Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NDRT Manual (TH) หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยเคลื่อนที่เร็ว

NDRT Manual (TH) หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยเคลื่อนที่เร็ว

Published by e20dku, 2022-06-29 05:04:20

Description: หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยเคลื่อนที่เร็ว
National Disaster Response Team Handbook

Keywords: Response team,Disaster management,Handbook,Disaster,Crisis managment

Search

Read the Text Version

หนงั สือประกอบ การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ หน่วยเคล่ืิอนทีเ่ ร็ว Nationnal Disaster Response Team Handbook

หนงั สือประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารหนว่ ยเคล่ิอื นที่เรว็ 2

Nationnal Disaster Response Team Handbook 3

หนงั สือประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารหนว่ ยเคล่อิื นท่ีเร็ว หนงั สอื ประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการหนว่ ยเคลอ่ื นทีเ่ ร็ว National Disaster Response Team Handbook พิมพค์ รัง้ ท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2562 จ�ำ นวน 100 เล่ม จัดท�ำ โดย ส�ำ นักงานบรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทกั ษ์ สภากาชาดไทย 1871 ถนนองั รดี ูนังต์ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรงุ เทพฯ 10330 สนับสนุนโดย โทร. 0-2251-7853-6 โทรสาร 0-2252-7976 สงวนลิขสทิ ธ ิ์ www.rtrc.in.th และ www.redcross.or.th จดั พมิ พแ์ ละเผยแพร่โดย สหพันธส์ ภากาชาดและสภาเส้ยี ววงเดือนแดงระหวา่ งประเทศ (IFRC) พิมพ์ที่ และองค์กรเพือ่ การพฒั นาระหวา่ งประเทศแหง่ สหรฐั อเมรกิ า (USAID) TRC.RH-TMR เผยแพร่ไดแ้ ตห่ ้ามจดั จ�ำ หนา่ ย ISBN สำ�นักงานบรรเทาทุกข์และประชานามยั พทิ ักษ์ สภากาชาดไทย บริษทั คลาสคิ สแกน จ�ำ กดั โทร. 02291-7575 โทรสาร 0-2291-1177 09-19-001 978-616-8212-07-3 4

Nationnal Disaster Response Team Handbook คำ� น�ำ ยามเกิดภัยพิบัติ ผู้ปฏิบัติงานหน่วยเคล่ือนท่ีเร็ว เร่งออกปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถ ตอบสนองความตอ้ งการของผปู้ ระสบภยั (Survival needs) ไดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งที และมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอื่ สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ของสภากาชาดไทย คอื การชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั อยา่ งรวดเรว็ ซึ่งละไว้ในฐานท่ีเข้าใจว่า อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน งานบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย จงึ จดั การอบรมสรา้ งศกั ยภาพผปู้ ฏบิ ตั งิ านหนว่ ยเคลอ่ื นทเ่ี รว็ โดยหลกั สตู ร Rapid Action Team และ National Disaster Response Team ซง่ึ ไดร้ บั การสนบั สนนุ ทงั้ ดา้ นองคค์ วามรแู้ ละงบประมาณ ของสหพนั ธส์ ภากาชาดและสภาเสยี้ ววงเดอื นแดงระหวา่ งประเทศ (IFRC) และองคก์ รเพอื่ การ พฒั นาระหวา่ งประเทศแหง่ สหรฐั อเมรกิ า (USAID) เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งและเชอ่ื มโยงกบั Regional Disaster Response Team รวมถงึ บรบิ ทการตอบสนองภัยพบิ ัติของประเทศไทย รวมทง้ั ส้ิน จ�ำนวน 7 รุ่นแลว้ น้ัน เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมและผู้ปฏิบัติงานหน่วยเคล่ือนที่เร็วรวมถึงผู้ท่ีสนใจสามารถ ศึกษาความรู้หรือทบทวนก่อนการปฏิบัติงานตอบสนองภัยพิบัติในพื้นที่ งานบรรเทาทุกข์ ผปู้ ระสบภยั จงึ จดั ท�ำหนงั สอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหนว่ ยเคลอื่ นทเ่ี รว็ ซงึ่ ไดร้ บั ความ อนเุ คราะหจ์ ากผทู้ ม่ี คี วามรู้ ความเชย่ี วชาญและประสบการณจ์ ากส�ำนกั งานตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ท้ังในและนอกสภากาชาดไทย ได้แก่ส�ำนักงานบรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทักษ์ ส�ำนัก วเิ ทศสมั พนั ธ์ ส�ำนกั สารนเิ ทศและสอ่ื สารองคก์ ร สหพนั ธส์ ภากาชาดและสภาเสย้ี ววงเดอื นแดง ระหว่างประเทศ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั รว่ มกนั จัดท�ำเนื้อหาความรู้ ส�ำนักงานบรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทักษ์ ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ในการจัดท�ำเนื้อหาความรู้ และองค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา ทก่ี รณุ าสนบั สนนุ งบประมาณในการด�ำเนนิ การครัง้ นี้ พลโท นายแพทย์ อ�ำนาจ บาลี ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบรรเทาทุกขแ์ ละประชานามยั พทิ กั ษ์ สภากาชาดไทย 5

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการหน่วยเคลิอ่ื นทีเ่ รว็ 8 10 สารบัญ 18 28 อกั ษรยอ่ 41 คำ�จ�ำ กดั ความดา้ นภัยพบิ ัตแิ ละวงจรการจดั การภัยพบิ ัติ การจัดการภัยพบิ ตั ิ หลกั การประสานงานและการปฏิบตั งิ าน 49 กลไกการตอบสนองภยั พิบตั ขิ องสภากาชาดไทย 57 เคร่ืองมอื ตอบสนองภัยพิบัติในระดบั สากลของสหพนั ธ์สภากาชาดและ 73 สภาเส้ยี ววงเดอื นแดงระหว่างประเทศ 85 กรอบการปฏบิ ตั ิงานในพนื้ ท่ีสุ่มเสีย่ ง 94 การสานสายสัมพันธ์ครอบครวั หน่งึ ในภารกิจของสภากาชาดไทย 99 การใชค้ มู่ อื กฏบัตรมนุษยธรรมและมาตรฐานขัน้ ต�่ำ ในการช่วยเหลือผ้ปู ระสบภยั 114 การประเมนิ ความเสียหายและความตอ้ งการของผู้ประสบภยั 124 การส่อื สารและประชาสัมพนั ธ์ในภาวะภยั พบิ ตั ิ 131 ระบบการส่อื สารของสภากาชาดไทย การจัดการด้านการบรรเทาทกุ ข์ 148 การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ด้านการแพทย์ในภาวะภัยพิบัต ิ 159 การให้ความช่วยเหลือดา้ นนำ้� สุขาภบิ าลและการสง่ เสริมสขุ อนามัย 168 ในเหตกุ ารณ์สาธารณภัยส�ำ หรับพยาบาลสภากาชาดไทย 177 การบรหิ ารจดั การศูนยพ์ กั พิงช่ัวคราว 187 การช่วยเหลือด้านจติ สังคมในภาวะภัยพบิ ัติ 198 ระบบโลจิสติกส์ในงานสาธารณภยั 209 การเขยี นแผนปฏิบัติการเพอื่ ตอบสนองภยั พบิ ตั ิ 210 การเตรยี มชมุ ชนพรอ้ มรบั ภยั พิบตั ิ การฟื้นฟูบูรณะหลงั เกิดภยั พบิ ตั ิ หลกั การกาชาด คณะผ้จู ดั ทำ� 6

Nationnal Disaster Response Team Handbook กลมุ่ องคก์ รกาชาดและบทบาทหนา้ ท่ี คณะกรรมการกาชาดระหวา่ งประเทศ International Committee of the Red Cross (ICRC) มหี นา้ ทใ่ี หค้ วามคมุ้ ครอง และ การชว่ ยเหลอื แกผ่ ทู้ เ่ี ดอื ดรอ้ นจากภยั สงคราม รวมทง้ั ดูแล กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ให้ความช่วยเหลอื ส่งเชลยกลับมาตภุ ูมิ แลกเปลย่ี นตวั เชลยสงคราม เยยี่ มผตู้ อ้ งขงั จดหมายกาชาด ชว่ ยเหลอื ดา้ นการแพทย์ น�ำ้ ดืม่ น้�ำใช้ ทีอ่ ยู่อาศยั และเผยแพร่กฏหมายมนุษยธรรม สหพันธส์ ภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหวา่ งประเทศ มีหน้าท่ี • ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัยพิบัติและผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติตาม ธรรมชาติ • ช้ีแนะและประสานงานในระดบั ระหว่างประเทศ • ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ต่อผ้โู ยกยา้ ยถน่ิ ฐาน • เสริมสร้างประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั งิ านของสภากาชาดประจ�ำชาติต่างๆ สภากาชาดประจำ� ชาติ/สภาเส้ยี ววงเดือนแดงประจำ� ชาติ National Societies ( NS ) มหี น้าท่ี • เป็นท่พี ึ่งของประชาชนโดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส ผู้ตกทุกขไ์ ด้ยากและผปู้ ระสบภัย ให้รอดชวี ติ และมคี วามเป็นอยู่ที่ดขี ้ึน • อยู่ภายใตก้ ฎหมายหรอื พระราชกฤษฎกี า • มีเครอื ขา่ ยโยงใยท่วั โลกถงึ 190 ประเทศ • มีเครือข่ายอาสาสมัครท้องถ่ินเป็นล้านๆคน ที่เป็นหนึ่งเดียวและมีความรู้และ เชอื่ ถือได้ • ท�ำงานบนหลกั การพ้นื ฐาน 7 ประการ 7

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารหนว่ ยเคลิอ่ื นทเี่ ร็ว อกั ษรย่อ Beneficiary’s Communication การสอ่ื สารกบั ผู้รับประโยชน์ BENCOM Centre Administrator กองอ�ำนวยการกลางศนู ยพ์ กั พงิ ช่ัวคราว CA Community Based Disaster Risk Reduction การลดความเสย่ี งจากภยั พบิ ัตโิ ดยใช้ชุมชนเป็นฐาน CBDRR Centre Coordinator ฝ่ายประสานงานศนู ย์พกั พงิ ชัว่ คราว CC Centre Manager ผจู้ ัดการศนู ยพ์ กั พิงช่ัวคราว CM Disaster Management การจัดการภยั พิบตั ิ DM Disaster Risk Reduction การลดความเสยี่ งจากภยั พิบัติ DRR Department of Disaster Prevention and Mitigation กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย DDPM Disaster Management Information System ระบบข้อมลู สารสนเทศเพอ่ื การจัดการภยั พิบัติ DMIS Disaster Relief Emergency Fund กองทนุ ฉกุ เฉนิ เพอื่ บรรเทาภัยพบิ ตั ิ DREF Emergency Appeal เงินทนุ ช่วยเหลอื ยามฉุกเฉิน EA Emergency Response Unit หน่วยตอบสนองภยั พบิ ตั ิ (เฉพาะดา้ นเชน่ โรงพยาบาลสนาม Field Hospital) ERUs Field Assessment and Coordination Team ทีมประสานงานภาคสนาม FACT Hazard, Vulnerability and Capacity Assessment การประเมนิ ภัย การประเมนิ ความเปราะบาง และการประเมนิ ความสามารถ HVCA United States Agency for International Development องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมรกิ า USAID Vulnerability and Capacity Assessment การประเมนิ ความเปราะบางและการประเมนิ ความสามารถ VCA International Committee of the Red Cross คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ICRC 8

IFRC Nationnal Disaster Response Team Handbook NDRT International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies สหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ NDMC National Disaster Response Team ทีมตอบสนองภยั พิบัตริ ะดบั ชาติ (หนว่ ยเคลื่อนทเ่ี รว็ สภากาชาดไทย) NDMP National Disaster Management Committee คณะกรรมการจัดการภัยพิบัติแห่งชาติ NDMA National Disaster Management Plan แผนจัดการภัยพบิ ัตแิ หง่ ชาติ NDMO National Disaster Management Authority หน่วยงานจดั การภยั พบิ ตั แิ ห่งชาติ NS National Disaster Management Organization หนว่ ยงานจัดการภยั พบิ ัตแิ หง่ ชาติ PSS National Society สภากาชาดแตล่ ะประเทศ OFDA Psychosocial Support การชว่ ยเหลอื ดา้ นจติ สงั คม Office of U.S. Foreign Disaster Assistance PNS ส�ำนกั งานความชว่ ยเหลอื เหตุภยั พิบตั ใิ นต่างประเทศ ขององค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแหง่ สหรัฐอเมรกิ า RDRT Partner National Society พนั ธมิตรองค์กรกาชาด RFL Regional Disaster Response Team ทมี ประเมนิ สถานการณ์ฉุกเฉินระดับภูมภิ าค SEA Restoring Family Links การสานสมั พนั ธ์ครอบครวั SAF Southeast Asia เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ WASH Safer Access Framework กรอบการปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ความปลอดภยั ในการเขา้ พนื้ ท่สี มุ่ เสยี่ ง Water and Sanitation and Hygiene Promotion น�้ำ สุขาภบิ าลและการส่งเสริมสุขอนามัย 9

หนังสือประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารหนว่ ยเคล่อิื นทเี่ รว็ ค�ำจ�ำกDัดeคfiวnาiมtiดon้านaภnัยdพDิบiัตsิaแsลtะeวrงจMรaกnาaรgจeัดmกาeรnภt ัยCพycิบlัตeิ สกุ ญั ญา ทรัพยอ์ ดุ มมง่ั มี หัวหนา้ งานบรรเทาทกุ ขผ์ ปู้ ระสบภยั สำ�นกั งานบรรเทาทุกข์และประชานามยั พทิ กั ษ์ ภยั (Hazard) เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ จากภยั ธรรมชาตหิ รอื การกระท�ำของมนษุ ย์ ทอ่ี าจน�ำมา ภัยพิบัติ (Disaster) ซึ่งความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน ตลอดจนท�ำให้เกิดผลกระทบ ชมุ ชน (Community) ทางเศรษฐกจิ สังคม และสิง่ แวดลอ้ ม การหยุดชะงักอย่างรุนแรงของการปฏิบัติหน้าที่ของชุมชนหรือสังคม ความเสย่ี งจากภัยพิบัติ อนั เปน็ ผลมาจากการเกดิ ภยั ทางธรรมชาตหิ รอื เกดิ จากมนุษย์ ซ่ึงสง่ ผล (Disaster Risk) ต่อชีวิต ทรัพย์สิน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมอย่างกว้างขวาง เกินกว่าความสามารถของชุมชนหรือสังคมที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว จะรับมือไดโ้ ดยใช้ทรัพยากรท่ีมอี ยู่ 1. กลุ่มคนในพื้นท่ีเดียวกัน เช่น หมู่บ้าน ขอบเขตพ้ืนท่ี หรืออ�ำเภอ 2. เครอื ขา่ ยผ้คู นทจี่ ัดตง้ั ขน้ึ เองอนั มีเปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ และความ สนใจร่วมกัน โดยการแบ่งปันความคิด ข้อมูล และทรัพยากรอ่ืนๆ 3. (การลดความเสย่ี งจากภยั พบิ ตั )ิ ผคู้ นทอี่ าศยั อยใู่ นพนื้ ทที่ างภมู ศิ าสตร์ แหง่ ใดแหง่ หนง่ึ ซ่งึ อาจประสบภยั แบบเดยี วกันเนอื่ งมาจากท�ำเลที่ต้ัง อาจเป็นกลุ่มคนท่ีมีประสบการณ์ในการรับมือกับภัยและภัยพิบัติ ร่วมกัน แต่อาจมีมุมมองต่อความเสี่ยงและมีสภาวะการเปิดรับ ต่อความเสี่ยงที่ต่างกัน กลุ่มคนเหล่น้ีเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการ ด�ำเนินมาตรการลดความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ิ โอกาสหรือความเป็นไปได้ (likelihood) ในการได้รับผลกระทบทางลบ จากการเกิดภัยพิบัติ โดยผลกระทบสามารถเกิดข้ึนกับชีวิต ทรัพย์สิน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ในระดับบุคคล ชุมชน สังคม หรือ ประเทศ 10

Nationnal Disaster Response Team Handbook การบริหารจดั การภยั พิบตั ิ การใชก้ ลไก กระบวนการ และองค์ประกอบในการด�ำเนนิ งาน เพือ่ จุด (Disaster Management) มุ่งหมายในประสิทธิผลและประสิทธิภาพของปฏิบัติการด้านภัยพิบัติ อาทิ การป้องกัน การลดผลกระทบ การเตรยี มพรอ้ ม การเผชิญเหตุ การชว่ ยเหลอื บรรเทาทุกข์ ตลอดจนการบรู ณะซอ่ มแซมและพฒั นา ความลอ่ แหลม หรอื การท่ีผู้คน อาคารบ้านเรือน ทรัพย์สิน ระบบ หรือองค์ประกอบใดๆ สภาวะการเปดิ รับต่อ มีท่ตี ั้งอยใู่ นพื้นท่ีเสี่ยงภยั และอาจไดร้ บั ความเสยี หาย ความเส่ยี ง (Exposure) ความเปราะบาง สภาวการณ์ ความช�ำนาญ หรอื ทรพั ยากรตา่ งๆ ทอี่ ยใู่ นความครอบครอง (Vulnerability) ของประชาชน ชมุ ชนหรอื สงั คมหนงึ่ ๆ ซงึ่ มคี ณุ ลกั ษณะเชงิ บวก สามารถ การประเมนิ ความเสยี่ ง พฒั นาเคลอ่ื นยา้ ยและเขา้ ถงึ เพอ่ื น�ำมาใชเ้ พม่ิ ขดี ความสามารถของสงั คม (Risk Assessment) และชมุ ชนในการบรหิ ารจดั การ ความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ชิ ว่ ยใหค้ าดการณ์ การลดความเส่ยี ง ภัยท่ีจะเกิดขึ้นและรับมือกับความเสยี่ งจากภยั พิบตั ิไดม้ ากขน้ึ จากภยั พิบตั ิ กระบวนการก�ำหนดลักษณะ ขนาด หรือขอบเขตของความเสี่ยงโดย (Disaster Risk การวเิ คราะหภ์ ยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ รวมทง้ั ประเมนิ สภาวะการเปดิ รบั ตอ่ ความเสย่ี ง Reduction: DRR) ความเปราะบาง ศกั ยภาพ ในการรบั มือของชมุ ชนที่อาจเป็นอนั ตราย และคาดการณผ์ ลกระทบตอ่ ชวี ติ ทรพั ยส์ นิ การด�ำรงชวี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ การวเิ คราะหค์ วามนา่ จะเปน็ ในการเกดิ ผลกระทบจากภยั ในพนื้ ทหี่ นง่ึ ๆ มีประโยชน์ในการวางแผนเพื่อจัดการความเส่ยี งอยา่ งมรี ะบบ แนวคิดและวิธีปฏิบัติในการลดโอกาสท่ีจะได้รับผลกระทบทางลบจาก ภัยพบิ ตั ิ ผา่ นความพยายามอยา่ งเปน็ ระบบท่ีจะวิเคราะห์ และบรหิ าร จดั การปจั จยั ทเ่ี ปน็ สาเหตแุ ละผลกระทบของภยั พบิ ตั ิ เพอ่ื ด�ำเนนิ นโยบาย มาตรการหรอื กิจกรรมตา่ งๆ ในการลดความลอ่ แหลม ลดปัจจยั ที่ท�ำให้ เกดิ ความเปราะบาง และเพมิ่ ศกั ยภาพในการจดั การปญั หา มเี ปา้ หมาย ในการลดความเส่ียงท่ีมีอยู่ในชุมชนและสังคมในปัจจุบันและป้องกัน ความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต 11

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหน่วยเคล่ืิอนท่เี ร็ว การป้องกนั (Prevention) มาตรการ หรอื แนวทางตา่ งๆ เพอ่ื ชว่ ยขจดั ผลกระทบเชงิ ลบจากเหตกุ ารณ์ ภัยพิบัติที่อาจเกิดกับบุคคลหรือทรัพย์สินให้หมดไปอย่างสิ้นเชิง ครอบคลุมมาตรการเชิงโครงสร้างและมาตรการทไ่ี ม่ใช่เชิงโครงสร้าง การลดผลกระทบ/ ปฏิบัติการลดผลกระทบทางลบโดยตรงของภัยท่ีเป็นอันตรายต่อสังคม การบรรเทาผลกระทบ และสิ่งแวดล้อมเนื่องจากผลกระทบทางลบของภัยโดยมากไม่สามารถ (Mitigation) ขจัดให้หมดไปอย่างสื้นเชิงแต่ขนาดและความรุนแรงของความเสียหาย สามารถลดทอนได้จากการด�ำเนนิ นโยบายและกจิ กรรมตา่ งๆ การเตรียมพร้อม ความพยายามในการตรียมรับมือกับภัยพิบัติ มุ่งเน้นกิจกรรมต่างๆ (Preparedness) ที่ท�ำใหผ้ ูค้ นมีความสามารถในการคาดการณ์ เผชิญเหตุ และจดั การกับ ผลกระทบจากภัยพิบัติอย่างเป็นระบบ หากมีการเตรียมความพร้อม ได้ดีจะท�ำให้สามารถด�ำเนินการต่างๆได้อย่างเหมาะสมทั้งในช่วงก่อน ระหว่าง และหลังการเกิดภัยพิบัติและเพ่ิมโอกาสในการรักษาชีวิตให้ ปลอดภยั จากเหตุการณ์ภัยพบิ ตั ไิ ดม้ ากข้ึน การประเมนิ ความเสียหาย การประเมินผลกระทบจากภัยพิบัติเพ่ือวิเคราะห์ความสามารถของ และความตอ้ งการ ผู้ประสบภัย ในการเผชญิ สถานการณ์ฉกุ เฉินด้วยตนเอง รวมทง้ั ความ (Damage and Needs ต้องการความชว่ ยเหลอื เพมิ่ เติมจากหนว่ ยงานภายนอก เช่น ความ Assessment: DaNA) ชว่ ยเหลอื ในดา้ นอาหาร นำ�้ ดมื่ การรกั ษาพยาบาล สขุ อนามยั การก�ำจดั สงิ่ ปฏกิ ูล สขุ ภาวะ ที่พักพิง อุปกรณย์ ังชีพ การอพยพ การเคลื่อนย้ายผู้คนหรือสัตว์เล้ียงให้ออกไปจากส่ิงคุกคามหรือสถานที่ (Evacuation) ประสบภยั อย่างรวดเรว็ และทันท่วงที เพศสภาพ (Gender) ความแตกต่างของชายหญิงทางสังคมเกิดจากทัศนคติความคาดหวัง ของสังคมให้หญิงชายมีบทบาทและปฏิบัติหน้าที่ตามที่สังคมคาดหวัง ใหห้ ญงิ และชายเป็น 12

Nationnal Disaster Response Team Handbook ศนู ยป์ ฏบิ ัติการฉกุ เฉิน สถานทท่ี มี่ ีเครือ่ งมอื อุปกรณ์พรอ้ ม เปน็ ศนู ย์กลางเพอื่ อ�ำนวยการและ (Emergency Operation ประสานการปฏิบัติหน้าที่ในห้วงเวลาของการเผชิญเหตุการณ์ภัยพิบัติ Centre : EOC) มีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นศูนย์สั่งการให้แนวนโยบายปฏิบัติการและ ระบบการสอ่ื สารใน อ�ำนวยความสะดวกดา้ นการประสานงานส�ำหรบั ผบู้ รหิ ารและเจา้ หนา้ ที่ เหตกุ ารณ์ฉกุ เฉนิ เพอ่ื ใหก้ ารเผชิญเหตุการณ์ฉกุ เฉนิ มปี ระสทิ ธภิ าพ (Emergency ระบบใดๆ ซง่ึ สรา้ งขน้ึ เพอื่ สนบั สนนุ การสอื่ สารแบบทางเดยี วและสองทาง Communication System) เพอื่ สง่ ข้อความในภาวะฉกุ เฉนิ ระหวา่ งบคุ คลหรือกล่มุ บุคคล ออกแบบ เพอื่ ใหส้ ามารถเชอ่ื มตอ่ การสอ่ื สารระหวา่ งเทคโนโลยที มี่ รี ปู แบบแตกตา่ ง กันได้ ท�ำใหเ้ กดิ ระบบการสื่อสารแบบรวมศูนย์ทชี่ ว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ การสื่อสารในภาวะฉุกเฉินให้มากท่สี ุด ระบบสารสนเทศ ระบบข้อมูลข่าวสารท่ีเช่ือมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์และรายละเอียด ภมู ศิ าสตร์, จีไอเอส ของวัตถุบน พนื้ โลกโดยใช้คอมพิวเตอรท์ ี่ประกอบด้วยฮาร์ดแวรแ์ ละ (Geographic Information ซอฟตแ์ วร์เพอื่ การน�ำเขา้ จัดเกบ็ ปรับแก้ แปลง วิเคราะหข์ ้อมูล และ System : GIS) แสดงผลลัพธใ์ นรูปแบบต่าง ๆ เช่น แผนท่ี ภาพ 3 มิติ สถิตติ ารางข้อมลู เพอื่ ชว่ ยในการวางแผนและตดั สินใจของผู้ ใช้ใหม้ คี วามถูกต้องแม่นย�ำ ระบบแจ้งเตอื นภยั ระบบท่ีมีศักยภาพในการประมวลผลข้อมูลและแจ้งเตือนตามช่วงระยะ (Early Warning System) เวลา เพ่ือให้บคุ คล ชุมชน และหนว่ ยงานทเ่ี สีย่ งตอ่ ภัยมเี วลาเพียงพอ ในการเตรียมการและรับมอื ได้อยา่ งเหมาะสม เพ่อื ลดโอกาสการเกดิ อนั ตรายและความสญู เสีย จติ สังคม (Psychosocial) ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางจิตใจและสังคมที่ผันแปรอย่าง ต่อเน่อื ง และสง่ ผลต่อพฒั นาการของมนษุ ย์ 13

หนังสอื ประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหนว่ ยเคลืิ่อนที่เร็ว แนวคิดในการจดั การภัยพิบตั ิ การจดั การภัยพิบตั เิ ปน็ กระบวนการท่ีต่อเนอ่ื ง ตัง้ แตก่ ารเตรยี มพรอ้ มก่อนเกดิ เหตุ การรับมอื ในภาวะฉุกเฉิน การบรรเทาทุกข์ ช่วยชีวิตและการฟื้นฟูบูรณะหลังเกิดเหตุการณ์ ในอดีตการจัดการ ภัยพิบัติมักเน้นเรื่องการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์เป็นหลัก แต่แนวโน้มของการจัดการภัยพิบัติสมัยใหม่ มีลกั ษณะของการเตรียมการเชงิ รุกมากขน้ึ โดยมปี ัจจยั เกี่ยวขอ้ ง 3 ประการคือ การเปลีย่ นแปลงสภาพ ภมู อิ ากาศทขี่ ยายตวั เปน็ วงกวา้ งมากขน้ึ และรนุ แรงมากขนึ้ ผรู้ บั ความเสยี หายมจี �ำนวนมากขนึ้ และปญั หา ทเ่ี ปน็ ผลจากภยั พบิ ตั ติ อ้ งการการดแู ลในระยะยาวมากขนึ้ โดยด�ำเนนิ การดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ เพอื่ หลกี เลยี่ ง การสญู เสยี ชีวติ และทรัพย์สนิ ทจี่ ะเกดิ ข้ึนจากภัยพบิ ตั ิ รวมทั้งมาตรการท่ีครอบคลุมการแกไ้ ขปัญหาท้งั ระยะสั้นและระยะยาว ซ่ึงเป็นการวางแผนเพ่ือเผชิญหน้ากับสถานการณ์ตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุ ระหว่าง เกดิ เหตุและหลงั เกดิ เหตทุ ี่ต่อเนอ่ื งจนครบกระบวนการเรยี กวา่ “ วงจรการจดั การสาธารณภัย (Disaster Management Cycle) ” การจัดการภยั พบิ ัติหรือสาธารณภัย โดยท่ัวไปหมายถึงการจดั การในองค์กรโดยเฉพาะในด้าน ทรัพยากร เพ่ือตอบสนองในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้ประสบภัยพิบัติ ซึ่งแบ่งเป็น กจิ กรรมในระยะตา่ งๆ โดยแบ่งเป็น 3 ระยะได้แก่ การเตรียมพร้อมในระยะกอ่ นเกดิ ภัย การตอบสนอง ในระยะเกดิ ภยั และการฟน้ื ฟบู รู ณะในระยะหลงั เกดิ ภยั เพอ่ื ชว่ ยใหป้ ระชาชนไดร้ บั ผลกระทบจากภยั พบิ ตั ิ น้อยทส่ี ุด ซง่ึ ในแต่ละระยะของการเกดิ ภัยจะมกี ิจกรรมทแ่ี ตกต่างกนั ออกไป วงจรการบริหารจดั การภยั พิบตั ิ (Disaster Management Cycle) การเตรยี มความพรอ้ ม เกิดภยั พิบตั ิ การจดั การในภาวะฉกุ เฉิน Preparedness Disaster Impact Emergency Response ระหว่างเกิดภยั กอ่ นเกิดภยั หลงั เกิดภยั การป้ องกนั และลดผลกระทบ การจดั การฟ้ื นฟบู รู ณะ Prevention and Mitigation Rehabilitation and Reconstruction ในระยะกอ่ นเกิดภยั กิจกรรมทส่ี �ำคัญคอื 1. การป้องกันภัย (Disaster Prevention) และการลดผลกระทบ (Mitigation) แบ่งไดอ้ อกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่มาตรการป้องกนั และลดผลกระทบโดยใชส้ ิ่งปลกู สร้าง ได้แก่ การสร้างเขอ่ื น/ท�ำนบ คนั ก้ันน�ำ้ เพ่อื ป้องกนั น้�ำทว่ ม การควบคุมไฟป่า การออกกฏหมายห้ามใช้ที่ดนิ ในพื้นท่เี สย่ี งภัย และการ ก�ำหนดมาตรฐานความปลอดภัยของสิ่งก่อสร้างเป็นต้น ส�ำหรับมาตรการป้องกันและบรรเทาภัยโดย ไมใ่ ชส้ ง่ิ ปลกู สรา้ ง ไดแ้ กก่ ิจกรรมให้ความรู้ หรอื กจิ กรรมปลูกจติ ส�ำนึก ในหลายประเทศจงึ ใชม้ าตรการ ทัง้ 2 ด้านควบค่กู ัน เช่นมาตรการการปรับปรุงระบบแจ้งเตือนภัย การวางแผนควบคุมการใช้ท่ีดนิ เพื่อ 14

Nationnal Disaster Response Team Handbook การผลกั ดันในเชงิ นโยบาย โดยท�ำควบคูไ่ ปกบั การสรา้ งความตระหนกั รขู้ องสาธารณชน ผา่ นการใหก้ าร ศกึ ษาและฝึกอบรม 2. การเตรียมพร้อม (Preparedness) คอื การเตรียมการล่วงหน้าเพอ่ื เพ่มิ ขดี ความสามารถให้ กับรัฐบาล องค์กรปฏบิ ัติ ชุมชน และบคุ คล ในการเผชญิ กับภัยพิบัตไิ ด้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น การเตรียมพร้อมเป็นบทบาทหน้าที่ของหน่วยปฏิบัติจ�ำนวนมากที่ต้องประสานงานกันมาตรการท่ี ส�ำคัญประกอบด้วย • การจัดท�ำแผนรองรบั ภาวะฉุกเฉิน • การเตรียมแผนอพยพประ ชากร • การวางระบบแจ้งเตือนและระบบการสอื่ สารในภาวะฉกุ เฉิน • การเตรยี มระบบการรบั บริจาค • การอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัคร และสาธารณชนด้วย เพื่อให้มีการเตรียมพร้อมทั้งใน ระดบั บุคคลและครวั เรอื น • การประชุมประสานงานและความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง (Collaboration and Coordination Meeting) • การประสานความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานภาคเอกชน (Private Sector) เช่นส�ำนักงานบรรเทา ทุกขฯ์ มีการประสานงานและลงนามข้อตกลงเบื้องต้น(MOU) ในการบรจิ าคน้�ำด่มื น�้ำทพิ ย์ เมอื่ มผี ู้ประสบภัยร้องขอชุดธารนำ�้ ใจฯ โดยบรจิ าคปลี ะ 2,000,000.00 บาท • การเตรียมความพรอ้ มสิ่งของบรรเทาทุกขค์ งคลัง วัสดุอปุ กรณต์ ่างๆ ยานพาหนะให้พรอ้ ม ใชง้ านตลอดเวลา • การฝึกซ้อมตอบสนองภัยพิบัติตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของหน่วยงาน ซง่ึ มที งั้ การฝึกซ้อมแบบซ้อมแผนแบบบนโตะ๊ หรือเปน็ การซอ้ มแผนแบบภาคสนาม (Field Exercise) • กจิ กรรมสนับสนนุ อนื่ ๆ ในระยะเกิดภัยกิจกรรมทสี่ ำ� คัญคือ 1. การบรรเทาทุกข์ ในดา้ นตา่ งๆ ได้แก่ • ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ • ด้านเครื่องอปุ โภค-บริโภค • ดา้ นทอ่ี ยอู่ าศัย • ดา้ นน้�ำ สขุ าภิบาลและการสง่ เสริมสุขอนามยั • กิจกรรมสนับสนนุ อน่ื ๆ 2. การจดั การข้อมลู ขา่ วสารในภาวะภยั พิบัติ 3. การจดั สวสั ดกิ ารเจา้ หนา้ ท่ี เพราะในบางครงั้ เจา้ หนา้ ทท่ี ปี่ ฏบิ ตั งิ านดา้ นการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยก็ได้รับผลกระทบและเป็นผู้ประสบภัยเหมือนกัน รวมถึงการจัดสวัสดิการ ส�ำหรับอาสาสมัคร 4. การรณรงคร์ บั บรจิ าค 15

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการหน่วยเคลอ่ิื นท่เี ร็ว ในระยะหลงั เกิดภยั กจิ กรรมทส่ี ำ� คญั คือ การฟนื้ ฟบู รู ณะ (Recovery) เป็นขนั้ ตอนทดี่ �ำเนนิ การเม่ือภยั พบิ ตั ผิ า่ นพน้ ไปแล้ว เพ่อื ให้ประชาชน และชุมชนที่ไดร้ ับผลกระทบกลบั คนื สสู่ ภาพท่ีดีขึ้น รวมถึงการเตรียมชุมชนใหพ้ ร้อมรบั ภยั พบิ ัตใิ ห้ดีขน้ึ กวา่ เดมิ มาตรการหรือกจิ กรรมท่ีส�ำคัญประกอบดว้ ย 1. การซอ่ มแซมโครงสรา้ งพ้นื ฐานสว่ นรวมของชมุ ชน ไดแ้ กโ่ รงเรียน วัด ศาสนสถาน เป็นตน้ 2. การซ่อมแซม การกอ่ สร้างท่อี ยอู่ าศัย 3. การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ฟ้ืนฟูชีวิตความเปน็ อยขู่ องประชาชนท่ปี ระสบภัย เชน่ การใหค้ วาม ช่วยเหลือด้านการประกอบอาชพี โดยมอบเคร่ืองมอื ในการประกอบอาชพี เปน็ ตน้ 4. โครงการชุมชนพร้อมรบั ภัยพบิ ตั ิโดยใชช้ มุ ชนเป็นฐาน ในปัจจบุ นั การกล่าวถงึ การบรหิ ารจดั การภัยพบิ ตั ิ จะมกี จิ กรรมหนงึ่ ทีส่ ามารถท�ำไดใ้ นทกุ ระยะของการเกดิ ภัย ได้แกก่ ารลดความเส่ยี งจากภยั พบิ ัติ ส�ำหรับกจิ กรรมการลดความ เสย่ี งนน้ั ยกตัวอย่างเชน่ • การบรู ณาการระบบฐานขอ้ มลู เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ บคุ ลากร อาสาสมคั ร สง่ิ ของส�ำรองจา่ ย ในคลัง • บรู ณาการและพฒั นาระบบการเตอื นภยั ระบบชดั เจน ทนั สมยั สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของ สอ่ื สารมวลชน • การเตรยี มความพรอ้ มดา้ นบคุ ลากร ฝกึ อบรมบคุ ลากร อาสาสมคั ร จดั ชดุ ปฏบิ ตั งิ าน ฝกึ ซอ้ ม การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั • การลดความเสยี่ งโดยมาตรการโครงสรา้ ง การขดุ ลอก ระบบปอ้ งกนั เชน่ คนั กนั้ นำ�้ ชวั่ คราว หรือการสร้างทางระบายน�้ำเพ่มิ • เคร่ืองมือ อุปกรณ์ ยานพาหนะ มีการบ�ำรงุ รักษาพรอ้ มใชต้ ลอดเวลา • การจดั ท�ำแผน แผน BCP แผนปฏบิ ัตกิ าร แผนเผชญิ เหตุ แผนงานโครงการ เชิงปอ้ งกนั ทง้ั ระยะสั้น กลางและ ยาว • การเพม่ิ ศกั ยภาพดา้ นการบรหิ ารจดั การ มรี ะบบประเมนิ ความเสยี่ ง มกี ารใชน้ วตั กรรมใหมๆ่ แผนทีเ่ ส่ียงภัย เชอ่ื มโยงระบบการสอ่ื สาร การท�ำ Public Private Partnership • การวางผังเมอื ง ออกระเบยี บกฏหมาย บังคับใชอ้ ย่างจรงิ จัง • การให้องค์ความรภู้ าคประชาชน การฝกึ อบรมสร้างชุมชนเขม้ แข็ง 16

Nationnal Disaster Response Team Handbook เอกสารอ้างองิ 1. กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย. หนังสอื ค�ำศัพทด์ า้ นการบรหิ ารจัดการความเส่ยี งจากภัยพบิ ตั .ิ กรงุ เทพฯ : กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2. กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย. แผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ.2558; กรงุ เทพฯ : ม.ป.ท.; 2558 3. ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. การจัดการภัยพิบัติ ฟื้นฟูบูรณะ หลงั การเกดิ ภยั : กรณศี กึ ษาประเทศไทยและตา่ งประเทศ. กรงุ เทพฯ : สคช. กรงุ เทพฯ ; 2554. 17

หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารหนว่ ยเคลอ่ิื นทเี่ ร็ว กDาisรaจsัดtกerารMภaัยnพaิบgัตeิmหeลnักtก, าCรoปoรrะdสiาnนaงtาioนnแลaะnกdารOปpฏeิบraัตtิงioาnน รวี ศภุ นมิ ติ วเิ ศษกลุ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนช�ำ นาญการ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั การจัดการภัยพิบัติ คือ การจัดองค์กร/หน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการจัดการทรัพยากร และ ความรับผิดชอบด้านมนุษยธรรมทั้งหมดในกรณีฉุกเฉิน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเตรียมความพร้อม การตอบโต้และการฟื้นฟู เพ่อื ลดผลกระทบจากภยั พิบตั ิ (1) ภาพที่ 1 การจดั การภยั พิบัติ ภาพท่ี 2 การประสานงานแบบกลุม่ จากภาพท่ี 1 เห็นได้ว่าการลดความเส่ียงจากภยั พิบัติ (Reduce Risk) จะต้องมกี ารด�ำเนินการ ตลอดทกุ ระยะของการจดั การภยั พบิ ตั ิ ซง่ึ เริม่ ตั้งแต่ การเตรียมความพร้อม (Preparedness) และเม่ือ เกิดภยั พิบัติ กต็ ้องมกี ารตอบโตภ้ ัยพบิ ตั ิ (Response) และการฟืน้ ฟูภายหลังการเกดิ ภยั (Recovery) จากภาพที่ 2 ในกรณีเม่ือเกิดภัยพิบัติขนาดใหญ่มาก เกินกว่าศักยภาพของภูมิภาคนั้นๆ จะ รบั มอื ได้ เชน่ อาเซยี น 10 ประเทศ ก็จะเป็นการชว่ ยเหลือทางมนุษยธรรมขององคก์ ารสหประชาชาติ ซ่งึ จะให้ความชว่ ยเหลอื ในการประสานงานแบบกลมุ่ (Cluster Coordination) ของส�ำนกั งานเพอื่ การ ประสานงานด้านมนุษยธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Office for the Coordination of Humanitarian Affairs – OCHA)(2) โดยแบ่งการให้ความช่วยเหลือเปน็ รายดา้ น ได้แก่ การสนบั สนนุ ขนส่ง (Logistics) โภชนาการ (Nutrition) พ้ืนทพ่ี ักพงิ ฉุกเฉิน (Emergency Shelter) การประสานงานและ การจดั การทีพ่ กั (Camp management & Coordination) สขุ ภาพ (Health) การป้องกนั (Protection) ความม่นั คงด้านอาหาร (Food security) การส่ือสารภาวะฉุกเฉนิ (Emergency Telecommunication) การฟื้นฟูเบ้ืองต้น (Early recovery) การศกึ ษา (Education) สขุ าภิบาล น�ำ้ และสขุ อนามัย (Sanitation Water & Hygiene) 18

Nationnal Disaster Response Team Handbook ด้วยกระบวนการของความเชื่อมโยงในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในระดับ นานาชาติ สามารถเชื่อมโยงสูก่ ารให้ความช่วยเหลอื ในระดบั ภมู ิภาค กล่าวคือ การให้ความชว่ ยเหลอื ในกลุม่ ประเทศอาเซยี น (ASEAN) 10 ประเทศ ซง่ึ มีแนวนโยบาย หน่วยปฏบิ ัติ แผนการปฏบิ ตั ิ ชื่อเรยี ก ท่แี ตกตา่ งกัน สามารถแสดงความเชอ่ื มโยงไดด้ ังภาพท่ี 3 ภาพที่ 3 ASEAN-UN Interoperability จากความเช่ือมโยงของการประสานงาน เห็นได้ว่า ระบบขององค์การสหประชาชาติ OCHA เป็นหน่วยหลักในการประสานการให้ความช่วยเหลือ และอาเซียน มี AHA Centre เป็นหน่วยหลัก โดยมีทีมประเมินสถานการณ์ภัยพิบัติและประสานงานขององค์การสหประชาชาติ ได้แก่ UNDAC (United Nations Disaster Assessment and Coordination) และ ERAT (Emergency Response and Assessment Team) โดยมีศูนย์ประสานการปฏิบัติงานในพื้นที่ คือ OSOCC (On-Site Operations Coordination Centre) และ JOCCA (Joint Operation and Coordinating Centre of ASEAN) การจดั การภยั พบิ ตั ใิ นประเทศไทยในปจั จบุ นั อาศยั พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 โดยมแี ผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 เปน็ เครอ่ื งมอื ในการจดั การ ภยั พบิ ัตแิ ละใหค้ วามส�ำคัญกับ “การจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management : DRM)” (3) ประกอบด้วย • การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Reduction : DRR) ได้แก่ การป้องกัน (Prevention) การลดผลกระทบ (Mitigation) และการเตรยี มความพรอ้ ม (Preparedness) ควบคูก่ บั • การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management) ได้แก่ การเผชิญเหตุ (Response) และการบรรเทาทุกข์ (Relief) รวมถึง • การฟน้ื ฟู (Recovery) ไดแ้ ก่ การฟน้ื สภาพและการซอ่ มสรา้ ง (Rehabilitation and Reconstruction) การสร้างให้ดกี ว่าและปลอดภยั กวา่ เดมิ (Build Back Better and Safer) 19

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการหน่วยเคลื่ิอนทเ่ี รว็ ภาพท่ี 4 วงจรการจัดการความเส่ียงจากภยั พิบัติ ซงึ่ ไดก้ �ำหนดระดบั การจดั การพบิ ตั เิ ปน็ 4 ระดบั ทงั้ น้ี ขน้ึ กบั พนื้ ที่ ประชากร ความซบั ซอ้ น หรอื ความสามารถในการจัดการสาธารณภัย ตลอดจนศักยภาพด้านทรัพยากร ที่ผู้มีอ�ำนาจตามกฎหมาย ใชด้ ลุ ยพินิจในการตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ความสามารถในการเขา้ ควบคุมสถานการณเ์ ปน็ หลกั ดังนี้ ระดบั การจดั การ ผ้มู อี ำ�นาจตามกฎหมาย 1 สาธารณภัยขนาดเล็ก ผอู้ �ำ นวยการอำ�เภอ ผอู้ ำ�นวยการท้องถ่ิน และ/หรือ ผชู้ ว่ ยผู้อำ�นวยการกรงุ เทพมหานคร ควบคมุ และส่งั การ 2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผู้อ�ำ นวยการจงั หวดั หรอื ผ้อู ำ�นวยการกรุงเทพมหานคร ควบคุม ส่ังการและบญั ชาการ 3 สาธารณภยั ขนาดใหญ่ ผบู้ ญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ควบคุม สั่งการและบัญชาการ 4 สาธารณภัยรา้ ยแรงอย่างยิ่ง นายกรฐั มนตรหี รอื รองนายกรฐั มนตรซี ง่ึ นายกรฐั มนตรมี อบหมาย ควบคมุ สง่ั การและบญั ชาการ ภาพท่ี 5 ระดบั การจดั การภยั พิบัติ 20

Nationnal Disaster Response Team Handbook นอกจากนี้ ยงั มกี ารก�ำหนดระดบั ของระบบการเตอื นภยั มคี วามหมายของสใี นการเตอื นภยั ดงั นี้ ภาพที่ 6 ระดบั ของระบบการเตือนภัย การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ จะสถาปนา การสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉนิ (สปฉ.) (Emergency Support Function – ESF) เพยี งสว่ นงานใด สว่ นงานหน่งึ หรอื หลายสว่ นงานเข้าร่วมสนบั สนนุ การจัดการสาธารณภยั ตามภาพที่ 7 ทั้งน้ี ขน้ึ อยู่กบั ความจ�ำเป็นของสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน เพื่อประสานงานระหว่างส่วนราชการและหน่วยงานท่ีมีหน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบภารกจิ ดา้ นใดดา้ นหนง่ึ เปน็ การเฉพาะ เชน่ ภารกจิ ดา้ นการคมนาคม ทม่ี หี ลายสว่ นราชการ มลี ักษณะงานเหมอื นหรอื ใกลเ้ คยี งกันมารว่ มกนั ประสานการปฏิบัติ อันจะเปน็ การลดความซ�ำ้ ซอ้ นใน การช่วยเหลือ และสนับสนุนการปฏิบัติงานของกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละ ระดับที่เกิดสาธารณภัยโดย ในแต่ละส่วนงานมีหน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุน แบ่งออกเป็น 18 สว่ นงาน ภาพท่ี 7 การสนบั สนุนการปฏิบตั ิงานฉกุ เฉนิ (สปฉ.) 21

หนงั สือประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการหน่วยเคล่ืิอนท่เี รว็ จากภาพท่ี 7 จะเห็นได้วา่ ในกรณีท่ีมีหนว่ ยงานอืน่ ๆ นอกเหนือจากโครงสรา้ งปกติแลว้ การ ประสานการปฏิบตั อิ น่ื ๆ จะอย่ใู นความรับผดิ ชอบของ ศูนย์ประสานการปฏบิ ัติ ซ่งึ มหี น้าที่ประสาน งานกับหน่วยงานภาคเอกชนและภาคประชาสงั คม ด้านกฎหมาย ธรุ การและก�ำลงั พล ทง้ั น้ี ในกรณกี าร จดั การสาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งย่งิ (ระดับ 4) ใหป้ ระสานงานดา้ นกจิ การตา่ งประเทศ โดยใหก้ ระทรวง การตา่ งประเทศและกระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานหลกั ร่วมกันจดั ท�ำ ขอบเขต แผนงาน ภารกจิ และโครงสรา้ งภายในของศนู ย์ฯ ทง้ั น้ี ใหส้ �ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และหน่วยงานท่มี ีภารกจิ ท่ี เกยี่ วขอ้ งในส�ำนักนายกรฐั มนตรีเข้าร่วมปฏิบตั ิงาน ในฐานะหน่วยงานหลักด้วย การจดั การภยั พบิ ตั ใิ นปจั จบุ นั ไดม้ กี ารน�ำเอาแนวคดิ และมาตรฐานสากลมาใชใ้ นการจดั การตา่ งๆ อย่างเป็นรปู ธรรมมากขึน้ และยังรวมไปถงึ การประสานงานในการปฏบิ ตั งิ านต่างๆ ทมี่ ีการน�ำหลกั การ ปฏิบัติที่เป็นท่ียอมรับเป็นสากล เช่น ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System – ICS) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการภัยพิบัติของประเทศไทย ดังจะเห็นได้จากแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2558 ไดม้ กี ารน�ำเอาแนวคิดมาใช้เปน็ หลกั ในการจัดการ ซ่งึ โดยพน้ื ฐานของ ระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์จะมีองค์ประกอบทส่ี �ำคัญ ดังนี้ ภาพท่ี 8 โครงสรา้ งระบบบัญชาการ (4) 22

Nationnal Disaster Response Team Handbook • ส่วนบัญชาการ (Command) มีหน้าที่ในการพัฒนา ก�ำหนดวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ ทงั้ หมดในการจดั การเหตกุ ารณ์ รวมทงั้ การรบั รองการสง่ั ใชท้ รพั ยากรและการถอนก�ำลงั และการรบั รอง แผนปฏบิ ตั กิ ารท้ังหมด • ส่วนปฏิบัติการ (Operations Section) มีหน้าที่ในการสนับสนุนพัฒนากลยุทธ์ รวมท้ัง การก�ำหนด การมอบหมายและให้ค�ำแนะน�ำถึงทรพั ยากรที่จ�ำเปน็ ตอ้ งใช้ในการปฏิบตั ิการให้บรรลุตาม วตั ถปุ ระสงค์ • ส่วนแผนงาน (Planning Section) มหี นา้ ท่จี ัดท�ำรายงานสรุปสถานการณ์ บรหิ ารจัดการ กระบวนการวางแผนทง้ั หมด และการออกแผนปฏบิ ัตกิ าร • ส่วนโลจิสตกิ ส์ (Logistics Section) มีหน้าท่ใี นการจดั หา ส่ังใชท้ รัพยากรและพฒั นาระบบ การขนส่ง การตดิ ตอ่ สื่อสารและแผนสนบั สนนุ ทางการแพทย์ นอกจากน้แี ล้ว การพัฒนาระบบการให้ความชว่ ยเหลือทางมนษุ ยธรรม การค้นหาและกภู้ ยั ยงั น�ำเอาหลกั ปฏบิ ตั ขิ ององคก์ ารสหประชาชาติ อยา่ งเชน่ การคน้ หาและกภู้ ยั ในเขตเมอื ง (Urban Search And Rescue – USAR) ของคณะทปี่ รกึ ษาดา้ นการคน้ หาและกภู้ ยั ระหวา่ งประเทศ (International Search And Rescue Advisory Group – INSARAG)(5) มาประยุกต์ใชใ้ นการจัดการภัยพิบตั ใิ นประเทศอีกด้วย ซ่ึงเป็นการโตต้ อบภัยจากแผน่ ดินไหวอาคารถล่มโดยเฉพาะ ส่งผลกระทบในวงกว้าง มีความซบั ซอ้ นใน เชิงเทคนคิ การใหค้ วามช่วยเหลือและขอ้ จ�ำกดั ดา้ นทรัพยากรบคุ คล เคร่ืองมือ อุปกรณ์ต่างๆ ท่ีใชใ้ น การค้นหาและกู้ภัย ทั้งในด้านการบริหารจัดการ และการให้ความช่วยเหลือ ท้ังในระยะเร่งด่วนและ ระยะฟนื้ ฟู โดยมศี นู ย์ประสานการปฏบิ ัติในพื้นที่ (On-Site Coordination Operation Centre – OSOCC) เปน็ กลไกส�ำคญั ในการประสานงานระหวา่ งประเทศทปี่ ระสบภยั พบิ ตั ิ กบั ประเทศตา่ งๆ ทใี่ หค้ วามชว่ ยเหลอื ใหส้ ามารถเชอื่ มโยงกนั ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ทั้งในดา้ นขอ้ มลู ความตอ้ งการในการรับความชว่ ยเหลอื ข้อมลู ท่ีจ�ำเป็นของการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ขอ้ มลู สถานการณต์ ่างๆ ท่จี �ำเป็นและเก่ยี วขอ้ งในการปฏบิ ตั ิ การให้ความชว่ ยเหลอื และขอ้ มูลในการติดต่อประสานงานทงั้ หมด 23

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการหนว่ ยเคลิ่อื นทีเ่ ร็ว ภาพที่ 9 ความเชือ่ มโยงในการท�ำงานของ OSOCC(6) โดยท่ัวไปแล้ว OSOCC จะรายงานโดยตรงต่อหัวหน้าทีมประเมินสถานการณ์ภัยพิบัติ และประสานงานขององค์การสหประชาชาติ (UNDAC Team Leader) ซ่ึงเป็นผู้ท่ีรับรองว่า OSOCC จะด�ำเนินการไปอย่างถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของผู้ประสานงานด้านมนุษยธรรมแห่งสหประชาชาติ (Resident Coordinator / Humanitarian Coordinator (RC/HC)) และทมี ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรม ของประเทศที่ประสบภัย (Humanitarian Country Team – HCT) ท่ีได้รับการสนับสนุนจากส�ำนักงาน เพ่ือการประสานงานดา้ นมนุษยธรรมแห่งสหประชาชาติ (OCHA) (ยกเวน้ ในกรณที ่ี UNDAC ไม่ได้ออก ปฏิบตั งิ าน OSOCC จะรายงานโดยตรงตอ่ UN RC/HC) OSOCC จะท�ำงานเพอ่ื สนบั สนนุ รฐั บาลประเทศทป่ี ระสบภยั ในการประสานงานระหวา่ งองคก์ ร ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ของประเทศตา่ งๆ กบั หนว่ ยงานดา้ นการจดั การสาธารณภยั ของประเทศทป่ี ระสบภยั พบิ ตั ิ (Local Emergency Management Agency – LEMA) ซงึ่ รบั ผดิ ชอบในการควบคมุ สง่ั การปฏบิ ตั กิ ารทง้ั หมด และ OSOCC จะจดั ตง้ั ขนึ้ เมอ่ื เกดิ ภยั พบิ ตั ขิ นาดใหญท่ จ่ี �ำเปน็ ตอ้ งมกี ารใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรม ในระบบขององคก์ ารสหประชาชาติ (United Nations – UN) และ OSOCC จะเปน็ ศนู ยก์ ลางในการ ประสานความชว่ ยเหลือจากประเทศตา่ งๆ ทเ่ี สนอให้ความช่วยเหลือ และประเทศท่ีประสบภัยพิบัติ 24

Nationnal Disaster Response Team Handbook ภาพท่ี 10 โครงสร้างศูนย์ประสานการปฏบิ ัติในพนื้ ท่ี (OSOCC) โครงสรา้ งของ OSOCC ประกอบด้วยสว่ นต่างๆ ท่จี �ำเปน็ ต่อการปฏบิ ตั ิงาน ได้แก่ • สว่ นบรหิ ารจดั การ (Management) ท�ำหนา้ ทใี่ นการบรหิ ารจดั การ ซง่ึ จะมเี จา้ หนา้ ทปี่ ระสานงาน (Liaison) และเจ้าหนา้ ทดี่ า้ นความม่ันคงและความปลอดภัย (Safety & Security) • ส่วนสถานการณ์ (Situation) ท�ำหน้าที่ในการติดตามข้อมูลสถานการณ์ การประเมิน การจดั การข้อมูลขา่ วสาร และสื่อประชาสัมพันธ์ตา่ งๆ • ส่วนสนบั สนนุ (Support) ท�ำหนา้ ท่สี นบั สนุนงานธุรการ การติดต่อสอ่ื สารโทรคมนาคมและ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกอน่ื ๆ • ส่วนปฏิบัติการ (Operations) ท�ำหน้าที่ ประสานการปฏิบัติทั้งหมด ซึ่งจะมีหน่วยย่อย ท�ำหน้าท่ีในการประสานการปฏิบัติการในแต่ละด้านแยกย่อยออกไป เช่น ทีมแพทย์ต่างประเทศ (Emergency Medical Team – EMT) การคน้ หาและกภู้ ยั ในเขตเมอื ง (Urban Search And Rescue – USAR) และดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ (Logistics) เป็นต้น 25

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารหนว่ ยเคลิ่ือนท่เี ร็ว ภาพที่ 11 ASEAN-UN Interoperability การเทียบเคียงระหวา่ งการให้ความชว่ ยเหลือในระบบ UN และ ASEAN สามารถแสดงให้ เหน็ ได้ดงั ภาพท่ี 11 ASEAN-UN Interoperability ท้ังนี้ จากระบบการท�ำงานขององคก์ ารสหประชาชาติ ASEAN ไดน้ �ำเอาหลกั การของ OSOCC มาพฒั นาเปน็ การให้ความชว่ ยเหลือของอาเซยี น และเรียก ศนู ย์ประสานงานและการปฏบิ ัติงานร่วมแห่งอาเซียน ว่า JOCCA (Joint Operation and Coordinating Centre of ASEAN) ซึ่งเม่ือย้อนกลับมายังการจดั การภยั พบิ ตั ใิ นประเทศไทย ตามแผนการป้องกนั และ บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2558 แล้ว จะเห็นไดว้ ่า การรบั ความชว่ ยเหลือจากตา่ งประเทศตามโครงสร้าง การสนับสนุนปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉิน หรอื ESF (Emergency Support Function) จะอยู่ในส่วนของศนู ย์ ประสานการปฏิบตั ิ ซ่งึ ได้มีการกลา่ วถึงขอบเขตหนา้ ท่ีในกรณีการจดั การสาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งยง่ิ (ระดบั 4) แตย่ งั ไมม่ กี ารกลา่ วถึงในกรณที ีก่ ารจัดการสาธารณภยั ระดบั 3 ลงมา 26

Nationnal Disaster Response Team Handbook เอกสารอา้ งอิง 1. FEMA. Emergency Management Institute. ICS Resource Center. ICS Review Document. [Internet]. 2018 Aug [cited 2018 Aug 12]. Available from : https://training. fema.gov/ emiweb/is/icsresource/. 2. Humanitarian Response. What is the Cluster Approach. [Internet]. 2018 Aug [cited 2018 Aug 12]. Available from : https://www.humanitarianresponse.info/en/about-clusters/ what- is-the-cluster-approach. 3. INSARAG Preparedness – Response. INSARAG Guidelines. [Internet]. 2018 [cited 2018 Aug 12]. Available from : https://www.insarag.org/methodology/guidelines. 4. International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies. About disaster management. [Internet]. 2018 Jul [cited 2018 Jul 31]. Available from : http://www.ifrc.org/en/what- we-do/disaster-management/about-disaster-management/. 5. OCHA. United Nations Office for the Coordination of Humanitarian Affairs. On-Site Operations Coordination Centre (OSOCC) Guidelines 2014. [Internet]. 2018 [cited 2018 Jul 30]. Available from http://www.unocha.org/sites/dms/Documents/2014%20OSOCC%20 Guidelines_FINAL.pdf. 6. คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ พ.ศ. 2558. [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 8 สิงหาคม 2561]. เข้าถึงได้จาก : http://122.155.1.141/upload/minisite/file_attach/118/58c9008f228df.pdf. 27

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหนว่ ยเคล่อืิ นท่เี ร็ว TกhลeไกTกhาaรiตRอeบdสCนroอsงsภัยRพesิบpัตoิขnอseงสMภeาcกhาaชnาisดmไทย สุกญั ญา ทรัพย์อดุ มมงั่ มี หัวหนา้ งานบรรเทาทกุ ข์ผู้ประสบภัย ส�ำนักงานบรรเทาทกุ ขแ์ ละประชานามยั พทิ กั ษ์ สภากาชาดไทย ไดร้ ับพระมหากรณุ าธิคุณจากราชวงศจ์ ักรี ดังน้ี 1. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช ทรงด�ำรงต�ำแหน่งพระบรม ราชปู ถมั ภกสภากาชาดไทย 2. สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ิต์ พระบรมราชินนี าถ ด�ำรงต�ำแหนง่ สภานายกิ า สภากาชาดไทย 3. สมเด็จพระเทพรตั น ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ด�ำรงต�ำแหนง่ อุปนายกิ าผู้อ�ำนวยการ สภากาชาดไทย สภากาชาดไทย แบง่ ออกเปน็ 14 ส�ำนกั งานหลัก 5 หนว่ ยงานพิเศษ และ 6 ศูนยช์ �ำนญั พเิ ศษ ซึ่งจะมีส�ำนกั งานบรรเทาทกุ ขแ์ ละประชานามยั พทิ กั ษ์สภากาชาดไทย เป็นหนว่ ยงานหลักในการดแู ล เรื่องการจัดการภัยพิบัติโดยเป็นหน่วยงานสนับสนุนภาครัฐ ซ่ึงมีหน่วยงานหลักของประเทศคือกรม ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 28

Nationnal Disaster Response Team Handbook สภากาชาดไทยมีนโยบายด้านการจัดการภยั พิบตั ิดังนี้ 1. ยดึ หลักมนษุ ยธรรม และเมตตาธรรม ด้วยความเคารพในศักดิศ์ รีของผปู้ ระสบภัย 2. มุ่งสร้างจิตส�ำนึกของการป้องกันภัยแก่ประชาชนในทุกวิถีทาง ด้วยถือว่าเป็นมาตรการ ทีด่ ีที่สดุ ในการจดั การภยั พิบัติ 3. ภาวะปกติ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต้องเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติตามแผนฯ ซึ่งท�ำให้ สามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพเมอ่ื เกดิ ภัย และต่อเนื่องถึงระยะฟนื้ ฟู ดว้ ยการ ประสานแผนและประสานการปฏิบตั ิ 4. ภาวะฉุกเฉิน ทุกหน่วยงานของสภากาชาดไทยให้ถือเป็นหน้าท่ีต้องปฏิบัติตามความ รับผดิ ชอบซึ่งก�ำหนดไวใ้ นแผนจดั การภยั พิบตั ิสภากาชาดไทย ตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ปี พ.ศ. 2550 ระบใุ หส้ ภากาชาดไทย มีหน้าทีใ่ นการจัดการภัยพิบตั ดิ ังต่อไปน้ี 1. จดั เตรียมโลหิต ยา เวชภัณฑ์ วัสดอุ ุปกรณ์ตา่ งๆ ตลอดจนเคร่ืองอปุ โภค บรโิ ภค เพอื่ ใช้ใน การบรรเทาทุกข์และสงเคราะห์ผปู้ ระสบภัย 2. ฝกึ อบรมเจา้ หนา้ ท่ี สมาชกิ สภากาชาดไทย อาสากาชาด เหลา่ กาชาดจังหวดั และ ประชาชนเพ่อื เตรยี มพรอ้ มรับสาธารณภัย รวมถงึ ให้ความร้เู ก่ียวกบั การปฐมพยาบาล และการสาธารณสขุ เพอื่ ให้สามารถช่วยเหลอื ตนเองและผอู้ ืน่ ได้ เมือ่ ประสบภัย 3. บรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัยขณะเกิดเหตุและหลังเกิดเหตุด้วยการบริการทางการแพทย์ ทงั้ การรักษาพยาบาล ป้องกนั โรค และสงเคราะห์เครือ่ งอปุ โภค บริโภค ตลอดจนอุปกรณ์ และบริการอน่ื ๆ ตามความจ�ำเป็นของผปู้ ระสบภยั 4. ติดต่อและประสานความร่วมมือกับสภากาชาดประเทศต่าง ๆ ผ่าน คณะกรรมการกาชาด ระหว่างประเทศและสหพันธ์กาชาดและสภาเสีย้ ววงเดอื นแดง ระหว่างประเทศ ในกลุ่มองค์กรกาชาดหรือขบวนการกาชาด (Red Cross Movement) จะมีหลักการที่เป็นพื้นฐาน ทจี่ ะตอ้ งปฏิบตั ิเพื่อด�ำรงไว้ซึ่งความเปน็ องคก์ รกศุ ลระดบั ชาตแิ ละระดบั เพ่อื คงไว้ซึ่งความไวว้ างใจตอ่ สาธารณชน น่ันคือหลักการกาชาด 7 ประการ (The Seven Fundamental Principles) ดงั ตอ่ ไปน้ี 29

หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหนว่ ยเคล่อิื นที่เร็ว หลักการกาชาด คือ หลักการด�ำเนินงานของกาชาดทั่วโลก เป็นผลมาจากมติการประชุมกาชาด ระหวา่ งประเทศ คร้ังที่ 20 ณ กรุงเวยี นนา ประเทศออสเตรีย ปี พ.ศ.2508 มี 7 ข้อ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. มนษุ ยธรรม คอื พรอ้ มใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกค่ นทว่ั ไป ทกุ พน้ื ทท่ี มี่ โี อกาส รวมถงึ การเหน็ คณุ คา่ ความเปน็ มนษุ ย์ทกุ คน 2. ความไมล่ �ำเอียง ไมเ่ ลอื กปฏิบตั ใิ นเชือ้ ชาติ ศาสนา และการเมอื งพรอ้ มใหค้ วามเสมอภาค กบั ทกุ คน 3. ความเป็นกลาง การยดึ หลักท�ำในสิ่งทถ่ี ูกต้อง ไมเ่ ขา้ ขา้ งฝา่ ยหนึง่ ฝา่ ยใดในการสรู้ บ หรอื เกี่ยวขอ้ งในการขัดแย้ง ซึง่ มีลกั ษณะทางการเมือง เชอื้ ชาติ ศาสนา ความเชอื่ หรอื แมแ้ ต่ ลทั ธนิ ยิ ม ปฏบิ ตั กิ ารในสถานการณค์ วามขดั แยง้ และความไมส่ งบ แกป่ ระชาชนหรอื ผบู้ าดเจบ็ ของทุกฝา่ ย ด้วยความเป็นกลาง ด�ำรงตนไม่ใหถ้ ูกครอบง�ำจากกลมุ่ การเมืองและกลุ่มใดๆ กต็ าม เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ตามหลกั การกาชาด ไดท้ กุ สถานการณ์ ไมเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ทางการเมืองใดๆ ที่มุ่งหวังหาเสียงทางการเมือง และส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์และ ความเปน็ กลางของสภากาชาด ไม่ใหค้ วามเหน็ แกผ่ ู้อ่ืนหรือสือ่ ใดๆ ในลกั ษณะที่เหน็ พ้อง หรือขัดแยง้ แกฝ่ ่ายใดฝา่ ยหนึง่ ในสถานการณท์ ม่ี คี วามขดั แยง้ 4. ความเป็นอิสระ ปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจอย่างเป็นอิสระโดยไม่อยู่ภายใต้อิทธิพลใดๆ และอยู่ในบงั คบั แห่งกฏหมายของประเทศตน 5. บรกิ ารอาสาสมคั ร กาชาดเปน็ องคก์ รอาสาสมคั รในการบรรเทาทกุ ข์ โดยไมม่ คี วามปรารถนา ผลประโยชนใ์ นประการใดๆ 6. ความเปน็ เอกภาพ แตล่ ะประเทศ มไี ดส้ ภากาชาดเดยี ว และตอ้ งเปดิ ใหก้ บั คนทว่ั ไปเขา้ ถงึ ได้ และท�ำงานภายใตห้ ลกั การเดียวกนั ตลอดทั่วดินแดนของตน 7. ความเปน็ สากล ท�ำงานทวั่ โลก 190 ประเทศใหค้ วามชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั อยา่ งเทา่ เทยี ม 30

Nationnal Disaster Response Team Handbook 31

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการหน่วยเคลิื่อนท่เี ร็ว 1864 1876 2007 เครอื่ งหมายกาชาด ในปจั จบุ นั ทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั มี 3 แบบคอื เครอื่ งหมายกากบาทสแี ดงบนพน้ื ขาว ซง่ึ ประเทศสว่ นใหญใ่ ชเ้ ครือ่ งหมายน้ี เป็นเครือ่ งหมายท่จี ดั ท�ำขึน้ ซง่ึ เปน็ ชาวสวิสเซอรแ์ ลนด์ ส�ำหรับ ประเทศทนี่ ับถือศาสนาอิสลาม จะใช้เครอ่ื งหมายเสย้ี ววงเดือนแดงบนพ้นื ขาว และมีเพียงประเทศ เดยี วทใ่ี ช้เครือ่ งหมายส่เี หลีย่ มขนมเปียกปนู สแี ดง(ครสิ ตัลแดง)บนพ้ืนขาวไดแ้ ก่ประเทศอสิ ราเอล วตั ถุประสงค์ในการใชเ้ ครอ่ื งหมายกาชาด • เป็นเครอื่ งหมายคุม้ ครอง (ในภาวะสงคราม) • เหย่อื ของการพิพาธทางอาวุธ • หน่วยบรกิ ารทางการแพทย์ของทหาร • อาสาสมัครทอ่ี ยใู่ นสงคราม • ผูใ้ หก้ ารชว่ ยเหลอื แกผ่ ไู้ ดร้ ับผลกระทบในการสู้รบ • อื่นๆ เชน่ บุคลากรด้านศาสนาและองค์กรมนษุ ยธรรมอื่นๆ เคร่ืองหมายสภากาชาดไทย เหล่ากาชาดจงั หวดั และกิ่งกาชาดอ�ำเภอ ท่ีใช้ในปจั จุบัน เหล่ากาชาดจังหวัด................. ก่ิงกาชาดอ�ำเภอ.................... The Provincial Red Cross Chapter of ................ ..............................Red Cross District Branch 32

Nationnal Disaster Response Team Handbook การบริหารจัดการภัยพบิ ตั ขิ องสภากาชาดไทย ระยะก่อนเกิดภยั 1. การเตรียมพร้อมองคก์ ร ไดแ้ ก่ 1.1 จัดท�ำแผนจัดการภัยพิบัติ แผนตอบสนองภัยพิบัติ แผนเฉพาะกิจ และคู่มือการ ปฏบิ ตั ิงานตา่ งๆ 1.2 การอบรมเจา้ หนา้ ทแี่ ละอาสาสมคั รในดา้ นตา่ งๆ เชน่ อาสาสมคั รดา้ นการบรรเทาทกุ ข์ อบรมปฐมพยาบาลใหอ้ าสาสมคั รในโครงการนำ�้ ทพิ ยป์ นั นำ�้ ใจใหก้ าชาด การท�ำ MOU กับหนว่ ยงานภาคเอกชน 1.3 จัดการฝึกซ้อมแผนจัดการภัยพิบัติท้ังในระดับสภากาชาดไทย และระดับส�ำนักงาน บรรเทาทุกข์ฯ รวมท้ังส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมการฝึกซ้อมตามแผนป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั แห่งชาติ และแผนระดมสรรพก�ำลงั รวมถึงการฝกึ ซอ้ มในระดบั ภมู ภิ าค เชน่ ARDEX, ARFDiREx เปน็ ตน้ 1.4 จัดการประชุมสัมมนาเพ่ือจัดท�ำแนวทางในการประสานงานให้ความช่วยเหลือ ผปู้ ระสบภัยร่วมกบั เหลา่ กาชาดจงั หวดั ส�ำนกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กรงุ เทพมหานคร กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย เปน็ ตน้ 1.5 จัดการประชุมวิชาการ การสัมมนาเพื่อปลุกจิตส�ำนึกประชาชนให้ตระหนักและ เตรียมพรอ้ มรบั ภัยพิบัติ 1.6 จดั เตรยี มสง่ิ ของส�ำรองจา่ ยในคลงั เครอื่ งอปุ โภค-บรโิ ภค ยา-เวชภณั ฑ์ ใหพ้ รอ้ ม รวมถงึ จดั เตรยี มวัสดุ อปุ กรณ์ ยานพาหนะ เครื่องมอื สอ่ื สาร และระบบการสอ่ื สารให้พรอ้ ม ใชง้ านตลอดเวลา 2. การเตรยี มพร้อมชมุ ชน 2.1 เตรียมพร้อมชมุ ชนโดยท�ำ กจิ กรรมชุมชนเตรียมพร้อมรับภัยพบิ ตั ิ 2.2 จดั อบรมให้นักเรียนในกจิ กรรม อบรมนักเรียนเตรียมพรอ้ มรับภยั พบิ ัติ 2.3 จัดท�ำหนังสือ สื่อ สิ่งพิมพ์ เพ่ือเผยแพร่ในเร่ืองของการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ การปอ้ งกนั การปฏบิ ตั ติ นในขณะเกดิ ภยั พบิ ตั ริ วมถงึ การฟน้ื ฟบู รู ณะในระยะหลงั เกดิ ภัยพบิ ัติ ระยะเกิดภัย 1. การบรรเทาทกุ ขด์ า้ นการแพทย์ เครอ่ื งอปุ โภค-บรโิ ภค อาหาร นำ้� และสขุ าภบิ าล ทอี่ ยอู่ าศยั 2. การจดั การข้อมลู ข่าวสาร /การรณรงค์รบั บรจิ าค 3. จดั สวสั ดกิ ารส�ำหรับเจ้าหน้าทีแ่ ละอาสาสมคั ร ระยะฟืน้ ฟู 1. การฟื้นฟู ด้านวิถีชีวิต ความเปน็ อยู่ บา้ นถาวร ระบบน้ำ� สุขาภิบาล อนามยั ชุมชน เป็นตน้ 2. เรมิ่ โครงการชมุ ชนเตรยี มพรอ้ มรบั ภยั พบิ ตั ิ เพอ่ื ใหช้ มุ ชนสามารถตอบสนองภยั พบิ ตั คิ รง้ั ใหม่ ให้ดีกวา่ เดมิ 33

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารหนว่ ยเคลอืิ่ นทเ่ี ร็ว การตอบสนองภัยพบิ ัตขิ องสภากาชาดไทย ระดับที่ 1-4 ภยั เหลา่ กาชาดจังหวดั และส�ำ นกั งานบรรเทาทุกข์ประเมนิ สถานการณ์ จากขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากหน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง และจากสือ่ ตา่ งๆ/ลงพ้ืนท่ี ระดบั 4 : คณะกรรมการจดั การภัยพบิ ัติ ระดบั 1 : เหล่ากาชาดจงั หวดั รับมอื ได้ สภากาชาดไทย ระดับ 2 : เหลา่ กาชาดจังหวดั รว่ มมือกับสถานกี าชาด/ ฝา่ ยบรรเทาทกุ ข์ ระดับ 1 : เหลา่ กาชาดจังหวดั ร่วมกบั สนง.บรรเทาทุกข์ บรรเทาทุกข์ การแพทย์ รับบริจาค สื่อสารและ สนบั สนนุ และ ต่างประเทศ ฟน้ื ฟู ฉกุ เฉิน ประชาสมั พนั ธ์ สง่ กำ�ลังบำ�รงุ ระดบั ความรนุ แรงของภยั และการประสานงาน แบง่ เปน็ 4 ระดับ ระดับ ความรนุ แรง การจัดการตามแผน การประสานงานตามแผนของสภากาชาดไทย ปภ.ชาติ 1 สาธารณภยั ท่เี กิด ผอ.ท้องถิ่น/ผอ.อ�ำเภอ ไม่มีการร้องขอสนับสนุนเพ่ิมเติมจากเหล่ากาชาดจงั หวดั ขนึ้ ทวั่ ไปมขี นาดเลก็ ควบคมุ สถานการณ์ หรือเหล่ากาชาดจังหวัดมีศักยภาพสนับสนุนด้านการ บรรเทาทุกขไ์ ด้เองเพียงพอ 2 สาธารณภัย ผอ.จงั หวัด/ผอ.กทม. ผอ.จงั หวดั /ผอ.กทม. ควบคมุ สถานการณไ์ ด้ แตม่ กี ารรอ้ งขอ ขนาดกลาง ควบคมุ สถานการณ์ สนับสนุนเพ่ิมเติมจากสถานีกาชาดหรือฝ่ายบรรเทาทุกข์ ผูป้ ระสบภัย สนง.บรรเทาทกุ ขฯ์ ผ่านเหลา่ กาชาดจังหวดั 3 สาธารณภัย ผูอ้ �ำนวยการกลาง/ ผู้อ�ำนวยการกลาง/ผบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ขนาดใหญ่ ผบ.ป้องกนั และบรรเทา แหง่ ชาติ ควบคมุ สถานการณ์ มกี ารประสานรอ้ งขอสนบั สนนุ ท่มี ีผลกระทบ สาธารณภยั แห่งชาติ เพมิ่ เตมิ จาก สนง.บรรเทาทกุ ขฯ์ โดยระดมสรรพก�ำลงั เฉพาะ รนุ แรงกวา้ งขวาง ควบคมุ สถานการณ์ จาก สนง.บรรเทาทุกข์ฯ 4 สาธารณภยั ขนาด นายกรฐั มนตรี หรือรอง นายกรัฐมนตรี หรอื รองนายก รัฐมนตรคี วบคุมสถานการณ์ ใหญท่ ี่มผี ลกระทบ นายกรฐั มนตรีควบคุม มีการประสานรอ้ งขอสนบั สนุนเพม่ิ เตมิ ผา่ น สนง.บรรเทา รา้ ยแรงอย่างยงิ่ สถานการณ์ ทุกข์ฯ โดยระดมสรรพก�ำลังของท้ังสภากาชาดไทย ซ่ึงมี หน่วยงานสนับสนุนในด้านอ่ืนๆเช่นขอสนับสนุนแพทย์ และบุคลากรทางด้านสาธารณสุขจากโรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์สภากาชาดไทย หรือโรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรรี าชา จ.ชลบุรี หรือขอสนบั สนนุ โลหติ จากศูนยบ์ รกิ าร โลหติ แหง่ ชาติ ประสานงานเรอื่ งสง่ิ ของบรจิ าคผา่ นส�ำนกั งาน บรรเทาทกุ ขฯ์ เปน็ ต้น 34

Nationnal Disaster Response Team Handbook ผังการจัดองค์กรในการตอบสนองภยั พิบตั ิ (ICS) ผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ เจ้าหน้าทด่ี า้ นความปลอดภัย เจ้าหนา้ ทปี่ ระชาสัมพันธ์ เจา้ หนา้ ที่ประสานงาน ฝา่ ยวางแผน ฝ่ายปฏิบตั กิ าร ฝา่ ยการเงนิ ฝา่ ยสนบั สนนุ • รวบรวมข้อมูล • หน่วยเคลือ่ นที่เรว็ • งบฉกุ เฉนิ • คลงั สิง่ ของคงคลงั • วเิ คราะห์สถานการณ์ • หน่วยแพทย์ฉุกเฉิน • งานประจ�ำ • ยา-เวชภณั ฑ์ • ตั้งวัตถุประสงค์ • หนว่ ยแพทย์ทั่วไป • การรับบริจาค • ยานพาหนะ • วางแผนการใช้ทรัพยากร • หน่วยบรรเทาทกุ ข์ • เต้นท์ • การประสานความรว่ มมอื • หน่วยครวั เคล่อื นที่ • เคร่ืองปั่นไฟ กบั หน่วยงานต่างประเทศ • หน่วยน�้ำหน่วยสุขศกึ ษา • อาสาสมคั ร เช่น IFRC, ICRC, USAID • ยานพาหนะ • อน่ื ๆ เปน็ ตน้ • รถสอ่ื สารฉกุ เฉนิ • หนว่ ยครวั เคลอื่ นที่ ศูนย์ปฏบิ ตั ิการภัยพบิ ัติ ผบู้ ัญชาการเหตุการณ์ ในพืน้ ทีภ่ ัยพิบัติ คณะกรรมการจัดการภยั พบิ ัตสิ ภากาชาดไทย เครอื่ งมอื ในการตอบสนองภยั พบิ ัตขิ องสำ�นกั งานบรรเทาทุกขแ์ ละประชานามยั พทิ ักษ์ • ทมี ประเมนิ ความเสยี หายและความตอ้ งการ RAT, National Disaster Response Team : NDRT • หน่วยบรรเทาทกุ ข์ • หนว่ ยครวั เคลื่อนท่ี • หนว่ ยผลิตนำ�้ ดมื่ และหน่วยสง่ เสริมสขุ อนามัย • หน่วยรถสอ่ื สารเคล่ือนที่ • หนว่ ยเรอื ทอ้ งแบน • หน่วยแพทย์เคลื่อนท่/ี หน่วยผ่าตัดเคล่ือนท่ี • หนว่ ยบริการการแพทย์ฉกุ เฉนิ • การรบั บริจาคและจดั สง่ เครอื่ งอปุ โภค-บรโิ ภค ชุดธารน�ำ้ ใจ • ศนู ยป์ ฏบิ ัติการภัยพิบัติ 35

หนงั สือประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารหน่วยเคลิอื่ นทเี่ ร็ว ทรัพยากรหรอื ศักยภาพของสำ� นกั งานบรรเทาทุกขส์ ภากาชาดไทยทส่ี ามารถร้องขอได้ 1. ทมี ประเมนิ ความเสยี หายและความตอ้ งการ (Rapid Action Team : RAT) อยทู่ ส่ี ว่ นกลาง 2 ทมี แตล่ ะสถานกี าชาด มี 1 ทมี ประกอบดว้ ย พยาบาล 2 คน ผชู้ ว่ ยพยาบาล 1 คน พนกั งานขบั รถ 1 คน (สว่ นกลาง)/พยาบาล 2 คน พนักงานขบั รถ 1 คน (สถานีกาชาด) 2. ทีมบรรเทาทุกข์ (มอบเคร่ืองอุปโภค-บริโภค) ในเขตกรุงเทพฯ ส่วนกลางหากมีอาสาสมัคร เพียงพอ สามารถออกบรรเทาทุกข์ ได้ 5 ทีมสว่ นภูมิภาคซงึ่ เป็นจังหวัดทีส่ ว่ นกลางรบั ผดิ ชอบ 2-3 ทีม จังหวดั ท่ีสถานีกาชาดรบั ผดิ ชอบ 1-2 ทมี 3. เคร่อื งอปุ โภค-บริโภค(ชุดธารน�ำ้ ใจฯ) 3.1 จากสว่ นกลางมี Stock 4,000 ชดุ สามารถออกได้เลย 1,000 ชุด และจะจัดซ้อื เติมใหเ้ ตม็ จ�ำนวนอย่ตู ลอด 3.2 จากสถานีกาชาดตา่ งๆ Stock ขน้ึ อยกู่ ับศกั ยภาพ มีประมาณ 200-500 ชดุ ยกเว้นสถาน ี กาชาด ท่ี 12 ในฤดมู รสุมสามารถ Stock ได้ถงึ 2,000 ชดุ 4. หน่วยครัวเคล่ือนท่ีสภากาชาดไทย ศักยภาพ 3,000-5,000 ชุด ข้ึนกับอาสาสมัคร และ การแจกจ่าย เช่น หากต้องจัดเป็นชุดเล็กส�ำหรับ 1 คน ได้ 3,000 ชุด/วัน แต่ถ้าแจกจ่าย แบบตักแจกในศูนย์พักพิง หรือน�ำส่งเป็นชุดใหญ่ๆ เช่นให้แต่ละศูนย์พักพิงไปแจกจ่ายเอง ผลิตได้ ประมาณ 5,000 ชุด/วัน สามารถออกใหบ้ รกิ ารพรอ้ มกันได้สงู สุด 2 หน่วย 5. หน่วยผลิตนำ�้ ด่มื ในภาวะฉุกเฉิน มรี ถผลิตนำ้� ดมื่ หลายขนาด 5.1 รถ New Man ก�ำลงั การผลิต 4,000 ลติ ร/ชม. ประมาณ 40,000 ลิตร/วนั 5.2 รถ Dow ก�ำลงั การผลติ 1,600 ลติ ร/ชม. ประมาณ 12,800 ลติ ร/วนั สามารถออกใหบ้ รกิ าร พร้อมกันได้สงู สุด 2 หน่วย 5.3 เครอื่ ง Nano tech ก�ำลงั การผลติ 200 ลติ ร/ชม. เปน็ เครอื่ งชนดิ เลก็ สามารถลากเขา้ พนื้ ท่ี น้�ำทว่ มได้ 6. หนว่ ยเรอื ทอ้ งแบน มเี รอื ทอ้ งแบนพรอ้ มเครอ่ื งยนต์ จ�ำนวน 36 ล�ำ กระจายอยตู่ ามสถานกี าชาด ต่างๆ และส่วนกลางสามารถจัดเจ้าหน้าที่พร้อมเรือออกให้บริการพร้อมกันได้สูงสุด 3 ล�ำ ถ้าหากจังหวัดมีผู้ท่ีสามารถขับเรือได้ ก็สามารถท�ำเรื่องขอยืมได้ โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ท�ำหนังสอื ถงึ เลขาธิการสภากาชาดไทย 7. หน่วยรถสอ่ื สารเคล่ือนท่ี มรี ถสอ่ื สารเคลอ่ื นที่จ�ำนวน 1 คนั 8. หน่วยแพทยเ์ คลือ่ นทต่ี รวจรกั ษาโรคทวั่ ไป แก่ผู้ประสบภยั ปฏบิ ัติงานไดค้ ร้งั ละ 1-2 ทีม 9. หนว่ ยแพทยเ์ คลื่อนท่รี บั สถานการณฉ์ กุ เฉิน ปฏิบัติงานไดค้ รัง้ ละ 1-2 ทมี 10. หน่วยปฏบิ ตั กิ ารการแพทย์ฉุกเฉนิ เคลอื่ นท่เี ร็วตอบโต้ภยั พิบตั ิ (DMERT: Disaster Medical Emergency Response Team) ปฏบิ ัตงิ านได้คร้ังละ 1 ทมี 11. เป็นศูนย์รับบริจาคเคร่ืองอุปโภค-บริโภคจะประสานงานนายกเหล่ากาชาดหรือผู้อ�ำนวยการ เขตเพอื่ สง่ ต่อใหผ้ ู้ประสบภยั 36

Nationnal Disaster Response Team Handbook หมายเหตุ หากเป็นภัยระดับที่ 4 ทางสภากาชาดไทย จะมีคณะกรรมการจัดการภยั พิบตั สิ ภากาชาดไทย รับผิดชอบโดยประธานคือเลขาธิการสภากาชาดไทยและมีผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบรรเทาทุกข์ฯ เป็น เลขานกุ ารฯ จะเปน็ ผปู้ ระสานงานในการรอ้ งขอสนบั สนนุ ทรพั ยากรจากส�ำนกั งานอน่ื ๆ ของสภากาชาดไทย เช่น ร้องขอการสนับสนุนด้านโลหิต จากศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ หรือร้องขอสนับสนุนในด้าน บคุ ลากรทางการแพทย์และสาธารณสขุ จากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย หรอื โรงพยาบาล สมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา หรือไดร้ ับการสนับสนนุ ด้านอ่นื ๆ เชน่ การจดั การของเขา้ -ออกจาก สนามบนิ การจดั การดา้ นอาหาร นำ�้ สขุ าภบิ าลในบรเิ วณทมี่ อี าสาสมคั รมารว่ มปฏบิ ตั งิ าน จากคณะท�ำงาน ฝา่ ยสนบั สนนุ และสง่ ก�ำลงั บ�ำรงุ หรอื ไดร้ บั การสนบั สนนุ ชว่ ยการรบั บรจิ าค จากคณะท�ำงานฝา่ ยรบั บรจิ าค เป็นตน้ ผังการตดิ ต่อประสานงานภายในสำ�นักงานบรรเทาทุกข์ฯ ผังการตดิ ต่อประสานงานร้องขอ เวรสาธารณภยั 207 ศนู ยว์ ิทยุสือ่ สารสภากาชาดไทย เหลา่ กาชาดจังหวดั • ติดตามขอ้ มูลข่าวสาร 24 ชม. • รายงานข้อมลู ข่าวสารเมือ่ เกิดภยั รายงานเหตกุ ารณ์ เหลา่ กาชาดจังหวดั หัวหนา้ สถานกี าชาด สถปารนะกเมานิรณ์ 20 จังหวดั ภาคกลาง รายงานผลการปฏบิ ัติงาน ประเมนิ หัวหนา้ ฝ่ายบรรเทาทุกข์ หวั หนสา้ ถฝา่านยีกปารชะาสดานงาน สถปารนะกเมาินรณ์ สถานการณ์ ผปู้ ระสบภัย รายงานการปฏิบตั ิงาน RAT รายงานผลการปฏบิ ัติงาน ออกปฏบิ ตั ิงาน ผูอ้ ำ�นวยการ บรรเทาทุกข์ในพน้ื ที่ ประเมิน สำ�นกั งานบรรเทาทกุ ขฯ์ สถานการณ์ (War Room) ออกคำ�สัง่ ปฏบิ ตั งิ าน รายงานผลการปฏบิ ัติงาน ออกปฏิบตั งิ าน (RAT) หน่วยครวั เคล่ือนที่ฯ ออกปฏิบตั ิงาน (RAT) ออกค�ำ สัง่ ปฏบิ ัติงาน ฝา่ ยบรรเทาทกุ ข์ฯ ทาฝง่ากยาบรรแิกพาทรย์ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ทางฝกา่ ายรพแศัพดทุ ย์ฯ • หนว่ ยครัวเคลอื่ นท่ีฯ • หทนาง่วกยาบรรแกิ พาทรย์ • หน่วยนำ�้ • จเแคัดลร/ะ่ือสเวง�ำ อชรอภปุ งัณโภฑคท์บารงิโภกาครยแาพทย์ • ชดุ ธารน้�ำ ใจ • หนว่ ยเรือ • หน่วยน้ำ� สุขาภิบาล รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน 37

หนงั สือประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหน่วยเคลิ่อื นทเ่ี ร็ว การติดตอ่ ขอสนบั สนนุ 1. ประสานทางโทรศัพทก์ ับ 1.1 หวั หนา้ สถานีกาชาดหรอื เจา้ หน้าทีท่ ี่รบั ผดิ ชอบจังหวดั ท่าน 1.2 เจา้ หนา้ ทง่ี านบรรเทาทกุ ขผ์ ปุ้ ระสบภยั (20 จงั หวัด ทีส่ ่วนกลางรับผดิ ชอบ) 2. สง่ แบบฟอรม์ รายงานภยั พบิ ตั แิ ละขอรบั การสนบั สนนุ ฯ เรยี นผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานบรรเทาทกุ ขฯ์ มาท่ี ส�ำนักงานบรรเทาทุกข์ฯ โทรสาร 0-2252-7976 3. บนั ทกึ ขอ้ ความเรยี นเลขาธกิ ารสภากาชาดไทย และส�ำเนาถงึ ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานบรรเทาทกุ ขฯ์ โทรสาร 0-2252-7976 ขอ้ มูลการตดิ ต่อ สำ�นกั งานบรรเทาทุกขแ์ ละประชานามัยพิทักษ์ ท่ตี งั้ สำ�นกั งานใหญ่ 1871 ส�ำ นักงานบรรเทาทุกขแ์ ละประชานามยั พิทักษ์ ถนนองั รดี ูนงั ต์ แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วัน กรุงเทพฯ 10330 มสี ำ�นกั งานสาขาเรยี กว่าสถานีกาชาดอยู่ 13 แห่งท่วั ประเทศ และแต่ละสถานกี าชาดจะม ี จังหวดั ท่ีสถานกี าชาดตอ้ งสนับสนนุ ดังตอ่ ไปนี้ ลำ�ดบั ที่ ฝา่ ยบรรเทาทกุ ขผ์ ู้ประสบภยั / จังหวดั ท่รี ับผดิ ชอบ สถานีกาชาด กรงุ เทพฯ ลพบุรี อา่ งทอง ฉะเชิงเทรา พระนครศรอี ยุธยา อทุ ัยธานี ชยั นาท สระบุรี 1 งานบรรเทาทกุ ขผ์ ปู้ ระสบภัย กาญจนบุรี สมุทรสาคร ระยอง สพุ รรณบุรี ฝา่ ยบรรเทาทุกขผ์ ปู้ ระสบภยั (ส่วนกลาง) สิงหบ์ รุ ี นครนายก ปทมุ ธานี นครปฐม 02-251-7853-6 ตอ่ 1212-4, เพชรบูรณ์ ชลบรุ ี นครสวรรค์ นนทบรุ ี 080-559-5507, 087-749-1311 Fax : 02-252-7976 2 สถานกี าชาดที่ 1 จ.สรุ นิ ทร์ สรุ นิ ทร์ บุรรี ัมย์ มหาสารคาม ศรสี ะเกษ 0-4451-6080, 081-393-4739 ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ุ อุดรธานี หนองคาย บงึ กาฬ 3 สถานีกาชาดที่ 3 จ.เชยี งใหม่ เชยี งใหม่ เชยี งราย พะเยา แม่ฮอ่ งสอน 0-5323-5574, 081-883-0443 ลำ�ปาง ล�ำ พนู แพร่ นา่ น 4 สถานีกาชาดท่ี 4 จ.นครราชสมี า นครราชสมี า ขอนแกน่ หนองบัวลำ�ภู ชัยภูมิ 0-4424-2386, 089-845-2501 เลย 5 สถานกี าชาดท่ี 5 จ.สมทุ รปราการ สมุทรปราการ 0-2395-3676, 089-005-2349 38

Nationnal Disaster Response Team Handbook ล�ำ ดับที่ ฝ่ายบรรเทาทกุ ขผ์ ู้ประสบภยั / จงั หวัดทร่ี บั ผิดชอบ สถานกี าชาด สระแก้ว ปราจนี บุรี จนั ทบรุ ี ตราด 6 สถานกี าชาดที่ 6 จ.สระแกว้ อบุ ลราชธานี ยโสธร มกุ ดาหาร อำ�นาจเจริญ 0-3723-1207, 086-655-2320 นครพนม สกลนคร เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม 7 สถานกี าชาดท่ี 7 จ.อบุ ลราชธานี 0-4524-5309, 085-861-8049 ประจวบครี ีขันธ์ ชมุ พร ระนอง 8 สถานกี าชาดที่ 8 จ.เพชรบุรี นครศรธี รรมราช สรุ าษฎร์ธานี สงขลา ยะลา 0-3242-5427,081-197-5726 ปตั ตานี นราธิวาส ตาก กำ�แพงเพชร สโุ ขทยั พิษณุโลก 9 สถานีกาชาดท่ี 10 จ.ประจวบฯ พจิ ิตร อุตรดติ ถ์ 0-3251-1024, 087-068-7985 10 สถานกี าชาดที่ 12 จ.นครศรธี รรมราช 0-7530-2051-2 11 สถานีกาชาดท่ี 13 จ.ตาก 0-5551-4061-2, 081-881-1542 12 สถานกี าชาดท่ี 14 จ.พงั งา ภเู ก็ต พงั งา กระบี่ ตรัง สตลู 0-7648-1464, 084-689-5611 หมายเหตุ สถานกี าชาดท่ี 2 แพรง่ ภธู ร และ สถานีกาชาดที่ 11 วิเศษนยิ มนั้น ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพฯ ไมม่ ีพนื้ ท่ีรับผิดชอบเหมอื นสถานีกาชาดอื่นๆ หากเกดิ ภยั ตง้ั แต่ระดบั 1 เช่น อัคคีภัยในเขตกรงุ เทพฯ ฝา่ ยบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภยั ส่วนกลางรับผดิ ชอบดำ�เนินการ 39

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหน่วยเคลอิ่ื นท่เี รว็ เอกสารอา้ งอิง 1. ส่วนกฎหมาย สำ�นกั มาตรการปอ้ งกันสาธารณภัย กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. พระราชบญั ญัติป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ปี 2550. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท. ; 2550. 2. กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย. แผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ.2558 ; กรุงเทพฯ : ม.ป.ท. ; 2558. 3. สำ�นักงานบรรเทาทกุ ข์และประชานามัยพิทกั ษ์. แผนจัดการภยั พิบัตสิ ำ�นักงานบรรเทาทกุ ข์ฯ ปี พ.ศ.2559. กรุงเทพฯ : สำ�นกั งานบรรเทาทุกขฯ์ ; 2559. 40

Nationnal Disaster Response Team Handbook สหพนั ธ์สภากเาคชราื่อดงแมลอื ะตสอภบาเสสนีย้ อวงวภงเยั ดพอื บินตัแดิในงรระะดหบัวส่างาปกรละขเทอศง IFRC Global Response Tools รมย์มณี แกล้วทนงค์ เจ้าหน้าทฝ่ี ่ายลดความเสยี่ งภยั พบิ ตั ิ สหพนั ธ์สภากาชาดและสภาเสยี้ ววงเดือนแดงระหว่างประเทศ 41

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหน่วยเคลิอื่ นที่เรว็ เคร่ืองมอื ตอบสนองภยั พิบัตริ ะดบั สากล สหพันธส์ ภากาชาดและสภาเสีย้ ววงเดอื นแดงระหว่างประเทศ สหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ (International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies - IFRC) มีกลไกหรอื เครือ่ งมอื ที่หลากหลายในการชว่ ยเหลอื การตอบสนองต่อภัยพิบัติ ซึ่งได้รับการออกแบบมาเพ่ือให้มั่นใจว่าความช่วยเหลือจะถูกส่งมอบได้ อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ โดยผ่านทางทรัพยากรด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นด้านข้อมลู สารสนเทศ เงินทนุ ชว่ ยเหลือฉกุ เฉนิ และทรพั ยากรมนษุ ย์รวมท้ังอปุ กรณต์ ่างๆ จากเจา้ หนา้ ทท่ี มี่ ปี ระสบการณแ์ ละผา่ นการฝกึ อบรมการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในภาวะฉกุ เฉนิ สามารถแบง่ ได้ ตามประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. ทีมตอบสนองภัยพบิ ตั ิในระดบั ภมู ภิ าค (Regional Disaster Response Teams - RDRT) ทีมตอบสนองภัยพบิ ตั ใิ นระดับภมู ิภาค (RDRT)ไดก้ ่อตง้ั ข้นึ ในปี ค.ศ 1998 โดยมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื ใชศ้ กั ยภาพและทกั ษะของสมาชกิ สภากาชาดทไี่ ดร้ บั การฝกึ อบรม RDRT ในการตอบสนองภยั พบิ ตั ิ ในแตล่ ะภูมิภาคอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ RDRT คอื อะไร เปน็ ระบบการช่วยเหลอื ในการตอบสนองภยั พิบตั ิ ซงึ่ ปฏบิ ัติงานโดยเจ้าหนา้ ท่ีที่มีประสบการณ์ จากสภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงในแต่ละประเทศ เพ่อื ชว่ ยเหลอื ประเทศเพอ่ื นบา้ นในภมู ิภาค เดียวกนั RDRT คือใคร RDRT คือ สมาชิก เจ้าหน้าที่ หรือ อาสาสมัคร จากสภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดง จากประเทศต่างๆ ท่ีได้รับการฝึกฝนเพื่อท�ำงานเป็นทีม ให้ความช่วยเหลือแก่ สภากาชาดเพื่อนบ้าน มีความเข้าใจบริบทของประเทศเพื่อนบ้านและสามารถส่ือสารภาษาเดียวกันได้ มีความเช่ียวชาญงาน ด้านตา่ งๆ เชน่ ดา้ นบรรเทาทุกข์ (relief) โลจสิ ติกส์ (logistics) สุขภาพ (health) อาหาร (nutrition) สาธารณสขุ (public health) ระบาดวทิ ยา (epidemiology) การชว่ ยเหลอื ดา้ นจติ สงั คม (psychological support) นำ�้ และสุขาภบิ าล (water and sanitation) การเงนิ (finance) การบรหิ ารจัดการทัว่ ไป (administration) RDRT ท�ำงานอยา่ งไร ทมี RDRT จะถกู สง่ ไปช่วยเหลอื ประเทศเพื่อนบา้ น ทอี่ ยูใ่ นภูมิภาคเดยี วกนั ภายใน 24 หรอื 72 ชว่ั โมง โดยการร้องขอจากประเทศเพ่อื นบา้ นผ่านทาง IFRC ที่มีส�ำนักงานประจ�ำอยใู่ นประเทศหรอื ภูมิภาคที่เกดิ ภัยพิบัติ 2. ทมี ประสานงานภาคสนาม (Field Assessment Coordination Teams - FACT) ทมี ประสานงานภาคสนามกอ่ ตงั้ ในปี ค.ศ. 2000 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ การประเมนิ สถานการณ์ และประสานงานในระดับต่างๆ ก่อนที่จะส่งผู้เชี่ยวชาญทางด้านต่างๆ เข้าไปช่วยเหลือในประเทศที่ เกิดเหตภุ ยั พบิ ตั ิ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 42

Nationnal Disaster Response Team Handbook FACT คอื อะไร เปน็ กลไกทพ่ี ฒั นาขน้ึ โดย ความรว่ มมอื ของ IFRC และ ตวั แทนของสภากาชาดตา่ งๆ เพอ่ื สรา้ ง ทมี ประสานงาน และประเมนิ ผลภาคสนาม ซง่ึ การท�ำงานจะตอ้ งมกี ารประเมนิ สถานการณแ์ ละประสานงาน กบั องคก์ รในประเทศและองคก์ รระหวา่ งประเทศในบรบิ ท ทม่ี คี วามซบั ซอ้ นทางดา้ นการเมอื ง ความปลอดภยั เพอ่ื ให้ความชว่ ยเหลือแก่ประเทศท่ีเกิดเหตภุ ัยพบิ ตั ิ FACT คอื ใคร เจ้าหน้าท่ีจากสภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดง ท่ีผ่านการอบรม FACT เป็นเจ้าหน้าที่ใน ระดับหัวหน้างานที่มีประสบการณ์การประสานงานในระดับสากล มีความรู้ความสามารถโดยเฉพาะ ด้านภาษาอังกฤษในการเขียนรายงานการระดมทุนเพ่ือช่วยเหลือประเทศท่ีเกิดภัยพิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และมีความเช่ียวชาญด้านต่างๆ เช่น ด้านบรรเทาทุกข์ (relief) โลจิสติกส์ (logistics) สขุ ภาพ (health) อาหาร (nutrition) สาธารณสขุ (public health) ระบาดวทิ ยา (epidemiology) การชว่ ยเหลอื ด้านจิตสังคม (psychological support) น้�ำและสุขาภิบาล (water and sanitation) การเงิน (finance) การบริหารจดั การทวั่ ไป (administration) FACT ท�ำงานอย่างไร สภากาชาดในประเทศที่ไดร้ ับผลกระทบ สามารถร้องขอ FACT ทีมผ่านทาง IFRC การเดนิ ทาง ออกปฏบิ ตั งิ าน FACT ทมี สามารถเดนิ ทางออกปฏบิ ตั งิ านไดภ้ ายใน 12 - 24 ชว่ั โมงเปน็ เวลา 4-6 สปั ดาห์ โดยการท�ำงานจะเน้นในเร่ืองของการประเมินสถานการณ์และการประสานงานกับองค์กรท้องถิ่นและ องคก์ รตา่ งประเทศ มีการเขยี นรายงานสรุปสถานการณ์ อยา่ งตอ่ เนื่อง เพือ่ สามารถน�ำขอ้ มลู ไประดม ทุนผา่ นทาง IFRC และท�ำงานรว่ มทีม หน่วยตอบโตฉ้ ุกเฉนิ (Emergency Response Units - ERUs) อยา่ งใกลช้ ิด 43

หนังสอื ประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหน่วยเคลอืิ่ นทีเ่ ร็ว 3. หน่วยตอบสนองภยั พบิ ัตฉิ ุกเฉนิ (Emergency Response Units - ERUs) หน่วยตอบสนองภยั พบิ ัตฉิ กุ เฉนิ ก่อตงั้ ข้นึ เม่ือปี ค.ศ. 1994 โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ให้ความ ชว่ ยเหลอื เรง่ ดว่ นแกส่ ภากาชาดในประเทศทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากภยั พบิ ตั ิ และสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกตา่ งๆ ถกู ท�ำลาย หรอื มไี มเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ หรอื กรณที ไ่ี มม่ สี งิ่ อ�ำนวยความสะดวกขน้ั พนื้ ฐานในการ ชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั ERUs คืออะไร Emergency Response Units (ERUs) เป็นเคร่อื งมอื ในการตอบสนองภัยพบิ ัติของ IFRC ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยผเู้ ชยี่ วชาญทไ่ี ดร้ บั การอบรมใหม้ คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นซงึ่ มอี ปุ กรณท์ �ำงานดา้ นนน้ั ๆ เชน่ หน่วยน้�ำและสขุ าภบิ าล หน่วยการติดตอ่ สอื่ สาร หน่วยโลจิสติกส์ หรอื หน่วยโรงพยาบาลสนาม ERUs คือใคร ERUs คอื กลุ่มบคุ คลจากตวั แทนสภากาชาดท่ีไดร้ บั การอบรม มคี วามเชี่ยวชาญการใชอ้ ปุ กรณ์ ภาคสนามท่ีทางกาชาดมีให้ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากภัยพิบัติต่างๆ กาชาดท่ีมีท้ังผู้เช่ียวชาญ และอปุ กรณ์ภาคสนามเพอื่ ตอบสนองกับภยั พิบตั ิได้ทนั ทีนั้น คือ สภากาชาด : American, Austrian, the BeNeLux (Belgium, Netherlands and Luxemburg), British, Canadian, Danish, French, Finnish, German, Italian, Japanese, New Zealand, Norwegian, Spanish, Swedish and Swiss Red Cross. และกาชาดทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ เจา้ หนา้ ทท่ี ไ่ี ดร้ บั การอบรม เชน่ Australia, Croatia, Hong Kong, Indonesia, Iceland and Macedonia. ERUs ท�ำงานอยา่ งไร เมอ่ื เกดิ เหตภุ ยั พบิ ตั ขิ นาดใหญท่ ท่ี �ำใหโ้ ครงสรา้ งพน้ื ฐานถกู ท�ำลาย หรอื มไี มเ่ พยี งพอ และกาชาด ในประเทศน้นั ๆ ตอ้ งการความช่วยเหลอื เพิม่ เติม ทีม ERUs จะถูกรอ้ งขอให้ลงไปปฏบิ ตั งิ านพร้อมกับ อปุ กรณส์ นาม ภายใน 24-72 ชั่วโมงและสามารถปฏิบัตงิ านไดเ้ ป็นเวลา 1-4 เดอื น 44

Nationnal Disaster Response Team Handbook 4.ข้อมูลสารสนเทศ (Disaster Management Information System- DMIS). ตงั้ แตป่ ี ค.ศ. 2001 DMIS เรม่ิ รวบรวมและจดั การกระบวนการแลกเปลย่ี นข้อมูลเพือ่ งานดา้ น ความช่วยเหลือมนุษยธรรม และสนับสนุนการเตรียมพร้อมในการรับมือกับภัยพิบัติของ IFRC ให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล DMIS ได้รับการปรับปรุงหลายครั้ง เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 2020 ของ IFRC DMIS คอื อะไร เปน็ ระบบสารสนเทศเพอื่ การจดั การภยั พบิ ตั ิ (Disaster Management Information System- DMIS เป็นเครื่องมือในการท�ำงานบนเว็บส�ำหรับเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครของสภากาชาดและสภาเสี้ยว วงเดือนแดง และคณะผู้แทน IFRC รวมถงึ ส�ำนกั งานใหญข่ องเจนวี า สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ด้านเทคนิค และการปฏิบัติงานเก่ียวกับแนวโน้มของภัยพิบัติและการตอบสนองต่อสถานการณ์ภัยพิบัติของแต่ละ สภากาชาด รวมถงึ การได้เขา้ ถงึ ข้อมูลเก่ยี วกบั การร้องขอความช่วยเหลือ ทง้ั ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์และ เงินทนุ DMIS ท�ำงานอย่างไร เมอื่ เกดิ เหตุภยั พบิ ตั ใิ นแต่และประเทศ เจา้ หน้าท่ีหรือตัวแทนของสภากาชาดและสภาเสย้ี ววง เดือนแดง ทล่ี งทะเบียนในระบบ DMIS มกี ารแจ้งขอ้ มลู ความเสยี หาย หรือการรอ้ งขอความช่วยเหลือ ผา่ น ระบบ DMIS ทาง IFRC จะเปน็ ผตู้ รวจสอบ และประสานงานกบั กาชาดตา่ งๆ ในการชว่ ยเหลอื ตอ่ ไป 45

หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารหนว่ ยเคลิอ่ื นทเ่ี รว็ 5. กองทุนเงนิ ฉุกเฉนิ Disaster Relief Emergency Fund (DREF) DREF คืออะไร DREF เปน็ กองทุนเงนิ ฉุกเฉิน (Disaster Relief Emergency Fund -DREF) กอ่ ต้ังขนึ้ โดย IFRC ในปี ค. ศ. 1985 เพอ่ื ใหก้ ารสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกส่ ภากาชาดและสภาเสย้ี ววงเดอื นแดงในการตอบสนอง ภัยพิบัติเบอ้ื งตน้ ระหวา่ งรอการระดมทุนเพอ่ื ช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยในล�ำดับตอ่ ไป นอกจากน้ี DREF ยังสนบั สนุนเงนิ ทุนด้านการเตือนภยั ล่วงหน้าและการเตรียมความพรอ้ มในการรบั มือกับภยั พบิ ัติ DREF ทำ� งานอยา่ งไร เมื่อภัยพิบัติเกิดขึ้น หากสภากาชาดและสภาเส้ียววงเดือนของแต่ละประเทศต้องการเงินทุน ช่วยเหลือเร่งด่วน สามารถร้องขอ DREF ผ่านส�ำนักงานของ IFRC ในแต่ละประเทศหรือภูมิภาค ภายใน 7 วนั นบั จากเหตกุ ารณภ์ ยั พบิ ตั ิ ทกุ ค�ำรอ้ งขอ จะไดร้ บั การตรวจสอบโดยพจิ ารณาเปน็ กรณๆี ไป และสามารถอนมุ ตั เิ งินทนุ ได้ภายใน 24 ชว่ั โมง 46

Nationnal Disaster Response Team Handbook 6. การระดมทนุ ฉกุ เฉนิ (Emergency Appeal - EA) IFRC ไดร้ ับเงนิ ทนุ จากสาธารณะ เพอ่ื สนับสนุนงานดา้ นตอบสนองภัยพิบตั ผิ ่านการระดมทุน ฉุกเฉิน (Emergency Appeal - EA) และกองทนุ เงนิ ฉุกเฉนิ (Disaster Relief Emergency Fund -DREF) ในการชว่ ยเหลอื สภากาชาดและสภาเส้ียววงเดอื นแดงที่ต้องการความชว่ ยเหลอื EA คืออะไร เปน็ การระดมทนุ ฉกุ เฉนิ ซงึ่ เปน็ กลไกดา้ นการจดั หาเงนิ ทนุ ของ IFRC โดยประกาศผา่ นสาธารณะ เพ่ือสนับสนุนงานด้านการตอบสนองภัยพิบัติในประเทศที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติและสภากาชาด และสภาเส้ียววงเดือนแดงในประเทศนั้นๆได้มีการร้องขอรับการสนับสนุนเงินทุนซึ่งจะต้องมีแผนการ ปฏิบตั งิ านครบถ้วน EA ทำ� งานอยา่ งไร เมื่อมีการร้องขอเงินสนับสนุนเพื่อช่วยเหลือในการตอบสนองภัยพิบัติจากสภากาชาดและสภา เสยี้ ววงเดอื นแดงในประเทศทีไ่ ดร้ ับผลกระทบ ทาง IFRC โดยเจา้ หน้าท่ีที่เก่ยี วขอ้ งมีการประกาศระดม ทุนจากสาธารณะ โดยแสดงแผนการปฏบิ ตั งิ านทร่ี วมถงึ กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ และการ ประเมินผลตดิ ตามการด�ำเนนิ งานตามมาตรฐานของ IFRC เพ่อื ที่ผูใ้ หก้ ารสนับสนนุ สามารถตรวจสอบ การบรหิ ารจัดการเงินทนุ ได้ 47

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ัติการหนว่ ยเคลิอ่ื นทีเ่ ร็ว กลา่ วโดยสรปุ เครอื่ งมอื ตา่ งๆ ทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ นนั้ เปน็ เครอ่ื งมอื ทที่ าง IFRC ใชป้ ฏบิ ตั งิ านดา้ น ตอบสนองภยั พบิ ตั ริ ว่ มกบั สภากาชาดและสภาเสย้ี ววงเดอื นแดงในแตล่ ะภมู ภิ าค ซงึ่ การด�ำเนนิ การใดๆ จะต้องผ่านการรอ้ งขอจากกาชาดท่ไี ด้รับผลกระทบจากภยั พิบัติ ดว้ ยเหตุนี้ เพอื่ ใหเ้ กิดการท�ำงานทีม่ ประสทิ ธภิ าพและมคี ณุ ภาพ ทกุ ๆกาชาดจงึ ตอ้ งมกี ารเตรยี มพรอ้ มเจา้ หนา้ ทขี่ องตนเอง ในการฝกึ อบรม ทีมตอบสนองภัยพิบตั ิ (National Disaster Response Team - NDRT) ในระดับประเทศ ให้มศี ักยภาพ ทงั้ การตอบสนองตอ่ ภยั พบิ ตั ริ วมถงึ ความสามารถในการประสานงานกบั ทกุ ระดบั ทง้ั ในระดบั ประเทศและ ระดับภมู ิภาคเพ่ือให้การปฏิบัติงานประสบผลส�ำเรจ็ และสามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้ไดม้ ากท่สี ดุ เอกสารอา้ งองิ IFRC. “ What we do”. Disaster Management. [เขา้ ถึงเม่ือ 13 มถิ ุนายน 2561]. เขา้ ถึงได้จาก http://www.ifrc.org/en/what-we-do/disaster-management/. 48

Nationnal Disaster Response Team Handbook กSรaอfบerกAารcปceฏsิบsัตFิงrาaนmในeพw้ืนoทrk่ีสุ่ม(SเสAี่ยFง) เอกราช รกั วนัส หวั หนา้ แผนกกาชาดสมั พนั ธ์ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ Safer Access คอื อะไร Safer = ปลอดภยั มากขึ้น Access = การเข้าถึง หรือการเขา้ ไปทำ� งานในพ้นื ท่ี สรุป Safer Access กค็ ือหลักปฏบิ ัติหรือการเตรยี มความพรอ้ มของสภากาชาดฯ ในกรณีท่ี ต้องเข้าไปท�ำงานในพื้นท่ีหรือสถานการณ์ท่ีสุ่มเสี่ยง และหรือไม่ปลอดภัย ถึงแม้ว่า หัวข้อเร่ือง Safer Access ฟังดูว่าน่าจะเก่ียวข้องกับความขัดแย้ง แต่สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงหลายแห่ง ยืนยนั วา่ เนอื้ หาของ Safer Access มปี ระโยชนแ์ ละสามารถน�ำมาประยุกตใ์ ช้ในด้านการพัฒนาองค์กร ในภาวะปกติได้เปน็ อยา่ งดอี ีกดว้ ย ทงั้ นีก้ ็เพอ่ื เปน็ การรับมอื ในการตอบสนองตอ่ ภยั พบิ ตั ิ ทัง้ ทีเ่ กดิ จาก ธรรมชาติ และน�ำ้ มอื มนษุ ย์ Safer Access ไม่ใช่การฝึกอบรม แต่เป็นวิธีการหรือเคร่ืองมือที่สามารถใช้เป็นแนวทาง ในการท�ำงาน โดยเฉพาะในสถานการณ์ทส่ี มุ่ เส่ยี งและหรอื ไมป่ ลอดภัยอย่างทีก่ ล่าวไปแลว้ 49