Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tcu_website

tcu_website

Published by thaimooc, 2020-07-16 07:50:50

Description: tcu_website

Keywords: worksho,tool,learning,education

Search

Read the Text Version

86 บทที่ 3 รูปแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา ข้อท่ี 5 สรุปข้อมูลด้านลักษณะเนือ้ หาท่ีดึงดูดความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ ดงั นี ้ ลกั ษณะเนือ้ หาท่ีดงึ ดูดความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ คือ เนือ้ หากระชับ สนั้ และ ทนั สมยั และ แบง่ เนือ้ หาออกเป็นส่วน ๆ หรือจดั กล่มุ เป็นหมวดหมู่ แผนภาพที่ 3.16 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: เนือ้ หาที่มีการแบง่ เนือ้ หาออกเป็ นส่วน ๆ หรือจดั กลมุ่ เป็นหมวดหมู่ กระชบั สนั้ และทนั สมยั

บทท่ี 3 รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 87 แผนภาพที่ 3.17 เวบ็ ไซต์ต้นแบบ: เนือ้ หาทมี่ ีการแบง่ เนือ้ หาออกเป็ นส่วน ๆ หรือจดั กลมุ่ เป็นหมวดหมู่ กระชบั สนั้ และทนั สมยั www.ThaiCyberU.go.th

88 บทที่ 3 รูปแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา ข้อท่ี 6 สรุปข้อมูลเก่ียวกับข้อมูลมัลตมิ ีเดียด้านภาพประกอบ ดงั นี ้ ลกั ษณะของภาพประกอบ คือ สื่อความหมายกบั ผ้ใู ช้ได้ตรงกบั วตั ถุประสงค์ และ มีความเก่ียวข้องหรือมีความสมั พนั ธ์กบั เนือ้ หา ส่วนภาพประกอบที่ดงึ ดดู ความสนใจ/ส่งเสริม การเรียนรู้ของผ้เู รียน คือ ภาพเคลื่อนไหว แผนภาพท่ี 3. 18 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: ภาพประกอบที่เป็นภาพเคลื่อนไหว ส่ือความหมายกบั ผ้ใู ช้ได้ตรงกบั วตั ถปุ ระสงค์ และ มีความเก่ียวข้องหรือมีความสมั พนั ธ์กบั เนือ้ หา

บทท่ี 3 รูปแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา 89 แผนภาพที่ 3.19 เวบ็ ไซต์ต้นแบบ: ภาพประกอบที่เป็ นภาพเคล่ือนไหว ส่ือความหมายกบั ผ้ใู ช้ได้ตรงกบั วตั ถปุ ระสงค์ และ มีความเกี่ยวข้องหรือมีความสมั พนั ธ์กบั เนือ้ หา www.ThaiCyberU.go.th

90 บทที่ 3 รูปแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา ข้อท่ี 7 สรุปข้อมูลเก่ียวกับความน่าเช่ือถอื ดงั นี ้ ความน่าเชื่อถือ ประกอบด้วย การระบุช่ือผ้จู ดั ทาและอีเมลท่ีจะตดิ ต่อได้ ระบวุ นั ท่ี จดั ทา/แก้ไขเปล่ียนแปลงข้อมลู และระบผุ ลงานท่ีเก่ียวข้องอ่ืน ๆ โดยความน่าเช่ือถือท่ีส่งผล ตอ่ ความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ การระบุชื่อผู้จดั ทาและอีเมลที่จะติดต่อได้ ระบวุ นั ท่จี ดั ทา/แก้ไขเปล่ียนแปลงข้อมลู และระบผุ ลงานทีเ่ กี่ยวข้องอ่ืน ๆ แผนภาพที่ 3.20 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: การระบชุ ่ือผ้จู ดั ทาและอีเมลที่จะตดิ ตอ่ ได้ ระบวุ นั ที่จดั ทา/แก้ไขเปล่ียนแปลงข้อมลู และระบผุ ลงานทเี่ กี่ยวข้องอื่น ๆ

บทท่ี 3 รูปแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 91 ข้อท่ี 8 สรุปข้อมูลเก่ียวกับคุณภาพเนือ้ หา ดงั นี ้ คณุ ภาพเนือ้ หา ควรประกอบด้วย การนาเสนอข้อมลู ตามความเป็ นจริง ไม่มีอคติ นาเสนอข้อมลู ครบถ้วนสมบรู ณ์ และระบุแหล่งที่มาของข้อมลู โดยคณุ ภาพเนือ้ หาที่ส่งผลตอ่ ความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของผ้เู รียน คือ การการนาเสนอข้อมลู ตามความเป็ นจริง ไม่มี อคติ นาเสนอข้อมลู ครบถ้วนสมบรู ณ์ และระบแุ หลง่ ที่มาของข้อมลู แผนภาพที่ 3.21 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: การนาเสนอข้อมลู ตามความเป็ นจริง ไมม่ ีอคติ นาเสนอข้อมลู ครบถ้วนสมบรู ณ์และระบแุ หล่งที่มาของข้อมลู www.ThaiCyberU.go.th

92 บทที่ 3 รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา แผนภาพท่ี 3.22 เวบ็ ไซต์ต้นแบบ: การนาเสนอข้อมลู ตามความเป็ นจริง ไมม่ ีอคติ นาเสนอข้อมลู ครบถ้วนสมบรู ณ์ และระบแุ หล่งท่ีมาของข้อมลู ข้อท่ี 9 สรุปข้อมูลเก่ียวกับการออกแบบระบบนาทาง ดงั นี ้ การออกแบบระบบนาทาง อย่างน้อยควรมี แผงผังเว็บไซต์ เช่น ภาพรวมของ บทเรียน มีทางเลือกให้ผู้ใช้เข้าสืบค้นข้อมูล และมีการเชื่อมโยงกลับไปยังหน้าหลัก โดย ลักษณะระบบนาทางที่ส่งผลต่อความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ มีแผงผัง เว็บไซต์ เช่น ภาพรวมของบทเรียน มีทางเลือกให้ผู้ใช้เข้าสืบค้นข้อมลู และมีการเช่ือมโยง กลบั ไปยงั หน้าหลกั นอกจากนี ้ผ้เู ชี่ยวชาญยงั มีข้อสรุปอีกวา่ ควรมีการบอกตาแหน่งว่าผ้เู รียน อย่สู ว่ นไหนของเวบ็ ไซต์อีกด้วย  แผนภาพที่ 3.23 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: แผงผงั เวบ็ ไซต์ การเชื่อมโยงกลบั ไปยงั หน้าหลกั และการบอกตาแหนง่ วา่ ผ้เู รียนอยสู่ ่วนไหนของเวบ็ ไซต์

บทท่ี 3 รูปแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา 93 แผนภาพท่ี 3.24 เวบ็ ไซต์ต้นแบบ:แผงผงั เวบ็ ไซต์ การเช่ือมโยงกลบั ไปยงั หน้าหลกั และการบอกตาแหน่งวา่ ผ้เู รียนอย่สู ่วนไหนของเวบ็ ไซต์ www.ThaiCyberU.go.th

94 บทท่ี 3 รูปแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา ข้อท่ี 10 สรุปข้อมูลเก่ียวกับข้อมูลมัลตมิ ีเดียด้านเสียง ดงั นี ้ ลกั ษณะของเสียง คือ ออกเสียงได้ชดั เจน มีการใช้เสียงสงู และตา่ และตัวควบกลา้ ท่ี ดี และ ผ้ใู ช้สามารถเลือกหยดุ และเปิดฟังได้ตลอดเวลา โดยเสียงท่ีดงึ ดดู ความสนใจ/ส่งเสริม การเรียนรู้ของผ้เู รียน คือ ผ้ใู ช้สามารถเลือกหยดุ และเปิดฟังเสียงแบคกราวน์ได้ตลอดเวลา แผนภาพที่ 3.25 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: เสียงทอ่ี อกเสียงได้ชดั เจน มีการใช้เสียงสงู และต่า และตวั ควบกลา้ ท่ีดี และ ผ้ใู ช้สามารถเลือกหยดุ และเปิดฟังได้ตลอดเวลา ข้อท่ี 11 สรุปข้อมูลเก่ียวกับข้อมูลมัลตมิ ีเดยี ด้านวีดทิ ัศน์ ดงั นี ้ ลกั ษณะของวดี ทิ ศั น์ คอื ใช้เป็นสว่ นเสริมข้อความและภาพมากกวา่ การใช้เป็ นส่วน หลกั ของเนือ้ หาในเวบ็ ไซต์ และ ผ้ใู ช้สามารถเลือกหยดุ และเปิ ดดไู ด้ตลอดเวลา โดยวีดทิ ศั น์ท่ี ดงึ ดดู ความสนใจ/สง่ เสริมการเรียนรู้ของผ้เู รียน คือ วดิ ีโอคลิปที่สามารถดาวน์โหลดได้ แสดง อย่บู นหน้าจอเวบ็ (ขนาดหน้าจอไม่มากกวา่ 320x265 pixel) และสามารถลิงค์ไปยงั หน้าจอ เว็บใหม่ท่ีมีขนาดใหญ่ (full screen) ส่วนเนือ้ หาในวีดิทศั น์ท่ีดงึ ดูดความสนใจ/ส่งเสริม การเรียนรู้ของผ้เู รียน คือ การอพั เดตนวตั กรรมใหม่ทีเ่ ก่ียวข้องกบั โครงการฯ/หน่วยงานฯ

บทที่ 3 รูปแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 95 แผนภาพที่ 3.26 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: วดิ โี อคลิปท่สี ามารถดาวน์โหลดได้ แสดงอย่บู นหน้าจอเวบ็ (ขนาดหน้าจอไมม่ ากกว่า 320x265 pixel) และสามารถลงิ คไ์ ปยงั หน้าจอเว็บใหมท่ ่ีมีขนาดใหญ่ (full screen) แผนภาพที่ 3.27 เวบ็ ไซต์ต้นแบบ: วดิ ีโอคลิปท่สี ามารถดาวน์โหลดได้ แสดงอย่บู นหน้าจอเวบ็ (ขนาดหน้าจอไมม่ ากกว่า 320x265 pixel) และสามารถลิงคไ์ ปยงั หน้าจอเว็บใหม่ท่มี ีขนาดใหญ่ (full screen) www.ThaiCyberU.go.th

96 บทท่ี 3 รูปแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา ข้อท่ี 12 สรุปข้อมูลเก่ียวกับเคร่ืองมือสนับสนุนการสร้างเวบ็ 2.0 ดงั นี ้ เครื่องมือสนับสนนุ การสร้ างเวบ็ 2.0 ได้แก่ เครื่องมือสนับสนนุ การทางานบนเว็บ (Web application tools) เช่น Blog และ RSS Feed เครื่องมือสาหรับติดต่อส่ือสาร (Communication tools) เช่น Chat, Instant Message, Desktop video conference และ Podcast เครื่องมือส่งเสริมการเป็ นชุมชนออนไลน์ (Community tools) เช่น Webboard, Wiki และ Social Networking ต่าง ๆ และ เครื่องมือที่ช่วยในการแบ่งปันข้อมลู ตา่ ง ๆ (File sharing tools) เช่น Photo sharing, Video sharing, Music Sharing และ Document sharing เป็ นต้น โดยเคร่ืองมือสนับสนุนการสร้ างเว็บ 2.0 ท่ีดึงดูดความสนใจ/ส่งเสริม การเรียนรู้ของผ้เู รียน คือ Blog, Chat/Instant Message และ Wiki แผนภาพท่ี 3.28 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: แผนภาพที่ 3.29 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: Chat, Webboard, Blog และ Wiki Facebook, Twitter และ Rss Feed แผนภาพที่ 3.30 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: Facebook, Twitter และ Webboard

บทท่ี 3 รูปแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 97 แผนภาพท่ี 3.31 เวบ็ ไซต์ต้นแบบ: Webboard แผนภาพท่ี 3.32 เวบ็ ไซตต์ ้นแบบ: Chat แผนภาพท่ี 3.33 เวบ็ ไซตต์ ้นแบบ: Blog www.ThaiCyberU.go.th

98 บทที่ 3 รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา ข้อท่ี 13 สรุปข้อมูลเก่ียวกับข้อมูลด้านประสิทธภิ าพของจดุ เช่ือมโยง ดงั นี ้ ประสิทธิภาพของจุดเช่ือมโยง ได้แก่ เข้าถึงสารสนเทศท่ีต้องการได้อย่างรวดเร็ว และ ควบคมุ การใช้งานได้อย่างง่ายและสะดวกท่ีสดุ โดยข้อมลู ด้านจุดเช่ือมโยงที่ดงึ ดูดความ สนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว และ ควบคมุ การใช้งานได้อยา่ งง่ายและสะดวกท่ีสดุ แผนภาพท่ี 3.34 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: จดุ เช่ือมโยงที่เข้าถงึ สารสนเทศท่ีต้องการ ได้อย่างรวดเร็ว และควบคมุ การใช้งานได้อย่างงา่ ยและสะดวกท่สี ุด

บทที่ 3 รูปแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา 99 แผนภาพที่ 3.35 เวบ็ ไซตต์ ้นแบบ: แผนภาพที่ 3.36 เวบ็ ไซตต์ ้นแบบ: จดุ เช่ือมโยงทเ่ี ข้าถงึ สารสนเทศ จดุ เชื่อมโยงท่ีเข้าถงึ สารสนเทศ ท่ตี ้องการได้อย่างรวดเร็ว และควบคมุ ทต่ี ้องการได้อย่างรวดเร็ว และควบคมุ การใช้งานได้อย่างงา่ ยและสะดวกท่ีสดุ การใช้งานได้อย่างง่ายและสะดวกทีส่ ดุ www.ThaiCyberU.go.th

100 บทท่ี 3 รูปแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา ข้อท่ี 14 สรุปข้อมูลเก่ียวกับข้อมูลด้านการเข้าถงึ ข้อมูล ดงั นี ้ การเข้าถงึ ข้อมลู ควรท่ีจะใช้งานง่าย และ โต้ตอบกบั ผ้เู รียนได้ทนั ที โดยการเข้าถงึ ข้อมลู ทด่ี งึ ดดู ความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของผ้เู รียน คือ ใช้งานง่าย และ โต้ตอบกบั ผ้เู รียน ได้ทนั ที แผนภาพท่ี 3.37 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: การเข้าถงึ ข้อมลู ที่ใช้งานง่าย และ โต้ตอบกบั ผ้เู รียนได้ทนั ที

บทที่ 3 รูปแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา 101 แผนภาพท่ี 3.38 เวบ็ ไซต์ต้นแบบ: แผนภาพที่ 3.39 เวบ็ ไซต์ต้นแบบ: การเข้าถงึ ข้อมลู ทใ่ี ช้งานง่าย การเข้าถงึ ข้อมลู ทีใ่ ช้งานง่าย และ โต้ตอบกบั ผ้เู รียนได้ทนั ที และ โต้ตอบกบั ผ้เู รียนได้ทนั ที www.ThaiCyberU.go.th

102 บทที่ 3 รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา ข้อท่ี 15 สรุปข้อมูลเก่ียวกับการทดสอบการใช้งาน ดงั นี ้ การทดสอบการใช้งาน ควรท่ีจะทดสอบการออกแบบ การเช่ือมโยง(Links) เนือ้ หา (Content) และการเข้าถึงข้อมลู โดยการทดสอบการใช้งานท่ีดงึ ดดู ความสนใจ/ส่งเสริมการ เรียนรู้ของผ้เู รียน คือ ใช้งานงา่ ย และ โต้ตอบกบั ผ้เู รียนได้ทนั ที การออกแบบ การเช่อื มโยง(Link) และการเข้าถงึ ข้อมลู เนือ้ หา (Content) แผนภาพท่ี 3.40 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: การทดสอบการออกแบบ การเชื่อมโยง (Links) เนือ้ หา (Content) และการเข้าถงึ ข้อมลู

บทที่ 3 รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 103 การออกแบบ การเช่อื มโยง(Link) และการเข้าถึงข้อมลู เนือ้ หา (Content) แผนภาพที่ 3.41 เวบ็ ไซตต์ ้นแบบ: การทดสอบการออกแบบ การเช่ือมโยง(Links) เนือ้ หา (Content) และการเข้าถงึ ข้อมลู การออกแบบ การเช่อื มโยง(Link) และการเข้าถงึ ข้อมูล เนือ้ หา (Content) แผนภาพที่ 3.42 เวบ็ ไซต์ต้นแบบ: การทดสอบการออกแบบ การเช่ือมโยง(Links) เนือ้ หา (Content) และการเข้าถงึ ข้อมลู www.ThaiCyberU.go.th

104 บทท่ี 3 รูปแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา ข้อท่ี 16 สรุปข้อมูลเก่ียวกับคุณภาพในการออกแบบ ดงั นี ้ คณุ ภาพในการออกแบบ คือ การเข้าถึงข้อมลู โดยคุณภาพในการที่ดงึ ดูดความ สนใจ/สง่ เสริมการเรียนรู้ของผ้เู รียน คือ การเข้าถงึ ข้อมลู การเข้าถงึ ข้อมูล แผนภาพที่ 3.43 รูปแบบของเวบ็ ไซต์: การเข้าถงึ ข้อมลู

บทท่ี 3 รูปแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 105 แผนภาพที่ 3.44 เวบ็ ไซตต์ ้นแบบ: แผนภาพที่ 3.45 เวบ็ ไซต์ต้นแบบ: การเข้าถงึ ข้อมลู การเข้าถงึ ข้อมลู www.ThaiCyberU.go.th

106 บทที่ 3 รูปแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา 2. การนาเสนอรูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษาท่ีแบ่งเป็ น 3 ด้านเพ่อื การนาไปใช้ เพ่ือให้ เข้ าใจง่ายต่อการนาข้ อสรุปใน 16 ประเด็นไปใช้ ในการพิจารณา การออกแบบ การพฒั นา ตลอดจนการประเมินผลรูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษาท่ีชดั เจน จึง นาทงั้ 16 ประเดน็ มาแบง่ กลมุ่ เป็น 3 ด้านหลกั ๆ คอื กลุ่มท่ี 1 ด้านการออกแบบมัลติมีเดีย (Multimedia Design) ประกอบด้วย 5 ประเด็นย่อยได้แก่ มัลติมีเดียด้านพืน้ หลัง มัลติมีเดียด้านตัวอักษร มัลติมีเดียด้าน ภาพประกอบ มลั ตมิ ีเดียด้านเสียง และมลั ตมิ ีเดียด้านวีดิทศั น์ กล่มุ ท่ี 2 ด้านการออกแบบเนือ้ หา (Content Design) ประกอบด้วย 5 ประเด็น ย่อยได้แก่ มลั ตมิ ีเดียด้านการออกแบบเนือ้ หา ด้านลกั ษณะเนือ้ หาที่ดงึ ดดู ความสนใจและ สง่ เสริมการเรียนรู้ ความน่าเชื่อถือ และคณุ ภาพเนือ้ หา กล่มุ ที่ 3 ด้านการออกแบบส่วนต่อประสานสาหรับเวบ็ ไซต์ (Website Interface Design) ประกอบด้วย 7 ประเดน็ ย่อยได้แก่ มลั ติมีเดียด้านการออกแบบจดุ เชื่อมโยง การ ออกแบบระบบนาทาง เครื่องมือสนับสนุนการสร้ างเว็บ 2.0 ด้านประสิทธิภาพของจุด เชื่อมโยง ด้านการเข้าถึงข้อมูล การทดสอบการใช้งาน และคุณภาพในการออกแบบ มี รายละเอียดดงั แสดงในแผนภาพท่ี 3.46

บทท่ี 3 รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 107 แผนภาพท่ี 3.46 ภาพรวมรูปแบบเว็บไซตฯ์ 16 ประเดน็ แบง่ เป็น 3 ด้านเพื่อการนาไปใช้ www.ThaiCyberU.go.th

108 บทที่ 3 รูปแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 3. การนาเสนอความพงึ พอใจต่อรูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา ในภาพรวมของการประเมินความพึงพอใจต่อรูปแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา ท่ีมี การนา 16 ประเด็นซึ่งแบ่งเป็ น 3 ด้านหลกั ไปใช้ในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ทาง การศกึ ษานนั้ ความพึงพอใจเวบ็ ไซต์ของผ้เู รียนท่ีมีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนอย่ใู นระดบั มาก เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน ผ้เู รียนมีความพงึ พอใจด้านเนือ้ หาบทเรียนสงู สดุ รองลงมาคือ ความพึงใจด้านการออกแบบ และด้านการจดั รูปแบบตามลาดบั รายละเอียดดังแสดงใน ตารางท่ี 3.1 และแผนภาพท่ี 3.47 ตารางท่ี 3.1 แสดงภาพรวมของการประเมินความพงึ พอใจเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา รายการประเมิน ระดบั ความพงึ พอใจ 1. ด้านการจัดรูปแบบ ค่าเฉล่ีย S.D. แปลผล 2. ด้านเนือ้ หาบทเรียน 3. ด้านการออกแบบ 4.06 .63 มาก 4. ด้านการประเมนิ ผล 4.25 .53 มาก เฉล่ีย 4.08 .53 มาก 3.94 .71 มาก 4.08 .55 มาก โดยด้านการจดั รูปแบบประกอบด้วย (1) เวบ็ ไซต์มีรูปแบบการนาเสนอที่เหมาะสม และมีความน่าสนใจ (2) เว็บไซต์มีรูปแบบการจดั วางในตาแหน่งที่เหมาะสม (3) เว็บไซต์ มีรูปแบบการจัดปริมาณเนือ้ หาในแต่ละหน้าที่เหมาะสม และ (4) เว็บไซต์มีรูปแบบ การจดั ลาดบั ขนั้ ตอน ของเนือ้ หาทเี่ หมาะสมและเข้าใจงา่ ย ด้านเนือ้ หาบทเรียนประกอบด้วย (1) เนือ้ หามีความสอดคล้องและครอบคลุม วตั ถุประสงค์ (2) เนือ้ หาบทเรียนมีการแบ่งหวั ข้อที่ถูกต้องเหมาะสม (3) เนือ้ หาบทเรียนมี การจัดเรียงลาดบั ขัน้ ตอน อย่างต่อเน่ือง เข้าใจง่าย (4) เนือ้ หาบทเรียนในแต่ละส่วนมี ความสมั พนั ธ์กนั (5) เนือ้ หาบทเรียนมีความยาก ง่าย เหมาะสมกบั ระดบั ความรู้ของผ้เู รียน (6) ภาษาทใ่ี ช้เหมาะสม ชดั เจน ถกู ต้อง สามารถสื่อให้ผ้ชู มเข้าถึงอารมณ์และ บรรยากาศใน การเรียน และ (7) เนือ้ หาบทเรียนมีประโยชน์ต่อการค้นคว้าเพ่ิมเติม และให้ความรู้ทวั่ ไป ในวงกว้าง

บทที่ 3 รูปแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา 109 ด้านการออกแบบประกอบด้วย (1) รูปแบบตวั อกั ษรที่ใช้อ่านง่าย เหมาะสมและ กลมกลืน (2) ภาพประกอบสื่อความหมายตรงวตั ถุประสงค์ของเนือ้ หาบทเรียน (3) ใช้สี กลมกลืนในทุก ๆ หน้า และสามารถส่ือความหมายชดั เจน (4) ใช้ป่ ุม และไอคอน ท่ีส่ือ ความหมายชัดเจนและวางในตาแหน่งที่เหมาะสม (5) มีการจดั องค์ประกอบโดยรวมอย่าง กลมกลืน มีเอกลักษณ์ท่ีชดั เจน (6) มีการเชื่อมโยงข้อมูลภายในที่เหมาะสม และ (7) มี การเช่ือมโยงข้อมลู ภายนอกท่ีเหมาะสม ด้านการประเมินผลประกอบด้วย (1) มีการกาหนดวิธีการประเมินผลที่ชดั เจน (2) มีการประเมินผลที่เหมาะสม (3) มีการประเมินผลท่ีหลากหลาย และ (4) มีการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีในการประเมินผลอยา่ งเหมาะสม แผนภาพที่ 3.47 ภาพรวมของคา่ เฉลี่ยความพงึ พอใจที่มีตอ่ เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา www.ThaiCyberU.go.th

110 บทที่ 3 รูปแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา บทสรุป จากงานวิจัยของจินตวีร์ คล้ายสังข์ (2553) ได้มีการนาเสนอข้อสรุปเก่ียวกับ รูปแบบเว็บไซต์ทางการศึกษาท่ีสาคัญ 16 ประเด็นท่ีเป็ นการเรียงลาดับตามขัน้ ตอน การออกแบบและพฒั นาเว็บไซต์ ซง่ึ เหมาะสมสาหรับนกั พฒั นาเวบ็ ไซต์ที่จะนาไปใช้ และได้ นา 16 ประเด็นมาแบ่งกลุ่มเป็ น 3 ด้านหลัก ๆ คือ ด้านการออกแบบมัลติมีเดีย ด้านการออกแบบเนือ้ หา และด้านการออกแบบส่วนต่อประสานสาหรับเวบ็ ไซต์ ทงั้ นีเ้ พื่อให้ ผ้ทู ี่จะนาไปใช้เข้าใจง่ายต่อการนาข้อสรุปใน 16 ประเด็นไปใช้ในการพิจารณาการออกแบบ การพัฒนา ตลอดจนการประเมินผลรูปแบบเว็บไซต์ทางการศึกษาที่ชัดเจน รวมทงั้ ได้มี การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อรูปแบบของเว็บไซต์ทางการศึกษาที่มีการนา 16 ประเดน็ ซง่ึ แบง่ เป็น 3 ด้านหลกั ไปใช้ในการออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษาด้วย

บทที่ 4 การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 111 การศึกษาแบบอีเลิร์นนิงมีองค์ประกอบท่ีสาคญั 4 ส่วน คือเนือ้ หาของบทเรียน ระบบบริหารจดั การการเรียนการสอน การตดิ ตอ่ สื่อสาร และ การสอบ/วดั ผลการเรียน ซง่ึ เมื่อ นามาประกอบเข้าด้วยกันแล้วทงั้ ระบบจะทางานประสานกันได้อย่างลงตวั ทงั้ นีใ้ นยุคของ การเรียนการสอนผ่านเวบ็ (Web based Learning) หรือผ่านทางอินเทอร์เน็ตนนั้ ส่วนใหญ่ จะเป็ นการสร้ าง standalone website เพ่ือใช้เป็ นศูนย์กลาง กาหนดลาดบั ของเนือ้ หาใน บทเรียน นาส่งบทเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยงั ผู้เรียน ประเมินผลความสาเร็จของ บทเรียน ควบคุม และสนับสนุนการให้บริการทงั้ หมดแก่ผู้เรียน จึงถือเป็ นองค์ประกอบที่ สาคญั มากของการเรียนการสอนท่ีสนบั สนนุ ให้ผ้เู รียนได้ศกึ ษาเรียนรู้ เมื่อการศกึ ษาทางไกล พฒั นามาจากยคุ ท่ีส่ี (การเรียนการสอนผ่านเว็บ) เข้าส่ยู ุคปัจจบุ นั คือการเรียนการสอนแบบ อีเลิร์นนิงที่เน้นการใช้เทคโนโลยีทกุ ประเภทของอินเทอร์เน็ต อาทิ เวิล์ด ไวด์ เว็บ (WWW), อีเมล (Email) ห้องสนทนา (Chat) ห้องประชมุ (Forum/Discussion) กล่มุ ผ้สู นใจ (Mailing List) ป้ ายประกาศ (Bulletin Board/Announcement) ห้องสมดุ ดิจิทลั (Digital Library) อินเทอร์เน็ตแบบทงั้ ออนไลน์และออฟไลน์ (On-line and Off-line Internet) การประกาศ คะแนนทางอินเทอร์เน็ต (e-Gradebook) การสอบทางอินเทอร์เน็ต (e-Exam) และระบบ วดิ โี อคอนเฟอร์เรนทห์ รือกล้องอนิ เทอร์เนต็ (Webcam) สาหรับการจดั ประชมุ ทางไกล เป็ นต้น จะเห็นได้ว่าในยุคนีจ้ ะเน้นที่การเรียนการสอนที่ผู้เรี ยนมีส่วนร่วม (Active) มีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กบั ผู้สอน ผู้เรียนด้วยกันเอง บทเรียน จึงทาให้ระบบบริหารจดั การการเรียน การสอน (Learning Management System) เช่น Moodle LMS, Blackboard LMS เข้ามามี บทบาทมากยิง่ ขนึ ้ เน่ืองจากตวั ระบบมีเครื่องมือทส่ี นบั สนนุ กิจกรรมการเรียนการสอนดงั กล่าว ในขณะที่การพฒั นา Standalone website จะยงั มีข้อจากดั ในเคร่ืองมือดงั กล่าวอยู่ www.ThaiCyberU.go.th

112 บทที่ 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ นอกจากนี ้ วิธีการพฒั นาเวบ็ ไซต์อีกรูปแบบหน่ึงท่ีได้รับความนิยมคือ การพฒั นา เวบ็ ไซต์ด้วยระบบบริหารจดั การเว็บไซต์ (Content Management System: CMS) ที่นอกจาก จะสามารถพัฒนาเว็บไซต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ยงั อานวยความสะดวกในเร่ืองของ การบริหารจดั การข้อมูลบนเว็บไซต์ CMS ท่ีนิยมอย่างแพร่หลาย เช่น Joomla! เป็ น CMS แบบ Open source สามารถ download มาใช้งานได้ฟรี เมื่อเปรียบเทียบการพัฒนา เว็บไซต์ด้วย Joomla! กับซอร์ฟแวร์พัฒนาเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เป็ นท่ีนิยม เช่น Macromedia Dreamweaver แล้ว พบวา่ Joomla! มีข้อได้เปรียบในเรื่องของการดแู ล เปล่ียนแปลง แก้ไข และอพั เดทข้อมูล โดยเว็บไซต์ท่ีพัฒนาจากโปรแกรม Dreamweaver นนั้ จะมีความยุ่งยาก กว่า (ต้องแก้ไฟล์และอพั โหลดใหม่ขึน้ server) การเพ่ิมโครงสร้ างเว็บไซต์ และเมนตู ่าง ๆ เว็บไซต์ ในขณะที่เว็บไซต์ท่ีพัฒนาขึน้ จากระบบ CMS จะช่วยลดภาระ และอานวยความ สะดวกรวดเร็วให้กบั ผ้ดู แู ลเวบ็ ไซต์ (Webmaster) และมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขนึ ้ และสามารถ รองรับการใช้งานได้หลากหลาย ไม่วา่ จะเป็ นเวบ็ ไซต์ส่วนตวั หรือเวบ็ ไซต์ขององค์กร เป็ นต้น (จินตวรี ์ มนั่ สกลุ , 2551) CMS และ LMS การสร้ างเว็บไซต์นัน้ มีด้ วยกันหลายวิธี อาจแบ่งได้ ตามยุคตามสมัยของ อินเทอร์เน็ตที่เปล่ียนไป เริ่มตงั้ แต่พัฒนาด้วยการเขียนเว็บด้วยภาษา HTML เองทงั้ หมด การใช้ซอฟตแ์ วร์สาเร็จรูปทม่ี ีขายในท้องตลอด หรือการจ้างนกั พฒั นามืออาชีพเข้ามาจดั การ เว็บไซต์ ซึ่งแต่ละวิธีจะมีจุดเด่น/ข้อจากัดแตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็ น ระยะเวลาใน การสร้ างเว็บไซต์ ต้นทุน ความรู้ด้านโปรแกรม ซ่ึงเป็ นหน้าท่ีของผู้มีอานาจตัดสินใจใน การเลือกวธิ ีท่ีเหมาะสมกบั หน่วยงาน ของตวั เอง วธิ ีเขียนภาษา HTML ทงั้ หมดด้วยตวั เองนนั้ ยุ่งยากและเสียเวลาในการพัฒนามาก ดงั นัน้ วิธีท่ีนิยมกว่าคือการใช้ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป อย่างเช่น Dreamweaver หรือ FrontPage ช่วยในการดีไซน์เว็บไซต์ แตว่ ธิ ีนีจ้ ะมีข้อจากดั ใน กรณีที่เป็ นเว็บไซต์ขนาดใหญ่ ผู้พัฒนาระบบต้องมีความรู้และเชี่ยวชาญด้านโปรแกรมม่ิง พอสมควรจงึ จะสามารถ พฒั นาระบบตามความต้องการของเว็บไซต์ท่ีใหญ่และซบั ซ้อนขึน้ เร่ือย ๆ ได้ สาหรับวิธีการจ้างนักพฒั นามืออาชีพนนั้ ถึงแม้จะรองรับความต้องการของลูกค้า ในเร่ืองคุณสมบัติและหน้าตาของเว็บไซต์ได้เป็ นอย่างดี แต่ลูกค้าจะประสบปัญหาเ มื่อ ต้องการอัพเดตเนือ้ หา เน่ืองจากการอัพเดตทาได้ยาก และทาให้มีค่าใช้จ่ายต่อเน่ืองใน การจ้างผู้พฒั นาให้ตามอพั เดตหรือตามดแู ละระบบอย่างไม่มีที่ สิน้ สุด จึงส่งผลให้เว็บไซต์ จานวนมากไม่มีการอพั เดท และนาไปสู่ความล้มเหลวในการจัดทาเว็บไซต์ขององค์กรได้

บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 113 อีกทงั้ การพฒั นาเวบ็ ไซตแ์ บบเดมิ ๆ ยงั มีข้อจากดั อีกประการคือ ไมไ่ ด้แยกส่วนโครงสร้ างของ เว็บไซต์ ส่วนการแสดงผลและส่วนเนือ้ หาออกจากกนั จึงไม่สามารถแยกแก้ไขเฉพาะส่วนได้ ส่งผลในระยะยาวทาให้เว็บที่แก้ไขอาจหน้าตาไม่เหมือนกนั ทงั้ หมด หรือการแก้ไขลิงค์ทาได้ ยาก เกิดปัญหาลิงค์ตาย (Dead link) ทาให้ผ้เู ข้าชมเว็บไม่สามารถเข้าถงึ ข้อมลู ที่ต้องการได้ เมื่อเวลาผ่านไป จึงมีแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์แบบกึ่งสาเร็จรูป โดยนาระบบบริหาร จดั การข้อมลู เว็บไซต์ (Content Management System) หรือ CMS มาช่วยแก้ไขปัญหา ดงั กล่าว (จินตวีร์ มนั่ สกลุ , 2551) 1. CMS: Content Management System CMS หรือ Content Management System เป็นระบบทีน่ ามาช่วยในการสร้ างและ บริหารเวบ็ ไซต์แบบสาเร็จรูป โดยในการใช้งาน CMS นนั้ ผ้ใู ช้งานแทบไม่ต้องมีความรู้ในด้าน การเขียนโปรแกรม ก็สามารถสร้ างเว็บไซต์ได้ โดยที่ตวั CMS เองมีโปรแกรมประยุกต์ แบบ พร้ อมใช้งานอย่ภู ายในมากมายอาทิ ระบบจดั การบทความและข่าวสาร(News and Story) ระบบจัดการบทวิจารณ์ (Review), ระบบจัดการสมาชิก(Member) ระบบสืบค้นข้อมูล (Search) ระบบจดั การไฟล์ดาวน์โหลด(Download), ระบบจดั การป้ ายโฆษณา (Banner), ระบบการวิเคราะห์และตรวจสอบสถิติความนิยมในเว็บไซต์ (Analysis, Tracking and Statistics) เป็นต้น ปัจจบุ นั ซอฟตแ์ วร์ท่ีใช้สร้าง CMS มีหลายตวั ด้วยกนั เชน่ Wordpress.org แผนภาพท่ี 4.1 แสดง CMS: Wordpress.org www.ThaiCyberU.go.th

114 บทที่ 4 การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ Wordpress เดมิ เป็นเพียงซอฟต์แวร์ช่วยสร้างบลอ็ ก ซงึ่ เขียนด้วยภาษาพีเอชพีและ ใช้ฐานข้อมลู MySQL และต่อมาได้มีการพัฒนาความสามารถให้หลากหลายมากขึน้ กว่า การสร้างบล็อกเพียงอย่างเดียว โดยปัจจบุ นั WordPress ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมากจาก บล็อกเกอร์ทว่ั โลก เน่ืองจากเป็นระบบที่มีความยืดหย่นุ ในการใช้งาน อีกทงั้ ยงั มีผ้ทู ี่สร้ างปลก๊ั อิน (โปรแกรมเสริม) ธีม (รูปแบบการแสดงผล) รวมทงั้ ระบบอื่น ๆ ที่สามารถใช้งานร่วมกบั WordPress ได้เป็ นจานวนมาก จึงทาให้ WordPress ได้รับความนิยมอย่างยิ่ง มีหน่วยงานที่ มีช่ือเสียงหลายแห่งด้วยกันท่ีได้ใช้บริการของ Wordpress ในการช่วยสร้ างเว็บไซต์ ตวั อยา่ งเชน่ CNN ซงึ่ ใช้บริการ Wordpress เชน่ เดียวกนั แผนภาพท่ี 4.2 แสดง CMS: Wordpress.org Drupal เป็ น software ประเภท web-based content management system โดยที่เนือ้ หาต่าง ๆและ pointer ของเนือ้ หา (text) จะถูกเก็บในฐานข้อมลู ซง่ึ เป็ นรูปแบบ Dynamic (dynamically retrieved and composed) และแสดงเนือ้ หาหรือ content แก่ผ้ใู ช้ ทาง web browser เนือ้ หาใน Drupal สามารถสร้ างโดยผู้ใช้จาก individual nodes เช่น node story ผ้ใู ช้สามารถใส่ comment เป็ นต้น ขึน้ อย่กู บั ว่า site นีจ้ ะตงั้ ค่าอย่างไร บางที การเพิ่ม node ใหม่หรือการใส่ comment อาจจะไม่ได้รับอนญุ าต ในขณะเดียวกนั node หรือ comment อาจต้องได้รับการอนญุ าตจากผู้ดแู ลก่อนที่ node หรือ comment จะถูก แสดงผล ซง่ึ Drupal layout (\"Theme\") ท่ีเป็ น default ประกอบด้วย 3 คอลมั น์ โดยที่

บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 115 คอลมั น์กลางจะเป็ นส่วนของ content column ส่วนคอลมั น์ทางซ้ายและขวาก็คือ sidebar ซงึ่ sidebar จะแสดง block และ Block จะประกอบไปด้วย link ที่จะชีไ้ ปยงั node อื่น ๆ เช่น block ในการแสดงข้อความ post ล่าสดุ หรือที่นยิ มทีส่ ดุ แผนภาพที่ 4.3 แสดง CMS: Drupal แผนภาพที่ 4.4 ตวั อย่างเวบ็ ไซตข์ อง GCCA ทีส่ ร้างด้วย Drupal www.ThaiCyberU.go.th

116 บทที่ 4 การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ Google Sites เองก็เป็ น software ประเภท web-based content management system เช่นเดียวกบั Drupal Google Site เป็ นอีกบริการหน่งึ ของ Google ที่เปิ ดให้บริการ พืน้ ที่ทาเว็บไซต์แบบง่าย ๆ มี template แบบสาเร็จให้เลือกภายในคลิกเดียว มีข้อจากดั บ้าง ในส่วนท่ีไม่สามารถปรับแต่งรูปแบบตามความต้องการได้มากนัก ต้องใช้รูปแบบที่ทาง Google มีให้เท่านนั้ (แต่ก็สามารถปรับแต่งสีในส่วนปลีกย่อยได้) และไม่สามารถใช้ร่วมกับ ระบบฐานข้อมลู เช่น MySQL ได้ แต่ก็มีข้อดีที่การใช้งานง่าย ทาให้ผ้ทู ่ีไม่มีความรู้เก่ียวกบั การสร้างเวบ็ สามารถสร้ างเวบ็ ไซต์ของตนเองได้อย่างง่ายดายเหมือนกบั การเขียนบล็อกบน เวบ็ แผนภาพที่ 4.5 แสดง Google Site Mambo เป็ นระบบ CMS ซงึ่ ครัง้ หน่ึงเคยเป็ นต้นแบบของ Joomla! จึง มีระบบ การทางานท่คี ล้ายคลงึ กนั แม้วา่ ปัจจบุ นั อาจจะไม่ได้รับความนิยมมากเหมือนแตก่ ่อนแตก่ ็ยงั มีผู้พฒั นา Extention ตา่ ง ๆ ให้อย่างต่อเน่ือง ถ้าสังเกตจากตวั อย่างก็จะพบว่าเว็บไซต์มี โครงสร้างคล้ายคลงึ กบั Joomla! พอสมควร

บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 117 แผนภาพท่ี 4.6 แสดง CMS: Mambo แผนภาพท่ี 4.7 แสดงตวั อย่างเวบ็ ไซต์ท่สี ร้างโดย Mambo www.ThaiCyberU.go.th

118 บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ Joomla! เป็ น CMS ระบบหนงึ่ ที่ได้รับความนิยมมากในปัจจบุ นั สามารถปรับแตง่ รูปแบบหน้าเวบ็ ได้ตามต้องการ พร้อมทงั้ มีฟังก์ชนั ให้ใช้งานมากมาย เช่น จดั การสร้ างเนือ้ หา ให้กับเว็บไซต์ หรือสร้ างโพลสารวจความคิดเห็น ปรับแตง่ เทมเพลต และอ่ืน ๆ ที่ช่วยสร้ าง เวบ็ ไซต์ที่สวยงามได้อย่างรวดเร็ว แผนภาพที่ 4.8 แสดง CMS: Joomla! แผนภาพท่ี 4.9 แสดงตวั อยา่ งเวบ็ ไซต์ทส่ี ร้างโดย Joomla!

บทที่ 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 119 แผนภาพที่ 4.10 ท่ีหน้า Joomla! Homepage > คลิก Get started with Joomla! > เลือกชมเวบ็ ไซต์ท่ีพฒั นาด้วย Joomla!> The Graduate School of Arts and Sciences, Harvard University Website: http://gsas.harvard.edu สรุปได้วา่ เวบ็ ไซต์ในรูปแบบ CMS มีจดุ เด่นคือ การใช้งานได้ฟรี (Open Source) และการใช้งานได้ง่าย สะดวก นอกจากนี ้ CMS ยังมี extension เสริมการทางานตา่ ง ๆ เช่น ปลกั๊ อิน และเทมเพลตต่าง ๆ การออกเวอร์ชน่ั (patch) สาหรับแก้ไขช่องโหวต่ ่าง ๆ รวมถึง การอบั เดทข้อมลู ด้านความปลอดภยั อีกด้วย นอกจากนี ้ ยังพบว่าระบบบริหารจัดการการเรี ยนการสอน (Learning Management System) ตอบสนองต่อความต้องการของทุกสถาบันที่ต้องการส่งเสริม การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง แต่ยงั มีข้อจากดั เร่ืองของผู้สอนที่มีขีดจากดั ในการพัฒนา website ของตนเอง ผ้สู อนสามารถพฒั นา course website ของตนผ่านระบบบริหารจดั การ การเรียนการสอน (Learning Management System) ที่มีระบบรักษาความปลอดภยั (user name and password required) มีการเก็บข้อมูลผู้เรียนอย่างเป็ นระบบ (students’ records) อีกทัง้ ระบบติดตามผู้เรียน (students’ tracking) และในเรื่องของ common platform ที่ผ้เู รียนสามารถเข้าไปท่ี website แหง่ เดียว และสามารถเข้าเรียนได้ในทกุ ๆ วชิ า กล่าวโดยรวมแล้วระบบ LMS จะทาหน้าท่ีเป็ นศนู ย์กลางตงั้ แตผ่ ู้เรียนเริ่มเข้ามาเรียน โดย จัดเตรียมหลักสูตร และบทเรียนในทุก ๆ วิชาเอาไว้พร้ อมที่จะให้ผู้เรียนได้เข้ามาเรียน www.ThaiCyberU.go.th

120 บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ เมื่อผ้เู รียนได้เริ่มต้นบทเรียนแล้วระบบจะเร่ิมทางานโดยส่งบทเรียนตามคาขอของผ้เู รียนผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ไปแสดงท่ีเวบ็ บราวเซอร์ (Web browser) ของผ้เู รียน จากนนั้ ระบบก็ จะตดิ ตามและบนั ทกึ ความก้าวหน้า รวมทงั้ สร้างรายงานกจิ กรรมและผลการเรียนของผ้เู รียน ในทกุ หนว่ ยการเรียนอย่างละเอียดจนกระทง่ั จบหลกั สตู ร (Monsakul, 2006) 2. LMS: Learning Management System LMS หรือ Learning Management System คือ ระบบท่ีนาเสนอความรู้ จดั เก็บ ข้อมูลเพื่อติดตามส่ิงต่าง ๆ ท่ีเกิดขึน้ และ สนบั สนุนการจัดการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงให้ ดาเนินไปด้วยความเรียบร้ อยโดยเป็ นสภาพแวดล้อมการเรียนการสอน เป็ นเคร่ืองมือให้กบั อาจารย์ (teacher) นกั เรียน(student) รวมทงั้ ผู้ดแู ลระบบ (administrator) เช่น การสร้ าง บทเรียน การสร้ างกิจกรรมออนไลน์ การสร้ างแบบทดสอบออนไลน์ การจัดการประเมิน ออนไลน์ การตรวจสอบเวลาเรียนของผ้เู รียน การตรวจสอบการทากิจกรรมให้คะแนนผ้เู รียน เป็ นต้น ทาให้เกิดความสะดวกในการจดั การเรียนการสอน อีเลิร์นนิง เมื่อเปรียบเทียบกบั ใน อดีตท่ีไม่มีระบบจัดการเรียนรู้อาจารย์จะต้องพฒั นาเว็บไซต์ท่ีมีความสามารถใกล้เคียงกับ ระบบจดั การเรียนรู้ขนึ ้ มาเอง ซงึ่ ต้องใช้ทงั้ เวลาและงบประมาณจานวนมาก ระบบ Blackboard จะเป็ นระบบที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้นิสิตใช้อยู่เป็ น ประจา เป็ น LMS รูปแบบหน่ึงซงึ่ มีการให้นิสิตเลือกบทเรียน สามารถดาวน์โหลดเอกสาร หรือส่งงานต่าง ๆ บนระบบได้ มีการทาแบบทดสอบและทราบผลในสมุดคะแนนทันที และมีระบบการติดต่อส่ือสาร การประเมินผ่านทางออนไลน์ท่ีมีประสิทธิภาพ เป็ นต้น อย่างไรก็ตามระบบ Blackboard ก็มีข้อจากัดท่ีเป็ นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ ต้องมีการเสีย คา่ ใช้จา่ ยในการใช้

บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 121 แผนภาพที่ 4.11 แสดงตวั อยา่ ง LMS: Blackboard แผนภาพที่ 4.12 แสดงตวั อย่าง LMS: Blackboard ระบบท่ีใช้ในการเรียนอีเลิร์นนิงของโครงการมหาวทิ ยาลยั ไซเบอร์ไทยก็เป็ น LMS รูปแบบหนึ่งท่ีพัฒนาขึน้ มาเองเพ่ือตอบสนองความต้องการ และยังได้มีการเผยแพร่เพ่ือให้ ผ้อู ่ืนได้นาไปใช้ตอ่ ไปอีกด้วย www.ThaiCyberU.go.th

122 บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ แผนภาพท่ี 4.13 แสดงตวั อย่าง LMS: TCU สาหรับในต่างประเทศเองก็มีโครงการท่ีได้พฒั นา LMS ขนึ ้ มาเพ่ือเป็ นส่ือกลางให้ สถานศึกษาต่าง ๆ นาไปใช้ เช่นเดียวกับแนวคดิ ของ TCU คือ Sakai Project ที่ให้ความ ชว่ ยเหลือและสนบั สนนุ สถานศกึ ษาต่าง ๆ ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ โดยใช้ระบบ Sakai ได้เลย และมีการจดั การประกวดผลงานของแตล่ ะสถาบนั ด้วย แผนภาพที่ 4.14 แสดงตวั อยา่ ง Sakai Project

บทที่ 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 123 ATutor เป็ น LMS ท่ีได้รับการออกแบบให้สามารถใช้งาน และปรับแต่งระบบได้ ตามความต้องการของผ้ใู ช้ ช่วยให้ผ้สู อนสามารถทาการพฒั นาเนือ้ หาแบบออนไลน์ได้อย่าง งา่ ยดาย เพ่ือการนาเสนอในรูปแบบทเ่ี ป็นโครงสร้าง สามารถปรับเปล่ียนได้ ช่วยให้ผ้เู รียนเข้า ส่เู นือ้ หาได้หลากหลายขนึ ้ ในรูปแบบ วธิ ีการ ของส่ือการเรียนรู้ ตามความชอบของตน แผนภาพท่ี 4.15 แสดงตวั อย่าง LMS: ATutor Moodle เป็ น LMS ระบบหนึ่งท่ีได้รับความนิยมมากที่สุดในปั จจุบัน สามารถ ออกแบบรายวชิ าได้ตามต้องการ พร้ อมทงั้ มีฟังก์ชนั ให้ใช้งานมากมาย เช่น จดั การสร้ างบทเรียน หรือสร้ างแบบทดสอบ และอื่น ๆ ซึ่งสามารถช่วยอาจารย์จัดการเรียนการสอนได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ www.ThaiCyberU.go.th

124 บทที่ 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ แผนภาพท่ี 4.16 แสดงตวั อย่าง LMS: Moodle แผนภาพท่ี 4.17 แสดงตวั อยา่ ง LMS: Moodle

บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 125 แผนภาพที่ 4.18 แสดงตวั อยา่ ง LMS: Moodle อย่างไรก็ตามถ้าสงั เกตตวั อย่างแตล่ ะเว็บไซต์ให้ดีจะเหน็ วา่ Moodle จะมีข้อจากดั ด้านการออกแบบโครงสร้างที่คอ่ นข้างตายตวั ไมค่ อ่ ยมีความสวยงามเท่ากบั CMS ต่าง ๆ แต่ ถ้าผู้ใช้มีความสามารถในการออกแบบและเข้ าใจการเขียนเว็บไซต์ก็สามารถปรับแต่งให้ เวบ็ ไซตใ์ ห้มีความแตกตา่ งและสวยงามได้เช่นเดียวกนั LearnSquare LMS พัฒนาโดย Nectec เป็ นระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ ออนไลน์ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยผ้เู รียนสามารถเรียนรู้ได้ตามอธั ยาศยั ทกุ ท่ี ทกุ เวลา ในรูปแบบส่ือมลั ตมิ ีเดียทงั้ บทความ ภาพ เสียง หรือวดิ โี อที่สามารถโต้ตอบได้เสมือนการเรียน ในห้องเรียนปกติซง่ึ ถือเป็ นการเปิ ดโอกาส ทางการศกึ ษาให้กว้างมากขึน้ และมีมาตรฐานท่ี เทา่ เทียมกนั www.ThaiCyberU.go.th

126 บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ แผนภาพที่ 4.19 แสดงตวั อยา่ ง LMS: LearnSquare 3. การใช้งานเวบ็ ไซต์ในส่วนของ Moodle เบือ้ งต้น การใช้งานเว็บไซต์ในส่วนของ Moodle เบือ้ งต้น ประกอบด้วย (1) การจดั การส่วน ของผ้ดู แู ลระบบ (2) การจดั การเก่ียวกบั สมาชิก (3) การจดั การเกี่ยวกบั รายวชิ า (4) การเพิ่ม บล็อคลงในหน้าเว็บไซต์ (5) การจดั การรายวิชาสาหรับผ้สู อน และ (6) การเพ่ิมเนือ้ หาให้กบั รายวชิ า แผนภาพท่ี 4.20 การใช้งานเวบ็ ไซต์ในสว่ นของ Moodle เบอื ้ งต้น

บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 127 (1) การจัดการส่วนของผู้ดูแลระบบ ในส่วนของ Moodle นนั้ ในการจดั การระบบของเว็บไซต์ผ้ดู ูแลระบบจะต้องเข้าสู่ ระบบด้วย Account ในระดบั ของผู้ดแู ลระบบที่ได้รับมา เม่ือเข้าส่รู ะบบแล้วจะพบว่าข้อมลู ทกุ อย่างที่ซ่อนไว้จะปรากฏออกมา และมีบล็อค “การจดั การระบบ” เพ่ิมขึน้ มาทางซ้ายมือ แผนภาพที่ 4.21 หน้าเวบ็ ไซต์เม่ือเข้าสรู่ ะบบในฐานะของผ้ดู แู ลระบบ (2) การจัดการเก่ียวกับสมาชิก ในบล็อคการจัดการระบบ เมนูเกี่ยวกับการจัดการสมาชิกทงั้ หมดจะอยู่ในเมนู สมาชิก เมื่อคลิกที่เมนจู ะปรากฏเมนยู ่อยด้วยกนั อีก 3 เมนู คือ (1) การอนมุ ตั ิ ใช้กาหนด วิธีการสมคั รเป็ นสมาชิกของเว็บไซต์ (2) บญั ชีผ้ใู ช้ ใช้สาหรับตรวจสอบรายชื่อสมาชิก เพิ่ม ลบ หรือแก้ไขข้อมลู สมาชิกในเวบ็ ไซต์ และ (3) Permissions ใช้กาหนดบทบาทให้กบั สมาชิก ในเวบ็ ไซต์ แผนภาพที่ 4.22 เมนสู มาชิก www.ThaiCyberU.go.th

128 บทที่ 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ เมื่อผ้ดู แู ลระบบคลกิ เข้ามาในเมนรู ายช่ือสมาชกิ ผ้ดู แู ลระบบสามารถจดั การข้อมลู สมาชิกได้หลายรูปแบบ เช่น กรองรายช่ือผู้ใช้ด้วยการกาหนด filter สามารถเรียงลาดับ สมาชกิ โดยการคลกิ ที่ด้านบนคอลมั น์ทต่ี ้องการให้เรียงลาดบั แก้ไขข้อมลู สมาชิกโดยการคลิก ท่ีช่ือสมาชิก เพ่ิมสมาชิกใหม่โดยการคลิกที่สมาชิก เป็ นต้น อย่างไรก็ตามถ้าผู้ดูแลระบบ ต้องการเพิ่มสมาชิกจานวนมากในครัง้ เดียวสามารถนาเข้าไฟล์ CSV ได้จากเมนอู ัพโหลด สมาชกิ จะสะดวกกวา่ หรือถ้าต้องการแก้ไขข้อมลู สมาชกิ หลายคนพร้อมกนั สามารถกระทาได้ โดยผา่ นทางเมนกู ารปฏบิ ตั กิ บั สมาชกิ หลายคนใน คราวเดียว แผนภาพท่ี 4.23 หน้ารายช่ือสมาชิก (3) การจดั การเก่ียวกับรายวชิ า ในการจดั การรายวิชาจะสามารถทาได้ผ่านทางเมนรู ายวิชา ซงึ่ ประกอบด้วยเมนู ย่อยต่อไปนี ้ (1) เพิ่ม/แก้ไข รายวิชา สาหรับสร้ างรายวิชาและประเภทวิชาใหม่ หรือแก้ไข รายวิชาหรือประเภทวิชาที่มีอย่แู ล้ว (2) สมคั รเข้าเรียน ใช้สาหรับตงั้ ค่ารายละเอียดพืน้ ฐาน การสมคั รเข้าเรียนของรายวชิ าทงั้ หมดและวชิ าที่จะสร้ างขึน้ ใหม่ และ (3) Course default settings ใช้ตงั้ คา่ เร่ิมต้นพืน้ ฐานให้กบั รายวชิ าทงั้ หมดและวชิ าท่ีจะสร้างขนึ ้ ใหม่ แผนภาพท่ี 4.24 เมนรู ายวชิ าทงั้ หมด

บทที่ 4 การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 129 (4) การเพ่มิ บลอ็ คลงในหน้าเวบ็ ไซต์ ผ้ดู แู ลระบบสามารถเพ่ิมบล็อคต่าง ๆ ในหน้าเว็บไซต์เพื่อนาไปใช้เป็ นเครื่องมือต่าง ๆ ใน การบริหารระบบจัดการเรียนรู้ได้โดยการคลิกที่ป่ ุม ซ่ึงอยู่ทางขวามือของ เวบ็ ไซต์ หลงั จากท่คี ลิกป่ มุ “เร่ิมการแก้ไขในหน้านี”้ จะปรากฏบล็อค “บล็อค” ซงึ่ ใช้สาหรับ เพ่ิมบล็อคต่าง ๆ ในหน้าเว็บไซต์ขึน้ มา ผู้ดูแลระบบสามารถคลิกท่ีกล่องรายการเพ่ือเลือก บล็อคที่ต้องการลงในเว็บไซต์ได้ โดยผู้ใช้สามารถจัดการการแสดงผลของบล็อคได้โดย การคลกิ ทไ่ี อคอน ตอ่ ไปนี ้ แผนภาพที่ 4.25 บล็อค “บล็อค” ตงั้ คา่ บทบาทใหมใ่ ห้กบั สมาชิกในเฉพาะบลอ็ กนี ้ / ซอ่ น/ยกเลกิ การซอ่ น แก้ไขการตงั้ ค่าบล็อก ลบบลอ็ ก / เลอื่ นตาแหน่งของบลอ็ คขนึ ้ ลง / เลอื่ นตาแหนง่ ของบลอ็ กไปทางฝ่ังซ้ายหรือขวา แผนภาพท่ี 4.26 ตวั อย่างบล็อก www.ThaiCyberU.go.th

130 บทที่ 4 การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ (5) การจัดการรายวชิ าสาหรับผู้สอน สาหรับผ้สู อนเม่ือเข้าสรู่ ะบบด้วย Account ในระดบั ของผ้ดู แู ลระบบหรือระดบั ของ ผ้สู อนก็ตามจะสามารถจดั การข้อมลู ภายในรายวิชาได้เช่นเดียวกนั เพียงแต่ Account ระดบั ผ้สู อนจะไม่สามารถจดั การข้อมลู ในหน้าแรกของเวบ็ ไซต์และข้อมลู หลกั ของระบบได้ เม่ือเข้ามาส่รู ายวิชาแล้วจะปรากฏบล็อค “การจดั การระบบ” ขึน้ มาทางซ้ายมือ ผ้สู อนสามารถปรับตงั้ คา่ ตา่ ง ๆ ของรายวชิ าได้จากบล็อคนี ้ดงั นี ้  ปิ ดการแก้ไขในหน้านี้ สาหรับปิดการแก้ไขหน้ารายวชิ า  การตงั้ ค่า ใช้กาหนดคา่ ระบบและการแสดงผลตา่ ง ๆ ของรายวชิ า  Assign roles ใช้ตงั้ ค่าบทบาทสมาชิกของรายวิชา รวมถึงการนาเข้า ผ้เู รียนส่รู ายวชิ าด้วย  คะแนนทงั้ หมด ใช้แสดงคะแนนของผ้เู รียน  กลุ่ม ใช้ตงั้ คา่ กล่มุ ผ้เู รียน และจดั ผ้เู รียนลงกล่มุ ตา่ ง ๆ  การสารองข้อมูล  กู้คืน ใช้เรียกข้อมลู ทีส่ ารองไว้กลบั มา  นาเข้า ใช้นาเข้ากิจกรรมจากรายวชิ าอื่น  รีเซท็ ใช้คืนคา่ เร่ิมต้นในส่วนทีต่ ้องการ  รายงาน ใช้แสดงการรายงานผลตา่ ง ๆ ในรายวชิ า  คาถาม ใช้เรียกคาถามตา่ ง ๆ จากคลงั ข้อสอบ  ไฟล์ ใช้จดั การไฟล์ตา่ ง ๆ ของรายวชิ าทีอ่ พั โหลดไว้  ประวตั สิ ่วนตวั ใช้แก้ไขข้อมลู ส่วนตวั ของ Account

บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 131 แผนภาพที่ 4.27 บล็อค “การจดั การระบบ” ในส่วนของรายวชิ า (6) การเพ่มิ เนือ้ หาให้กับรายวชิ า นอกจากการเพมิ่ และแก้ไขบลอ็ คตา่ ง ๆ ให้กบั หน้ารายวชิ าได้เช่นเดียวกบั ผ้ดู แู ลระบบ แล้ว ผ้สู อนยงั สามารถเพิ่มเนือ้ หาตา่ งให้กับรายวิชาให้กบั ส่วนแสดงเนือ้ หาตรงกลางได้อีกด้วย ซง่ึ ในส่วนของเนือ้ หาแต่ละหวั ข้อหรือแตล่ ะรายสปั ดาห์จะมีกล่องรายการด้วยกนั 2 กล่องอยู่ ทางมมุ ล่างขวา คอื กลอ่ งรายการ “เพิม่ แหลง่ ข้อมลู ” และกลอ่ งรายการ “เพิ่มกจิ กรรม” กลอ่ งรายการ “เพิ่มแหล่งข้อมลู ” นนั้ ใช้สาหรับเพ่ิมเนือ้ หาในรูปแบบตา่ ง ๆ เพื่อให้ ผ้เู รียนศกึ ษา ลกั ษณะของการนาเสนอจะเป็นแบบทางเดียวท่ีผ้เู รียนจะไม่สามารถโต้ตอบหรือ มีปฏสิ มั พนั ธ์ได้ โดยรูปแบบการนาเสนอแหล่งข้อมลู มีดงั ตอ่ ไปนี ้  Label ใช้แสดงข้อความ รูปภาพตา่ ง ๆ โดยตรงบนหน้ารายวชิ า  หน้าตวั หนังสือธรรมดา แสดงข้อมลู ในรูปแบบตวั อกั ษรธรรมดาอยา่ งเดียว  หน้าเว็บเพจ แสดงข้อมูลในลักษณะของหน้าเว็บเพจที่สามารถแทรกส่ือ ตา่ ง ๆ ลงไปได้  ไฟล์หรือเวบ็ ไซต์ เช่ือมโยงไปยงั ไฟล์หรือเว็บไซต์ที่ต้องการทงั้ ภายในและ ภายนอกระบบ www.ThaiCyberU.go.th

132 บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ  ไดเรกทอรี แสดงไดเรกทอรีท่ีกาหนดเพ่ือให้ผ้เู รียนสามารถดาวน์โหลดไฟล์ ตา่ ง ๆ ในไดเรกทอรีนนั้ ได้ แผนภาพที่ 4.28 กลอ่ งรายการ “เพิม่ แหลง่ ข้อมลู ” ส่วนกล่องรายการ “เพ่ิมกิจกรรม” นนั้ ใช้สาหรับเพิ่มกิจกรรมออนไลน์ให้ผ้เู รียนได้ ศกึ ษา และมีปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งกนั หลาย ๆ รูปแบบ โดยในแต่ละกิจกรรมสามารถให้คะแนน กบั ผู้เรียนได้ทงั้ แบบกาหนดเองและอตั โนมัติ กิจกรรมในรายการนีท้ งั้ หมดจะสามารถเลือก รู ปแบบการแบ่งกลุ่มผ้ ูเรี ยนในการทากิจกรรมต่างจากแหล่งข้ อมูลท่ีไม่สามารถแบ่งกลุ่ม ศกึ ษาได้ แผนภาพที่ 4.29 กล่องรายการ “เพิ่มกิจกรรม

บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 133 เม่ือผ้สู อนเพ่ิมกิจกรรมในเวบ็ ไซต์แล้ว ผ้สู อนสามารถปรับปรุงแก้ไขกิจกรรมตา่ ง ๆ เหลา่ นนั้ โดยการคลกิ ที่ไอคอนด้านหลงั ของกจิ กรรมได้ ดงั ตอ่ ไปนี ้ ลดระดบั การเยือ้ งของกิจกรรมลง 1 ระดบั เพม่ิ ระดบั การเยือ้ งของกจิ กรรมขนึ ้ 1 ระดบั เปลี่ยนตาแหน่งของกิจกรรม เม่ือคลิกป่ ุมนีแ้ ล้ วจะปรากฏไอคอน ต่อไปนี ้ ขึน้ มาในทุก ๆ ตาแหน่ง ผู้สอนสามารถเลื่อน กจิ กรรมไปยงั ตาแหน่งทต่ี ้องการโดยคลิกท่ไี อคอนดงั กล่าว แก้ไขการตงั้ คา่ ของกจิ กรรม ลบกิจกรรม / ซอ่ น/ยกเลกิ การซอ่ นกจิ กรรม เลือกรูปแบบการแบง่ กลมุ่ การทากิจกรรมของผ้เู รียน แผนภาพท่ี 4.30 ตวั อยา่ งแหล่งข้อมลู และกจิ กรรม 4. การใช้งานเวบ็ ไซต์ในส่วนของ Joomla! เบือ้ งต้น การใช้งานเว็บไซต์ในส่วนของ Joomla! เบือ้ งต้น ประกอบด้วย (1) การติดตงั้ AppServ เพื่อทดสอบ Joomla! ในเคร่ือง (2) ขนั้ ตอนการตดิ ตงั้ Joomla! (3) การจดั การส่วน ของผ้ดู แู ลระบบ (4) การจดั การกบั เนือ้ หาใน Joomla! (5) การสร้ าง Section และ Category เพ่ือจัดหมวดหม่บู ทความ (6) การสร้ างหรือแก้ไข Article เพ่ือเพิ่มเนือ้ หาให้กับเว็บไซต์ (7) การจดั การเมนใู น Joomla! (8) ข้อแนะนาในการปรับปรุงเนือ้ หาของเวบ็ ไซต์ (9) การเพ่ิม ประสิทธิภาพให้กบั Joomla! ด้วย Extention และ (10) การตดิ ตงั้ Extension ให้กบั Joomla! www.ThaiCyberU.go.th

134 บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ แผนภาพที่ 4.31 เวบ็ ไซต์ทีพ่ ฒั นาจาก Joomla! (1) การตดิ ตงั้ AppServ เพ่อื ทดสอบ Joomla! ในเคร่ือง เนื่องจาก Joomla! เป็น CMS ท่ีเขียนขนึ ้ ด้วยสคริปต์ PHP ดงั นนั้ จึงต้องมีการเตรียม ความพร้ อมของเครื่องโดยการติดตงั้ ซอฟต์แวร์ท่ีจาเป็ นต่าง ๆ ดงั นี ้ (1) Web Server Apache version 1.3 ขนึ ้ ไป (2) PHP version 4.3 ขนึ ้ ไป และ (3) ระบบจดั การฐานข้อมลู MySQL version 3.23 ขนึ ้ ไป สรุปได้วา่ การติดตงั้ AppServ จงึ เปรียบเสมือนการจาลอง เคร่ืองคอมพิวเตอร์ของเราให้เป็ น Web Server ที่สามารถรองรับระบบจดั การฐานข้อมลู ได้ นน่ั เอง ขนั้ ตอนการตดิ ตงั้ AppServ เป็นการเพื่อทดสอบ Joomla! ในเครื่อง มีดงั นี ้ 1. ดบั เบลิ ้ คลกิ ท่ีตวั ติดตงั้ AppServ แผนภาพท่ี 4.32 ขนั้ ตอนการตดิ ตงั้ AppServ เพ่ือทดสอบ Joomla! ในเคร่ือง

บทท่ี 4 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 135 2. หน้าตา่ งติดตงั้ จะเปิดขนึ ้ มา ให้คลิกป่ มุ Next แผนภาพที่ 4.33 ขนั้ ตอนการตดิ ตงั้ AppServ เพื่อทดสอบ Joomla! ในเคร่ือง 3. อ่านเง่ือนไขและข้อตกลงในการใช้งาน จากนนั้ ให้คลิกป่ มุ I Agree แผนภาพท่ี 4.34 ขนั้ ตอนการตดิ ตงั้ AppServ เพ่ือทดสอบ Joomla! ในเครื่อง www.ThaiCyberU.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook