดาเนินการสอน. 2.1 ข้ันนาเข้าสูบ่ ทเรียน 2.2 ขนั้ การสอน แบง่ กลุ่มของผ้เู รียน. -แจกเอกสารประกอบการเรียน ใบงาน ใบเน้ือหา ใบปฏบิ ัติงาน -ใหผ้ ู้เรยี นทากิจกรรมกลุ่มในเวลาที่กาหนด -ให้แต่ละกล่มุ หรือแต่ละคนสง่ ผลงานท่ีทา 2.3 ขัน้ ทาการฝกึ ทากจิ กรรม 2.4 ข้นั ประเมินผล สังเกตการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนขณะปฏบิ ตั งิ าน -ใหผ้ ูเ้ รยี นทาแบบทดสอบทา้ ยบทเรียน หรือแบบทดสอบ

6. การสอนปฏบิ ัตแิ บบบรรยายประกอบการสาธิต 269

ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของการสอนปฏบิ ตั แิ บบบรรยายประกอบการสาธิต ข้อดี ข้อเสยี เพิ่มคณุ ภาพการเรียนรกู้ าร ตอ้ งมกี ารเตรยี มเครือ่ งจักร ฝึกปฏิบตั จิ ริง เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ ก่อให้เกิดความน่าสนใจและ ง่ายตอ่ ความเขา้ ใจ ผ้สู อนตอ้ งเตรียมความ พรอ้ มกอ่ นทาการสาธติ จริง ใชเ้ วลาของการสอนไมม่ าก ผู้เรยี นไมม่ ีโอกาสถามคาถาม หรอื ถา้ มีการถามกน็ อ้ ยมาก 270

271

ข้อดแี ละขอ้ เสียของการสอนปฏิบัตแิ บบถาม-ตอบประกอบการสาธิต ขอ้ ดี ขอ้ เสีย เพม่ิ คุณภาพการเรียนรู้การ ตอ้ งมกี ารเตรียมเครื่องจักร ฝกึ ปฏบิ ัตจิ รงิ และการถาม เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ กอ่ ใหเ้ กดิ ความนา่ สนใจและ ผสู้ อนต้องเตรยี มความ งา่ ยต่อความเข้าใจเน้ือหา พร้อมกอ่ นทาการสาธติ จรงิ ผู้เรียนไม่มีโอกาสถามคาถาม หรือ ถา้ มกี ารถามกน็ อ้ ยมาก ผเู้ รียนไมม่ โี อกาสถามคาถาม หรอื ถา้ มีการถามก็นอ้ ยมาก 272

8. การสอนปฏบิ ตั แิ บบสาธิตกบั แบบฝกึ ดว้ ยตนเอง 273

ขอ้ ดีและขอ้ เสียของการสอนปฏบิ ตั แิ บบการสาธติ กบั แบบกด้วยตนเอง ข้อดี ข้อเสยี เหมาะกบั การเรยี นท่ผี ู้เรียน ตอ้ งการการเตรียมเครอื่ งจักร ต้องการ เรียนด้วยตนเอง เคร่อื งมือ อปุ กรณ์ และเอกสารฯ ผู้เรยี นต้องมสี มาธขิ ณะเรียนสูง ผสู้ อนตอ้ งมีการเตรียมตัวที่จะ แก้ปญั หาทุกๆกรณขี ณะเรียน. ผู้เรยี นตอ้ งมีความรบั ผดิ ชอบขณะ เรยี นสูง ไม่เหมาะสาหรับผ้เู รยี นไม่มี สามารถเรียนได้แบบตามอธั ยาศัย ความรับผดิ ชอบ วัยวุฒิไม่ได้. ของผู้เรยี นโดย 274

เทคนิคการเลอื กวิธสี อนทเ่ี หมาะสม หนา้ หลกั จานวนของผูเ้ รยี น 275 ความรู้ความสามารถของผสู้ อน ความรู้ความสามารถของผเู้ รียน ลักษณะของเน้ือหาวิชาการทจี่ ะสอน ความพรอ้ มของสถานที่ เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์

หนา้ หลกั 276

การจัดการเรียนรูท้ เี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั 277

องคป์ ระกอบและตัวบ่งชี้การจัดการ เรยี นรทู้ ี่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ 1.ด้านการ 2. ดา้ นการจัดการ 3. ด้านการเรยี นรู้ บริหารจดั การ เรยี นรู้ ของผเู้ รียน 278

1. ด้านการบริหารจดั การ การดาเนินงานในทุกองค์ประกอบของสถานศึกษาน้ันให้ไปสู่เป้าหมายเดียวกัน คือ คุณภาพของผูเ้ รียนตามวิสัยทัศน์ท่ีสถานศึกษานั้นๆ กาหนด ดังน้ันตัวบ่งชี้ ท่ีแสดงถึงการ พฒั นาทง้ั ระบบของสถานศกึ ษาจึงประกอบดว้ ย 1.การกาหนดเป้าหมายในการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนอยา่ งชดั เจน 2.การกาหนดแผนยุทธศาสตร์สอดคลอ้ งกับเปา้ หมาย 3.การกาหนดแผนการดาเนินงานในทุกองค์ประกอบของสถานศึกษาสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายและ เปน็ ตามแผนยุทธศาสตร์ 279

4.การจัดให้มรี ะบบประกันคุณภาพภายใน 5.การจดั ทารายงานประจาปีเพ่ือรายงานผเู้ กยี่ วข้องและสอดคล้องกบั แนวทางการประกนั คุณภาพจากภายนอก ซึ่งในการดาเนินงานของสถานศึกษาดังกล่าวต้องเน้นถึงการมีส่วนร่วมของผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับ การจดั การศกึ ษาของ สถานศกึ ษาเข้ามามีสว่ นรว่ ม ในการกาหนดเปา้ หมายและการจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์ ร่วมในการสนบั สนุนการจดั การเรียนร้รู ว่ มในการประเมนิ ผล 280

2. ดา้ นการจดั การเรยี นรู้ บทบาทของผู้สอนและบทบาทของผู้เรียน ท่ีจะร่วมกันการจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ซง่ึ จะทาไดส้ าเร็จเมอ่ื ผู้สอนและผูเ้ รยี น มคี วามเข้าใจตรงกันในการจดั การเรยี นรู้ ลกั ษณะ 1) จัดการเรียนรโู้ ดยเนน้ ความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน เน้นความต้องการของผู้เรียนเป็นหลัก เน้น การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของผู้เรยี น 2) จัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยการศึกษาค้นคว้าทดลอง แลกเปลย่ี นเรียนร้แู ละลงมือปฏบิ ตั จิ ริงดว้ ยตนเอง 281

3) จัดการเรียน รูท้ ่ีเน้น กระบวน การคิดโดยกระตุ้นให้ ผ้เู รียน รจู้ กั ใชค้ วามคิด สรา้ งสรรคค์ ดิ วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหาและตดั สนิ ใจไดด้ ้วยตนเอง 4) ใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการเรยี นรู้อย่างแท้จริง โดยการรว่ มแสดงความคิดเหน็ ร่วมอภิปราย รว่ ม กาหนดกิจกรรมการเรยี นรู้และรว่ มนาเสนอความคิดดว้ ยตนเอง 5) ใช้กระบวนการกลมุ่ เพ่อื ให้ผ้เู รียนมีปฏสิ ัมพันธ์ ทงั้ สมาชิกในกลมุ่ สมาชกิ ระหวา่ งกลุ่มและปฏิสัมพันธ์ กบั ผู้สอน 6) มกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรูอ้ ยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับความสามารถและศักยภาพของผเู้ รยี น จดั บรรยากาศของการเรียนรใู้ หน้ า่ สนใจ 282

7) วัดและประเมินผลผูเ้ รยี นดว้ ยวิธีการทห่ี ลากหลาย ต่อเนื่อง ท้งั ดา้ นความรูค้ วามคิด ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมโดยการประเมินตามสภาพจรงิ และการประเมนิ ตนเอง 8) ใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนร้จู ากสื่อและแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย ทง้ั ในหอ้ งเรียน และนอกห้องเรียน ท้ังแหลง่ เรยี นรู้ ที่เป็นสถานทีแ่ ละบุคคล ใชแ้ หลง่ เรียนรทู้ ้องถน่ิ ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เทคโนโลยี และสื่อทเี่ หมาะสมมาประยกุ ตใ์ ช้ ใน การจัดการเรียนรู้ 283

3. ดา้ นการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น องค์ประกอบสุดท้ายท่ีสาคัญและนับว่าเป็นเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ คือ องค์ประกอบด้านการเรียนรู้ ซ่ึงตัวบ่งช้ีที่บอกถึงลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียน ประกอบด้วย 1) เรียนรู้อย่างมีความสุขจากประสบการณ์ตรง สัมพันธ์กับ ส่ิงแวดล้อมและภูมิปญั ญาท้องถน่ิ และเชื่อมโยงกบั ทักษะชวี ติ 2) ไดท้ ากิจกรรม ฝกึ ปฎิบัติ ศกึ ษาคน้ ควา้ และแลกเปลี่ยน เรยี นรูจ้ ากสมาชกิ ทงั้ ในกลุม่ และต่างกลมุ่ 284

3) ไดศ้ ึกษาค้นควา้ ฝึกปฏิบัตดิ ้วยตนเองตามศกั ยภาพ โดยมีผสู้ อนช้แี นะและ ใหค้ าแนะนาจนคน้ พบความถนัดและวธิ ีการของตนเอง 4) ไดฝ้ กึ คดิ สรา้ งสรรค์ แสดงออก มเี หตุผล 5) ได้ฝกึ คน้ รวบรวมขอ้ มูล หาคาตอบ แกป้ ญั หาและสรา้ งความรู้ดว้ ยตนเอง 6) ไดเ้ ลือกทากิจกรรมตามความถนดั ความสนใจ อยา่ งมีความสขุ 7) ไดฝ้ ึกตนเองใหม้ ีวินยั มคี วามรบั ผิดชอบในการทางาน 8) ไดฝ้ กึ การประเมินตนเองเพือ่ ปรบั ปรุงตนเองและยอมรบั ผ้อู น่ื สนใจใฝร่ ้อู ยา่ งต่อเน่ือง 285

แนวทางการจดั การเรียนรู้ท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคญั 1. การจัดกิจกรรมทส่ี ง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นสรา้ งความรูด้ ว้ ยตวั เอง โดยใช้เทคนคิ ในการจดั ประสบการณ์เพอ่ื นาเสนอข้อมลู ใหม่ เทคนิคการใช้คาถามใหค้ ิดหรอื ลงมอื ปฏบิ ตั ิเพ่ือเช่ือมโยง ความร้ขู อ้ มลู ในสมอง และเทคนิคการจัดระบบข้อมลู ความรโู้ ดยใช้ผงั ความคิดเป็นต้น 286

2. การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนทางานร่วมกับ ค น อ่ื น ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ รี ย น รู้ ร่ ว ม กั น (Cooperative Learning) ที่แบง่ ผ้เู รยี นออกเป็นกลุ่ม ย่อยๆ กลุ่มละ 4-5 คน โดยสมาชิกในกลุ่มมีระดับ ความสามารถแตกต่างกัน สมาชิกทุกคนมีบทบาท หน้าที่ร่วมกันในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย มี เป้าหมายและมีโอกาสได้รับรางวัลของความสาเร็จ รว่ มกนั 287

3. การจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนนาความรู้ หน้าหลกั ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ผู้สอนควรจัด กิจกรรมให้ผู้เรียนแสดงความสามารถในลักษณะ 288 ตา่ งๆ ตามความสามารถเฉพาะท่ีผู้เรียนแต่ละคน มี เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสนาความรู้ที่เรียนรู้มา ไปใช้ไ ด้จริ ง ในก า ร ด าเ นินชี วิ ต โด ย ส ร้ า ง ส ถ า น ก า ร ณ์ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ต้ อ ง แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ น า ความร้ทู ่เี รยี นมาประยกุ ตใ์ ช้

หนา้ หลกั 289

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น 290

การวัด (Measurement) ความหมาย ยังมีความเข้าใจคลาดเคล่ือนเก่ียวกับ การวัด และ การวัดผล บางคนเข้าใจว่า2 คานี้เป็นคา เดียวกัน มีความหมายเหมอื นกัน เพราะมาจากภาษาอังกฤษคาเดียวกันคือ measurement แต่ในภาษาไทย 2 คานีม้ คี วามหมายแตกต่างกันเลก็ นอ้ ย ดังน้ี การวดั เป็นกระบวนการกาหนดตวั เลขหรอื สัญลักษณแ์ ทนปริมาณหรอื คณุ ภาพของคณุ ลักษณะหรือ คณุ สมบัติของสงิ่ ท่ตี ้องการวัด การวดั ผล เป็นกระบวนการกาหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์แทนปริมาณหรือคุณภาพของคุณลักษณะ หรือคุณสมบัติของส่ิงท่ีต้องการวัด โดยสิ่งที่ต้องการวัดน้ันเป็นผลมาจากการกระทาหรือกิจกรรมอย่างใด อย่างหน่งึ หรือหลายอยา่ งร่วมกัน เชน่ การวัดผลการเรียนรู้ สิง่ ท่วี ดั คอื ผลทเี่ กิดจากการเรยี นรู้ของผู้เรยี น 291

องค์ประกอบของการวดั องคป์ ระกอบของการวดั ประกอบด้วย ส่ิงที่ตอ้ งการวัด เคร่ืองมือวัด และผลของการ วัด ทส่ี าคัญที่สดุ คือ เครอ่ื งมือวัด เครือ่ งมือท่มี ีคณุ ภาพจะให้ผลการวดั ที่เที่ยงตรงและแมน่ ยา ประเภทของสง่ิ ทต่ี อ้ งการวดั 2. สง่ิ ที่เปน็ นามธรรม 1. สิ่งท่ีเป็นรปู ธรรม เลข 0 นี้ เป็นศนู ย์เทียม ตวั เลข 0 นี้เป็นศูนยแ์ ท้ (absolute zero) 10 แทนน้าหนักทั้งหมด ถ้าไม่มีคุณลักษณะ นักเรียนท่ีได้ 0 คะแนน ก็ไม่ได้หมายความ ดังกล่าว เช่นหนัก 0 หน่วย ก็คือ ไม่มีนาหนัก วา่ นักเรียนผนู้ ้ันไมม่ คี วามรู้ความสามารถ เลย 292

ลกั ษณะการวัดทางการศึกษา การวดั ผลทางการศกึ ษา เปน็ กระบวนการวัดการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของผ้เู รยี นนิยมวัดผลการ เรยี นรเู้ ปน็ 3 ด้านคอื พุทธิพิสัย (cognitive domain) จติ พิสัย (affective domain) และทกั ษะพสิ ยั (psychomotordomain) 1. เป็นการวัดทางอ้อม เชน่ การวัดความรับผิดชอบของนกั เรยี น ตอ้ งใหน้ ิยามคณุ ลักษณะความรบั ผดิ ชอบเป็น พฤตกิ รรมท่วี ดั ได้ โดยอาจจะแยกเปน็ พฤติกรรมยอ่ ย เชน่ ไม่มาโรงเรียนสาย ทางานทกุ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย นา วสั ดุอปุ กรณก์ ารเรียนที่ครสู ง่ั มาครบทุกคร้ัง สง่ งานหรอื การบ้านตามเวลาทีก่ าหนด เป็นต้น 293

2. วัดได้ไม่สมบูรณ์ การวัดทางการศึกษาไม่สามารถทาการวัดคุณลักษณะท่ีต้องการวัดได้ครบถ้วนสมบูรณ์ วัดได้เพยี งบางสว่ น หรอื วัดไดเ้ ฉพาะตัวแทนของคณุ ลักษณะทัง้ หมด เชน่ การวัดความสามารถการอ่านคาของ นักเรียน ผู้วัดไม่สามารถนาคาทุกคามาทาการทดสอบนักเรียน ทาได้เพียงนาคาส่วนหนึ่งท่ีคิดว่าเป็นตัวแทน ของคาทั้งหมดมาทาการวัด เปน็ ตน้ 3. มีความผิดพลาด สืบเน่ืองจากการท่ีไม่สามารถวัดได้โดยตรง และการนิยามส่ิงที่ต้องการวัดก็ไม่ สามารถนิยามให้เป็นพฤติกรรมที่วัดได้ได้ทั้งหมด จึงวัดได้ไม่สมบูรณ์ ตัวเลขหรือสัญลักษณ์ท่ีได้จากการ วัดเป็นการประมาณคุณลักษณะท่ีต้องการวัด ซ่ึงในความเป็นจริงคุณลักษณะดังกล่าวอาจจะมีมากหรือ น้อยกว่า ผลการวัดจึงมีความผิดพลาดของการวัด หรือคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง การวัดที่ดี จะตอ้ งใหเ้ กดิ การผิดพลาดหรอื คลาดเคลือ่ นนอ้ ยทีส่ ดุ 294

4. อยู่ในรูปความสัมพันธ์ การที่จะรู้ความหมายของตัวเลขท่ีวัดได้ ต้องนาตัวเลขดังกล่าวไปเทียบกับเกณฑ์หรือเทียบกับคน อ่ืน เช่น นาคะแนนท่ีนักเรียนสอบได้เทียบกับคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม เทียบกับคะแนนของเพื่อนที่สอบพร้อมกัน หรือเทียบกับ คะแนนของนกั เรียนเองกับการสอบคร้ังก่อนๆ ถ้าคะแนนสูงกว่าเพ่ือน แสดงว่ามีความสามารถในเรื่องที่วัดมากกว่าเพ่ือนคน น้ัน หรอื ถ้ามีคะแนนสงู กว่าคะแนนท่ตี นเองเคยสอบผา่ นมา แสดงว่ามพี ัฒนาการขึ้น เป็นตน้ 295

ลกั ษณะสาคัญของเคร่ืองมือวัดผลทางการศึกษา เด็กเกง่ จะได้คะแนนสอบสงู สว่ นเดก็ อ่อนจะได้ คะแนนต่าจรงิ 1.ความเทย่ี งตรง (validity) 296 1.1 ความเท่ยี งตรงตามเนอื้ หา (content validity) 1.2 ความเทีย่ งตรงเชงิ สมั พันธ์ (criterion-related validity) 1.3 ความเทยี่ งตรงตามโครงสรา้ ง (construct validity) 2.ความเชือ่ ม่นั (reliability) 2.1 การสอบซา้ (test and retest) 2.2 ใชแ้ บบทดสอบคขู่ นาน (parallel test หรือ equivalence tests) 2.3 วิธแี บง่ ครงึ่ ข้อสอบ (split-half) 2.4 วธิ ี Kuder-Richardson (KR)

3. ความเปน็ ปรนยั (objectivity) 1) ผอู้ ่านข้อสอบทกุ คนเขา้ ใจตรงกัน 2) ผ้ตู รวจทกุ คนใหค้ ะแนนไดต้ รงกัน 4. ความยากง่าย (difficulty) 3) แปลความหมายของคะแนนไดต้ รงกนั 4.1.ความยากงา่ ยของแบบสอบทงั้ ฉบบั 5.อานาจจาแนก (discrimination) 4.2 ความยากง่ายรายขอ้ 5.1) คา่ อานาจจาแนกแบบทดสอบทงั้ ฉบบั 6.ความมปี ระสทิ ธภิ าพ (efficiency) 5.2 คา่ อานาจจาแนกของแบบทดสอบรายขอ้ 8.คาถามลกึ (searching) 10. ความจาเพาะเจาะจง (definite) 7.ความยตุ ิธรรม (fair) 9. คาถามยว่ั ยุ (exasperation) 297

เครื่องมอื ท่ีใชว้ ัดและประเมนิ ผลด้านการศกึ ษา แบบทดสอบ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณคา่ มาตราส่วนประมาณคา่ ของลิเคิร์ท (Likert rating scale) 298

แบบสารวจรายการ ตอบเพียง 2 ตวั เลอื กว่า มี-ไม่ม,ี ใช-่ ไม่ใช,้ เคย-ไมเ่ คย แบบวัดเชิงสถานการณ์ ตัวอยา่ งเช่น หากทา่ นพบผู้ปว่ ยทเ่ี ดนิ มาพบท่านด้วยลกั ษณะตัวเอียงอยา่ งมาก ทา่ นจะดาเนินการ อยา่ งไรเปน็ ลาดับแรก ก.สอบถามชอื่ ทอี่ ยู่ ข.สอบถามอาการปวด ค.ใหก้ ารรกั ษาทางกายภาพบาบดั ง.รบี ให้ผูป้ ่วยนอนบนเตยี ง แบบสังเกต 299

การวัดพฤติกรรมพทุ ธพิ สิ ัย การวดั ดา้ นพทุ ธพิ สิ ัย เปน็ การวดั ความสามารถด้าน สตปิ ญั ญา ประกอบดว้ ย ความสามารถด้าน ความรคู้ วามจา ความเขา้ ใจ การนาไปใช้ การ วิเคราะห์การสังเคราะห์ และ การประเมินค่า การวดั ดา้ นจิตพสิ ยั จิตพิสัย เป็นพฤติกรรมเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิดทางจิตใจ อารมณ์และ คุณธรรมของบุคคล ซึ่งสามารถจาแนกออกได้เป็น 5 ระดับ คือ 1) การรับรู้2) การ ตอบสนอง 3) การสร้างคุณค่า 4) การจัดระบบคณุ ค่า 5)การสรา้ งลักษณะนิสัย 300


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook