Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NDRT Manual (TH) หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยเคลื่อนที่เร็ว

NDRT Manual (TH) หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยเคลื่อนที่เร็ว

Published by e20dku, 2022-06-29 05:04:20

Description: หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยเคลื่อนที่เร็ว
National Disaster Response Team Handbook

Keywords: Response team,Disaster management,Handbook,Disaster,Crisis managment

Search

Read the Text Version

หนังสอื ประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหน่วยเคลือ่ิ นท่ีเร็ว ตัวอย่างมาตรการและแนวทางในการฟน้ื ฟธู รณพี บิ ัติสึนามขิ องประเทศไทย(3) มาตรการช่วยเหลือระยะเร่งด่วน 1. ปรับปรงุ โครงสร้างพื้นฐานและท่ีพกั อาศัย 2. การจดั รปู ทด่ี นิ จดั ระเบยี บส่ิงกอ่ สร้างภมู ิทัศนแ์ ละการฟื้นฟูที่พกั อาศยั 3. การส่งเสรมิ อาชีพ 4. การฟน้ื ฟูการทอ่ งเท่ยี วชายฝั่งทะเลอันดามัน 5. การช่วยเหลอื การศึกษาทั้งการเงนิ และการซอ่ มแซมความเสียหาย 6. การชว่ ยเหลือดา้ นสขุ ภาพอนามัย 7. การชว่ ยเหลือด้านการเงนิ 8. การจดั การความปลอดภยั ในการเดินเรือ 9. การฟ้นื ฟสู ง่ิ แวดล้อมและก�ำจดั มลพิษชมุ ชน มาตรการระยะยาว 1. การสร้างระบบเตือนภยั ล่วงหน้า 2. การแก้ไขปัญหาดนิ ใหก้ ับเกษตรกร 3. ส�ำนักผังเมืองออกประกาศก�ำหนดเขตพ้ืนที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในบริเวณ พ้ืนที่เกิดธรณีพิบัติ เพ่ือเป็นการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง สรา้ งความปลอดภยั แกป่ ระชาชนในพืน้ ทีป่ ระสบภัยระยะยาว 200

Nationnal Disaster Response Team Handbook ผลกระทบจากภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ จ�ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การฟน้ื ฟเู ยยี วยา และท�ำใหก้ ารด�ำรงชวี ติ และการท�ำงานกลบั คืนสู่สภาพปกติ ดว้ ยความรว่ มมือจากทกุ ภาคสว่ นโดยในภาคธุรกจิ ไดม้ กี ารจัดตง้ั กลมุ่ ความรว่ มมอื ของภาคเอกชนตอ่ การรบั มอื กบั ภยั พบิ ตั ใิ นลกั ษณะของการท�ำงานวถิ กี ลมุ่ (Collective Action) เพอื่ เสริมพลงั ในการชว่ ยเหลอื การบรรเทาทุกข์ และการฟน้ื ฟูจากภัยพบิ ตั ิที่มีความรนุ แรงและ สง่ ผลเสยี หายในวงกว้าง ซ่งึ ทรัพยากรขององค์กรใดองค์กรเดยี วไมส่ ามารถใช้ใหเ้ กดิ ผลได้เพียงล�ำพัง(4) ส�ำหรบั ในภาคสว่ นขององคก์ รด้านมนษุ ยธรรมกเ็ ช่นกัน สหพนั ธ์สภากาชาดและสภาเส้ียววงเดอื นแดง ระหว่างประเทศ (International Federation of Red Cross and Red Crescent Society : IFRC) เป็นหน่วยงานส�ำคัญท่ีคอยให้ความสนับสนุนด้านต่างๆ แก่สภากาชาดหรือสภาเสี้ยววงเดือนแดง ประจ�ำประเทศ ซง่ึ จะเปน็ แหลง่ ขอ้ มลู และทรพั ยากรสนบั สนนุ ในดา้ นการรบั มอื ภยั พบิ ตั ิ การลดความเสยี่ ง การเตรยี มความพร้อม การตอบสนอง และการฟนื้ ฟูหลังภัยพิบตั ิ โดยในเรอื่ งของการฟน้ื ฟผู ้ปู ระสบภัย พิบัติ ทาง IFRC ไดจ้ ัดท�ำคู่มอื ไว้ ซง่ึ ในค่มู อื จะประกอบด้วยหลกั และวธิ ใี นการด�ำเนินงานฟื้นฟไู วอ้ ยา่ ง ละเอียด ในที่นีจ้ ะขอน�ำเสนอหลักในการฟ้ืนฟู 12 ประการของ IFRC เพอื่ เป็นแนวทางในการด�ำเนิน โครงการฟน้ื ฟขู องสภากาชาดไทย 201

หนงั สือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารหน่วยเคล่ือิ นทเ่ี ร็ว หลกั ในการฟืน้ ฟู 12 ประการของสหพันธส์ ภากาชาด และสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ 1. ค�ำนึงถึงชุมชนเปน็ ศูนย์กลางการใหค้ วามช่วยเหลือโดยเฉพาะผ้อู อ่ นแอ 2. ใหก้ ารสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื ตามทก่ี าชาดประจ�ำแตล่ ะประเทศรอ้ งขอ ไดแ้ ก่ การจดั การ การจดั ท�ำ ค่มู อื และการพฒั นาศักยภาพ 3. โครงการในการช่วยเหลือตอ้ งไมท่ �ำใหเ้ กิดอนั ตรายหรอื สง่ ผลกระทบต่อผปู้ ระสบภยั 4. มกี ารประสานงานที่มปี ระสิทธิภาพ 5. การมผี ูเ้ ชย่ี วชาญจากทกุ ภาคสว่ นมาช่วยประเมนิ วิเคราะห์ ออกแบบโครงการ 6. ใช้กลไกในการปฏบิ ัติทย่ี ดื หยุน่ เหมาะสมในการบรรเทาทกุ ข์และฟน้ื ฟู เช่น การโอนเงนิ การวิเคราะห์การตลาด 7. สร้างความเข้มแข็งของโครงการโดยการบูรณาการในหลายเรื่อง เช่น ชีวิตความเป็นอยู่ ที่พกั อาศยั สขุ ภาพ น้�ำและสขุ าภิบาล สภาพแวดลอ้ ม เป็นตน้ 8. การมองปัญหาให้ทะลปุ รุโปรง่ 9. การให้ความชว่ ยเหลอื อย่างย่ังยืน 10. การวางแผนในการส้ินสดุ โครงการหรอื ยตุ ิการชว่ ยเหลอื 11. มีกลยุทธใ์ นการสื่อสารทีช่ ดั เจน 12. ม่งุ เนน้ ไปที่กล่มุ ชายขอบและกลุ่มเปราะบาง 202

Nationnal Disaster Response Team Handbook การฟื้นฟดู า้ นอปุ กรณก์ ารเรียน การฟ้นื ฟดู ้านการประกอบอาชพี 203

หนังสอื ประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการหน่วยเคล่ืิอนท่ีเร็ว การสรา้ งหอ้ งน�ำ้ -หอ้ งส้วม การปรับปรงุ ระบบนำ�้ โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง อ�ำเภอทา้ ยเหมอื ง จงั หวัดพงั งา ตัวอย่างหลักเกณฑ์ในการพจิ ารณาการใหค้ วามชว่ ยเหลือ เพ่ือการฟน้ื ฟูพืน้ ที่ประสบภัยของสภากาชาดไทย 1. เป็นโครงการทีช่ ว่ ยเหลือฟน้ื ฟู พน้ื ท่ปี ระสบอุทกภัย ปี 2554 2. เป็นโครงการที่สามารถด�ำเนนิ งานอย่างเป็นรูปธรรม ระยะเวลาไมเ่ กนิ 6 เดือน 3. เปน็ โครงการที่มวี ตั ถปุ ระสงเพอื่ ฟืน้ ฟู ปลกู สร้าง ซ่อมแซม บูรณะ ดงั น้ี 3.1 การฟน้ื ฟดู า้ นทอี่ ยอู่ าศยั สถานทท่ี �ำงาน สถานศกึ ษา สถานพยาบาล และสถานชว่ ยเหลอื ผู้สูงอายุ เดก็ ผพู้ ิการและดอ้ ยโอกาสเปน็ ตน้ 3.2 การฟน้ื ฟบู รู ณะศาสนสถาน และสาธารณูปโภค 3.3 การฟน้ื ฟูสุขภาพกาย และจิตใจ 3.4 การฟื้นฟดู า้ นอาชพี 3.5 การฟื้นฟอู ปุ กรณก์ ารเรยี น การสอน 4. เป็นโครงการที่มีนวัตกรรมสรา้ งสรรค์ เสริมสร้างศกั ยภาพ และมคี วามยง่ั ยืน 5. เป็นโครงการทสี่ ามารถติดตามผลการด�ำเนนิ งานได้ 6. ไม่เปน็ โครงการทีไ่ ด้รับงบประมาณจากรฐั บาลหรอื หนว่ ยงานอน่ื มาแลว้ 204

Nationnal Disaster Response Team Handbook หมายเหตุ • เสนอโครงการมายังสภากาชาดไทย เพ่อื ใหค้ ณะกรรมการพิจารณา • การใชจ้ ่ายเงนิ โครงการ ส�ำหรบั ส�ำนกั งานตา่ งๆ ของสภากาชาดไทยให้ด�ำเนนิ การตามหลัก เกณฑ์ระเบยี บสภากาชาดไทยวา่ ดว้ ยการเงนิ และพสั ดุ • การใช้จ่ายเงินโครงการ ส�ำหรับเหล่ากาชาดจังหวัดให้ด�ำเนินการตามหลักเกณฑ์ระเบียบ สภากาชาดไทย ว่าด้วยวิธีงบประมาณ การบัญชี และการพัสดุของเหล่ากาชาดจังหวัด พ.ศ.2546 แกไ้ ขเพ่มิ เติมจนถึง (ฉบับท่ี 1) พ.ศ.2553 การด�ำเนินงานด้านฟน้ื ฟูของสภากาชาดไทยในปัจจุบนั ทีเ่ คยดำ� เนนิ การ ไดแ้ ก่ • ฟน้ื ฟใู นระยะสน้ั เชน่ การฟน้ื ฟดู า้ นทอ่ี ยอู่ าศยั โดยการมอบอปุ กรณท์ �ำความสะอาดบา้ นหลงั น�ำ้ ลด หรอื การมอบชุดเครอื่ งครวั เคร่ืองนอน เตาแก๊สปิคนคิ เปน็ ตน้ • การฟนื้ ฟูด้านที่อยอู่ าศยั ซ่อม/สรา้ ง บ้านแกผ่ ปู้ ระสบภยั เช่นการสรา้ งบา้ นใหผ้ ู้ประสบภยั สึนามิ • โครงการฟื้นฟูโรงพยาบาลเกาะลันตา และสถานีอนามัยศาลาด่าน ในอ�ำเภอเกาะลันตา จังหวดั กระบี่ • การฟื้นฟูด้านน้�ำ สุขาภิบาลโดยการซ่อมแซม สร้างห้องน้�ำ อ่างล้างมือ แปรงฟัน ให้กับ โรงเรยี นทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากภยั พบิ ตั ิ เชน่ โครงการจดั หานำ�้ ดม่ื สะอาดและหอ้ งนำ�้ ทเ่ี พยี งพอ ใน 19 โรงเรียนท่ีได้รับผลกระทบจากธรณีพิบัติ และโครงการปรับปรุงระบบน�้ำสุขาภิบาล และการส่งเสริมสขุ อนามัยในโรงเรยี นที่ไดร้ บั ผลกระทบจากอทุ กภยั ปี พ.ศ.2554 • โครงการจัดหาอปุ กรณ์ประมงพน้ื บา้ นแกผ่ ปู้ ระสบภัยอ�ำเภอครุ ะบรุ ี จังหวัดพงั งา • การฟน้ื ฟู ซ่อมแซม และจัดซอ้ื หนงั สือใหห้ ้องสมุดในโรงเรียนทีไ่ ดร้ ับผลกระทบจากอุทกภัย โครงการ • การฟน้ื ฟดู า้ นอาชพี ดว้ ยการมอบอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ ในการประกอบอาชพี แกผ่ ปู้ ระสบ ภัยพิบัติ เช่นภยั พิบตั สิ นึ ามิ ใน 6 จงั หวดั ท่ีไดร้ บั ผลกระทบ ภัยพบิ ตั ดิ นิ โคลนถลม่ ท่อี ุตรดติ ถ์ • โครงการป้องกนั อัคคีภยั ในชมุ ชน แกผ่ ู้ประสบธรณพี บิ ัตภิ ัย • การเสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ เพื่อสร้างให้ชุมชนเข้มแข็งและ เกิดความยัง่ ยืน (CBDRR project) • การเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพโรงเรยี นเพื่อเตรียมพร้อมรบั ภัยพิบตั ิ (CBDRR project in school) • บูรณาการการฟืน้ ฟรู ะหว่างหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง • การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติในกลุ่มที่มีความอ่อนแอโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กก�ำพร้า ผู้สูงอายุ ผูพ้ กิ าร การจัดการภัยพบิ ัติของสภากาชาดไทย จะมีคณะกรรมการจัดการภยั พิบัติสภากาชาดไทย ซ่งึ มี เลขาธิการสภากาชาดไทยเปน็ ประธาน คณะกรรมการประกอบดว้ ย ผูช้ ่วยเลขาธิการสภากาชาดไทย และผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานตา่ งๆ ซง่ึ จะแบง่ คณะกรรมการออกเปน็ คณะอนกุ รรมการกลมุ่ ยอ่ ยอกี 7 ฝา่ ย ได้แก่ 1) ฝ่ายบรรเทาทกุ ข์ 2) ฝา่ ยการแพทย์ 3) ฝ่ายรับบริจาค 4) ฝ่ายส่อื สารและประชาสัมพันธ์ 205

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการหน่วยเคล่อืิ นที่เร็ว 5) ฝา่ ยสนับสนุนและสง่ ก�ำลงั บ�ำรงุ 6) ฝ่ายตา่ งประเทศ และ7) ฝ่ายฟ้นื ฟู ซ่งึ คณะกรรมการแตล่ ะฝา่ ยจะ ร่วมกันจดั ท�ำกระบวนการมาตรฐานในการปฏิบัติงานเมอ่ื เกดิ ภัยพบิ ตั ิขนาดใหญ่ ซง่ึ คณะท�ำงานฝ่าย ฟนื้ ฟูไดจ้ ัดท�ำแนวทางในการด�ำเนนิ งานไวด้ งั นี้ ภารกิจ บทบาทหนา้ ที่ของคณะท�ำงานฝา่ ยฟ้นื ฟ(ู4) กอ่ นเกดิ ภัย • รวบรวมขอ้ มลู ศกึ ษาจากบทเรียนทเ่ี คยเกิดขนึ้ • ศึกษากรอบการให้ความช่วยเหลือตามความจ�ำเป็นพื้นฐานโดยศึกษาจาก Community Resilience Indicator • วางแผนแบ่งหนา้ ท่กี ารท�ำงาน • หาขอ้ ตกลงร่วมกัน ในการท�ำงานกบั ภาครฐั ฯลฯ • วางแผนจดั ล�ำดบั ขัน้ ตอนในการท�ำงาน ขณะเกดิ ภยั • ศูนย์ประสานงานด้านการฟื้นฟู ฝ่ายเลขานุการฯ (หัวหน้าฝ่ายบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย 02-251-7853 ต่อ 1211) • ฝ่ายเลขานุการ ด�ำเนินการรวบรวมขอ้ มลู • จดั ประชุมคณะท�ำงานฝ่ายฟื้นฟู โดยฝ่ายเลขาฯ มีหนา้ ที่เชิญประชมุ และน�ำเสนอขอ้ มลู • วางกรอบการด�ำเนินงานในการฟื้นฟู ตามทิศทางของสภากาชาดไทยซึ่งสอดรับกับภาครัฐ และภาคเี ครอื ข่ายอาจเปน็ การบรู ณาการเพ่อื ลดการซ�้ำซ้อน • น�ำเสนอแผนพรอ้ ม กรอบระยะเวลาและประมาณการงบประมาณ • จัดล�ำดับความส�ำคัญการใหค้ วามช่วยเหลอื • กายภาพ • จิตใจ • การแพทย์ ระยะหลังจากเกดิ ภัย 1. คณะท�ำงานตงั้ วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ชว่ ยใหผ้ ปู้ ระสบภยั กลบั มาใชช้ วี ติ เหมอื นเดมิ ใหเ้ รว็ ทสี่ ดุ โดย • ใชข้ ้อมูลจากการส�ำรวจ / RAT, NDRT • ตาม SOP ก�ำหนด 1 เดอื น ใหแ้ ตล่ ะส�ำนัก (หรอื ผูร้ ับผดิ ชอบ) น�ำเสนอโครงการ/แผนงบ 206

Nationnal Disaster Response Team Handbook ประมาณเพอื่ รวบรวมเสนอคณะท�ำงานฝ่ายฟนื้ ฟู 2. จดั ท�ำกรอบการให้ชว่ ยเหลือ • ฟื้นฟูดา้ นน�ำ้ สุขาภบิ าล การสง่ เสรมิ สขุ อนามัย WASH • ฟน้ื ฟดู ้านการประกอบอาชีพ • ฟื้นฟสู ภาพจิตใจ • ฟน้ื ฟูด้านกายภาพ ไดแ้ ก่ โรงเรยี น /ท่ีพกั ชัว่ คราว บา้ น (ซ่อมแซมบางส่วน/สร้าง) สถาน พยาบาล เป็นต้น • การดูแล/สนับสนนุ ผูป้ ระสบภยั ทีม่ ีความเปราะบาง : เด็ก ผสู้ งู อายุ 3. การตัง้ งบประมาณในการฟนื้ ฟู • จดั ต้ังงบประมาณเมอื่ เกิดภัย • การของบประมาณเพ่ือมาท�ำงานฟนื้ ฟู • เสนอข้อมลู ความตอ้ งการงบประมาณ/เงนิ บริจาค ท่มี อี ยู่แลว้ เพื่อก�ำหนดกรอบวงเงนิ • มีการแยกแยะเงนิ สภากาชาดในการชว่ ยเหลอื แตล่ ะระยะ • ท�ำบนั ทึกขออนุมัติกรอบวงเงนิ ท่ีใช้ในการฟน้ื ฟู เช่น กรอบวงเงนิ ฟนื้ ฟู 6 จังหวัด สนึ ามิ ประมาณการ ใชง้ บ 20 ลา้ นบาท 4. จดั ทมี ของคณะฟ้ืนฟูเพอ่ื ลงพ้นื ท่ปี ระเมินสถานการณ์ในเบือ้ งตน้ โดยประสานกับส�ำนักงาน บริหารกิจการเหล่ากาชาดและส�ำนักงานบรรเทาทุกข์ฯ เกี่ยวกับการลงพื้นท่ีเพ่ือส�ำรวจ ความเสียหายใหเ้ หน็ ภาพรวมของความเสยี หายทเ่ี กดิ ข้ึน 5. ให้ฝ่ายเลขาฯ ท�ำบันทึกถึงส�ำนักงานท่ีเก่ียวข้องเช่น ส�ำนักงานบริหารกิจการเหล่ากาชาด ส�ำนกั งานบรรเทาทกุ ขฯ์ วทิ ยาลยั พยาบาล ฯลฯ เพอ่ื แจง้ กรอบของโครงการทที่ างคณะกรรมการ ดา้ นฟืน้ ฟจู ะพจิ ารณา ในส่วนนจี้ ะแนบแบบฟอรม์ เสนอโครงการ และก�ำหนดวันทส่ี ่งกลบั 6. เมื่อมีโครงการส่งกลับมาคณะท�ำงานนัดประชุมเพ่ือพิจารณาโครงการเพื่อจะให้การ สนับสนุน 7. ท�ำบนั ทกึ สรปุ โครงการ เพอ่ื ขออนมุ ตั กิ รอบวงเงนิ ทใ่ี ชใ้ นการฟน้ื ฟู โดยบวกเพมิ่ อกี รอ้ ยละ 20 ของกรอบวงเงนิ ที่เสนอ 8. มอบหมายคณะท�ำงานติดตาม ประเมินโครงการแต่ละโครงการ 9. สรปุ ผลการประเมนิ แตล่ ะโครงการเปน็ รายเดอื นและรายไตรมาส เสนอประธานคณะกรรมการ จดั การภัยพิบัตสิ ภากาชาดไทยทราบ ดังน้นั เมอ่ื หนว่ ยเคล่อื นทีเ่ รว็ รวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกับความเสียหายและความต้องการ รวม ถงึ ปจั จยั ต่างๆ ท่ตี ้องการการฟนื้ ฟแู ลว้ ควรน�ำเสนอขอ้ มลู ในเบ้อื งตน้ ใหผ้ บู้ งั คับบญั ชาทราบและเตรยี ม เสนอโครงการฟนื้ ฟูตา่ งๆ ที่เข้าเกณฑข์ องคณะกรรมการฟ้นื ฟูให้กับฝา่ ยเลขาฯเพอ่ื ขออนมุ ตั ิ กรอบงบ ประมาณในการด�ำเนนิ งานฟ้นื ฟูตอ่ ไป 207

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหน่วยเคลอ่ิื นที่เรว็ เอกสารอา้ งอิง 1. กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย. แผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558; กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.; 2558 2. สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ (สศช.). รายงานการศึกษาเบ้ืองตน้ การจดั การภยั พบิ ตั แิ ละการฟน้ื ฟบู รู ณะหลงั การเกดิ ภยั กรณศี กึ ษาประเทศไทยและประเทศอน่ื ๆ. กรุงเทพฯ; 2554. 3. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.). การจัดการภัยพิบัติและ การฟ้นื ฟบู รู ณะหลงั การเกดิ ภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศอืน่ ๆ. กรงุ เทพฯ ; 2554. 4. สถาบนั ไทยพฒั น์ มลู นธิ บิ รู ณะชนบทแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ.์ Thai Disaster Resource Network.[Internet]. 2561 [เขา้ ถงึ เมอื่ 8 สงิ หาคม 2561]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.thaidrn.org / 2011/11/blog-post.html 5. ส�ำนักงานบรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทักษ์. รายงานการฝึกซ้อมคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติ สภากาชาดไทย. กรงุ เทพฯ; 2559. 208

Nationnal Disaster Response Team Handbook หลักการกาชาด กาชาดก�ำเนิดข้นึ เนื่องมาจากความปรารถนาท่จี ะช่วยเหลือผู้บาดเจ็บในสนามรบ โดยไมเ่ ลือกเชื้อชาติ วรรณะ ลัทธศิ าสนา ซึง่ การช่วยเหลือกระท�ำท้ังในประเทศของตนเอง และตา่ งประเทศ ทงั้ นี้เพ่ือป้องกนั และบรรเทาทุกขท์ รมานของมนษุ ย์ทกุ หนแห่ง โดยกาชาด มีจดุ มุ่งหมายที่จะคมุ้ ครองชวี ิตและสขุ ภาพ ของทุกคน เคารพต่อสทิ ธมิ นุษยชน สนับสนนุ และสง่ เสรมิ ความเขา้ ใจ ความเปน็ มิตรภาพและความ ร่วมมอื รวมถงึ การสง่ เสริมสนั ติภาพ ระหว่างประชากรทง้ั มวล กาชาดไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิในเร่อื ง สญั ชาติ เช้อื ชาติ ความเชอ่ื ทางศาสนา ช้ัน วรรณะหรอื ความคิดเห็นทาง การเมอื ง กาชาดเพยี รพยายามอยา่ งเดยี วทจ่ี ะบรรเทาทกุ ขท์ รมาน โดยใหก้ ารชว่ ยเหลอื อยา่ งเรง่ ดว่ นทส่ี ดุ เพื่อท่ีจะได้รับความวางใจจากทุกฝ่าย กาชาดไม่อาจเก่ียวข้องหรือเข้ากับฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดในการสู้รบ ไม่ว่าในเวลาใดหรอื กรณีขดั แย้งใดๆ อนั เนอ่ื งมาจากทางการเมือง เช้อื ชาติ ศาสนา หรือลทั ธนิ ิยม กาชาดเป็นอิสระ สภากาชาดแห่งชาติแม้จะมีส่วนช่วยเหลือในบริการด้านมนุษยธรรมของรัฐบาล ของตนเอง  และอยู่ในบังคับแห่งกฎหมายของประเทศตน จะต้องธ�ำรงความเป็นอิสระอยู่เสมอไป เพ่อื ท่ีจะสามารถปฏบิ ตั ิตามหลักการกาชาดไดท้ ุกเวลา กาชาดเป็นองคก์ ารอาสาสมคั รในการบรรเทาทุกข์ โดยไมม่ คี วามปรารถนาผลประโยชนใ์ ดๆ ท้งั สนิ้ ในประเทศทพี่ งึ มสี ภากาชาดไดเ้ พยี งแหง่ เดยี ว สภากาชาดตอ้ งเปดิ ใหแ้ กค่ นทว่ั ไป สภากาชาดตอ้ งปฏบิ ตั งิ าน ดา้ นมนุษยธรรมทว่ั ทกุ ดนิ แดนของตน กาชาดเป็นสถาบันสากล ซ่ึงสภากาชาดทงั้ มวลมฐี านะเทา่ เทียมกนั มสี ่วนในความรับผิดชอบและมี บทบาทหน้าทเ่ี ทา่ เทยี มกัน ในการชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกัน 209

หนังสือประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหนว่ ยเคลื่อิ นทเี่ รว็ คณะทป่ี รกึ ษา ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานบรรเทาทุกขฯ์ พลโทนายแพทยอ์ �ำนาจ บาลี นายแพทย์พิชิต ศริ วิ รรณ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งานบรรเทาทุกข์ฯ แพทยห์ ญิง ช.เขมศิริ คงรักเกียรติยศ รองผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานบรรเทาทกุ ข์ฯ นางสาวภาวณิ ี อยู่ประเสรฐิ ผชู้ ่วยผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งานบรรเทาทุกข์ฯ เภสชั กรหญงิ จริ าวรรณ สันตพิ ิทกั ษ์ ผชู้ ่วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบรรเทาทกุ ขฯ์ คณะผูจ้ ัดท�ำ บรรณาธิการ นางสาวสกุ ัญญา ทรัพย์อดุ มมัง่ ม ี หวั หน้างานบรรเทาทกุ ขผ์ ้ปู ระสบภยั สหพนั ธส์ ภากาชาดและสภาเส้ียววงเดอื นแดงระหว่างประเทศ (IFRC) นางสาวรมย์มณี แกล้วทนงค ์ เจ้าหนา้ ที่ฝา่ ยลดความเสย่ี งภยั พิบัติ คณะกรรมการกาชาดระหวา่ งประเทศ (ICRC) นายเอกราช รักวนสั หวั หนา้ แผนกกาชาดสัมพันธ์ นางสาวรัตนาภรณ์ พมุ่ มนั่ Tracing Assistant ส�ำนักสารนเิ ทศและสือ่ สารองค์กร ส�ำนกั งานบริหาร สภากาชาดไทย นางสาวกรองทอง เพช็ รวงศ์ ผ้อู �ำนวยการส�ำนกั สารนเิ ทศและสื่อสารองคก์ ร นางสาวณัฐณิชานันท์ ประสมศรี เจ้าหน้าทป่ี ระชาสัมพนั ธ์ 6 กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนช�ำนาญการ นายรวี ศภุ นมิ ิตวิเศษกุล ส�ำนกั งานบรรเทาทกุ ข์และประชานามยั พิทกั ษ์ สภากาชาดไทย เภสชั กรหญงิ จริ าวรรณ สนั ติพทิ กั ษ์ ผู้ช่วยผอู้ �ำนวยการส�ำนักงานบรรเทาทกุ ขฯ์ นายแพทย์ปญั ญาวฒั น์ แหนบนาค นายแพทย์ 7 ฝา่ ยบริการทางการแพทย์ นางสุนษิ ฐดิ า เพชรดว้ ง หัวหนา้ ฝา่ ยบรรเทาทกุ ขผ์ ปู้ ระสบภยั นางสาวสกุ ัญญา ทรัพย์อุดมมงั่ ม ี หวั หนา้ งานบรรเทาทุกขผ์ ู้ประสบภยั นางคนึงนจิ จันทรทนิ ผชู้ �ำนาญการพเิ ศษ พยาบาล 7 หวั หนา้ งานสร้างเสริมศักยภาพฯ นางสาวพันธ์ทิพย์ อธปิ ญั จพงษ์ ผู้ช�ำนาญการพเิ ศษ พยาบาล 7 นางสาวแนง่ น้อย จุไธสง ผชู้ �ำนาญการพเิ ศษ พยาบาล 7 นางสาวกฤวสิ รา ธนเพ่มิ พร ผ้ชู �ำนาญการพเิ ศษ พยาบาล 7 นางสาวอารรี ักษ์ บุญมีประเสรฐิ พยาบาล 6 นางสาวอสิ ราภรณ์ พละศกั ด ์ิ พยาบาล 5 นายสามารถ นาคยรรยง เจ้าหนา้ ทร่ี ะบบงานคอมพวิ เตอร์ 5 ศูนย์ปฏิบตั ิการภยั พบิ ัตฯิ นายอ�ำนาจ จินันทยุ า เจ้าหนา้ ทีว่ ทิ ยสุ ่อื สาร 4 ศูนยป์ ฏิบตั ิการภยั พิบัติฯ นายสราวธุ จนั ทรก�ำเนดิ เจา้ หน้าทวี่ ทิ ยสุ ่ือสาร 4 ศนู ย์ปฏบิ ัติการภัยพิบัติฯ 210