แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 คณะกรรมการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
“ภัยธรรมชาติหรือสาธารณภัยอาจเกิดข้ึนเม่ือใดก็ได้ ไม่มีผู้ใดจะคาดหมายได้ดังที่ได้เกิดขึ้น ทแ่ี หลมตะลุมพุกนครศรีธรรมราช และหลายจังหวัดภาคใต้ ...” “... ใหไ้ ป ใหค้ วามอบอนุ่ ชว่ ยเหลอื ผตู้ กทกุ ขไ์ ดย้ ากโดยฉบั พลนั ทำ� ใหผ้ ปู้ ระสบภยั ไดร้ บั การชว่ ยเหลอื มกี ำ� ลงั ใจท่ีจะปฏิบตั งิ านต่อไป ...” “...การช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั นน้ั จะตอ้ งช่วยในระยะส้ัน หมายความว่า เป็นเวลาท่ีฉกุ เฉินตอ้ ง ช่วยโดยเร็ว และต่อไปก็จะต้องช่วยให้ต่อเนื่อง ........ ส่วนเรื่องการช่วยเหลือในระยะยาว กม็ คี วามจำ� เปน็ เหมอื นกนั ..... เปน็ ผลวา่ เขาไดร้ บั การดแู ลเหลยี วแลมาจนกระทงั่ ไดร้ บั การศกึ ษา ทสี่ ามารถท�ำมาหากนิ ได้โดยสจุ รติ และโดยมปี ระสิทธภิ าพเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ ...” พระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร วนั ที่ 23 สงิ หาคม 2506
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานช่ือศูนย์พักพิงช่ัวคราวส�ำหรับผู้ประสบภัย ในจังหวัดพื้นท่ีติดทะเล ว่า “ศูนย์พักพิงร่วมใจอุ่นไอรัก” และพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญตราสัญลักษณ์พระราชทานพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ประดิษฐานที่ ป้ายช่ือศูนย์พักพิงชั่วคราวฯ และอาคารอเนกประสงค์ พร้อมนี้ ทรงพระราชทานภาพการ์ตูน ฝีพระหัตถ์ และพระบรมราโชวาท ความว่า “เตรียมพร้อม ป้องกัน ด้วยความเพียรเข้มแข็ง พร้อมรับสถานการณ์ ด้วยความเข้าใจถ่องแท้ ร่วมใจปฏิบัติการอย่างเป็นระบบเมื่อเกิดภัย มั่นคง แน่วแน่ แก้ไข ฟื้นฟู อย่างมีประสิทธิภาพ”
สารบญั พระบรมราโชวาท 1 คำ� น�ำ 1 บทท่ี 1 สถานการณ์และแนวโนม้ สาธารณภยั 3 1.1 สถานการณส์ าธารณภยั โลก 10 1.2 สถานการณ์ภัยของประเทศไทย 11 1.3 ปฏทิ ินสาธารณภัยในประเทศไทย 16 1.4 กรอบการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ในระดับนานาชาติและในประเทศ 18 1.5 บทเรียนการจดั การสาธารณภยั ที่ผ่านมา 21 1.6 บทสรุป 21 บทที่ 2 นโยบายและยุทธศาสตรก์ ารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย 21 2.1 นโยบายการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ 22 2.2 วตั ถุประสงคข์ องแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาต ิ 22 2.3 วิสัยทัศน์ 22 2.4 พันธกจิ 23 2.5 เปา้ หมาย 23 2.6 ตวั ชี้วดั ความสำ� เร็จในการจดั การความเสีย่ งจากสาธารณภยั ของประเทศ 28 2.7 ยุทธศาสตร์การจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภยั 39 2.8 แหลง่ ทีม่ าและวิธีการงบประมาณในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 39 บทท่ี 3 หลกั การจดั การความเส่ยี งจากสาธารณภยั 40 3.1 วงจรการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย 47 3.2 กลไกการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย 64 3.3 บทบาท หน้าท่ี และแนวทางปฏบิ ัตริ ่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง 64 3.4 ขอบเขตสาธารณภยั 65 3.5 ระดับการจัดการสาธารณภยั 73 3.6 กฎหมายและระเบยี บทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การจดั การความเส่ียงจากสาธารณภัย 73 บทที่ 4 ยุทธศาสตรก์ ารจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภัย 74 สว่ นที่ 1 การลดความเสีย่ งจากสาธารณภัยให้มีประสิทธภิ าพ 74 ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 : การมงุ่ เนน้ การลดความเส่ยี งจากสาธารณภัย 75 1. แนวคดิ การลดความเส่ยี งจากสาธารณภยั 75 2. เปา้ ประสงค ์ 3. กลยทุ ธ์การมุ่งเน้นการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั
สารบญั (ต่อ) กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาและสง่ เสรมิ ใหม้ ีระบบการประเมินความเส่ียงจากสาธารณภยั ทุกระดับ 75 (ระดบั ชาติ จงั หวัด อำ� เภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ) 76 กลยทุ ธ์ท่ี 2 พฒั นามาตรการลดความเส่ียงจากสาธารณภยั 83 กลยุทธท์ ี่ 3 สง่ เสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นและทุกระดับเสริมสร้างความเป็นหนุ้ ส่วน 86 ในการลดความเส่ยี งจากสาธารณภยั 86 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 : การเพิ่มประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจัดการและประยกุ ต์ใช้ 86 นวตั กรรมดา้ นสาธารณภยั 87 1. แนวคิดการเพิ่มประสทิ ธิภาพระบบบริหารจัดการและประยุกตใ์ ชน้ วัตกรรม 87 ดา้ นสาธารณภัย 87 2. เปา้ ประสงค์ 88 3. กลยทุ ธก์ ารเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจัดการและประยกุ ตใ์ ช้นวตั กรรม 89 ด้านสาธารณภยั กลยทุ ธ์ที่ 1 พัฒนาระบบสารสนเทศดา้ นสาธารณภัย 90 กลยทุ ธท์ ี่ 2 พัฒนาองค์ความรูด้ ้านการจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภัย 92 กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาการสือ่ สารความเสีย่ งจากสาธารณภยั ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ 92 กลยทุ ธท์ ี่ 4 ส่งเสริมการลงทุนด้านการจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภยั แบบมีสว่ นรว่ ม 93 จากภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสงั คม ในระดบั ชาติ จงั หวัด อ�ำเภอ 93 และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน 93 กลยุทธ์ท่ี 5 เสริมสรา้ งการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วนในการจัดการความเสีย่ ง 95 จากสาธารณภัย 96 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 : การส่งเสรมิ ความเป็นห้นุ ส่วนระหวา่ งประเทศในการจัดการ 98 ความเส่ยี งจากสาธารณภัย 1. แนวคดิ การส่งเสริมความเป็นหุ้นสว่ นระหว่างประเทศในการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภยั 2. เปา้ ประสงค ์ 3. กลยทุ ธ์การส่งเสริมความเป็นหุ้นสว่ นในการจดั การความเส่ียงจากสาธารณภยั กลยุทธท์ ่ี 1 เสริมสรา้ งความเปน็ หุ้นสว่ นยุทธศาสตร์ดา้ นการจดั การสาธารณภัย ระหว่างประเทศ กลยุทธท์ ่ี 2 พฒั นาระบบการประสานความช่วยเหลือด้านมนษุ ยธรรมทม่ี ีเอกภาพ กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดบั มาตรฐานการปฏบิ ัติงานด้านมนุษยธรรม กลยทุ ธท์ ี่ 4 ส่งเสรมิ ความเป็นประเทศท่มี บี ทบาทน�ำด้านการจดั การความเสี่ยง จากสาธารณภัย
สารบญั (ต่อ) สว่ นที่ 2 การจัดการสาธารณภยั ใหม้ มี าตรฐาน 100 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 : การจัดการในภาวะฉุกเฉินแบบบรู ณาการ 101 1. แนวคดิ การจัดการในภาวะฉุกเฉนิ 101 2. เป้าประสงค์ 101 3. กลยุทธก์ ารจัดการในภาวะฉกุ เฉนิ แบบบูรณาการ 102 กลยทุ ธท์ ่ี 1 พฒั นามาตรฐานการจัดการในภาวะฉุกเฉนิ อยา่ งมีเอกภาพ 102 กลยทุ ธท์ ี่ 2 พฒั นาระบบและเครื่องมือสนบั สนุนการเผชญิ เหตุ 114 กลยุทธ์ที่ 3 เพ่มิ ประสทิ ธิภาพระบบและแนวปฏบิ ตั ิในการบรรเทาทกุ ข ์ 128 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 : การเพิ่มประสิทธิภาพการฟ้นื ฟอู ย่างยงั่ ยืน 132 1. แนวคดิ ในการฟ้นื ฟู 132 2. เปา้ ประสงค์ 134 3. กลยุทธก์ ารเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการฟ้ืนฟอู ยา่ งยงั่ ยื 134 กลยุทธท์ ่ี 1 พัฒนาระบบการประเมินความเสย่ี งหลังเกดิ สาธารณภัยเพ่ือการฟ้นื ฟู 134 ท่ีดีกว่าเดิม 137 กลยทุ ธ์ท่ี 2 พัฒนาแนวทางบริหารจัดการด้านการฟ้นื ฟู 138 กลยทุ ธท์ ี่ 3 เสรมิ สรา้ งแนวทางการฟนื้ ฟใู หด้ กี วา่ และปลอดภัยกว่าเดิม 141 (Build Back Better and Safer) 141 บทที่ 5 การขับเคลอื่ นและตดิ ตามประเมนิ ผลแผน 147 5.1 การขบั เคลอ่ื นแผนไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ 150 5.2 การติดตามและประเมินผล 151 5.3 การวิจัยและพัฒนา 153 5.4 การทบทวนแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาต ิ 157 171 ภาคผนวก ก ค�ำยอ่ : ชือ่ หน่วยงาน 189 ภาคผนวก ข ตัวอย่างลกั ษณะภยั และนิยามศัพท์ 195 ภาคผนวก ค หน่วยงานรบั ผดิ ชอบการดำ� เนนิ งานภายใต้ยุทธศาสตร์ 227 ภาคผนวก ฆ สถติ ิและการวเิ คราะห์สถติ ิการเกดิ สถานการณภ์ ยั ของประเทศไทย ภาคผนวก ง การถอดบทเรียนปัญหาการจัดการสาธารณภัยท่ีผา่ นมา 229 ภาคผนวก จ การใชแ้ นวทางธรรมชาติเป็นฐาน (Natural-based Solutions : Nbs) เป็นองคป์ ระกอบไว้ในแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 บรรณานุกรม
1บทท่ี สถานการณ์และแนวโนม้ สาธารณภยั โลกตอ้ งเผชญิ กบั สาธารณภยั ทที่ า้ ทายหลายอยา่ งไมว่ า่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ภาวะ ลมฟ้าอากาศแปรปรวน ระดับน้�ำทะเลของโลกสูงข้ึน เกิดภาวะแล้งจัด พายุหมุน การกัดเซาะชายฝั่งทะเล มหาอุทกภัย ดินโคลนถล่ม น้�ำป่าไหลหลาก โรคระบาด และการเกิดสาธารณภัยขนาดใหญ่ เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีภัยท่ีไม่อาจคาดการณ์ได้ อาทิ แผ่นดินไหว สึนามิ ไฟป่าและหมอกควัน อาจเป็นสาธารณภัยที่ต้องเผชิญ ในปจั จบุ นั และมแี นวโนม้ มากขน้ึ ในอนาคต ซงึ่ สง่ ผลกระทบทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม 1.1 สถานการณ์สาธารณภัยโลก องค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN) คาดการณ์ว่า จ�ำนวนประชากรโลกจะเพิ่มสูงข้ึนถึง 9,700 ลา้ นคน ภายในปี พ.ศ. 2593 จากปจั จุบนั มีอยูป่ ระมาณ 7,700 ลา้ นคน ซึ่งจะทำ� ให้ความต้องการส่ิงจ�ำเป็น ข้ันพื้นฐานในการด�ำรงชีวิตเพ่ิมสูงข้ึน และยังท�ำให้แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมท่ีส�ำคัญ คือ การเพิ่มขึ้นของประชากรสูงอายุซ่ึงเป็นกลุ่มเปราะบางเม่ือเกิดสาธารณภัยที่ต้องได้รับการดูแลเป็นการเฉพาะ นอกจากน้ี ยังพบอกี ว่าการพัฒนาดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเติบโตทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การค้า และการลงทนุ เปน็ สาเหตทุ ที่ ำ� ใหม้ กี ารแขง่ ขนั และการตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนมากขนึ้ ซงึ่ ผลทต่ี ามมา คอื ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ม่ี อี ยถู่ กู ใชอ้ ยา่ งฟมุ่ เฟอื ย การพฒั นาดา้ นตา่ ง ๆ ทไ่ี มค่ ำ� นงึ ถงึ ความยงั่ ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ขีดจ�ำกัดและศักยภาพในการฟื้นตัวของทรัพยากรลดลง เป็นเหตุให้ระบบนิเวศถูกท�ำลายและ เสือ่ มโทรมอย่างต่อเนื่อง การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศทท่ี ำ� ใหเ้ กิดการผนั แปรของฤดูกาล ระดับน้ำ� ทะเลที่เพ่มิ สูงข้ึนเป็นสาธารณภัยท่ีนับวันจะทวีความรุนแรงมากข้ึน และเป็นความท้าทายของหลายประเทศท่ัวโลกท่ีต้องเผชิญ ความเสยี่ งอย่างหลีกเลีย่ งไมไ่ ด้ (UN, World Population Prospects 2019: Highlights) ศูนย์วิจัยการระบาดวิทยาของภัยพิบัติ (Centre for Research on the Epidemiology of Disaster: CRED) ไดร้ วบรวมขอ้ มูลสถานการณค์ วามเสย่ี งภยั ของโลก (Global Risk) พบวา่ สถติ กิ ารเกิดสาธารณภัยท่ัวโลก ในรอบ 10 ปที ่ผี า่ นมา (พ.ศ. 2551 - 2560) เฉลยี่ จำ� นวน 343 ครงั้ ต่อปี มีผู้เสยี ชวี ติ จำ� นวน 11,755 คนตอ่ ปี และ มูลคา่ ความเสียหายทางเศรษฐกจิ คิดเปน็ 130,000 ลา้ นเหรียญสหรัฐ สำ� หรับสถิตปิ ี พ.ศ. 2562 เกดิ จ�ำนวน 396 ครั้ง โดยเกิดขน้ึ ในทวีปเอเชียสงู สุดถงึ ร้อยละ 40 หรอื คดิ เป็นจ�ำนวน 160 ครั้ง ดงั แผนภาพท่ี 1 - 1 และมีภยั สองลำ� ดับแรก ที่เกิดขึ้นบอ่ ยครัง้ ได้แก่ อทุ กภัยและวาตภัย โดยมสี ถติ ิผูเ้ สยี ชีวิตและผู้ได้รบั ผลกระทบมากท่สี ดุ ดงั แผนภาพท่ี 1 - 2 แม้ว่าการเกิดสาธารณภัยจะมีความถ่ีและความรุนแรงเพิ่มมากข้ึน เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจสูงขึ้น หากแต่ จำ� นวนผเู้ สียชีวิตกลบั มแี นวโนม้ ลดลง เน่อื งมาจากประเทศนั้น ๆ มกี ารลงทนุ เพือ่ การลดความเสยี่ งจากสาธารณภัย โดยการป้องกันและลดผลกระทบ การเตรียมความพรอ้ ม และการฟืน้ ฟใู หด้ กี วา่ เดิมมากขนึ้ อยา่ งเป็นรูปธรรม แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 1
(ทีม่ า: Centre for Research on the Epidemiology of Disaster, 2019) แผนภาพที่ 1 - 1 สถิตกิ ารเกิดสาธารณภัยทั่วโลกในปี พ.ศ. 2562 (ทม่ี า: Centre for Research on the Epidemiology of Disaster, 2019) แผนภาพท่ี 1 - 2 สถติ กิ ารเกดิ สาธารณภยั จ�ำนวนผเู้ สียชวี ิต และผู้ไดร้ ับผลกระทบในปี พ.ศ. 2562 Global Climate Risk Index 2020 รายงานอ้างอิงจาก Germanwatch ซง่ึ เปน็ องค์กรพัฒนาเอกชน ที่ไม่แสวงผลก�ำไรของประเทศเยอรมันได้ประเมินและจัดอันดับประเทศที่มีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศของโลก โดยผลการศึกษาได้ระบุว่า ประเทศไทยจัดอยู่ในกลุ่มประเทศท่ีมีความเส่ียงสูง ต่อผลกระทบ จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศอนั ดบั 8 และในชว่ ง 20 ปที ผ่ี า่ นมา ระหวา่ งปี พ.ศ. 2542 - 2561 ประเทศไทย ได้เกิดภัยธรรมชาติถึงจ�ำนวน 147 ครั้ง โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2554 ซึ่งเกิดมหาอุทกภัยมีความเสียหาย คิดเป็น รอ้ ยละ 2.3 ตอ่ คา่ เฉลยี่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมของประเทศ (GDP) ในชว่ งระยะเวลาดงั กลา่ ว (สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ, 2554) คณะกรรมการระหวา่ งรัฐบาลว่าดว้ ยการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ไดร้ ะบวุ ่า ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมภิ าคทีม่ ีความเปราะบางสงู ต่อผลกระทบ จากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทอ่ี าจทำ� ใหร้ ะดบั นำ้� ทะเลเฉลย่ี ทว่ั โลกเพม่ิ ขนึ้ สงู ถงึ 1.1 เมตรภายในปี พ.ศ. 2643 อีกทั้งองคก์ ร Climate Central ทีไ่ มแ่ สวงผลก�ำไรของประเทศสหรฐั อเมรกิ า ไดท้ �ำการศกึ ษากรณีสภาพภมู อิ ากาศ ทวคี วามรนุ แรงมากขนึ้ มแี นวโนม้ ทำ� ใหเ้ กดิ สาธารณภยั ตอ่ เมอื งใหญท่ ว่ั โลกทอี่ ยตู่ ามแนวชายฝง่ั ทะเล เชน่ เมอื งมมุ ไบ สาธารณรฐั อนิ เดยี เมอื งเซย่ี งไฮ้ สาธารณรฐั ประชาชนจนี กรงุ จาการต์ า สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี และกรงุ เทพมหานคร ประเทศไทย จะมโี อกาสเกิดความเสีย่ งสูงจากน�ำ้ ท่วมพ้ืนท่ตี ามแนวชายฝัง่ และการทรดุ ตัวของพื้นดนิ 2 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
โครงการพฒั นาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme: UNDP) ได้ศึกษา เกย่ี วกบั การลงทนุ เพอ่ื ลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั พบวา่ หากประเทศมกี ารลงทนุ ดา้ นการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั 1 เหรียญสหรัฐ จะสามารถป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยได้เท่ากับ 7 เหรียญสหรัฐ ซ่ึงสอดคล้องกับ เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ั่งยืน พ.ศ. 2558 - 2573 (Sustainable Development Goals: SDGs) และพนั ธกิจของ กรอบการดำ� เนนิ งานเซนไดเพอื่ การลดความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ิ พ.ศ. 2558 - 2573 (Sendai Framework for Disaster Risk Reduction 2015 - 2030) วา่ ดว้ ยการลงทนุ ด้านการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั ทง้ั ที่ใชโ้ ครงสรา้ งและไม่ใช้ โครงสร้าง เพ่ือลดความสญู เสียดา้ นชวี ติ ทรัพย์สนิ เศรษฐกิจ และสังคม เพือ่ น�ำไปสสู่ งั คมความปลอดภัยแบบย่งั ยืน (Resilience) รายงานการประเมินสถานการณ์โลกด้านการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Global Assessment Report on Disaster Risk Reduction: GAR) กล่าวว่า การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศทั่วโลกเป็นความเสี่ยง ท่ีสง่ ผลใหส้ าธารณภัยมคี วามรนุ แรง ซบั ซอ้ น และสง่ ผลกระทบในวงกวา้ ง โดยไดเ้ สนอใหก้ รอบการด�ำเนินงานเซนได เพอื่ การลดความเสยี่ งจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558 – 2573 เป็นเครือ่ งมือในการกำ� หนดแนวทาง และนโยบายในการ จัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยว่าด้วยนวัตกรรมเชิงแนวคิดที่มีความยืดหยุ่นและรวดเร็ว การวิเคราะห์ข้อมูล อยา่ งเปน็ ระบบ โดยใหม้ คี วามเชอ่ื มโยงทงั้ ในระดบั นโยบายและระดบั ปฏบิ ตั ิ รวมทง้ั การมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น ในการถอดบทเรียนและสังเคราะห์ให้เกิดองค์ความรู้ เพ่ือน�ำมาวางแนวทางการปฏิบัติร่วมกันในการจัดการปัญหา การถา่ ยทอดนวตั กรรม และการสรา้ งกลไกในการรบั มอื กบั สาธารณภยั แตล่ ะประเภท รวมถงึ การพฒั นาความรว่ มมอื ระหว่างประเทศในการดำ� เนนิ การด้วย สรปุ ไดจ้ ากผลการศกึ ษาและสถติ ติ า่ ง ๆ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ พบวา่ ประเทศไทยมคี วามเสยี่ งสงู ทจ่ี ะเกดิ สาธารณภยั ทีม่ ีความถีแ่ ละความรนุ แรงเพิม่ มากขึ้น ดังนน้ั จงึ จำ� เป็นตอ้ งมกี ารลงทนุ เพอ่ื การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยทจ่ี ะ เกิดข้ึนด้วยการประเมินให้เข้าใจความเส่ียง การป้องกันและลดผลกระทบ การเตรียมความพร้อม และการฟื้นฟู ใหด้ กี ว่าเดิมมากขึ้น เพอื่ ใหค้ วามสูญเสียดา้ นชีวติ ทรพั ย์สนิ เศรษฐกจิ และสังคมของประชาชนและประเทศลดลง อยา่ งเป็นรปู ธรรม 1.2 สถานการณ์ภัยของประเทศไทย 1.2.1 อคั คีภยั (Fire) เป็นภัยที่เกิดจากไฟ ซ่ึงไฟเป็นพลังงานอย่างหนึ่งท่ีให้ความร้อน เม่ือขาดการควบคุมและดูแล จะทำ� ใหเ้ กิดการติดตอ่ ลุกลามไปตามบรเิ วณทมี่ ีเชอื้ เพลิงจนเกดิ การลุกไหม้ตอ่ เน่ือง หากปลอ่ ยเวลาของการลุกไหม้ นานเกินไป และเกิดการลุกลามมากยิ่งข้ึน สภาวะของไฟจะรุนแรงมากขึ้น ถ้าการลุกไหม้มีเช้ือเพลิงหนุนหรือมีไอ ของเชอ้ื เพลงิ ถูกขับออกมามากความร้อนแรงก็จะมากยิง่ ข้ึน ซึง่ เช้อื เพลงิ ไดแ้ ก่ สารเคมี วัตถุใด ๆ ท่มี ีสถานะเปน็ ของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซที่อยู่ในภาวะพร้อมจะเกิดการสันดาปจากการจุดติดใด ๆ หรือจากการสันดาปเอง ประกอบกับมีการขยายตัวของพื้นที่เขตเมือง และบ้านเรือนท่ีอยู่อาศัยของประชาชนเพิ่มขึ้น ดังนั้น แนวโน้มและ ความเสี่ยงท่เี กิดจากอัคคีภัยจงึ เพมิ่ มากข้นึ โดยผลกระทบทีเ่ กิดจากอคั คีภัยทผ่ี ่านมาแสดงดงั แผนภาพที่ 1 – 3 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 3
คน (ท่มี า : กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย, 2563) แผนภาพท่ี 1 - 3 แสดงสถติ ิสถานการณ์อคั คภี ัย ระหว่างปี พ.ศ. 2554 - 2563 1.2.2 วาตภัย (Wind Storm) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีสาเหตุจากลมแรงจนท�ำให้เกิดความเสียหายแก่อาคารบ้านเรือน สงิ่ กอ่ สรา้ ง ตน้ ไม้ เรอื กสวนไรน่ า ยานพาหนะ และระบบสาธารณปู โภค เชน่ ระบบไฟฟา้ ระบบสอ่ื สาร โทรคมนาคม รวมถงึ ชีวติ ของประชาชน สำ� หรับประเทศไทย สาเหตขุ องวาตภยั คอื พายุฝนฟ้าคะนอง พายฤุ ดูรอ้ น พายุลมงวง และพายหุ มนุ เขตรอ้ น (ดเี ปรสชน่ั โซนรอ้ น ไตฝ้ นุ่ ) โดยเฉพาะพายหุ มนุ เขตรอ้ นจะสง่ ผลกระทบตอ่ พนื้ ทเ่ี ปน็ บรเิ วณกวา้ ง นบั รอ้ ยตารางกโิ ลเมตร (บรเิ วณรอบศนู ยก์ ลางของพายจุ ะเปน็ บรเิ วณทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากวาตภยั มากทสี่ ดุ ) หากพายุ มกี ำ� ลงั แรงขึ้นเปน็ พายโุ ซนรอ้ นหรือไตฝ้ นุ่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ วาตภัย อทุ กภัย และคลื่นพายซุ ดั ฝงั่ (Storm Surge) ซึ่งเปน็ อนั ตรายและสร้างความเสยี หาย โดยในปจั จบุ นั แนวโนม้ ความเสียหายยงั มมี ลู คา่ สงู แมว้ ่าจ�ำนวนผู้เสียชวี ิตจะลดลง ซ่ึงเป็นผลมาจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก โดยมีผลกระทบ ที่เกิดจากวาตภัยท่ีผ่านมาแสดง ดงั แผนภาพที่ 1 – 4 คน (ทม่ี า : กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั , 2563) แผนภาพที่ 1 - 4 แสดงสถติ ิสถานการณ์วาตภัย ระหวา่ งปี พ.ศ. 2554 - 2563 4 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
1.2.3 อทุ กภยั (Flood) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดจากฝนตกหนักและฝนตกสะสมเป็นเวลานาน ท�ำให้เกิดน้�ำป่าไหลหลาก น�้ำท่วมฉับพลัน น้�ำท่วมขัง และน้�ำล้นตลิ่ง ประชาชนได้รับความเดือดร้อน ส่ิงสาธารณประโยชน์และทรัพย์สิน ของประชาชนไดร้ บั ความเสยี หายโดยมสี าเหตหุ ลกั ไดแ้ ก่ มรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตท้ พี่ ดั ปกคลมุ ทะเลอนั ดามนั และอา่ วไทย ซง่ึ ในประเทศไทยจะพดั อยใู่ นชว่ งกลางเดอื นพฤษภาคมถงึ กลางเดอื นตลุ าคม มรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทพ่ี ดั ปกคลมุ ประเทศไทยและอา่ วไทยในชว่ งกลางเดอื นตลุ าคมถงึ กลางเดอื นกมุ ภาพนั ธร์ อ่ งมรสมุ ทพ่ี าดผา่ นบรเิ วณประเทศไทย ในชว่ งของแตล่ ะเดอื น หยอ่ มความกดอากาศตำ�่ และพายหุ มนุ เขตรอ้ น (ดเี ปรสชนั่ โซนรอ้ น และไตฝ้ นุ่ ) ทงั้ น้ี แนวโนม้ ผู้ได้รับผลกระทบไม่คงท่ีข้ึนอยู่กับจ�ำนวนของพายุที่เกิดขึ้นในแต่ละปี อย่างไรก็ตาม จ�ำนวนผู้เสียชีวิต และมูลค่า ความเสยี หายจากอทุ กภัยมีแนวโนม้ ลดลง โดยมผี ลกระทบทเ่ี กิดจากอทุ กภยั ดงั แผนภาพที่ 1 – 5 (ท่ีมา : กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั , 2563) แผนภาพที่ 1- 5 แสดงสถติ ิสถานการณ์อทุ กภยั ระหว่างปี พ.ศ. 2554 - 2563 1.2.4 ภัยจากดินโคลนถลม่ (Landslide) เป็นเหตุการณ์ที่มักเกิดข้ึนพร้อมกันหรือเกิดตามมาหลังจากเกิดน้�ำป่าไหลหลากอันเน่ืองมาจาก พายฝุ นทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ฝนตกหนกั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งรนุ แรง สง่ ผลใหม้ วลดนิ และหนิ ไมส่ ามารถรองรบั การอมุ้ นำ้� ได้ จงึ เกดิ การ เคลอ่ื นตวั ตามอทิ ธพิ ลของแรงโนม้ ถว่ งของโลก ปจั จบุ นั ปญั หาดนิ โคลนถลม่ เกดิ บอ่ ยครง้ั และมคี วามรนุ แรงเพม่ิ มากขนึ้ อันมีสาเหตมุ าจากพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น การตัดไม้ทำ� ลายปา่ การทำ� การเกษตรในพ้ืนทีล่ าดชัน การทำ� ลายหน้าดนิ เปน็ ตน้ สำ� หรบั ประเทศไทยมกั เกดิ เหตกุ ารณด์ นิ โคลนถลม่ ในชว่ งฤดฝู น (ปลายเดอื นพฤษภาคมถงึ กลางเดอื นตลุ าคม) (กรมทรพั ยากรธรณี, 2563) แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 5
1.2.5 แผน่ ดนิ ไหว และสึนามิ (Earthquake and Tsunami) เปน็ ปรากฏการณธ์ รรมชาตทิ มี่ สี าเหตเุ กดิ จากการสนั่ สะเทอื นอยา่ งรนุ แรงของพนื้ ดนิ ในชว่ งเวลาหนง่ึ เกิดขึ้นจากแรงเสียดทานระหว่างชั้นหินและช้ันดินภายใต้ผิวโลกตามแนวรอยเล่ือนของเปลือกโลกท่ีมีพลัง และยงั เคลอ่ื นตวั อยทู่ งั้ ภายในและภายนอกประเทศไทย ในชว่ งหลายปที ผี่ า่ นมาบรเิ วณภาคเหนอื และภาคตะวนั ตก ของประเทศท่ีอยู่ในแนวรอยเลื่อนได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวบ่อยครั้งขึ้น เช่น กรณีเกิดข้ึนท่ีอ�ำเภอวังเหนือ จงั หวดั ลำ� ปาง เมอ่ื ปี พ.ศ. 2562 ความรนุ แรงขนาด 4.9 สรา้ งความเสยี หายใหแ้ กอ่ าคารบา้ นเรอื นและทรพั ยส์ นิ ของ ประชาชนเป็นจำ� นวนมาก (กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2563) นอกจากน้ี แผน่ ดินไหวขนาดใหญ่ในมหาสมทุ ร ยังอาจท�ำให้ เกดิ สนึ ามิเคลอ่ื นตวั ด้วยความเรว็ สูง มพี ลงั รุนแรงสามารถเคล่ือนทไ่ี ปได้เป็นระยะทางไกล ๆ และเมื่อเคลอื่ นที่เขา้ สู่ บริเวณชายฝั่งทะเลจะท�ำให้เกิดเป็นคลื่นขนาดใหญ่ ท่ีเรียกกันว่า “สึนามิ” (Tsunami) ก่อให้เกิดความเสียหาย อย่างใหญ่หลวงต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้คนท่ีอาศัยอยู่ตามบริเวณชายฝั่ง ดังที่เคยเกิดขึ้นบริเวณภาคใต้ฝั่งทะเล อันดามันในปี พ.ศ. 2547 ซึ่งท�ำให้มีผ้เู สยี ชีวิตถึง 5,395 ราย (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั , 2548) 1.2.6 ภัยแล้ง (Drought) เป็นภัยที่เกิดจากธรรมชาติสภาพอากาศแห้งแล้งและขาดแคลนน้�ำเป็นระยะเวลานาน โดยทั่วไป เกดิ ขน้ึ เมอื่ พนื้ ทท่ี ไ่ี ดร้ บั นำ้� อยา่ งสมำ�่ เสมอเกดิ ฝนตกตำ่� กวา่ คา่ เฉลยี่ ประเทศไทยไดแ้ บง่ การบรหิ ารจดั การนำ�้ ในฤดแู ลง้ เป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1) การส�ำรองน้�ำไว้ส�ำหรับการใช้น้�ำในช่วงต้นฤดูฝน เพื่อสนับสนุนการเพาะปลูกข้าวนาปี 2) การจดั สรรนำ้� เพอ่ื การอปุ โภคบรโิ ภค 3) การจดั สรรนำ้� เพอ่ื การรกั ษาระบบนเิ วศ 4) การจดั สรรนำ้� เพอ่ื การเกษตรกรรม และ 5) การจัดสรรนำ้� เพือ่ การอุตสาหกรรม (สำ� นักงานทรัพยากรนำ�้ แหง่ ชาต,ิ 2562) นอกจากน้ี ภยั แล้งในแตล่ ะปี ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรซึ่งถือว่าเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศและผลกระทบท่ีเกิดจากภัยแล้งอาจนำ� ไปสู่ การพงั ทลายของผวิ ดนิ การเกดิ ฝนุ่ ละออง พายฝุ นุ่ การรกุ ลำ�้ ของนำ�้ เคม็ และโอกาสเกดิ ไฟปา่ สงู ขนึ้ สรา้ งความสญู เสยี ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ ทงั้ นี้ การเกดิ ภยั แลง้ มแี นวโนม้ ลดลง ซงึ่ เปน็ ผลจากการบรหิ ารจดั การนำ�้ จากทกุ ภาคสว่ น โดยมผี ลกระทบทีเ่ กิดจากภยั แลง้ ดงั แผนภาพที่ 1 – 6 ผู้ประสบภยั (ครัวเรือน) (ที่มา : กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย, 2563) แผนภาพท่ี 1 - 6 แสดงสถติ สิ ถานการณ์ภยั แลง้ ระหว่างปี พ.ศ. 2554 – 2563 6 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
1.2.7 โรคระบาด (Pandemic) เปน็ โรคตดิ ตอ่ หรอื โรคทยี่ งั ไมท่ ราบสาเหตขุ องการเกดิ โรคแนช่ ดั ซงึ่ อาจแพรไ่ ปสผู่ อู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และกว้างขวาง หรือมภี าวะของการเกิดโรคมากกวา่ ปกตทิ ่เี คยเปน็ มา (พระราชบัญญัตโิ รคตดิ ตอ่ , 2558) องคก์ ารอนามยั โลก (World Health Organization: WHO) แถลงการณเ์ มอื่ วนั ท่ี 11 มนี าคม 2563 ยกระดบั การแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา 2019 หรอื COVID - 19 จากโรคระบาด (Epidemic) เปน็ โรคระบาดใหญ่ (Pandemic) หลงั จากมกี ารลกุ ลามไปหลายประเทศในภมู ิภาคต่าง ๆ ท่วั โลก ส�ำหรับการประกาศโรคระบาดของ ประเทศไทย ให้เปน็ ไปตามมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญตั โิ รคติดตอ่ พ.ศ. 2558 ทั้งน้ี การระบาดของโรคที่สำ� คญั ๆ ในประเทศไทย ได้แก่ ปี พ.ศ. การระบาด ปี พ.ศ. การระบาด 2547 โรคไข้หวดั นก 2556 โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน 2552 โรคไข้หวัดสายพนั ธุใ์ หม่ H1N1 (2009) (Middle East Respiratory Syndrome : 2551 - 2552 โรคไข้ปวดข้อยุงลาย MERS – CoV) 2557 โรคตดิ เชอื้ ไวรัสอโี บลา 2555 โรคไข้เลอื ดออก 2563 โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus disease 2019: COVID-19) 1.2.8 ภยั จากไฟปา่ และหมอกควนั (Forest Fire and Smoke) เป็นภัยที่มักเกิดข้ึนในป่าธรรมชาติหรือสวนป่าแล้วลุกลามไปได้โดยอิสระปราศจากการควบคุม ตลอดจนเป็นผลให้ฝุ่นควันและอนุภาคแขวนลอยในบรรยากาศมีปริมาณมากภายใต้กระแสลมอ่อนและอากาศ สามารถลอยตวั สงู ขนึ้ ไปในบรรยากาศชนั้ บนได้ สถานการณไ์ ฟปา่ และหมอกควนั สง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ คณุ ภาพชวี ติ และสง่ิ แวดล้อม ตลอดจนสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ท้งั น้ี แนวโน้มการเกดิ ภยั จากไฟป่าและหมอกควนั ยังคงมีสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนทุกปีอย่างต่อเน่ืองจากการเกิดไฟป่าตามธรรมชาติและการเผาป่าเพื่อเตรียมพื้นท่ี ในการเกษตร โดยมีผลกระทบที่เกดิ จากภยั จากไฟป่าและหมอกควนั ดงั แผนภาพท่ี 1 - 7 การดบั ไฟป่ า (ครั้ง) (ทมี่ า : กรมป่าไม้, 2563) แผนภาพที่ 1 - 7 แสดงสถิตสิ ถานการณ์ภัยจากไฟป่าและหมอกควนั ระหว่าง ปี พ.ศ. 2556 - 2563 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 7
1.2.9 ภยั จากมลพษิ ทางอากาศประเภท PM2.5 (Particulate Matter: PM) มลพษิ ทางอากาศประเภท PM2.5 เปน็ เหตกุ ารณท์ มี่ ลพษิ ทางอากาศประเภทฝนุ่ ละออง ขนาดไมเ่ กนิ 2.5 ไมครอน หรือ PM2.5 ทม่ี ีแหลง่ ก�ำเนิดจากเหตกุ ารณ์ทางธรรมชาตหิ รอื จากกจิ กรรมของมนุษย์และเกิดการสะสม ในบรรยากาศทำ� ให้ PM2.5 ปกคลมุ พนื้ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของประชาชน จนมคี วามเสยี่ งทำ� ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของ ประชาชนจ�ำนวนมาก ปัจจบุ ันฝุน่ ละอองขนาดไมเ่ กิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เปน็ ภัยดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มทค่ี กุ คามสขุ ภาพของ ประชาชน โดยเฉพาะในประชาชนกลุม่ เสย่ี ง ท้งั เด็ก หญิงตง้ั ครรภ์ ผู้สงู อายุ และผูท้ มี่ ีโรคประจำ� ตวั เช่น โรคระบบ ทางเดินหายใจ หอบหืด เป็นต้น ซ่ึงสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ในทุกกลุ่มทั้งใน ระยะสน้ั และระยะยาว 1.2.10 ภยั จากสารเคมี (Chemical Incidents) เปน็ ภัยท่เี กดิ จากสารเคมที ม่ี ีอยูใ่ นธรรมชาติและทมี่ นุษยส์ ร้างขึ้น อาจเกดิ จากการใช้ (Usability) วัตถุดิบ (Raw Material) การแปรรูป (Transform) ผลพลอยได้จากการผลติ (By Product) หรอื เกดิ การปนเป้ือน (Contamination) ในสง่ิ แวดลอ้ ม หรอื เกดิ จากอบุ ตั เิ หตุ (Accident) ในวงจรชวี ติ ของสารเคมี เชน่ ในกระบวนการผลติ การบรรจุ การเก็บรักษา การจ�ำหน่าย การขนส่ง และการบ�ำบัดก�ำจัดท�ำลาย เป็นต้น ซ่ึงมีผลกระทบต่อมนุษย์ และสิง่ มชี ีวิตทเี่ กีย่ วข้อง โดยอาจเกิดเนอื่ งจากการทำ� งานในภาคอุตสาหกรรม เช่น สารกำ� จัดพาหะนำ� โรค เป็นตน้ เมื่อมีการได้รับหรือสัมผัสสารเคมีเข้าสู่ร่างกายอาจก่อให้เกิดโรคจากสารเคมีแบบเฉียบพลัน และ/หรือแบบเรื้อรัง มที ง้ั เกิดขนึ้ เป็นแบบเฉพาะรายบุคคลหรอื ขยายวงกวา้ งเป็นกลุ่มประชากร ทง้ั นี้ แนวโน้มสถานการณภ์ ยั จากสารเคมี มโี อกาสเกดิ ขน้ึ และอาจสง่ ผลกระทบใหเ้ กดิ ความเสยี หายในวงกวา้ ง เนอ่ื งจากมกี ารเพมิ่ ขนึ้ ของโรงงานอตุ สาหกรรม ในหลายพ้นื ท่ี 1.2.11 ภัยจากการคมนาคม (Transportation) เปน็ อบุ ตั เิ หตจุ ากการจราจรทางบก ทางนำ�้ และทางอากาศซง่ึ สง่ ผลตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อเศรษฐกจิ และสังคม แบ่งออกเป็น 4 สาขา ได้แก่ การคมนาคมทางถนน การคมนาคมทางราง การคมนาคมทางน้�ำ และการคมนาคมทางอากาศ ประเทศไทยมีแนวโน้มอัตราการเกิดอุบัติเหตุทางถนนเพ่ิมขึ้น อยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยปจั จยั ทท่ี ำ� ใหก้ ารเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ างถนนของประเทศไทยประกอบดว้ ย 4 ปจั จยั ไดแ้ ก่ คน ยานพาหนะ ถนน และสง่ิ แวดลอ้ ม (มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ โครงการพฒั นาหลกั สตู ร การสบื สวนอบุ ตั เิ หตเุ ชงิ ลกึ และการพฒั นา บุคลากรดา้ นความปลอดภยั (รายงานผลการวิจยั , 2560) 8 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
จากขอ้ มลู สถานการณส์ าธารณภยั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมา พบวา่ ประชากรทว่ั ทกุ มมุ โลก รวมทงั้ ประเทศไทย ต่างก็มีความเสี่ยงจากสาธารณภัยทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นภัยจากธรรมชาติ ภัยจากสิ่งแวดล้อม ภัยท่ีเกิดจาก การกระทำ� ของมนุษย์ และภัยจากสาเหตุอ่ืน ๆ นอกจากน้ี สถานการณภ์ ัยทเ่ี กดิ ขนึ้ นน้ั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ภยั ประเภทอ่นื ตามมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งทมี่ คี วามรนุ แรง หรอื สถานการณภ์ ยั ประเภทหนง่ึ ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ อาจมภี ยั ทเี่ กดิ ขน้ึ อกี ซงึ่ แตกตา่ ง จากภยั แรกจนเกดิ ความซำ�้ ซอ้ น (Compound Hazard) เชน่ กรณกี ารเกดิ แผน่ ดนิ ไหวและเกดิ สนึ ามติ ามมาในมหาสมทุ ร อินเดยี ในเดือนธนั วาคม พ.ศ. 2547 มีผเู้ สียชวี ิตมากกวา่ 5,000 คน และสญู หายมากกว่า 2,000 คน (กรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย, 2548) กรณีการเกิดอัคคีภัยส่งผลให้เกิดอาคารถล่มและมีผู้เสียชีวิตภายในเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร (กรุงเทพมหานคร, 2564) เปน็ ตน้ แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 9
10 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 1.3 ปฏิทินสาธารณภัยในประเทศไทย สถานการณภ์ ยั ทเี่ กดิ ขนึ้ เปน็ ประจำ� โดยแบง่ ตามหว้ งเวลาของการเกดิ ภยั นนั้ ๆ ในรอบ 1 ปี ซงึ่ มที งั้ ภยั ทส่ี ามารถคาดการณไ์ ดห้ รอื สาธารณภยั รปู แบบใหมแ่ ละ/หรอื มีรูปแบบทีเ่ ปลี่ยนไปจากเดมิ เน่ืองจากการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ (Climate Change) ซึง่ ท�ำใหค้ าดการณ์ได้ยากหรือมีความไมแ่ น่นอนสูง ดงั ปรากฏห้วงเวลาการเกิดภัย ตามแผนภาพที่ 1 - 8 ภัย/เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. อุทกภัย ทุกภาค ภาคใต้ ภัยแล้ง ฤดแู ล้งท่ัวทกุ ภาค ฝนท้ิงช่วง แผน่ ดินไหว พายุฤดูรอ้ น เนน้ พืน้ ทภ่ี าคเหนอื และพน้ื ท่ีทีม่ รี อยเล่ือน ตามขอ้ มลู กรมทรัพยากรธรณี อัคคีภยั ทกุ ภาค ไฟปา่ ปใี หม่ ตรุษจนี ภัยหนาว ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคกลาง/ตะวันออก/ใต้ ภาคเหนอื /ตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคเหนอื /ตะวันออกเฉียงเหนอื หมายเหตุ : เฝ้าระวงั ตลอดปี แผนภาพที่ 1 - 8 ปฏทิ นิ สาธารณภัยในประเทศไทย
1.4 กรอบการจดั การความเส่ียงจากสาธารณภยั ในระดับนานาชาติและประเทศไทย กรอบการด�ำเนินงานท่ีเกี่ยวกับพันธกรณีและข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภยั ระดบั นานาชาติ ถอื เปน็ การสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มและความเปน็ หนุ้ สว่ นในการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Reduction Partnership) ของประเทศตา่ ง ๆ ทวั่ โลกให้ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ในการลดความเส่ยี ง และลดผลกระทบจากสาธารณภยั ดว้ ยเหตนุ ้ี ประเทศไทยจงึ ไดด้ ำ� เนนิ การตามกรอบ การดำ� เนนิ การดา้ นสาธารณภยั และกรอบท่เี ก่ยี วข้องทั้งในและตา่ งประเทศ l กรอบการด�ำเนนิ งานระดับนานาชาติ 1.4.1 เปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื พ.ศ. 2558 - 2573 (Sustainable Development Goals: SDGs 2015 - 2030) เพอื่ ใหป้ ระเทศตา่ ง ๆ ทว่ั โลกมงุ่ ขจดั ความยากจนในทกุ มติ แิ ละทกุ รปู แบบ โดยนำ� ไปปฏบิ ตั ิ ใหก้ ารพฒั นา มคี วามสมดลุ อยา่ งยง่ั ยนื ทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม ซง่ึ มเี ปา้ หมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ดา้ นสาธารณภยั โดยตรง 3 เปา้ หมายจากทงั้ หมด 17 เปา้ หมาย ไดแ้ ก่ เปา้ หมายท่ี 1 ยตุ คิ วามยากจนทกุ รปู แบบ ในทกุ ท่ี โดยเนน้ สรา้ งภมู ติ า้ นทาน และลดผลกระทบของเหตรุ นุ แรงจากสภาพภมู อิ ากาศ และภยั พบิ ตั ทิ างเศรษฐกจิ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ มตอ่ คนยากจน และผทู้ อ่ี ยู่ในสถานการณ์เสยี่ ง เป้าหมายท่ี 11 ทำ� ใหเ้ มืองและการตง้ั ถนิ่ ฐานของมนษุ ย์มคี วามครอบคลมุ ปลอดภัย มีภูมิต้านทาน และยั่งยืน ด้วยการลดผลกระทบและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีภูมิต้านทาน ต่อภัยพิบัติ และให้พัฒนาและด�ำเนินการตามการบริหารความเส่ียงจากภัยพิบัติแบบองค์รวมในทุกระดับ และเปา้ หมายที่ 13 ปฏิบตั กิ ารอยา่ งเรง่ ด่วนเพอ่ื ตอ่ สกู้ ับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศและผลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้ ที่มุ่งสร้างเสริมความเข้มแข็ง ความยืดหยุ่น และความสามารถในการปรับตัวของประเทศโดยรวมเพ่ือรับมือกับ ความเสี่ยงจากการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบจากภัยธรรมชาติ 1.4.2 กรอบการดำ� เนนิ งานเซนไดเพอื่ การลดความเส่ียงจากภยั พิบตั ิ พ.ศ. 2558 - 2573 (Sendai Framework for Disaster Risk Reduction 2015 - 2030) หรอื “กรอบเซนได” เพอื่ ลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั และลดการสญู เสยี ชวี ติ วถิ ชี วี ติ และสขุ ภาพ ตลอดจน ความสญู เสยี ตอ่ สนิ ทรพั ยท์ างเศรษฐกจิ กายภาพ สงั คม และสภาพแวดลอ้ มของบคุ คล ธรุ กจิ ชมุ ชน และประเทศอยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยมเี ป้าหมาย คือ ลดความเสี่ยงเดิม และปอ้ งกนั ความเสี่ยงใหม่ ผา่ นมาตรการเชงิ เศรษฐกิจ โครงสรา้ ง กฎหมาย สขุ ภาพ วฒั นธรรม การศกึ ษา สง่ิ แวดลอ้ ม เทคโนโลยี การเมอื ง และสถาบนั อยา่ งบรู ณาการและครอบคลมุ เพอ่ื ทจี่ ะชว่ ย ปอ้ งกันและลดสภาวะ การเปิดรบั ภัย และความเปราะบางตอ่ สาธารณภยั เสรมิ สรา้ งศักยภาพการเตรียมความพร้อม รบั มอื และฟ้ืนฟู เพ่ือนำ� ไปสู่ ความเขม้ แขง็ ในความพรอ้ มรบั มอื และการฟ้ืนกลับเรว็ เม่ือเกิดสาธารณภัย 1.4.3 กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) เพื่อรักษาระดับความเข้มข้นของปริมาณก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศให้อยู่ในระดับที่มนุษย์ ไม่ก่อให้เกิดการรบกวนต่อระบบภูมิอากาศโลก ระบบนิเวศสามารถปรับตัวกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้อย่างเหมาะสม รวมท้ังการพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างย่ังยืน ทั้งน้ี UNFCCC ได้มีการประชุมสมัชชารัฐภาคี แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 11
กรอบอนุสัญญาฯ (Conference Of the Parties: COP) เป็นประจ�ำทุกปีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 จนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตามข้อก�ำหนดของ UNFCCC ที่ผ่านมาน้ัน ไม่เพียงพอที่จะแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีเกิดข้ึนได้ ในปี พ.ศ. 2558 จึงได้มีการรับรอง “ความตกลงปารสี ” (Paris Agreement) โดยมงุ่ แกไ้ ขปญั หาการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศดว้ ยการใหค้ วามสำ� คญั กับการควบคุมการเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกให้ต่�ำกว่า 2 องศาเซลเซียสและการปรับตัวต่อผลกระทบจาก การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ โดยทกุ ประเทศรว่ มกำ� หนดเปา้ หมายระดบั โลกรว่ มกนั เพอื่ ลดความรนุ แรงอนั เกดิ จากสาธารณภัย และลดความเปราะบางของประชากรต่อความเสี่ยง จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ สาธารณภัย 1.4.4 กรอบความตกลงอาเซยี นวา่ ดว้ ยการจดั การภยั พบิ ตั แิ ละการตอบโตส้ ถานการณฉ์ กุ เฉนิ (ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response: AADMER) เพอื่ เปน็ กลไกในการลดความสญู เสยี ตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ จากสาธารณภยั ในดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ และสิง่ แวดลอ้ มเพือ่ รว่ มกนั ตอบโต้ภยั พิบตั ิฉุกเฉนิ ตลอดจนความร่วมมอื ทางวชิ าการ การวิจยั โดยเนน้ หลักการให้ ประเทศสมาชกิ ไดช้ ว่ ยเหลอื ตนเองกอ่ น และหากเกนิ ขดี ความสามารถจงึ ใชก้ ลไกที่ AADMER กำ� หนดไว้ เพอื่ ดำ� เนนิ การ ชว่ ยเหลอื ภายใตก้ ารดำ� เนนิ การในกรอบการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ประกอบดว้ ยกลไก ไดแ้ ก่ (1) คณะกรรมการอาเซยี น ดา้ นการจดั การภยั พบิ ตั ิ (ASEAN Committee on Disaster Management: ACDM) มคี ณะทำ� งานเปน็ องคป์ ระกอบ ภายใต้ ACDM ซงึ่ ประเทศไทยเปน็ ประธานรว่ มกบั สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว และสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในคณะท�ำงานด้านการป้องกันและลดผลกระทบ (2) แผนการปฏบิ ตั ิงานตามกรอบ AADMER พ.ศ. 2564 - 2569 (AADMER Work Programme (2021 - 2025)) (3) ระเบยี บปฏบิ ตั มิ าตรฐานในการเตรยี มความพรอ้ มและการรบั มอื เหตภุ ยั พบิ ตั ฉิ กุ เฉนิ ของภมู ภิ าคอาเซยี น (Standard Operating Procedure for Regional Standby Arrangements and Coordination of Joint Disaster and Emergency Response Operations: SASOP) และ (4) ศูนย์ประสานงาน การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมของอาเซยี น (ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance on disaster management: AHA Centre) l กรอบการดำ� เนนิ งานของประเทศไทย 1.4.5 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้น้อมน�ำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ย่ังยืนมาเป็นหลักในการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาตคิ วบคู่กับ การนำ� เป้าหมายของการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื ท้ัง 17 เป้าหมายมาเป็นกรอบแนวคิดทจี่ ะผลกั ดนั ด�ำเนินการ เพ่ือนำ� ไปสู่ การบรรลจุ ดุ มงุ่ หมายของการพฒั นาประเทศ ใหม้ คี วามมนั่ คง มง่ั คง่ั และยงั่ ยนื โดยมปี ระเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ เ่ี กยี่ วขอ้ ง กับการจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภยั โดยตรง ไดแ้ ก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง โดยวางเป้าหมายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบ ตอ่ ความมน่ั คง เพอื่ แกไ้ ขปญั หาเดมิ ทม่ี อี ยอู่ ยา่ งตรงประเดน็ จนหมดไปอยา่ งรวดเรว็ และปอ้ งกนั ไมใ่ หป้ ญั หาใหมเ่ กดิ ขนึ้ อนั จะสง่ ผลใหก้ ารบรหิ ารจดั การและการพฒั นาประเทศในทกุ ๆ ดา้ น พรอ้ มทง้ั พฒั นาศกั ยภาพและระบบเตรยี มพรอ้ ม ของประเทศใหพ้ รอ้ มเผชญิ กบั สภาวะไมป่ กติ ภยั คกุ คามทกุ มติ ิ ทกุ รปู แบบและทกุ ระดบั รวมทงั้ ภยั พบิ ตั แิ ละภยั คกุ คาม รูปแบบต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ 12 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาอตุ สาหกรรม ความม่ันคงของประเทศท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการภัยพิบัติ ซึ่งรวมถึงระบบการเตือนภัย การเตรียมตัวรับภัยพิบัติ และการให้ความช่วยเหลือระหวา่ งและหลงั เกดิ ภยั พบิ ตั ิ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยปรับปรุง การบริหารจัดการภัยพิบัติทั้งระบบ และการสร้างขีดความสามารถของประชาชนในการรับมือและปรับตัว เพอื่ ลดความสูญเสียและเสยี หายจากภัยธรรมชาตแิ ละผลกระทบทเี่ กี่ยวกับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั โดยเนน้ การปรบั เปลยี่ น ภาครฐั ยึดหลกั “ภาครัฐของประชาชนเพอื่ ประชาชนและประโยชน์ของสว่ นรวม” 1.4.6 แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 เพ่ือถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็นยุทธศาสตรข์ องยทุ ธศาสตร์ชาตลิ งสูแ่ ผนระดบั ตา่ ง ๆ รวมทั้ง ก�ำหนดแนวทางการพัฒนา และแผนงาน/โครงการที่ส�ำคัญของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเพ่ือเป็นกรอบ ในการดำ� เนนิ การของหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาประเทศ โดยมปี ระเดน็ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การจดั การ ความเส่ียงจากสาธารณภยั โดยตรง ไดแ้ ก่ ประเด็นที่ 1 ความมนั่ คง แผนย่อยการปอ้ งกัน และแกไ้ ขปญั หาทีม่ ผี ลกระทบ ต่อความม่ันคง ส่วนการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และการพัฒนาประเทศ แนวทางการพัฒนา 6 ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประเด็นที่ 7 โครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล แผนย่อย โครงสรา้ งพื้นฐานดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ แนวทางการพัฒนา 4 การขนส่งทางถนน แผนย่อยโครงสร้าง พน้ื ฐานดา้ นดจิ ทิ ลั แนวทางการพฒั นา 1 พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดจิ ทิ ลั ทง้ั ในสว่ นของโครงขา่ ยสอ่ื สารหลกั ภายในประเทศ และโครงขา่ ยบรอดแบรนด์ความเรว็ สงู และประเด็นท่ี 19 การบรหิ ารจดั การน้�ำท้ังระบบ แผนย่อยการพัฒนาการ จดั การนำ้� เชิงลมุ่ น้�ำทงั้ ระบบเพ่ือเพม่ิ ความมัน่ คงดา้ นนำ้� ของประเทศ แนวทางการพฒั นา 3 จดั ระบบการจัดการน�ำ้ ในภาวะวิกฤติ 1.4.7 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่สี บิ สอง พ.ศ. 2560 - 2565 เพอ่ื มงุ่ ใหป้ ระชาชนมชี วี ติ และความเปน็ อยทู่ ดี่ ขี น้ึ รวมถงึ การวางรากฐานและการจดั การโครงสรา้ ง ของประเทศ เพื่อมุ่งสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนา ที่ยั่งยืน และคนเปน็ ศูนยก์ ลาง โดยมีประเดน็ ท่เี กีย่ วขอ้ งกับการจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภยั โดยตรง คอื ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหลอ่ื มลำ�้ ในสงั คมโดยการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพชมุ ชน การพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชน และการสรา้ งความเขม้ แข็งทางการเงิน ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การเติบโตทเ่ี ปน็ มติ ร กบั สง่ิ แวดลอ้ มเพ่อื การพฒั นาทยี่ ่ังยืน โดยการจดั การเพอื่ ลดความเสย่ี งดา้ นภยั พบิ ตั ิ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การเสรมิ สรา้ งความมน่ั คงแหง่ ชาตเิ พอื่ การพฒั นาประเทศ ไปสคู่ วามมง่ั คงั่ และยงั่ ยนื โดยการพฒั นาระบบการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทง้ั ทางบกและทางทะเลของประเทศ และยทุ ธศาสตรท์ ี่ 10 ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพอื่ การพฒั นาดว้ ยการสรา้ งความเปน็ หนุ้ สว่ นการพฒั นากบั ประเทศ ในอนุภมู ภิ าค ภูมภิ าค และนานาชาติ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 13
1.4.8 นโยบายและแผนระดบั ชาติว่าดว้ ยความมน่ั คงแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 - 2565 เพอื่ พฒั นาระบบการเตรยี มพรอ้ มชาติ รองรบั นโยบายท่ี 13 พฒั นาระบบการเตรยี มพรอ้ มแหง่ ชาติ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความมน่ั คงแหง่ ชาติ เพอ่ื เปน็ ทศิ ทางและแนวทางหลกั ในการเผชญิ กบั ภาวะไมป่ กติ และจดั การความเสยี่ ง อยา่ งบรู ณาการจากการเผชญิ ภยั คกุ คามทกุ รปู แบบ ทงั้ ทเี่ กดิ จากภยั ธรรมชาติ และภยั ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ โดยใหท้ กุ ภาคสว่ น พร้อมสนับสนุนการเตรียมพร้อมของชาติร่วมกันในลักษณะประชารัฐ ควบคู่ไปกับการส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ กบั ต่างประเทศ 1.4.9 กรอบแนวคิดการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยแบบอัจฉริยะ “Smart DRM for 3s : SEP - SDGs - SFDRR” เพ่ือให้ประเทศไทยมีการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยท่ีมีประสิทธิภาพด้วยระบบอัจฉริยะ โดยการสร้างภูมิคุ้มกันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Philosophy: SEP) ตามหลักการพัฒนาอยา่ งย่ังยืนภายใต้เปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ัง่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ดว้ ยการลดความเสย่ี งเดมิ และปอ้ งกนั ความเสยี่ งใหม่ (Sendai Framework on Disaster Risk Reduction: SFDRR) โดยใช้ Smart DRM อนั ไดแ้ ก่ Smart Digital, Smart Resilience, Smart Man เปน็ กลไกการขบั เคลอื่ นกรอบแนวคดิ ภายใต้ทิศทางการพฒั นาเป้าหมายเดียวกนั เพือ่ มุ่งส่กู ารบรรลุความส�ำเร็จของ Smart DRM for 3s ดงั นี้ 1) ทกุ ภาคสว่ นในสงั คมตอ้ งเขา้ ใจความเสย่ี งของตวั เองอยา่ งครอบคลมุ ทงั้ มติ ขิ องภยั ความเปราะบาง และความล่อแหลม 2) ประเทศไทยตอ้ งมฐี านข้อมูลความเสย่ี งทที่ ันสมยั และประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึง และใช้ ประโยชนไ์ ด้ 3) การลงทนุ ในโครงสรา้ งพนื้ ฐานและบรกิ ารสาธารณะของประเทศและทอ้ งถนิ่ จะตอ้ งมกี ารประเมนิ ความเสี่ยงจากสาธารณภยั 4) ประเทศไทยตอ้ งมศี นู ยก์ ลางในการพฒั นาและตอ่ ยอดงานวจิ ยั นวตั กรรม และเทคโนโลยเี พอ่ื การ ลดความเส่ียงจากสาธารณภยั 5) การเตรยี มความพรอ้ มและการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ จากสาธารณภยั ของประเทศจะตอ้ งมเี อกภาพ ยิง่ ขนึ้ และสามารถสอดรับกับมาตรฐานการปฏบิ ตั ิสากลและหลกั ธรรมาภบิ าล 6) การฟื้นฟูและบูรณะความเสียหายจากสาธารณภัยเพ่ือการซ่อมสร้างท่ีดีและย่ังยืนกว่าเดิม ตอ้ งทำ� บนฐานข้อมลู ความเสยี หายและความต้องการของประชาชนท่เี ป็นระบบ และเป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล 7) ประเทศไทยตอ้ งมคี วามพรอ้ มในการเปน็ หนุ้ สว่ นการพฒั นาดา้ นการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั ในกรอบความรว่ มมือระหว่างประเทศทคี่ รอบคลมุ มติ กิ ารพฒั นาทางเศรษฐกจิ สังคม สิง่ แวดล้อม และความมัน่ คง 14 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และแผนทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ภายใตพ้ ระราชบญั ญตั ิปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 กรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสย่ี งจากภยั พบิ ตั ิ พ.ศ. 2558-2573 เป้าหมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืน (SDGs) ความตกลงปารสี (Paris Agreement) (SFDRR) ภายใตก้ รอบอนสุ ญั ญาสหประชาชาติว่าดว้ ยการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ แผนระดบั ด้านความมนั่ คง ดา้ นการสรา้ งความสามารถ ด้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิต ดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ.2561-2580) 1 ในการแขง่ ขัน ทเี่ ปน็ มิตรต่อสิง่ แวดล้อม การบริหารจดั การภาครัฐ ข้อ 4.2 การปอ้ งกนั แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 15 และแก้ไขปัญหา ขอ้ 4.2 อุตสาหกรรมและ ข้อ 4.3 สรา้ งการเติบโตอยา่ งยง่ั ยนื บนสังคมทเ่ี ปน็ ขอ้ 4.1 ภาครฐั ทย่ี ึดประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง ท่มี ีผลกระทบตอ่ ความมนั่ คง / บรกิ ารแหง่ อนาคต / มติ รตอ่ สภาพภมู อิ ากาศ / ข้อย่อย 4.3.2 ตอบสนองความตอ้ งการ ข้อยอ่ ย 4.2.1 ขอ้ ย่อย 4.2.5 ข้อ 4.5 พฒั นาความมั่นคงนำ้ พลังงาน และเกษตร ที่เป็นมิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม / ข้อยอ่ ย 4.5.1 และให้บรกิ ารอย่างสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส / ขอ้ ย่อย 4.1.2 แผนระดับ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ควนามโยมบนั่ าคยงแแแลหผะน่งแชคผาวนตาริม(ะพมดั่น.บั ศคช.2งา5ต6ิว2่า-ด2ว้ 5ย65) 2 พ.ศ.2560-2565 ประเดน็ ท่ี 1 ประเด็นท่ี 7 ประเดน็ ที่ 19 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 แผนงานท่ี 4 ความมนั่ คง โครงสร้างพนื้ ฐาน การบรหิ ารจดั การ ข้อ 3.3 การพฒั นาระบบ ระบบโลจสิ ตกิ ส์และดิจิทลั เสริมสรา้ ง การเตรยี มพรอ้ ม แผนยอ่ ยการปอ้ งกันและ น้ำทัง้ ระบบ แก้ไขปญั หาท่ีมผี ลกระทบ แผนย่อย แผนย่อย ศกั ยภาพชุมชน ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ท่ี 10 แหง่ ชาติ ด้านคมนาคมและ โครงสร้างพน้ื ฐาน แผนยอ่ ยการพัฒนา การพฒั นา ข้อ 3.6 บรหิ าร ขอ้ 5.7 ขอ้ 3.6 รองรับนโยบายที่ 13 ต่อความม่นั คง ระบบโลจสิ ตกิ ส์ การจดั การนำ้ เชงิ ลมุ่ นำ้ จัดการเพ่อื ลด สรา้ งความ ดา้ นดจิ ทิ ัล ท้ังระบบเพื่อเพม่ิ ความ เศรษฐกิจ ชุมชน การพัฒนาระบบ พัฒนาระบบการ ส่วนการรักษาความม่ันคง มัน่ คงด้านนำ้ ของประเทศ และการสรา้ ง ความเสย่ี งด้าน การป้องกันและ เปน็ หนุ้ สว่ น เตรียมพร้อมแห่งชาติ ภายในราชอาณาจกั ร แนวทาง แนวทาง ความเข้มแข็ง บรรเทาสาธารณภัย การพัฒนากบั เพือ่ เสริมสร้างความ และการพัฒนาประเทศ การพฒั นา 4 การพัฒนา 1 แนวทางการพฒั นา 3 ทางการเงิน ภัยพบิ ัติ ประเทศในอนุ แนวทางการพฒั นา 6 การขนส่งทาง พัฒนาโครงสรา้ ง จัดระบบการจดั การน้ำ ทัง้ ทางบก ภมู ิภาค ภมู ิภาค ม่ันคงของชาติ ดา้ นการป้องกนั และ พน้ื ฐานดา้ นดจิ ทิ ลั และทางทะเล และนานาชาติ บรรเทาสาธารณภยั ถนน ในภาวะวกิ ฤต ของประเทศ แผนระดับ 3 ความเชือ่ มโยงกบั แผนอื่นๆ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ แผนพฒั นาภาค แผนปฏิบัติราชการกระทรวง/กรม แผนปฏิบัติราชการ ...... ปี 3 แผนปฏบิ ัติราชการประจำปี แแผผนนเทตี่รเกีย่ียมวพขร้อ้อมงแเหช่ง่นชาแตผิ ,นแผบนรแรมเท่บาทสกาาธราบรรณิหาภรัยจกัดรกะาทรทรรวัพงกยาลการโนห้ำม , แผนสนบั สนนุ การปฏบิ ัตงิ านในภาวะฉกุ เฉิน (สปฉ.) แผนพฒั นาจังหวัด , นโ(รพโคย.ตศบิด.า2ตย5่อแ6อล0ุบะ-แ2ัตผ5ิใหน6มย9่แทุ),หธแศ่งผชานาสตยติุทร(์กธพศา.าศรสพ.ต2ัฒร5์เ6นต0ราียด-2ม้า5คน6วพา4มล)พ,งั งรแา้อผนมนนปพวิ้อัเฒงคกนลันียาแรรลั์ขฐะบอแกงาป้ไลขรดปะิจัญเิททหัศลา แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด/กรงุ เทพมหานคร แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ แผน อบจ. แผนพัฒนาอำเภอ หมายเหตุ ความเชือ่ มโยง แผนหมบู่ า้ น/ชุมชน เกี่ยวข้องโดยตรง ของประเทศไทย (พ.ศ.2560-2564), แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย แผนปฏิบัติการในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อปท. แผน อบต./เทศบาล (พ.ศ.2560-2564), แผนยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แผนชมุ ชน/ หมู่บ้าน 14 (พ.ศ.2560-2564), แผนแมบ่ ทแต่ละประเภทภัย แผนภาพที่ 1-9 แผนผังความเช่ือมโยงแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติกบั แผนอ่ืนๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
1.5 บทเรยี นการจัดการสาธารณภยั ทผ่ี ่านมา 1.5.1 บทเรยี นจากการขับเคลอ่ื นแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 (1) ดา้ นการบรหิ ารจดั การ การให้ความส�ำคัญกับการจัดการในภาวะฉุกเฉินยังเป็นหลักมากกว่าการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภยั ควรมกี ารเนน้ แนวคดิ การลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั ใหม้ ากขนึ้ เพอ่ื ใหก้ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา จากสาธารณภยั เปน็ ไปอยา่ งยงั่ ยนื สำ� หรบั ดา้ นโครงสรา้ ง องคก์ ร และกลไกนนั้ ยงั ตอ้ งมคี วามรว่ มมอื และการบรู ณาการ ระหวา่ งหนว่ ยงานโดยอาศัยแผนร่วมกนั ทเี่ ปน็ เอกภาพมากขึน้ ดา้ นกระบวนการวางแผน และการสนบั สนนุ ในเรอื่ ง ของการระดมทรพั ยากรเขา้ พ้ืนที่ประสบภยั หรือการใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบภยั ยังต้องมีการประเมิน ส่งเสริมความรู้ และความเขา้ ใจ และจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู เพอื่ นำ� มาวางแผนและแนวทางปฏบิ ตั ิ ทเ่ี ปน็ มาตรฐาน ทงั้ นี้ ระดบั นโยบายของ ประเทศตอ้ งสนบั สนนุ ใหม้ กี ารวจิ ยั และพฒั นาการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั มากขน้ึ เพอื่ นำ� มากำ� หนดนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ทิศทางรูปแบบ และระบบท่ีสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของประเทศในแตล่ ะประเภทภยั พรอ้ มทงั้ ตอ้ งมกี าร แปลงนโยบายนั้นไปส่กู ารปฏบิ ตั เิ พือ่ ใหเ้ หน็ ผลสัมฤทธ์ิ ต่อประชาชนอยา่ งเปน็ รูปธรรม (2) ด้านการขบั เคล่ือนแผน การกำ� หนดวสิ ยั ทศั น์ คา่ เปา้ หมาย และตวั ชวี้ ดั อยา่ งชดั เจนในแผนเพอื่ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั เิ ขา้ ใจแนวคดิ และดำ� เนนิ การใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั การมงุ่ ใหค้ วามสำ� คญั ในการขบั เคลอ่ื นแผนจากสว่ นกลาง ถงึ ระดบั พนื้ ท่ี ไปส่กู ารปฏบิ ัตใิ หส้ ามารถด�ำเนินการทกุ ยทุ ธศาสตร์ไปพรอ้ ม ๆ กนั เพ่อื ใหแ้ ผนบรรลตุ ามวตั ถุประสงคท์ ีก่ �ำหนดไว้ ดังนั้น ต้องส่งเสริมให้ผู้ส่ือสารแผน กระบวนการส่ือสารและการถ่ายทอดแผนเป็นเครื่องมือส�ำคัญและอาศัยกลไก ที่มีอยู่ทุกระดบั ให้มีการขบั เคลอ่ื นอยา่ งจรงิ จงั โดยตอ้ งมีสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และสร้างการรับรูแ้ ผนท่ีถกู ต้อง ให้พนื้ ทสี่ ามารถน�ำแผนไปขับเคลื่อนและปรับใชใ้ นการเตรยี มความพร้อมรบั มือกบั สาธารณภัยทเ่ี กิดขึ้น นอกจากน้ี ต้องให้ความสำ� คัญกบั การแปลงแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติสแู่ ผนระดับตา่ ง ๆ ของหน่วยงาน (Mainstreaming) เพื่อให้มีแผนงานบูรณาการท่ีเชื่อมโยงกันตามบทบาทหน้าท่ีของหน่วยงานที่ก�ำหนดไว้ในแผน ระดบั ชาติ โดยการกำ� หนดใหผ้ ปู้ ระสานงานดา้ นการลดความเสย่ี งจากภยั พบิ ตั ิ (DRR Focal Point) ระดบั กระทรวง ทแี่ ต่งต้งั ขึ้นแลว้ เป็นพ่เี ลีย้ ง (Mentor) ด�ำเนินการดังกลา่ ว ทงั้ นี้ ยังตอ้ งมีการสนบั สนนุ ใหม้ ีการจัดสรรงบประมาณ ใหแ้ ผนงานบรู ณาการดา้ นการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผลสมั ฤทธเิ์ พอื่ ลดความสญู เสยี และความเสยี หายของประชาชนและประเทศ (3) ด้านผลสมั ฤทธ์ิ การใหค้ วามส�ำคัญระบบขอ้ มลู หมายถงึ ข้อมลู ฐาน และฐานข้อมลู เพื่อใช้สนับสนนุ การตัดสนิ ใจ เชิงนโยบายที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โดยระบบข้อมูลน้ันต้องมีคุณภาพ มีการแบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงาน มกี ารประสานขอ้ มลู การแลกเปลย่ี น และการใชข้ อ้ มลู วเิ คราะหร์ ว่ มกนั ดว้ ยเทคโนโลยี รวมทง้ั ผดู้ แู ลระบบการจดั การ ข้อมูลต้องมีศักยภาพและสมรรถนะเพ่ือให้ได้มาซึ่งข้อมูลท่ีมีมาตรฐาน ส�ำหรับให้ผู้บริหารสามารถใช้ข้อมูลในการ ตัดสนิ ใจเชิงนโยบายบนพน้ื ฐานของขอ้ มลู ทีเ่ ชือ่ ถอื ได้ 16 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
1.5.2 บทเรยี นจากการจัดการสาธารณภัยของประเทศไทยทผ่ี ่านมา บทเรยี นจากการจดั การสาธารณภัยของประเทศไทยทเี่ กิดขึ้น รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ง ไดแ้ ก่ อทุ กภยั อำ� เภอบางสะพาน จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ วกิ ฤตถำ้� หลวง จงั หวดั เชยี งราย เรอื ฟนิ กิ ซล์ ม่ จงั หวดั ภเู กต็ พายุโซนร้อนปาบึก ในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย กรณีเหตุระเบิดโรงงานผลิตสารเคมี หมิงตี้ เคมีคอล จ�ำกัด จงั หวดั สมทุ รปราการ และกรณโี รคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ แนวทาง การพัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยท่ีต้องท�ำทั้งระบบ ตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุ ดังน้ัน การเตรยี มทรัพยากรแบบบรู ณาการร่วมกนั ระหวา่ งหน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งในการปฏิบตั ิงาน การใชก้ ลไกระดบั นโยบายและระดบั ปฏบิ ตั ใิ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ทง้ั ระบบ ตงั้ แตร่ ะดบั ชาตจิ นถงึ ระดบั พน้ื ท่ี การมรี ะบบการแจง้ เตอื นภยั ลว่ งหนา้ การชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั การบรรเทาทกุ ข์ และฟน้ื ฟผู ปู้ ระสบภยั ที่มีประสทิ ธภิ าพ โดยได้ด�ำเนินงานทส่ี �ำคญั ใน 3 ประเดน็ ดังต่อไปน้ี (1) ด้านโครงสร้าง องคก์ ร และกลไกการจดั การสาธารณภัย กลไกการจัดการสาธารณภัยที่มีอยู่สามารถท�ำงานได้อย่างเป็นระบบเพิ่มขึ้นภายใต้ข้ันตอน มาตรฐานในการปฏิบัติในภาวะฉุกเฉิน การประกาศเขตพื้นท่ีประสบสาธารณภัยเป็นเคร่ืองมือส�ำคัญในการสร้าง ความเปน็ เอกภาพมากขึน้ ในการบริหารจดั การให้สว่ นราชการระดบั ต่าง ๆ สามารถให้ความช่วยเหลอื ผู้ประสบภัย ได้ตามกฎหมายและระเบียบท่ีเก่ยี วขอ้ ง มีการน�ำระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command System: ICS) มาใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านใหม้ คี วามเปน็ เอกภาพมากขน้ึ ในการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ โดยสง่ เสรมิ ใหม้ กี าร ส่อื สารความเสีย่ ง (Risk Communication) และทมี สนบั สนนุ การจัดการเหตกุ ารณ์เข้าไวใ้ นโครงสรา้ ง (2) ด้านกระบวนการวางแผน และการสนบั สนุน การบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ มักจะด�ำเนินการในช่วงภาวะวิกฤติมากกว่าในช่วง ก่อนเกิดภัย ซึ่งจะด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าท่ีหรือภารกิจของแต่ละหน่วยงาน ข้อจ�ำกัด ด้านบุคลากร อุปกรณ์ เคร่ืองมือ องค์ความรู้ ประสบการณ์ ท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ อีกท้ังปัจจุบันโอกาสการเกิดภัยมักจะเกิด ภัยซ�้ำซ้อน (Compound Hazard) ท่ีต้องใช้วิธีการจัดการท่ีมีความแตกต่างกับภัยท่ีเกิดขึ้น แตกต่างจากภัยแรก และตอ้ งสอดคลอ้ งตามหลกั วชิ าการและมาตรฐานหลกั สากล รวมทง้ั การพฒั นาใหม้ มี าตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (SOP) ทมี่ แี นวทางปฏบิ ตั แิ ละทศิ ทางทช่ี ดั เจน การสนบั สนนุ ใหม้ กี ารวางแผนทเ่ี ปน็ ระบบโดยกำ� หนดหนว่ ยงานเพอื่ บรู ณาการ การระดมทรัพยากรเข้าสู่พื้นที่ประสบภัยและการปฏิบัติอย่างเป็นมาตรฐาน นอกจากนี้ ความมีสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างหน่วยงานและทุกภาคส่วนในการประสานและสนับสนุนการปฏิบัติจะเป็นแรงขับเคล่ือนให้ปฏิบัติการเป็น ไปตามแผนท่ีก�ำหนดไว้มคี วามส�ำคัญอย่างยิ่ง (3) ดา้ นองค์ความรู้ และขอ้ มูลเกีย่ วกบั สาธารณภัย การประเมินความเส่ียงตามมาตรฐานหลักสากลเพ่ือให้ได้มาซ่ึงฐานข้อมูลและข้อมูลฐาน ความเส่ียงของภัย เพ่ือใช้ในการสนับสนุนการด�ำเนินการลดความเส่ียงจากสาธารณภัยต้องเป็นรูปธรรม ท่ีชัดเจน และครอบคลมุ ทกุ พนื้ ทคี่ วามเสย่ี ง ทงั้ นี้ การสง่ เสรมิ ใหห้ นว่ ยงานมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารจดั การ ในภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Operation Center: EOC) เพื่อใหก้ ารจัดการมีมาตรฐาน เป็นเอกภาพ และยืดหยุ่น ไดม้ ากขน้ึ การมงุ่ เนน้ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารระหวา่ งหนว่ ยงาน เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ในการตดั สนิ ใจและการวางแผนจะท�ำให้การปฏิบัติการ การบรรเทา หรือฟื้นฟูสามารถแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นได้รวดเร็ว ทันต่อ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 17
เหตุการณ์ และยั่งยนื เพอ่ื หลกี เลย่ี งการเกดิ สาธารณภัยที่ซ�ำ้ ซากและผลกระทบท่ีได้รบั ลดนอ้ ยลง นอกจากนี้ ต้องมี การผลกั ดนั ใหป้ ระเทศจดั ตงั้ สถาบนั ดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของประเทศเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร ใหม้ คี วามเชยี่ วชาญและความเปน็ มอื อาชพี ทมี่ ที กั ษะ ความรู้ และสมรรถนะดา้ นการจดั การสาธารณภยั ของประเทศ สำ� หรบั การฟน้ื ฟทู ดี่ กี วา่ และปลอดภยั กวา่ เดมิ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม จะตอ้ งสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหม้ กี ารวางกรอบการ ฟืน้ ฟูของประเทศ (Recovery Framework) ดว้ ยการประเมินความต้องการหลงั เกิดภยั (Post-Disaster Needs Assessment: PDNA) และการวจิ ยั การนำ� เทคโนโลยี นวตั กรรม และภมู ปิ ญั ญาปรบั ใชใ้ นการบรหิ ารจดั การสาธารณภยั ใหม้ ีประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ 1.6 บทสรปุ จากสถติ สิ าธารณภยั การทบทวนผลการปฏบิ ตั ิ และบทเรยี นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทผ่ี า่ นมา พบวา่ สาธารณภยั คงสง่ ผลกระทบตอ่ ทศิ ทางการพฒั นาของประเทศทงั้ มติ ดิ า้ นเศรษฐกจิ สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม รวมถงึ ดา้ นความมนั่ คงของประเทศ นอกจากน้ี จากการสรา้ งภาพอนาคตเชงิ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Foresight) ยงั ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ สาธารณภยั และการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เปน็ ภยั คกุ คามทส่ี ามารถนำ� ไปสภู่ าวะวกิ ฤตได้ โดยจะท�ำให้สาธารณภัยมีความถ่ีและรุนแรงมากข้ึนกว่าเดิม รวมทั้ง สร้างความสูญเสียชีวิตและความเสียหายขึ้น ดังนั้น การให้ความส�ำคัญในการลงทุนเพื่อลดความเส่ียงจากสาธารณภัยในวันนี้เพื่อจะได้มีความปลอดภัยยิ่งข้ึน ในวันข้างหน้า (Invest today for a safer tomorrow) เปน็ การลงทนุ เพื่อการปอ้ งกนั ทมี่ ีความคุม้ คา่ ที่สดุ และหาก ผนวกกับการรู้ก่อน รุกก่อน (Next Normal) รู้เท่าทันภัยไปกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ดว้ ยแลว้ จะทำ� ให้ การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ของประเทศเกดิ ผลสมั ฤทธแ์ิ ละประโยชน์ สงู สุดใหแ้ กป่ ระชาชนทกุ ภาคส่วน อน่งึ ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี เปา้ หมายการพัฒนาประเทศในระยะยาว ประกอบด้วย แผนแม่บทย่อยภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง รวมถึงนโยบาย แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ และแผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจาก สถานการณ์โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) พ.ศ. 2564 - 2565 ซง่ึ เป็นกรอบการพฒั นาประเทศท่ีได้ กล่าวถึงการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยเปน็ สาระส�ำคัญในการพัฒนาไว้อกี ด้วย จากข้อมลู ท่ีไดก้ ลา่ วมาขา้ งตน้ นี้ คณะกรรมการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ จึงไดใ้ ช้แนวคดิ “Smart DRM for 3s: การจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภยั แบบอัจฉริยะ” เพอ่ื กําหนดนโยบาย การป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยของประเทศ และเป็นทมี่ าของสาระสําคัญ อาทิ แนวทาง มาตรการ และงบประมาณทจี่ าํ เปน็ ตองใชในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พร้อมทั้ง วิธีการให้ความชวยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนท่ีเกิดข้ึน เฉพาะหนา้ และระยะยาวเมอ่ื เกดิ สาธารณภยั การอพยพ และการสงเคราะหผ์ ปู้ ระสบภยั การแกไ้ ขปญ หาดา้ นการสอื่ สาร และการสาธารณูปโภค รวมถึงการใหความชวยเหลือประชาชนภายหลังท่ีสาธารณภัยส้ินสุด เป็นต้น ท่ีระบุไว้ใน แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ฉบับน้ี โดยมีกรอบแนวคิดในการปฏิบัติ (Concept of Operations : CONOPs) ดังต่อไปนี้ 18 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
บทท่ี 1 สถานการณ์และแนวโน้มสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้นทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ ปฏทิ ิน สาธารณภัย รวมท้ังความเชื่อมโยงกรอบการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยกับกรอบการด�ำเนินงานระดับนานาชาติและ ประเทศ บทที่ 2 นโยบายการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ วิสัยทัศน์ เปา้ หมาย ตัวชี้วดั ยทุ ธศาสตร์ การจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภัย รวมทัง้ แหลง่ ทม่ี าและวธิ กี ารงบประมาณ บทท่ี 3 หลักการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ได้แก่ บทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานบูรณาการ ขอบเขตสาธารณภัย ระดับการจัดการ รวมถึงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความเสี่ยงจาก สาธารณภยั บทท่ี 4 ยุทธศาสตรก์ ารจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภัย แบง่ เป็น 2 ส่วน ส่วนท่ี 1 การลดความเส่ียงจากสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพ (ภาคการพัฒนา) ประกอบด้วย ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การมงุ่ เนน้ การลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การ และประยกุ ตใ์ ชน้ วตั กรรมดา้ นสาธารณภยั และยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การสง่ เสรมิ ความเปน็ หนุ้ สว่ นระหวา่ งประเทศในการ จัดการความเส่ียงจากสาธารณภยั ส่วนที่ 2 การจดั การสาธารณภยั ให้มีมาตรฐาน (ภาคการปฏิบตั )ิ ประกอบด้วย ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การจดั การในภาวะฉุกเฉินแบบบูรณาการ และยุทธศาสตร์ท่ี 5 การเพม่ิ ประสิทธิภาพการฟ้ืนฟอู ย่างยั่งยนื บทที่ 5 การขบั เคลอ่ื นและตดิ ตามประเมินผลแผน ได้แก่ การขับเคลื่อนแผนไปสกู่ ารปฏิบัติ การตดิ ตาม และประเมินผล การวจิ ยั และพฒั นา รวมถึงการทบทวนแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย สรุปได้ว่ากรอบแนวคิดในการปฏบิ ตั ิ (Concept of Operations : CONOPs) ของแผนการปอ้ งกันและ บรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ฉบับนี้ ท�ำให้การจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภัย ของประเทศ ไปสู่เปา้ หมายสงู สดุ คือ “การรูร้ ับ - ปรับตัว - ฟนื้ เร็วทั่ว - อย่างย่งั ยนื (Resilience)” แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 19
2บทที่ นโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการความเส่ียง จากสาธารณภัย การป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของประเทศไทยมเี ปา้ หมายสูงสุด คือ “การรรู้ บั - ปรบั ตวั - ฟืน้ เร็วทั่ว - อยา่ งยงั่ ยนื (Resilience)” โดยนำ� กรอบนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ กรอบแนวคดิ ทงั้ ในและตา่ งประเทศ แนวโนม้ สถานการณ์ ภยั ของโลกและประเทศไทยทเ่ี พมิ่ มากขนึ้ รวมทง้ั บทเรยี นการจดั การสาธารณภยั ทผ่ี า่ นมา เพ่ือทบทวน ปรับปรุง และ จัดท�ำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั การ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ โดยเม่ือคณะรัฐมนตรีอนุมัติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติฉบับดงั กลา่ วแลว้ ให้หนว่ ยงานของรัฐและองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ปฏิบัติการใหเ้ ปน็ ไปตาม แผนและใช้เป็นแผนแมบ่ ท (Master Plan) ในการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภยั ของประเทศ โดยมสี าระส�ำคัญ ดังนี้ 2.1 นโยบายการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ 2.1.1 มงุ่ เนน้ การลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั ดว้ ยการสรา้ งความตระหนกั รใู้ หท้ กุ ภาคสว่ นของสงั คมไทย เข้าใจความเส่ียงจากสาธารณภัยให้ครอบคลุมทุกมิติ เพื่อน�ำไปประเมินความเส่ียงและการใช้ข้อมูลความเสี่ยง ประกอบการวางแผน การลงทนุ และการตัดสินใจอยา่ งรู้เท่าทนั ภัย 2.1.2 ส่งเสรมิ การวิจัยและประยุกต์ใช้นวตั กรรม เทคโนโลยี และภมู ปิ ญั ญา โดยการยกระดับศกั ยภาพ การจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภัยของประเทศ 2.1.3 เสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนในการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานเครอื ขา่ ย ทั้งภายในประเทศและระหวา่ งประเทศใหค้ รอบคลมุ ทกุ มติ ิ 2.1.4 เสริมสร้างความเข้มแข็งการบูรณาการกับทุกภาคส่วนให้ยกระดับมาตรฐานระบบการจัดการ ในภาวะฉุกเฉินของประเทศให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการจัดการสาธารณภัยทุกระดับ พร้อมท้ัง การบรรเทาทุกขแ์ ละช่วยเหลือสงเคราะหผ์ ูป้ ระสบภยั ไดอ้ ย่างรวดเร็ว ทวั่ ถึง และทันต่อเหตกุ ารณ์ 2.1.5 พัฒนาระบบการฟื้นฟูอย่างย่ังยืนโดยจัดให้มีการซ่อมสร้างและฟื้นฟูให้กลับคืนสู่สภาวะปกติโดย เร็วหรอื ให้ดกี วา่ และปลอดภัยกว่าเดมิ เพื่อลดความเสย่ี งเดมิ และป้องกนั ความเส่ยี งใหม่ 2.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาต ิ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติฉบับนี้ เป็นแผนก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินการจัดการ ความเสีย่ งจากสาธารณภัยของประเทศใหไ้ ปสู่เปา้ หมายเดียวกันอยา่ งเปน็ รูปธรรม พร้อมทง้ั การก�ำหนดมาตรฐาน เปา้ หมาย และการปฏบิ ตั งิ านใหม้ คี วามเชอ่ื มโยงในทกุ ระดบั โดยแบง่ เปน็ สองสว่ นหลกั ไดแ้ ก่ ภาคการพฒั นาในการ ลดความเสย่ี งใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และภาคการปฏบิ ตั ใิ นการจดั การสาธารณภยั ใหม้ มี าตรฐาน ดงั นน้ั เพอื่ ใหท้ กุ ภาคสว่ น จัดการความเสีย่ งจากสาธารณภัยอยา่ งบรู ณาการจึงกำ� หนดให้แผน มวี ัตถุประสงค์ดงั ตอ่ ไปนี้ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 21
2.2.1 เพ่ือเป็นกรอบแนวคิดในการปฏิบัติ (Concept of Operations : CONOPs) ให้แก่หน่วยงาน ทกุ ภาคสว่ น ไดแ้ ก่ องคก์ รภาครฐั ภาคธรุ กจิ และภาคประชาสงั คม ตง้ั แตร่ ะดบั ทอ้ งถนิ่ ถงึ ระดบั ประเทศในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยอย่างบูรณาการ เป็นระบบ และมีทศิ ทางเดียวกัน 2.2.2 เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติและทิศทางการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยซ่ึงเป็นท่ียอมรับมา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของประเทศไทย และสามารถนำ� ไปปรบั ใช้ ในการจัดท�ำแผนทกุ ระดบั เพื่อให้การจดั การมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผล และเกิดผลสัมฤทธ์ิ เชน่ แผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด/กรงุ เทพมหานคร แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยอำ� เภอ แผนปฏบิ ัตกิ าร ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แผนปฏบิ ตั กิ ารของหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย และแผนสนบั สนุนการปฏิบัตงิ านในภาวะฉุกเฉินดา้ นตา่ ง ๆ เปน็ ต้น 2.2.3 เพอื่ พฒั นาขดี ความสามารถการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ประกอบดว้ ย การลดความเสยี่ ง จากสาธารณภยั (Disaster Risk Reduction) การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Management) และการฟน้ื ฟู ใหด้ กี วา่ และปลอดภยั กวา่ เดมิ (Build Back Better and Safer) ตง้ั แตร่ ะดบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ อำ� เภอ จงั หวดั ถงึ ระดบั ประเทศ และระดบั นานาชาติ เพ่ือน�ำไปสูเ่ ป้าหมายสงู สุด คอื “การรู้รบั - ปรบั ตวั - ฟื้นเรว็ ทั่ว - อย่างยง่ั ยืน (Resilience)” 2.3 วิสยั ทัศน์ สงั คมไทยสามารถลดความเสย่ี งเดมิ ปอ้ งกนั ความเสย่ี งใหมไ่ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ใหป้ ระเทศมคี วามมน่ั คง อย่างปลอดภยั และย่งั ยนื 2.4 พันธกจิ 2.4.1 มงุ่ สรา้ งความตระหนกั รู้ เขา้ ใจความเสย่ี งจากสาธารณภยั และจดั การความเสย่ี งไดอ้ ยา่ งปลอดภยั 2.4.2 บรู ณาการดา้ นขอ้ มลู องคค์ วามรู้ ภมู ปิ ญั ญา เทคโนโลยี การลงทนุ บคุ ลากร และองคก์ รทเี่ กยี่ วขอ้ ง กบั การศึกษา วิจัย และนวตั กรรมด้านสาธารณภยั 2.4.3 เสรมิ สรา้ งความเปน็ หนุ้ สว่ นโดยการมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาดา้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ทงั้ ภายในประเทศและระหวา่ งประเทศ 2.4.4 ยกระดบั ระบบมาตรฐานการจดั การในภาวะฉุกเฉินอยา่ งบรู ณาการ 2.4.5 เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการฟน้ื สภาพ การซอ่ มสรา้ งและฟน้ื ฟใู หก้ ลบั คนื สสู่ ภาวะปกตโิ ดยเรว็ รวมทง้ั พฒั นา ให้ดกี ว่าและปลอดภัยกว่าเดมิ 2.5 เป้าหมาย 2.5.1 การลดความเสย่ี งท่มี ีอยเู่ ดิมและปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กิดความเส่ียงใหม่ 2.5.2 การประยกุ ตใ์ ชง้ านวจิ ยั นวตั กรรม เทคโนโลยี และภมู ปิ ญั ญา เพอ่ื ใหท้ กุ ภาคสว่ นรเู้ ทา่ ทนั การจดั การ ความเส่ยี งจากสาธารณภัย 2.5.3 การเปน็ หนุ้ สว่ นทง้ั ภายในประเทศและระหวา่ งประเทศ เพอ่ื เพมิ่ ศกั ยภาพดา้ นการจดั การความเสยี่ ง จากสาธารณภยั อยา่ งเข้มแขง็ และตอ่ เนอ่ื ง 22 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
2.5.4 ระบบการจัดการในภาวะฉกุ เฉนิ ทมี่ มี าตรฐาน ยดื หยุน่ และมเี อกภาพอย่างบูรณาการ 2.5.5 ระบบการฟืน้ ฟอู ย่างยั่งยนื ในทกุ ระดบั ใหด้ ีกว่าและปลอดภัยกวา่ เดมิ 2.6 ตัวช้ีวดั ความส�ำเร็จในการจดั การความเส่ียงจากสาธารณภยั ของประเทศ ประเทศไทยไดใ้ หก้ ารรบั รองกรอบการดำ� เนนิ งานเซนไดเพอ่ื การลดความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ิ พ.ศ. 2558 - 2573 หรอื “กรอบเซนได” เม่ือเดอื นมนี าคม พ.ศ. 2558 โดยมีระยะเวลา 15 ปี ดงั นัน้ เพือ่ ใหก้ ารดำ� เนนิ งาน ของประเทศ มคี วามสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายระดบั โลก คอื 4 ลด 3 เพมิ่ ภายใตก้ รอบเซนไดดงั กลา่ ว จงึ กำ� หนดตวั ชวี้ ดั ความสำ� เรจ็ ในการจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภยั ของประเทศ ดงั น้ี ตัวช้ีวัด เป้าหมาย 2.6.1 การลด (1) อัตราการเสียชีวติ จากสาธารณภัยตอ่ ประชากร 100,000 คน ความสูญเสยี (2) จำ� นวนผ้ไู ด้รับผลกระทบจากสาธารณภยั ตอ่ ประชากร 100,000 คน และความเสยี หาย (3) ความสญู เสยี ทางเศรษฐกจิ ทเี่ กดิ จากสาธารณภยั โดยตรงตอ่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมของประเทศ (4) ความเสียหายจากสาธารณภัยที่มีต่อโครงสร้างพื้นฐานท่ีส�ำคัญ และการหยุดชะงัก ของบริการสาธารณะข้ันพื้นฐาน รวมถึงสถานพยาบาลและสถานศึกษาด้วยการพัฒนา โครงสร้างและบริการพื้นฐานให้มีความพร้อมรับมือและสามารถฟื้นกลับได้เร็วเมื่อเกิด สาธารณภยั 2.6.2 การเพิม่ (1) จำ� นวนแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทป่ี ระกอบดว้ ยประเดน็ การจดั การความเสยี่ ง ศักยภาพในการ จากสาธารณภัย จัดการความเส่ียง (2) ความเป็นหนุ้ ส่วนระหวา่ งประเทศด้านการจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภัย อยา่ งยง่ั ยืน จากสาธารณภยั (3) ขดี ความสามารถระบบเตอื นภยั โดยการจดั หาเทคโนโลยี เครอื่ งมอื อปุ กรณ์ และประชาชน สามารถเข้าถึงการแจง้ เตอื นภยั และข้อมลู ความเส่ียงสาธารณภัย 2.7 ยทุ ธศาสตร์การจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภัย ยุทธศาสตร์ของแผนฉบับน้ี เป็นการตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมาย ให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ตลอดจนยกระดับการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยไปสู่มาตรฐานตามหลักสากล เพือ่ สรา้ งการรู้เทา่ ทนั ภยั และภูมิค้มุ กนั ให้กบั ทกุ ภาคส่วน ประกอบดว้ ย 5 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การมุ่งเนน้ การลดความเส่ียงจากสาธารณภัย ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจัดการและประยุกต์ใชน้ วัตกรรมด้านสาธารณภยั ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การส่งเสรมิ ความเปน็ ห้นุ สว่ นระหวา่ งประเทศในการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การจัดการในภาวะฉุกเฉินแบบบูรณาการ ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การเพม่ิ ประสิทธิภาพการฟนื้ ฟูอย่างย่ังยนื แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 23
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การมุง่ เน้นการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั (1) เป้าประสงค์ (1.1) เพือ่ จัดการความเสีย่ งที่อาจเกดิ ขึน้ โดยการลดความเปราะบาง และความลอ่ แหลม พร้อมทัง้ การเพมิ่ ขดี ความสามารถในการเตรียมพร้อมรบั กับสาธารณภยั ท่เี กดิ ขนึ้ (1.2) เพอื่ ใหท้ กุ ภาคสว่ นดำ� เนนิ มาตรการลดความเสย่ี งทมี่ อี ยเู่ ดมิ และปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ความเสยี่ งใหม่ (2) กลยุทธ์ (2.1) พัฒนาและส่งเสริมให้มีระบบการประเมินความเสี่ยงจากสาธารณภัยทุกระดับ (ระดับชาติ จงั หวดั อ�ำเภอ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน) (2.2) พัฒนามาตรการลดความเสี่ยงจากสาธารณภยั (2.3) ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนและทุกระดับเสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนในการลดความเส่ียง จากสาธารณภยั ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การเพิม่ ประสทิ ธิภาพระบบบริหารจดั การและประยุกตใ์ ช้นวัตกรรมด้านสาธารณภยั (1) เป้าประสงค์ (1.1) เพอื่ เสรมิ สรา้ งระบบบรหิ ารจดั การ การวจิ ยั นวตั กรรม เทคโนโลยี และภมู ปิ ญั ญา ใหก้ ารจดั การ ความเสยี่ งจากสาธารณภยั โดยระบบอจั ฉรยิ ะอย่างมีประสทิ ธภิ าพ (1.2) เพอื่ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ดว้ ยการรเู้ ทา่ ทนั ภยั ใหก้ บั ประชาชนทกุ ชว่ งวยั อยา่ งเสมอภาคและการมสี ว่ นรว่ ม ของผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย (Stakeholder) จากทุกภาคส่วน (2) กลยุทธ์ (2.1) พฒั นาระบบสารสนเทศด้านสาธารณภยั (2.2) พฒั นาการจัดการองคค์ วามร้ดู ้านการจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภยั (2.3) พัฒนาการสื่อสารความเสย่ี งจากสาธารณภัยทมี่ ปี ระสิทธิภาพ (2.4) สง่ เสรมิ การลงทนุ ดา้ นการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั แบบมสี ว่ นรว่ มจากภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม ในระดบั ชาติ จงั หวัด อำ� เภอ และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (2.5) เสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วน ในการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภยั 24 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การส่งเสริมความเป็นหนุ้ สว่ นระหว่างประเทศในการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย (1) เปา้ ประสงค์ (1.1) เพอื่ ใหท้ กุ ภาคสว่ นมคี วามตระหนกั และเขา้ รว่ มเปน็ หนุ้ สว่ นในการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั อย่างยง่ั ยืน (1.2) เพอื่ ยกระดบั มาตรฐานการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ในระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ (1.3) เพือ่ ยกระดับการประสานความช่วยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมอย่างมีเอกภาพ (2) กลยทุ ธ์ (2.1) เสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยระหว่าง ประเทศ (2.2) พฒั นาระบบการประสานความช่วยเหลือดา้ นมนษุ ยธรรมทม่ี เี อกภาพ (2.3) ยกระดบั มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านด้านมนษุ ยธรรม (2.4) สง่ เสริมความเป็นประเทศที่มีบทบาทนำ� ดา้ นการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภัย ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การจัดการในภาวะฉกุ เฉินแบบบูรณาการ (1) เปา้ ประสงค์ (1.1) เพ่ือยกระดับมาตรฐานระบบการจัดการในภาวะฉุกเฉินให้เป็นไปอย่างมีมาตรฐาน เอกภาพ และยดื หยนุ่ โดยการบรู ณาการความรว่ มมอื จากทกุ ภาคส่วนใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล (1.2) เพอื่ ใหผ้ ปู้ ระสบภยั ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื บรรเทาทกุ ขอ์ ยา่ งรวดเรว็ ทว่ั ถงึ และทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ (1.3) เพอ่ื ลดความสญู เสยี ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชนทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากสาธารณภยั ใหน้ อ้ ย ท่สี ดุ (2) กลยทุ ธ์ (2.1) พัฒนามาตรฐานการจัดการในภาวะฉกุ เฉนิ อยา่ งมเี อกภาพ (2.2) พฒั นาระบบและเครื่องมอื สนบั สนนุ การเผชิญเหตุ (2.3) เพม่ิ ประสิทธิภาพระบบและแนวปฏิบัติในการบรรเทาทกุ ข์ แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 25
ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การเพ่ิมประสิทธิภาพการฟ้นื ฟอู ย่างยัง่ ยืน (1) เปา้ ประสงค์ (1.1) เพื่อฟื้นฟูให้ผู้ประสบภัยได้รับการสงเคราะห์ช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว ท่ัวถึง ต่อเนื่อง เปน็ ธรรม สอดรับกบั ความจ�ำเป็นในการใหค้ วามชว่ ยเหลือ และสามารถกลบั ไปด�ำรงชีวิตได้ตามปกติ (1.2) เพ่ือฟื้นฟูพื้นที่ประสบภัยให้มีการซ่อมสร้างและฟื้นสภาพให้กลับคืนสู่สภาวะปกติโดยเร็ว หรอื ให้ดีกวา่ และปลอดภัยกวา่ เดมิ (2) กลยุทธ์ (2.1) พฒั นาระบบการประเมินความเสยี่ งหลงั เกิดสาธารณภยั เพ่อื การฟ้นื ฟูท่ีดกี ว่าเดมิ (2.2) พัฒนาแนวทางบริหารจดั การด้านการฟ้นื ฟู (2.3) เสริมสร้างแนวทางการฟนื้ ฟูใหด้ ีกว่าและปลอดภยั กวา่ เดมิ (Build Back Better and Safer) 26 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนท่ยี ุทธศาสตร์ (Strategy Map) แผนการปอ้ งกันและบรรเทา พ.ศ. 2561 - 2580 สาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ดา้ นความม่นั คง พ.ศ. 2561 - 2580 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การมุ่งเน้นการลดความเส่ียงจาก 4.2 การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาทมี่ ผี ลกระทบตอ่ สาธารณภยั ความมนั่ คง ประเดน็ ที่ 1 : ประเดน็ ความม่ันคง กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนาและส่งเสริมให้มีระบบการประเมิน 4.2.1 การแก้ไขปญั หาความมน่ั คง แผนยอ่ ย การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาทม่ี ผี ลกระทบ ความเส่ียงจากสาธารณภัยทุกระดับ (ระดับชาติ จังหวัด (ปัญหาภยั พบิ ตั ิท่สี �ำคัญ) ตอ่ ความมั่นคง อ�ำเภอ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ) ประเด็นที่ 7 : ประเดน็ โครงสร้างพน้ื ฐาน ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ระบบโลจิสติกสแ์ ละดจิ ิทัล กลยทุ ธ์ท่ี 2 : พัฒนามาตรการลดความเส่ียงจากสาธารณภัย 4.2 อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแห่งอนาคต พัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานด้านดจิ ิทัล กลยทุ ธท์ ี่ 3 : ส่งเสริมให้ทกุ ภาคสว่ นและทกุ ระดบั เสริมสรา้ ง 4.2.5 อตุ สาหกรรมความมัน่ คงของประเทศ ความเปน็ หุ้นส่วนในการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั ประเดน็ ที่ 19 : การบรหิ ารจดั การน้ำ� ทง้ั ระบบ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพม่ิ ประสิทธิภาพระบบบริหาร ดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ ร การพัฒนาจัดการน�้ำเชิงลุ่มน้�ำทั้งระบบ เพ่ือเพ่ิม จัดการและประยุกตใ์ ชน้ วตั กรรมด้านสาธารณภยั กับสง่ิ แวดลอ้ ม ความมั่นคงดา้ นน้ำ� ของประเทศ กลยุทธ์ท่ี 1 : พฒั นาระบบสารสนเทศด้านสาธารณภัย 4.3 การสรา้ งการเตบิ โตอยา่ งยง่ั ยนื บนสงั คมทเี่ ปน็ มติ ร - ระดับการรับมอื กบั ภัยพิบัตดิ า้ นน้ำ� เพมิ่ ขึน้ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนาการจัดการองค์ความรู้ด้านการจัดการ ตอ่ สภาพภมู ิอากาศ ความเสย่ี งจากสาธารณภัย 4.3.2 มีการปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 กลยทุ ธท์ ี่ 3 : พฒั นาการส่อื สารความเสยี่ งจากสาธารณภยั จากภัยธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการ (พ.ศ. 2560 - 2565) ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ เปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ กลยุทธท์ ่ี 4 : สง่ เสรมิ การลงทุนด้านการจดั การความเสย่ี ง 4.5 การพัฒนาความม่ันคงนำ้� พลังงานและเกษตร ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสร้างความเป็นธรรมและลด จากสาธารณภัยแบบมีสว่ นร่วมจากภาครัฐ ภาคเอกชน ทเี่ ปน็ มิตรต่อสิง่ แวดลอ้ ม ความเหลอ่ื มลำ้� ในสงั คม เพมิ่ ศกั ยภาพชมุ ชนใหเ้ ขม้ แขง็ และภาคประชาสังคม ในระดบั ชาติ จังหวัด อ�ำเภอ 4.5.1 พัฒนาการจัดการน�้ำเชิงลุม่ น้�ำทง้ั ระบบ พึง่ พาตนเอง และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ เพ่ือเพม่ิ ความมนั่ คงด้านนำ้� ของประเทศ 3.3 เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพชมุ ชน การพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชน กลยทุ ธท์ ี่ 5 : เสริมสร้างการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน และสรา้ งความเขม้ แข็ง พ่งึ พาตนเอง ในการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภยั ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ าร ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การเตบิ โตทเ่ี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 : การส่งเสรมิ ความเปน็ หนุ้ ส่วนระหวา่ ง จัดการภาครฐั เพอ่ื การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ าร ประเทศในการจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภยั 4.1 ภาครัฐที่ยึดประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลาง จดั การ เพอื่ ลดความเสย่ี งจากภยั พบิ ตั ิ ความสญู เสยี กลยุทธท์ ่ี 1 : เสริมสรา้ งความเป็นหุ้นส่วนยทุ ธศาสตร์ ตอบสนองความตอ้ งการ ในชีวิตและทรัพย์สนิ ทเี่ กิดจากสาธารณภยั ลดลง ด้านการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภยั ระหว่างประเทศ 4.1.2 ภาครัฐมีความเชอ่ื มโยงในการใหบ้ รกิ าร 3.6 บริหารจดั การเพื่อลดความเส่ียงด้านภัยพิบัติ กลยุทธ์ท่ี 2 : พัฒนาระบบการประสานความชว่ ยเหลือ สาธารณะต่าง ๆ ผา่ นการน�ำเทคโนโลยดี จิ ิทลั ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การเสรมิ สรา้ งความมนั่ คงแหง่ ชาติ ดา้ นมนุษยธรรมท่มี ีเอกภาพ มาประยุกตใ์ ช้ เพือ่ การพัฒนาประเทศ กลยุทธ์ที่ 3 : ยกระดบั มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน 5.7 การพฒั นาระบบการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นมนษุ ยธรรม ทง้ั ทางบกและทางทะเลของประเทศ กลยทุ ธ์ท่ี 4 : สง่ เสริมความเป็นประเทศทมี่ บี ทบาทน�ำ ยุทธศาสตรท์ ่ี 10 ความร่วมมอื ระหว่างประเทศ ดา้ นการจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภยั เพอ่ื การพัฒนา 3.6 สรา้ งความเปน็ หนุ้ ส่วน การพฒั นากบั ประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 : การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ แบบบรู ณาการ ในอนภุ ูมภิ าค ภมู ภิ าค และนานาชาติ กลยุทธท์ ี่ 1 : พัฒนามาตรฐานการจดั การในภาวะฉุกเฉิน แผนความม่นั คง นโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ดว้ ย อยา่ งมเี อกภาพ ความมั่นคงแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2562 - 2565) กลยทุ ธ์ท่ี 2 : พัฒนาระบบและเคร่อื งมอื สนบั สนนุ การเผชญิ เหตุ แผนงานที่ 4 : การพฒั นาระบบเตรยี มความพรอ้ มแหง่ ชาติ กลยทุ ธท์ ี่ 3 : เพ่ิมประสิทธิภาพระบบและแนวปฏิบตั ิ รองรบั นโยบายที่ 13 พฒั นาระบบการเตรยี มความพรอ้ ม ในการบรรเทาทกุ ข์ แห่งชาตเิ พ่อื เสริมสร้างความมั่นคงแหง่ ชาติ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 : การเพ่มิ ประสิทธิภาพการฟ้ืนฟู แผนภาพที่ 2 – 1 แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) อยา่ งยงั่ ยนื กลยทุ ธท์ ่ี 1 : พฒั นาระบบการประเมนิ ความเสยี่ งหลงั เกดิ สาธารณภยั เพอ่ื การฟน้ื ฟูทีด่ กี วา่ เดมิ กลยทุ ธ์ 2 : พัฒนาแนวทางบริหารจัดการดา้ นการฟ้นื ฟู กลยุทธ์ 3 : เสริมสร้างแนวทางการฟืน้ ฟูให้ดกี วา่ และปลอดภัยกวา่ เดมิ (Build Back Better and Safer) แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 27
2.8 แหล่งที่มาและวิธีการงบประมาณในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย แหลง่ ทม่ี าและวธิ กี ารงบประมาณในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จะตอ้ งเปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั ิ วธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และพระราชบญั ญตั วิ ินยั การเงนิ การคลงั ของรฐั พ.ศ. 2561 ดังน้ี พระราชบญั ญัตวิ ธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 14 งบประมาณรายจา่ ยทก่ี ำ� หนดในพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจำ� ปหี รอื พระราชบญั ญตั ิ งบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม อาจจ�ำแนกได้ดังต่อไปนี้ (1) งบประมาณรายจ่ายงบกลาง (2) งบประมาณรายจ่าย ของหน่วยรับงบประมาณ (3) งบประมาณรายจา่ ยบรู ณาการ (4) งบประมาณรายจา่ ยบคุ ลากร (5) งบประมาณรายจา่ ย ส�ำหรับทุนหมุนเวียน (6) งบประมาณรายจ่ายเพื่อการช�ำระหน้ีภาครัฐ (7) งบประมาณรายจา่ ยเพอ่ื ชดใชเ้ งนิ คงคลงั (8) งบประมาณรายจา่ ยเพอ่ื ชดใชเ้ งนิ ทนุ สำ� รองจา่ ยการจำ� แนกรายจา่ ยใดเปน็ งบประมาณรายจา่ ยตามประเภททก่ี ำ� หนด ในวรรคหน่งึ ใหเ้ ป็นไปตามท่ผี ้อู �ำนวยการกำ� หนด มาตรา 15 งบประมาณรายจา่ ยงบกลาง ไดแ้ ก่ งบประมาณรายจา่ ยทต่ี ง้ั ไวเ้ พอื่ จดั สรรใหแ้ กห่ นว่ ยรบั งบประมาณ ใชจ้ า่ ย โดยแยกตา่ งหากจากงบประมาณรายจา่ ยของหนว่ ยรบั งบประมาณ และใหม้ รี ายการ เงนิ สำ� รองจา่ ยเพอ่ื กรณี ฉกุ เฉนิ หรอื จ�ำเป็นด้วย พระราชบัญญัติวินัยการเงนิ การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 มาตรา 27 การดำ� เนนิ กจิ กรรม มาตรการ หรอื โครงการทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ภาระตอ่ งบประมาณหรอื ภาระทางการคลงั ในอนาคตตามที่คณะกรรมการกำ� หนด ใหห้ น่วยงานของรฐั ซ่งึ เปน็ ผรู้ ับผิดชอบการดำ� เนนิ การนัน้ จดั ท�ำแผนบรหิ าร จดั การกจิ กรรม มาตรการ หรอื โครงการ ประมาณการรายจา่ ยแหลง่ เงนิ ทใ่ี ชต้ ลอดระยะเวลาดำ� เนนิ การ และประโยชน์ ท่ีจะได้รับ โดยต้องเสนอพร้อมกับการขออนุมัติกิจกรรม มาตรการ หรือโครงการต่อคณะรัฐมนตรี และในกรณีที่ การดำ� เนนิ การกอ่ ใหเ้ กดิ การสญู เสยี รายไดข้ องรฐั หรอื ของหนว่ ยงานของรฐั ใหจ้ ดั ทำ� ประมาณการการสญู เสยี รายได้ และประโยชนท์ ี่จะได้รบั เสนอในการขออนุมัตติ อ่ คณะรัฐมนตรีด้วยในการพจิ ารณาอนุมัตกิ จิ กรรม มาตรการ หรือ โครงการตามวรรคหนง่ึ ใหค้ ณะรฐั มนตรพี จิ ารณาความจำ� เปน็ เรง่ ดว่ น ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั และภาระทางการคลงั หรอื การสญู เสยี รายไดท้ จี่ ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตดว้ ย ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ซงึ่ เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบกจิ กรรม มาตรการ หรอื โครงการ จดั ทำ� รายงานเปรยี บเทยี บประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั กบั การสญู เสยี รายไดท้ เี่ กดิ ขน้ึ จรงิ กบั ประมาณการทไี่ ดจ้ ดั ทำ� ตามวรรคหนง่ึ เสนอคณะรฐั มนตรีเพอื่ ทราบเป็นประจ�ำทุกสนิ้ ปีงบประมาณ จนกว่าการด�ำเนินการดงั กลา่ วจะแล้วเสรจ็ 28 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
2.8.1 งบประมาณรายจา่ ยประจ�ำปีของสว่ นราชการ งบประมาณ สาระสำ� คัญ (1) กระทรวง/กรม ให้หน่วยงานระดับกระทรวง และระดับกรมขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี เพื่อด�ำเนินงาน (Function) ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามภารกิจของหน่วยงานท่ีด�ำเนินการรองรับยุทธศาสตร์ ตามท่ีก�ำหนดไว้ในแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ (2) งบประมาณเชงิ พ้นื ท่ี (Area) (2.1) จังหวัดและกลุ่ม (2.1.1) ใหจ้ งั หวดั ตง้ั งบประมาณสำ� หรบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จากสำ� นกั งบประมาณ จังหวัด (Area) ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 โดยการจัดท�ำแผนพัฒนาจงั หวดั แผนพัฒนากลุ่มจงั หวัด แผนปฏบิ ตั ิราชการประจ�ำปขี องจังหวดั แผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีของกลุ่มจังหวัด และค�ำของบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ เพื่อให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดได้มีส่วนร่วมรับผิดชอบ ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยในเขตพ้นื ที่รบั ผดิ ชอบ (2.1.2) ให้จังหวัดขอต้ังงบประมาณและขอรับการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาลเพื่อการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั ไดอ้ กี แนวทางหนึง่ (2.2) กรงุ เทพมหานคร (2.2.1) ให้กรุงเทพมหานครขอต้ังงบประมาณในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพ้ืนที่ ของตนเอง โดยบรรจุไว้ในข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี ซึ่งเป็นไปตามข้อบัญญัติ กรงุ เทพมหานคร เรื่อง วธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. 2563 และทแี่ กไ้ ขเพิม่ เตมิ ให้ครอบคลมุ ด้านการ ดำ� เนนิ งานดา้ นสาธารณภยั กรณฉี กุ เฉนิ หรอื จำ� เปน็ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื และบรรเทาความเดอื ดรอ้ น ทเ่ี กดิ ขน้ึ เฉพาะหนา้ และระยะยาว การอพยพ การจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว การสงเคราะหช์ ว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั และปฏบิ ตั กิ ารใด ๆ ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ ตน้ และการจดั ใหม้ วี สั ดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมอื เคร่อื งใช้ ยานพาหนะ และส่ิงอ่นื ๆ ให้เปน็ ไปตามแผนการปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัยกรุงเทพมหานคร (2.2.2) ให้กรุงเทพมหานคร จัดสรรงบประมาณที่ได้รับจากกรอบงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี เงินอุดหนุนรัฐบาลของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ด�ำเนินงานด้านสาธารณภัย เพื่อท�ำให้ประชาชน มคี วามปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส์ ินไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงทแี ละทัว่ ถงึ (2.3) องค์การบรหิ าร (2.3.1) พระราชบัญญตั อิ งค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด พ.ศ. 2540 และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ส่วนจงั หวัด (อบจ.) มาตรา 45 องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอ�ำนาจหน้าท่ีด�ำเนินกิจการภายในเขตองค์การ บริหารส่วนจังหวดั (8) จัดทำ� กจิ กรรมใด ๆ อนั เปน็ อ�ำนาจหน้าทีข่ องราชการ สว่ นท้องถน่ิ อ่นื ที่อยู่ ในเขตองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั และกจิ การนน้ั เปน็ การสมควร ใหร้ าชการสว่ นทอ้ งถนิ่ อนื่ รว่ มกนั ด�ำเนินการหรอื ใหอ้ งค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั จัดทำ� ทง้ั น้ี ตามทก่ี �ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา 46 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อาจจดั ทำ� กจิ การใด ๆ อนั เปน็ อำ� นาจหนา้ ทขี่ องราชการ ส่วนท้องถิ่นอื่นหรือองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่ืนท่ีอยู่นอกเขตจังหวัดได้ เมื่อได้รับความยินยอม จากราชการส่วนท้องถ่ินอื่นหรือองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่ืน ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงอื่ นไขทกี่ ำ� หนดในกฎกระทรวง (2.3.2) พระราชบญั ญตั กิ ำ� หนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำ� นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ พ.ศ. 2542 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 29
งบประมาณ สาระสำ� คัญ มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนต�ำบลมีอ�ำนาจและหน้าที่ ในการจดั ระบบการบรกิ ารสาธารณะเพอื่ ประโยชนข์ องประชาชนในทอ้ งถน่ิ ของตนเอง (29) การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั มาตรา 17 ภายใต้บังคับมาตรา 16 ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอ�ำนาจหน้าที่ในการ จดั ระบบบรกิ ารสาธารณะเพอื่ ประโยชนข์ องประชาชนในทอ้ งถนิ่ ของตน (22) การปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัย ประกาศคณะกรรมการการกระจายอำ� นาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เรอ่ื ง กำ� หนด อำ� นาจและหนา้ ทีใ่ นการจัดระบบบริการสาธารณะขององคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั (2.3.3) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำ� แผนพฒั นาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ พ.ศ. 2548 ขอ้ 10 คณะกรรมการพฒั นาทอ้ งถน่ิ มอี ำ� นาจหนา้ ท่ี (1) กำ� หนดแนวทางการพฒั นาทอ้ งถนิ่ โดยพิจารณาจาก (1.1) อ�ำนาจหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยเฉพาะอ�ำนาจหน้าท่ีมี ผลกระทบต่อประโยชน์สุขของประชาชน เช่น การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การผังเมือง ในการจดั ทำ� รา่ งแผนพฒั นา ใหเ้ ทศบาล เมอื งพทั ยา องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล และองคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ อนื่ ทมี่ กี ฎหมายจดั ตง้ั นำ� ปญั หาความตอ้ งการจากแผนชมุ ชน ทเ่ี กนิ ศกั ยภาพของชมุ ชน ทจ่ี ะดำ� เนนิ การเองไดม้ าพจิ ารณาบรรจไุ วใ นแผนพฒั นา แตห่ ากเกนิ ศกั ยภาพของเทศบาลเมอื งพทั ยา องค์การบริหารส่วนต�ำบลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดต้ัง ให้เสนอปัญหา ความต้องการไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด และให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดน�ำมาพิจารณา บรรจไุ วในแผนพฒั นาขององคก์ ารบรหิ ารสวนจังหวดั ตามอ�ำนาจหน้าท่ี (2.3.4) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการรบั เงนิ การเบิกจา่ ยเงิน การฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงินขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2547 ข้อ 89 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอาจจ่ายขาดจากเงินสะสมได้ไม่เกินร้อยละส่ีสิบ ของงบประมาณรายจา่ ยเพื่อการลงทนุ ของปนี ัน้ โดยไดร้ บั อนุมตั ิจากสภาทอ้ งถน่ิ ภายใต้เง่ือนไข... ข้อ 91 ภายใต้บังคับข้อ 89 ในกรณีฉกุ เฉนิ ทีม่ สี าธารณภยั เกิดข้ึน ใหผ้ ู้บรหิ ารทอ้ งถิน่ อนุมัติ ใหจ้ า่ ยขาดเงนิ สะสมไดต้ ามความจำ� เปน็ ในขณะนนั้ โดยใหค้ ำ� นงึ ถงึ ฐานะการเงนิ การคลงั ขององคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิ่นน้ัน (2.3.5) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยเงนิ อดุ หนนุ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2559 ข้อ 4 องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ อาจต้ังงบประมาณใหเ้ งินอุดหนนุ หนว่ ยงานที่ขอรับเงนิ อุดหนนุ ได.้ .. (2.3.6) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพ่ือช่วยเหลือประชาชนตามอ�ำนาจหน้าที่ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2560 แก้ไขเพม่ิ เตมิ ถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 30 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
งบประมาณ สาระส�ำคญั (2.4) องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิน่ ขอ้ 6 กรณเี กดิ สาธารณภัยในพน้ื ทีข่ ององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ไมว่ ่าจะมีการประกาศ เขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินหรือไม่ก็ตาม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถดำ� เนนิ การชว่ ยเหลอื ประชาชนในเบอ้ื งตน้ โดยฉบั พลนั ทนั ที เพอ่ื การดำ� รงชพี หรอื บรรเทา ความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหนา้ หรอื ระงบั สาธารณภยั หรอื เพอื่ คมุ้ ครองชวี ติ และทรพั ยส์ นิ หรอื ปอ้ งกนั ภยันตรายที่จะเกิดแก่ประชาชน ได้ตามความจ�ำเป็นภายใต้ขอบอ�ำนาจหน้าท่ีตามกฎหมาย โดยไม่ตอ้ งเสนอคณะกรรมการพิจารณา ในกรณกี ารชว่ ยเหลอื ประชาชน เพอื่ เยยี วยาและฟน้ื ฟหู ลงั เกดิ สาธารณภยั หรอื การสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิต หรือการป้องกันและระงับโรคติดต่อ หรือการช่วยเหลือเกษตรกร ผู้มีรายไดน้ ้อย ให้เสนอคณะกรรมการใหค้ วามเหน็ ชอบก่อน ข้อ 7 กรณมี ีความจ�ำเปน็ ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลอื ประชาชนเพอ่ื เยยี วยาหรอื ฟน้ื ฟู หลงั เกดิ สาธารณภยั ใหอ้ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ดำ� เนินการ ดังนี้ (1) กรณีมีการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ในพน้ื ทเ่ี กดิ ภยั ใหร้ ายงานอำ� เภอ หรอื จงั หวดั หรอื หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพอ่ื พจิ ารณานำ� เงนิ ทดรอง ราชการเพอื่ การชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ัติ ใหค้ วามช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั (2) กรณีมิได้ประกาศเขตให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ในพ้ืนท่ี เกิดภัย ในการช่วยเหลือประชาชน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสนอคณะกรรมการพิจารณา ใหค้ วามช่วยเหลอื ขอ้ 11 การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ประชาชนผปู้ ระสบสาธารณภยั หรอื ภยั พบิ ตั ฉิ กุ เฉนิ มลี กั ษณะ เป็นการช่วยเหลือท่ีจ�ำเป็นที่ต้องแก้ไขโดยฉับพลันในการด�ำรงชีพและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือเป็นการซ่อมแซมให้คืนสู่สภาพเดิม อันเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ สามารถให้ความช่วยเหลือได้ทนั ที ภายใต้ขอบอ�ำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย กรณีสิ่งสาธารณประโยชน์ที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้รับ ความเสียหาย หากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเห็นว่า การซ่อมแซมให้คืนสู่สภาพเดิมจะไม่คุ้มค่า และการกอ่ สรา้ งใหมจ่ ะเกดิ ประโยชนต์ อ่ ทางราชการมากกวา่ ใหเ้ สนอคณะกรรมการเปน็ ผพู้ จิ ารณา ให้ความเหน็ ชอบก่อนการใชจ้ ่ายงบประมาณโดยให้คำ� นงึ ถงึ สถานะทางการคลงั ข้อ 16 (1) การช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย หรือภัยพิบัติฉุกเฉิน ให้องค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถนิ่ พจิ ารณาใชจ้ า่ ยงบประมาณชว่ ยเหลอื ประชาชนตามหลกั เกณฑ์ ของกระทรวงการคลงั โดยอนโุ ลม ขอ้ 18 กรณเี กิดสาธารณภัยฉกุ เฉนิ จำ� เปน็ เร่งดว่ น ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินเบกิ จา่ ย จากงบกลาง ประเภทเงนิ สำ� รองจา่ ย ในขอ้ บญั ญตั หิ รอื เทศบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจำ� ปโี ดย โครงการ ไม่จำ� เปน็ ต้องอยใู่ นแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น (2.4.1) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยในเขตพื้นท่ีของตน เพื่อใช้ด�ำเนินการตั้งแต่ระยะก่อนเกิด ขณะเกิดและหลังเกิด สาธารณภัย โดยเฉพาะงบประมาณเพ่ือให้ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนที่เกิดขึ้น เฉพาะหน้าและระยะยาว เชน่ การอพยพ การจัดการศนู ย์พกั พงิ ช่ัวคราว การสงเคราะห์ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัย การสาธารณสุข การสื่อสาร การรักษาความสงบเรียบร้อย และการสาธารณูปโภค เปน็ ต้น แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 31
งบประมาณ สาระสำ� คญั (2.4.2) ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ สนบั สนนุ งบประมาณเพอ่ื การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในพื้นท่ีของตนให้เป็นไปตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ซึ่งก�ำหนดให้มีแผน และข้ันตอนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ และยานพาหนะ พรอ้ มทง้ั จดั ใหม้ เี ครอื่ งหมายสญั ญาณหรอื สงิ่ อนื่ ใดในการแจง้ ใหป้ ระชาชนไดท้ ราบ ถึงการเกดิ หรอื คาดวา่ จะเกิดสาธารณภัย (2.4.3) ให้มีการตั้งงบประมาณในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถิ่นของตน ตามกรอบแนวทางตามกฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ - พระราชบญั ญัติสภาต�ำบลและองคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 และทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เตมิ มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนต�ำบลมีหน้าท่ีต้องท�ำในเขตองค์การ บรหิ ารส่วนต�ำบล (4) ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั - พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม มาตรา 50 ภายใตบ้ ังคบั แห่งกฎหมาย เทศบาลต�ำบลมีหนา้ ทต่ี ้องทำ� ในเขตเทศบาล (1) รกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน มาตรา 53 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลเมืองมีหน้าที่ต้องท�ำในเขตเทศบาล (1) กิจการตามทร่ี ะบไุ ว้ในมาตรา 50 มาตรา 56 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลนครมีหน้าท่ีต้องท�ำในเขตเทศบาล (1) กจิ การตามทร่ี ะบไุ ว้ในมาตรา 53 - พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการเมอื งพทั ยา พ.ศ. 2542 - พระราชบญั ญตั กิ ำ� หนดแผนและขนั้ ตอนการกระจายอำ� นาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนต�ำบลมีอ�ำนาจ และหน้าท่ี ในการจดั ระบบการบรกิ ารสาธารณะ เพอื่ ประโยชนข์ องประชาชนในทอ้ งถน่ิ ของตนเอง (29) การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ประกาศคณะกรรมการการกระจายอำ� นาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เรอ่ื ง กำ� หนด อ�ำนาจและหนา้ ที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะขององคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด - ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการรบั เงนิ การเบกิ จา่ ยเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ พ.ศ. 2547 ข้อ 89 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจจ่ายขาดจากเงินสะสมได้ไม่เกินร้อยละส่ีสิบของ งบประมาณรายจ่ายเพอื่ การลงทนุ ของปนี ้นั โดยไดร้ ับอนมุ ตั ิจากสภาทอ้ งถนิ่ ภายใตเ้ งื่อนไข... ข้อ 91 ภายใต้บงั คับขอ้ 89 ในกรณีฉกุ เฉนิ ทีม่ ีสาธารณภัยเกดิ ข้ึน ให้ผบู้ รหิ ารท้องถนิ่ อนุมัติ ใหจ้ า่ ยขาดเงนิ สะสมไดต้ ามความจำ� เปน็ ในขณะนน้ั โดยใหค้ ำ� นงึ ถงึ ฐานะการเงนิ การคลงั ขององคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่นิ น้ัน - ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2559 32 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
งบประมาณ สาระสำ� คญั ข้อ 4 องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ อาจต้งั งบประมาณให้เงนิ อดุ หนุนหน่วยงานที่ขอรบั เงิน อุดหนุนได.้ .. - ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเพ่อื ชว่ ยเหลอื ประชาชนตามอ�ำนาจหนา้ ที่ ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ พ.ศ. 2560 แกไ้ ขเพ่ิมเติมถึง (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2561 ข้อ 6 กรณเี กดิ สาธารณภยั ในพืน้ ท่ีขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ไมว่ า่ จะมี การประกาศ เขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินหรือไม่ก็ตาม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถดำ� เนนิ การชว่ ยเหลอื ประชาชนในเบอื้ งตน้ โดยฉบั พลนั ทนั ที เพอื่ การดำ� รงชพี หรอื บรรเทา ความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหนา้ หรอื ระงบั สาธารณภยั หรอื เพอ่ื คมุ้ ครองชวี ติ และทรพั ยส์ นิ หรอื ปอ้ งกนั ภยันตรายท่ีจะเกิดแก่ประชาชน ได้ตามความจ�ำเป็น ภายใต้ขอบอ�ำนาจหน้าท่ีตามกฎหมาย โดยไมต่ อ้ งเสนอคณะกรรมการพจิ ารณา ในกรณกี ารชว่ ยเหลอื ประชาชน เพอ่ื เยยี วยาและฟน้ื ฟหู ลงั เกดิ สาธารณภยั หรอื การสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ หรอื การปอ้ งกนั และระงบั โรคตดิ ตอ่ หรอื การชว่ ยเหลอื เกษตรกรผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย ให้เสนอคณะกรรมการใหค้ วามเหน็ ชอบกอ่ น ข้อ 7 กรณีมีความจ�ำเป็นต้องให้ความช่วยเหลือประชาชนเพื่อเยียวยาหรือฟื้นฟูหลังเกิด สาธารณภัย ให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ดำ� เนินการ ดงั นี้ (1) กรณมี กี ารประกาศเขตการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ ในพน้ื ที่ เกดิ ภยั ใหร้ ายงานอำ� เภอ หรอื จงั หวดั หรอื หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอื่ พจิ ารณานำ� เงนิ ทดรองราชการ เพื่อการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัยพบิ ัติ ใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้ประสบภัย (2) กรณมี ไิ ดป้ ระกาศเขตการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ ในพนื้ ท่ี เกิดภัย ในการช่วยเหลือประชาชน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสนอคณะกรรมการพิจารณา ใหค้ วามช่วยเหลือ ขอ้ 11 การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ประชาชนผปู้ ระสบสาธารณภยั หรอื ภยั พบิ ตั ฉิ กุ เฉนิ มลี กั ษณะ เป็นการช่วยเหลือที่จ�ำเป็นที่ต้องแก้ไขโดยฉับพลันในการด�ำรงชีพและความเป็นอยู่ของประชาชน หรอื เปน็ การซอ่ มแซมใหค้ นื สสู่ ภาพเดมิ อนั เปน็ การบรรเทาความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหนา้ องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถนิ่ สามารถให้ความช่วยเหลือไดท้ ันที ภายใต้ขอบเขตอำ� นาจหน้าท่ตี ามกฎหมาย กรณีส่ิงสาธารณประโยชน์ที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้รับ ความเสียหาย หากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเห็นวา่ การซ่อมแซมให้คนื สสู่ ภาพเดิม จะไมค่ มุ้ ค่า และการกอ่ สรา้ งใหมจ่ ะเกดิ ประโยชนต์ อ่ ทางราชการมากกวา่ ใหเ้ สนอคณะกรรมการเปน็ ผพู้ จิ ารณา ให้ความเห็นชอบก่อนการใช้จ่ายงบประมาณ โดยให้ค�ำนึงถงึ สถานะทางการเงนิ การคลงั ขอ้ 16 (1) การชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบสาธารณภยั หรอื ภยั พบิ ตั ฉิ กุ เฉนิ ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พจิ ารณาใชจ้ า่ ยงบประมาณชว่ ยเหลอื ประชาชนตามหลกั เกณฑ์ ของกระทรวงการคลงั โดยอนโุ ลม ขอ้ 18 กรณีเกิดสาธารณภยั ฉุกเฉนิ จำ� เป็นเร่งดว่ น ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นเบกิ จา่ ย จากงบกลาง ประเภทเงินส�ำรองจ่าย ในข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี โดยโครงการไมจ่ �ำเป็นตอ้ งอยูใ่ นแผนพฒั นาทอ้ งถิ่น - ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายให้แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2560 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 33
งบประมาณ สาระสำ� คญั ข้อ 5 ในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีความจ�ำเป็นต้องเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายให้แก่ อาสาสมัคร เพื่อเป็นค่าป่วยการชดเชยการงานหรือเวลาท่ีเสียไป เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ มีสิทธเิ บกิ จา่ ยได้ - ระเบียบคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ว่าด้วยค่าใช้จ่าย ของอาสาสมคั รในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2560 ขอ้ 4 อาสาสมัครทไ่ี ด้รบั คำ� สัง่ จากผู้อ�ำนวยการ ผู้บญั ชาการ นายกรัฐมนตรี หรอื รองนายก รัฐมนตรซี งึ่ นายกรฐั มนตรมี อบหมาย แล้วแตก่ รณี เพ่ือการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขต พ้ืนที่หรอื นอกเขตพื้นท่ไี ด้รบั ค่าใช้จ่ายในอัตราต่อคนตอ่ วนั ขอ้ 5 องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แหง่ พนื้ ทสี่ ามารถจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยใหแ้ กอ่ าสาสมคั ร ในสงั กดั ของตนตามขอ้ 4 ทั้งน้ี ใหค้ �ำนึงถงึ ฐานะทางการเงินการคลังขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ด้วย... ข้อ 6 กรณีมีการสั่งใช้อาสาสมัครซึ่งมิได้สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งพ้ืนที่ ใหต้ น้ สงั กัดเบิกจ่ายจากเงินงบประมาณของส่วนราชการ (3) งบประมาณรายจ่าย พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 16 งบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ได้แก่ บรู ณาการ (Agenda) งบประมาณรายจา่ ยทตี่ งั้ ไวส้ ำ� หรบั แผนงานบรู ณาการทค่ี ณะรฐั มนตรอี นมุ ตั ิ โดยมหี นว่ ยรบั งบประมาณ ตั้งแตส่ องหน่วยงานขน้ึ ไปร่วมกันรับผิดชอบด�ำเนินการ 2.8.2 งบกลาง งบประมาณ สาระส�ำคญั 1. เ งิ น ท ด ร อ ง ร า ช ก า ร เม่ือคาดหมายว่าจะเกิดภัยพิบัติข้ึนในเวลาอันใกล้ หรือเกิดภัยพิบัติขึ้นในพื้นที่ใด ให้จังหวัด/ ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั กรุงเทพมหานคร หรือส่วนราชการท่ีมีเงินทดรองราชการใช้วงเงินทดรองราชการในระหว่างท่ียัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการ ไม่ได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณรายจ่าย มีวัตถุประสงค์เพื่อด�ำเนินการช่วยเหลือโดยเร่งด่วน เพอ่ื ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิ ตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม โดยมุ่งหมายทจี่ ะบรรเทาความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหนา้ ของผปู้ ระสบ กรณีฉุกเฉนิ ภยั พบิ ตั ิ แตม่ ไิ ดม้ งุ่ หมายทจี่ ะชดใชค้ วามเสยี หายใหแ้ กผ่ ใู้ ด การใชจ้ า่ ยเงนิ ตอ้ งเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยทจี่ ำ� เปน็ ในการดำ� รงชพี และความเปน็ อยขู่ องประชาชนหรอื เปน็ การซอ่ มแซมใหค้ นื สสู่ ภาพเดมิ อนั เปน็ การ บรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า โดยไม่สามารถใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อสร้างส่ิงก่อสร้าง ใหม่ได้ ซึง่ การเบิกจา่ ยเงินใหถ้ ือปฏบิ ตั ติ ามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และอัตราการชว่ ยเหลอื ทก่ี ระทรวง การคลงั กำ� หนด โดยมแี นวทางการใชจ้ า่ ยเงนิ ทดรองราชการตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ย เงินทดรองราชการ เพ่ือชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบตั ิกรณีฉกุ เฉนิ ดังน้ี (1) วงเงนิ ในเชงิ ปอ้ งกนั หรอื ยบั ยง้ั เมอื่ คาดหมายวา่ จะเกดิ ภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ ขน้ึ ในเวลา อนั ใกล้ และจ�ำเป็นต้องรบี ดำ� เนินการโดยฉับพลนั ให้จังหวดั /กรุงเทพมหานคร ใชเ้ งนิ ในเชงิ ปอ้ งกนั หรอื ยบั ยงั้ ภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ นน้ั ได้ โดยไมต่ อ้ งประกาศเขตการให้ ความชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิ กรณีฉกุ เฉนิ ภายในวงเงินไม่เกิน 10,000,000 บาท 34 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
งบประมาณ สาระสำ� คญั (1.1) ในกรณีกรุงเทพมหานคร ให้เป็นอ�ำนาจหน้าท่ีของกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั โดยอธิบดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ ผมู้ ีอ�ำนาจอนมุ ัติจา่ ยเงิน (1.2) ในกรณีจังหวัดอ่ืน ให้เป็นอ�ำนาจของส�ำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด โดยผวู้ ่าราชการจังหวดั เปน็ ผมู้ ีอำ� นาจอนุมตั ิจ่ายเงิน โดยการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยกำ� หนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั (2) วงเงินในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ เม่ือภัยพิบัติฉุกเฉินเกิดข้ึนในท้องท่ี ให้ผู้มี อำ� นาจดำ� เนนิ การประกาศใหท้ อ้ งทน่ี นั้ เปน็ เขตการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ ตามหลกั เกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (2.1) กรณีเกิดในกรุงเทพมหานคร ให้เป็นอ�ำนาจของอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั (2.2) กรณเี กดิ ในจงั หวดั อน่ื ใหเ้ ปน็ อำ� นาจของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั รว่ มกบั คณะกรรมการ ใหค้ วามช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั พบิ ัติจังหวดั (ก.ช.ภ.จ.) เม่ือได้มีการประกาศให้ท้องที่น้ันเป็นเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณี ฉกุ เฉนิ แลว้ ใหส้ ว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งดำ� เนนิ การชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ตามหลกั เกณฑ์ และวิธีการที่ก�ำหนดตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือ ผู้ประสบภยั พิบตั กิ รณีฉุกเฉิน 2. เงินส�ำรองจ่าย เพ่ือกรณี กรณสี ว่ นราชการหรอื รฐั วสิ าหกจิ ใดมคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งใชจ้ า่ ยงบประมาณ นอกเหนอื จากทไ่ี ดร้ บั การ ฉุกเฉิน หรือจ�ำเป็นเร่งด่วน จดั สรรหรอื ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณแลว้ ไมเ่ พยี งพอและมคี วามจำ� เปน็ เรง่ ดว่ นทจี่ ะตอ้ งรบี ดำ� เนนิ การ ที่ต้องด�ำเนินการ โครงการ เพอื่ มใิ หเ้ กดิ ความเสยี หายแกท่ างราชการ ใหส้ ว่ นราชการขอรบั จดั สรรงบประมาณรายจา่ ยงบกลาง ตามนโยบายรฐั บาล รายการเงนิ สำ� รองจา่ ยเพอื่ กรณีฉุกเฉินหรอื จำ� เป็น ให้กระทำ� ได้ในกรณที ี่เปน็ รายจ่าย ดังนี้ (1) เปน็ รายจา่ ยเพอ่ื การปอ้ งกนั หรอื แกไ้ ขสถานการณอ์ นั มผี ลกระทบตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ย ของประชาชน หรอื ความม่นั คงของรัฐ (2) เป็นรายจ่ายที่จ�ำเป็นต้องจ่ายเพื่อการเยียวยาหรือบรรเทาความเสียหายจากภัยพิบัติ สาธารณะร้ายแรง (3) เปน็ รายจา่ ยทไ่ี ดร้ บั จดั สรรงบประมาณไวแ้ ลว้ แตม่ จี ำ� นวนไมเ่ พยี งพอและมคี วามจำ� เปน็ เรง่ ด่วนของรฐั ต้องใช้จ่ายหรอื ก่อหนผี้ กู พันงบประมาณโดยเรว็ (4) เป็นรายจ่ายทไ่ี ม่ได้รับจัดสรรงบประมาณ แต่มีภารกจิ จำ� เป็นเรง่ ด่วนทจี่ ะตอ้ งด�ำเนนิ การ และต้องใชจ้ ่ายหรือกอ่ หน้ีผกู พนั งบประมาณโดยเรว็ ทง้ั นี้ ใหด้ ำ� เนนิ การตามระเบยี บวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณรายจา่ ยงบกลาง รายการเงนิ สำ� รองจ่าย เพอื่ กรณีฉกุ เฉินหรอื จำ� เป็น พ.ศ. 2562 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 35
2.8.3 เงินนอกงบประมาณ เป็นบรรดาเงินทั้งปวงท่ีหน่วยงานของรัฐจัดเก็บหรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ ตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั หรอื จากนติ กิ รรมหรอื นติ เิ หตุ หรอื กรณอี น่ื ใด ทตี่ อ้ งนำ� สง่ คลงั แตม่ กี ฎหมายอนญุ าต ใหส้ ามารถเก็บไวใ้ ช้จ่ายได้ โดยไมต่ อ้ งน�ำสง่ คลัง งบประมาณ สาระส�ำคัญ ง บ ป ร ะ ม า ณ ส นั บ ส นุ น เพอ่ื สนบั สนนุ การดำ� เนนิ กจิ การทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยกรมปอ้ งกนั จากองคก์ ร/หนว่ ยงานตา่ ง ๆ และบรรเทาสาธารณภัย เป็นหน่วยงานกลางในการประสานและผลักดันการด�ำเนินงานให้เป็นไป ภาคเอกชน ทั้งในประเทศ ตามหลักการ ข้อก�ำหนดและเง่ือนไขขององค์กรผู้ให้การสนับสนุน และไม่ขัดแย้งกับแนวทาง และระหวา่ งประเทศ การดำ� เนนิ งานในแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 โดยแบง่ เปน็ เงินบรจิ าค กองทนุ และอนื่ ๆ ดังน้ี (1) เงนิ บรจิ าค คอื เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ทมี่ ผี บู้ รจิ าค รวมทง้ั ดอกผลทเี่ กดิ จากเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ดงั กลา่ ว โดยการใช้เงินบริจาคให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สิน ที่มีผู้บริจาคให้ทางราชการ พ.ศ. 2526 และระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับบริจาค และการให้ความชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบสาธารณภยั พ.ศ. 2542 รวมถงึ ระเบียบกฎหมายท่เี กี่ยวข้อง (2) กองทนุ คอื เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ทม่ี ผี บู้ รจิ าคใหก้ องทนุ รวมทงั้ ดอกผลทเี่ กดิ จากเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ดังกล่าว ซ่ึงการใช้กองทุนในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้เป็นไปตามระเบียบกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง เชน่ ระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการรบั บรจิ าคและการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบสาธารณภยั พ.ศ. 2542 เป็นตน้ (3) อ่นื ๆ คอื เงนิ สนบั สนนุ ในการช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั ทีน่ อกเหนือจากเงินบรจิ าคและกองทุน 36 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
2.8.1 งบประมาณ งบปกติ กระทรวง/กรม จงั หวัด และกลุม่ จังหวดั รายจา่ ยประจำปขี อง กรุงเทพมหานคร (Function) ส่วนราชการ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน งบประมาณเชงิ พ้นื ที่ 2.8.2 งบกลาง (Area) งบบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์ (Agenda) 35 เงินทดรองราชการตามระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยเงินทดรองราชการ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 37 เพอื่ ช่วยเหลือผูป้ ระสบภยั พบิ ัติกรณีฉกุ เฉนิ เงินสำรองจา่ ย เพื่อกรณฉี ุกเฉินหรือจำเปน็ เร่งดว่ นท่ตี ้องดำเนนิ การโครงการ ตามนโยบายของรัฐบาล 2.8.3 ทหงบั้นงใป่วนรยปะงมราะนาเณตท่าสศงนแัลบๆะสรภนะาุนหคจวเ่าอางกกปอชรงนะคเท์กศร/ เงินบรจิ าค เงนิ นอกงบประมาณ กองทุน อนื่ ๆ แผนภาพที่ 2-2 แหแลผ่งทนี่มภาาแพละทว่ี ธิ2กี -า2รงแบหปลร่งะทม่ีมาณาแในลกะาวรธิปีกอ้ างรกงันบแปละรบะรมราเทณาใสนาธกาารรณปภ้อยั งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 35
3บทท่ี หลักการจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภยั 3.1 วงจรการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั เป็นแนวทางการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยท่ีอธิบายให้เห็นถึงลักษณะวงจร เพื่อรับมือกับภัย ซึ่งมีลกั ษณะการเกิดที่ยากแกก่ ารคาดการณ์ผลที่เกิดขึ้น โดยอาจมรี ูปแบบการเกิด ไม่ซำ�้ เดมิ และไมจ่ ำ� เป็นตอ้ งเปน็ ลำ� ดบั กอ่ นหลงั เสมอไป (Non Linear) จงึ ตอ้ งมกี ารดำ� เนนิ การในลกั ษณะเปน็ วงรอบ (Closed Loop) อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ไม่สามารถแยกส่วนเฉพาะในแต่ละกระบวนการ ดังน้ัน การจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย จึงเป็นการจัดการ สาธารณภยั แบบองคร์ วม (Holistic Approach) เพอื่ ความปลอดภยั อยา่ งยง่ั ยนื ตง้ั แตก่ ารปอ้ งกนั และลดผลกระทบ การเตรยี มความพรอ้ ม การเผชิญเหตุ และการบรรเทาทกุ ข์ ตลอดจนการฟนื้ ฟู ซง่ึ การด�ำเนนิ การในแต่ละห้วงเวลา การเกิดสาธารณภัยอาจมีความคาบเก่ยี วกัน (Over lap) รวมท้ังระยะเวลาในการดำ� เนนิ การขึ้นอยูก่ ับความรุนแรง ของภยั เป็นสำ� คัญ ดังแผนภาพท่ี 3 - 1 ปรับจากทม่ี า : TorqAid. (2016). TorqAid disaster risk management framework: seven key diagrams. https://www.preventionweb.net. (2019, November :25) แผนภาพที่ 3 - 1 วงจรการจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management: DRM) เพือ่ ความปลอดภยั อยา่ งย่ังยนื แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 39
3.2 กลไกการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภัย 3.2.1 ระดบั นโยบาย (1) คณะกรรมการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ (กปภ.ช.) มีหนา้ ทกี่ ำ� หนดนโยบายการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ บูรณาการพฒั นาระบบ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระหว่างหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานภาคเอกชนให้มีประสิทธิภาพ โดยมี องคป์ ระกอบและอำ� นาจหนา้ ทต่ี ามทร่ี ะบใุ นมาตรา 6 และมาตรา 7 แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 (2) คณะกรรมการป้องกนั อุบตั ภิ ยั แห่งชาติ (กปอ.) มหี นา้ ทเี่ สนอนโยบาย มาตรการ และแนวทางเกย่ี วกบั การปอ้ งกนั อบุ ตั ภิ ยั เสนอแนะแนวทางปฏบิ ตั ิ และประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐ โดยมีองค์ประกอบและอ�ำนาจหน้าท่ีตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการปอ้ งกนั อุบัติภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 (3) คณะกรรมการบรหิ ารระบบการเตอื นภยั พิบตั แิ ห่งชาติ (กภช.) มีหนา้ ที่เสนอ จดั ทำ� มาตรการ แนวทาง นโยบาย และแผนการบริหารระบบการเตือนภัยพบิ ัติ แหง่ ชาติ รวมทง้ั แผนงานและโครงการในการบรหิ ารระบบการเตอื นภยั พบิ ตั แิ หง่ ชาติ เพอื่ เปน็ กรอบ ในการดำ� เนนิ งาน ของหนว่ ยราชการทเี่ กยี่ วขอ้ ง โดยมอี งคป์ ระกอบและอำ� นาจหนา้ ทต่ี ามระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการบรหิ าร ระบบการเตอื นภัยพบิ ตั แิ ห่งชาติ พ.ศ. 2552 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 3.2.2 ระดับปฏิบตั ิ องค์กรปฏิบัติท่ีเป็นศูนย์กลางในการอ�ำนวยการ และการประสานการปฏิบัติของหน่วยงาน และภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ทงั้ ในภาวะปกติ และภาวะทค่ี าดวา่ จะเกดิ หรอื เกดิ สาธารณภยั ภายใตแ้ นวคดิ “ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉนิ (Emergency Operation Center: EOC)” โดยมีหนา้ ทใี่ นการบงั คบั บญั ชา อำ� นวยการ ควบคมุ กำ� กบั และประสานการปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งภาคสว่ นตา่ ง ๆ พรอ้ มทงั้ ใหก้ ำ� หนดโครงสรา้ ง อำ� นาจหนา้ ที่ และมอบหมายภารกจิ หนา้ ทตี่ า่ ง ๆ ใหแ้ กเ่ จา้ หนา้ ทป่ี ฏบิ ตั งิ าน รวมถงึ จดั ทำ� แนวปฏบิ ตั หิ รอื คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านตามขนั้ ตอน ในแตล่ ะระดับการปฏิบัตกิ าร (Level of Activation) และจัดใหม้ สี ถานที่ และส่งิ อำ� นวยความสะดวก (Facilities) ในการปฏิบัติงาน ทัง้ นี้ องค์กรปฏบิ ตั ิในแต่ละระดับ มีดังต่อไปนี้ (1) กองบัญชาการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ (บกปภ.ช.) ท�ำหน้าท่ีบังคับบัญชา อ�ำนวยการ ควบคุม ก�ำกับ ดูแลและประสานการปฏิบัติการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยของกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับ โดยมีรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และปลัดกระทรวงมหาดไทย เปน็ รองผ้บู ัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ การจดั การสาธารณภัย แบง่ ออกเป็น 4 ระดับ โดยการจดั การสาธารณภัยขนาดเลก็ (ระดบั 1) มนี ายอำ� เภอ เปน็ ผอู้ ำ� นวยการอำ� เภอ มหี นา้ ที่ ควบคมุ และสงั่ การ และสาธารณภยั ขนาดกลาง (ระดบั 2) มผี วู้ า่ ราชการ จงั หวดั เป็นผอู้ �ำนวยการจังหวัด มหี น้าท่ี ควบคุม สัง่ การและบัญชาการ 40 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
ในกรณีการจัดการสาธารณภยั ขนาดใหญ่ (ระดบั 3) มรี ัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และกรณี การจดั การสาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งยงิ่ (ระดบั 4) มนี ายกรฐั มนตรหี รอื รองนายกรฐั มนตรที ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย เปน็ ผคู้ วบคมุ สง่ั การ และบญั ชาการ โดยการเกดิ สาธารณภยั ในระดบั 3 และ 4 จะมจี ดั ตง้ั กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติข้ึน (2) กองอ�ำนวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) ทำ� หนา้ ทปี่ ระสานงาน บรู ณาการขอ้ มลู และการปฏบิ ตั กิ ารของหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ทง้ั ในสว่ น ของสรรพกำ� ลงั เครอื่ งมอื อุปกรณ์ แผนปฏบิ ตั ิการเพ่ือเตรยี มความพรอ้ มในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาสาธารณภยั ทั้งระบบในภาวะปกติ และในภาวะใกล้เกิดภัย ท�ำหน้าท่ีเตรียมการเผชิญเหตุ ติดตาม และเฝ้าระวังสถานการณ์ รวมถงึ วิเคราะหข์ อ้ มูลที่เก่ียวขอ้ ง ประเมินสถานการณ์ และแจ้งเตอื นภัย พร้อมท้งั รายงาน และเสนอความเห็นต่อ ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติหรือนายกรัฐมนตรีตามแต่ระดับการจัดการสาธารณภัย เพื่อตดั สนิ ใจในการรบั มือ โดยมอี ธิบดกี รมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย เปน็ ผู้อ�ำนวยการกลาง (3) กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด (กอปภ.จ.) ทำ� หนา้ ทอ่ี ำ� นวยการ ควบคมุ สนบั สนนุ และประสานการปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ทร่ี บั ผดิ ชอบ โดยมผี วู้ า่ ราชการจงั หวดั /ผอู้ ำ� นวยการจงั หวดั เปน็ ผอู้ ำ� นวยการ รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ทผ่ี วู้ า่ ราชการจงั หวดั มอบหมาย และนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เปน็ รองผอู้ ำ� นวยการ ทงั้ นี้ ใหม้ กี ารจดั ประชมุ กองอำ� นวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั อยา่ งน้อยปีละ 2 ครัง้ และมีองค์ประกอบ ดังน้ี ประกอบด้วย กองอำ� นวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั 1. ผ้วู า่ ราชการจังหวดั /ผอู้ ำ� นวยการจงั หวัด ผ้อู ำ� นวยการ 2. รองผ้วู ่าราชการจังหวดั ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย รองผ้อู �ำนวยการ 3. นายกองค์การบริหารสว่ นจังหวดั รองผ้อู �ำนวยการ 4. รองผอู้ �ำนวยการรกั ษาความม่ันคงภายในจงั หวดั (ฝา่ ยทหาร) กรรมการ 5. ผบู้ งั คบั การต�ำรวจภธู รจงั หวดั กรรมการ 6. ผแู้ ทนกระทรวงกลาโหมทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย กรรมการ 7. ปลัดจงั หวัด กรรมการ 8. นายแพทย์สาธารณสขุ จังหวัด กรรมการ 9. ท้องถิ่นจงั หวดั กรรมการ 10. เกษตรจังหวดั กรรมการ 11. ปศุสัตวจ์ งั หวดั กรรมการ 12. อุตสาหกรรมจงั หวัด กรรมการ 13. โยธาธิการและผงั เมืองจงั หวัด กรรมการ 14. พฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์จังหวัด กรรมการ 15. ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมจงั หวดั กรรมการ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 41
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254