Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NDRT Manual (TH) หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยเคลื่อนที่เร็ว

NDRT Manual (TH) หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยเคลื่อนที่เร็ว

Published by e20dku, 2022-06-29 05:04:20

Description: หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยเคลื่อนที่เร็ว
National Disaster Response Team Handbook

Keywords: Response team,Disaster management,Handbook,Disaster,Crisis managment

Search

Read the Text Version

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการหน่วยเคลื่ิอนที่เรว็ มาจากไหน โดยสว่ นใหญ่แล้ว สภากาชาดหรอื สภาเสย้ี ววงเดอื นแดงของแตล่ ะประเทศ มกั จะเป็นท่รี จู้ ัก และได้รับการยอมรับนับถือเป็นอย่างดีอยู่แล้ว ทั้งนี้แต่ละสภากาชาดอาจจะไม่คุ้นเคยกับการเข้าไป ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ในพ้ืนท่ีท่ีสุ่มเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัยมากเท่าใดนัก SAF จึงถูกออกแบบมา เพ่ือช่วยใหส้ ภากาชาดและสภาเส้ียววงเดอื นแดงสามารถวางแผน เตรียมความพร้อม เพอ่ื ใหก้ ารเขา้ ไป ปฏิบตั ิงานด้านมนุษยธรรมมีความปลอดภัยมากยงิ่ ข้ึน โดยเฉพาะในกรณีท่ีตอ้ งเข้าไปท�ำงานในพ้นื ท่ีท่ี สุ่มเสีย่ งและหรือไม่ปลอดภยั อย่างทก่ี ล่าวขา้ งต้น หลักการของ SAF ได้ถูกพัฒนาข้ึนมาในปี 2003 จากแนวคิด “เสาหลักแห่งความปลอดภัย 7 ประการ (7 Security Pillars)” โดยรว่ มกับสภากาชาด สภาเสย้ี ววงเดือนแดง อีกกวา่ 50 ประเทศ ที่ เคยเผชิญกบั ปญั หาหรอื อุปสรรคดังกล่าว ท�ำให้สามารถสรุปออกมาเป็นขอ้ แนะน�ำดังปรากฏใน SAF ท่เี น้นถึงเรือ่ งภาพลักษณ์องค์กร การรับรู้และการยอมรับ โอกาสเส่ยี ง ความท้าทาย ซง่ึ จะส่งผลโดยตรง ต่อความปลอดภยั ของเจา้ หนา้ ที่ และอาสาสมคั รของหน่วยงานกลุ่มองคก์ รกาชาด ส�ำคญั อยา่ งไร • ในปี 2545 เจ้าหนา้ ทก่ี าชาดเนปาล 12 คน ถูกสังหาร • ปี 2546 เจ้าหนา้ ทก่ี าชาดไอวอร่ี 4 คนถกู ฆ่า และ 6 คน จากกาชาดยูกันดา ถกู ลอบโจมตี • ปี 2549 เจ้าหน้าท่กี าชาดเลบานอล 2 คน ถูกโจมตีและได้รับบาดเจ็บ • ปี 2553 รถ ambulance สภากาชาดถูกกัก เพ่ือตรวจค้นโดยกลุ่มผูป้ ระทว้ ง • ปี 2560 เจ้าหนา้ ท่ี ICRC อฟั กานสิ ถาน 6 คน ถกู ฆ่า และอกี 2 คน ถูกลักพาตวั • และเมอื่ เดอื นมนี าคมปีนี้ (2561) เจ้าหนา้ ทีข่ อง ICRC โซมาเลีย 1คน เสยี ชีวิตจากการถกู วางระเบดิ ในรถของตัวเอง 50

Nationnal Disaster Response Team Handbook ในอดตี เรามกั จะเคยไดย้ นิ วา่ เรอ่ื งความเสยี หายหรอื การสญู เสยี ทยี่ กตวั อยา่ งขา้ งตน้ มกั จะเกดิ กบั ส�ำนกั งานหรอื เจา้ หนา้ ที่ของ UN หรือองคก์ ร NGO อนื่ ๆ เสยี มากกว่า แตใ่ นปจั จุบัน กลุ่มกองก�ำลงั ตา่ งๆ โดยเฉพาะกองก�ำลังตดิ อาวุธทไี่ มม่ ีการบงั คบั บัญชาอยา่ งชดั เจน มแี นวโน้มทีจ่ ะไม่ปฏิบตั ติ าม หลักมนุษยธรรมสากล ผลท่ตี ามมากค็ ือการโจมตีหนว่ ยงาน สถานท่ที �ำงาน โรงพยาบาลสนาม หรือแม้ กระทงั่ เจา้ หนา้ ทขี่ องกาชาดทท่ี �ำงานใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมเพมิ่ มากขน้ึ จากสถติ จิ ะเหน็ ไดว้ า่ กาชาดตกเปน็ หนงึ่ ในเปา้ หมายเหลา่ นน้ั โดยทง้ั ทเ่ี ปน็ การตงั้ ใจและทง้ั ทไี่ มไ่ ดต้ ง้ั ใจ ปรากฏการณด์ งั กลา่ ว มไิ ด้เกิดข้ึนจากเหตผุ ลเพียงเหตผุ ลเดียว แต่ยงั รวมถึงปัจจัยอน่ื ๆ อกี หลายปัจจยั ซึ่งจะได้อธิบายใน รายละเอยี ดต่อไป ทั้งน้ี SAF สามารถน�ำมาใช้เป็นเคร่ืองมือ เพ่ือลดโอกาสเสี่ยงในเรื่องความปลอดภัยของ เจา้ หนา้ ท่ีและอาสาสมัครของกาชาด ที่เขา้ ไปปฏิบตั งิ านให้ความช่วยคนท่ีเดือดรอ้ น ในพ้นื ทีเ่ สี่ยงและ เพือ่ เปน็ หลกั ประกนั วา่ พวกเขาจะได้รบั ความปลอดภยั ที่เพ่มิ มากขน้ึ ทำ� อยา่ งไร รปู แบบความขดั แยง้ ความตอ้ งการดา้ นมนษุ ยธรรม จ�ำนวนองคก์ รทเี่ พมิ่ มากขน้ึ และเทคโนโลยี วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านดา้ นมนษุ ยธรรมทเี่ ปลย่ี นแปลงไป ในขณะทส่ี ดั สว่ นของงบประมาณ เงนิ บรจิ าคทวั่ โลก ยงั คงเดมิ นยี่ งั ไมร่ วมถงึ แรงกดดนั จากรฐั บาลและแมแ้ ตก่ ารเรยี กรอ้ งจากผรู้ บั ผลประโยชนท์ เี่ พมิ่ มากขนึ้ ปจั จยั ทง้ั หมดมสี ว่ นทจ่ี ะสง่ ผลกระทบตอ่ งานดา้ นมนษุ ยธรรม ในชว่ งหลายปที ผ่ี า่ นมาอยา่ งหลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ ถึงแม้ว่าเจ้าหน้าท่ีและอาสาสมัครของสภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดง จะท�ำงานร่วมกับชุมชน อยา่ งใกลช้ ดิ ซง่ึ โดยปกตแิ ลว้ จะท�ำงานรว่ มกบั อาสาสมคั รทมี่ าจากคนในชมุ ชนดว้ ยกนั เอง แตถ่ งึ กระนนั้ ก็ตาม ก็ไม่ได้เป็นหลักประกันว่า เจ้าหน้าท่ีและอาสาสมัครของสภากาชาดและสภาเส้ียววงเดือนแดง เหลา่ นนั้ จะเขา้ ถงึ ผทู้ ต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลอื ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั เสมอไป ทเ่ี ปน็ เชน่ นกี้ เ็ พราะการยอมรบั จากชาวบา้ น คนในชมุ ชน ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี สว่ นใหญจ่ ะมมี มุ มองและมคี วามเขา้ ใจในงานของสภากาชาด และสภาเสย้ี ววงเดอื นแดงอยา่ งไร หากบคุ คลหรอื กลมุ่ คน รวมถงึ ผไู้ ดร้ บั ประโยชนไ์ มเ่ ขา้ ใจวา่ เราเปน็ ใคร เราก�ำลงั ท�ำอะไรและท�ำไมเราจงึ ท�ำหรอื ใชว้ ธิ กี ารเชน่ นน้ั พวกเขายอ่ มเกดิ ความเคลอื บแคลงใจ ซง่ึ สง่ ผล ตอ่ ความปลอดภยั ในการเข้าถงึ พื้นท่ี ความสงสยั ความกังขาเหล่าน้ี ย่อมท�ำให้เกดิ การขดั ขวาง หรอื ไม่ กก็ ารชะงกั งนั หรือแมก้ ระทงั่ เกดิ เหตกุ ารณ์กระทบกระทง่ั รุนแรงขึ้นได้ ดงั นนั้ จึงเป็นเร่ืองส�ำคญั ทเ่ี รา ควรใช้ SAF หรอื กรอบการท�ำงานในการเขา้ ถงึ พืน้ ที่อย่างปลอดภยั มาใชร้ ่วมกับการวางแผนการเข้าถึง พนื้ ที่ เพอื่ รกั ษาและเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน และชมุ ชนทตี่ อ้ งการความชว่ ยเหลอื อย่างปลอดภัยน่นั เอง การน�ำกรอบการท�ำงาน SAF ไปใช้ในโครงการ กิจกรรม และกระบวนการตัดสนิ ใจ จะชว่ ยให้ เจา้ หนา้ ที่ และอาสาสมคั รของสภากาชาดฯ สามารถท�ำงานใหบ้ รกิ ารดา้ นมนษุ ยธรรมแกป่ ระชาชนทกุ คน และชุมชนทุกแห่ง ที่ต้องการความช่วยเหลือได้อย่างท่ัวถึง มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในสถานการณท์ ีเ่ กี่ยวขอ้ งกับความรุนแรงหรือเสี่ยงต่อการเกดิ ความรุนแรง 51

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารหน่วยเคล่อืิ นท่เี ร็ว The SAF Cycle (Underpinning cycle)/ Chain Reaction (SAF diagram) 52

Nationnal Disaster Response Team Handbook SAF มีองค์ประกอบหลัก 4 ด้าน คือ 1) การเข้าถึง 2) การรับรู้ 3) การยอมรับ และ 4) ความ ปลอดภัย (ดูที่ The Safer Access Cycle พร้อมอธิบายเพิ่มเติม) ยกตัวอย่างกาชาดเนปาล ในอดีต สามารถท�ำงานใหค้ วามชว่ ยเหลอื ชมุ ชนอยา่ งใกลช้ ดิ ซง่ึ กไ็ ดร้ บั การตอ้ นรบั เปน็ อยา่ งดี แตห่ ลงั เกดิ เหตกุ ารณ์ ความขัดแยง้ ภายในประเทศ (Maoist revolution - 1996-2005, 8,200 Nepalis killed by government forces) ชาวบา้ นเรม่ิ ปฏิเสธ ไมย่ อมรบั ความชว่ ยเหลอื ของกาชาดเนปาลเช่นเคย สรา้ งความคลางแคลง สงสยั ใหก้ บั ผบู้ รหิ ารกาชาดเนปาลเปน็ อยา่ งยง่ิ จนกระทงั่ ทางกาชาดเนปาลไดค้ น้ หาและรบั รคู้ วามจรงิ วา่ สาเหตุท่ที �ำใหช้ าวบา้ นเกิดความไม่ไวว้ างใจกาชาดเนปาล เพราะการเขา้ ไปในพน้ื ท่ีทกุ ครัง้ จะตอ้ งอาศยั เครอ่ื งใชไ้ มส้ อย รวมถงึ การล�ำเลยี งขนสง่ วตั ถสุ งิ่ ของตา่ งๆ ของทหาร ทง้ั ๆ ทว่ี า่ นเี่ ปน็ สงิ่ ทกี่ าชาดเนปาล ปฏบิ ตั มิ าตลอดและชาวบา้ นกไ็ มม่ ปี ญั หาอะไร แตพ่ อสถานการณก์ ารเมอื งเปลย่ี น โดยเฉพาะความขดั แยง้ ภายในด้วยแลว้ การรับรู้ การยอมรบั กจ็ ะเปล่ียนตามไปด้วย ซ่ึงแน่นอนวา่ จะสง่ ผลตอ่ ความปลอดภัย และการเขา้ ถงึ พน้ื ทข่ี องเจา้ หนา้ ทแ่ี ละอาสากาชาดโดยตรง กาชาดเนปาลยงั ไดท้ ราบขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ อกี วา่ การท�ำเชน่ นเี้ ปน็ การท�ำใหช้ มุ ชนเขา้ ใจวา่ นน่ั คอื การรว่ มมอื กนั ระหวา่ งทหารและกาชาดเนปาลเพอ่ื เปน็ การ หาขา่ วในพ้นื ท่ีอีกดว้ ย บทเรยี นท่ีส�ำคัญจากตวั อยา่ งน้ี คือเราตอ้ งตระหนักไวว้ า่ ในบางคร้ังความเข้าใจ (perception) ว่ากาชาดท�ำงานให้ความช่วยเหลืออย่างเป็นกลางหรือไม่นั้นส�ำคัญกว่าการกระท�ำที่เป็นกลางจริงๆ เสยี อกี ยำ้� อกี ทวี า่ ความเขา้ ใจ ในเรอื่ งเปน็ กลาง ส�ำคญั มากกวา่ การกระท�ำทเ่ี ปน็ กลางจรงิ ๆ อยา่ งไรกด็ ี เราได้เห็นแล้วว่า แต่ละดา้ นขององค์ประกอบหลัก 4 องคป์ ระกอบ มสี ว่ นสมั พนั ธก์ นั อยา่ งใกลช้ ิด ซ่ึงจะ มปี ระสทิ ธภิ าพได้ ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ปจั จยั อน่ื ทเี่ ปน็ รปู ธรรมเพมิ่ เตมิ อกี 8 ปจั จยั ดว้ ยกนั (ดทู ่ี Chain reaction) การท่ีจะท�ำใหช้ ุมชนเกดิ การรบั รู้เชิงบวก และเกิดการยอมรบั ไดน้ นั้ สภากาชาดฯ ต้องมีนโยบายเชงิ รกุ เพ่อื เสริมสรา้ งความเข้าใจท่ถี ูกตอ้ ง โดยเฉพาะในด้านวธิ ีการแสดงตน การส่อื สารและประสานงานทงั้ ภายในและภายนอกองคก์ ร การประเมนิ ในเร่อื งการยอมรบั ทั้งในระดบั ตัวบุคคล และในระดบั องค์กร เปน็ ตน้ ในการเพิ่มความปลอดภัยแก่เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสภากาชาดฯ ในขณะเข้าถึงพ้ืนที่เสี่ยง ตอ้ งใหค้ วามส�ำคญั กบั การประเมนิ สถานการณแ์ ละความเสย่ี งอกี ดว้ ย ปจั จยั นจ้ี ะเปน็ ขอ้ มลู พนื้ ฐานทสี่ �ำคญั และจ�ำเป็นทชี่ ่วยท�ำให้สภากาชาดฯ ร้แู ละเข้าใจถงึ สถานการณ์ท่เี ปน็ จรงิ ในชว่ งเวลานนั้ ได้ โดยปกตแิ ล้ว พนั ธกจิ ดา้ นมนษุ ยธรรมของกลมุ่ หนว่ ยงานองคก์ รกาชาด จะมกี ฎหมายรองรบั การท�ำงานไวอ้ ยา่ งชดั เจน วา่ อนุญาตให้กาชาดปฏิบตั ิงานได้ในกรณี 1) เพื่อรบั มือกบั ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ และ 2) ในสถานการณ์ ทอี่ ่อนไหวและไม่มนั่ คง เช่น กรณขี ัดแย้งหรือท่มี กี ารสู้รบ ความไม่สงบภายใน ซ่ึงจะเออ้ื ให้เจ้าหนา้ ที่ และอาสาสมัครสามารถเข้าถึงผู้ทต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลือไดอ้ ย่แู ล้ว แตอ่ ยา่ งไรก็ดี ผเู้ ขา้ ไปปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี ในสถานการณด์ งั กลา่ วตอ้ งศกึ ษา ตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจนโยบาย และระบบ ระเบยี บของสภากาชาดฯ เชน่ การท�ำประกันใหก้ บั เจา้ หน้าท่ี เพราะอาสาสมคั รก็มีความส�ำคัญไมย่ ่งิ หยอ่ นไปกว่ากัน มิฉะนน้ั แลว้ ตอ้ งได้รับการอบรมกอ่ นการเขา้ ถงึ พ้นื ที่ 53

หนงั สือประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบัติการหนว่ ยเคลอิ่ื นทีเ่ รว็ กระบวนการท่ีเราตอ้ งท�ำอยา่ งต่อเนอื่ ง กค็ อื การสรา้ งความมัน่ ใจว่า ผูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียท่อี าจ สง่ ผลต่อการเข้าถงึ การยอมรับ และความปลอดภยั ของสภากาชาดฯ ตอ้ งได้รับการอธบิ าย ใหม้ ีความ เข้าใจและยอมรบั ตอ่ พันธกิจกาชาดเป็นอย่างดี รวมท้งั วธิ กี ารท�ำงานของกาชาดอกี ด้วย ทัง้ น้ีกเ็ พอื่ ลด โอกาสเส่ียงและเพ่มิ ความปลอดภยั ในการเขา้ ถึงประชาชนและชมุ ชน ท่กี �ำลงั รอรบั ความชว่ ยเหลือ ดงั นนั้ การท่ีเรายึดถือและปฏิบตั ิตามกรอบการท�ำงานของ SAF อยา่ งเครง่ ครัด และเสมอต้นเสมอปลาย จะช่วยสรา้ งเสริมความมนั่ ใจให้แก่เจ้าหนา้ ท่ีและอาสาฯ ได้การเข้าถึงที่อยา่ งปลอดภัยมากขึ้น จะเหน็ ไดว้ ่าทกุ ปจั จัยมคี วามส�ำคญั มากพอๆ กนั และยึดโยงกัน โดยท่ีจะไมส่ ามารถแยกออก จากกนั ได้ ดงั กล่าวถ้าปจั จัยใดปจั จยั หนงึ่ ไม่ดี ไมม่ ีความแขง็ แรงพอ ก็จะส่งผลกระทบต่อปจั จยั อ่ืนได้ เช่นกัน เปน็ ทนี่ ่าสงั เกตวุ ่า “หลักการกาชาด” จะท�ำหนา้ ทเ่ี ปรยี บเสมอื นกาวหรือตัวประสาน ท่จี ะท�ำ ห่วงทุกหว่ ง หรือปัจจยั ทุกปัจจัย สามารถ ยดึ เกาะกนั ไดอ้ ยา่ งม่นั คงและเหนยี วแน่นมากย่ิงขึน้ **** ความเขา้ ใจเชงิ บวก ทชี่ มุ ชนมตี อ่ หนว่ ยงานกลมุ่ องคก์ รกาชาด ยอ่ มหมายถงึ ความปลอดภยั ทเ่ี พมิ่ ขนึ้ แตอ่ าจไม่ใช่หลักประกนั ว่าตอ้ งปลอดภัยแนน่ อน *** 54

Nationnal Disaster Response Team Handbook ภาคผนวก Safer Access : Power Point Presentation : See attached file Eight Element of SA F: Safer Access in Brief (English version video) : https://www.youtube.com/watch?v=uelgO0nWLjw Safer Access in Brief (Thai version video) : See attached file 55

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารหน่วยเคลื่ิอนที่เร็ว ค�ำถามกิจกรรมกลุ่ม • ให้วิเคราะห์วา่ ภาพลกั ษณ์ ความน่าเชื่อถือของสภากาชาดไทยในสายตาของคนในสงั คมไทย เปน็ อยา่ งไร มีเหตกุ ารณส์ �ำคัญๆ ใดบ้าง (ด้านการเมอื ง สังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ) ท่มี ี แนวโน้มที่จะท�ำให้สังคมหรือชุมชนเกิดความไม่ไว้วางใจและจะส่งผลกระทบต่อการท�ำงาน ของสภากาชาดไทย • ทา่ นทราบหรือไม่วา่ ตามกฎหมาย สภากาชาดไทย ได้ถกู จัดใหอ้ ยู่ในองคก์ รประเภทใด หรอื มี “สถานภาพองค์กร” แบบไหน และมีแนวนโยบายการท�ำงานในกรณีไหนบ้าง (ภัยธรรมชาติ สถานการณค์ วามขดั แยง้ ) หรอื เป็นอยา่ งไร • กรุณาระบุ “กลุ่มที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย” อาจแบ่งเป็นช่วงภัยพิบัติ และความขัดแย้งใน สังคมทส่ี �ำคญั และประเมนิ วา่ ในสายตาของพวกเขาเหลา่ นนั้ มองสภากาชาดไทยวา่ ปฏบิ ตั งิ าน ตามหลักการกาชาดหรือไม่ อยา่ งไร อะไรคือปญั หาอปุ สรรค หรือปัจจยั ท่จี ะท�ำใหก้ ลมุ่ ต่างๆ เกดิ ความเขา้ ใจคลาดเคล่อื นขน้ึ ได้ • ระดมสมองเรือ่ ง พฤตกิ รรมสว่ นบุคคลของเจ้าหนา้ ที่ อาสาสมคั รของสภากาชาดไทย ในระยะ เวลา 5-10 ท่ผี า่ นมา ว่าไดร้ ับความไวว้ างใจ จากกลมุ่ ต่างๆ ในสังคมมากน้อยเพยี งใด • เครื่องหมายกาชาด ไดร้ บั การยอมรบั และใช้อยา่ งถูกต้องตามหลักการหรือไมม่ เี หตุการณ์ หรือการใช้เคร่อื งหมายฯ ทีอ่ าจสร้างความสบั สนหรือผลเชงิ ลบต่อการท�ำงานของ สภากาชาดไทย • สภากาชาดไทย “ม”ี หรอื “ควรจะม”ี นโยบาย หรอื แนวทางในการปฏบิ ัติงานในภาวะเร่งด่วน หรอื ไม่ อยา่ งไร (ค�ำถามขอ้ นี้อาจเหมาะสมส�ำหรบั ผู้บรหิ ารทรี่ จู้ กั โครงสร้างและนโยบายเปน็ อยา่ งดี ถา้ เปน็ ระดับเจา้ หน้าท่หี รืออาสาสมัครควรใหข้ อ้ มลู เบ้ืองต้นก่อน) • สภากาชาดไทยน่าจะมีการรณรงค์ในเรอ่ื งการใช้เคร่อื งหมายกาชาด และสร้างความตระหนกั ในเรื่องหลกั การกาชาด ไดด้ ้วยวธิ ใี ดบ้าง (พอสงั เขป) 56

Nationnal Disaster Response Team Handbook one of thหeนกT่ึงhาใรนaRสiภeาRาsนรetสกodาจิrCiยขnrอสgoงมั sสFพsaภ’ันmsาธกMi์คlาyรiชsอLาsบiดinoคไkทnรsยวัs, สำ�นกั วิเทศสัมพนั ธ์ สภากาชาดไทย คณะกรรมการกาชาดระหวา่ งประเทศ 1. การสานสายสมั พนั ธค์ รอบครัว (RFL) คืออะไร เหตภุ ยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตอิ าจสง่ ผลใหค้ รอบครวั พลดั พรากจากกนั ซง่ึ อาจน�ำไปสกู่ ารไมท่ ราบ ชะตากรรมและทอ่ี ยู่ของสมาชกิ ในครอบครัว สภากาชาดไทยใหค้ วามช่วยเหลอื แกบ่ คุ คลต่างๆ ในการ สานสายสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมาชกิ ในครอบครวั การแลกเปลยี่ นขา่ วสารของบคุ คลในครอบครวั การสบื หา ญาตแิ ละการรวมครอบครวั กจิ กรรมเหลา่ นดี้ �ำเนนิ การโดยไดร้ บั ค�ำแนะน�ำทางเทคนคิ จากคณะกรรมการ กาชาดระหวา่ งประเทศ ส�ำนกั งานภูมภิ าคกรุงเทพมหานคร (ICRC กรุงเทพฯ) 57

หนังสือประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการหน่วยเคลิื่อนท่ีเรว็ 2. การเตรยี มความพรอ้ ม เพอ่ื ใหก้ ารด�ำเนนิ งานตามคมู่ อื นเี้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สภากาชาดไทยจะระบชุ อ่ื เจา้ หนา้ ท่ี จ�ำนวนหน่งึ หรือสองคน ณ ส�ำนกั งานใหญส่ ภากาชาดไทยท่ีเชยี่ วชาญด้าน RFL (ต่อจากนีเ้ รยี กวา่ เป็น ตัวแทนสภากาชาดไทยด้าน RFL) ซ่ึงจะเป็นผู้ท่ีรับผิดชอบในการด�ำเนินการเพื่อเตรียมความพร้อม และอาจต้องท�ำการประเมนิ และด�ำเนนิ กิจกรรมดา้ น RFL โดยเข้าร่วมทมี หนว่ ยเคลือ่ นทเี่ รว็ เพอื่ ตอบ สนองในภาวะฉุกเฉิน ในช่วงการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ ตัวแทนสภากาชาดไทยด้าน RFL ควรมีการ เตรยี มการดงั น้ี พัฒนาเครือ่ งมือดา้ น RFL ส�ำหรับทีมหนว่ ยเคล่อื นทีเ่ รว็ เพอื่ ตอบสนองในภาวะฉุกเฉิน (เชน่ การลงทะเบียนการใชโ้ ทรศัพท์ บัตรอธิบายงานสานสายสัมพนั ธ์แหง่ ครอบครัว (RFL) แบบเร่งรดั ) • พัฒนาวธิ แี ละข้นั ตอนปฏิบตั ิงาน (เช่น ข้อก�ำหนดในการรับค�ำรอ้ งสืบหาญาติ เสน้ ทางการ น�ำส่งจดหมายกาชาด สถติ )ิ • จดั เตรยี มชุดเครื่องมือ RFL ในภาวะฉุกเฉนิ และ • จดั เตรยี มกลยทุ ธด์ ้านการส่อื สาร (เชน่ โปสเตอรเ์ พอ่ื เผยแพร่ความรู้และการบรกิ ารด้าน RFL ของสภากาชาดไทย โดยอาจพิจารณาจดั ท�ำขอ้ ตกลงกบั บริษทั ผู้ใหบ้ ริการดา้ นโทรศัพทส์ �ำหรบั การ จัดต้งั สายดว่ น) ทงั้ นี้ ICRC กรงุ เทพฯ พรอ้ มทจี่ ะใหค้ �ำแนะน�ำทางเทคนคิ แกต่ วั แทนสภากาชาดไทยดา้ น RFL เกี่ยวกับกิจกรรมดังทก่ี ลา่ วมาข้างตน้ และพร้อมท่ีจะให้การสนับสนนุ หากสภากาชาดไทยประสงค์จะ เตรยี มการเพ่อื เปิดบริการสบื คน้ ขอ้ มลู ออนไลน์ในสถานการณ์ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติขนาดใหญ่ เมือ่ ได้ มีการท�ำความเขา้ ใจและเหน็ พ้องตอ้ งกันในประเดน็ ขา้ งต้นแลว้ หากส�ำนกั งานใหญ่ของสภากาชาดไทย ก�ำหนดคณะท�ำงานท่สี ามารถเข้าร่วมด�ำเนินกิจกรรมด้าน RFLในเหตภุ ัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ ตัวแทน สภากาชาดไทยดา้ น RFL และ ICRC พรอ้ มทจ่ี ะใหก้ ารฝกึ อบรมแกค่ ณะท�ำงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายเหลา่ นนั้ 3. การประเมนิ ความตอ้ งการเบือ้ งต้น หลังจากเหตุภัยพิบตั ทิ างธรรมชาตเิ กิดข้ึน การประเมินความต้องการทีอ่ าจมใี นด้านการสาน สายสัมพันธ์แห่งครอบครัวควรรวมอยู่ในการประเมินความต้องการเบื้องต้นและความต้องการทั่วไป ของสภากาชาดไทย และขอ้ มลู ทวั่ ไปเกยี่ วกบั ลกั ษณะและขอบเขตของภยั พบิ ตั ิ ประชากรทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ และความเสยี หายต่อโครงสร้างพืน้ ฐานดา้ นการสอื่ สาร ซึง่ ไดเ้ ก็บรวบรวมในระหวา่ งการประเมนิ จะมี ส่วนเก่ยี วขอ้ งกบั งานด้าน RFL ตวั แทนสภากาชาดไทยดา้ น RFL ควรเปน็ หนงึ่ ในสมาชกิ ของทมี หนว่ ยเคลอ่ื นทเี่ รว็ เพอ่ื ประเมนิ ความต้องการและหากมกี ารร้องขอจากสภากาชาดไทย เจ้าหนา้ ที่จาก ICRC จ�ำนวนหน่ึงหรอื สองคน อาจเขา้ รว่ มเปน็ สว่ นหนงึ่ ของทมี ประเมนิ เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั คอื ใหค้ �ำแนะน�ำดา้ นเทคนคิ แกส่ ภากาชาดไทย ตัวแทนสภากาชาดไทยด้าน RFL ควรจดั เตรียมข้อมูลท่ีเกยี่ วข้องกับงานดา้ น RFL เช่น ข้อมูลเกย่ี วกับ ประชากรในพน้ื ท่ีทไี่ ด้รบั ผลกระทบ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ผเู้ สียชวี ิต ผ้ไู ดร้ บั บาดเจบ็ ผู้อพยพ ผู้พลดั ถน่ิ และ ข้อมลู เกี่ยวกับหนว่ ยงานอ่ืน ๆ (หนว่ ยงานรัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) องค์กรระหวา่ งประเทศหรือ ภาคเอกชน) ทเ่ี กย่ี วข้องกับกจิ กรรมดา้ น RFL 58

Nationnal Disaster Response Team Handbook ในระหวา่ งการประเมินเบอ้ื งตน้ หรือระหว่างการใหบ้ รกิ ารดา้ น RFL ตัวแทนสภากาชาดไทย ดา้ น RFL ควรก�ำหนดล�ำดบั ความส�ำคญั โดยการระบกุ ลมุ่ เปราะบาง (ผสู้ งู อายทุ อ่ี ยคู่ นเดยี ว เดก็ /เยาวชน ที่ไรผ้ ูป้ กครองดแู ล บคุ คลตา่ งชาติ หรือชนกลมุ่ นอ้ ยท่ไี ม่สามารถพดู ภาษาไทยได)้ ภายในพื้นทีท่ ีไ่ ด้รบั ผลกระทบซ่งึ เป็นผ้ทู ี่ต้องการ • การติดตอ่ สอ่ื สารเพ่อื สง่ ข้อความออกนอกพ้ืนทภ่ี ัยพิบัติ • กจิ กรรมการสบื หาญาติควรไดร้ ับความส�ำคัญเปน็ ล�ำดับแรก หรอื • มคี วามจ�ำเปน็ ท่จี ะต้องได้รบั การโยกย้าย / การอพยพ / การรวมครอบครัว 4. การตดิ ตอ่ กับหนว่ ยงานของรฐั กลุ่มองคก์ รกาชาดและเสี้ยววงเดอื นแดง ระหว่างประเทศและผเู้ ก่ียวขอ้ งอ่ืนๆ เมอ่ื พบความตอ้ งการดา้ น RFL ตวั แทนสภากาชาดไทยดา้ น RFL ควรหาโอกาสพบหนว่ ยงานรฐั และผู้เก่ียวขอ้ งอ่ืนๆ ท่ที �ำงานในด้านนี้ เพอ่ื ชแ้ี จงบทบาทในเรื่องขอบเขตของความรบั ผิดชอบและสร้าง ความสัมพันธ์ในการประสานงานรว่ มกัน ทั้งนีเ้ พือ่ หลกี เลี่ยงความซ้ำ� ซ้อนในการท�ำงาน การติดตอ่ กบั หน่วยงานท้องถ่ินอย่างตอ่ เนือ่ งเปน็ สงิ่ ส�ำคญั เนือ่ งจากอาจมีกฎและข้อบังคับทจี่ ะตอ้ งปฏบิ ัตติ าม ตวั แทนสภากาชาดไทยด้าน RFL จะต้องด�ำเนนิ การเพ่อื ใหข้ ้อมลู เกีย่ วกบั บริการดา้ น RFL ได้ รับการเผยแผ่ไปในหมู่ประชาชนและเป็นที่รู้จักโดยหน่วยงานท้องถิ่นและองค์กรพัฒนาเอกชนท่ี เกี่ยวขอ้ งในพืน้ ที่ หากสภากาชาดไทยใช้ทมี หนว่ ยเคล่อื นทเ่ี ร็วเพื่อตอบสนองในภาวะฉุกเฉนิ ในพื้นทท่ี ่ี ไดร้ ับผลกระทบ โดยใหเ้ ป็นผู้เผยแผ่กิจกรรมของสภากาชาดไทย ตัวแทนด้าน RFL ควรต้องจดั ให้มกี าร สรปุ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั กจิ กรรมดา้ น RFL แกส่ มาชกิ ของทมี หนว่ ยเคลอ่ื นทเ่ี รว็ เพอ่ื ตอบสนองในภาวะฉกุ เฉนิ ดงั กลา่ ว 59

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหน่วยเคลิือ่ นทีเ่ ร็ว 5. การตอบสนองด้าน RFL การตอบสนองดา้ น RFL ของสภากาชาดไทยจะขนึ้ อยกู่ บั ขนาดของภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ ดงั น้ี • ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตขิ นาดใหญ่ : ในการตอบสนองในชว่ งตน้ ตอ้ งใหค้ วามส�ำคญั กบั การอ�ำนวย ความสะดวกในการสอ่ื สารทางเดียวถึงครอบครวั แบบส่งออกจากพ้นื ท่ีทีไ่ ด้รับผลกระทบ หรือ • ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตขิ นาดเลก็ ถงึ ปานกลาง : สภากาชาดไทยอาจพจิ ารณารบั ค�ำรอ้ งจากภายนอก พ้ืนท่ีท่ีได้รับผลกระทบ ภายในเวลาไม่นานหลังจากเริ่มการสอ่ื สารแบบสง่ ออกไปนอกพน้ื ที่ทไ่ี ดร้ บั ผล กระทบแล้ว 5.1 ด�ำเนนิ การเพอ่ื ใหม้ ีการสือ่ สารแบบสง่ ออกจากพืน้ ทที่ ่ีได้รับผลกระทบ สภากาชาดไทยควรจดั ใหป้ ระชาชนสามารถเข้าถงึ วิธีการส่อื สารที่เหมาะสมในการติดต่อและ สรา้ งความมน่ั ใจ/แจง้ ญาตทิ อี่ ยนู่ อกพนื้ ทท่ี ไี่ ดร้ บั ผลกระทบ เกย่ี วกบั สวสั ดภิ าพและชะตากรรมของสมาชกิ ในครอบครวั คนอนื่ ๆ วธิ กี ารสอ่ื สารหมายรวมถงึ การใชโ้ ทรศพั ท์ จดหมายกาชาดพรอ้ มขอ้ ความมาตรฐาน พมิ พว์ า่ “ฉนั ปลอดภยั และสบายด”ี หรอื “ฉนั ยงั มชี วี ติ อย”ู่ โปสเตอรท์ มี่ รี ปู ถา่ ยของผยู้ นื่ ค�ำรอ้ ง การสบื หา ญาติทก่ี �ำลงั ด�ำเนนิ การอยู่และการใชส้ ่ือเพื่อค้นหาบุคคลผสู้ ญู หาย ตัวแทนสภากาชาดไทยด้าน RFL จะเลือกวิธีการท่เี หมาะสมท่สี ุดเพ่ือสานสัมพนั ธค์ รอบครวั ดงั ตวั อย่างด้านล่างน้ี โทรศพั ท์ ในบรเิ วณใดกต็ ามทเี่ ครอื ขา่ ยโทรคมนาคมสามารถใชง้ านได้ โทรศพั ทท์ ใี่ ชส้ ญั ญานจากดาวเทยี ม หรือโทรศัพท์เคล่ือนท่ีอาจเป็นวิธีท่ีมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดส�ำหรับบุคคลในพ้ืนที่ท่ีได้รับผลกระทบ เพือ่ สานสายสมั พนั ธ์กับสมาชกิ ครอบครวั ทอี่ ยู่นอกพนื้ ทภ่ี ัยพิบัติ ผู้รับบริการจะไดร้ บั อนญุ าตให้โทรหา ครอบครัวได้ไม่ว่าจะอยู่ในประเทศไทยหรือต่างประเทศและเพ่ือที่จะสามารถให้บริการแก่ผู้คนจ�ำนวน มากทีส่ ดุ เทา่ ท่ีจะเป็นไปได้ ควรจ�ำกัดเวลาการใชโ้ ทรศพั ทส์ ูงสุดเพยี ง 3 นาที 60

จดหมายกาชาดพร้อมข้อความมาตรฐานพมิ พ์ว่า\"ฉันปลอดภยั และสบายดี\" หรือ \"ฉันยงั มีชีวติ อยู่\" เป็ นจดหมายเปิ ดผนึกเพื่อใช้ในการส่ือสารทางNเดatียioวnnเทal่าDนis้ันast(eสr RาeมsาpoรnถsถeูกTeเaปmิ ดHอa่าnนdbโoดokย เจา้ หนา้ ท่ีรัฐ หรือบุคคลอ่ืนท่ีเก่ียวขอ้ งได)้ มีลกั ษณะเป็ นแบบฟอร์มกระดาษท่ีมีขอ้ ความมาตรฐานที่ พร้อมส่งพิมพว์ า่ \"ฉนั ปลอดภยั และสบายดี\" หรือ \"ฉนั ยงั มีชีวิตอยู่ \" ใชส้ าหรับประชาชนท่ีอยู่ใน พ้นื ท ี่ประจสดบหภมยั าเพย่ือกแาจชง้าขดา่พวรส้อามรใขห้อญ้ควาาตมิทมราตบรวฐา่ ตานพอยมิ ทู่พ่ีใว์ ด่ายงั ปลอดภยั และสบายดี จดหมายแจง้ ข่าว กา รรอดช“ีฉวนัิตปนล้ีสอาดมภายั รแถลใะชส้บไาดย้กดับ”ี ผหู้ทร่ีไอื ด“้รฉับันบยังามดีชเจีว็ิตบอหยรู”่ือได้รับการรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล “ขห(แส ฉเา่รชลภันวอื ่นะาสปบกตาลกคุ าอรอาคชใบรหดลารกเภด้ญอปวลัยไนื่น็มาบัทแทตจคลไยเี่ดทิรกะดอหรอย่ีสา้ามบใวจบบนาคขพาวยอ้กรยิจา่เัวงรปดาตไ)ณรดิ”ีนดณผีท)้อหนาี่ยครมกใึือทู่าหลีเตพ่ีใกั“้มดออฉื่ษีกบันใณชาจยยรใ้ ะาังนังแเกปมกปลผลชีากน็ ูรรอ้วี เแสัปบติดบอ่ือลจภบสยดี่ยัยฟานู่ หแร“อลจทมรใะดาชาม์ สงหย้สกเบมดม�รำาหียีคะายยวดรวดเกบัาาทีมษาปา่ชทจรจนาะาม่ีดนั้ดเชหขีปแา(อ้็มสนบชคาานสบมวยทาสาาแหมอ่ีรอจถรมย้งงถัขบู่ใทานกู่าตกาเวพรงปากฐคื้นรดิ าาดือทอรนาาร่ปี่อทเนอนรนพ่ี โดะินุญดรสชยอ้กาบวี เมตาติจภรสใา้นัยขหหง่ ้ีสเ้พนัพน้สามิตา้ม่ื่องทพ่ออาแร่ีรไอจว์ ฐัถปา่ง้ก ใกชา้ไรดแ้กลบั กผเป้ทู ลี่ไดยี่ ร้นบั จบดาหดมเจายบ็ กหารตชอื ัวาไอดดยแร้ ่าบับงกบจาสดรอหรงกัมทษาายางกตคาวั อื ชอายดอใู่ พนนุญโรร้องามพตขใยห้อาส้คบง่วาอลาอมกมแาสลตภะรตฐากอานาบชกาลดบั ไไทดย้ อใานจกพรจิณาีทรณีค่ �าำตใอหบ้มี จากผู้รับจดหมายมีความจต�ำเัวปอ็นยสา่ �งำหจดรับห\"กฉมาันารยปดกล�ำาเอชนดาินภดกยัพาแรรลข้อะน้ัมสตขบ่ออ้ าไคยปวดา(ี\"เมชม่นากตารรฐราวนมครอบครัว) ผผ้สูู้ส่ง่งไไมม่ส่สาามมาารรถถเเขขียยี นน“ขฉขอ้ัน้อคปควลวาอามมดออภื่นื่นยั ใใแดดลนนะออสกกบจจาาายกกดทท”ี อ่ี อี่ ยยขูู่่ขอองงผผสู้ ู้สง่่งแแลละะผผู้รู้รับับ ผรู้ บั ผสู้ราับมสาารมถาเขรยีถนเขตยี อนบตกอลบับกไลดบั้ ได้ 61

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารหน่วยเคล่ืิอนทเ่ี ร็ว 52 ตวั อย่างจดหมายกาชาด สสา�หำหรรับบั เเขขียียนนขขอ้้อคคววาามมเเกกี่ยยี่ ววกกับบั คครรออบตบควั คอรัวยรเัว่าทงเทา่จน่ดา้ันนห้ันมผา้สู ผยง่ ้สูกแ่งาลชแะาลผดะรู้ ผับ้รูสับามสาารมถาเรขถยี เนขตยี อนบตกอลบบั กไลปบั-มไาปไ-ดม้ าได้ จุด จ ชะา ขรึน้ ์จอไมยฟีกกู่ ฟามจบั ร้าุดกีโตคาชิดรรางตตรสดิจ์้งั รตไจา้ฟั้งุดงจฟพชุด้ืนา้ าชฐรา์าจรนจ์ไไทฟฟีพ่ ฟฟร้า้า้อภภมาาใยยชใ้งในนานบบรรเิ ิวเจวณดุ ณชโคาโรรคง์จรสไงฟรส้าฟงร้าพ้าเนื้หงฐลพา่า้ืนนนฐขีจ้ าอะนชงส่วขยภอใางหกสค้าภนชาาในดกพไาทชื้นยาททดท่ี ก่ี ไไี่ �ทดำห้รยนับทดผี่กลทากหั้งรนะน้ี ด ท้งั ทนบ้ีจทะมี่ ขโี ้ึนทรอศยัพู่กทบั เ์ คโลค่ือรนงสท่สีร้าามงพาร้ืนถฐชาารน์จทโที่พรรศ้อพั มทใ์แชล้งะาโทนรหจุดาญชารต์จขิ อไฟงตฟน้าเหล่าน้ีจะช่วยให้คนในพ้ืนท่ีท่ี ได ร้ ับ ผลกระคทำ� บรอ้ ทง่ีมเพีโทอื่ สรบืศหพั าทญเ์ คาลต่ือิ นท่ีสามารถชาร์จโทรศพั ทแ์ ละโทรหาญาติของตน คา กสร้รญูอรงหมเพาแคยลื่อาเะสมรเคืบอ่ื้พอ�วหงำื่อรธิเสา้อพีกญางื่าอนเราพสสสตื่ือบาาิ ยสนหสืบสาัมหาญพยาาสญันตัมธาิเปพ์กต็ับันนิเปสธค็นอ์มาคื่นาขช�ๆอำขิกออใไยนมอา่ค่ปยงรร่าเอปะง็บเสนปบคท็นรผาทัวลงทาสกงี่ส�าำกูญเรราจ็โหรดโาขดยย้อยสจมสะมมูลถาทาูกชชง้ับิกหิกันใใมทนนดึกคคทไรรว่จี ออ้ใ�ำบนเบปคแค็นบรรัวใบันวเฟพเกพอื่อาื่อรรส์มสสืบบืมืหบหาาหตาญารชญาฐะตาตานิทาต่ี ิที่ ชสูะญรททตะหอีี่่จาหะยากวรยขู่ร่าวอเรงมบงมก่ือรตาแวนวรมลิธดสแะีว้ักมลเยพภาะรากื่อตสษาิดสรณาตารนนา์ผบั สมู้รสค้อคา�าำยง�รยำขรอส้ ส้อองัมมัเงแพพโพลดอ่ืนะันัยสเธมธเบืจ์อ์ก่ือห้าื่นบปัหาญๆรสนะไ้ามาสทมตาบี่สชจิ่ปคะภิกรวมาใะาขกีนมสน้ึาคสบชไ�รดาำผเอเ้ดรฉลบ็จไพสทใคนายาระกเทัรวกา่ีไ็จทรรดณสี่ส้รขืบับทูีญอ้ หกสี่ มหาาภูลาญรายฝทกาจึกา้งตั ะอชหิทถาบ่ีพมดูกรบดไมบทจทซนัยะึ่ง่ีจมทตทาศี้อึกรเปกัางไ็บยยนวภินเใ้ใกานยนณพอแกเฑมบพา์ใใรบยีนหสงฟก้แพืบจาออร้งหร์มา มารตบั รคฐ�าำรนอ้ รงะ(หเชว่น่างผกสู้าบืรสหาัมไภมา่มษีกณ�ำห์ผนรู้ ด้อทงี่จขะอยแ้าลยะทเอี่มยื่อู่ใปนรอะนสาคบตคอวันามใกสลา้ เแร็ลจะใ/นหกรอืารยสงั ืสบาหมาาญรถาตติดิทต่ีพ่อบไดจ้ผะ่าตนอ้ ง ยินเทยปาอ็นงมกโทใลหรุม่ ศเ้แปัพจรทง้ าท์)ะ่ีอบหยาางขู่กอค(เชงวตา่นมนเตดด้อ็กว้ ง/ยเกยกาาราวรใชนรนกับทาค่ไีรามสร่มืบ้อีผหงู้ปาเพกญคื่อารสตอืบิมงีจดห�แู ำานลญวหานตรเอืิจพะชิ่มามสวีขูงต้ขึน่า้ึนไงชดผาเ้ ฉตู้ทิพี่คฯวาละรฯไก)ดร้รณับีทบ่ีรสิกภาารกกา่อชนาคดวไรทย มีศกั ยภาพเพยี งพอท่ีจะรวบรวมและติดตามคาร้องโดยเจา้ หนา้ ท่ีสภากาชาดไทยท่ีไดร้ ับการฝึกอบรม ซ่ึงทราบเกณฑ์ในการรับคาร้อง (เช่น ผูส้ ืบหาไม่มีกาหนดท่ีจะยา้ ยท่ีอยูใ่ นอนาคตอนั ใกล้ และ/หรือ 62ยงั สามารถติดต่อได้ผ่านทางโทรศพั ท์) หากความตอ้ งการในการสืบหาญาติมีจานวนเพิ่มสูงข้ึน

ผูท้ ่ีควรได้รับบริการก่อนควรเป็ นกลุ่มเปราะบาง (เช่น เด็ก/เยาวชนท่ีไม่มีผูป้ กครองดูแล หรือ ชาวตา่ งชาติ ฯลฯ ) Nationnal Disaster Response Team Handbook ตวั อย่างคาร้องเพื่อสืบหาญาติ(หน้า 1/3) ตัวอย่างค�ำร้องเพือ่ สบื หาญาติ (หนา้ 1/3) 63

หนงั สือประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการหนว่ ยเคลือิ่ นทเ่ี ร็ว 54 ตวั อย่างคาร้องเพ่ือสืบหาญาติ (หน้า 2/3) ตัวอยา่ งค�ำรอ้ งเพื่อสบื หาญาติ (หน้า 2/3) 64

Nationnal Disaster Response Team Handbo5o5k ตัวอย่างคาร้องเพื่อสืบหาญาติ (หน้า 3/3) ตัวอยา่ งค�ำร้องเพอื่ สบื หาญาติ (หน้า 3/3) ------------------------------------------------------- 5. 2 ค5าใ.รน2้อสคงใำ�จถนราาสอ้กนถงนากจนอาากกกรานพณรอณืน้์ภกภ์ ทยั พยั พภี่ พืน้ ิบัยบิทพตตััีภ่ ทิิบทิยั าพัตางงธิบิ ธรัตรริมรชมาตชิ าคตวิ รคมวกี รารมกีก�ำหารนกดศาหนู ยนก์ ดลาศงูนกายรก์ ปลระาสงากนางราปนทรส่ีะ�สำนากั นงางนาในหญท่่ี สทวาั่ นไปกั เงกาบขใ่ียนนอวรใพงิกกหส้ืนาบั ภรญทสาข่ีปก่ข้อถราอมาะชนงูลสาสบดก(ไภCาภทรยัaายณlรกlแวา์ใลcมชนeะถnทาพงึ tดเี่งe้หนื าไrล)ทนทา่ เบ่ีปกยพรารแ่ือกิชะลใาาสหระดด้ขบใทนา้้อภ่ีเนแหมยัตูลลรRล่ เ่วาะFกกจมLี่ยงัาถวนหชกึงวอางับดักดาสจนใถเาพนบากอ่ืนแนรใิกกต้ีสหาภา่ลข้ รรอ้าะณดกมจาา้์ใลู งัชนนแหาพกดRวป่้ืนไดัFรททะLย่ีทชเพอาี่ไนดชาื่ออนจ้รใกับจทหจดัผวั่ ้ขาใไลหปกอ้ก้มเนมรกีส้ะีสยีู่ลาทวภแยกบกดาบั จก่ว่ปสานาถรกชหาะภารนชัยดือกพาไศาชิบทรนู ณนัตยยิ์์ อาจจดั ใหเจม้ ้าีสหนาย้าดท่วีจนากหสร�ืำอนศักูนงายนบ์ ใรหิกญา่รขอขงอ้ สมภูลาก(Cาชalาlดcไeทnยteคrว)รเกพ�่อืำหในหดข้ คอ้ �ำมตูลอเบกม่ียาวตกรบั ฐสานถสาน�ำหกราับรกณา์ใรนสอพบ้ืนถทา่ีทม่ี ไมดาตร้ ับรฐผาลท ขนก้อม่ีสรมีคาะูลวหทาจรมาบับกถจหปูกกาาตรากกะอ้รภชสสงาภเยั อปชาพบน็นกิบปาถชตัรเาจะาิม้าเดจจขห�ไำา้ทอ้นหยม้านสทูลา่ีแ้าจมทลาาะก่ีจรอปาถากเรสขสะา้าชาสถนมึางผชัคกั ู้ปนรงคราะวเนจสรใา้ไบดหหภ้รนญัยับใา้่ขสนทรอพุ่ีปแงื้นลขสท้อะภี่ทมอา่ีไูลากดสส้ราถาับชาสผานมลดกกคัไารรทระณคยทว์แคบรลวแไะรลดไกะดร้ สา้รับหาับมสขนา้อรดรุปมถคูลดขาต�ตอ้ำ่าเมอนงๆินบูล สถานกากทราีอ่ณรยต์แนู่ าลอมะกคไพ�ำดร้นื ร้อ้ ทับงท่ี จขไ่ีาดอ้กร้มนับูลอผตกลพ่ากงนื้ระทๆทไ่ี ทดบ้่ีมอเจาีคจา้ วหราับนมคา้ถ�ทำูกรข่ี ้อตองอ้งเสงหเภลปาา่็ นกนาปั้นชไราดะด้ จไาทยทสี่ �ำนกั งานใหญแ่ ละเหลา่ กาชาดจงั หวัด หากสภากาชาดไทยสามารถเขา้ ถึงผู้ประสบภยั ในพ้ืนที่ที่ได้รับผลกระทบและสามารถ ดาเนินการตามคาร้องจากนอกพ้ืนที่ได้ เจา้ หน้าที่ของสภากาชาดไทยท่ีสานกั งานใหญ่และเหล่า กาชาดจงั หวดั ที่อยนู่ อกพ้ืนที่ท่ีไดร้ ับผลกระทบอาจรับคาร้องเหล่าน้นั ได้ สภากาชาดไทยควรแจง้ ให้สหพนั ธ์สภากาชาดและสภาเส้ียววงเดือนแดงระหว่างประเทศ 65

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหนว่ ยเคลอื่ิ นทเี่ ร็ว สภากาชาดไทยควรแจ้งให้สหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ (IFRC) และ ICRC ณ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ ทราบเมื่อสามารถรับค�ำร้องจากต่างประเทศได้และแจ้ง ข้อมูลเก่ยี วกบั เกณฑใ์ นการส่งค�ำร้อง ICRC กรุงเทพฯ จะได้ด�ำเนนิ การแจ้งไปยงั ส�ำนกั งานกลางเพื่อ การสบื หาญาติของ ICRC ในกรงุ เจนวี าเพ่อื ปรับปรงุ ขอ้ มูลบนสองเว็บไซตต์ อ่ ไปน้ี • เว็บไซต์สานสายสัมพันธ์แห่งครอบครัวซ่ึงเป็นเคร่ืองมือหลักส�ำหรับการส่ือสารภายนอก และบคุ คลทัว่ ไปสามารถเขา้ ดูได้ (https://familylinks.icrc.org) ; และ • Flextranet ซง่ึ เปน็ เครอ่ื งมอื หลกั ส�ำหรบั การสอื่ สารภายในเทา่ นน้ั และสามารถเขา้ ดไู ดเ้ ฉพาะ สมาชิกเครือข่ายด้านสานสายสัมพันธ์แห่งครอบครัวจากสภากาชาดและสภาเสี้ยววง เดอื นแดง ICRC และ IFRC (https://flextranet.familylinks.icrc.org/) 6. รายช่อื ผู้ได้รบั บาดเจ็บและผู้เสยี ชวี ิต สภากาชาดไทยทั้งในระดับส�ำนักงานใหญ่และระดับเหล่ากาชาดจังหวัดอาจพยายาม รวบรวมหารายชือ่ ผ้ปู ระสบภยั จากทีเ่ ก็บศพ โรงพยาบาล (ผบู้ าดเจ็บ ผ้เู สยี ชีวิต) จากเจา้ หน้าที่ (ระดับ ประเทศและทอ้ งถนิ่ ) และรวบรวมไวท้ สี่ �ำนกั งานใหญข่ องสภากาชาดไทยเพอื่ ตอบสนองตอ่ ค�ำรอ้ งจากญาติ และควรให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อคุณภาพและความน่าเชื่อถือของข้อมูล หากหน่วยงานดังกล่าว ไม่ยินยอมท่ีจะให้ข้อมูล ตัวแทนสภากาชาดไทยด้าน RFL ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าหน่วยงานหรือ องคก์ รใดซึ่งครอบครัวจะตอ้ งติดต่อเพ่ือขอขอ้ มลู เกยี่ วกับผปู้ ระสบภัย 66

Nationnal Disaster Response Team Handbook ฉบับร่างบตั รอธบิ ายงานสานสมั พันธค์ รอบครวั (RFL) แบบเร่งรดั คำ� รอ้ งเพ่ือสืบหาญาติ การเก็บและติดตามค�ำรอ้ งเพอ่ื สืบหาญาติ จะเกิดขึน้ เมอ่ื สมาชกิ ในครอบครวั ไดร้ ้องขออยา่ ง เป็นทางการให้มกี ารสืบหาเบาะแสของญาติท่สี ูญหายหลงั จากท่ีใชว้ ิธกี ารอ่ืนแลว้ ไมป่ ระสบผลส�ำเรจ็ เกณฑ์ในการรับค�ำรอ้ งเพอ่ื สบื หาญาติ : • การขาดการตดิ ตอ่ เกยี่ วขอ้ งกบั สถานการณภ์ ยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ (หมายเหตุ : สภากาชาดไทย อาจก�ำหนดข้อจ�ำกดั เพ่ิมเตมิ ขึน้ อยู่กบั ขนาดของภัยพิบตั ิ) • ค�ำรอ้ งเพ่ือสบื หาญาติจะถกู น�ำมาใช้เมอ่ื วิธีการอ่ืนๆ ในการตดิ ต่อ เชน่ การใช้โทรศพั ทไ์ ม ่ ประสบผลส�ำเร็จ • ไม่รบั ค�ำร้องเพ่ือสืบหาญาตใิ นกรณีที่ : • ขาดการติดต่ออนั เน่ืองมาจากสาเหตอุ นื่ (ปญั หาภายในครอบครัว) • ค�ำรอ้ งเพ่อื สบื หาญาติมาจากบุคคลที่ไม่ใชส่ มาชกิ ในครอบครัว (กระท�ำในนามของผู้อื่น) • มุ่งเน้นบุคคลท่ีมีโอกาสย้ายท่อี ยู่ในอนาคตอันใกลน้ ้อยเป็นอนั ดับต้นๆ • แนะน�ำตัวเองและอธิบายบริการ RFL โดยสภากาชาดไทย และวัตถปุ ระสงค์ของค�ำรอ้ ง เพอ่ื สืบหาญาติ • พูดคยุ ในสถานที่ทเ่ี งยี บและเป็นสว่ นตัว • เพื่อไมใ่ หเ้ กดิ ความซำ�้ ซอ้ นสอบถามใหแ้ น่ใจกอ่ นว่า เจา้ หนา้ ทส่ี ภากาชาดไทยทมี อืน่ ยังไม่ไดเ้ กบ็ ค�ำรอ้ งเพื่อสบื หาญาติจากผู้รอ้ งขอ วิธีการกรอกแบบฟอร์มค�ำร้องเพอื่ สืบหาญาติ • ใชแ้ บบฟอรม์ ค�ำรอ้ งเพอ่ื สบื หาญาตแิ ละกรอกค�ำรอ้ งดว้ ยความละเอยี ด ตรวจสอบใหม้ น่ั ใจวา่ มีการตอบค�ำถามในแบบฟอร์มครบทุกข้อ หากมีค�ำถามใดท่ีไม่สามารถระบุข้อมูลได้ให้ อธิบายเหตผุ ลส้นั ๆ (“ไม่ทราบ”) การไมเ่ ติมข้อมลู ในชอ่ ง อาจหมายความวา่ คณุ ไมไ่ ด้ถาม ค�ำถามนน้ั • ช่ือ-นามสกลุ และทีอ่ ยูท่ ีค่ รบถว้ นเปน็ ส่งิ จ�ำเปน็ รวมถึงข้อมลู ของผรู้ ้องขอดว้ ย • หากบคุ คลนนั้ มบี ตั รประจ�ำตวั ประชาชนหรอื เอกสารทางการอน่ื ควรสะกดชอ่ื ตามทป่ี รากฏ บนเอกสารนั้น • ชอ่ื ของบดิ ามารดาโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ชอื่ ของมารดา และวนั เกดิ มคี วามส�ำคญั เพราะอาจม ี บุคคลชื่อซ�้ำกันสองคนซ่ึงอายุและช่ือของบิดามารดาจะสามารถแยกความแตกต่างของ บุคคลทั้งสองได้ • ข้อมูลของสถานการณ์แวดล้อมซ่ึงท�ำให้ขาดการติดต่อจะต้องเป็นข้อมูลท่ีละเอียดและ ชัดเจนมากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เน่ืองจากสามารถช่วยในการสืบหาบุคคลสูญหาย 67

หนังสอื ประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหน่วยเคลอิ่ื นท่ีเรว็ ให้หลีกเลี่ยงข้อมูลที่ไม่จ�ำเป็นซ่ึงไม่ได้เก่ียวข้องกับเหตุการณ์ที่ท�ำให้ขาดการติดต่อกันหรือ การย้ายถิน่ ท้ังนีค้ วรรายงานข้ันตอนทั้งหมดของการยา้ ยท่อี ยู่ รวมถงึ สถานท่ี วันท่แี ละ ญาติ เพอ่ื นบา้ นหรอื บคุ คลอน่ื ทเี่ ดนิ ทางพรอ้ มกบั บคุ คลนน้ั จากสถานทเี่ กดิ เหตจุ นถงึ สถานท่ี ซ่ึงบคุ คลนนั้ พ�ำนกั ในปัจจบุ นั • หากมีหมายเลขโทรศัพท์ของใครก็ตามท่ีสามารถให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบุคคลที่ถูก สบื หาได้ ควรโทรศพั ทห์ าบคุ คลดงั กลา่ วในขณะสมั ภาษณแ์ ละตอ้ งระบผุ ลของการโทรศพั ท์ ไว้ในแบบฟอรม์ ลงทะเบยี นด้วย การระบผุ ลดังกล่าวมีความส�ำคัญเนื่องจากท�ำใหท้ ราบวา่ ได้มีการพยายามหรือมีการรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมหรือทราบถึงเหตุผลท่ีบุคคลน้ันไม่ สามารถตดิ ตอ่ ได้ (เชน่ หมายเลขไมถ่ กู ตอ้ ง ปดิ โทรศพั ท์ หรอื โทรศพั ทไ์ มส่ ามารถตดิ ตอ่ ได้ ฯลฯ) อยา่ ลมื สอบถามความยินยอมในการใชข้ ้อมูล (เพอื่ แบ่งปนั ขอ้ มลู ของผรู้ อ้ งขอและผ้ทู ถ่ี กู สบื หาใหก้ บั หน่วยงานรฐั หรือองคก์ รอืน่ ๆ และเพอ่ื เปดิ เผยแกส่ าธารณะ) อธบิ ายผรู้ ้องขอ ถึงกระบวนการในการสบื หาญาติ รวมถึงความเป็นไปไดใ้ นการตพี มิ พช์ ือ่ ของผู้ท่ถี กู สืบหา บน ป้ายประกาศในบริเวณบูธ RFL หรือการประกาศทางวิทยุกระจายเสียง และท�ำให้ แน่ใจว่าผู้สืบหาเข้าใจความจ�ำเป็นในการมอบความยินยอมดังกล่าวซ่ึงบุคคลนั้นพ�ำนักใน ปัจจบุ นั • เกบ็ จดหมายกาชาดแนบมากบั ค�ำร้องขอเพอ่ื สบื หาญาติ • แจง้ ใหผ้ รู้ อ้ งขอตดิ ตอ่ สภากาชาดไทย แผนกวเิ ทศสมั พนั ธ์ (ใหน้ ามบตั ร หมายเลขโทรศพั ท์ และทตี่ ง้ั ของบธู RFL) หากบคุ คลนน้ั จะยา้ ยทอี่ ยู่ เพอื่ ปอ้ งกนั การขาดการตดิ ตอ่ และเพอื่ ให้ สามารถติดตอ่ ได้หากต้องการข้อมูลเพิม่ เติม หรือเพื่อแจง้ ผลการสบื หา • เตือนผรู้ ้องขอวา่ หากมีข้อมลู เพิม่ เติมในอนาคตเกี่ยวกับชะตากรรมของผถู้ ูกสืบหา (หรอื ครอบครวั ไดพ้ บกนั แล้ว) ผ้รู ้องขอควรติดตอ่ สภากาชาดไทยเพ่ือแจง้ ขอ้ มูลดังกลา่ ว • ตอ้ งแน่ใจว่าผรู้ ้องขอไดล้ งวันทีแ่ ละลายมอื ชอ่ื ในแบบฟอรม์ • ตรวจสอบว่าไดม้ ีการกรอกแบบฟอรม์ ครบถ้วนก่อนจะจบการสัมภาษณ์ เพอื่ ใหส้ ามารถ แก้ไขและสอบถามเพิ่มเตมิ ณ ขณะนน้ั ได้ • พยายามตดิ ตามสบื หาตามค�ำแนะน�ำทแ่ี จ้งไว้ • ติดต่อผู้ร้องขอเป็นประจ�ำเพื่อแจ้งผลความคืบหน้าในการพยายามสืบหาและเพื่อรวบรวม ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ หากพบผสู้ ืบหาแล้ว ใหแ้ จง้ บุคคลน้ันวา่ ผูท้ ีข่ อให้สบื หาคือใคร อ่านจดหมาย กาชาดให้ฟัง และสอบถามวา่ ผู้สืบหาสามารถจดจ�ำและต้องการทีจ่ ะตดิ ต่อกับผรู้ อ้ งขอ หรือไม่ หากตอ้ งการใหเ้ กบ็ จดหมายตอบกลบั และน�ำสง่ ให้กบั ผู้รอ้ งขอในกรณที ี่คณุ มี หมายเลขโทรศัพท์ของผู้ร้องขอให้เสนอผู้ท่ีถูกสืบหาว่าอาจใช้โทรศัพท์ของคุณเพื่อติดต่อ ผูร้ ้องขอได้ 68

Nationnal Disaster Response Team Handbook 59 จจดดหหมมาายยกกาาชชาาดด((RRCCMM)) จดหมายยกกาาชชาาดดไไดดถ้ ้ถูกูกออออกกแแบบบบโโดยคณณะะกกรรมการกาชาาดดรระหวา่ งงประเทศ เเพพ่ือื่อใใชชแ้ แลลกกเเปปลลี่ย่ียนนขขา่ ่าววสสาารร ขขอองงคครรออบบคครรวััวใในนสสถถาานนกกาารรณณ์ค์คววาามมขขัดดั แแยย้งง้/ภ/ภัยยั พพบิ บิ ัตตั ิ ิหหรรอืือเเหหตตุกุกาารรณณ์ไ์ไมมส่ ่สงงบบภภาายยใในนปปรระะเทเทศศ ช่ือ-นามสกุล และท่ีอยู่ ของผสู้ ่ง ช่ือ-นามสกุล และท่ีอยู่ ของญาติซ่ึงเป็นผรู้ ับ จเเกกด่ีณยเจหวกดฑกม่ยี ห์ใบวัานมกยคากกับรยาาคอรกชรบราอาับคชดบราจเคัวดปดรเเ็หทนปัวม่าเน็จทนาดจา่ย้นัดหนกหมเน้ัามมชาื่อเายามวยดเปอ่ืธิเิป:ีกวดิดธิาผรีกผนสานึกรื่อกึ สสใือ่ าชสรใ้เชาอพร้เ่ืนพ่ืออสือ่ืน่ๆสาไๆนามนสไส่ สมัมามั ส่พมพาานั มันรธถาธ์รคค์ใถชรรใอก้อชบาบ้กรคาคไรรรดไวั ัวด้ ้ หหรรือือแแลลกกเเปปลล่ียี่ยนนขข้อ้อคคววาามม เกใส-ณชาง้มฑาานเร์มในไถ่ือดพก•บ)้ บาุคแเใไรมชคตดรง้อ่ืล่ผาต้บับนสูน้าจุค้นั่มงไดคดททไ)้ลมรห่ีอแนา่สยมตบน้ั ดู่าาผ่ทไมงั ยสู้ม่ีกอาง่่สกรลยทาถทู่า่ารมวตช่ีแาาิดบานรตทดถ่ช่ออตี่ดั :สิดยขทตู่มอ่อแี่างชนคสิกมรช่ อดัใานชบขอกิคคใงรรนคัวอครบอแรคอลบรบะคัวมครไวันร่ั ดวั ใแด้ไจลดว้วะ้ดยา่ มว้ควน่ัยิธรใวีอกจธิ บาวกี รา่คาอครร่ืนรัวออไ่นื (บมโค่ไท(โรดทรวั ย้ศรไา้ศพมั ยพัไ่ทไดทปไ์ ย้ ไ์มทา้ม่สยี่อส่ ไื่านาปมมทแาาอลี่รรถะนื่ถ - สาเห ตุใแนลกะสาราขมาาดรกถาพรบตไิดดต้ตอ่ าสมืบทเอ่ี นย่ือดู่ งงั มกาลจ่าาวก/ต้งั แต่วนั ที่เกิดเหตุภยั พิบตั ิ - จดห•ม าสยากเหาชตาุใดนใกชาเ้รพขื่อาแดลกการเปตลิดี่ยตนอ่ ขส่าืบวเสนา่อื รงรมะาหจวา่ากง/ตสงั้มแาตช่วิกนั ในทคีเ่ กรดิ อเบหคตรภุ ัวัยเพท่บิานตั ้ันิ วว-ธิิธีกกี ากขาราอเ้รขรเมเกียเขขูล็บน•• ยี ียท จจนนหกจกด่ีอดทดจาาาหยหรชกหี่อดู่ไมเมาขมขยมหาดอ้ายีตู่าย่คยมเมยนอ้กมรกาลกูทงาบ่ือาามทยชอี่ชมถชีาคอ่ีกยากีว้าดวยดตู่าาดนเาไู่อ้มรชใมมเชเงน่ือากค่ลมเ้ มื่อพด็บระคี ีกบงอ่ืคเวอจาถแ�ารียำาว้รลมเกดนกอ้กลจใเ็บงเะหนะปสเคไอื่อม้ลบื ามงย่ียีารหจก่สน้ดอาาทใขางญกหมา่สี่สจมา้วืาุบดะตสราไหเกเิาถทมสารทนา่ส่มญรทสี่าาะอาดุมส่ีจหตเะา่งวทิเรเจาส่ปา่ถงด็มทนนสหอจ่ี �มไำมะสปาเาง่ชปไยจกิดน็ กดใ้ไหาไนปชมมคไาด่คารดยอ้วถกไรบมึงาเคกผค่ชรบ็ ูราว้ วั ดัรจบเเทดถไกงึหา่ดบ็ ผนม้จทรู้นั้ าดบั ้งัยหเไนกกดม้ีบ็า้ใาชจทหยาดกง้ั้นดหนาหึกมชี้ ถาาาใกึหงดย้ กรณีท่ีคนุณกึ ตถอ้ งึ งกตราณมที หค่ี าณุท่ีอตอย้ นู่งต้นั าดมว้ หยาตทวั อี่ ขยอนู่ งนั้คุดณว้ เยอตงวั ของคณุ เอง - หบนากกเอบ่•อกุ คนสหขบสคราอาานลวรยกงเนนบผอสบ้้นรันู้ักรมัคุ บั สวมพคหามีลบนั รรจนธตันอื ดน้ัค์รน้ัไหมรมปกอ่มบีรอ่ บตัะานหคยรจราปรกาวกวัตราบมะชวัรใีจปวาห�ดมำรเ้ตสจจะวั นดาชปกหอารผมชใะหูส้านชผ้ย่งาหสู้กชใรง่านืใหอชชหเา้สโ้อรทดอือกจรเบสศาอถกพาักรผาสททมสู้ า์ ง่าวรงท่าเในหกผาอ่ืสา้งูส้ รกอง่งอจาบมราื่นถีอหกานเื่คมมปวาวน็ครยา่ ววสเผธิลรส้ะูสทีขง่กะเ่ีโมรดกทหวี็ ดชทรมช่ือศส่ีาอ่ืตยดุพั ตาเใทามลนมขท์ขกทโอ่ีปาทป่ี รงรรรเผศาชากูร้พัอ่ืกับฏมทฏ์ หรือไม่ หากมีให้เสนอให้ผูส้ ่งใช้โทรศพั ท์ เน่ืองจากเป็ นวิธีท่ีเร็วที่สุดในการเช่ือมสายสัมพันธ์ ครอบครัว - หากผรู้ ับบริการมีโทรศพั ท์ ให้ใส่หมายเลขโทรศพั ทใ์ นจดหมายกาชาดเพื่อใหก้ ารสานสัมพนั ธ์ 69

หนังสือประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารหนว่ ยเคลอิ่ื นทเี่ รว็ • หากผรู้ บั บรกิ ารมโี ทรศพั ท์ ใหใ้ สห่ มายเลขโทรศพั ทใ์ นจดหมายกาชาดเพอ่ื ใหก้ ารสานสมั พนั ธ์ มคี วามรวดเรว็ หลงั จากไดน้ �ำสง่ จดหมายกาชาดถงึ ผรู้ บั แลว้ • จดหมายกาชาดไมใ่ ชจ่ ดหมายสว่ นตวั หากเปน็ ‘จดหมายเปดิ ผนกึ ’ ผรู้ บั บรกิ ารสามารถเขยี น เกยี่ วกบั ชวี ิตสว่ นตัวหรือขา่ วสารในครอบครวั เท่านนั้ (การยา้ ยทอ่ี ยู่ การเกดิ การแต่งงาน ข่าวความเจบ็ ปว่ ย เสยี ชวี ติ หรือทีอ่ ยู่ของสมาชกิ ครอบครัว) โดยเน้อื หาดงั ต่อไปน้ีจะถูกตัดออกหรอื ไม่ได้รับการน�ำส่ง : • อา้ งองิ ถึงสถานการณท์ างการเมืองหรือการทหาร ; • ภาษาท่ีเป็นการดถู ูก ขอ้ ความข่มขู่ หรอื ภาษาหยาบคาย ; • อ้างถงึ กลมุ่ องค์กรกาชาดหรอื สภาเสยี้ ววงเดอื นแดงเพ่ือขอความช่วยเหลอื ทางการเงิน • ตรวจสอบเน้ือหาในจดหมายกาชาดแต่ละฉบบั โดยมีผสู้ ง่ อยู่ดว้ ยในขณะตรวจสอบ เพอ่ื ให้ แน่ใจว่ามแี ตข่ า่ วสารเก่ยี วกับครอบครวั เทา่ นน้ั • ควรแยกจดหมายอา่ นทลี ะฉบับ เพ่ือใหแ้ นใ่ จวา่ ไมม่ ีการอ้างองิ ถึงข้อมูลทางการเมืองหรอื การทหาร การวางแผนการ ค�ำดูถูกหรือข้อความข่มขู่ การเลือกปฏิบัติหรือภาษาที่ไม่ เหมาะสม และการอา้ งอิงที่ไม่ถูกต้องเก่ียวกบั กจิ กรรมการเคล่ือนไหวต่างๆ • หากผู้ส่งเขียนหนังสือไม่ได้ คุณสามารถช่วยเขียน (อธิบายในจดหมายว่าเจ้าหน้าท่ีช่วย เขียนให้) • อย่าใหค้ �ำสญั ญาวา่ การสง่ จดหมาย จะประสบความส�ำเรจ็ • อยา่ ลมื ลงวนั ที่ ความสมั พนั ธข์ องผสู้ ง่ และผรู้ บั ลายมอื ชอื่ ผสู้ ง่ (หากไมส่ ามารถลงลายมอื ชอื่ ใหพ้ มิ พ์ลายนว้ิ มอื หรอื เขียนเครอ่ื งหมายกากบาท) การนำ� ส่งจดหมายกาชาดและการรวบรวมจดหมายตอบกลับ เมอื่ มกี ารน�ำสง่ จดหมาย ควรมกี ารรวบรวมจดหมายตอบกลับด้วย แต่หากมกี ารติดต่อกัน ผา่ นทางโทรศพั ท์แล้ว ก็ไมม่ คี วามจ�ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งเขยี นจดหมาย การส่งจดหมายคืนไปยงั ผสู้ ่ง (BTS) : จะไมม่ ีการน�ำจดหมายกาชาดที่ไมอ่ าจน�ำสง่ ให้กับผรู้ ับไปท้งิ โดย เดด็ ขาด จดหมายเหลา่ น้ันจะถูกส่งคนื ไปยังผ้สู ่ง พรอ้ มค�ำอธบิ าย ดงั ตอ่ ไปน้ี : • ทอี่ ยู่ไมถ่ ูกต้อง/ไมเ่ พยี งพอในการน�ำสง่ • ไม่มใี ครร้จู กั ผู้รบั จดหมาย ณ ทีอ่ ยู่ดังระบุ • ผรู้ ับยา้ ยไปโดยไมไ่ ด้ใหท้ ่อี ยใู่ หม่ไว้ เคารพการตัดสินใจของผู้รับจดหมายกาชาด ในการเลือกท่ีจะตอบหรือไม่ตอบจดหมายก็ได้ ในกรณีเช่นนี้ จะปฏบิ ตั ิเชน่ เดียวกบั ค�ำร้องเพ่อื หาญาติ น่นั คอื เจา้ หน้าทข่ี องสภากาชาดไทยหรือ เจา้ หน้าท่อี าสาจะหารือกบั ผรู้ ับถึงค�ำตอบที่ตอ้ งการใหแ้ จ้งแก่ผสู้ ง่ กล่าวคือ : หาผูร้ บั ไมเ่ จอ/ไมม่ ี ใครรูจ้ ัก ผ้รู บั จะติดต่อกบั ผสู้ ่งเองภายหลงั ;ผรู้ ับไม่ต้องการตดิ ตอ่ กบั ผสู้ ่ง 70

Nationnal Disaster Response Team Handbook การใช้โทรศัพท์ โทรศัพท์เป็นวิธีการสื่อสารท่ีท�ำให้บุคคลในพ้ืนท่ีประสบภัยสามารถสานสัมพันธ์กับครอบครัวท่ี อยูน่ อกพืน้ ที่ดังกลา่ วไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพท่สี ดุ • ไมม่ กี ารเก็บคา่ บรกิ าร • ใช้เพือ่ แลกเปลย่ี นขา่ วสารเกย่ี วกับครอบครัวเทา่ น้ัน • ผู้รับประโยชน์จะได้รับอนุญาตให้โทรหาครอบครัวได้ไม่ว่าจะอยู่ในประเทศไทยหรือ ต่างประเทศ • เพอ่ื ที่จะสามารถให้บรกิ ารแก่ผู้คนจ�ำนวนมากทสี่ ุดเท่าท่ีจะเปน็ ไปได้ การใชโ้ ทรศพั ทค์ วร จ�ำกดั เวลาในการใช้สงู สุด 3 นาที • หนงึ่ คนโทรไดห้ นงึ่ หมายเลขเทา่ นนั้ (เวน้ แตก่ รณสี มาชกิ ครอบครวั ทโี่ ทรหามไิ ดอ้ ยหู่ มายเลขนน้ั จงึ สามารถเปลีย่ นหมายเลขได)้ • เจ้าหน้าที่สภากาชาดไทยควรแจ้งเกณฑ์ในการใช้โทรศัพท์ให้ผู้รับประโยชน์ทราบก่อน เสนอใหบ้ ริการ เพอ่ื ป้องกันความเขา้ ใจผดิ ทอี่ าจเกดิ ขึ้น • ผู้ที่ต้องการใช้โทรศัพท์ควรตดิ ต่อเจา้ หนา้ ที่สภากาชาดไทย และใหข้ ้อมูลที่จ�ำเปน็ (ท่ีแสดง ในตาราง) เจ้าหน้าทีส่ ภากาชาดไทยจะเปน็ ผ้โู ทรตามหมายเลขที่แจง้ และเมอ่ื ปลายทาง รบั สาย จึงมอบโทรศัพทใ์ ห้กบั ผรู้ บั ประโยชน์ เจา้ หน้าท่อี าสาจะจบั เวลาในการใชไ้ มใ่ ห้เกนิ สามนาที 71

หนงั สือประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารหนว่ ยเคล่ิอื นที่เรว็กรุณากรอกข้อมลู ในตารางนี้ 72ช่อื ของเจา้ หน้าที่ หมายเลขโทรศัพทข์ องหัวหนา้ ทมี วนั ท่ี สถานท่ี ลำ�ดับ ชื่อ-นามสกลุ เพศ อายุ ชอื่ -นามสกุล สถานทป่ี ลายทาง ความสมั พนั ธ์ หมายเลข ตดิ ตอ่ ส�ำ เร็จ/ ผรู้ บั บริการมี หากมีโทรศัพท์ ผรู้ บั บริการ ผู้ติดต่อ ชื่อปรเทศ โทรศพั ท์ ไม่ส�ำ เรจ็ โทรศพั ท์เคลอ่ื นที โปรดระบุเหตผุ ล : แบตเตอรี่ เงนิ หมด (มี-ไม่มี) 1 2 3 4 5 6 7 8

Nationnal Disaster Response Team Handbook และมาตรฐานขD้ันiตกs่�ำาaTใรshนใteชeกr้คาSRรู่มpชืeอh่วseกยprฏeoเหบnHลัตsaือรenมผOdนู้ปbpุษรoeะยorสaธkบtรifภoรoัมยnr สกุ ัญญา ทรัพย์อุดมมั่งมี หวั หนา้ งานบรรเทาทุกข์ผูป้ ระสบภัย ส�ำนกั งานบรรเทาทุกขแ์ ละประชานามัยพทิ กั ษ์ วัตถุประสงค์ของบทน้ีคือเพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบเก่ียวกับความส�ำคัญของการใช้คู่มือ Sphere วธิ กี ารใชค้ ูม่ อื Sphere และมาตรฐานการให้ความช่วยเหลอื ด้านต่างๆ ทใี่ ช้บ่อย ในแต่ละบท จะกลา่ วเปน็ ตวั อย่างพอสังเขป ซง่ึ จะดูรายละเอียดไดใ้ นหนงั สือ Sphere Project Sphere คอื คมู่ อื ทน่ี �ำเสนอขอ้ พจิ ารณาดา้ นคณุ ภาพ (Quality) และความรบั ผดิ ชอบ (Accountability) ตอ่ การสนองตอบด้านมนุษยธรรม 73

หนังสือประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการหน่วยเคลอิ่ื นทีเ่ รว็ ท�ำไมจึงตอ้ งใชค้ ูม่ อื Sphere ในการปฏิบตั ิงานให้ความชว่ ยเหลอื ด้านมนษุ ยธรรม เพราะ 1. การให้ความช่วยเหลอื โดยที่ค�ำนงึ ถงึ ศกั ดศิ์ รคี วามเป็นมนุษยข์ องผูป้ ระสบภยั 2. ในอดตี ท่ีผ่านมาการใหค้ วามช่วยเหลอื ทไ่ี ม่เพยี งพอ ก่อใหเ้ กิดความซบั ซอ้ นของโรค จ�ำนวนการเกดิ โรคเพ่ิมขนึ้ 3. กลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม/องค์กรเอกชน ทั้งหลาย มีความห่วงใยในเรื่องของ คณุ ภาพ (quality) และความนา่ เชอ่ื ถอื ความรบั ผดิ ชอบตอ่ การด�ำเนนิ งาน (Accountability) ในการปฏบิ ตั ิงานดา้ นมนุษยธรรม 4. เปน็ คมู่ อื ทคี่ �ำนึงถงึ ผ้ปู ระสบภยั ในแง่มุมต่างๆ ได้แก่ การปกปอ้ งค้มุ ครอง ความแตกต่าง ทางเพศ กลุ่ม vulnerable (เด็ก ผู้สูงวัย ผู้ทุพพลภาพ ผู้ติดเช้ือ HIV) และสิ่งแวดล้อม (ไมไ่ ด ้ เป็นกฏหมาย แตเ่ ป็นแนวทางในการใหค้ วามชว่ ยเหลือดา้ นมนษุ ยธรรม) 5. เขียนข้ึนจากประสบการณ์สั่งสมของบุคคลและหน่วยงานต่างๆ มีการถกประเด็น และมี ฉันทามตริ ว่ มกนั 6. ถูกออกแบบมาส�ำหรับการใช้งานระหว่างการตอบสนองด้านมนุษยธรรมในสถานการณ์ ตา่ งๆ ทัง้ ภยั ธรรมชาตแิ ละภยั จากความขดั แยง้ 7. มุ่งเน้นการตอบสนองด้านมนุษยธรรม จึงมีมาตรฐานข้ันต่�ำท่ีครอบคลุมทุกกิจกรรมท่ี ตอบสนองเพื่อความอยูร่ อดอยา่ งเรง่ ด่วนของผู้ประสบภัยและผู้ไดร้ บั ผลกระทบ 8. คู่มอื น้ยี ังเปน็ เครื่องมอื อา้ งอิงต้ังแต่ในเร่ืองการเตรยี มพร้อมรับภยั การตอบสนอง รวมไป ถงึ การฟืน้ ฟใู นระยะแรก โครงการ Sphere (Sphere Project) คือ โครงการจัดทำ� คู่มือ Sphere โดยมกี ระบวนการดังนี้ 1. การอภปิ ราย ถกประเด็น เรือ่ งการให้ความช่วยเหลือทเี่ ป็นสากล 2. บรรลุขอ้ ตกลงของหลกั การส�ำคญั และการปฏบิ ตั ิ 3. ได้รับฉนั ทามติเรือ่ ง มาตรฐานด้านเทคนิคและดัชนชี วี้ ัด ปรัชญาของโครงการ Sphere : การมีชีวติ อย่อู ยา่ งมีศกั ดศ์ิ รี เป้าหมายของโครงการ Sphere เพอ่ื ปรบั ปรงุ คณุ ภาพของการช่วยเหลือผู้ไดร้ ับผลกระทบจากภยั พิบตั ิ และเสรมิ สรา้ งความนา่ เชอื่ ถอื ในการตอบสนองตอ่ ภยั พบิ ตั ดิ ว้ ยระบบมนษุ ยธรรม ดว้ ยกฎบตั รมนษุ ยธรรม และมาตรฐานขัน้ ต�่ำในการตอบสนองภยั พิบัติ 74

Nationnal Disaster Response Team Handbook หนงั สือคูม่ อื Sphere จะประกอบดว้ ยบทตา่ งๆ ดงั น้ี กฎบตั รมนุษยธรรม บทท่ี 1 หลกั การคมุ้ ครอง บทท่ี 2 มาตรฐานหลกั บทท่ี 3 มาตรฐานขน้ั ต่ำ� เรือ่ งนำ้� สขุ าภบิ าลและการสง่ เสรมิ สุขอนามัย บทท่ี 4 มาตรฐานขน้ั ตำ่� เร่อื งความม่ันคงทางอาหาร โภชนาการ บทท่ี 5 มาตรฐานขั้นต�่ำเรอื่ งทีพ่ ักพงิ ที่อยู่อาศัยและเคร่อื งอุปโภค บทที่ 6 มาตรฐานข้ันต่ำ� การด�ำเนินการดา้ นสขุ ภาพ การใช้เน้อื หาในหนงั สือ Sphere ในมาตรฐานหลกั แต่ละมาตรฐาน จะมีโครงสร้างดังต่อไปนี้ 1. มาตรฐานหลัก 2. ปฏิบตั กิ ารหลกั 3. ดชั นีชว้ี ดั หลกั 4. บนั ทกึ แนวทางปฏบิ ัติ มาตรฐานหลกั : มีลักษณะเปน็ ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพโดยธรรมชาติและระบุระดับของการบรรลเุ ป้าหมาย ในการตอบสนองดา้ นมนุษยธรรม P.52 ดงั ตัวอยา่ ง มาตรฐานการสง่ เสรมิ สขุ อนามยั 1: การดำ� เนินงานส่งเสริมสขุ อนามัย ชาย หญิง และเด็ก ทุกชว่ งอายุทไี่ ด้รบั ผลกระทบมคี วามตระหนกั ในความเสย่ี งหลกั ด้านสาธารณสุข มี การระดมสรรพก�ำลังเพื่อปรับมาตรการส�ำหรับใช้ป้องกันความเส่ือมสภาพการใช้งานและบ�ำรุงรักษาสิ่ง อ�ำนวยความสะดวกทถี่ กู สขุ ลักษณะ ปฏบิ ัตกิ ารหลกั : เป็นกจิ กรรมและขอ้ มูลท่คี วรน�ำไปปฏบิ ตั เิ พือ่ ช่วยให้เป็นไปตามมาตรฐาน P.60 ปฏิบัติการหลัก (อา่ นควบคกู่ บั บนั ทกึ แนวทางการปฏิบัต)ิ • การบริการข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นระบบเก่ียวกับความเสี่ยงด้านสุขอนามัยที่สัมพันธ์กบั โรคและการป้องกันโดยการใช้ช่องทางการสื่อสารมวลชนท่ีเหมาะสม (ดูบันทึกแนวทาง การปฏิบัติ 1-2) • ระบุปัจจยั พเิ ศษต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง เช่น สงั คมวัฒนธรรม และศาสนา ซ่งึ จะเปน็ แรงจูงใจใน กลุ่มสังคมท่ีแตกต่างกันในแต่ละชุมชนและใช้ปัจจัยต่างๆ น้ี เป็นเสมือนพ้ืนฐานส�ำหรับ การก�ำหนดกลยทุ ธใ์ นการส่งเสริมสุขอนามยั (ดูบนั ทกึ แนวทางการปฏบิ ตั ิ 2) ดัชนีช้ีวัดหลัก เป็นเคร่ืองหมาย ซ่ึงแสดงว่ามาตรฐานได้รับการบรรลุเป้าหมายผ่านวิธีการวัดค่า และ การส่อื สารโดยกระบวนการและผลของปฏิบัติการหลัก เป็นไดท้ ั้งเชงิ คุณภาพและปรมิ าณ 75

หนงั สือประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหน่วยเคล่ืิอนท่เี ร็ว ดชั นชี ้ีวดั หลกั (อา่ นควบคกู่ ับบันทกึ แนวทางการปฏบิ ตั )ิ • กลุ่มผู้ใช้ทุกกลุ่มสามารถอธิบายแสดงให้เห็นถึงส่ิงท่ีพวกได้กระท�ำเพ่ือปกป้องการเส่ือม ของสขุ ภาวะ (ดบู นั ทกึ แนวทางปฏบิ ัติ 1) • สงิ่ อ�ำนวยความสะดวกท้ังหมดถูกน�ำมาใชอ้ ยา่ งเหมาะสมและบ�ำรุงรักษาอยา่ งสม่�ำเสมอ • ประชาชนทกุ คนลา้ งมอื หลงั จากการถา่ ยอจุ จาระ ภายหลงั การท�ำความสะอาดกน้ เดก็ กอ่ น การรบั ประทานอาหารและการเตรียมอาหาร (ดบู ันทึกแนวทางปฏบิ ตั ิ 6) บันทึกแนวทางปฏิบัติ คือประเด็นที่เฉพาะเจาะจงที่จะต้องพิจารณาเม่ือน�ำมาตรฐานหลักและดัชนีช้ี วัดหลักมาใช้ในการปฏิบัติในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจเป็นค�ำแนะน�ำในการแก้ปัญหาหรือค�ำ อธิบายในกรณีท่ีมีข้อถกเถียง ข้อขัดแย้ง หรือช่องว่างความรู้ในปัจจุบัน P.52 บันทึกแนวทางการปฏิบัติ 1. ก�ำหนดเป้าหมายในการจัดล�ำดับความเสี่ยงสุขอนามัยและพฤติกรรมต่างๆ : ความเข้าใจ ทไ่ี ดร้ บั จากการประเมนิ ความเสยี่ งสขุ อนามยั งานและความรบั ผดิ ชอบของกลมุ่ ทแี่ ตกตา่ งกนั ควรจะใช้ในการวางแผน และการจัดล�ำดับความส�ำคัญในการให้ความช่วยเหลือ เพ่ือให้ การไหลของข้อมูลระหว่างผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรมและประชากรท่ีได้รับผลกระทบมี การก�ำหนดเป้าหมายทเี่ หมาะสมและรีบแก้ไขเมื่อพบว่าเกิดความเข้าใจผิด 2. การเขา้ ถงึ ประชาชนทกุ ภาคสว่ น : ในระยะแรกของการเกดิ ภยั พบิ ตั ิ มคี วามจ�ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ ง อาศยั สอื่ สารมวลชนในการสรา้ งความมน่ั ใจวา่ ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การ ลดความเส่ียงด้านสุขภาพให้มากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ในกลุ่มประชาชนท่ีแตกต่างกัน ควรมีการสือ่ สารข้อมูลที่เหมาะสมกบั แต่ละกลมุ่ ทง้ั ในเร่ืองของข้อมูล การศกึ ษา ส่ือและ ชอ่ งทางการสื่อสารที่มีความเชื่อมโยงเพอื่ ให้ข้อมูลไปถึงประชาชนทุก กลุ่ม สิง่ นเี้ องท่ีเปน็ ส่งิ ส�ำคัญโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ 3. ศกึ ษาเพม่ิ เตมิ หน้า 94 4. ภาระงานทม่ี ากเกนิ ไป : สงิ่ ส�ำคญั ควรมน่ั ใจวา่ จะไมม่ กี ลมุ่ ใด (เชน่ กลมุ่ ผหู้ ญงิ ) ภายในกลมุ่ ท่ีได้รับผลกระทบต้องแบกรับภาระงานท่ีมากเกินไปในการจัดการหรือกิจกรรมที่เก่ียวกับ การส่งเสรมิ สุขอนามัย ซง่ึ เกิดประโยชนต์ า่ งๆ เชน่ โอกาสในการจา้ งงานและการเขา้ รว่ ม การอบรมควรไดร้ ับการจดั สรรส่กู ลุ่มผูห้ ญิง ผชู้ ายและกลุ่มชนชายขอบดว้ ย ภาคผนวก คอื รายการอ้างองิ และเอกสารเพิม่ เติม เช่น • แบบประเมินความจ�ำเปน็ เบือ้ งต้นดา้ นน�้ำและสขุ าภิบาล ภาคผนวก 1 p 124 • ตารางสรปุ แนวทางตา่ งๆ เชน่ แนวทางการวางแผนจดั หาจ�ำนวนหอ้ งสขุ าขนั้ ตำ�่ ฯ ภาคผนวก 3 p 130 • รายการเอกสารอา้ งอิงที่สามารถไปค้นคว้าเพมิ่ เติมได้ กฎบตั รมนษุ ยธรรม แสดงถงึ ขอ้ ตกลงหรอื พนั ธะสญั ญารว่ มกนั ระหวา่ งองคก์ รดา้ นมนษุ ยธรรม วา่ มนษุ ย์ทกุ คนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบตั มิ สี ทิ ธิท่จี ะได้รับความค้มุ ครองและความช่วยเหลอื เพ่ือให้ สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีศักดิ์ศรีและเชื่อว่าหลักการท่ีปรากฎอยู่เป็นหลักสากลท่ีสามารถน�ำไป ปรับใช้ไดก้ บั สถานการณ์ภัยหรือความขดั แยง้ P.20 76

Nationnal Disaster Response Team Handbook บทท่ี 1 หลักการค้มุ ครอง (Protection Principles) ประกอบด้วย 1. หลกี เลีย่ งการกระท�ำทจ่ี ะก่อใหเ้ กิดความเสยี หายในอนาคต 2. มนั่ ใจวา่ ผู้ประสบภยั ไดร้ ับความช่วยเหลืออย่างเปน็ ธรรม 3. ปกปอ้ งคุม้ ครองผ้ปู ระสบภยั จากความรนุ แรงหรอื การบบี บังคบั ท่จี ะก่อใหเ้ กดิ อันตราย ท้ัง ทางกายและทางจติ ใจ 4. ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดว้ ยการเรยี กร้องท่เี ปน็ ไปตามสทิ ธิ ที่จะเข้าถงึ การรกั ษาและการฟ้นื ฟู จากการถกู ข่มเหง ตวั อยา่ งในการใช้หนังสือ หลักการคมุ้ ครอง ประกอบด้วย • มาตรฐานหลกั • องคป์ ระกอบ • บนั ทกึ แนวทางปฏบิ ัติ หลักการค้มุ ครอง 1 : หลกี เล่ียงเหตุที่ก่อให้เกิดอันตรายอันเปน็ ผลกระทบจากการกระท�ำของตนเอง เก่ียวข้องกับการตอบสนองด้านมนุษยธรรมด�ำเนินการตามข้ันตอนโดยหลีกเล่ียงหรือลดผลกระทบไม่ พงึ ประสงคใ์ ดๆ จากการแทรกแซงของผูป้ ฏบิ ัตงิ าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการเพม่ิ โอกาสใหบ้ คุ คลไดร้ ับ อนั ตรายหรอื ถกู ละเมดิ สทิ ธิ หลักการน้ีมอี งคป์ ระกอบดังตอ่ ไปน้ี : • รูปแบบของความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอ้ืออ�ำนวยต่อการท�ำให้ ประชาชนได้รับอันตรายทางกายภาพ ความรุนแรงหรอื การละเมิดสิทธอิ ื่นๆ • ความช่วยเหลือและความคุ้มครองท่ีพยายามไม่ท�ำลายความสามารถในการคุ้มครอง ตนเองของประชาชนท่ไี ด้รับผลกระทบ • หน่วยงานด้านมนุษยธรรมจัดการข้อมูลท่ีส�ำคัญและควรเป็นความลับให้ไปในทางที่ไม่ เปน็ อนั ตรายต่อความปลอดภยั ของผ้ใู หข้ ้อมลู หรือผู้ทอ่ี าจจะพสิ จู น์ตัวตนได้จากข้อมลู บันทกึ แนวทางการปฏบิ ัติ การประเมินบริบทและการคาดการณ์ผลที่เกิดตามมาของการกระท�ำด้านมนุษยธรรมเพ่ือความ ปลอดภยั และความเป็นอยู่ท่ีดขี องประชาชนท่ีไดร้ ับผลกระทบจากภยั พบิ ัติ 1.หลกี เลย่ี งมใิ หเ้ กดิ ความซบั ซอ้ น : ในการละเมดิ สทิ ธท์ิ อ่ี าจจะมคี วามยากล�ำบากในการตดั สนิ และการตดั สนิ ใจ เชน่ เมอื่ ตอ้ งเผชญิ กบั การตดั สนิ ใจวา่ จะใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกค่ นทถี่ กู คมุ ตวั อยใู่ นคา่ ย โดยไม่เต็มใจ การตัดสินดังกล่าวจะต้องพิจารณาเป็นกรณีไป แต่ก็ควรจะได้รับการทบทวนอยู่เสมอ เน่อื งจากสถานการณท์ ่ีเปลยี่ นแปลงในแตล่ ะชว่ งเวลา 77

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารหนว่ ยเคลิอื่ นที่เรว็ บทที่ 2 มาตรฐานหลกั ประกอบดว้ ย มาตรฐานท่ี 1 การตอบสนองดา้ นมนุษยธรรมโดยมปี ระชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง มาตรฐานท่ี 2 การประสานงานและความรว่ มมอื มาตรฐานที่ 3 การประเมิน มาตรฐานที่ 4 การออกแบบและการตอบสนอง มาตรฐานท่ี 5 การด�ำเนินการความโปร่งใสและการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 6 การปฏบิ ตั ิงานของผู้ปฏบิ ัติงานช่วยเหลอื ตัวอย่าง มาตรฐานหลกั ท่ี 1 : การตอบสนองดา้ นมนุษยธรรมโดยมปี ระชาชนเปน็ ศูนย์กลาง ความสามารถและกลยุทธข์ องพวกเขาอนั จะน�ำมาซ่งึ ความอยู่รอดอยา่ งมศี ักดศิ์ รี มีความส�ำคัญต่อการ ออกแบบและกระบวนการตอบสนองดา้ นมนุษยธรรม ปฏบิ ตั กิ ารหลกั (อา่ นควบค่กู บั บนั ทึกแนวทางการปฏบิ ตั )ิ • สนับสนุนความสามารถของท้องถิ่นในการระบุกลุ่มชุมชนและเครือข่ายทางสังคมเป็น อันดับแรกและสร้างความคิดริเร่ิมในการพึ่งตัวเองและการท�ำงานโดยมีชุมชนเป็นฐาน (ดูบันทึกแนวทางการปฏิบัตทิ ่ี 1) • ใชแ้ รงงานทอ้ งถนิ่ วสั ดทุ สี่ ง่ เสรมิ สงิ่ แวดลอ้ มทยี่ งั่ ยนื และธรุ กจิ ทมี่ คี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม เท่าทจ่ี ะเปน็ ไปได้ เพอ่ื สรา้ งประโยชนต์ ่อเศรษฐกิจทอ้ งถนิ่ และสง่ เสรมิ การฟน้ื ฟู • ออกแบบโครงการเพ่ือรองรับและเคารพการปฏิบัติทางวัฒนธรรมและทางจิตวิญญาณ แบบดงั้ เดิม ทีไ่ ด้รบั การยกย่องว่าเป็นสง่ิ ส�ำคญั ของประชาชนในท้องถนิ่ เทา่ ท่จี ะเป็นไปได้ (ดบู นั ทกึ แนวทางการปฏิบัติที่ 7) ตัวอยา่ งการปรบั ใช้มาตรฐานหลักในการด�ำเนินโครงการ ในการด�ำเนินงานโครงการซอ่ มแซมหอ้ งนำ้� ให้กับโรงเรียนทป่ี ระสบอุทกภัย 1. โครงการนี้ คณะกรรมการประกอบดว้ ย ครู อาจารย์ อบต. นกั เรยี น คอื ผทู้ ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ หรอื ผปู้ ระสบภยั เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจในการออกแบบหอ้ งนำ้� การเลอื กสกี ระเบอ้ื ง เปน็ ต้น 2. มกี ารสง่ เสรมิ ความสามารถของทอ้ งถน่ิ โดยการสนบั สนนุ การใชช้ า่ งฝมี อื ในชมุ ชนและการที่ เราเชญิ อบต.เขา้ มารว่ มเปน็ กรรมการ มองถงึ ความยงั่ ยนื เนอ่ื งจาก อบต.จะมงี บประมาณ ในการซ่อมแซมในอนาคต 78

Nationnal Disaster Response Team Handbook บทท่ี 3 มาตรฐานข้นั ตำ�่ เร่ืองนำ้� สขุ าภิบาลและการสง่ เสรมิ สขุ อนามยั ประกอบด้วยมาตรฐาน 7 ด้าน ได้แก่ 1. น�ำ้ สขุ าภบิ าลและการสง่ เสรมิ สุขอนามัย ประกอบด้วย 1 มาตรฐานได้แก่ 1.1 มาตรฐานท่ี 1 : การออกแบบโครงการน�้ำ สขุ าภบิ าล การสง่ เสริมสขุ อนามยั และ การด�ำเนนิ งาน 2. การส่งเสรมิ สุขอนามยั ประกอบดว้ ย 2 มาตรฐาน ได้แก่ 2.1 มาตรฐานท่ี 1: การด�ำเนนิ งานสง่ เสริมสุขอนามยั 2.2 มาตรฐานท่ี 2: สิ่งอ�ำนวยความสะดวกในการใช้น�้ำ 3. น�้ำ ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ 3.1 มาตรฐานที่ 1: การเขา้ ถงึ และปริมาณน�ำ้ 3.2 มาตรฐานท่ี 2: คุณภาพน้�ำ 3.3 มาตรฐานที่ 3: ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกในการใช้น้�ำ 4. การก�ำจัดสิ่งขับถ่าย (ศึกษาเพิ่มเตมิ ในหนังสอื Sphere หนา้ 85-123) 5. การควบคมุ พาหะน�ำโรค (ศกึ ษาเพิม่ เตมิ ในหนงั สอื Sphere หนา้ 85-123) 6. การจดั การขยะ (ศึกษาเพมิ่ เติมในหนังสือ Sphere หน้า 85-123) 7. การระบายนำ�้ ประกอบด้วย 1 มาตรฐาน 7.1 มาตรฐานที่ 1: งานระบายน้�ำ 79

หนังสอื ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารหน่วยเคลื่ิอนท่ีเร็ว ตัวอย่าง มาตรฐานเรื่องนำ้� มาตรฐานนำ�้ ท่ี 1: การเขา้ ถงึ และปรมิ าณนำ้� ประชาชนทกุ คนสามารถเข้าถึงแหลง่ นำ้� ทเ่ี พียงพอต่อการด่มื การประกอบอาหารหรอื การส่งเสรมิ สขุ อนามยั ส่วนบคุ คลและในครัวเรอื น ได้อยา่ งเทา่ เทยี มและปลอดภัย จดุ จ่ายน�้ำสาธารณะควรจะอยู่ใกล้ แหล่งทอ่ี ยูอ่ าศัยอย่างเพียงพอ เพอื่ ใหเ้ กิดการใช้ประโยชน์จากแหง่ นำ้� ตามความจ�ำเปน็ ปฏบิ ตั กิ ารหลกั (อ่านควบคูก่ บั บนั ทึกแนวทางการปฏิบตั ิ) • ระบแุ หล่งน้ำ� ทเ่ี หมาะสมกบั สถานการณ์ โดยพจิ ารณาจากปริมาณน้ำ� และ ผลกระทบดา้ น สง่ิ แวดลอ้ มที่มตี อ่ แหล่งน�้ำน้ันๆ (ดบู นั ทกึ แนวทางปฏิบัติที่ 1) • จัดล�ำดับความส�ำคัญและแจกจ่ายน้�ำให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนที่ได้รับ ผลกระทบ (ดูบนั ทกึ แนวทางการปฏิบัติที่ 2 และ 4) ดชั นีชวี้ ัดหลัก (อ่านควบคูก่ ับบนั ทกึ แนวทางการปฏิบตั )ิ • ปรมิ าณนำ�้ โดยเฉลยี่ ส�ำหรบั การดม่ื ประกอบอาหารและการสง่ เสรมิ สขุ อนามยั สว่ นบคุ คล ในแต่ละครัวเรือน อยา่ งน้อย 15 ลิตร/คน/วนั (ดบู ันทึกแนวทางปฏบิ ัตทิ ี่ 1-8) • ระยะทางระหว่างท่พี ักอาศัยแต่ละหลังไปยงั จดุ จา่ ยนำ้� ทใ่ี กลท้ ่ีสุด ไม่ควรเกิน 500 เมตร (ดูบันทึกแนวทางการปฏบิ ตั ทิ ี่ 1,2,5 และ 8) • การรอรบั น�้ำในแต่ละครัง้ ไม่ควรนานเกิน 30 นาที (ดูบนั ทกึ แนวทางการปฏิบตั ิที่ 7) บนั ทกึ แนวทางการปฏบิ ัติ 1. การเลือกแหล่งน�้ำ : ปจั จัยทค่ี วรพจิ ารณาเม่อื ตอ้ งเลอื กแหล่งน้�ำ เชน่ การหาได้ ความใกล้ ตลอดจนความยงั่ ยนื จากปรมิ าณนำ�้ ทเี่ พยี งพอ ความจ�ำเปน็ ในการบ�ำบดั และความเปน็ ไปได้ 80

Nationnal Disaster Response Team Handbook รวมทัง้ ปัจจัยทางสังคม การเมืองหรือกฎหมายท่ีมีอย่แู ละเกยี่ วข้องกบั แหลง่ น�้ำโดยท่วั ไป แหลง่ นำ้� บาดาลและ/หรอื นำ้� ทไี่ หลจากธารนำ้� ตา่ งระดบั มกั จะเปน็ ทตี่ อ้ งการ เพราะไมต่ อ้ งใช้ การบ�ำบัดและเคร่ืองปั๊มน�้ำ เม่ือเกิดภัยพิบัติ การผสมผสานของการท�ำงาน และแหล่ง ทรัพยากรถือว่ามีความจ�ำเปน็ ในระยะแรก ซึง่ แหลง่ ทรัพยากรท้ังหมดจ�ำเป็น จะตอ้ งได้ รบั การตรวจสอบเพื่อหลีกเลย่ี งการแสวงหาผลประโยชนใ์ นทางทไ่ี มถ่ กู ต้อง...... 2. ปริมาณ/ความครอบคลุม: เม่ือเกิดภัยพิบัติ และเม่ือมาตรฐานน้�ำขั้นต่�ำทั้งเชิงคุณภาพ และเชิงปรมิ าณบรรลผุ ล ส่ิงส�ำคัญคือ การส่งเสริมการเขา้ ถงึ ปริมาณน้ำ� อย่างเท่าเทยี มกัน แม้ว่าน�้ำนั้นจะมีคุณภาพปานกลางก็ตามประชาชนท่ีได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติมีความ เปราะบางต่อการเจ็บไข้ได้ป่วยมากกว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้นควรด�ำเนินการตามดัชนีชี้วัด เรื่องการเข้าถงึ น�ำ้ และปริมาณนำ�้ ให้ได้ แมว้ ่าดชั นีช้วี ดั ดงั กล่าวจะสูงกวา่ บรรทดั ฐานของ ประชาชนที่ได้รับผลกระทบและประชาชนในพ้ืนที่ โดยเฉพาะควรให้ความสนใจในการ เขา้ ถงึ นำ�้ ปริมาณมากกวา่ ที่ก�ำหนดในกลุ่มประชาชน ตัวอย่างมาตรฐานขนั้ ต�่ำท่ีใชบ้ ่อย 1. การให้ความช่วยเหลือดา้ นอาหาร ผูป้ ระสบภัยควรได้รบั อาหารท่ีมีจ�ำนวนแคลลอรีเ่ ฉลยี่ ไมต่ ่ำ� กว่า เทา่ ไหร/่ คน/วนั ตอบ 2,100 Kcal หนังสอื Sphere หน้า 182 หรือ หน้า 231 2. การให้บริการด้านสุขภาพแก่ประชาชนเพื่อให้มีความทัดเทียมในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่มี ประสทิ ธิภาพปลอดภัยและมีคุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐานท่ีก�ำหนด มีเกณฑ์ในการจดั สถานพยาบาล ต่อผปู้ ระสบภัยอยา่ งไร ตอบ หนังสือ Sphere หน้า 299 • หน่วยบรกิ ารสขุ ภาพพนื้ ฐาน 1 แหง่ ต่อประชากร 10,000 คน (หนว่ ย บรกิ ารสุขภาพพ้นื ฐานสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิท่ใี ห้บรกิ ารสขุ ภาพทวั่ ไป) • สถานีอนามยั ระดบั ต�ำบล 1 แหง่ ต่อประชากร 50,000 คน • โรงพยาบาลระดบั อ�ำเภอหรอื โรงพยาบาลชมุ ชน 1 แห่งตอ่ ประชากร 250,000 คน • โรงพยาบาลขนาด 10 เตียง ขึ้นไป (มีเตียงสูติกรรม) 1 แห่งต่อประชากร 10,000 คน (ดูบันทึกแนวทางปฏิบตั ิที่ 1) 3. แหลง่ นำ้� ชนิดใดที่ควรเลือกใชผ้ ลิตนำ้� ส�ำหรบั แจกจา่ ยผปู้ ระสบภยั ตอบ แหลง่ น�ำ้ บาดาลและหรอื น้�ำท่ีไหลจากธารน้�ำต่างระดบั เพราะไมต่ อ้ งใช้การบ�ำบดั และ เครอ่ื งป๊มั น้�ำ หนังสือ Sphere หนา้ 98-99 4. ในการควบคุมโรคติดตอ่ และการระบาดรวมทง้ั การตอบสนองตอ่ การระบาดนนั้ มดี ัชนีช้ีวดั หลกั เกีย่ ว กบั อัตราการเสียชวี ิตตอ่ ผ้ตู ิดเช้ือทั้งหมด (Case Fatality Rates หรือ CFRs) ไมเ่ กนิ เทา่ ไหร่ ตอบ หนังสอื Sphere หนา้ 319 • อตั ราการเสยี ชีวิตตอ่ ผ้ตู ิดเชือ้ ทัง้ หมด (Case Fatality Rates หรอื CFRs) ไมเ่ กนิ ระดบั ท่ีก�ำหนดคอื • อหวิ าตกโรค รอ้ ยละ 1 • ท้องรว่ งจากเช้อื ชิเกลลา (Shigella dysentery) รอ้ ยละ 1 81

หนงั สือประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหน่วยเคลือิ่ นท่ีเร็ว • ไทฟอยด์ ร้อยละ 1 • โรคไขก้ าฬหลังแอน่ (Meningococcal meningitis) ประมาณ รอ้ ยละ 5-15 • มาลาเรยี ไมแ่ น่นอน ตงั้ เป้าให้ ต่ำ� กวา่ รอ้ ยละ 5 ในผปู้ ว่ ยอาการรุนแรง • หดั (measles) ไมแ่ นน่ อนพบร้อยละ 2-21 ในพ้นื ทที่ ม่ี คี วามขัดแยง้ และตง้ั เปา้ ให้ต�ำ่ กวา่ รอ้ ยละ 5 (ดูบันทึกแนวทางการปฏบิ ัตทิ ี่ 10) 5. จงบอกช่ือโรคทสี่ มั พันธก์ ับน้�ำและส่ิงขับถา่ ยมาอยา่ งนอ้ ย 5 ชนดิ ตอบ อหิวาตกโรค โรคบดิ มตี วั (Shigella) ทอ้ งร่วง (Salmonella) ไข้ไทฟอยด์ โรคพารา ไทฟอยด์ โรคบิดหรือโรคท้องร่วงจากเช้ือ giardia โรคตบั อักเสบ A โรคโปลิโอ โรคทอ้ งรว่ ง จาก โรตา้ ไวรัส พยาธิตัวกลม พยาธปิ ากขอ พยาธิแสม้ า้ พยาธิตวั ตดื หมู หนงั สอื Sphere ภาคผนวก 4 หนา้ 131 6. ผู้ประสบภัยควรไดร้ บั น�้ำสะอาดส�ำหรบั ดืม่ ปรมิ าณเทา่ ไหร่/คน/วนั ตอบ 15 ลิตร หนงั สือ Sphere หนา้ 98 7. จงบอกช่วงอายุส�ำหรับการฉีดวัคซีนโรคหดั และในกรณีทมี่ ที รพั ยากรจ�ำกดั ควรใหค้ วามส�ำคญั กับ กลุ่มใดเป็นล�ำดับแรก ตอบ อายุ 6 เดือน-15 ปี แต่ถ้ามที รพั ยากรจ�ำกดั ควรมงุ่ เนน้ ที่เด็กอายุ 6-59 เดอื น เป็น ล�ำดับแรก หนังสอื Sphere หน้า 323-324 8. เม่อื ตรวจคุณภาพน้�ำ ควรมี faecal coliforms / 100 ml เท่าไหร่ ตอบ 0 faecal coliforms หนงั สอื Sphere หน้า 101 9. ตวั ชว้ี ดั ทน่ี ยิ มใชใ้ นการวดั ระดบั ภาวะทพุ โภชนาการในเดก็ อายุ 6-59 เดอื น และเกณฑท์ ใี่ ชเ้ ปน็ อยา่ งไร ตอบ WFH Z score และ MUAC หนงั สอื Sphere หน้า 224 10. ปริมาณน�้ำท่ตี ำ่� ที่สุดส�ำหรับ ศูนยร์ ักษาผู้ป่วยท้องร่วงรา้ ยแรง ตอบ 60 ลติ ร/คนไข/้ วัน 15 ลิตร ต่อผู้ดแู ล /คน /วนั หนังสือ Sphere หนา้ 129 11. จ�ำนวนประชากรผู้ประสบภัยต่อ จ�ำนวนสขุ า 1 ห้อง ตอบ 20 คน หนังสอื Sphere ภาคผนวก 3 หน้า 110 12. การออกแบบ การสร้าง และสถานทตี่ ง้ั ห้องสขุ า ควรมีลักษณะอยา่ งไร ตอบ หนังสือ Sphere หนา้ 108-109 การออกแบบ การสร้างและสถานที่ตั้งหอ้ งสุขาที่เหมาะสม ควรมีลักษณะดงั น้ี • ออกแบบใหป้ ระชาชนทุกกลมุ่ รวมทงั้ เดก็ ผ้สู งู อายุ หญงิ มีครรภแ์ ละผู้ทพุ พลภาพสามารถ ใช้หอ้ งสขุ าไดอ้ ยา่ งปลอดภัย (ดูบนั ทกึ แนวทางการปฏิบตั ทิ ี่ 1) • ตง้ั อยใู่ นบรเิ วณทปี่ ลอดภยั ตอ่ ผใู้ ชม้ ากทส่ี ดุ โดยเฉพาะกบั กลมุ่ ผหู้ ญงิ และเดก็ หญงิ ทงั้ กลางวนั และกลางคืน (ดูบนั ทึกแนวทางการปฏบิ ัติที่ 3 และหลกั การคุ้มครองท่ี 1 บนั ทึกแนวทาง การปฏิบัติท่ี 1-6 หน้า 35-36 • มคี วามเปน็ สว่ นตัว สอดคลอ้ งกับปกตวิ ิสัยของผใู้ ช้งาน(ดบู ันทกึ แนวทางการปฏบิ ัตทิ ่ี 3 ) • รักษาความสะอาดง่ายเพือ่ ใหน้ ่าใช้และไม่เป็นอันตรายต่อสขุ ภาพและสง่ิ แวดล้อม ขึน้ กับ บริบทการใช้งาน หอ้ งสขุ าควรมนี ำ้� ส�ำหรับล้างมอื และ/หรือราดท�ำความสะอาดอยา่ ง เหมาะสม (ดูบนั ทึกแนวทางปฏิบตั ทิ ่ี 7-8) 82

Nationnal Disaster Response Team Handbook • จดั ใหม้ ที ส่ี �ำหรบั ทงิ้ ผา้ อนามยั และมพี น้ื ทม่ี ดิ ชดิ ส�ำหรบั การซกั และตากผา้ ซบั ระดขู องผหู้ ญงิ (ดูบันทกึ แนวทางปฏบิ ตั ิที่ 9) • ลดการแพรพ่ นั ธุข์ องแมลงวันและยุงให้เหลอื นอ้ ยท่สี ดุ (ดบู นั ทึกแนวทางปฏิบัตทิ ี่ 7) • จดั ใหม้ กี ลไกส�ำหรบั ระบายกากอจุ จาระ การขนสง่ และก�ำจดั ทเ่ี หมาะสมในกรณที หี่ อ้ งสขุ า เป็นแบบผนึกแน่นหรือที่ถูกใช้เป็นเวลานานและจ�ำเป็นต้องได้รับการถ่ายเทของเสีย (ดบู ันทกึ แนวทางปฏบิ ัติท่ี 11) • ในกรณที ร่ี ะดบั นำ�้ ในดนิ สงู หรอื เกดิ อทุ กภยั หลมุ หรอื อปุ กรณเ์ กบ็ สงิ่ ขบั ถา่ ยจะตอ้ งเปน็ แบบ กนั นำ้� ซมึ เพอื่ ลดการปนเปือ้ นไปส่นู ้�ำใตด้ ินและส่ิงแวดล้อม (ดบู ันทึกแนวทางปฏิบัตทิ ่ี 11) 13. แตล่ ะครัวเรอื นควรมภี าชนะกกั เก็บน�้ำ ขนาดเท่าใด และจ�ำนวน เท่าใด ตอบ ขนาด 10-20 ลติ ร อย่างนอ้ ย 2 อัน หนงั สือ Sphere หน้า 104 14. ขนาดพ้ืนทที่ ีใ่ ช้ค�ำนวณในการจดั ตงั้ ศนู ย์พักพงิ ควรมีพนื้ ทม่ี ิดชิดส่วนบคุ คลเท่าไหร่ ตอ่ /คน และ ศนู ย์พกั พิงควรมีพื้นทร่ี วมทงั้ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ต้องการพน้ื ทกี่ ีต่ ารางเมตรต่อคน ตอบ 3.5 ตารางเมตร / คน หนงั สอื Sphere หนา้ 261 และ 262 และ 45 ตารางเมตร/คน หนงั สอื Sphere หนา้ 260 15. การยืนยันโรคระบาด หากพบผู้ป่วยโรคใด แม้เพียงรายเดียวก็ถือว่าเกิดการระบาด ให้บอกมา อย่างน้อย 3 โรค ตอบ โรคอหิวาตกโรค โรคหัด ไข้เหลือง ไข้เลือดออกท่ีเกิดจากไวรัสอื่นๆ หนังสือ Sphere หนา้ 321 16. อตั ราตายอยา่ งหยาบท่เี พม่ิ เปน็ กีเ่ ท่าท่ีจะชีใ้ หเ้ ห็นถงึ ภาวะฉุกเฉินดา้ นสาธารณสขุ อยา่ งมนี ัยส�ำคัญ ทางสถติ ิ และตอ้ งมกี ารตอบสนองทนั ที และหากไมท่ ราบอตั ราตายอยา่ งหยาบกอ่ นเกดิ เหตจุ ะท�ำอยา่ งไร ตอบ สองเท่า และให้ก�ำหนดเป้าหมายของอัตราตายอย่างหยาบในระดับต่�ำกว่า 1 ราย/ ประชาชน 10,000 คน/วัน หนังสือ Sphere หน้า 312 17. ประชาชนทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากภยั พบิ ตั ิ ควรไดร้ บั เสอ้ื ผา้ เครอื่ งนงุ่ หม่ ทเ่ี พยี งพอ เปน็ จ�ำนวนเทา่ ไหร่ ตอบ หนงั สอื Sphere หน้า 274 • ผู้หญิง เด็กหญิง ผู้ชายและเด็กชายทุกคนมีเส้ือผ้าเคร่ืองนุ่งห่มอย่างน้อยคนละ 2 ชุด ขนาดพอดตี วั และเหมาะสมกบั วฒั นธรรม ฤดกู าล และสภาพภมู อิ ากาศ (ดบู นั ทกึ แนวทาง ปฏบิ ตั ทิ ่ี 1-5) 18. ระยะทางระหว่างท่ีพกั อาศัยแต่ละหลงั ไปยงั จุดจา่ ยนำ�้ ท่ีใกลท้ ี่สดุ ไมค่ วรเกินเท่าไหร่ ตอบ 500 เมตร หนังสอื Sphere หนา้ 98 19. ในสถานบริการสุขภาพ ควรมีแพทยจ์ �ำนวนเทา่ ไหร่ ต่อผปู้ ว่ ย 100 คน/วัน ตอบ 2 คน หนงั สอื Sphere หนา้ 304 20. ตามมาตรฐานการเขา้ ถึงและปริมาณนำ�้ ในการรอรับน�ำ้ ของผ้ปู ระสบภยั ในแตล่ ะครั้ง ไม่ควรนาน เกนิ ระยะเวลาเท่าไหร่ ตอบ 30 นาที หนังสอื Sphere หนา้ 98 83

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการหนว่ ยเคลื่อิ นทีเ่ ร็ว เอกสารอ้างอิง ส�ำนักงานบรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทักษ์ สภากาชาดไทย. โครงการ สเฟียร์ กฎบัตรมุษยธรรม และมาตรฐานข้นั ตำ่� ในการตอบสนองต่อภยั พิบัติ. พิมพ์ครัง้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.; 2558. 84

Nationnal Disaster Response Team Handbook การประเมินความเสียหDาaยmแลaะgคeวาaมnตd้อNงeกeาdรsขอAงsผsู้ปesรsะสmบeภnัยt อารีรกั ษ์ บุญมีประเสริฐ* คนงึ นิจ จันทรทนิ ** พยาบาล 6* ผูช้ ำ�นาญการพเิ ศษ พยาบาล 7** สำ�นักงานบรรเทาทุกขแ์ ละประชานามัยพิทักษ์ สภากาชาดไทย การจดั การความเสี่ยงจากภยั พิบตั ิ (Disaster Risk Management) การจดั การความเสย่ี งจากภยั พบิ ตั ิ (Disaster Risk Management) เปน็ การก�ำหนดนโยบาย สรา้ งมาตรฐาน การพัฒนาระบบต่างๆ ในการปฏิบัติการ รวมทั้งยกระดับความรู้ความสามารถให้แก่บุคลากรเพ่ือให้ สามารถปฏบิ ตั ิงานเพ่ือลดผลกระทบภัยพบิ ตั ิต่างๆ ได้ (1,2) จากสถานการณ์ปจั จุบนั ภยั พิบตั เิ กิดข้ึนได้ บ่อยและมคี วามรนุ แรงมากย่งิ ขน้ึ ส่งผลกระทบทงั้ ในด้านชวี ิต ทรพั ยส์ ิน และเศรษฐกิจของประเทศ การเตรยี มความพรอ้ มรบั ภยั ตา่ งๆของประชาชนจงึ เปน็ สง่ิ จ�ำเปน็ เพอื่ ลดความเสย่ี ง ลดการสญู เสยี ชวี ติ และทรัพย์สิน จากในอดีตมุ่งเน้น “การจัดการสาธารณภัย (Disaster Management : DM)” คือ การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื บรรเทาทกุ ขผ์ ปู้ ระสบภยั หรอื การฟน้ื ฟหู ลงั จากภยั ผา่ นพน้ มาเปน็ ใหค้ วามส�ำคญั กบั การเตรยี มความพรอ้ มลว่ งหนา้ เพอ่ื รบั มอื ภยั และด�ำเนนิ การในการลดปจั จยั ตา่ งๆ ทก่ี ่อให้เกิดความเสีย่ งโดย “การจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management : DRM) ประกอบด้วย การลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Reduction : DRR) ได้แก่ การปอ้ งกัน (Prevention) การลดผลกระทบ (Mitigation) และการเตรียมความพรอ้ ม (Preparedness) ควบคู่กบั การ จดั การในภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Management) ไดแ้ ก่ การเผชญิ เหตุ (Response) และการบรรเทาทุกข์ (Relief) รวมถึงการฟื้นฟ (Recovery) ได้แก่ การฟื้นสภาพและการซ่อมสร้าง (Rehabilitation and Reconstruction) การสรา้ งใหด้ กี วา่ และปลอดภยั กวา่ เดมิ .(Build Back Better and Safer) (2) โดยแบง่ เปน็ 3 ระยะ ตามวงจรการเกิดภยั พบิ ัติ ไดแ้ ก่ ระยะกอ่ นเกิดภยั ระยะเกดิ ภัย และระยะหลังเกดิ ภัย 85

หนงั สือประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหน่วยเคลิ่ือนทเี่ ร็ว การจัดการภัยพิบัตทิ ี่ส�ำคัญตามระยะเวลา ระยะกอ่ นเกดิ ภยั : การเตรยี มความพรอ้ มในการรบั มอื กบั ภยั พบิ ตั ิ การก�ำหนดมาตรการตา่ งๆ การประเมนิ ความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ การประเมนิ ภยั ส�ำคญั ในชมุ ชน ความเปราะบาง ความลอ่ แหลม รวมทั้งการประเมินศักยภาพของชุมชน เพ่ือวางแผนรับมือภยั พบิ ตั ิ ลดความเสยี หายทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ ได้ ระยะเกดิ ภยั : แจง้ เตอื นภยั อพยพ และหลบภยั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและทนั เหตกุ ารณอ์ �ำนวยการ และประสานงานเพอ่ื จดั การกบั สถานการณฉ์ กุ เฉนิ ชว่ ยชวี ติ ผปู้ ระสบภยั ดแู ลผบู้ าดเจบ็ และคน้ หาผสู้ ญู หาย ระยะน้ีการประเมินที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมีความส�ำคัญอย่างมากเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ รวดเร็ว และตรงตามความตอ้ งการ ระยะหลังเกดิ ภัย : ในระยะเรง่ ดว่ น ไดแ้ ก่ การช่วยเหลือทีส่ �ำคญั ในการด�ำรงชีพเบ้อื งตน้ เชน่ จดั หาปจั จัย 4 และทพี่ ักช่วั คราว สาธารณูปโภคท่ีส�ำคญั เป็นต้น ส่วนในระยะยาว ได้แก่ การฟ้นื ฟู สสู่ ภาพเดมิ และพฒั นาอย่างยง่ั ยนื เชน่ บูรณะที่อยอู่ าศัย บ้านเรือน งานอาชพี ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น(3) การประเมนิ การประเมนิ เปน็ เครอ่ื งมอื หนงึ่ ทช่ี ว่ ยในการจดั การภยั พบิ ตั ทิ �ำเพอ่ื ระบุ คาดการณ์ และจดั ล�ำดบั ความรนุ แรงของความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ใิ นชมุ ชนหรอื สงั คมในการจดั การภยั พบิ ตั ิ หากมกี ารประเมนิ ทดี่ ี จะช่วยป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติ รวมทั้งสามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้อย่างรวดเร็ว ครอบคลมุ และตรงตามความต้องการมากท่สี ุด การประเมนิ (Assessment) หมายถงึ กระบวนการแบบมีสว่ นรว่ มทเี่ กยี่ วข้องกบั การรวบรวม การแปลผล และการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งตา่ งๆ โดยการรวบรวมขอ้ มูล การสังเกต สอบถาม สัมภาษณ์ การประเมินภัยพิบตั ิ (Disaster Assessment) หมายถงึ การส�ำรวจและเก็บข้อมูลเพอ่ื หาผล กระทบของภยั พบิ ัติทม่ี ีตอ่ ผปู้ ระสบภยั ชมุ ชน และสังคมท่ไี ดร้ ับภยั พิบัติท่เี กิดขึน้ อยา่ งรวดเร็ว(3) การประเมนิ ความเสียหายและความตอ้ งการ (Damage and Needs Assessment) หมายถงึ การประเมินผลกระทบจากภัยพิบัติเพื่อวิเคราะห์ความสามารถของผู้ประสบภัยในการเผชิญ สถานการณฉ์ กุ เฉนิ ดว้ ยตนเอง รวมทงั้ ความตอ้ งการความชว่ ยเหลอื เพมิ่ เตมิ จากหนว่ ยงานภายนอก เชน่ ความชว่ ยเหลอื ในดา้ นอาหาร นำ�้ ดมื่ การรกั ษาพยาบาล สขุ อนามยั การก�ำจดั สงิ่ ปฏกิ ลู สขุ ภาวะ ทพ่ี กั พงิ อุปกรณย์ ังชพี เป็นต้น(4) วัตถปุ ระสงคข์ องการประเมิน 1. เพ่อื ระบคุ วามตอ้ งการเรง่ ดว่ นของการชว่ ยเหลอื ด้านมนษุ ยธรรม (Humanitarian needs) 2. เพื่อทราบขอ้ มูลในแง่ของปริมาณและคุณภาพ เพอ่ื ใช้ในการตดั สินใจ • ใหก้ ารชว่ ยเหลือ • พ้ืนฐานและปริมาณหรอื ขนาดของความชว่ ยเหลอื ที่ต้องการ • รปู แบบและแผนการให้ความช่วยเหลือ • จัดล�ำดับความส�ำคัญในการระดมสรรพก�ำลังและเคลื่อนย้ายทรัพยากรในการให้ความ ช่วยเหลือ 3. เพือ่ ใหแ้ นใ่ จวา่ การประเมนิ น้จี ะตอบสนองความตอ้ งการทยี่ ังมิได้รบั การตอบสนองได้อยา่ ง เหมาะสม และมปี ระสทิ ธิภาพ 86

Nationnal Disaster Response Team Handbook เหตกุ ารณท์ ี่ควรปฏิบตั กิ ารประเมินและไม่ควรทำ� การประเมิน รูปแบบการประเมิน 1. การประเมินแบบเร่งด่วน (Rapid /Initial Assessment) กระท�ำโดยทันทหี ลงั มีเหตุการณ์ภัย พบิ ตั เิ กดิ ขนึ้ มกั ด�ำเนนิ การในสปั ดาหแ์ รกของการเกดิ ภยั พบิ ตั ิ เปน็ การประเมนิ แบบครา่ วๆ เพอ่ื รวบรวม ขอ้ มูลความตอ้ งการของผปู้ ระสบภยั และน�ำมาวางแผนการปฏิบตั ิงาน รวมถงึ จดั หาทรัพยากรท่ีจ�ำเปน็ ควร ไมค่ วร 1. เมื่อเกิดภัยพิบัติหรือมีการเปลี่ยนแปลงโดย 1. เม่ือเข้าไปในพ้ืนท่ีประสบภัยไม่ได้ หรือพ้ืนที่ ไมค่ าดคดิ มากอ่ น เช่น น้�ำทว่ มสูงข้ึน หรือมโี คลน ยงั ไม่มีความปลอดภัยเพียงพอ ถล่มหลงั น�ำ้ ป่าไหลหลาก 2. เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น 2. ขอ้ มลู ทม่ี อี ยเู่ พยี งพอแลว้ ไมม่ คี วามจ�ำเปน็ ตอ้ ง การเกดิ แผน่ ดินไหวแบบ After Shock ท�ำการประเมนิ เพิม่ 3. เมอื่ ตอ้ งการข้อมลู เพ่มิ เติมเกิดกบั ภยั ที่เกิดขึ้น 3. หลายหนว่ ยงานเขา้ ไปท�ำการประเมนิ แลว้ ท�ำให้ ชุมชนถูกซกั ถามหลายคร้งั เกดิ ความเบื่อหนา่ ย 2. การประเมินแบบละเอียด (Detailed/Multi-sectoral Assessment) เปน็ การประเมนิ เพ่มิ เตมิ ภายหลงั การประเมนิ เสรจ็ ส้ินอยา่ งรวดเรว็ เพื่อรวบรวมรายละเอียดทมี่ ากขึน้ โดยเฉพาะใน เหตุการณ์ท่มี คี วามเปลี่ยนแปลง มักด�ำเนินการในเดือนแรกของการเกิดภัยพิบัติ ทงั้ น้ีขึน้ อยู่กบั ขนาด ของพ้นื ทีป่ ระสบภยั และความซบั ซ้อนของสถานการณ์ 3. การประเมินแบบต่อเนื่อง (Continual Assessment) เนื่องจากสถานการณ์ภัยพิบัติมีการ เปลยี่ นแปลงไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และอาจมผี ลกระทบเปน็ ลกู โซ่ เชน่ การเคลือ่ นยา้ ยถ่ินฐานของประชาชน ท่ไี ด้รบั ผลกระทบ การประเมนิ จึงควรมีความต่อเนื่องตลอดชว่ งระยะเวลาจดั การสถานการณฉ์ ุกเฉนิ เพอื่ ให้สามารถตดิ ตามสถานการณ์และปรับเปล่ียนแนวทางการจดั การได้อยา่ งเหมาะสม(4,5,7) ขัน้ ตอนการประเมนิ 1. การรวบรวมข้อมลู การรวบรวมขอ้ มลู จ�ำเป็นต้องใชข้ อ้ มูลจากหลายแหลง่ โดยมากจากข้อมูลทตุ ิยภมู ิ เชน่ รายงาน สถานการณ์ สิง่ พมิ พ์ เอกสารทางหน่วยงานรฐั บาล ทอ้ งถนิ่ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั เหตกุ ารณภ์ ยั พิบัติ ขอ้ มลู ภัย ความลอ่ แหลม ความเปราะบาง และศกั ยภาพของพ้ืนท่ี เพอ่ื น�ำมาวิเคราะหค์ วามเสยี หาย ความ ตอ้ งการที่ยงั ไมไ่ ดร้ บั การชว่ ยเหลอื เบือ้ งตน้ 2. การวางแผนการประเมนิ ประกอบด้วย 2.1 ระบุวัตถปุ ระสงค์ และขอบเขตการประเมนิ 2.2 ก�ำหนดว่าต้องการเก็บข้อมูลใดเพ่มิ เตมิ 87

หนงั สือประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารหน่วยเคลิ่ือนที่เรว็ 2.3 ทบทวนข้อมูลทุติยภูมิ ตกลงกันในเร่ืองของเคร่ืองมือ (tools) ที่จะใช้ เช่น แบบฟอร์ม การรวบรวมขอ้ มูล วิธีการเก็บ สงั เกต สัมภาษณ์ 2.4 ประสานงานกบั เจา้ หนา้ ทที่ อ้ งถนิ่ /องคก์ รภาคดี า้ นมนษุ ยธรรมอน่ื ๆ เพอ่ื หลกี เลยี่ งความซำ้� ซอ้ น 2.5 คัดเลอื กพืน้ ทีท่ จ่ี ะประเมิน 2.6 จัดทีมประเมิน มกี ารประชุม/แบง่ งานและหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ 2.7 จดั การเรอ่ื งเงนิ รองจา่ ย การเดนิ ทาง ทพ่ี กั ความปลอดภยั การขนสง่ เครอ่ื งมอื สอ่ื สารตา่ งๆ 3. การเตรียมการกอ่ นลงพน้ื ทีป่ ระเมิน การประสานงาน ความรว่ มมอื การบรู ณาการกบั หนว่ ยงานหรือองคก์ รทอ้ งถิ่นกอ่ นการลงพ้ืน ทป่ี ฏิบัตงิ านประเมนิ เป็นสงิ่ ทีส่ �ำคัญ และตอ้ งมกี ารทบทวนข้อมูลทุติยภมู ิอกี ครงั้ สว่ นการเลือกพนื้ ท่ี ประเมนิ ล�ำดบั แรกควรค�ำนึงถงึ พนื้ ที่ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบโดยตรง เชน่ พืน้ ทน่ี ้�ำท่วม จุดตงั้ ม็อบ ประชาชน ทต่ี ้องออกจากบ้าน ตรวจสอบความพรอ้ มใช้งานของอปุ กรณ์ตา่ งๆ ผปู้ ฏิบตั ิงาน ควรเตรยี มความพรอ้ มด้านร่างกายและจิตใจ ดงั น้ี • ดา้ นรา่ งกาย : เตรยี มความพรอ้ มสภาพรา่ งกาย โดยการออกก�ำลงั กาย และนอนหลบั พกั ผอ่ น ให้เพียงพอ เตรียมเคร่ืองนุ่งห่ม รองเท้าหุ้มส้นให้เหมาะสม ของใช้ส่วนตัว ยาประจ�ำตัว (กรณีมโี รคประจ�ำตัว) • ด้านจติ ใจ : เตรยี มใจพรอ้ มรับสถานการณ์ทมี่ ไิ ด้คาดการณ์ ความไมส่ ะดวกสบายต่างๆ 4. การบรหิ ารจัดการ ส่งิ ท่ีตอ้ งรู้ก่อนลงการประเมิน เพือ่ การบริหารจดั การทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ 4.1 ภยั ยังด�ำเนินอยู่หรือไม่ พ้นื ท่นี ั้นมคี วามปลอดภยั หรอื ไม่ 88

Nationnal Disaster Response Team Handbook 4.2 สถติ ผิ ู้ประสบภยั 4.3 รายละเอยี ดของภัย เชน่ สาเหตุ พืน้ ท่ีท่ีเกิดเหตุ ความรนุ แรงของภัย 4.4 สภาวะของผู้ประสบภยั เชน่ ผู้อพยพ ผ้บู าดเจ็บ อายุ เพศ 4.5 ทรพั ยากรทม่ี อี ยู่ ศกั ยภาพของหนว่ ยงานตา่ งๆ ที่เข้าไปใหค้ วามช่วยเหลือ ศักยภาพของ ระบบโลจิสติกส์ 4.6 การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทช่ี ่วยเหลือไปแลว้ โดยค�ำนงึ ถึงความชว่ ยเหลอื ท่ีจ�ำเปน็ เพื่อความ อย่รู อด เป็นอันดบั แรกๆ เช่น อาหาร การช่วยชีวติ ที่พักพิง เครอ่ื งนงุ่ ห่ม 4.7 สงิ่ ที่เปน็ ปญั หาหรอื เปน็ ความตอ้ งการล�ำดับตอ่ ไป เชน่ ด้านความเปน็ อยู่ เส้นทางสญั จร นอกจากนี้การแบ่งพ้ืนที่รับผิดชอบจะท�ำให้สามารถประเมินและให้การช่วยเหลือได้อย่าง รวดเร็วและครอบคลมุ มากยงิ่ ขนึ้ ลดความซ้�ำซอ้ น เพราะผู้รับผิดชอบในพนื้ ท่ีนน้ั ๆจะทราบถงึ ความ เปราะบาง ความลอ่ แหลม รวมทั้งความเสีย่ งของภัยตา่ งๆในพืน้ ที่ไดด้ ี ส�ำหรับส�ำนกั งานบรรเทาทกุ ข์ และประชานามัยพิทกั ษ์ สภากาชาดไทย มกี ารแบง่ พ้นื ท่รี ับผดิ ชอบ ดังน้ี งานบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย ฝ่ายบรรเทาทุกข์ฯ รับผิดชอบ 20 จังหวัดในภาคกลาง ได้แก่ จังหวดั อา่ งทองฉะเชงิ เทราอทุ ยั ธานีสระบรุ ีกาญจนบรุ ีเพชรบรู ณ์สพุ รรณบุรีลพบรุ ีพระนครศรีอยุธยา สมุทรสาคร ชัยนาท ระยอง นครนายก สิงห์บรุ ี ปทุมธานี นครปฐม กรงุ เทพฯ ชลบรุ ี นครสวรรค์ และ จังหวัดนนทบุรี ฝ่ายประสานงานสถานีกาชาด มีสถานกี าชาดส่วนภูมิภาค รบั ผดิ ชอบ 57 จงั หวดั ดงั นี้ 89

หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหน่วยเคลือิ่ นทีเ่ รว็ ล�ำดบั ท่ี สถานีกาชาด จังหวดั ท่ีรับผดิ ชอบ สรุ นิ ทร์ บรุ รี ัมย์ มหาสารคาม ศรสี ะเกษ ร้อยเอด็ 1 สถานกี าชาดท่ี 1 จ.สุรินทร์ กาฬสนิ ธ์ุ อุดรธานี หนองคาย บงึ กาฬ เชียงใหม่ เชยี งราย พะเยา แมฮ่ ่องสอน ล�ำปาง 2 สถานกี าชาดท่ี 3 จ.เชยี งใหม่ ล�ำพูน แพร่ น่าน นครราชสมี า ขอนแกน่ ชัยภูมิ เลย หนองบวั ล�ำภู 3 สถานีกาชาดท่ี 4 จ.นครราชสมี า 4 สถานกี าชาดที่ 5 จ.สมุทรปราการ สมุทรปราการ 5 สถานีกาชาดที่ 6 จ.สระแก้ว สระแกว้ ปราจนี บรุ ี จนั ทบุรี ตราด 6 สถานีกาชาดท่ี 7 จ.อุบลราชธานี อุบลราชธานี ยโสธร มุกดาหาร อ�ำนาจเจริญ นครพนม สกลนคร 7 สถานีกาชาดที่ 8 จ.เพชรบุรี เพชรบรุ ี ราชบรุ ี สมุทรสงคราม 8 สถานีกาชาดหัวหินเฉลิมพระเกียรติ ประจวบครี ขี นั ธ์ ชุมพร ระนอง จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 9 สถานีกาชาดสิรนิ ธร (ท่ี 12 ทงุ่ สง) นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี พัทลุง ยะลา จ.นครศรีธรรมราช ปัตตานี นราธวิ าส สงขลา 10 สถานกี าชาดเทพรตั น์ (ท่ี 13) จ.ตาก ตาก ก�ำแพงเพชร สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร อตุ รดติ ถ์ 11 สถานีกาชาดที่ 14 ภเู กต็ พงั งา กระบี่ ตรงั สตลู พังงาเฉลมิ พระเกยี รตฯิ จ.พงั งา 5. การประเมินพืน้ ท่ี การลงประเมนิ พนื้ ท่ี ควรตรวจสอบขอ้ มลู ทว่ั ไปทไ่ี ดจ้ ากขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ิ ไดแ้ ก่ วนั เดอื น ปี ทเ่ี กดิ ภยั ประเภทของภยั สถานท่ีเกิดภยั จ�ำนวนผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ ประเมินความเสียหาย ได้แก่ ความรนุ แรง ของภยั จ�ำนวนผู้ประสบภยั แยกชาย หญงิ กลมุ่ เปราะบาง จ�ำนวนบา้ นเรือน พ้นื ทีก่ ารเกษตรท่ีเสยี หาย จ�ำนวนผู้ได้รับบาดเจ็บ หลังจากนั้นประเมินความต้องการเร่งด่วน ได้แก่ อาหารพร้อมรับประทาน น�้ำด่ืมสะอาด ที่พักอาศยั เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภคท่ีจ�ำเป็น ด้านสขุ าภบิ าล ดา้ นสุขภาพ ความตอ้ งการยา- เวชภัณฑ์ และบรกิ ารทางการแพทย์ 90

Nationnal Disaster Response Team Handbook 5.1 อาหารพรอ้ มรับประทาน : ประเมนิ ความสามารถในการประกอบอาหาร การเขา้ ถึงแหล่ง อาหาร เชน่ มีวตั ถุดิบในการประกอบอาหารหรอื ไม่ สามารถเดินทางไปซอ้ื ได้หรอื ไม่ แหล่ง ผลิตอาหารถูกท�ำลายหรือไม่ เชน่ ไร่ สวน ถูกท�ำลาย การชว่ ยเหลือของหน่วยงานภาคที ั้ง ภาครฐั และเอกชน 5.2 นำ้� ดื่มสะอาด : ประเมนิ ความเพยี งพอของน้�ำดม่ื สะอาด มแี หล่งผลติ แหล่งขายที่เข้าถงึ ได้ หรอื ไม่ มีแหล่งนำ้� ดิบทีส่ ามารถน�ำไปผลติ น้�ำดม่ื ไดห้ รือไม่ 5.3 ทพ่ี กั อาศัย : ประเมินความปลอดภยั ของท่ีอยูอ่ าศยั หากไมย่ ้ายออกจากท่พี ักทีป่ ระสบภัย มที พ่ี ักอาศัยชวั่ คราวไวร้ องรับหรอื ไม่หากต้องอพยพ 5.4 เครอ่ื งอปุ โภค บริโภค: เครอ่ื งอุปโภคบริโภคทีจ่ �ำเป็น เช่น ผ้าหม่ เสือ้ ผ้า ทนี่ อน มงุ้ จาน ชาม เปน็ ต้น ประเมนิ ความเพียงพอและพรอ้ มใชข้ องเครอื่ งอปุ โภคบริโภค ตวั อยา่ งเช่น ตามหลกั สเฟยี ร์ ทกุ คน มเี สอ้ื ผา้ พอดเี หมาะสมกบั สภาพอากาศ วฒั นธรรมอยา่ งนอ้ ย 2 ชดุ ทกุ คนมเี ครอ่ื งนอน เสอื่ ผา้ หม่ ใหค้ วามอบอนุ่ อยา่ งนอ้ ย 1 ผนื ทกุ คนควรไดร้ บั ภาชนะใสน่ ำ�้ และใสอ่ าหารคนละ 1 ชดุ เปน็ ตน้ (6) 5.5 สขุ ภิบาล หอ้ งนำ้� หอ้ งส้วม การก�ำจัดของเสีย : ประเมนิ ความเพียงพอของนำ�้ ดืม่ น�้ำใช้ การเขา้ ถงึ แหลง่ นำ้� จ�ำนวนหอ้ งนำ�้ หอ้ งสว้ มเพยี งพอตอ่ ผปู้ ระสบภยั หรอื ไม่ มรี ะบบระบายนำ้� การก�ำจัดขยะเป็นอย่างไร 5.6 ดา้ นสขุ ภาพ : การประเมนิ ความ ตอ้ งการดา้ นสขุ ภาพ เชน่ หนว่ ยปฐมพยาบาล การชว่ ยเหลอื ด้านการแพทย์เบื้องต้น การส่งต่อด้านการรักษา การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพพ้ืนฐาน การตรวจรกั ษาโรคทว่ั ไป โรคระบาดตา่ งๆในภาวะฉกุ เฉนิ รวมถงึ การประเมนิ ทางดา้ นจติ ใจ 6. การวเิ คราะหข์ ้อมลู การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เปน็ สว่ นทสี่ �ำคญั ทสี่ ดุ ของการประเมนิ ภยั พบิ ตั ิ ควรพจิ ารณาจากกระบวนการ ท้งั หมดทเี่ กยี่ วข้อง ไม่ควรตดั มาเพยี งบางส่วน ผู้ท่ที �ำการวเิ คราะหข์ ้อมูลจะตอ้ งตรวจสอบข้อมลู ทไ่ี ม่ ตรงกัน เพ่ือหาความเสียหายและความต้องการที่แท้จริง ข้อมูลอาจไม่เท่ียงตรง 100% แต่เพียงใช้ ข้อมูลนน้ั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการตัดสนิ ใจขั้นตน้ เพือ่ วางแผนใหก้ ารช่วยเหลอื 7. การรายงาน หลงั จากวเิ คราะหข์ อ้ มลู แลว้ จ�ำเปน็ ตอ้ งมกี ารรายงานผลในการประเมนิ สถานการณ์ ความเสยี หาย และความต้องการของผู้ประสบภัย การรายงานท่ีมีประสิทธิภาพนั้น ผู้วิเคราะห์จะต้องเสนอเฉพาะ ขอ้ มลู ที่ส�ำคญั เพื่อน�ำมาวางแผนให้การช่วยเหลือตอ่ ไป สว่ นประกอบส�ำคัญทีค่ วรมใี นรายงานการประเมนิ ความช่วยเหลอื ประกอบด้วย 7.1 บทสรุป ภาพรวมสถานการณ์ 7.2 ข้อมูลพ้ืนฐานท่ีระบุท่ีมาของข้อมูลที่เช่ือถือได้ เช่น จ�ำนวนผู้ป่วยด้วยโรคท้องร่วงจาก สาธารณสขุ จังหวดั 7.3 รายละเอียดทีส่ ังเกตเห็นหรอื วิเคราะหว์ า่ เปน็ ปัญหา ความต้องการความช่วยเหลือ 7.4 ข้อเสนอแนะ ระบกุ ิจกรรมหรือการด�ำเนินการชว่ ยเหลอื 7.5 แหล่งอา้ งอิง ขอ้ มูลผู้ประสานงานหรือผ้ทู ม่ี หี น้าท่ีรบั ผิดชอบในพ้ืนท(ี่7) 91

หนังสอื ประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหนว่ ยเคล่ิือนท่เี ร็ว ตวั อย่าง แบบฟอร์มรายงานการประเมนิ ภัยเบื้องต้น 81 ตัวอย่าง แบบฟอรม์ รายงานการประเมนิ ภยั เบอื้ งตน้ 1. วนั เดือน ปี ที่ประเมิน ชื่อผปู้ ระเมิน ชนิดการประเมิน สถานท่ีประเมิน ประเมินคร้ังแรก สถานที่เกิดภยั 2.ขอ้ มูล ประเภทของภยั วดป.เกิดเหตุ ประเมินซ้า คร้ังที่................. ศนู ยพ์ กั พิง ทวั่ ไป อุทกภยั เวลาเกิดเหตุ ................................. ผใู้ ห้ขอ้ มูล .................................. 3. สถานที่เกิดภยั หมบู่ า้ น ตาบล อาเภอ จงั หวดั พกิ ดั ตาแหน่ง (ถา้ มี) ลองติจูด : ละติจูด : 4. ความรุนแรง รุนแรงมาก รุนแรงปานกลาง รุนแรงนอ้ ย (บาดเจบ็ หรือเสียชีวติ >100 คน) (บาดเจบ็ หรือเสียชีวติ <100คน) (บาดเจบ็ หรือเสียชีวติ < 25คน) 5. ประมาณการความเสียหายและความสูญเสีย: ครอบครัว จานวนครอบครัวที่ประสบภยั : จานวนประชากรท่ีประสบภยั : คน ชาย: คน หญิง : คน เดก็ : คน จานวนประชากรกลุ่มอ่อนแอ ผสู้ ูงอายุ คน ผพู้ กิ าร คน เด็ก 0-5 ปี คน หญิงมีครรภ์ คน เดก็ กาพร้า คน 6. บา้ นเรือนเสียหาย : ท้งั หลงั : หลงั เสียหาย บางส่วน : หลงั 7. จานวนผบู้ าดเจบ็ : ตาย: 8. จานวนสตั วบ์ าดเจบ็ : ตาย: 9 พชื พนั ธุก์ ารเกษตรเสียหาย(ระบชุ นิด): จานวนไร่: 10. ขอ้ มูลสาคญั อื่นๆ: 11. ความต้องการเร่งด่วน จานวน หมายเหตุ อาหารพร้อมรับประทาน เวลาท่ีรายงาน : น้าดื่ม ลงช่ือ : ยา-เวชภณั ฑ์ ชุดธารน้าใจฯ เคร่ืองนุ่งห่ม ผา้ ห่ม เส้ือผา้ ส้วมชว่ั คราว ส้วมลอยน้า สถานที่อพยพ ครัวเคลื่อนที่ ยานพาหนะ เรือ หน่วยแพทยเ์ คลื่อนที่ ติดตามหาญาติที่สูญหาย อ่ืนๆ ขอ้ คิดเห็นในการดาเนินงานต่อไป วนั ที่ท่ีรายงาน: 92

Nationnal Disaster Response Team Handbook เอกสารอ้างองิ 1. คณะกรรมการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาต.ิ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558-2573: กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย; 2557. 2. สรวศิ วฑิ รู ยท์ ศั น,์ Marqueza Cathalina Reyes, Matthew Sarsycki. คมู่ อื การประเมนิ ความเสย่ี งจาก ภยั พบิ ตั .ิ พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานโครงการพัฒนาสหประชาชาติ ส�ำนักงานประเทศไทย ; 2559. 3. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. การลดความเส่ียงจากสาธารณภัย. พมิ พ์คร้งั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท เวริ ค์ พร้ินติง้ จ�ำกดั ; 2559. 4. International Federation of Red Cross and Crescent Societies. Disaster risk reduction : a global advocacy guide. Geneva, Switzerland; 2012 5. WHO/EHA, Pan African Emergency Training Centre. Rapid Health Assessment. Addis Ababa, South Africa; July 1998. 6. ส�ำนกั งานบรรเทาทุกขแ์ ละประชานามยั พทิ กั ษ์ สภากาชาดไทย. โครงการสเฟียร์ กฎบตั รมนุษยธรรม และมาตรฐานขัน้ ต่ำ� ในการตอบสนองต่อภยั พบิ ัต.ิ พมิ พ์ครงั้ ท่ี 3. กรงุ เทพฯ : ม.ป.ท.; 2558. 7. The AHA Centre. ASEAN-ERAT emergency rapid assessment team. Jakarta, Indonesia ; 2010. 93

หนังสือประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั ิการหนว่ ยเคลิ่ือนท่เี รว็ กCาoรmสm่ือสuาnรicแaลtะiปoรnะชanาสdัมPพuันbธli์cในRภeาlวaะtภioัยnพiิบnัตEิ mergency กรองทอง เพ็ชรวงศ์* ณัฐณชิ านันท์ ประสมศรี** ผู้อ�ำนวยการส�ำนักสารนเิ ทศและสื่อสารองคก์ ร* เจ้าหนา้ ท่ีประชาสัมพันธ์ 6** ส�ำนักสารนเิ ทศและสื่อสารองค์กร ส�ำนักงานบริหาร สภากาชาดไทย ส�ำนักสารนเิ ทศและสอ่ื สารองค์กร ส�ำนกั งานบริหาร มภี ารกิจจัดหา รวบรวมข้อมูลขา่ วสารจาก หนว่ ยงานของสภากาชาดไทยเพอ่ื เผยแพรผ่ า่ นชอ่ งทางสอื่ สารตา่ งๆ ทง้ั ในยามปกตแิ ละเมอ่ื เกดิ ภยั พบิ ตั ิ เปน็ ศนู ยก์ ลางใหค้ วามรว่ มมอื ดา้ นประชาสมั พนั ธก์ บั หนว่ ยงานตา่ งๆ ของสภากาชาดไทยใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารของสภากาชาดไทยผา่ นทาง Call Center 1664 อกี ทงั้ ด�ำเนนิ งานใหพ้ พิ ธิ ภณั ฑแ์ ละหอจดหมายเหตุ ของสภากาชาดไทย เป็นศูนย์การเรยี นรู้ภารกิจของสภากาชาดไทยต้ังแตอ่ ดีตจนถงึ ปัจจบุ ัน ปฏบิ ตั งิ าน ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการประชาสัมพันธ์และแผนปฏิบัติงานของส�ำนักสารนิเทศและสื่อสาร องค์กร ซึ่งให้ความส�ำคัญในการน�ำสื่อสังคมออนไลน์ใช้เผยแพร่ข่าวสารเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง รวดเร็วทันเวลา 94

Nationnal Disaster Response Team Handbook การประชาสมั พันธ์ในภาวะภัยพบิ ัติ เมอื่ เกิดภยั พิบัตใิ นประเทศ จะต้องมกี ารประชาสมั พันธ์เพื่อเผยแพรภ่ ารกจิ ของสภากาชาดไทย แก่สาธารณชนและเปน็ ความรว่ มมือจากหลายหน่วยงานของสภากาชาดไทย ตามค�ำสัง่ สภากาชาดไทย แต่งตง้ั คณะกรรมการจดั การภัยพบิ ัติ ตั้งแตป่ ี 2558 โดยแบ่งเป็นคณะท�ำงานต่างๆ ได้แก่ คณะท�ำงาน ฝา่ ยบรรเทาทกุ ข์ คณะท�ำงานฝ่ายการแพทย์ คณะท�ำงานฝ่ายรับบริจาค คณะท�ำงานฝา่ ยสอ่ื สารและ ประชาสมั พนั ธ์ คณะท�ำงานฝา่ ยสนบั สนนุ และสง่ ก�ำลงั บ�ำรงุ คณะท�ำงานฝา่ ยตา่ งประเทศ และคณะท�ำงาน ฝ่ายฟน้ื ฟู หน้าทีร่ บั ผดิ ชอบของคณะทำ� งานฝา่ ยสอื่ สารและประชาสมั พนั ธ์ ในภาวะภยั พบิ ัติ เตรียมผู้ประสานงานด้านการประชาสัมพันธ์ท้ังภายในและต่างประเทศ จัดเตรียมโฆษก สภากาชาดไทย คดั กรองข่าวสารในการประชาสัมพันธ์ เผยแพรภ่ ารกจิ ของสภากาชาดไทยในการให้ ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยและการรับบริจาค เพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยผ่านส่ือทุกชนิด ท�ำการ ประชาสมั พันธ์ภายในองคก์ รใหร้ ับทราบและเขา้ ใจไปในแนวทางเดียวกนั การปฏบิ ัตงิ านของคณะทำ� งานฝ่ายสอื่ สารและประชาสัมพนั ธ์ จัดต้ังศูนย์ประชาสัมพันธ์ (Press Center) เพ่ือท�ำหน้าที่รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับภัยพิบัติ จากการประชุมร่วมกับคณะท�ำงานอื่นๆ ใน War Room นอกจากน้ีต้องรวบรวมทะเบียนรายชื่อ คณะท�ำงานทุกชุดพรอ้ มเบอรโ์ ทรศัพท์ รวมท้ังอีเมลหรอื ไลน์ น�ำเข้าระบบอิเล็กทรอนิกสพ์ รอ้ มส�ำหรับ การท�ำงานออนไลน์ รวบรวมทะเบียนสื่อมวลชนทุกแขนง เว็บไซต์สื่อเพื่อการติดต่อได้อย่างรวดเร็ว ข้อมูลภัยพิบัติที่ได้รับต้องท�ำการคัดกรองข้อมูลและเขียนข่าวเพ่ือการประชาสัมพันธ์ และท�ำการ ประชาสมั พันธท์ ัง้ ภายในและภายนอกองคก์ ร ลักษณะข่าวท่ีน�ำเสนอจะแสดงใหเ้ ห็นถึงการท�ำงานของ สภากาชาดไทย ทั้งในด้านให้ความช่วยเหลือประชาชนที่เสียหายจากภัยพิบัติ และการขอสนับสนุน จากภาครัฐและเอกชน พร้อมทั้งวางแผนเผยแพร่ข่าวสารอย่างตอ่ เนอ่ื ง การใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ผา่ นศูนย์ บริการทางโทรศัพท์ 1664 มีความจ�ำเป็นอย่างย่ิง เพ่ือเป็นอีกช่องทางสร้างการรับรู้ให้กับประชาชน ท�ำหนา้ ทป่ี ระสานงานกบั โฆษกสภากาชาดไทย เพอื่ เผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และมอบหมาย ผทู้ �ำหนา้ ทป่ี ระสานงานหลกั ดา้ นประชาสมั พนั ธท์ ง้ั ภายในประเทศและตา่ งประเทศใหช้ ดั เจน เพอื่ ใหก้ าร เผยแพร่ข่าวออกจากแหล่งเดยี วกันและไมซ่ ้ำ� ซ้อน 95

หนังสอื ประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารหนว่ ยเคล่ิอื นทเ่ี รว็ ตวั อย่างอนิ โฟกราฟกิ 96

Nationnal Disaster Response Team Handbook การใช้สอื่ เพอ่ื ประชาสมั พันธ์ในภาวะภัยพิบตั ิ เมอ่ื เกดิ ภยั พิบตั ิ สภากาชาดไทย ต้องเลือกใช้ส่อื ให้ตรงกบั กลุม่ เปา้ หมายและใหค้ รอบคลมุ โดยเฉพาะต้องค�ำนงึ ถงึ ผลกระทบทง้ั ขอ้ ดแี ละข้อเสีย ตามประเภทของสื่อทั้งสอื่ เก่าและส่ือใหม่ ดงั น้ี 1. ผลกระทบจากการใช้สื่อ • ผลดขี องการใช้สอื่ สามารถสร้างภาพลักษณ์ท่ดี แี ละความนา่ เชื่อถอื แก่องค์กรและประชาชน ได้รับทราบข้อมลู ข่าวสารขององค์กร • ผลเสียของการใช้สื่อ หากส่ือสารผิดพลาดจะเกิดผลเสียอย่างมหาศาลและข้อมูลส�ำคัญ บางอย่างต้องหา้ มเปิดเผยและตอ้ งค�ำนึงถงึ สทิ ธิมนษุ ยชน 2. ประเภทของสื่อ 2.1 สอื่ มวลชน อาทิ โทรทศั น์ วิทยุ หนังสอื พมิ พ์ นิตยสาร ฯลฯ มีข้อดี คอื ประชาชนได้รับ ทราบขอ้ มูลข่าวสารขององคก์ รในวงกวา้ ง แตม่ ีขอ้ เสยี คือ มีพื้นท่ีจ�ำกดั ค่าใช้จ่ายสูง และล่าช้า 2.2 ส่ือออนไลน์ อาทิ เวบ็ ไซต์ เฟซบกุ๊ ทวติ เตอร์ อินสตาแกรม ยทู ูบ ไลน์ ฯลฯ มีข้อดี คือ สามารถเขา้ ถึงได้ทว่ั โลก ไร้ขีดจ�ำกัด สามารถเลอื กใช้แบบไม่เสียคา่ ใชจ้ า่ ยและแบบมคี ่าใชจ้ ่าย รวดเรว็ และเหมาะทกุ ช่วงเวลาโดยเฉพาะชว่ งเกิดภยั พบิ ตั ิหรือเหตุฉกุ เฉนิ แต่มขี ้อเสยี คอื ทุกคนสามารถโพสต์ หรือเผยแพร่อะไรกไ็ ด้ มที ง้ั จรงิ และไม่จริง ซึง่ ผทู้ ่ไี ม่เทา่ ทนั ส่ือกจ็ ะไม่สามารถแยกแยะได้วา่ ขอ้ มูลใดจรงิ หรอื ขอ้ มลู ใดเทจ็ และหากรวดเรว็ จนเกินไป ขาดการไตร่ตรองกส็ ามารถสรา้ งผลเสียแกอ่ งคก์ รได้ 2.3 ส่อื อน่ื ๆ อาทิ โปสเตอร์ ไวนิล ป้ายผ้า หนงั สอื เอกสารตา่ งๆ สอ่ื บุคคล ฯลฯ มีข้อดี คือ มี ความน่าเช่อื ถือสงู แตม่ ขี ้อเสีย คือ ไม่สามารถเขา้ ถึงกลุ่มเป้าหมายในวงกว้างและมคี วามล่าชา้ ไม่ทัน ท่วงที 3. การประสานงานกับสือ่ มวลชนช่วงภยั พบิ ัติ เมื่อเกิดภัยพิบัติข้ึน ผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบด้านการประชาสัมพันธ์จะต้องเร่งประสานงานกับ สื่อมวลชนภายในกรุงเทพฯ หรือผู้สื่อข่าวประจ�ำจงั หวัดต่างๆ หรือทีเ่ รยี กว่า สตริงเกอร์ (stringer) ด้วย การประสานงานผา่ นโทรศพั ท์ ไลน์ หรอื อเี มล และหากสอื่ มวลชนขอสมั ภาษณโ์ ดยมไิ ดน้ ดั หมายไวล้ ว่ งหนา้ จะตอ้ งประสานงานไวเ้ บอื้ งตน้ และสรปุ ใจความส�ำคญั ทสี่ อื่ จะสอบถาม เพอื่ ประเมนิ วา่ ผทู้ จ่ี ะใหส้ มั ภาษณ์ สามารถตอบได้หรือไม่ ผเู้ ก่ยี วขอ้ งควรเตรยี มข้อมลู เพอ่ื เตรียมพร้อมใหส้ อื่ มวลชนอยู่เสมอ โดยเฉพาะ ขอ้ มลู ที่ส�ำคัญๆ เชน่ ตวั เลขสถติ ิ วัน เวลา สถานที่ ชอ่ื บคุ คล เบอรโ์ ทรศัพทต์ ดิ ต่อ เป็นต้น รวมทงั้ สรปุ ประเด็นความส�ำคญั ของความชว่ ยเหลือ รายงานให้กระชบั และเข้าใจง่าย ใชภ้ าษาทปี่ ระชาชนท่วั ไป สามารถเข้าใจ งดใช้ศัพทเ์ ฉพาะ เช่น ศัพทท์ างการแพทยท์ ป่ี ระชาชนไมเ่ ข้าใจ และเลยี่ งการใชอ้ ักษรย่อ ท่ปี ระชาชนวงกวา้ งไมเ่ ขา้ ใจและไม่ทราบความหมาย และยังสามารถรวบรวมสถติ ิตา่ งๆ น�ำเสนอเปน็ อินโฟกราฟิก หรือคลิปวิดีโอส้ันๆ เผยแพร่ผ่านโซเชียลมีเดีย เพื่อสร้างการรับรู้ของประชาชนให้ ครอบคลมุ มากย่ิงข้ึน 97

หนงั สอื ประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารหนว่ ยเคล่ิือนท่เี รว็ ตวั อย่างอนิ โฟกราฟกิ ขอ้ มลู ติดตอ่ ส�ำนกั สารนเิ ทศและสือ่ สารองคก์ ร ส�ำนกั งานบริหาร สภากาชาดไทย ตึกประสงค์ พานิชภักดี สภากาชาดไทย เลขท่ี 1873 ถนนพระรามที่ 4 แขวงปทมุ วัน เขตปทุมวนั กรุงเทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 1664 หรือ 0 2256 4032-6 อีเมล : [email protected] 98

Nationnal Disaster Response Team Handbook Thai Red Cรrะoบsบsก’sารCสoื่อmสmารuขnอiงcสatภioากnาSชyาsดtไeทmย อ�ำนาจ จนิ นั ทยุ า* สราวุธ จนั ทรก�ำเนดิ ** สามารถ นาคยรรยง*** เจา้ หน้าท่วี ทิ ยสุ ือ่ สาร*เจ้าหนา้ ท่วี ิทยุสอ่ื สาร** เจ้าหนา้ ทีร่ ะบบงานคอมพิวเตอร์*** ศนู ย์ปฏิบัตกิ ารภยั พิบตั ิ สภากาชาดไทย สภากาชาดไทย ไดจ้ ดั ต้ังศนู ย์การสือ่ สารสภากาชาดไทย ขนึ้ เมื่อปี พ.ศ. 2529 ท่ีชน้ั 6 อาคาร กองบรรเทาทุกข์ สภากาชาดไทย ได้รับอนุญาตให้ใช้ความถี่วิทยุสื่อสารจากกรมไปรษณีย์โทรเลข จ�ำนวน 2 ความถ่ี คอื ระบบ VHF/FM ทค่ี วามถี่ 148.625 MHz และระบบ HF/SSB ทคี่ วามถี่ 7.757 MHz โดยไดช้ ่อื วา่ “ศนู ย์ไนตงิ เกล” มหี นา้ ท่ตี ิดตอ่ ประสานงานกับลูกขา่ ยไนติงเกลตลอด 24 ช่ัวโมง โดยมี เจา้ หนา้ ท่หี มุนเวียนปฏิบัตงิ าน 3 ผลัด ผลัดละ 3 คน ขนึ้ ตรงตอ่ ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป ส�ำนักงานบรรเทา ทุกข์และประชานามัยพิทักษ์ ต่อมาส�ำนักงานบรรเทาทกุ ข์ฯ มีการปรับโครงสร้างของหนว่ ยงานเม่ือปี พ.ศ. 2542 มกี ารจดั ต้ังศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารภยั พิบตั สิ ภากาชาดไทย ซ่ึงประกอบด้วยงานอ�ำนวยการขอ้ มูล และงานวิทยสุ ื่อสาร (ศนู ยส์ ื่อสารสภากาชาดไทย) มหี น้าทีใ่ นการติดตามสถานการณ์ รวบรวม ขอ้ มูล ข่าวสาร ตลอด 24 ชัว่ โมง พรอ้ มแจง้ ขา่ ว รายงานขอ้ มูล สถานการณ์ ก�ำกบั ควบคมุ ดูแลระบบวทิ ยุ สื่อสารของสภากาชาดไทย พร้อมสนับสนุนบุคลากร และอุปกรณด์ ้านสอื่ สาร / IT โดยน�ำเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สารตา่ งๆเขา้ มาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ิปจั จบุ นั ศนู ยส์ อื่ สารสภากาชาดไทย หรือ ศูนย์วิทยุ “ไนติงเกล” สภากาชาดไทย มีหน้าที่หลักในติดต่อประสานงานกับลูกข่าย ระหว่าง หน่วยงานในสภากาชาดไทย หน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้งในส่วนกลาง - ส่วนภูมิภาค หน่วยงานราชการ และเอกชนอืน่ ๆ เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏิบัตงิ านในถน่ิ ทรุ กันดาร ในภาวะฉกุ เฉินได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและ ทันทว่ งที พรอ้ มจัดใหม้ ีการฝึกอบรมการใชง้ านเครอื่ งวิทยคุ มนาคม การออกบัตรอนญุ าตใหม้ ีและใช้ เครอ่ื งวทิ ยคุ มนาคม การออกปฏิบัตงิ านตรวจเชค็ ดแู ล บ�ำรงุ รักษาเครอื่ งวิทยุคมนาคมและอปุ กรณท์ ่ี เกยี่ วข้องต่างๆ ตามสถานีลกู ข่ายในส่วนภูมิภาค การออกปฏบิ ตั งิ านรถส่ือสารสภากาชาดไทย และ การออกปฏิบัติงานรว่ มกบั หน่วยงานต่างๆ โดยมรี ะบบสื่อสารหลักทีใ่ ชง้ านในปัจจุบันแบง่ ไดด้ งั น้ี 1. ระบบโทรศพั ทพ์ ้นื ฐาน โทรสาร โทรศัพท์มือถือ และเครอื ขา่ ยมหาดไทย 2. ระบบวิทยสุ ื่อสาร / Application Zello 3. รถสื่อสารสภากาชาดไทย 4. ระบบการแจ้งข่าว สถานการณ์ (SMS / Line) 5. การประชมุ ทางไกล (VDO Conference) 99