Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book

E-book

Description: E-book

Search

Read the Text Version

6.บัณฑิตพิการ มทร.ธัญบรุ ี ประจาปกี ารศกึ ษา 2559 151

ความหมาย การศึกษาแบบเรยี นรวม หมายถึง การรับเดก็ เข้ารับการศกึ ษาโดยไมแ่ บ่งแยก ความบกพร่องของเด็ก หรือคดั แยกเดก็ ทดี่ อ้ ยว่าเด็กส่วนใหญ่ออกจากชัน้ เรียน แต่จะใชก้ ารบริหารจดั การและวิธกี ารในการให้เดก็ เกดิ การเรียนรู้และ พฒั นาการตามความต้องการ จาเปน็ อย่างเหมาะสมเปน็ รายบคุ คล 152

ลกั ษณะของการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม 1.องคป์ ระกอบดา้ นสรีรวิทยา ปญั หาทางรา่ งกายของเด็กเอง ดาวน์ซินโดรม (Down Syndrome) โรคดักแด้ (Epidermolysis Bullosa) 153

2. องคป์ ระกอบด้านจติ วิทยา ได้แก่ สติปัญญา อัตราเร็วของการเรียนรู้ แอลดี-ออทิสติก ความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง การปรับตัว ทางอารมณ์และสังคม ความสัมพันธ์ระหว่าง ครอบครัวและเพ่อื น 154

3. องค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อม ตลอดจนประสบการณต์ า่ ง ๆ 155

ประเภทความบกพรอ่ งทีม่ ตี ่อการเรียนรู้ของเดก็ 1.มีความ บกพรอ่ งทาง สตปิ ัญญา 156

2.มีความ บกพรอ่ ง ทางการไดย้ ิน 157

3.มคี วาม บกพรอ่ ง ทางการเหน็ 158

4.มคี วาม บกพรอ่ งทาง รา่ งกายและ สุขภาพ 159

5.มคี วาม บกพร่อง ทางการพูด และภาษา 6.มคี วาม บกพร่องทาง พฤติกรรม และอารมณ์ 160

7.มปี ญั หา ทางการ เรียนรู้ 161

หลกั การการจดั การศกึ ษาแบบเรยี นรวม 162 • เด็กแต่ละคนมคี วามแตกตา่ งกนั • เดก็ ทกุ คนเข้าเรียนในโรงเรยี นพร้อมกัน • โรงเรียนจะตอ้ งปรับสภาพแวดลอ้ มในการเรียนรูท้ ุกดา้ นเพอื่ ให้ สามารถสอนเด็กได้ทกุ คน • โรงเรียนจะตอ้ งให้บรกิ าร ส่อื สงิ่ อานวยความสะดวกและความชว่ ยเหลือต่าง ๆ ทางการศกึ ษาให้แก่เด็กท่มี ีความต้องการจาเป็นนอกเหนือจากเด็กปกติทุกคน • โรงเรยี นสามารถจัดการศกึ ษาได้หลายรปู แบบในโรงเรียนปกตทิ ่วั ไปโดยจดั ให้มี สภาพแวดล้อมท่ีมขี ดี จากดั น้อยที่สดุ

รูปแบบการจดั ชน้ั เรยี น 163

การจัดการศึกษาแบบเรยี นรว่ ม หน้าหลกั Presentation Transcript 164 1. ชนั้ เรยี นปกติเต็มวัน รปู แบบการจัดเรยี นร่วม 2. ชนั้ เรยี นปกตเิ ตม็ วันและบรกิ ารปรกึ ษา 3. ชนั้ เรียนปกติเต็มวันและบรกิ ารครู 4. ชั้นเรียนปกตเิ ต็มวันและบริการสอนเสรมิ 5. ชนั้ พเิ ศษและช้นั เรียนเรยี นปกติเดก็ จะเรียนในช้ันเรยี นพิเศษ 6. ช้นั เรยี นพิเศษใน โรงเรยี นปกติ

หนา้ หลกั 165

166

การจัดการเรียนรแู้ บบสบื สวนสอบสวน การจดั การเรยี นรูแ้ บบทางานรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั การจัดการเรียนรู้แบบแบง่ กลมุ่ ทางาน การจัดการเรยี นร้แู บบระดมพลังสมอง การจัดการเรยี นรแู้ บบอุปนัย การจัดการเรยี นร้แู บบการลงมือปฏบิ ัติ การจัดการเรียนรู้แบบการสาธิต การจัดการเรียนรูแ้ บบ MIAP การจัดการเรยี นรู้แบบทมี การจัดการเรยี นรแู้ บบใชส้ ่ือ 167

หมายถึง วิธีการ มาตรการในการจัดการเกี่ยวกับ การเรียนการสอนซ่ึงมีหลากหลายวิธีด้วยกัน ผู้สอน สามารถคิดค้น พัฒนา สรรหา แลกเปลี่ยน เรียนรู้ สืบเสาะเทคนิคต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่มากมายสามารถเลือกใช้ ตามความเหมาะสม 168

169

170

ขนั้ ท.ี่ 2 การอธบิ าย (Explanation) ต้งั สมมตุ ฐิ านเพือ่ อธบิ ายความคิดรปู แบบ ต่างๆ ในการแกป้ ญั หา ทบทวนความคิด และทาความเขา้ ใจปัญหานั้นๆ ใหช้ ัดเจน 171

ขั้นท.่ี 3 การทานาย (Prediction) ทานายหรือพยากรณป์ ัญหาทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ได้อกี ว่า เมอื่ เกดิ แล้วจะเกดิ ผลอย่างไร และ แก้ไขอย่างไร 172

173

174

ข้อสังเกตของการจัดการเรยี นร้แู บบสืบสวนสอบสวน 1.ครูมีบทบาทสาคญั ในการจดั การเรียนรแู้ บบสืบสวนสอบสวน เนือ่ งจากครูตอ้ งปอ้ นคาถามให้กบั นกั เรียนเพอื่ นาไปสูก่ ารคดิ ค้นคว้า 2.ครตู อ้ งใหโ้ อกาสนกั เรียนทกุ คนอภปิ ราย วางแผน และกาหนดวธิ ีการแกป้ ญั หาเอง 3.ปัญหาทีก่ าหนดเพื่อสืบสวนสอบสวนไมค่ วรยากเกนิ ความสามารถ ของนักเรยี นถา้ ปญั หายากเกนิ ไป ครตู อ้ งเตรียมการสาหรับ การร่วมแก้ปญั หาไวด้ ้วย 175

2 ความมงุ่ หมายของการจัดการเรยี นรู้แบบแบ่งกลมุ่ ทางาน 1.เพ่ือให้นักเรียนมีความรับผิดชอบรว่ มกนั ในการทางานนน่ั คอื สง่ เสรมิ การทางานเป็นทมี 2.เพอื่ สรา้ งวฒั นธรรมในการทางานรว่ มกนั อยา่ งมีระบบและมีระเบียบวินัย รู้จกั ทาหนา้ ทเ่ี ป็นผู้นาและผ้ตู ามที่ดี 3.เพอื่ ฝึกทักษะในการแก้ปญั หาตามวิธีการวทิ ยาศาสตร์ มีการศกึ ษาค้นคว้า และแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง โดยปฏิบัตงิ านท้งั เป็นรายบุคคลและเปน็ กลมุ่ 4.เพือ่ ให้นักเรียนไดท้ างานตามความสนใจ ความถนดั และความสามารถ 5.เพ่อื ให้นักเรยี นไดม้ ปี ระสบการณ์ตรงในการทางาน 176

ขัน้ ตอนการจัดการเรยี นรแู้ บบแบง่ กลุ่มทางาน ในกรณที ่ีเปน็ ของการ ครใู หส้ งั เกตพฤตกิ รรมของ ทางานในแต่ละกลุ่ม ขั้นตอนนี้เป็น ขั้นที่กาหนดความมุ่งหมายและ นกั เรียนในการปฏิบัติงานใน วิธกี ารทางานอย่างละเอยี ด กรณที ่ีเป็นนักเรียนให้ ได้แก่ บอกรายละเอียดของหนังสือท่ีใช้ ในการศึกษาค้นคว้านักเรียนร่วมกันวางแผน ร่วมกนั ประเมนิ ผลการ และปฏบิ ตั ิงานตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ปฏิบัตงิ านในกลมุ่ ตนเอง โดยบอกขั้นตอนการ ปฏบิ ัตงิ าน ผลท่ีไดร้ บั และ การพัฒนางานในโอกาส ต่อไป 177

ข้อดขี องการจดั การเรียนรู้แบบแบง่ กล่มุ ทางาน 1.นกั เรียนไดแ้ สดงความคิดเหน็ ของตนเองอยา่ งเต็มท่ี 2.นกั เรียนได้ทางานตามความถนดั ความสามารถ และความสนใจของตนเอง ข้อสงั เกตของการจัดการเรียนรูแ้ บบแบง่ กลมุ่ ทางาน 1.ครคู วรดแู ลนักเรยี นใกลช้ ดิ เชน่ ต้องดแู ลใหน้ กั เรียนทุกคนทาหน้าที่ ตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 2.หนา้ ท่ีการเปน็ หัวหน้ากลมุ่ ควรหมนุ เวยี นสับเปลีย่ นกันตามโอกาส เพอื่ ฝกึ การเปน็ ผู้นา และการเป็นผตู้ ามทด่ี ี 3.การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในกลมุ่ ควรปฏบิ ัติตามหลักเกณฑอ์ ยา่ งเครง่ ครดั 178

การจัดการเรียนรแู้ บบอุปนัย 3 (Inductive Method) 179

ข้นั ตอนการจดั การเรยี นรู้แบบอุปนยั 1.ขน้ั เตรียมนักเรยี น 2.ขนั้ เสนอตวั อย่างหรอื กรณศี กึ ษาตา่ ง ๆ 3.ขั้นหาองค์ประกอบรวม 4.ข้ันสรปุ ข้อสังเกตต่าง ๆ 5.ขัน้ นาข้อสรุปหรอื กฎเกณฑ์ 180

1 นกั เรยี นไดร้ ับก2ารฝึกทกั ษะ การคิดตามหลักการเหตุผล นกั เรียนสามารถเขา้ ใจ และหลกั วิทยาศาสตร์ รายละเอียดและหา 3 ขอ้ สรปุ ไดอ้ ย่างแจม่ แจง้ นักเรยี นเขา้ ใจวิธีการในการ แก้ปัญหาและสามารถนาไปใช้ ทาให้จดจาได้นาน ในชีวิตประจาวนั ได้ดี 181

1.ในการสอนแต่ละข้นั ครไู ม่ควรเร่งรดั เวลาในการปฏบิ ัติกิจกรรมของ นกั เรียน ควรใหโ้ อกาสในการคิดอย่างอิสระ 2.ครูควรสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนทีไ่ มเ่ ปน็ ทางการบ้าง เพือ่ ลดความเครียดและความเบอ่ื หน่าย 3.การจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยจะใหผ้ ลสัมฤทธิส์ ูง ถา้ ครูทาความเข้าใจทกุ ข้ันตอนอยา่ งดีกอ่ นจัดการเรยี นรู้ 182

183

องคป์ ระกอบสาคญั (ท่ีขาดไมไ่ ด้) ของวธิ ีสอน 1. มเี ร่ืองหรือสง่ิ ที่จะสาธติ 2. มกี ารแสดง/ การทา / ให้ผ้เู รียนสังเกตดู 3. มีผลการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นทีเ่ กดิ จากการสาธติ 184

1.ผู้สอนแสดงการสาธติ ผ้เู รยี นสงั เกตการสาธติ 2.ผ้สู อนและผู้เรยี นอภิปรายและสรุปการเรียนรูท้ ี่ได้จากการสาธติ 185

ต่อไปจึงจดั เตรยี มวสั ดอุ ุปกรณ์ เครอ่ื งมือ และสถานท่ี ทีจ่ ะใชใ้ นการสาธิต และจัดวางไวอ้ ยา่ งเหมาะสม สะดวกแกก่ ารใช้ นอกจากนนั้ ควรจัดเตรยี มแบบ สงั เกตการสาธติ และเตรียมคาถามหรอื ประเดน็ ทจ่ี ะ ให้ผู้เรียนได้ร่วมคิดและอภปิ รายดว้ ย 186

187

188

189

ขอ้ ดแี ละขอ้ จากัดของวิธีสอนโดยใชก้ ารสาธิต 1) เปน็ วิธสี อนทช่ี ว่ ยให้ผูเ้ รียนไดร้ ับประสบการณต์ รง เหน็ สง่ิ ท่ีเรยี นรอู้ ย่างเป็น รูปธรรม ทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจและจดจาในเรือ่ งที่สาธติ ได้ดแี ละนาน 2) เปน็ วิธสี อนที่ช่วยประหยัดเวลา อุปกรณ์และค่าใช้จ่าย หากใช้ทดแทนการทดลอง 3) เปน็ วธิ ีที่สามารถสอนผู้เรยี นได้จานวนมาก ขอ้ จากดั 1) เป็นวิธีทีผ่ เู้ รียนอาจไมส่ งั เกตเห็นการสาธติ อย่างชดั เจน ทัว่ ถึง หากเปน็ กลุ่มใหญ่ 2) เป็นวธิ ที ่ผี ู้สอนเปน็ ผสู้ าธิต จงึ อาจไมเ่ หน็ พฤติกรรมของผเู้ รียน 3) เปน็ วิธที ผ่ี เู้ รียนอาจมีส่วนรว่ มไมท่ ว่ั ถงึ และมากพอ 4) เป็นวิธที ่ผี เู้ รยี นไม่ไดล้ งมอื ทาเองจึงอาจไมเ่ กิดความรทู้ ล่ี ึกซง้ึ เพยี งพอ 190

1. เริ่มต้งั แต่กาหนดจดุ มงุ่ หมาย เนอ้ื หาวิชา วิธสี อน สื่อการสอน ลงมอื สอน ประเมินผล 2. ได้แก่ การบรรยาย การค้นคว้าด้วยตนเอง การอภิปราย การแกป้ ญั หา การสาธิต เปน็ ต้น 3. ได้แก่ แบบมีผู้นาคณะ (Team Leader Type) แบบ ไมม่ ผี ูน้ าคณะ (Associate Type) และแบบครพู ีเ่ ลย้ี ง 4. คณะผูส้ อนมรี ะหวา่ ง 2-7 คน แตล่ ะคนจะต้องมีการแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ รว่ มกนั 191

ข้อดีของการสอนเป็นทมี 1. ผ้สู อนแตล่ ะคนได้แสดงความสามารถในการสอนของตนอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2. การวางแผนท่ีรว่ มกันคิดรว่ มกันทาใหไ้ ดผ้ ลงานทีส่ มบรู ณก์ วา่ คิดคนเดียว 3. ผเู้ รียนไดส้ ัมผัสผสู้ อนในหลายลักษณะทาให้ไม่เบ่อื หนา่ ย ข้อสงั เกตของการสอนเปน็ ทมี 1. เสยี เวลาในการเตรียมงานมาก 2. ผสู้ อนในคณะตอ้ งมคี วามสามารถเพียงพอและตอ้ งเข้าใจรูปแบบการทางานเปน็ ทีม 3. เครื่องอานวยความสะดวกและสือ่ การสอนตอ้ งมีจานวนมากพอ 192

6 การจัดการเรียนรแู้ บบทางานรบั ผดิ ชอบรว่ มกัน ( Co – operative Leanning ) การใหส้ มาชกิ ทุกคนใช้ความสามารถอย่างเตม็ ทีใ่ นการ ทางานกลมุ่ โดยยังคงรักษาสมั พันธภาพท่ดี ตี ่อสมาชิกกลมุ่ ใน การเรยี นเป็นกลุม่ แบบเดมิ น้ัน 193

ขั้นตอนการสอนมี 5 ขน้ั ดงั นี้ 194

195

196

4. ผ้เู ชี่ยวชาญสอนเพื่อนในกลุม่ ทกุ คนจะผลัดกันสอนเรื่องที่ ไปศกึ ษามา ตรวจสอบความเขา้ ใจ และช่วยเพอ่ื นสมาชิกในการเรยี น 197

198

199

7 การจัดการเรยี นรู้แบบระดมพลงั สมอง ( Brainstorming ) 200


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook