Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tcu_website

tcu_website

Published by thaimooc, 2020-07-16 07:50:50

Description: tcu_website

Keywords: worksho,tool,learning,education

Search

Read the Text Version

โครงการตาราอีเลิร์ นนิง โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย หลักการออกแบบเว็บไซต์ทางการศึกษา:ทฤษฎสี ่กู ารปฏบิ ตั ิ ส่งิ พมิ พ์ TCU พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1 พทุ ธศกั ราช 2554 จานวน 2,000 เล่ม Copyright 2011 © Thailand จนิ ตวรี ์ คล้ายสงั ข์ จัดพมิ พ์เผยแพร่ โครงการมหาวทิ ยาลยั ไซเบอร์ไทย สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา 328 ถนนศรีอยธุ ยา ราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศพั ท์ 02-3545678 ตอ่ 2006, 02-6105233-9 โทรสาร 02-3545476 http://www.ThaiCyberU.go.th ข้อมูลทางบรรณานุกรม จินตวรี ์ คล้ายสงั ข์ ,หลกั การออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา:ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ โครงการมหาวทิ ยาลยั ไซเบอร์ไทย, สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา กรุงเทพ:2554 270 หน้า ISBN 978-616-202-370-5 1. การออกแบบเวบ็ ไซต์ 2. อีเลิร์นนงิ 3. ชื่อเรื่อง พมิ พ์ท่ี บริษทั สยามพริน้ ท์ จากดั (SiamPrint Co.,Ltd) 115/69 ซอยรามอนิ ทรา 40 แขวงนวลจนั ทร์เขตบงึ กมุ่ กรุงเทพฯ 10230 Tel 02-5088019, 02-5088024, 02-5088028, Fax 02-5092971-2

http://www.ThaiCyberU.go.th

ก โครงการมหาวิทยาลยั ไซเบอร์ไทย สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดาเนินการตามยุทธศาสตร์ การสร้ างโอกาสทางการศึกษาในกลยุทธการเข้าถึง การศกึ ษาได้อยา่ งกว้างขวางเพอ่ื สร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต สง่ เสริมการจดั การศึกษาทางไกลในระดับอุดมศึกษา และการศึกษาตลอดชีวิต โดยใช้ รูปแบบ การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ดาเนินงานร่วมกับสถาบันอุดมศึกษา และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทัง้ ในและ ต่างประเทศ เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนทัง้ ในระดับปริ ญญา หลักสูตร ประกาศนียบัตร และหลกั สูตรระยะสนั้ ตามความต้องการของสังคม สนับสนุน การพฒั นาบคุ ลากรทางการศกึ ษา สนบั สนนุ การใช้ทรัพยากรการศกึ ษาทกุ ด้านร่วมกนั สนบั สนนุ การวิจยั เพือ่ พฒั นารูปแบบและวิธีการจดั การเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาไทย ตลอดจนเป็ นหน่วยงาน กลางที่จะทาหน้าที่ส่งเสริมการเรียนรู้การสร้ างสื่อการสอน และการศึกษาต่าง ๆ เพื่อให้ผู้สนใจสามารถเข้าฝึ กอบรม และมาค้นหาข้อมูลการศึกษา และองค์ความรู้ ตา่ ง ๆ เพ่อื นาไปใช้ในการพฒั นาสถานศกึ ษาของประเทศไทยได้ เป็ นต้น การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง ซ่ึงเป็ นวิธีการสอนผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศท่ีทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ทกุ ท่ี ทกุ เวลา มีบทบาทสาคญั ตอ่ การเรียนรู้ของ บคุ คลในปัจจบุ นั สถาบนั การศกึ ษาตา่ ง ๆ ได้ใช้อีเลริ ์นนงิ เพ่ือเป็ นสอ่ื การเรียนการสอน

ข อย่างแพร่หลาย เว็บไซต์ทางการศึกษา คือสื่อกลางสาคญั ในการนาสาระส่ผู ้รู ับสาร หรือผ้เู รียน หนงั สือ “หลกั การออกแบบเว็บไซต์ทางการศึกษา: ทฤษฎีส่กู ารปฏิบตั ิ” เลม่ นี ้ ได้รวบรวมแนวคิด หลกั การ และผลงานวิจัยท่ีเข้าใจง่ายส่กู ารปฏิบตั ิไว้อย่าง ครบถ้วน โครงการมหาวิทยาลยั ไซเบอร์ไทย สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ขอขอบคุณผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. จินตวีร์ คล้ายสงั ข์ ผ้เู ขียนที่สามารถสร้ างสรรค์ ผลงานทางวิชาการท่ีเป็ นประโยชน์เลม่ นี ้ในการสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบ เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา อนั เป็ นสอ่ื กลางทีส่ าคญั ของการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ (ดร.สเุ มธ แย้มนนุ่ ) เลขาธิการคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา

ค ในปัจจบุ นั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษาถือวา่ เป็ นสอื่ หลกั ในการเรียนการสอนแบบ ออนไลน์ การเรียนการสอนแบบอเี ลริ ์นนงิ และการเรียนการสอนแบบผสมผสาน อีกทงั้ ยังถือว่าเป็ นสื่อการเรียนการสอนที่มีบทบาทและเป็ นเคร่ืองมือสาคัญที่ทาให้ การจัดการเรียนรู้ในลกั ษณะดังกล่าวมีประสิทธิภาพและประสบความสาเร็จย่ิงขึน้ โดยเฉพาะในเรื่องของการเรียนรู้ การใฝ่ รู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในบริบทสงั คม แห่งการเรียนรู้ออนไลน์ ดงั นนั้ ผู้เขียนจึงได้จัดทาหนังสือเล่มนีข้ ึน้ เพ่ือเป็ นแนวทาง ในการออกแบบเว็บไซต์ทางการศึกษาตามหลักการทางการศึกษา อีกทัง้ ยังเป็ น การสง่ เสริมให้ผ้เู รียนสามารถสร้างความรู้โดยการค้นคว้าและลงมือปฏิบตั ิไปด้วย โดย เรียงตามความสนใจ ความถนดั และความสามารถของผู้เรียน นอกจากนี ้ ผู้เรียน ยงั สามารถใช้เคร่ืองมือการติดต่อส่อื สารออนไลน์ช่วยในการจดั กิจกรรม ซ่งึ นอกจาก จะช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนได้ พัฒนาตนเองตามวัตถุประสงค์ของการเรี ยนร้ ู ท่ีกาหนดไว้ แล้ ว ยงั ช่วยพฒั นาการคิดและทกั ษะการสื่อสาร และการมีปฏิสมั พนั ธ์กบั เพื่อนและผ้สู อน ออนไลน์อีกด้วย ภายในหนังสือเล่มนีจ้ ะเน้นไปที่บริบทของการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงใน ระดบั อดุ มศึกษาแต่ก็ยงั สามารถประยกุ ต์ใช้ได้เป็ นอยา่ งดีในการศกึ ษาทกุ ระดบั โดย บทท่ี 1 จะกล่าวถึงข้อมูลพืน้ ฐานเกี่ยวกับเว็บไซต์ทางการศึกษา ในขณะท่ีบทท่ี 2 จะกล่าวถึงหลักการออกแบบเว็บไซต์ทางการศึกษา บทที่ 3 เป็ นการนาเสนอ 16 ประเด็นที่สาคญั สาหรับรูปแบบเว็บไซต์ทางการศึกษาซ่ึงได้นามาแบ่งเป็ นด้านต่างๆ

ง เพ่ือการนาไปใช้ รวมถึงความพึงพอใจของผ้ใู ช้ตอ่ รูปแบบเว็บไซต์ทางการศึกษาด้วย ข้อมลู ดงั กลา่ วในบทนไี ้ ด้นามาจากงานวิจยั ของผ้เู ขยี นทไ่ี ด้จดั ทาขนึ ้ ในปี 2553 สาหรับ บทที่ 4 จะกลา่ วถงึ วา่ จากแนวคิดทงั้ 3 บทข้างต้นจะนามาสกู่ ารปฏิบตั ิได้อยา่ งไร โดย ผ้เู ขียนได้เลอื กใช้ opensource CMS และ LMS ท่ีผ้เู รียนสามารถทดลองใช้และนาไป ต่อยอดได้โดยผ่านการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเข้าร่วมเป็ นหนึ่งในสมาชิกสงั คม ออนไลน์ของCMS และ LMS นที ้ ไี่ ด้มีการปรับปรุงข้อมลู ให้ทนั สมยั อยตู่ ลอดเวลา สว่ น บทที่ 5 กลา่ วถึงการประเมนิ เว็บไซต์ทางการศกึ ษา และบทสดุ ท้ายบทที่ 6 การนาเสนอ กิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบ เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา ผ้เู ขียนหวงั เป็ นอยา่ งยิ่งวา่ “หลกั การออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎี สกู่ ารปฏิบตั ิ” ซงึ่ เน้นท่ีบริบทของการเรียนการสอนอีเลริ ์นนิงในทกุ ระดบั เลม่ นีค้ งจะให้ เนือ้ หาสาระท่ีเป็ นประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่มากก็น้อย สุดท้ายนี ้ ผู้เขียนขอขอบคุณ โครงการมหาวิทยาลยั ไซเบอร์ไทย สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ที่ให้การ สนบั สนนุ การจดั พิมพ์หนงั สอื เลม่ นเี ้ป็ นอยา่ งดยี ่งิ มา ณ โอกาสนดี ้ ้วย ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. จินตวีร์ คล้ายสงั ข์

จ คานิยม ข้อมูลพนื้ ฐานเก่ียวกับเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา หน้า คานา 1. ความเป็นมาและความหมายของเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา ก สารบัญ ค บทท่ี 1 และเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษาเชงิ โต้ตอบ จ 2. ทฤษฎีทางการศกึ ษาและหลกั การพืน้ ฐานสาหรับ 1 2 การออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 3. องค์ประกอบของเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 5 4. ขนั้ ตอนการออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 5. โครงสร้างเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 11 6. กรณีศกึ ษาการออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 26 37 บทท่ี 2 หลักการออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 42 1. หลกั การพืน้ ฐานในการออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 49 1.1 การเน้นข้อความสาคญั 49 1.2 ความตรงกนั ข้าม 49 1.3 ความสมดลุ 51 1.4 การวางแนว/การจดั เป็นเส้นตรง 53 1.5 การทาซา้ 56 1.6 การเลือกใช้สี 58 1.7 การเลือกใช้ภาพ 60 64

ฉ บทท่ี 3 2. หลกั การเพิ่มเตมิ สาหรับการออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา หน้า บทท่ี 4 2.1 ความเรียบงา่ ย 66 2.2 ความสม่าเสมอ 66 2.3 ระบบนาทาง 68 2.4 คณุ ภาพในการออกแบบ 70 2.5 การออกแบบหน้าจอ 71 2.6 ความละเอียดของจอภาพ 71 2.7 การนาเสนอเนือ้ หา 72 73 รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 1. การนาเสนอ 16 ประเดน็ ทส่ี าคญั สาหรับรูปแบบเวบ็ ไซตท์ าง 75 78 การศกึ ษา 2. การนาเสนอรูปแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษาทแี่ บง่ เป็น 3 ด้าน 106 เพ่ือการนาไปใช้ 108 3. การนาเสนอความพงึ พอใจตอ่ รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 111 การพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎสี ู่การปฏบิ ัติ 113 1. CMS: Content Management System 120 2. LMS: Learning Management System 126 3. การใช้งานเวบ็ ไซตใ์ นสว่ นของ Moodle เบือ้ งต้น 133 4. การใช้งานเวบ็ ไซตใ์ นส่วนของ Joomla! เบือ้ งต้น

ช บทท่ี 5 การประเมนิ เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา หน้า 1. ตวั อยา่ งเกณฑก์ ารประเมินเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 179 2. ตวั อย่างแบบสอบถามรูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 179 3. ตวั อย่างแบบประเมินประสิทธิภาพเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษาและ 194 214 แบบสอบถามความพงึ พอใจเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 227 บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมความรู้และทกั ษะ การออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 227 1. กิจกรรมที่ 1: การร่วมระดมความคดิ และแลกเปล่ียน 227 ประสบการณ์ 230 2. กิจกรรมท่ี 2: การร่วมระดมความคดิ เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 233 3. กิจกรรมท่ี 3: ADDIE Step1 245 4. กิจกรรมท่ี 4: ADDIE Step2 5. กจิ กรรมท่ี 5: วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ องค์ประกอบทส่ี าคญั ของ 251 อีเลิร์นนิงเวบ็ ไซต์ที่มีประสิทธิภาพ 255 6. กจิ กรรมที่ 6: การออกแบบและพฒั นาหน้าโฮมเพจสาหรับ 256 การเรียนการสอนอีเลิร์นนิง 7. กจิ กรรมที่ 7: การออกแบบและพฒั นาหน้าเวบ็ เพจสาหรับ การเรียนการสอนอีเลิร์นนิง 8. กิจกรรมท่ี 8: แลกเปล่ียนเรียนรู้การออกแบบและพฒั นา เวบ็ เพจสาหรับการเรียนการสอนอีเลิร์นนงิ

ซ 9. กิจกรรมท่ี 9: Review of CMS & LMS: What are หน้า Pros & Cons? 257 10. กจิ กรรมท่ี 10: Effective Website for e-Learning 260 11. กิจกรรมท่ี 11: The effective website project: 261 SUMMARY 12. กจิ กรรมที่ 12: ประเมนิ เวบ็ ไซต์ 264 13. กจิ กรรมท่ี 13: การประยกุ ต์ใช้เกณฑ์การประเมินเวบ็ ไซต์ 265 บรรณานุกรม 266 คณะผู้จัดทา 270



บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา 1 จากกระแสของสงั คมที่ได้รับผลกระทบของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เครื่องมือ สื่อสาร ตลอดจนสารสนเทศออนไลน์ต่าง ๆ นนั้ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการดาเนินชีวิต การทางาน และการเรียนรู้ของเรา จะเห็นได้ว่าการเรียนรู้ของเรานัน้ ได้พึ่งพิงสารส นเทศ ออนไลน์ตา่ ง ๆ มากยิ่งขนึ ้ ดงั เช่นการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนปัจจบุ นั ท่ีหลายคน เชื่อว่าจะเข้ามาตอบโจทย์ในเร่ืองของการจัดการเรียนให้มีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด สื่อ การเรียนการสอนมีอยหู่ ลายประเภทด้วยกนั ไม่วา่ จะเป็นสื่อพืน้ ฐาน สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือส่ือเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษาท่ีหลาย ๆ คนเชื่อว่าจะเข้ามาช่วยเสริมในเรื่องของข้อจากดั ของ เวลาและสถานที่ ท่ีจะเอือ้ ให้ผู้เรียนสามารถเข้ามาศกึ ษาหาความรู้ ณ ที่ใดและเวลาใดก็ได้ โดยสื่อเว็บไซต์ทางการศึกษาถือว่าเป็ นสื่อการเรียนการสอนที่สนบั สนุนให้ผู้เรียนได้ศกึ ษา เรียนรู้ด้วยตนเอง ส่งเสริมปฏิสมั พนั ธ์ผ่านเครือข่ายออนไลน์ทงั้ กบั ผู้เรียนด้วยกนั เอง และ ระหว่างผู้เรียนกบั ผู้สอน ด้วยแนวคดิ ที่วา่ การเรียนการสอนในลกั ษณะนีจ้ ะนาไปสู่การสร้ าง องคค์ วามรู้ใหม่ ๆ ด้วยตนเองผ่านสงั คมแหง่ การเรียนรู้ออนไลน์ นอกจากนี ้ ในปัจจุบนั จะเห็นได้ว่าคุณประโยชน์ของเว็บไซต์อันเป็ นแหล่งเก็บ รวบรวมข้อมลู ทกุ ชนดิ ได้มากมายมหาศาล ผนวกกบั อทิ ธิพลของอินเทอร์เน็ตที่มีตอ่ การศกึ ษา อย่างมากมาย โดยเฉพาะในเร่ืองของการขยายโอกาสทางการศกึ ษา ดงั จะเห็นได้วา่ ความรู้ มิได้ถกู จากดั อย่เู พียงในห้องเรียนอยา่ งเดยี วอีกตอ่ ไปแล้ว แต่ผ้เู รียนสามารถหาความรู้ได้ด้วย ตนเองจากเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ ผา่ นการใช้อินเทอร์เนต็ ฉะนนั้ รูปแบบของการเรียนการสอนควรเน้น สอนวธิ ีการเรียนให้ผ้เู รียน ไม่ใช่สอนแต่เนือ้ หาวชิ าเพียงอย่างเดียว (Teaching how to learn -- not what to learn.) และการเรียนการสอนในรูปแบบนีย้ งั เป็ นการส่งเสริมทกั ษะการเรียนรู้ ตลอดชีวติ (Lifelong learning) อีกด้วย ดังนัน้ อาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ทางการศึกษาที่มีคุณภาพย่อมส่งผลให้ผู้เรียน ประสบความสาเร็จและมีคุณภาพในการเรียนรู้เช่นกนั โดยเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษาดงั กล่าวมี www.ThaiCyberU.go.th

2 บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา รายละเอียดความเป็ นมา ความหมาย ทฤษฎีการศึกษาและหลักการพืน้ ฐานสาหรับ การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ทางการศึกษา องค์ประกอบ ขัน้ ตอนการออกแบบและ พฒั นาเว็บไซต์ทางการศกึ ษา โครงสร้ างเว็บไซต์ทางการศกึ ษา และกรณีศกึ ษาการออกแบบ เวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา ดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. ความเป็ นมาและความหมายของเวบ็ ไซต์ทางการศึกษาและเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา เชงิ โต้ตอบ เว็บไซต์ทางการศึกษาถือเป็ นสื่อหนึ่งท่ีใช้ในการเรียนการสอนทางไกลท่ีได้รับ ความนิยมกนั อย่างแพร่หลายด้วยจดุ เดน่ ในด้านของการเข้าถึงได้ตลอดเวลา และทกุ สถานท่ี โดยสามารถแยกได้เป็ น 5 ยุค กล่าวคือ ยุคท่ี 1 เร่ิมขนึ ้ ช่วงปลายปี พ.ศ. 2442 ซง่ึ ใช้จดหมาย เป็ นสื่อ นกั เรียนและผู้สอนติดต่อสื่อสารกนั โดยการเขียน ยุคท่ี 2 คือ มหาวิทยาลัยเปิ ด (Open University) ซงึ่ เริ่มขนึ ้ ประมาณปี พ.ศ. 2513 ยคุ ท่ี 3 ของการศกึ ษาทางไกลเร่ิมขนึ ้ เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2523 มาพร้อมกบั วดิ ีโอเทป การกระจายเสียง ดาวเทยี ม และสายเคเบลิ ้ ยุคท่ี 4 คือการเรียนการสอนผ่านเว็บ โดยเน้นการให้ความรู้ผ่านทางเวิล์ด ไวด์ เว็บ โดย บทเรียนส่วนใหญ่ยังมี เนือ้ หาที่น่ิง และผู้เรียนเข้าเรียนศึกษาบทเรียนในลักษณะของ passive learners ยคุ ท่ี5 ยคุ อีเลิร์นนิง เป็ นยคุ ของการศกึ ษาทางไกลท่ีพฒั นามาจากยคุ ที่ 4 โดยใช้เทคโนโลยีทุกประเภทของอินเทอร์เน็ต โดยยุคท่ี 5 ของการศึกษาทางไกลจะเน้น บทเรี ยนท่ีมีการสร้ างองค์ความรู้ ใหม่อยู่เสมอจากการร่ วมระดมสมองผ่านชุมชน แห่งการเรียนรู้ต่าง ๆ (Community of learning) การเรียนการสอนจะเน้นที่ผ้เู รียนมีส่วนร่วม เชิงรุก (Active) มีปฏิสมั พนั ธ์ (Interaction) กบั ผ้สู อน ผ้เู รียนด้วยกนั เอง บทเรียน และระบบ บริหารจดั การการเรียนการสอน และเน้นบทเรียน (Courseware) ในลักษณะมลั ติมีเดีย (Multimedia) เม่ือพิจารณาการเรียนการสอนในรูปแบบของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web Based Instruction) และ แบบอีเลิร์นนิง (e-Learning) จะเห็นได้ว่าจุดเช่ือมต่อของยุคที่ 4 และยุคที่ 5 นนั้ มีความสาคญั กล่าวคือการเรียนการสอนในยุคท่ี 4 นนั้ จะเน้นที่การเรียน การสอนผ่านทางเว็บ (Web based) หรือผ่านทางอินเทอร์เน็ต การใช้ประโยชน์ของ สารสนเทศบนฐานข้อมลู อินเทอร์เน็ตจงึ ตอบสนองความต้องการของผ้เู รียนในพืน้ ท่ีหา่ งไกล สามารถท่ีจะเข้ามาสู่การเรียนแบบนีไ้ ด้ ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใด และเวลาใดก็ได้จึงถือได้ว่า อินเทอร์เน็ตได้ช่วยสร้ างโอกาสในการศกึ ษาทางไกลสาหรับ ใครทกุ คน ทุกหนแห่ง และทกุ เวลา อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนในยคุ นีน้ นั้ ยงั เป็นการเน้นท่ปี ฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผ้เู รียนกบั

บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 3 บทเรียน และผู้เรียนกบั ผู้สอนเป็ นส่วนใหญ่ โดยปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองยงั มี ข้อจากัด อีกทงั้ เคร่ืองมือที่ใช้ในการปฏิสมั พันธ์ระหว่างการเรียนการสอนต่าง ๆ ทงั้ แบบ ประสานเวลา และไม่ประสานเวลาก็ยงั เป็ นปัญหาอย่ใู นช่วงเวลานนั้ ด้วย ดงั นนั้ เม่ือยคุ ท่ี 5 ของการศกึ ษาทางไกลทีไ่ ด้พฒั นามาจากยคุ ที่ 4 โดยใช้เทคโนโลยีทกุ ประเภทของอินเทอร์เน็ต โดยส่วนใหญ่แล้ว เทคโนโลยีดงั กล่าวจะเข้ามาตอบโจทย์ในเร่ืองของข้อจากัดเครื่องมือ ที่ใช้ในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างการเรียนการสอนต่าง ๆ ดงั นัน้ ในยุคที่ 5 นี ้ การนามาใช้ ของเครื่องมือต่าง ๆ อาทิ WEB 2.0, อีเมล์ (Email), ห้องสนทนา (Chat), ห้องประชุม (Forum/Discussion), กลุ่มผู้สนใจ (Mailing List), ป้ ายประกาศ (Bulletin Board/ Announcement), การประกาศคะแนนทางอินเทอร์เน็ต (e-Gradebook), การสอบทาง อินเทอร์เน็ต (e-Exam), และระบบวดิ ีโอคอนเฟอร์เรนท์หรือกล้องอินเทอร์เน็ต (Webcam) สาหรับการจัดประชุมทางไกล จึงมีความสาคญั และเป็ นเคร่ืองมือสาคญั ท่ีทาให้การเรียน การสอนประสบความสาเร็จยิง่ ขนึ ้ สรุปได้วา่ ความเป็ นมาของการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง เร่ิมจากววิ ฒั นาการ 5 ยคุ ของการศกึ ษาทางไกล ซงึ่ เริ่มตงั้ แตย่ คุ ของการใช้ชดุ เอกสารส่งผ่านทางไปรษณีย์ จากนนั้ เป็ น ช่วงของการเผยแพร่สื่อต่าง ๆ ทางรายการโทรทศั น์ การใช้จานดาวเทียมเพ่ือส่งสญั ญาณ ต่อมาเป็ นยุคของการเรียนแบบใช้บทเรียนการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction: CAI) บทเรียนการเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction: WBI) จนถึงในยุคปัจจบุ นั ซ่งึ เน้นที่การเรียนการสอนผ่านเวบ็ หรืออีเลิร์นนิง ท่ี เน้นในเร่ืองของการเรียนการสอนแบบ Anyone from Anywhere and at Anytime ที่ไม่มี ข้อจากดั ของเวลาและสถานที่ อีกทัง้ ยงั เน้นในเรื่องของเทคโนโลยี WEB 2.0 Technology ท่ี เน้นการปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งกันมากขึน้ และเร่ืองของ Online Learning Community หรือ สงั คมแหง่ การเรียนรู้อีกด้วย สาหรับจุดเร่ิมต้นของการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงในประเทศไทยเร่ิมขึน้ เมื่อ กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศ หลักเกณฑ์การขอเปิ ดและดาเนินการหลักสูตรระดับ ปริญญาในระบบการศกึ ษาทางไกล พ.ศ. 2548 ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ120 ง 26 ตลุ าคม 2548 เพ่ือสง่ เสริมการศกึ ษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน และส่งเสริมให้ผ้เู รียนได้ มีโอกาสเรียนรู้ด้วยตนเอง และเพ่ือธารงไว้ซงึ่ คณุ ภาพมาตรฐานการจดั การอุดมศกึ ษา โดยได้ กาหนดปรัชญาและวัตถุประสงค์ไว้ว่า สถาบนั อุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาทางไกล เพื่อให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึง www.ThaiCyberU.go.th

4 บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา กาหนดให้จดั การศกึ ษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชนด้วยวธิ ีการที่หลากหลาย เพื่อตอบสนอง ความต้องการของบุคคลและสังคม โดยไม่ต้องเข้าชัน้ เรียนตามปกติ และเป็ นการเพ่ิม ประสิทธิภาพและคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา การจัดการศกึ ษาทางไกล ม่งุ เปิดโอกาสและขยายโอกาสให้นกั ศกึ ษาและผ้สู นใจใฝ่ หาความรู้ สามารถศกึ ษาหาความรู้ได้ ใน เว ล า แ ล ะส ถา นที่ ที่ต นส ะด วก ตา มค วา มส นใ จแ ล ะ คว าม ส า มา ร ถ ข อ งแ ต่ล ะบุคค ล สอดคล้ องกับพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี ้ ประกาศฉบบั นีย้ งั กาหนดให้สถาบนั อุดมศึกษาท่ีจดั การศึกษาทางไกลจะต้อง พฒั นาระบบการศกึ ษาทางไกลให้สมบูรณ์อยู่เสมอ โดยเฉพาะให้มีเทคโนโลยีและสื่อทงั้ สื่อ หลกั ส่ือเสริม หรือสื่อแบบผสมผสานที่จะใช้อย่างเพียงพอ เพื่อเป็ นหลกั ประกนั ว่านกั ศกึ ษา จะได้รับบริการการศึกษาท่ีดี สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างมีคณุ ภาพและได้มาตรฐาน และหลักสูตรท่ีจัดการศึกษาทางไกลทุกหลักสูตรจะต้ องกาหนดและพัฒนาระบบประกัน คุณภาพของหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการจัดการศกึ ษาทางไกล ให้ทุก หลักสูตรมีการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย และมีการประเมินเพ่ือพัฒนาหลักสูตรอย่าง ตอ่ เน่ืองอย่างน้อยทกุ ๆ 5 ปี (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2548) ความหมายของเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา การนาเว็บไซต์ทางการศกึ ษาไปใช้ในการเรียนการสอนนนั้ จะมีการใช้ในรูปแบบที่ ตา่ ง ๆ กนั ไม่วา่ จะเป็นการใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนการสอนแบบใช้เวบ็ ช่วย การใช้เป็ นส่ือ หลกั ในการเรียนการสอนแบบออนไลน์และการเรียนการสอนแบบผสมผสาน จากรายงานผล สารวจเรื่อง “อีเลิร์นนิงระดบั ปริญญาผดุ ขนึ ้ มามากมาย: การศกึ ษาออนไลน์ในสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2548” (Growing by Degrees: Online Education in the United States, 2005) ของ สมาคมสโลน คอนซอร์เทียม (Sloan Consortium Foundation) ซง่ึ ได้แปลและเรียบเรียงโดย ศาสตราจารย์ ดร. ศรีศกั ด์ิ จามรมาน ดงั แสดงในตารางท่ี 1.1

บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 5 ตารางท่ี 1.1 ประเภทการเรียนการสอนออนไลน์ สัดส่วนของ ประเภทการเรียน รายละเอียด เนือ้ หาท่ี การสอน นาเสนอทาง อินเทอร์ เน็ต วิชาท่ีใช้เทคโนโลยีเว็บเพ่ือ อานวยความสะดวกใน 1-29% แบบใช้เวบ็ ชว่ ย การสอนวิชาที่เคยสอนในชัน้ เรียนปกติใช้ระบบ (Web-Facilitated) การจัดการวิชาหรือหน้าเว็บเพ่ือนาเสนอคาอธิบาย รายวชิ า และการบ้าน เป็ นต้น 30-79% แบบผสมผสาน นาเสนอเนือ้ หาวิชาโดยผสมผสานวิธีออนไลน์และ (Blended/ Hybrid) การเรียนการสอนในชัน้ เรียน เนือ้ หาและกิจกรรม ส่วนมากนาเสนอผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น ระบบบริหาร จัดการรายวิชา ห้องสนทนา และบางส่วนจัดอยู่ใน ห้องเรียนปกติ 80-100% แบบออนไลน์/ นาเสนอเนือ้ หาทงั้ หมด หรือเกือบทงั้ หมดทางออนไลน์ แบบอีเลริ ์นนิง หรื อทางอินเทอร์ เน็ต และโดยท่ัวไปแล้ วไม่มี (Online/ E-Learning) การจดั การเรียนการสอนในห้องเรียนเลย 2. ทฤษฎีทางการศกึ ษาและหลักการพนื้ ฐานสาหรับการออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซต์ ทางการศกึ ษา ทฤษฎีและหลกั การพืน้ ฐานท่ีสาคญั สาหรับการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ทาง การศกึ ษาประกอบด้วย 5 ส่วนหลกั คือ (1) ทฤษฎีการเรียนรู้ (2) ทฤษฎีระบบ (3) ทฤษฎี การติดต่อสื่อสาร (4) รูปแบบการเรียนการสอน และ (5) การศกึ ษาทางไกล ซึง่ ล้วนมี ความสาคญั ตอ่ การเรียนในรูปแบบนี ้(Davidson-Shivers & Rasmussen, 2006) www.ThaiCyberU.go.th

6 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เว็บไซต์ทางการศกึ ษา แผนภาพท่ี 1.1: WBID MODEL (ทีม่ า Davidson-Shivers & Rasmussen, 2006) 1) ทฤษฎีการเรียนรู้ ประกอบด้วย (1) ทฤษฎีพฤตกิ รรมนิยมท่ีเช่ือในเร่ืองของ การฝึ กปฏิบตั ิ การเสริมแรงและการลงโทษ การมีส่วนร่วมในการเรียนและการตอบสนอง การปรับพฤติกรรม และการเลียนแบบ (2) ทฤษฎีพทุ ธิปัญญา ที่เน้นเร่ืองการเรียนรู้ที่ผ้เู รียน เป็ นศนู ย์กลาง การเรียนรู้อย่างมีความหมายและเป็ นระบบ โดยคานึงถึงพืน้ ฐานความรู้เดิม และการเช่ือมโยงไปสู่ความรู้ใหม่ (3) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ท่ีเน้นเรื่องของการสร้ าง องค์ความรู้ด้วยตนเอง แต่ละทฤษฎีนนั้ ล้วนมีวัตถุประสงค์เดียวกันคือเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุ เป้ าหมายการเรียนรู้ท่ีได้กาหนดไว้ อย่างไรก็ตามด้วยลกั ษณะของความรู้และวตั ถุประสงค์ท่ี ต่างกนั ทฤษฎีทงั้ 3 นีจ้ ึงเหมาะสมในสถานการณ์ท่ีแตกต่างกนั ไป ในการเรียนรู้ผ่านบริบท ของสื่อเวบ็ โดยที่ผ้สู อนเป็นผ้ชู ่วยเหลือ แนะนา และจดั สภาพแวดล้อมให้เหมาะต่อการเรียน และบริบทของสงั คมท่เี อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ ทฤษฎีพฤตกิ รรมนิยม (Behaviorist Theory) นกั จิตวิทยาการศกึ ษา ได้แก่ Thorndike (1913) Pavlov (1927) และ Skinner (1974) เชื่อวา่ การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมที่สามารถสงั เกตเห็นได้ อนั เกิดจาก การให้สิ่งเร้ าจากภายนอกในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ นกั จิตวิทยากล่มุ นีเ้ ชื่อว่าพฤติกรรม

บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 7 ทีส่ งั เกตเหน็ ได้เป็นการบง่ ชีอ้ ยา่ งชดั เจนของการเรียนรู้ท่ีเกิดขนึ ้ ไม่ใช่สิ่งที่อย่ใู นความคดิ ของ ผ้เู รียน ดงั นนั้ แนวทางปฏิบตั ิของการนาแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มพฤติกรรมนิยมไปใช้ คอื ควรมีการแจ้งให้ทราบวา่ วตั ถปุ ระสงค์ของการเรียนการสอนคืออะไร เพ่ือให้ผ้เู รียนทราบ และตงั้ ความคาดหวงั ตลอดจนการประเมินตนเองว่าจะสามารถได้รับผลการเรียนรู้ประจา บทเรียนนนั้ ๆ หรือไม่ ผ้เู รียนจะต้องได้รับการประเมินผลการเรียนการสอนเพ่ือให้ทราบว่า ตนเองมีผลการเรียนรู้เป็นไปตามทกี่ าหนดไว้หรือไม่ ทงั้ นีอ้ าจมาจากการให้ข้อมลู ป้ อนกลบั ท่ี เหมาะสมทงั้ ในภาพรวมและในทกุ ๆ ขนั้ ตอนของการเรียนการสอน เพ่ือให้ผ้เู รียนสามารถ ตรวจสอบได้วา่ ตนเองกาลงั เกดิ การเรียนรู้ทถ่ี กู ต้องหรือไม่ อย่างไร ทฤษฎพี ทุ ธปิ ัญญา (Cognitive Theory) นกั จติ วทิ ยาและนกั การศกึ ษากลมุ่ พทุ ธิปัญญา เชื่อว่าการเรียนรู้บางเรื่องไม่สามารถ สังเกตเห็นได้จากพฤติกรรมที่แสดงออก และการเรียนรู้ที่เกิดขึน้ มีมากกว่าการวัดด้วย พฤติกรรมที่เปล่ียนแปลง ดงั นนั้ นักจิตวิทยาและนักการศึกษากลุ่มนีจ้ ึงศึกษาเกี่ยวกบั การ เรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกบั การใช้ความจา แรงจงู ใจ และการคดิ ตลอดจนการสะท้อนท่ีแสดงให้เหน็ ถงึ กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งนกั จิตวิทยากลุ่มนีพ้ ิจารณาวา่ การเรียนรู้เป็ นกระบวนการท่ี เกิดขึน้ ภายในของผู้เรียน ตามความสามารถในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลปริมาณ ความสามารถ ความพยายามที่ท่มุ เทระหว่างกระบวนการเรียนรู้ และความซบั ซ้อนของการ ประมวลผล ตลอดจนโครงสร้างความรู้เดิมของผ้เู รียน ดงั นนั้ แนวทางปฏิบตั ขิ องการนาแนวคดิ ของนักจิตวิทยาและนกั การศึกษากลุ่มพุทธิปัญญาไปใช้ได้คือ การใช้กลวิธีที่ให้ผู้เข้ารับการ เรียนการสอนได้เข้าถึงส่ือการเรียนได้มากที่สดุ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการเรียนการสอนสามารถถ่าย โอนสิง่ ท่ไี ด้รับผ่านประสาทสมั ผสั ไปยงั หน่วยความจาระยะสนั้ เช่น การอ่าน การมอง และการ สมั ผสั เป็ นต้น นอกจากนีก้ ารจดั ลาดบั เนือ้ หาอย่างเป็ นระบบ เรียงลาดบั จากง่ายไปยาก และ แสดงถงึ ความเช่ือมโยง เช่น การใช้ผงั ความคิดล่วงหน้า (Advanced Organizer) จะช่วยให้ผู้ เข้ารับการเรียนการสอนเกดิ การจดจาและระลกึ ถงึ ข้อมลู นนั้ ๆ ได้ดยี ิ่งขนึ ้ ทฤษฎีคอนสตรัคตวิ สิ ต์ (Constructivist Theory) นกั ทฤษฎีกลมุ่ คอนสตรัคตวิ สิ ตม์ ีความคดิ เหน็ ในเร่ืองการเรียนรู้ของผ้เู รียน โดยนกั ทฤษฎีกล่มุ นีเ้ หน็ วา่ ผ้เู รียนแตล่ ะคนมีการแปลความหมายของสารที่ได้รับและการแปลความ สิ่งท่ีอยรู่ อบตวั ตามการรับรู้ของแตล่ ะบคุ คล ซง่ึ การรับรู้นนั้ ภายหลงั จะเปลี่ยนเป็ นความรู้ตาม ความเข้าใจของผ้เู รียนแต่ละคน (Learners construct their own knowledge) นกั ทฤษฎี www.ThaiCyberU.go.th

8 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา กล่มุ นีม้ องวา่ ผ้เู รียนจะต้องเป็ นศนู ย์กลางการเรียนรู้ (Learner center) ซง่ึ มีผ้สู อนทาหน้าท่ี เป็ นผ้ชู ่วยสนบั สนนุ การเรียนรู้ และให้คาแนะนาสนบั สนนุ การเรียนรู้ (facilitator, coach) โดยผู้สอนจะเป็ นผู้ให้คาแนะนามากกว่าเป็ นผู้ถ่ายทอดความรู้ กิจกรรมการเรียนจึงเน้น สถานการณ์การเรียนรู้ ซ่ึงผู้เรี ยนจะต้ องประยุกต์ใช้ ความรู้ในการแก้ ปั ญหา ดังนัน้ การประยุกต์ใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์สาหรับการเรียนการสอน คือการจัดการเรียนรู้ที่ให้ ผู้เข้ารับการเรียนการสอนมีส่วนร่วมและวิทยากรตงั้ คาถามหรือเสนอสถานการณ์ปัญหา กระต้นุ ให้ผู้เข้ารับการเรียนการสอนคิดวิเคราะห์และคิดแก้ปัญหา วิทยากรในฐานะที่เป็ น ผ้ ูสนับสนุนการเรี ยนร้ ู จะต้ องจัดเตรี ยมแหล่งข้ อมูลให้ เพียงพอต่อการเรี ยนร้ ู ของผ้ ูเข้ ารั บ การเรียนการสอน อันจะนาไปสู่การสร้ างองค์ความรู้ใหม่ตามความเข้ าใจของผู้เรียน นอกจากนีก้ ารเรียนแบบร่วมมือ (Collaborative learning) ยงั ช่วยกระต้นุ ให้ผ้เู ข้ารับการเรียน การสอนแลกเปล่ียนความคิดเห็นและร่วมกนั ทางานให้เสร็จตามที่ได้รับมอบหมาย และมี ปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน ซ่งึ จะนาไปสู่การเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ขนั้ สูง (higher order learning) และเกดิ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (learning community) อีกด้วย สรุปได้ว่าการใช้ความรู้ของทฤษฎีการเรียนรู้ทงั้ 3 กลุ่ม ได้แก่ พฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญา และคอนสตรัคติวิสต์ ล้วนมีวัตถุประสงค์เดียวกันคือเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุ เป้ าหมายการเรียนรู้ทีไ่ ด้กาหนดไว้ อย่างไรก็ตามด้วยลกั ษณะของความรู้และวตั ถุประสงค์ที่ ต่างกนั ทฤษฎีทงั้ 3 นีจ้ ึงเหมาะสมในสถานการณ์ท่ีแตกตา่ งกนั ไป เช่น การใช้ทฤษฎีกลุ่ม พฤติกรรมนิยมจะเหมาะกบั การเรียนการสอนที่เน้นข้อเทจ็ จริง ในขณะท่ีหลกั การจากทฤษฎี พุทธิปัญญาจะเหมาะกบั การเรียนการสอนท่ีเน้นหลักการและกระบวนการ และหลกั การ จากทฤษฎีคอนสตรั คติวิสต์จะเหมาะกับการเรี ยนการสอนท่ีเน้ นทักษะการคิดระดับสูง (Ally, 2006; Waterhouse, 2005) 2) ทฤษฎีระบบ (Systems Theory) ประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ Systemic เชื่อว่าผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีที่สุดผ่านการออกแบบการสอนอย่างเป็ นระบบ (organized approach) นาไปส่นู วตั กรรมการสอน (instruction innovation) ซง่ึ อาจอย่ใู น รูปแบบของผลงานในภาพรวมหรือกระบวนการ ในขณะท่ี Systematic พิจารณาแนวคดิ จาก นวตั กรรมซงึ่ อาจอยใู่ นรูปของผลงาน กฎเกณฑ์ หรือกระบวนการท่ีได้นาไปเผยแพร่หรือปรับ ใช้ในองคก์ ร โดยเน้นท่ีผลลพั ธ์ท่ไี ด้จากนวตั กรรมนนั้ ๆ

บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 9 3) ทฤษฎีการติดต่อส่ือสาร (Communication Theory) ถือเป็ นองค์ประกอบ สาคัญองค์ประกอบหนึ่งซ่ึงจะเน้ นในเร่ืองของกระบวนการส่งผ่านและถ่ายโอนข้ อ มูล (Message) ให้มีประสิทธิภาพสงู สดุ จากผ้สู ่งสาร (Sender) ไปยงั ผ้รู ับสาร (Receiver) และ ผลย้อนกลับ (Feedback) จากผู้รับสารมายงั ผ้สู ่งสาร และการลดสิ่งแทรกแซง (noise) ให้ ได้มากท่ีสดุ เพ่ือให้ผ้รู ับสารได้รับข้อมลู ที่กระจ่างและถูกต้องท่ีสุด ดงั นนั้ การออกแบบสาร (Message Design) จึงถือเป็ นองค์ประกอบสาคญั ในการออกแบบการสอนแบบออนไลน์ ไม่วา่ จะเป็นในเรื่องของการออกแบบหน้าเว็บที่เหมาะสม (webpage layout) การประยุกต์ใช้ หลักการติดต่อสื่อสาร (Communication principle) เพ่ือสร้ างระบบนาทางท่ีเหมาะสม (Navigation) ด้วยการใช้ป่ มุ (buttons) สญั รูป (icon) และการเช่ือมโยง (hypermedia) ด้วย ข้อความ (text) และสื่อรูปแบบต่าง ๆ เช่น เสียง(audio) วีดทิ ศั น์ (video) และสื่อประสม (multimedia) โดยแนวคิดการออกแบบสารต่าง ๆ เหล่านีจ้ ะช่วยเพิ่มการส่งสารและ การแลกเปล่ียนข้อมลู ให้มีประสทิ ธิภาพยิ่งขนึ ้ 4) รูปแบบการเรียนการสอน (ID Models) แบบจาลองการออกแบบการสอน ADDIE ซ่งึ ถือว่าเป็ นแบบจาลองแรกเร่ิมและเป็ นรากฐานท่ีสาคญั (Generic Model) ซง่ึ นาไปส่แู บบจาลองอ่ืน ๆ ที่นิยมในปัจจบุ นั เช่น Dick and Carey Model, Kemp Model, Gagne Model เป็ นต้น แบบจาลอง ADDIE ย่อมาจาก Analysis, Design, Development, Implementation, Evaluation โดยหลักการนาไปใช้คือผลลัพธ์ท่ีได้ในแต่ละขัน้ จะนาไปสู่ การดาเนินงานในขนั้ ตอ่ ๆ ไป โดยขนั้ ตอนของการวเิ คราะห์ (Analysis) จะเน้นที่วตั ถปุ ระสงค์ ของกลุ่มผู้ชม/เป้ าหมาย และเนือ้ หา การออกแบบ (Design) จะเน้นท่ีความสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของกลุ่มผู้ชม/เป้ าหมาย พืน้ ฐานของผู้เรียน วัตถุประสงค์ของบทเรียนและ เนือ้ หา การพัฒนา (Development) เป็ นการกาหนดแผนการดาเนินงานผลิตอย่างเป็ น ขนั้ ตอนเพื่อตอบสนองวตั ถปุ ระสงค์ของเนือ้ หา บทเรียนและการประเมินผล และรูปแบบท่ีได้ ออกแบบไว้ การนาไปใช้ (Implementation) คือการนาผลงานไปใช้งานจริงหลงั จากท่ีได้มี การทดลองนาไปใช้กบั กลุ่มเป้ าหมายและได้ปรับแก้ตามข้อเสนอแนะแล้ว นอกจากนีอ้ าจ รวมถงึ การตรวจสอบและขอคาแนะนาจากผ้เู ช่ียวชาญด้านการออกแบบบทเรียน สุดท้ายคือ การวัดผลและการประเมิน (Evaluation) ที่จะต้ องทาอย่างมีระบบ โดยการประเมิน ประกอบด้วย 2 ส่วนท่ีสาคัญคือ การประเมินผลระหว่างขัน้ ตอนพัฒนา (Formative Evaluation) เพ่ือนาไปปรับปรุงแก้ไขในการดาเนินงานขนั้ ต่อ ๆ ไป และการประเมินผลเม่ือ www.ThaiCyberU.go.th

10 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา พฒั นาบทเรียนเรียบร้อยแล้ว (Summative Evaluation) เพ่ือเป็ นการเปิ ดโอกาสสาหรับความ คดิ เหน็ จากผ้ใู ช้งาน และการประเมนิ จากผลสมั ฤทธิ์ของผ้เู รียน 5) การศกึ ษาทางไกล (Distance Education) เป็นการศกึ ษาซงึ่ ส่งเสริมให้ผ้เู รียน ท่ีมีข้อจากดั ในเรื่องของเวลาและสถานท่ีได้มีโอกาสศึกษาเล่าเรียน โดยการศึกษาทางไกล สามารถจาแนกออกได้เป็ น 3 ประเภทคือ (1) การเรียนท่ีผ้เู รียนอย่ตู า่ งสถานท่ีและเข้าเรียน ตา่ งเวลา e-mail และกระดานสนทนาจงึ ถกู ใช้เป็นเครื่องมือหลกั ในการตดิ ตอ่ ส่ือสาร (2) การ เรียนท่ีการติดต่อส่ือสารระหว่างผู้เรียนและผู้สอนเกิดขึน้ ในเวลาเดียวกัน (Synchronous communication) แต่ต่างสถานที่ เช่น การเรียนผ่านทางระบบ teleconference การใช้ chat เพ่ือการสนทนาโต้ตอบและ (3) การเรียนแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous) ที่ผ้เู รียนและ ผ้สู อนเข้าร่วมการเรียนการสอนตา่ งเวลากนั ปัจจยั พืน้ ฐานท่ีสาคญั สาหรับการจดั การเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิงทงั้ 5 ส่วนนีล้ ้วนมี ความสาคญั อย่างยง่ิ ซงึ่ ถ้าผ้สู อนหรือผ้อู อกแบบบทเรียนสามารถออกแบบได้ครอบคลมุ ทงั้ 5 สว่ น จะทาให้การจดั การเรียนรู้ในรูปแบบนีป้ ระสบผลสาเร็จย่ิงขนึ ้ ข้อดีของการจดั การเรียนรู้ ในรูปแบบอีเลิร์นนิงคือการใช้ประโยชน์ของสารสนเทศบนฐานข้ อมูลอินเทอร์เน็ตและ การสร้ างโอกาสในการศกึ ษา อย่างไรก็ตามการจดั การเรียนรู้ในปัจจุบนั นีย้ งั เป็ นการเน้นท่ี ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับบทเรียน และผู้เรียนกับผู้สอนเป็ นส่วนใหญ่ โดยปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองยังมีข้อจากัด อีกทัง้ เครื่องมือท่ีใช้ในการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง การเรียนทงั้ แบบประสานเวลาและไม่ประสานเวลาก็ยังเป็ นปัญหาอยู่ ดงั นัน้ จะเห็นได้ว่า แนวโน้มในอนาคตจะมีการนาเทคโนโลยีเว็บ 2.0 มาช่วยเสริมและตอบโจทย์ในเรื่องของ ข้อจากดั ของเคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างการเรียน เช่น บล็อก (Blog) สารานกุ รม เสรี (Wikipedia) และ การสมั มนาออนไลน์ (Webinar) จะเห็นได้ว่าเครื่องมือดงั กล่าวจะเร่ิม เข้ามามีบทบาทและเป็ นเคร่ืองมือสาคญั ที่ทาให้การจดั การเรียนรู้มีประสิทธิภาพและประสบ ความสาเร็จย่ิงขนึ ้ โดยเฉพาะในเร่ืองของการเรียนรู้ การใฝ่ รู้ และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ใน สงั คมออนไลน์ (Online Learning Community) โดยสรุปการจดั การเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิง ผ้สู อนควรให้ความสาคญั กับศาสตร์ด้าน การศกึ ษา โดยเน้นการจดั การเรียนรู้ทอี่ าศยั ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการติดต่อสื่อสาร และ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้ างความรู้ โดยการค้นคว้าและลงมือปฏิบตั ิ ด้วยตนเองตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถของผู้เรียน โดยใช้เคร่ืองมือ การติดต่อส่ือสารบนออนไลน์ช่วยในการจดั กิจกรรม ซ่ึงนอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนา

บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เว็บไซต์ทางการศกึ ษา 11 ตนเองตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้แล้ ว ยังช่วยพัฒนาการคิด และทักษะ การสื่อสารและการมีปฏสิ มั พนั ธ์กบั เพื่อนและผ้สู อนออนไลน์ด้วย 3. องค์ประกอบของเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา องค์ประกอบของเว็บไซต์ทางการศึกษาที่สาคญั ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ พืน้ ฐาน โดยมีรายละเอียดดงั นี ้ 1) บทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (courseware) เป็นเนือ้ หาสาระท่นี าเสนอในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซงึ่ ส่วนใหญ่มีลกั ษณะเป็ นส่ือ ประสม โดยเน้นการออกแบบท่ีใช้วิธีการ กลยุทธ์ และการให้ข้อมลู ป้ อนกลับแก่ผ้เู รียนโดย ทนั ทใี นการนาเสนอ ทก่ี ระต้นุ ให้ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้ตามวตั ถปุ ระสงค์ทกี่ าหนดไว้ ซง่ึ ผ้เู รียน สามารถเข้าถึงเนือ้ หาได้ตามความต้องการ ตลอดจนอาจมีแบบฝึ กหดั หรือแบบทดสอบ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจ ทงั้ นีอ้ าจยึดแนวทางของ learning object บทเรียนอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Courseware) ในรูปแบบของ Learning Objects เป็ นส่ือการสอนใน ลกั ษณะบทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ท่มี ีขนาดเลก็ สามารถนากลบั มาใช้ใหม่โดยการจัดเรียงลาดบั เนือ้ หาใหม่ เกิดเป็ นบทเรียนใหม่ โดยมีองค์ประกอบสาคญั ในแตล่ ะ Learning Object คือ (1) วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ (2) หน่วยการเรียน และ (3) แบบทดสอบ โดยคณุ ลกั ษณะเด่น ของ Learning Objects คือเนือ้ หาเป็ นอิสระภายในตวั เอง สะดวกต่อการนาไปใช้และการ ปรับแก้ (content updated) สามารถใช้ซา้ (reusable) แบง่ ปัน แลกเปลี่ยนเนือ้ หาระหว่างกนั (repository) ได้ผ่านระบบบริหารการเรียนการสอน (Learning Management System) อีก ทัง้ ยังเป็ นการลดปัญหาไฟล์ขนาดใหญ่และการปรับปรุงแก้ ไขเนือ้ หาบทเรียน ได้ยาก (Davidson-Shivers, 2006; Waterhouse, 2005; ใจทพิ ย์ ณ สงขลา, 2550; Khan, 2005) ดงั ตวั อย่างผลงานวจิ ยั ในตารางที่ 1.2 และหนงั สือ/บทความในตารางที่ 1.3-1.4 www.ThaiCyberU.go.th

12 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา ตารางท่ี 1.2 งานวจิ ยั ในประเทศที่เก่ียวกบั รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา การ สรุปผลการวิจัย ช่อื ตัวแปร ออกแบบ ผู้วิจัย ตาม มัลติมีเดีย ความน่าเชื่อ ืถอ เจนจริ า รูปแบบ   รูปแบบโฮมเพจเว็บไซต์ทางด้านการศึกษาระดบั อุดมศึกษา พบวา่ อนนั ตกาล โฮมเพจ 1. ความน่าเช่ือถือของโฮมเพจทางด้านการศึกษาควรมีความ (2548) เว็บไซต์ ยาวของโฮมเพจเม่ือเทียบกับจอภาพมีความยาวเหมาะสมกับ เนือ้ หา มีโครงสร้ างเป็ นแนวตงั้ สญั ลักษณ์สถาบันอยู่ด้านบน ทางด้าน กงึ่ กลางหน้ามีแนวการวางเมนหู ลกั แบบทงั้ แนวตงั้ และแนวนอน การศกึ ษา โดยแนวตงั้ อยดู่ ้านซ้ายและแนวนอนอย่ดู ้านบน มีเมนหู ลกั เป็ น ระดบั แบบ Pop-up Menu และใช้สีแสดงสถานะการเช่ือมโยงจากเมนู อดุ มศกึ ษา หลกั ไปสเู่ นือ้ หา 2. ด้านเนือ้ หา จดั วางเนือ้ หาแบบจดั กลาง และแสดงเนือ้ หา แบบคอลมั น์เดยี ว จดั วางองค์ประกอบในลกั ษณะมีพืน้ ที่สว่ นบน และใช้พนื ้ ทดี่ ้านซ้ายแคบกวา่ พนื ้ ทด่ี ้านขวา 3. ด้านสี ผ้ใู ช้เว็บไซต์ทางด้านการศึกษาให้ความสาคญั ใน เร่ืองการใช้สีสวยงามสบายตา และส่ือความหมายได้ตรงตาม จดุ ประสงค์ และเห็นวา่ ลกั ษณะพืน้ หลงั สีออ่ น ตวั อกั ษรสีเข้ม ใช้ โทนสเี ย็นเหมาะสมสาหรับเวบ็ ไซต์ทางด้านการศกึ ษา 4. ด้านตวั อกั ษร ผ้ใู ช้ให้ความสาคญั กับตวั อกั ษรท่ีเป็ นแบบท่ี อ่านง่าย ชัดเจน กลมกลืนกับทุก ๆ หน้ า ขนาดตัวอักษร ภาษาไทยของหวั เร่ืองเป็ น 24 point ตวั หนา ขนาดของเนือ้ หา 16 point ตัวปกติ ส่วนหัวเรื่องที่เป็ นภาษาองั กฤษใช้รูปแบบ ตวั อกั ษรแบบลายมือ 5. ด้านภาพประกอบ ใช้เพอื่ อธิบายเพิ่มเตมิ จากตวั อกั ษรตาม ความเหมาะสมของเนือ้ หา 6. ด้านเสยี งประกอบ ใช้เสยี งประกอบสอดคล้อง สมจริง เข้า กบั เนือ้ หาและต้องการให้โฮมเพจมเี สียงดนตรีประกอบ

บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 13 การ ช่อื ตวั แปร ออกแบบ ผ้วู ิจัย ตาม ส่วนต่อประสาน สรุปผลการวจิ ยั ระบบนาทาง ณฐั พล รูปแบบ   1. การเชอ่ื มโยง ราไพ ของ 1.1 การเชื่อมโยงท่ีดี ไฮเพอร์เท็กซ์ที่ใช้ควรจะมีลักษณะท่ี (2548) เวบ็ เพจ อยใู่ นรูปแบบทีเ่ ป็ นมาตรฐานทวั่ ไป ที่มีตอ่ 1.2 คาท่ีใช้สาหรับการเชื่อมโยงจะต้องเข้าใจง่าย มีความ ผลสมั ฤทธิ์ ชดั เจน และไมส่ นั้ จนเกินไป ทาง 1.3 แตล่ ะเว็บเพจควรมีจดุ เชื่อมโยงกลบั มายงั หน้าแรกของ การเรียน เวบ็ ไซต์ทีก่ าลงั ใช้งานอยดู่ ้วย 1.4 ควรกาหนดให้ผ้เู รียนได้เข้าสหู่ น้าจอแรกที่มีคาอธิบาย เบือ้ งต้น มีการแสดงโครงสร้าง ภายในเว็บ ซ่งึ อาจอย่ใู นลกั ษณะ ของสารบญั หรือรายการเพื่อผู้เรียนจะได้ทราบถึงขอบเขตที่จะ สืบค้น 2. ระบบนาทาง เน้นการใช้งานที่เข้าถึงง่าย จะชว่ ยให้ผ้เู รียน รู้สกึ สบายใจตอ่ การเรียนและสามารถทาความเข้าใจกบั เนือ้ หา ได้อย่างเต็มท่ี ควรกาหนดป่ ุมการใช้งานท่ีชัดเจน เหมาะสม โดยเฉพาะป่ มุ ควบคมุ เส้นทางการเข้าสเู่ นือ้ หา (Navigation) ไม่ วา่ จะเป็ นเดินหน้า ถอยหลงั รวมทงั้ อาจมีการแนะนาว่าผ้เู รียน ควรจะเรียนอย่างไร ขัน้ ตอนใดก่อนหรือหลัง ควรเพิ่มความ ยืดหยนุ่ ให้ผ้เู รียนสามารถกาหนดเส้นทางการเรียนรู้ได้เอง เช่น การใช้แผนผังของเว็บไซต์ (site map) ท่ีชว่ ยให้ผ้เู รียนทราบวา่ ตอนนีอ้ ยู่ ณ จุดใด หรือเคร่ืองมือสืบค้นท่ีช่วยใน การค้นหา หน้าทต่ี ้องการ www.ThaiCyberU.go.th

14 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา การออกแบบ ช่อื ตัวแปร ผู้วิจยั ตาม มัลติมีเดีย สรุปผลการวจิ ัย เ ืน ้อหา ระบบนาทาง ..0. สรวงสดุ า รูปแบบ    1. ด้านมลั ติมีเดยี ปานสกลุ การเรียนรู้ 1.1 หลีกเลี่ยงการใช้กราฟิ กที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ (2545) กระบวน เพราะถงึ แม้จะดสู วยงาม แตจ่ ะทาให้ผ้เู รียนเสียเวลาในการรับ การแก้ ข้อมลู ท่ีต้องการ แต่หากต้องมีการใช้ภาพประกอบ ก็ควรใช้ ปัญหาเชิง เฉพาะทมี่ ีความสมั พนั ธ์กบั เนือ้ หาเทา่ นนั้ สร้ างสรรค์ แบบร่วมมือ 1.2 การใช้รูปภาพเพ่ือเป็ นพืน้ หลัง ไม่ควรเน้นสีสันที่ ในองค์กร ฉดู ฉาด เพราะอาจจะไปลดความเดน่ ชดั ของเนือ้ หาลง ควรใช้ บน ภาพท่ีมสี อี อ่ น ๆ ไมส่ วา่ งเกินไป รวมไปถงึ การใช้เทคนิคต่าง ๆ อนิ เทอร์เน็ต เชน่ ภาพเคล่ือนไหว หรือตวั อกั ษรว่ิง (Marquees) ซึ่งอาจจะ เกิดการรบกวนการอา่ นได้ ควรใช้เฉพาะที่จาเป็ นจริง ๆ เทา่ นนั้ 1.3 ตวั อกั ษรทน่ี ามาแสดงบนจอภาพ ควรเลือกขนาดท่ี อา่ นงา่ ย ไมม่ ีสีสนั หรือลวดลายมากเกินไป 1.4 ควรออกแบบหน้าเว็บเพจให้เป็ นมาตรฐานเดียวกนั ตลอดทงั้ เว็บไซต์ เพราะความสม่าเสมอจะช่วยให้ผู้เรียนรู้สึก ค้นุ เคยและสามารถคาดการณ์ลกั ษณะลว่ งหน้าของเว็บได้ จะ ช่วยให้การใช้งานบทเรียนเป็ นไปอย่างสะดวก แต่มีข้อควร ระวังคือความสม่าเสมอนีอ้ าจนามาซ่ึงความน่าเบ่ือได้ แนวทาง แก้ไขคอื สร้างความแตกตา่ งท่ีน่าสนใจในแตล่ ะหน้า โดยใช้ องค์ประกอบที่คล้ ายคลึงกัน แต่มีสีหรือลักษณะ แตกต่างกันไปเล็กน้ อยเพ่ือทาให้ เกิดลักษณะพิเศษเฉพาะ หน้านนั้ ๆ แตย่ งั คงความสมา่ เสมอของเว็บไซต์ได้ 2. การออกแบบเนือ้ หา ควรสนั้ กระชบั และทนั สมยั หลีก เลี่ยง การใช้เว็บเพจท่ีมีลกั ษณะการเล่ือนขึน้ ลง แต่ถ้าจาเป็ นควรจะ ให้ข้อมลู ที่มคี วามสาคญั อยบู่ ริเวณด้านบนสดุ ของหน้าจอ 3. การออกแบบระบบนาทาง 3.1 ควรจดั โครงสร้างหรือจดั ระเบียบของข้อมลู ท่ีชดั เจน มาตรฐานเดียวกนั จะชว่ ยให้นา่ ใช้งานและงา่ ยตอ่ การใช้งาน 3.2 ควรเพ่ิมความยืดหยนุ่ ให้ผ้เู รียนโดยการให้อิสระใน การเข้าถึงเนือ้ หาผ่านระบบนาทางท่ีมีประสิทธิภาพจะทาให้ เข้าใจเนือ้ หาได้อย่างเต็มท่ีโดยไม่ต้องเสียเวลาอย่กู ับการทา ความเข้าใจการใช้งาท่สี บั สน

บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 15 ตารางท่ี 1.3 หนงั สือ/บทความในประเทศทเ่ี ก่ียวกบั รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา ช่อื การออกแบบ มัลติมีเดีย ผู้เขยี น/ ส่วนต่อประสาน . รายละเอยี ด ผู้แต่ง เ ืน ้..อ.หา ระบบนาทาง การเ ้ขาถึง ้ขอมูล . ึถง ้ขอมูล จติ เกษม      1. ด้านมลั ตมิ เี ดีย พฒั นาศริ ิ 1.1 การใส่ภาพประกอบ จะต้องเลือกรูปภาพที่ทาหน้าท่ี (2539) แทนคาบรรยายที่ต้ องการ ควรใช้ รูปภาพท่ีสามารถสื่ อ ความหมายกบั ผ้ใู ช้ได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ 1.2 รูปภาพท่ีนามาประกอบ ไม่ควรมีขนาดใหญ่หรือ จานวนมากเกินไป เพราะอาจทาให้สาระของเว็บเพจถูกลด ความสาคญั ลง 1.3 การใช้รูปภาพเพ่ือเป็ นพืน้ หลัง ไม่ควรเน้ นสีสันท่ี ฉดู ฉาด เพราะอาจไปลดความเดน่ ชดั ของเนือ้ หา ควรใช้ภาพท่ีมี สอี อ่ น ๆ ไมส่ วา่ งจนเกินไป 1.4 ตัวอักษร ควรเลือกขนาดท่ีอ่านง่าย ไม่มีสีสันและ ลวดลายมากเกินความจาเป็ น 2. การออกแบบสว่ นตอ่ ประสาน 2.1 เชื่อมโยงข้ อมูลไปยังเป้ าหมายได้ตรงกับความ ต้องการมากท่ีสุด ถ้าข้อมูลท่ีนามาแสดงมีเนือ้ หาสาระมาก เกินไป เว็บเพจไม่สามารถนาข้อมลู ทงั้ หมดมาแสดงได้ ควรนา แหลง่ ข้อมลู นนั้ มาเขียนเป็ นตวั เช่อื มโยง ผ้ใู ช้จะได้สามารถค้นหา ข้อมลู ได้อยา่ งถกู ต้องและกว้างขวางย่งิ ขนึ ้ 2.2 การสร้างตวั เช่ือมโยงจะสร้างในรูปของตวั อกั ษรหรือ รูปภาพก็ได้ แต่ควรท่ีจะแสดงจดุ เชื่อมโยงให้ผ้ใู ช้สามารถเข้าใจ ได้ง่าย ท่ีนิยมสร้างกันส่วนใหญ่เมื่อมีเนือ้ หาตอนใดเอ่ยถึงช่ือที่ เป็ นรายละเอียดเกี่ยวเน่ืองกนั ก็จะสร้างจดุ เชื่อมโยงทนั ที 2.3 ในแตล่ ะเว็บเพจควรมจี ดุ เชื่อมโยงกลบั ไปยงั หน้าแรก ของเว็บไซต์ที่กาลังใช้งานอยู่ ทัง้ นีเ้ ผ่ือว่าผู้ใช้หลงทางและไม่ ทราบวา่ จะทาอยา่ งไรตอ่ ไปก็จะสามารถกลบั มาสจู่ ดุ เริ่มต้นใหม่ 3. การออกแบบเนือ้ หา 3.1 เนือ้ หากระชบั สนั้ และทนั สมยั 3.2 เนือ้ หาควรเป็ นเรื่องที่สาคญั หรืออยู่ในความสนใจ ของผ้คู นหรือเป็ นเร่ืองท่ตี ้องการให้ผ้ใู ช้ทราบ และควรปรับปรุงให้ ทนั สมยั อยเู่ สมอ www.ThaiCyberU.go.th

16 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา ช่อื การออกแบบ ผู้เขียน/ มัลติมีเดีย ผู้แต่ง ส่วนต่อประสาน . รายละเอียด เ ืน ้..อ.หา ระบบนาทาง การเ ้ขาถึง ้ขอมูล . ถึง ้ขอมูล 3.3 ควรเป็ นมาตรฐานเดียวกัน โดยอาจแบ่งเนือ้ หา ออกเป็ นสว่ น ๆ หรือจดั กลมุ่ เป็ นหมวดหมู่ 4. การออกแบบระบบนาทาง 4.1 ควรมีรายการสารบญั (Index) แสดงรายละเอียด ของเว็บเพจ การท่ีผ้ใู ช้จะเข้าไปค้นหาข้อมลู ได้ ผ้สู ร้างควรแสดง รายการทงั้ หมดท่เี ว็บเพจนนั้ มีอยใู่ ห้ผ้ใู ช้ทราบ โดยอาจทาอยใู่ น รูปแบบของสารบญั หรือตวั เชื่อมโยง (links) จะทาให้สามารถ หาข้อมลู ได้อยา่ งรวดเร็ว 4.2 เม่อื ใดเนือ้ หาตอนใดเอย่ ถงึ ชือ่ ที่เป็ นรายละเอียดที่ เกี่ยวเน่ืองกนั ให้สร้างตวั เชอื่ มทนั ที 5. การเข้าถงึ ข้อมลู 5.1 ใช้งานงา่ ย เนื่องจากอะไรก็ตามถ้ามคี วามงา่ ยใน การใช้งานแล้วโอกาสท่ผี ้ชู มสนใจเวบ็ ไซต์ยอ่ มสงู ตามลาดบั 5.2 สามารถโต้ตอบกบั ผ้ใู ช้ได้อยา่ งทนั ทว่ งที 5.3 ควรกาหนดจุดที่ผู้ใช้สามารถแสดงความคิดเห็น หรือให้คาแนะนากับผ้สู ร้างได้ เชน่ ใส่ e-mail ลงในเว็บเพจ ใน ตาแหน่งที่เขียนควรอย่บู นสดุ หรือล่างสุดของเว็บเพจ ไม่ควร เขียนแทรกไว้ท่ีตาแหน่งใด ๆ ของจอภาพ เพราะผู้ใช้อาจหา e-mail ไมพ่ บก็ได้ ช่อื การออกแบบ ผ้เู ขยี น / ผ้แู ต่ง มัล ิต ีมเ ีดย รายละเอียด ส่วนต่อประสาน เ ืน ้อใหา การท.ดสอบ ความ ่นาเ ่ืชอ ืถอ ปทีป     1.ด้านมัลติมีเดีย การจัดทาข้อความและภาพจะต้องมี เมธาคณุ วฒุ ิ วตั ถปุ ระสงค์ มกี ารจดั เตรียมวางแบบและขนาดของตวั อกั ษร (2544) สี การกาหนดป่ มุ ต่าง ๆ และการใช้เนือ้ ที่และภาพท่ีใช้ต้องไม่ ใ ห ญ่ เกิ น ไป แ ล ะ ต้ องไม่ใ ช้ เว ล า น า น ใ น กา รเชื่ อมโยงมา สู่ บทเรียน

บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา 17 ช่อื การออกแบบ ผ้เู ขียน / ผ้แู ต่ง มัลติมีเดีย รายละเอียด ส่วนต่อประสาน เ ืน ้อใหา การท.ดสอบ ความน่าเ ่ืชอ ืถอ 2. ควรมีการจัดหน้าจอภาพให้เหมาะสม น่าอ่านและใช้ การเชื่อมต่อไปยังหน้ าถัดไปมากกว่าท่ีจะใช้ การเลื่อน หน้ าจอภาพ และถ้ ามีการเช่ือมโยงกับภายนอกจะต้ องมี ข้อความบอกไว้วา่ มกี ารเชื่อมโยงกบั ส่ิงใด 3. หลีกเล่ียงการทาเนือ้ หาที่ยาว ต้องแบ่งสาระอย่าง เหมาะสมหรือมีการจดั ทาเป็ นกลมุ่ 4. การทดสอบการใช้งาน ควรมกี ารประเมิน 4.1 การประเมินลักษณะเว็บไซต์ ควรจะทราบได้ทนั ทีว่า เม่ือเปิ ดเข้าไปแล้วเก่ียวข้องกับเรื่องใด ควรบอกลักษณะและ รายละเอยี ดของเวบ็ นนั้ 4.2 การประเมินภารกิจ (Authority) จะต้องบอกขนาด ของเว็บและรายละเอียดโครงสร้างของเว็บ เช่น แสดงท่ีอย่แู ละ เส้นทางภายในเว็บและชอื่ ผ้อู อกแบบเว็บ 4.3 ประเมินการจัดรูปแบบและการออกแบบ ความ ซบั ซ้อน เวลา รูปแบบที่เป็ นท่ตี ้องการของผ้ใู ช้ 4.4 ประเมินการเช่ือมโยง (Links) เป็ นสิ่งท่ีจาเป็ นและมี ผลต่อการใช้ การเพิ่มจานวนเช่ือมโยงโดยไม่จาเป็ นไม่เป็ น ประโยชน์ตอ่ ผ้ใู ช้ ควรใช้เครื่องมือสืบค้นแทนการเช่ือมโยงท่ีไม่ จาเป็ น 4.5 การประเมินเนือ้ หา (Content) เนือ้ หาที่เป็ นข้อความ ภาพ หรือเสียง จะต้องเหมาะสมกบั เว็บ และให้ความสาคญั กบั องค์ประกอบทกุ สว่ นเทา่ เทียมกนั 4.6 การประเมนิ ผลการเรียน สามารถประเมินผลระหว่าง เรียน การประเมนิ รวมหลงั เรียน เพ่ือดผู ลท่ีมีตอ่ ผ้เู รียนและดผู ล ที่คาดหวงั ไว้ ซงึ่ จะนาไปปรับปรุงการสอนอยา่ งตอ่ เน่ือง 5. ความน่าเชื่อถือ ควรมีการจัดทาส่วนท้ายของบทเรียนมี ช่ือผู้จัดทา และอีเมล์ ท่ีจะติดต่อได้ วันที่จัดทา /แก้ ไข เปล่ียนแปลง แนวการเลือกต่าง ๆ เพ่ือให้สามารถเห็นภาพรวม ทงั้ หมด และจานวนหน้าท่ีมีการจัดทาและต้องไม่ยาวเกินไป หรือสนั้ เกินไป และมีการปรับปรุงเวบ็ เพจอยเู่ สมอ www.ThaiCyberU.go.th

18 บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา ตารางท่ี 1.4 หนงั สือ/บทความต่างประเทศท่ีเกี่ยวกบั รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา ช่อื การออกแบบ ผ้เู ขียน ส่วนต่อประสาน รายละเอียด / ผู้แต่ง เ ืน ้อหา ระบบนาทาง การเ ้ขาถึง ้ขอมูล การทดสอบ Khan      1. การออกแบบสว่ นตอ่ ประสาน (2005) 1.1 หน้าจอเว็บไซต์แสดงผลปกติหรือไม่เม่ือเปิ ดใช้กับ โปรแกรมค้นหาเว็บ (Internet Explorer, Netscape หรือ โปรแกรมค้นหาอื่น ๆ ) 1.2 องค์ประกอบต่อไปนีท้ ี่ช่วยให้เนือ้ หาบทเรียนมี ความสมบูรณ์(ระบุทุกองค์ประกอบท่ีช่วยให้เนือ้ หาบทเรียน สมบรู ณ์ ได้แก่ ภาพและวตั ถุ เสยี ง วีดโิ อ ภาพเคลื่อนไหว) 1.3 ควรเว้นช่องวา่ งอย่างเหมาะสมหรือประมาณ 20% เพ่อื ชว่ ยให้ผ้อู า่ นผ่อนคลายสายตาในขณะอา่ น 1.4 หน้าหลกั /โปรแกรมนา่ สนใจและดึงดดู ด้วยภาพหรือ เสียง (แตล่ ะคนอาจชอบสีและรูปแบบอกั ษรตา่ งกนั ) 1.5 ข้อความในเวบ็ ไซต์อา่ นได้งา่ ยและชดั เจน 1.6 สีพนื ้ หลงั และสีส่วนหน้าที่ใช้ในการนาเสนอเว็บไซต์ กลมกลนื กนั 1.7 เว็บไซต์มีรูปแบบการนาเสนอเหมือนเอกสาร ประกอบบทเรียน จะทาให้ผู้เรียนสามารถเช่ือมโยงระหว่าง บทเรียนออนไลน์และเอกสารประกอบบทเรียน 1.8 องค์ประกอบในการนาเสนอ เช่น ช่ือเร่ือง เนือ้ หา การเชื่อมโยงและอ่ืน ๆ ใช้รูปแบบเดยี วกนั 1.9 ใช้รูปแบบอกั ษรมาตรฐานทว่ั ไป โดยแบบอกั ษรจะ ไม่เปล่ียนแปลงเม่ือแสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรม ค้นหาเวบ็ อื่น ๆ (เชน่ Arial สาหรับภาษาองั กฤษ) 1.10 มีโครงสร้างการใช้สี ตาแหน่งการวางช่ือเรื่องและ เนือ้ หารูปแบบเดยี วกนั 1.11 ภาพและวัตถุช่วยให้ผู้เรียนบรรลุวตั ถุประสงค์ของ บทเรียน

บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา 19 ช่อื การออกแบบ ผ้เู ขียน / ผู้แต่ง ส่วนต่อประสาน รายละเอยี ด เ ืน ้อหา ระบบนาทาง การเ ้ขาถึง ้ขอมูล การทดสอบ 1.12 ความเร็วในการแสดงข้อมลู และแสดงผลบนหน้าจอ (ภาพหรือวัตถุขนาดใหญ่ใช้ เวลานานในการดาวน์โหลด และแสดงผลบนหน้ าจอ นอกจากนีใ้ นการถ่ายข้ อมูลและ แสด งผ ลแต กต่างกันไ ปตา มค วาม เร็ วขอ งอิ นเท อร์ เน็ ต ขอ ง ผ้ใู ช้งาน) 1.13 มีการอ้างองิ ผ้อู อกแบบและพฒั นาบทเรียน 1.14 มีการเช่อื มโยงเว็บไซต์ไปยงั เว็บไซต์ของหน่วยงาน อ่ืน ๆ 1.15 เวบ็ ไซต์มีการเชอื่ มโยงไปยงั หน้าประวตั ขิ องผ้สู อน 1.16 ภาพและวัตถุที่มีสีสันต่าง ๆ มีความชัดเจนเมื่อ พิมพ์แบบขาวดา 1.17 แต่ละหน้าสามารถพิมพ์ออกมาได้ขนาดพอดีใน หน่ึงหน้าเอกสาร 2. การออกแบบเนือ้ หา 2.1 บทเรียนใช้กลวิธีเพ่ือกระต้นุ ความสนใจของผู้เรียน ได้แก่ ภาพเคลื่อนไหว (ภาพเหตกุ ารณ์สนั้ ๆ) วตั ถุเคล่ือนไหว (เชน่ วตั ถสุ กุล .gif) ภาพประกอบ ความแตกตา่ งระหว่างวตั ถุ และสว่ นประกอบอน่ื ๆ ใช้สี เสียงและสญั ลกั ษณ์ที่เก่ียวข้องกับ เนือ้ หา 2.2 ในบทเรียนมีการใช้กลวิธีเพ่ือพฒั นาความคงทนใน การเรียน ได้แก่ หน้าจอการนาเสนอจัดเป็ นลาดับ เนือ้ หา จดั เป็ นระบบ เกี่ยวข้องกันอย่างมีความหมาย มีบทเกริ่นนาเข้า สเู่ นือ้ หา ใช้รูปแบบโครงสร้างการนาเสนอเดียวกันของแต่ละ หน้าการนาเสนอ เช่น การวางช่ือเร่ือง ภาพ บทความและ ส่วนประกอบอื่น ๆ มีเคร่ืองมือท่ีแบ่งเนือ้ หาออกเป็ นส่วน ๆ อยา่ งเหมาะสม มคี านาและบทสรุป 2.3 บทเรียนนาเสนอใจความสาคญั เพียงประเด็นเดียวใน หนง่ึ ยอ่ หน้า www.ThaiCyberU.go.th

20 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา ช่อื การออกแบบ ผ้เู ขยี น / ผ้แู ต่ง ส่วนต่อประสาน รายละเอยี ด เ ืน ้อหา ระบบนาทาง การเ ้ขาถึง ้ขอมูล การทดสอบ 2.4 บทความแบ่งออกเป็ นช่วง ๆ และสามารถอ่านแบบ กวาดสายตาเพื่อความเข้าใจ (หัวข้อหลักและหัวข้อย่อยใน บทเรียนควรสนั้ กะทดั รัดและสอดคล้องกันอย่างมีความหมาย เพื่อให้ผ้อู า่ นอา่ นกวาดสายตาหาใจความสาคญั ได้) 2.5 บทเรียนใช้องค์ประอบของสื่อประสม ได้แก่ ข้อความ ภาพและวตั ถุ ภาพ เคลื่อนไหว เสียง วีดีโอ และการผสมผสาน ของสื่อประสมเอือ้ ให้ เกิดการเรี ยนรู้บทเรี ยนได้ อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 2.6 สื่อประสมที่ใช้ในบทเรียนมีประสิทธิภาพในการสร้าง การเรียนรู้อยา่ งมีความหมายมากน้อยเพียงใด 2.7 บทเรียนมีการนาเสนอองค์ประกอบทางภาษาอย่าง ถกู ต้อง (ไวยกรณ์ เครื่องหมายวรรคตอน การสะกดคา) 2.8 บทเรียนมีการนาเสนอองค์ประกอบสื่อประสมอย่าง เหมาะสมและสอดคล้ องกัน (ข้ อความ ภาพและวัตถุ ภาพเคลอ่ื นไหว เสียง วีดีโอ) 2.9 บทเรียนสามารถพิมพ์สาหรับผ้เู รียนและผ้สู อนได้สะดวก 3. การออกแบบระบบนาทาง 3.1 บทเรียนมีโครงสร้ างเนือ้ หา เช่น หน่วยการเรียนรู้ สาระความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้และอื่น ๆ เพ่ือนาทางให้ผ้เู รียน ศกึ ษาบทเรียน 3.2 บทเรียนมีแผนผังเว็บไซต์ เช่น ภาพรวมของบทเรียน เพ่อื นาทางให้ผ้เู รียนศกึ ษาบทเรียน 3.3 บทเรียนควรถามให้ผู้เรียนถ่ายโอนข้อมลู ขนาดใหญ่ เช่น เสียง วีดีโอ และภาพขนาดใหญ่ลงในหน่วยความจาหลัก กอ่ น เพื่อหลกี เลีย่ งปัญหาตดิ ขดั ขณะเรียน 3.4 การเชื่อมโยงมีสัญลักษณ์และบอกจุดหมายใน กา รเชื่อมโยงแ ก่ผ้ ูเรี ยนเพื่อให้ ผ้ ูเรี ยน ตัดสิน ใ จใ น การเลือก การเชอื่ มโยง 3.5 บทเรียนที่มีการเช่ือมโยงภายในเว็บไซต์มากเกินไป อาจทาให้ผ้เู รียนสบั สน

บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 21 ช่อื การออกแบบ ผู้เขยี น / ผ้แู ต่ง ส่วนต่อประสาน รายละเอียด เ ืน ้อหา ระบบนาทาง การเ ้ขาถึง ้ขอมูล การทดสอบ 3.6 บทเรียนที่มีการเชื่อมโยงภายนอกมากเกินไปอาจทา ให้ผ้เู รียนสบั สน 3.7 เลือกใช้สัญลักษณ์ท่ีผู้เรียนคุ้นเคย มีความชัดเจน สอดคล้องกบั เนือ้ หาทต่ี ้องการเชือ่ มโยง 3.8 มีการใช้สีรูปแบบเดียวกันเพ่ือแสดงการเชื่อมโยงท่ี ผู้เรียนได้เข้าถึงและยังไม่ได้เข้าถึง สีมาตรฐานในการแสดง การเชื่อมโยง สีฟ้ าสาหรับการเชื่อมโยงที่ผ้เู รียนยังไม่ได้เข้าถึง และสแี ดงหรือสมี ว่ งสาหรับการเชอื่ มโยงทผ่ี ้เู รียนได้เข้าถงึ แล้ว 3.9 บทเรียนมีความยืดหยุ่นในการเรียนผ่านคาส่ังใน บทเรียน โดยผ้เู รียนมีทางเลือกตา่ ง ๆ ในการศกึ ษาบทเรียน 3.10 บทเรียนมีการแนะนาแนวทางการเรียน (ผู้เรียนมักจะ ดาเนินการศึกษาบทเรียนตามการเชื่อมโยงท่ีปรากฏในบทเรียน ดังนัน้ ควรมีการวางแผนการเชื่อมโยงหลายมิติอย่างมี ประสทิ ธิ ภาพเพ่อื เป็ นแนวทางแนะนาการศกึ ษาบทเรียนแกผ่ ้เู รียน 3.11 ควรมกี ารนาทางเข้าสบู่ ทเรียนที่งา่ ย ผ้เู รียนสามารถ เชื่อมโยงหน้าตา่ ง ๆ ได้สะดวก ไมส่ บั สนหรือหลงทาง 3.12 ควรหลีกเล่ียงการเช่ือมโยงบทเรียนไปยังเว็บไซต์ที่ ไมส่ มบรู ณ์ 3.13 ควรมีช่องทางการค้นหาข้อมลู ทัง้ ภายในเว็บไซต์ และภายนอกเว็บไซต์ 3.14 ควรใช้รูปแบบสญั ลกั ษณ์และคาเดียวกนั เพ่ือชว่ ยนา ทางในบทเรียน 3.15 ทกุ หน้าควรมกี ารเชอ่ื มโยงกลบั มายงั หน้าหลกั 3.16 การเช่ือมโยงภายในบทเรียนควรมีการเช่ือมโยงไป ยงั หน้าตา่ ง ๆ ทถ่ี กู ต้อง 3.17 การเช่ือมโยงภายนอกบทเรียนควรมีการเช่ือมโยงที่ ถกู ต้อง 3.18 ไมค่ วรมกี ารเชือ่ มโยงหลายมติ ใิ นบทเรียนมากเกินไป 3.19 คุณภาพระบบเสียงและวีดีโอโดยตรงจากเว็บไซต์ ควรมีประสทิ ธิภาพ www.ThaiCyberU.go.th

22 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา ช่อื การออกแบบ ผ้เู ขยี น / ผ้แู ต่ง ส่วนต่อประสาน รายละเอยี ด เ ืน ้อหา ระบบนาทาง การเ ้ขาถึง ้ขอมูล การทดสอบ 4. การทดสอบการใช้งาน 4.1 ทดลองใช้กบั กลมุ่ ผ้เู รียนกลมุ่ ตวั อยา่ ง 4.2 ผ้เู รียนตอบคาถามตา่ ง ๆ ในบทเรียนได้ภายในเวลาท่ี กาหนด 4.3 ผู้เรียนรู้ว่ากาลังอยู่ตาแหน่งใดในบทเรียนและนา ทางการเรียนได้โดยไมต่ ้องคาดเดา 4.4 การใช้ คาศัพท์เฉพาะในบทเรี ยนส ามารถทา ความเข้าใจได้งา่ ย 4.5 ผ้เู รียนเห็นตวั อยา่ งบทเรียนทจ่ี ะศกึ ษา 4.6 เว็บไซต์ออกแบบมาเพื่ออานวยความสะดวกให้ผ้เู รียน เข้ าถึงเนือ้ หาเฉพาะที่ต้ องการได้ อย่างสะดวก ภายใน การเชื่อมโยงไมเ่ กิน 3 ครัง้ 5. การเข้าถึงข้อมลู 5.1 เว็บไซต์ออกแบบมาให้ผู้เรี ยนจานวนมากเข้ าถึง บทเรียนได้มากน้อยเพียงใด 5.2 บทเรียนควรมีข้อความสารองอธิบายภาพและวัตถุ (ข้ อความสารองอาจไม่ใช่ข้ อความตัวอักษร สามารถใช้ โปรแกรมถ่ายทอดข้อมลู ได้ด้วยเสียง ซึ่งเป็ นสิ่งจาเป็ นสาหรับ ผ้บู กพร่องทางการมองเห็น) 5.3 บทเรียนควรมีข้ อความบรรยายประกอบการฟั ง (ผู้บกพร่องทางการได้ ยินสามารถอ่านข้ อความบรรยาย ประกอบการฟังได้) 5.4 หน้าจอสามารถปรับขนาดให้เหมาะกับผู้บกพร่องทาง สายตา 5.5 สามารถมองเห็นความแ ตกต่างของสีที่ใช้ ใ น การนาเสนอบทเรียนอย่างชดั เจนเพื่ออานวยความสะดวกแก่ ผ้บู กพร่องทางสายตา 5.6 ผ้เู รียนสามารถใช้แป้ นพมิ พ์อกั ษรแทนการใช้เม้าส์หรือ อปุ กรณ์เคลือ่ นตาแหนง่ ในการนาทางศกึ ษาบทเรียน

บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เว็บไซต์ทางการศกึ ษา 23 2) การตดิ ต่อส่ือสาร (Communication) เคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารเป็ นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ติดต่อสอบถาม ปรึกษาหารือ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผ้เู รียนและผ้สู อน และระหวา่ งผ้เู รียนกบั เพ่ือนร่วมชนั้ เรียนคนอ่ืน ๆ โดยเคร่ืองมือท่ใี ช้ในการตดิ ตอ่ ส่ือสารอาจแยกได้เป็ น 2 ประเภท คอื แบบประสานเวลา (Synchronous) และแบบไมป่ ระสานเวลา (Asynchronous) เครื่องมือ พืน้ ฐานที่ใช้ในการตดิ ต่อสื่อสารออนไลน์ที่เป็ นท่ีนิยมกนั อย่างแพร่หลายตงั้ แต่อดีตและยงั คง ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบนั ได้แก่ แช็ท ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ กระดาน อภปิ รายและกระดานประกาศ ภายหลงั ได้รับอทิ ธิพลด้วยเคร่ืองมือติดต่อส่ือสารต่าง ๆ ของ WWW2.0 เทคโนโลยี เช่น บล็อก วกิ ิ ทาให้การติดตอ่ ส่ือสารมีความเป็ นพลวฒั น์ (dynamic) มากยิ่งขนึ ้ รายละเอียดตา่ ง ๆ ดงั นี ้(จินตวรี ์ คล้ายสงั ข์ และประกอบ กรณีกจิ , 2552) แช็ท (Chat) เป็ นการสื่อสารแบบประสานเวลา ซึ่งเหมาะกับการแลกเปลี่ยน สารสนเทศในกล่มุ เดียวกนั และสามารถทบทวนไฟล์การสนทนาของกลมุ่ ได้ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เป็ นการส่ือสารแบบไม่ประสานเวลา ซง่ึ เป็ น เครื่องมือท่ีช่วยให้ผู้เรียนสามารถติดต่อส่ือสารกับผู้สอนหรือเพื่อนร่วมชัน้ เรียนได้โดยส่ง ข้อความในรูปจดหมาย พร้ อมทงั้ แนบไฟล์ไปยังพืน้ ท่ีส่วนตวั ของผู้รับ จึงสามารถนาไป ประยกุ ตใ์ ช้ได้กบั การปรึกษารายบคุ คล การส่งงานและการให้ข้อมลู ป้ อนกลบั แก่ผ้เู รียน กระดานอภปิ รายและกระดานประกาศ (Discussion Board and Bulletin Board) เป็ นการส่ือสารแบบไม่ประสานเวลา ซง่ึ สนบั สนนุ ให้ผ้สู อนและผ้เู รียนประกาศข้อความ ไฟล์ และสารสนเทศ ในพืน้ ท่ีท่ีผ้สู อนเตรียมไว้ให้ และผ้สู อนและผ้เู รียนสามารถโต้ตอบหรือดาวน์ โหลดไฟล์เหลา่ นนั้ ได้ ซง่ึ ผ้เู รียนสามารถตดิ ตามการสนทนาโต้ตอบในประเดน็ ทตี่ ้องการได้ บล็อก (Blog) เป็ นการส่ือสารแบบไม่ประสานเวลา ซง่ึ สนบั สนนุ ให้ผู้เรียนเขียน บนั ทกึ การเรียนรู้ประจาวนั และเปิ ดโอกาสให้ผ้สู อนและเพ่ือนร่วมชนั้ เรียนสามารถให้ข้อมลู ป้ อนกลบั เสนอข้อคดิ เหน็ หรือคาแนะนาแนบไปกบั บนั ทกึ นนั้ ได้ วกิ ิ (Wiki) เป็ นการสื่อสารแบบไม่ประสานเวลา โดยสนบั สนนุ ให้ผ้เู รียนและกล่มุ สามารถสร้ างและแก้ไขเอกสารร่วมกัน ซง่ึ สนับสนุนการเรียนแบบร่วมมือ ทงั้ นีก้ ลุ่มผู้เรียน สามารถบนั ทึกและร่วมกันทางานในพืน้ ที่ส่วนกลางร่วมกัน โดยผู้สอนอาจใช้เคร่ืองมือ การตดิ ตอ่ ส่ือสารอ่ืนร่วมด้วย เพ่ือให้สมาชิกในกล่มุ ได้ร่วมอภิปรายและตกผลกึ ความคดิ ได้ ดงั ตวั อยา่ งหนงั สือ/บทความในตารางที่ 1.5 และ 1.6 www.ThaiCyberU.go.th

24 บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา ตารางท่ี 1.5 หนงั สือ/บทความในประเทศทเ่ี ก่ียวกบั รูปแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา ช่อื การ รายละเอยี ด ผู้เขียน ออกแบบ / ผู้แต่ง เว็บ 2.0 สมคดิ  1. Google Adsense ระบบโฆษณาเป็ นลิงค์ตามแตค่ าทผี่ ้ใู ช้ค้นหา อเนกทวผี ล 2. flickr.com เว็บอัลบัม้ เก็บและแชร์รูปออนไลน์ท่ีมีการโยงใยเป็ น (2550) ชมุ ชน สง่ ต่อรูปกันง่าย BitTorrent ระบบท่ีผ้ใู ช้ต่างก็ดาวน์โหลดไฟล์จากกัน และกนั เอง 3. wikipedia.com เว็บสารานกุ รมที่ผ้ใู ช้บญั ญัติคากันเอง ให้ความหมาย กนั เอง และแก้ไขคาของคนอื่นได้ตลอดเวลา 4. Blog เขียนงา่ ย ใสร่ ูป เสยี ง คลิปได้งา่ ย ๆ เหมือนสง่ เมล์ เผยแพร่สง่ ต่อ ได้กว้างขวาง 5. SEO (Search Engine Optimization) ลงทนุ กับเทคนิคทาให้ลิงค์เว็บ บริษัทตวั เองได้อยหู่ น้าแรกบน ๆ ใน Google, เสริ ์ชอ่นื ๆ สนุ ิตย์  1. Wikipedia เป็ นสารานุกรม Online ขนาดใหญ่ท่ีสุด ไม่ว่าใครก็ได้ เชรษฐา สามารถสร้าง แก้ไข และปรับปรุงเนือ้ หาอยา่ งแทบไมม่ ขี ีดจากดั และ 2. flickr.com ซึง่ เป็ นเว็บไซต์ท่ีเปิ ดให้ผ้ใู ช้สามารถส่งรูปภาพอะไรก็ได้ขึน้ ชติ พงษ์ ระบบ กติ ตินราดร 3. Blog คือเวบ็ ไซต์สว่ นตวั สาเร็จรูป ที่ผ้ใู ช้เพยี งสมคั รสมาชกิ กับผ้ใู ห้บริการ (ม.ป.ป.) และเขียนข้อความท่ีต้องการลงไป พร้อมให้ใครก็ได้เข้ามาอา่ นทนั ที 4. Feed คอื ระบบท่สี ง่ ข้อมลู ขนึ ้ หน้าจอคอมพวิ เตอร์อยา่ งอตั โนมตั ิทกุ ครัง้ ท่ี มีการเพิ่มเติมหรือเปลีย่ นแปลงข้อมลู 5. digg สามารถให้คะแนนเนือ้ หาท่ผี ้ใู ช้คนอืน่ สง่ ขนึ ้ ระบบได้อยา่ งอิสระ

บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 25 ตารางท่ี 1.6 หนงั สือ/บทความต่างประเทศท่เี ก่ียวกบั รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา ช่อื การ ผ้เู ขยี น ออกแบบ รายละเอยี ด / ผ้แู ต่ง เว็บ 2.0 Tim and  Google AdSense, Flickr, BitTorrent, Napster, blogging, upcoming.org John and EVDB, search engine optimization, cost per click, web services, (2009) participation, wikis, tagging (\"folksonomy\"), syndication Paul  Flickr, YouTube, MySpace, Wikipedia, and the entire blogosphere, (2006) share digital 3) การประเมินผลการเรียน (Assessment and Evaluation) ในการเรียนแบบผสมผสานบางรายวิชาจาเป็ นต้องวัดระดับความรู้ก่อนเรียน (Pre-test) เพ่ือให้ผ้เู รียนได้เลือกเรียนในบทเรียนหรือหลกั สตู รท่ีเหมาะสมมากที่สดุ ซง่ึ จะทา ให้การเรียนเกิดประสิทธิภาพสงู สดุ เมื่อเข้าส่บู ทเรียนในแตล่ ะหลกั สูตรก็จะมีการสอบย่อย ท้ายบท (Quiz) และการสอบใหญ่ก่อนท่ีจะจบหลกั สูตร (Final Examination) ระบบจดั การการเรียนรู้จะเรียกข้อสอบทีจ่ ะใช้มาจากระบบบริหารคลงั ข้อสอบซง่ึ เป็ นส่วนย่อยท่ีรวมอยู่ ในระบบจดั การการเรียนรู้ (ปราวณี ยา สุวรรณณัฐโชติ และ จินตวีร์ มน่ั สกุล, 2550; ศรีศกั ด์ิ จามรมาน อทุ มุ พร จามรมาน และ จินตวีร์ มน่ั สกุล, 2549) โดยมีข้อสอบหลายรูปแบบให้ ผ้สู อนเลือกใช้ ทงั้ นีโ้ ดยส่วนใหญ่แล้วระบบจดั การการเรียนรู้จะสามารถสร้ างข้อสอบได้อย่าง น้อย 4 รูปแบบ ได้แก่ แบบเลือกตอบ แบบถกู ผดิ แบบเตมิ คาตอบ และแบบจบั คู่ นอกจากนีย้ ังมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่ผู้สอนควรนามาพิจารณาผลการเรียนรู้ ของผ้เู รียนประกอบการประเมินด้วยดงั นี ้ 1) จานวนครัง้ การเข้าเรียนในห้องเรียน หรือใน บทเรียนออนไลน์ หรือการเข้าร่วมกิจกรรมบนออนไลน์ 2) เวลาที่เข้าใช้ในแต่ละบทเรียน 3) ความถี่ในการแสดงความคดิ เหน็ หรือการอภปิ ราย เช่น ความถี่ในการอภิปรายในห้องเรียน หรือในกระดานอภิปราย เป็ นต้น 4) คณุ ภาพของการแสดงความคิดเห็นหรือการอภิปราย 5) การบ้านและงานที่ได้รับมอบหมาย ซ่งึ รวมถึงโครงงานต่าง ๆ ด้วย 6) คุณภาพของ การเขียนบนั ทกึ การเรียนรู้ประจาวนั และ 7) แฟ้ มสะสมงานอเิ ล็กทรอนิกส์ www.ThaiCyberU.go.th

26 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา สงิ่ สาคญั สาหรับการจดั การเรียนรู้และการประเมินผลก็คือ การให้ข้อมลู ป้ อนกลบั แก่ผู้เรียน ซงึ่ จากงานวิจยั ของ ประกอบ กรณีกิจ (2552) ที่พบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ระดับความสามารถทางการเรียนรู้และแบบการให้ข้ อมูลป้ อนกลับในแฟ้ มสะสมงาน อิเล็กทรอนิกส์ทม่ี ีตอ่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาการผลิตส่ืออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือ การศกึ ษาอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 ทงั้ นีเ้ นื่องจากผ้เู รียนต้องการข้อมลู ป้ อนกลบั ท่ีเฉพาะเจาะจงกับตนเอง มีการบอกจดุ เด่นและจุดด้อย หรือระบุข้อผิดพลาด ซงึ่ ข้อมลู ลกั ษณะนีจ้ ะมีประโยชน์กบั ผ้เู รียนมากกว่าการให้ข้อมูลป้ อนกลบั แบบคลมุ เครือ ดงั ตวั อย่าง หนงั สือ/บทความในตารางที่ 1.7 ตารางท่ี 1.7 หนงั สือ/บทความตา่ งประเทศทเ่ี ก่ียวกบั รูปแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา การ ช่อื ออกแบบ รายละเอยี ด ผู้เขยี น การทดสอบ / ผู้แต่ง Larisa  การทดสอบการใช้งานจะชว่ ยปรับปรุงระบบให้ดีกอ่ นนาไปใช้จริง (2004) 1) ผ้ใู ช้มีปฏิสมั พนั ธ์และสนกุ กบั การใช้งานเวบ็ ไซต์หรือไม่ 2) ผ้ใู ช้เข้าใจวตั ถปุ ระสงค์ของเวบ็ ไซต์หรือไม่ 3) ผ้ใู ช้จะกลบั มาใช้เวบ็ ไซต์อีกหรือไม่ 4) การทดสอบ search, site map, forms, and custom error pages function. 4. ขัน้ ตอนการออกแบบและพัฒนาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา จากองค์ประกอบท่ีสาคญั ทงั้ 3 สามารถนามาจดั ลาดบั ขนั้ ตอนการออกแบบและ พฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา (ADDIE MODEL) ซงึ่ มีส่วนประกอบท่ีสาคญั อยู่ 2 ส่วน คือ จากฝ่ ายผู้ผลิต/ผู้ดูแลเว็บไซต์ (Webmaster) และจากฝ่ ายผู้สอนและ/หรือนักออกแบบ การเรียนการสอน ดงั นี ้

บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 27 แผนภาพท่ี 1.2 ขนั้ ตอนการออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา จะขอแสดงถงึ กระบวนการในการพฒั นาเวบ็ ไซตส์ าหรับการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง ตามแนวทางของ ADDIE Instructional Design Model ซงึ่ ประกอบด้วยขนั้ ตอนดงั นี ้ 1) การวเิ คราะห์ (Analysis) ฝ่ ายผ้ผู ลิต/ผ้ดู แู ลเว็บไซต์ (Webmaster): การวเิ คราะห์วตั ถุประสงค์ของเว็บไซต์ กลุ่มผ้ชู ม/เป้ าหมาย เนือ้ หา และศกึ ษาแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ฝ่ ายผู้สอนและ/หรือนักออกแบบ การเรียนการสอน: การวเิ คราะห์ (Analysis) คอื การวเิ คราะห์วตั ถปุ ระสงค์ของบทเรียน ผ้เู รียน พืน้ ฐานของผ้เู รียน เนือ้ หา แหลง่ ความรู้ และสื่อที่เหมาะสม 2) การออกแบบ (Design) ฝ่ ายผ้ผู ลิต/ผ้ดู แู ลเว็บไซต์ (Webmaster): การออกแบบ (Design) คือการกาหนด โครงสร้ างเว็บไซต์ (Site Structure) รายละเอียดหน้าเว็บเพจทัง้ นีเ้ พื่อให้สอดคล้องกับ วตั ถุประสงค์ของเว็บไซต์ กลุ่มผู้ชม/เป้ าหมาย และเนือ้ หา โดยพิจารณาถึง การจดั ระบบ ข้อมูลสารสนเทศ (Chunking information) เพื่อเอือ้ แก่ผู้เข้าชมเว็บไซต์และ/หรือผู้เรียน เว็บไซต์ส่วนใหญ่จะมีการจดั ลาดบั เนือ้ หาโดยเรียงลาดบั ตามความสาคญั มากไปน้อย หรือ หลักการโดยภาพรวมลงไปสู่รายละเอียดปลีกย่อย (hierarchy of importance) ในอีก ลกั ษณะหน่ึงคือรูปแบบการจัดลาดบั ตามความสัมพันธ์ (Relations) โดยนาเสนอข้อมูล สารส นเทศจากการคาดเดาใจผ้ ูเข้ าชมว่าอะ ไรคือส่ิง ท่ีผ้ ูชมคาดหวัง ว่าจะเจอก่อ นหลัง www.ThaiCyberU.go.th

28 บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา อาจเร่ิมจากข้อมูลที่ผู้เข้าชม/ผู้เรียนมีความคุ้นเคยมากไปน้อย เพื่อให้ผู้ชมสามารถเข้าถึง ข้อมลู ท่ตี ้องการได้ แผนภาพท่ี 1.3 แสดงตวั อยา่ งเวบ็ ไซตท์ ี่นาเสนอข้อมลู ด้วยป่ มุ เมนทู มี่ ากเกินไป อาจทาให้ผ้เู ข้าชมสบั สนได้ เน่ืองจากป่ มุ และข้อมลู ภายใต้ลิงค์ นนั้ ไม่มีความสมั พนั ธ์กนั (ทม่ี า: http://www.webstyleguide.com) แผนภาพที่ 1.4 แสดงตวั อย่างเวบ็ ไซต์ท่ีนาเสนอข้อมลู ด้วยป่ มุ เมนทู นี่ ้อยเกินไป อาจทาให้ผ้เู ข้าชมสบั สนและทาให้ยากตอ่ การเข้าถงึ ข้อมลู (ทีม่ า: http://www.webstyleguide.com) ฝ่ ายผู้สอนและ/หรือนกั ออกแบบการเรียนการสอน: การออกแบบ (Design) คือ การกาหนดโครงสร้ าง แผน ขนั้ ตอนการดาเนินงาน และการประเมินบทเรียนอย่างเป็ นระบบ เช่น การออกแบบเนือ้ หาและกิจกรรมแบบประสานเวลา (Synchronous) แบบไม่ประสาน เวลา (Asynchronous) หรือแบบผสมผสาน (Blended หรือ Hybrid) เพื่อให้สอดคล้องกับ วตั ถปุ ระสงคข์ องบทเรียน พืน้ ฐานของผ้เู รียนและเนือ้ หา

บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 29 จะเห็นได้วา่ ขนั้ ตอนในการออกแบบเว็บไซต์นนั้ มีความสาคญั มากและอาจถือได้ ว่าเป็ นขัน้ ตอนที่สาคัญท่ีสุดในการวางแผนการสร้ างเว็บไซต์ เว็บไซต์ท่ีดีนัน้ จะต้องมี วตั ถปุ ระสงค์ที่ชดั เจน ข้อมลู มีการจดั วางอย่างเป็ นระเบียบ มีการจดั วางเนือ้ หาที่ชดั เจน ง่าย ตอ่ การสืบค้น และในแต่ละส่วนมีความสมั พนั ธ์กนั ทงั้ นีผ้ ้อู อกแบบเวบ็ ไซต์ควรจดั สร้ าง SITE STRUCTURE เพื่อตอบสนองความต้ องการข้ างต้ น ซ่ึงรายละเอียดเก่ียวกับ SITE STRUCTURE จะอธิบายในส่วนต่อไป ดงั ตวั อย่างผลงานวิจยั ต่างประเทศแสดงในตาราง ที่ 1.8 และหนงั สือ/บทความตารางท่ี 1.9-1.10 ตารางท่ี 1.8 งานวจิ ยั ตา่ งประเทศท่เี ก่ียวกบั รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา การ ช่อื ตวั แปร ออกแบบ สรุปผลการวจิ ัย ผู้วจิ ยั ตาม การออกแบบ Bi การ  รูปแบบของเวบ็ ไซต์เพ่ือการศึกษามีความสมั พนั ธ์กับการออกแบบ (2000) ออกแบบ การสอน การพฒั นาเนือ้ หาวิชา การสง่ ข้อมลู และการสง่ เสริมด้าน การสอน การจดั การ สว่ นประกอบของการออกแบบเว็บไซต์เพือ่ การศกึ ษา คือ ในรูปของ ต้องมีการทางานเป็ นทีม ผลสมั ฤทธ์ิของการใช้เทคโนโลยีเว็บขึน้ อยู่ เว็บไซต์เพอ่ื กับความ สามารถตอบสนองวัตถปุ ระสงค์การสอนและประโยชน์ การศกึ ษา ที่ต้องการจากการเรียน ส่วนทางด้านนักเรียนท่ีเรียนทางไกลต้อง การผลย้อนกลบั จากผ้สู อนระหวา่ งเรียนและผลสมั ฤทธิ์ทางการสอน ด้วยเทคโนโลยขี นึ ้ อยกู่ บั ปฏสิ มั พนั ธ์ทห่ี ลากหลาย www.ThaiCyberU.go.th

30 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา การ สรุปผลการวจิ ยั ช่อื ตวั แปร ออกแบบ ผู้วจิ ยั ตาม การออกแบบ Paolo แนวทาง  เสนอแนวทางในการเปล่ียนแปลงเว็บเพจที่มีเนือ้ หาท่ีคงท่ีและ et al ใน รวมอย่ใู นที่เดียวกัน ซึ่งเดิมหากต้องการท่ีจดั ทาหน้าเว็บเพจท่ีมี (2003) การเปลยี่ น ความคล้ายคลึงกัน ทาการคดั ลอกหน้าเพจซา้ ๆ กัน เม่ือต้องการ แปลงเว็บ ปรับปรุงเนือ้ หาและโครงสร้างของเว็บเพจ ก็จะต้องตามไปแก้ไขใน เพจทม่ี ี ทกุ ๆ หน้าท่มี ีผล กระทบซงึ่ ทาให้เกิดความยงุ่ ยาก ดงั นนั้ การเปลี่ยน เนือ้ หาที่ ให้เป็ นเว็บเพจท่ีมีความยืดหย่นุ ในการแก้ไข โดยจะมีนาเอาเทคนิค คงที่และ ของการทาคลสั เตอร์ (Cluster) จะสามารถดึงดดู ความสนใจของ รวมอยใู่ นท่ี ผู้ชมได้ กล่าวคือเป็ นการแยกโครงสร้ างเว็บเพจที่มีลัก ษณะ เดยี วกนั คล้ายคลึงกันออกมาเป็ นกลุ่ม ๆ เพ่ือใช้เป็ นโครงสร้ างหลักหรือ เทมเพลทท่ีจะใช้ร่วมกันและใช้เป็ นตัวกาหนดรูปแบบของส่วนท่ี แสดงเป็ นเวบ็ เพจ สว่ นคา่ ตวั แปรตา่ ง ๆ และคา่ ของข้อมลู ท่ีต้องการ แสดงบนหน้าเว็บทนี่ นั้ จะจดั เก็บไว้ในฐานข้อมลู พร้อมทงั้ มสี ว่ นของ แอพลิเคชนั่ ซึง่ อย่ทู ี่เซิร์ฟเวอร์ (Server) เพื่อทาการดึงข้อมลู ขึน้ มา จากฐานข้อมลู และทาการรวมกับโครงสร้างแล้วแปลงให้เป็ นหน้า เว็บเพจท่ีสามารถแสดงบนบราวเซอร์ (Browser) ได้ ทาให้ การทางานมีความเป็ นอัตโนมัติเพิ่มมากขึน้ และหากจะมี การเปล่ียนแปลงจะเป็ นเพียงการเพ่ิม แก้ไข และลบข้อมูลใน ฐานข้อมลู เทา่ นนั้

บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เว็บไซต์ทางการศกึ ษา 31 ตารางท่ี 1.9 หนงั สือ/บทความในประเทศทีเ่ ก่ียวกบั รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา การ ช่อื ออกแบบ รายละเอียด ผ้เู ขียน การออกแบบ / ผู้แต่ง ไพฑรู ย์  1. จุดประสงค์ (Aim) เว็บไซต์แต่ละเว็บไซต์นัน้ จะมีจุดประสงค์ใน ศรีฟ้ า การสร้ างท่ีแตกต่างกันเช่น สร้ างขึน้ เพื่อเสนอข้ อมูลข่าวสาร เพ่ือ (2542) การประชาสัมพันธ์ เพ่ือการทดลอง ซ่ึงเป็ นเร่ืองยากท่ีจะชีใ้ ห้ชัดเจน ถึงคุณค่าของเว็บเหล่านัน้ ส่ิงสาคัญอยู่ตรงที่เว็บต่าง ๆ เหล่านัน้ ได้มี การอธิบาย และมีทิศทางท่ีชัดเจนในส่วนของหัวเร่ืองจะเป็ นส่ิงท่ีสะท้อน เรื่องราวภายในเวบ็ นนั้ ๆ ได้ตามสมควร 2. ความถกู ต้องแมน่ ยา (Accuracy) เวบ็ เพจจานวนมากขาดความรู้ความ ถกู ต้องและแมน่ ยาในเรื่องของการตรวจสอบคาผิด ดงั นนั้ คาหรือข้อความที่ ถกู ต้องจะทาให้เกิดการเรียนรู้ในสง่ิ ทตี่ ้องการส่อื สารได้อยา่ งไมผ่ ิดพลาด 3. ความนา่ เชื่อถือและความเช่ียวชาญ (Authority) ในการประเมินคณุ คา่ หนังสือ จะดูว่าหนังสือเล่มนัน้ ใครเป็ นผู้แต่ง เช่นเดียวกับเว็บเพจ ความน่าเชอ่ื ถือสว่ นหนงึ่ มาจากผ้เู ขียนหรือทมี งานในการสร้างเว็บ 4. ช่วงระยะเวลาท่ีแพร่กระจาย (Currency) ในแต่ละเว็บเพจควรมี การบอกวา่ เราเร่ิมสร้างตงั้ แตเ่ ม่อื ใด ปรับปรุงครัง้ สดุ ท้ายเมื่อใด ซึง่ ตามปกติ แล้ว เว็บเพจจะต้องมกี ารปรับปรุงให้ทนั สมยั อยตู่ ลอดเวลา 5. ความลกึ ซงึ ้ ของเนือ้ หา (Depth) ความแตกตา่ งของเว็บเพจกบั หนังสือ ก็คือไม่สามารถสร้ างเว็บให้มีความละเอียดและลึกซึง้ ได้เท่ากับหนังสือ สว่ นมากจะได้แคน่ าเสนอข้อมลู ข่าวสารได้ไมม่ ากนกั แตส่ ่ิงที่เว็บสามารถทา ได้ คือ ลกั ษณะของการเสนอแนะในเร่ืองเทคนิควิธีการ เรื่องของภาพและ เสียงที่สามารถทาให้ผู้ชมต่ืนตาตื่นใจได้ อีกทัง้ ยังสามารถดาวน์โหลด โปรแกรม ภาพ เสียงและอ่นื ๆ ท่ีเราสนใจจากเวบ็ อ่ืนได้ www.ThaiCyberU.go.th

32 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา การการออกแบบ รายละเอียด ช่อื ออกแบบ ผู้เขียน / ผ้แู ต่ง NECTEC  6. การออกแบบ (Design) การออกแบบเว็บเพจจะต้องง่ายต่อการอ่าน (2545) พยายามหลีกเล่ียงตวั อกั ษรและข้อความท่ีมืดทึบ และใกล้เคียงกบั พืน้ หลัง ความเร็วในการถ่ายโอนข้อมลู ซง่ึ ในการออกแบบหากมีภาพกราฟิ ก ควรใช้ ภาพแบบ Small Image 7. ความทันสมัยทันเหตุการณ์ (Regularity of update) ควรจะมี การเสนอข้อมลู ข่าวสารที่ทนั สมยั ทนั ต่อเหตกุ ารณ์ และความเปลี่ยนแปลง อยู่เสมอ ดังนัน้ ในการพัฒนาเว็บเพจ ผู้ท่ีจะพัฒนาเว็บเพจควรคานึงถึง คณุ ลักษณะที่เหมาะสมและคุณภาพของเว็บเพจ เพ่ือจะได้สร้างเว็บเพจ อยา่ งถกู ต้องและเป็ นเวบ็ เพจทีม่ คี ณุ คา่ และมปี ระโยชน์ 1. การประเมินด้านตัวอักษร ได้แก่ ชนิดตัวอักษร (Font) ต้องเป็ น มาตรฐาน ไม่หลากหลายเกินกว่า 3 ชนิดใน 1 หน้าเว็บเพจ อา่ นงา่ ยชดั เจน มีความกลมกลนื เป็ นระบบในทกุ หน้า ใช้รูปแบบตวั อกั ษร(ตวั เอียง,ขีดเส้นใต้, หนา,บาง) แตกตา่ งเหมาะสม (เชน่ ถ้าเป็ น หวั ข้อใช้ตวั หนาตวั บางใช้สาหรับ เนือ้ หาปกติ ) ขนาดตวั อกั ษรต้องเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้ าหมาย (เชน่ เด็กเล็กใช้ ขนาดตวั อกั ษรใหญ่ ระดบั มธั ยมศกึ ษา อดุ มศกึ ษา ตวั อกั ษรขนาดเลก็ ลง) 2. การใช้สี ทงั้ สีตวั อกั ษร สีพืน้ เว็บ สีภาพประกอบ สีวตั ถอุ ื่น ๆ ท่ีนามา ประกอบใช้สีสวยงามสบายตาไม่หลากหลายสีเกินไป สื่อความหมายได้ (เชน่ สแี ดงแทนเร่ืองราวใหม่ ๆ ที่น่าติดตาม) มีความแตกต่างระหว่างสีพืน้ และสขี ้อความ สีภาพประกอบ เหมาะสม มคี วามแตกตา่ งระหวา่ งสีข้อความ และข้อความที่มสี ว่ นเชอ่ื มโยง ใช้สอี ยา่ งกลมกลืนในทกุ หน้าของเวบ็ ไซต์ 3. การใช้ภาพกราฟิก ชนิดของภาพเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้ าหมาย (ภาพวาด การ์ตนู ใช้กบั เด็ก, ภาพถ่ายใช้กับบคุ คลทว่ั ไป) ภาพต้องส่ือความหมายตรง ตามจุดประสงค์หรือสามารถอธิบายเพ่ิมเติมได้มากกว่าตัวหนังสือ ขนาด ของภาพท่ีแสดงในหน้าจอเหมาะสม ชนิดและขนาดของไฟล์ภาพไม่ใหญ่ เกินไป

บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เว็บไซต์ทางการศกึ ษา 33 การการออกแบบ รายละเอยี ด ช่อื ออกแบบ ผู้เขยี น / ผู้แต่ง 4. การใช้ภาพเคลือ่ นไหว (Animation) ควรใช้ในกรณีทไ่ี มส่ ามารถหาภาพ จริงได้หรือการอธิบายเร่ืองทเ่ี ป็ นนามธรรมหรือเร่ืองท่ีซบั ซ้อนเพ่ือให้ดงู า่ ยขึน้ และภาพต้องส่ือความหมายตรงตามจดุ ประสงค์ ขนาดของภาพที่แสดงใน หน้าจอเหมาะสม ชนิดและขนาดของไฟล์ภาพไม่ใหญ่เกินไป ความเร็วของ การเคล่ือนไหวเป็ นธรรมชาติ จานวนของภาพเคลื่อนไหวเหมาะสม 5. การประเมินด้านภาพวีดิทศั น์ (Video) ใช้ในกรณีที่เนือ้ หาต้องการ นาเสนอถึงความต่อเน่ืองของขัน้ ตอนวิธีการอย่างใดอย่างหน่ึง หรือแสดง สภาพจริงทีเ่ กิดขึน้ ขนาดของภาพวีดิทศั น์ที่แสดงในหน้าจอเหมาะสม ชนิด และขนาดของไฟล์ไม่ใหญ่เกินไป ภาพที่แสดงเคล่ือนไหวเหมือนจริง มี การบอกวธิ ีการเปิ ดดวู ดี ทิ ศั น์หรือโปรแกรมทจ่ี ะใช้ในการดู 6.การประเมินด้ านเสียง มีทัง้ เสียงบรรยายและเสียงประกอบ (Background) ชดั เจนเหมาะสม สอดคล้องสมจริงเข้ากับเนือ้ หา ไม่รบกวน ผ้ใู ช้ ความจาเป็ นในการใสเ่ สยี งลงในเว็บไซต์ ขนาดและชนิดของไฟล์เสียงไม่ ใหญ่เกินไป มีคาแนะนาหรือบอกวิธีการเปิ ดเสียง สามารถเลือกได้ว่าจะฟัง เสียงหรือไม่ 7. การประเมินด้านการจดั วางองค์ประกอบต่าง ๆ (ภาพ,ข้อความ ฯลฯ) ควรมีความสมดลุ เหมาะสม มีความเป็ นสากล(เช่นจากบนมาล่าง ซ้ายไป ขวา) กลมกลนื ในทกุ ๆ หน้า www.ThaiCyberU.go.th

34 บทท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเก่ียวกบั เวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา ตารางท่ี 1.10 หนงั สือ/บทความต่างประเทศทเี่ ก่ียวกบั รูปแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา การ ช่ือผ้เู ขียน ออกแบบ / ผู้แต่ง การออกแบบ รายละเอียด Waterhouse  คณุ ภาพในการออกแบบ (2005) 1. มกี ารใช้ประโยชน์จากภาพและวตั ถอุ ยา่ งเหมาะสม 2. สามารถนาทางศกึ ษาบทเรียนในเวบ็ ไซต์ได้งา่ ย Gary et al 3. เวบ็ ไซต์มกี ารออกแบบให้งา่ ยตอ่ การอา่ น (2008) 4. ผ้เู รียนสามารถเข้าถึงข้อมลู ตา่ ง ๆ ทตี่ ้องการเพิม่ เติมได้ใน การเชื่อมโยง 2-3 ครัง้ 5. การเชอื่ มโยงไปยงั เวบ็ ไซต์อ่นื ๆ สามารถใช้งานและเข้าถึงได้ 6. เว็บไซต์มกี ารนาเสนอโดยใช้ข้อความเพยี งอยา่ งเดยี วหรือไม่ 7. ผ้เู รียนสามารถค้นหาเวบ็ ไซต์ได้งา่ ย 8. ออกแบบเพื่อความสะดวกตอ่ การกวาดสายตาและทาเข้าใจ บทเรียนได้งา่ ย 9. มีการใช้สอี ยา่ งเหมาะสม 10. หลีกเลย่ี งการใช้ภาพและวตั ถทุ ี่เคล่อื นไหวแบบกระพริบเร็ว ๆ มลี กั ษณะโค้งมนหรือมองแล้วรู้สกึ สบั สน 11. มกี ารออกแบบแถบป้ ายบอกข้อมลู สาหรับผ้อู า่ น 12. มแี ผนผงั โดยรวมของเวบ็ ไซต์ 13. หน้าการนาเสนอข้อมลู มีการเชอื่ มโยงกลบั ไปยงั หน้าหลกั 14. ผ้เู รียนยงั คงเข้าถึงเวบ็ ไซต์ได้ปกตใิ นชว่ งเวลาท่ีมกี ารเช่อื มตอ่ เครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตมปี ัญหา 15. มีการถ่ายข้อมลู และแสดงผลหน้าการนาเสนอข้อมลู อยา่ งรวดเร็ว  1. เวบ็ ไซต์ใช้งานงา่ ย 2. เข้าถึงระบบนาทางได้งา่ ย 3. ผ้เู รียนสามารถควบคมุ การเรียนได้ด้วยตนเอง 4. มกี ารจดั กิจกรรมโดยใช้เทคนิคท่นี า่ สนใจ 5. มกี ลยทุ ธ์นวตั กรรมการเรียนรู้ใหม่ ๆ

บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เว็บไซตท์ างการศกึ ษา 35 การ รายละเอียด ช่ือผู้เขยี น ออกแบบ / ผ้แู ต่ง การออกแบบ 6. เรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์ตรง 7. การทดสอบเชอ่ื ถือได้ 8. มขี อบเขตเนือ้ หาที่ชดั เจน 9. มกี ารประเมินผลการเรียนโดยผ้เู รียนด้วย 3) การพัฒนา ฝ่ ายผ้ผู ลิต/ผ้ดู แู ลเวบ็ ไซต์ (Webmaster): การพฒั นา (Development) คือการสร้ าง เวบ็ ไซตโ์ ดยเร่ิมจากการกาหนดแผนการดาเนินงานผลิตอย่างเป็ นขนั้ ตอนตาม Storyboard ท่ี ได้ระบุ เนือ้ หา รูปแบบของเนือ้ หาในแต่ละหน้าเว็บเพจ รวมถึงรูปภาพ เสียง วีดิทศั น์ และอ่ืน ๆ เพื่อตอบสนองวตั ถปุ ระสงค์ของเวบ็ ไซต์ จากนนั้ ใช้ program authoring tools ตา่ ง ๆ ใน การสร้ างเวบ็ ไซต์ เช่น program macromedia dreamweaver ท่ีเป็ นท่ีนิยมอย่างแพร่หลาย program exe ทีเ่ ป็น freeware และใช้โปรแกรม editing tool ต่าง ๆ ในการตกแต่งภาพ และ กราฟิ กตา่ ง ๆ เช่น Adobe Photoshop ที่เป็ นที่นิยม หรือ program photoscape ที่เป็ น freeware เป็นต้น ฝ่ ายผู้สอนและ/หรือนกั ออกแบบการเรียนการสอน: การพัฒนา (Development) คือการสร้ างบทเรียนโดยเริ่มจากการกาหนดแผนการดาเนินงานผลิตอย่างเป็ นขนั้ ตอนด้วย การเขียน Storyboard โดยระบุ เนือ้ หา รูปแบบของเนือ้ หาที่จะใช้ เช่น รูปภาพ เสียงบรรยาย วีดิทศั น์ และผ้รู ับผิดชอบเพื่อตอบสนองวตั ถุประสงค์ของบทเรียนและการประเมินบทเรียน อยา่ งเป็นระบบ www.ThaiCyberU.go.th

36 บทที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั เว็บไซต์ทางการศกึ ษา 4) การนาไปใช้ ฝ่ ายผู้ผลิต/ผู้ดแู ลเว็บไซต์ (Webmaster): การนาไปใช้ (Implementation) คือ การนาเว็บไซต์ท่ีสร้ างเสร็จไปใช้งานจริงหลงั จากท่ีได้มีการทดลองนาไปใช้กบั กล่มุ เป้ าหมาย และได้ปรับแก้ตามข้อเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงแก้ไขแล้ว นอกจากนีอ้ าจมีการตรวจเช็คและขอ คาแนะนาจากผ้เู ชี่ยวชาญด้านการออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซต์ ฝ่ ายผ้สู อนและ/หรือนกั ออกแบบการเรียนการสอน: การนาไปใช้ (Implementation) คือการนาบทเรียนที่สร้ างเสร็จไปใช้งานจริงหลงั จากท่ีได้มีการทดลองนาไปใช้โดยกลุ่มนัก ออกแบบและนกั พฒั นาบทเรียนแล้ว โดยในบทเรียนหน่งึ จะมีคาอธิบายการนาบทเรียนไปใช้ สาหรับผ้สู อน การเตรียมความพร้อมผ้เู รียน และการเตรียมอุปกรณ์เคร่ืองมือสาหรับบทเรียน นนั้ ๆ เพื่อให้สามารถนาบทเรียนไปใช้อย่างได้ผลสงู สดุ 5) การวดั ผลและการประเมนิ ฝ่ ายผ้ผู ลติ /ผ้ดู แู ลเวบ็ ไซต์ (Webmaster): การวดั ผลและการประเมิน (Evaluation) คือการวดั ผลและการประเมินจะต้องทาอย่างมีระบบโดยวดั ที่คณุ ภาพและประสิทธิภาพของ ขนั้ ตอนการออกแบบเว็บไซต์รวมทงั้ ชิน้ ผลงานเว็บไซต์ ทงั้ นีเ้ พ่ือเป็ นการเก็บข้อมลู เพ่ือนาไป ปรับปรุงแก้ไขในการดาเนินงานครัง้ ตอ่ ๆ ไป และเพ่ือเป็ นการเปิ ดโอกาสรับฟังความคดิ เห็น จากผู้ใช้งานจริง ไม่วา่ จะเป็ นในเร่ืองของความถกู ต้องของเนือ้ หา การทางานของ link และ ระบบนาทาง (Navigation) ตรวจสอบหาความผิดพลาดของโปรแกรม script ความละเอียด ของภาพและความเร็วในการ download เม่ือเชื่อมตอ่ กบั อนิ เทอร์เน็ต รวมทงั้ มีการทดลองกบั web browser ทีห่ ลากหลาย ฝ่ ายผู้สอนและ/หรือนักออกแบบการเรียนการสอน: การวัดผลและการประเมิน (Evaluation) การวัดผลและการประเมินจะต้องทาอย่างมีระบบโดยวัดท่ีคุณภาพและ ประสทิ ธิภาพของขนั้ ตอนการออกแบบบทเรียนรวมทงั้ ชิน้ ผลงานบทเรียน โดยการประเมินจะ ประกอบด้ วย 2 ส่วนที่สาคัญคือ การประเมินผลระหว่างขัน้ ตอนพัฒนา (Formative Evaluation) เป็ นการเก็บข้อมลู เพื่อนาไปปรับปรุงแก้ไขในการดาเนินงานครัง้ ต่อ ๆ ไป และ การประเมินผลเม่ือพฒั นาบทเรียนเรียบร้ อยแล้ว (Summative Evaluation) เพื่อเป็ นการเปิ ด โอกาสสาหรับความคิดเห็นจากผู้ใช้งานจริง และจากการวัดและประเมินผลลัพธ์ทางการ เรียนรู้ของผ้เู รียนวา่ ตรงตามวตั ถปุ ระสงคข์ องบทเรียนหรือไม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook