Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tcu_website

tcu_website

Published by thaimooc, 2020-07-16 07:50:50

Description: tcu_website

Keywords: worksho,tool,learning,education

Search

Read the Text Version

236 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา ตวั อย่างท่ี 4 ตวั อย่างท่ี 4 ผลงานของคณุ พชั ริดา วสิ ยั เกตุ ผลงานในรายวิชาการออกแบบเวบ็ ไซตส์ าหรับอีเลิร์นนงิ หลกั สตู รผ้เู ช่ียวชาญอีเลริ ์นนงิ ตวั อยา่ งที่ 5 ตวั อยา่ งที่ 5 ผลงานของคณุ สิทธิชยั มาทามา ผลงานในรายวิชาการออกแบบเวบ็ ไซตส์ าหรับอีเลิร์นนิง หลกั สตู รผ้เู ชี่ยวชาญอีเลริ ์นนงิ

บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา 237 วธิ ีการใช้งานโปรแกรม MindMapper สาหรับสร้าง Site Structure MindMapper เป็ นโปรแกรมที่ช่วยในการจดั การความคดิ สามารถ download ได้ จาก www.mindjet.com (สนบั สนนุ ทงั้ ระบบปฏิบตั ิการ Windows และ Mac) ตวั อย่าง Site structure ทพี่ ฒั นาด้วยโปรแกรม MindMapper ดงั นี ้ www.ThaiCyberU.go.th

238 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา โปรแกรม MindMapper มีรายละเอียดวิธีการใช้งานดังนี้ 1. เม่ือเปิดโปรแกรมจะพบหน้าแสดงขนั้ ตอนวธิ ีการใช้งานตา่ ง ๆ ถ้าต้องการเปิดหน้า เอกสารใหม่ ให้คลิก “NEW” 2. ดบั เบลิ คลกิ ที่คาวา่ “Title” ถ้าต้องการพิมพ์ช่ือหวั เรื่อง

บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 239 3. คลกิ ที่ FORMAT> เลือก Style menu เพ่ือปรับแตง่ รูปแบบตามต้องการ 4. หรือถ้าต้องการใช้รูปภาพแทนกล่องข้อคาม ให้คลิกท่ีไอคอน Image... > จากนนั้ ให้ browse และ insert รูปภาพตามต้องการ www.ThaiCyberU.go.th

240 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา 5. ไปท่ี Insert เมนู จากนนั้ สามารถเลือกทจ่ี ะเพิ่มหวั ข้อย่อยทีละหวั ข้อ (Single Sub-Topic หรือเพมิ่ หวั ข้อย่อยทลี ะหลายหวั ข้อ (Multiple Topics...) 6. ในกรณีทเ่ี ลือก Insert Multiple Topics ให้พมิ พ์ชื่อหวั ข้อแล้วคลิก enter จากนนั้ ใส่ หวั ข้อใหมต่ ามท่ีต้องการ

บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา 241 7. ผลลพั ธ์ที่ได้ดงั ภาพ 8. ในกรณีทต่ี ้องการเพมิ่ หวั ข้อยอ่ ยในลาดบั ตอ่ ๆ ไป ให้คลกิ ทหี่ วั ข้อย่อยในแขนงทต่ี ้องการ ดงั ตวั อย่างเช่น คลิกท่แี ขนงหวั ข้อย่อยท่ี 1 ถ้าต้องการเพ่ิมหวั ข้อยอ่ ยท่ี 1.1 และ 1.2 ดงั ภาพ www.ThaiCyberU.go.th

242 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 9. ผลลพั ธ์ทไ่ี ด้ดงั ภาพ 10. นอกจากนี ้การเพ่มิ หวั ข้อสามารถทาได้โดยคลิกป่ มุ “Insert” บนคยี ์บอร์ด และคลิก “Enter” เพ่ือเพิม่ หวั ข้อ หรือในกรณีทต่ี ้องการเพิม่ หวั ข้อย่อยเพ่ือเช่ือมโยงตอ่ ไปเร่ือย ๆ ให้คดั ลอกท่ีหวั ข้อยอ่ ยนนั้ ๆ แล้วคลกิ “Insert” 11. จากนนั้ คลิกที่ Format เพื่อเลือกทศิ ทางของหวั เรื่องยอ่ ยตา่ ง ๆ

บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 243 12. คลกิ ที่ Format > Branch Shape เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบของลกั ษณะเส้นทใ่ี ช้เช่ือมโยง mindmap 13. ไปท่ี File > Save As... เมนู เพื่อบนั ทกึ ไฟล์งาน www.ThaiCyberU.go.th

244 บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 14. เลือก Save as > MindMapper file (.twd) สาหรับการแก้ไข 15. เลือกบนั ทกึ เป็น JPEG File (*.jpeg,*jpg) สาหรับการนาไปใช้ 16. นอกจากนี ้ในโปรแกรมสามารถเพ่ิมรูปภาพจาก Clip Art ทเ่ี มนดู ้านขวามือ โดยคลิก เลือกแขนงทต่ี ้องการใสภ่ าพและคลิกเลือกรูปภาพท่ตี ้องการ

บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 245 กิจกรรมท่ี 5วเิ คราะห์ สังเคราะห์ องค์ประกอบท่สี าคัญของอีเลิร์นนิงเว็บไซต์ท่มี ีประสิทธภิ าพ ขอให้ทกุ ทา่ น เข้าเยี่ยมชม website ของมหาวทิ ยาลยั ตา่ ง ๆ ทจี่ ดั การเรียนการสอน แบบอีเลิร์นนิงที่ได้กล่าวถงึ ในเนือ้ หาข้างต้น โดยคดั เลือกมหาวิทยาลยั ในประเทศต่าง ๆ 2 ท่ี เช่น MIT OCW (Open Courseware) http://ocw.mit.edu/index.html , University of Phoenix Online ( http://www.uopxonline.com ) และในประเทศไทย 1 ที่ เช่น College of Internet Distance Education of Assumption University, Thailand Cyber University (TCU) จากนนั้ ผ้เู รียนแสดงความคดิ เห็นวา่ องค์ประกอบใดเป็ นองค์ประกอบสาคญั ท่ีขาด ไม่ได้ของเวบ็ ไซต์สาหรับการจดั การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง (วิเคราะห์เฉพาะโฮมเพจ -- หน้าเว็บหน้าแรก) และสุดท้ายคือการสงั เคราะห์ \"องค์ประกอบที่สาคญั ท่ีขาดไม่ได้\" ของ เวบ็ ไซตส์ าหรับการจดั การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง ดงั ตวั อย่างตารางสงั เคราะห์อีเลิร์นนิง เวบ็ ไซต์ ตวั อย่างตารางเปรียบเทยี บ e-Learning Components Website ตา่ งประเทศ Website ในประเทศ องค์ประกอบ องค์ประกอบ http://ocw.mit.e http://www.uopxo http://www.thaicy อื่น ๆ สาคญั ที่ du/index.html nline.com beru.go.th ขาดไมไ่ ด้ Banner Navigation bar Log-in Announcement ….. ….. www.ThaiCyberU.go.th

246 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา ตัวอย่าง ตารางสังเคราะห์องค์ประกอบเวบ็ ตวั อย่าง ตวั อยา่ งที่ 1 Website ต่างประเทศ Website ในประเทศ องค์ประกอบ สาคัญ Components ท่ขี าดไม่ได้ องค์ประกอบ / / Banner //// / Navigation bar //// / / Courses list //// / Donate / / About us //// / / Contact us //// / / Help // / / Search Engine // / / / Email this page // / Finder / / RSS // / Sign up /// Resources //// Site map // / Announcement //// Chat / Login / / Loss password // News / Statistics //

บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 247 ตวั อย่างท่ี 2 www.ThaiCyberU.go.th

248 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา ตวั อย่างท่ี 3 University เว็บไซต์ Rangsit องค์ประกอบ of Alberta University University สาคญั องค์ประกอบของเวบ็ of Tokyo  ท่ขี าดไม่ได้ 1. ข้อความทกั ทายต้อนรับ   2. กลอ่ งสาหรับใสช่ ื่อผ้เู รียนและ     รหสั ผา่ น    3. รายวิชาตา่ ง ๆ   4. การใช้สีสนั    5. ขนาดของข้อความ   6. ภาพกราฟิก   7. ภาพเคลื่อนไหวแบบไฟลว์ ิดีโอ    8. แบนเนอร์  9. จดุ เช่ือมโยงหลายมิติ    10. โลโก้ประจาสถาบนั   11. เมนหู ลกั /หน้าหลกั  12. เมนยู อ่ ย   13. รายชื่อผ้เู รียนท่ีกาลงั ออนไลน์  14. ปฏิทิน  15. กลอ่ งค้นหา  16. ข้อมลู ข่าวสาร/ประกาศ  17. ภาษาอ่นื ๆ นอกเหนือจาก  ภาษาท่ใี ช้ในประเทศนนั้ ๆ 18. การติดตอ่ กบั เว็บมาสเตอร์ 19. การเช่อื มโยงกบั หนว่ ยงานอนื่ ๆ 20. การสงวนลขิ สทิ ธ์ิ

บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา 249 ตวั อยา่ งท่ี 4 Web 1 Web 2 Web 3 องค์ประกอบ องค์ประกอบของเวบ็ MIT Utah Chula สาคัญ State ท่ขี าดไม่ได้ 1. เนือ้ หา (Content)    - คาประกาศ/คาแนะนาการเรียน โดยใช้ - Open Course Ware  - ระบบสาหรับใสช่ ่ือผ้เู รียนและรหสั ลบั สาหรับเข้า - -- ใช้ระบบ (Login)  - รายละเอยี ดเก่ียวกบั โปรแกรมทีจ่ าเป็นสาหรับ    การเรียกดเู นือ้ หาอยา่ งสมบรู ณ์ (Technical Requirements) -  - ช่ือหนว่ ยงาน และวิธีการติดตอ่ กบั หน่วยงาน    ท่ีรับผิดชอบ   - การแสดงวนั ทแี่ ละเวลาที่ทาการปรับปรุงแก้ไข    เวบ็ ไซต์ครัง้ ลา่ สดุ - --   - เคาน์เตอร์เพอื่ นบั จานวนผ้เู รียนที่เข้ามาเรียน  - - รายช่อื รายวชิ าทบ่ี รรจอุ ยใู่ น Open Course Ware    - รายช่ือผ้สู อนรายละเอยี ดรวมทงั้ วิธีการตดิ ตอ่ ผ้สู อน    - ประมวลรายวิชา (Syllabus) จดุ ประสงค์รายวิชา   - ห้องเรียน (Class) ได้แก่ บทเรียนหรือ คอร์สแวร์   - เว็บเพจสนบั สนนุ การเรียน (Resources)   - ความชว่ ยเหลอื (Help)   - รายวชิ าอ่ืน ๆ (Other Course)   - เว็บเพจคาถามคาตอบทีพ่ บบอ่ ย (FAQs)   - การออกจากระบบ (Logout) - -- www.ThaiCyberU.go.th

250 บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา องค์ประกอบของเว็บ Web 1 Web 2 Web 3 องค์ประกอบ MIT Utah Chula สาคญั State ท่ขี าดไม่ได้ 2. ระบบบริหารการเรียน หรือ LMS - ลงิ ค์ไปยงั สว่ นของการจดั การการสอนด้านอื่น ๆ    (Management)  3. การตดิ ต่อส่อื สาร  - ประเภทชว่ งเวลาเดยี วกนั (synchronous)     - ประเภทชว่ งเวลาตา่ งกนั (asynchronous)   - 4. การสอบ/วัดผลการเรียน   - - การอธิบายลกั ษณะของการประเมินผล   - - การแบง่ นา้ หนกั ของคะแนนในแตล่ ะกิจกรรม  5. ข้อสงั เกต อ่ืน ๆ - มีการแนะนาลง credit ลงเรียน - - - การแปลภาษาเพือ่ เออื ้ ตอ่ ผ้เู รียนจากประเทศอน่ื ๆ  - - - การจงู ใจให้สนบั สนนุ หรือบริจาคให้แก่เว็บไซต์ - - - การเปิ ดโอกาสให้แสดงความคดิ เหน็ ด้านผลป้ อน   กลบั FEED BACK ให้แก่ทางเวบ็ ไซต์

บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 251 กจิ กรรมท่ี 6 การออกแบบและพัฒนาหน้าโฮมเพจสาหรับการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ องค์ประกอบที่สาคัญของอีเลิร์นนิงเว็บไซต์ท่ีมี ประสิทธิภาพ ขอให้ (1) ออกแบบและพัฒนาหน้าโฮมเพจ (หน้าแรกของเว็บไซต์) ถ้าท่าน ทางานอยใู่ นสถาบนั การศกึ ษาอย่แู ล้ว ท่านอาจลองออกแบบเว็บไซต์สาหรับองค์กรของทา่ น หรืออาจใช้ชื่อ/สมมติชื่อสถาบันการศึกษาขึน้ มาได้ ส่วนโปรแกรมท่ีท่านสามารถใช้ใน การพฒั นาหน้า homepage ท่านอาจพิจารณาโปรแกรม Web Page Maker, Courselab (freeware) หรือโปรแกรมอื่น ๆ ท่ีท่านมีความถนดั เช่น MS WORD (save as webpage), exe, Macromedia Dreamweaver, Macromedia Flash, SwishMax, และอ่ืน ๆ ( ท่านสามารถ download program Web Page Maker ได้ที่ www.webpage-maker.com และศกึ ษาคมู่ ือการใช้โปรแกรมได้ท่เี อกสารอ่านเพิม่ เตมิ ) หรือทา่ นอาจศกึ ษา TCU Tutorials สาหรับโปรแกรม Adobe Photoshop, Macromedia Flash, Macromedia Captivate และ Macromedia Dreamweaver ได้จากเวบ็ ไซต์http://www.training.thaicyberu.go.th/ TCU/main/default.asp จากนัน้ ขอให้ทุกท่านอภิปรายถึงองค์ประกอบที่ท่านเห็นเป็ นสาคัญสาหรับ อีเลิร์นนิงเว็บไซต์ของท่าน และหลักการออกแบบต่าง ๆ และเพ่ือเป็ นการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ขอให้ทุกท่านเข้าเยี่ยมชมงานที่เพื่อนร่วมชัน้ เรียนของท่านได้นาเสนออย่าง น้อย 5 ท่าน พร้ อมแลกเปลี่ยนความคดิ เชิงสร้ างสรรค์ (Constructive Feedback) กบั ผ้รู ่วมชนั้ เรียน โดย การตอบท่ีกระท้นู นั้ ๆ (ขอให้เปรียบกบั การอภิปรายในชนั้ เรียน ท่ีเราสามารถเสริม ให้มมุ มอง แงค่ ดิ เพ่ือเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้) ในกิจกรรมนี ้ ขอให้ท่านจัดทาในโปรแกรม PowerPoint โดยในงานของท่าน จะประกอบด้วย 3 หน้าคอื 1) หน้าแรกระบุ วตั ถุประสงค์ของการทาเว็บไซต์และกล่มุ เป้ าหมาย (ขนั้ ท่ี 1 ของ ADDIE MODEL: Analysis (วเิ คราะห์)) 2) หน้าที่ 2 ขอให้นา Site Structure ท่ีได้สร้ างจาก Mind Mapping tool มาใส่ไว้ ในส่วนนี ้ 3) หน้าที่ 3 ขอให้ทา่ นออกแบบรูปแบบหน้าจอ (Interface Design) ดงั ตวั อย่าง พร้อมทงั้ อภิปรายถงึ หลกั การออกแบบทท่ี า่ นได้นามาประยกุ ตใ์ ช้ โดยทา่ นอาจเลือกใช้กราฟิ ก ในโปรแกรม PowerPoint เพ่ืออกแบบรูปแบบหน้าจอหรืออาจทดลองใช้โปรแกรม Webpage Maker หรือ Google Site ในการออกแบบรูปแบบหน้าจอได้ โดย Google Site เป็ นโปรแกรม www.ThaiCyberU.go.th

252 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา ที่ใช้งานง่าย มีเทมเพลตให้ และมีฟังค์ชน่ั การใช้งานท่ีหลากหลาย ซง่ึ สามารถนามาปรับใช้ กับกิจกรรมการออกแบบหน้าโฮมเพจตามหลักการการออกแบบเว็บไซต์ได้อย่างดี โดย สามารถศึกษารายละเอียดการใช้ งานได้ ที http://www.google.com/sites/help/intl/th/ overview.html ถ้าท่านสนใจโปรแกรม Webpage Maker สามารถศึกษาวธิ ีการใช้งานได้ ดงั ตอ่ ไปนี ้ ตวั อย่างการออกแบบรูปแบบหน้าจอ (Interface Design)

บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 253 ตวั อย่างการออกแบบและพฒั นาหน้าโฮมเพจ ตวั อย่างท่ี 1 ตวั อยา่ งท่ี 1 ผลงานของคณุ สวุ รรณ โชตกิ าร ผลงานในรายวิชาการออกแบบเวบ็ ไซตส์ าหรับอีเลริ ์นนงิ หลกั สตู รผ้เู ชี่ยวชาญอีเลิร์นนงิ www.ThaiCyberU.go.th

254 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา ตวั อย่างท่ี 2 ตวั อย่างท่ี 2 ผลงานของคณุ สิทธิชยั มาทามา ผลงานในรายวิชาการออกแบบเวบ็ ไซต์สาหรับอีเลริ ์นนิง หลกั สตู รผ้เู ชี่ยวชาญอีเลริ ์นนงิ

บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา 255 กิจกรรมท่ี 7 การออกแบบและพัฒนาหน้าเวบ็ เพจสาหรับการเรียนการสอนอีเลริ ์นนิง กิจกรรมที่ 7 นี ้คือ การออกแบบและพฒั นาหน้าเว็บเพจสาหรับการเรียนการสอน อีเลิร์นนิง (โดยอาจมีองค์ประกอบ เช่น หน้าหลักสูตร, หน้าแสดงข้อมลู ช่วยเหลือผู้เรียน (ส่วน Support การเรียนการสอน e-Learning เช่น หน้าแสดงข้อมลู วิธีการเรียน, คาถาม ‟ ตอบ, ตดิ ตอ่ ), สว่ นของ online community สาหรับผ้เู รียน ผ้สู อน เป็ นต้น) และการเขียน Site Structure สาหรับ webpage ตวั อย่างหน้าเวบ็ เพจบทเรียน ตวั อย่างท่ี 1 ผลงานของคณุ วเิ ชียร พ่มุ พวง ผลงานในรายวชิ าการออกแบบเวบ็ ไซตส์ าหรับอีเลริ ์นนิง หลกั สตู รผ้เู ช่ียวชาญอีเลริ ์นนงิ www.ThaiCyberU.go.th

256 บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา ตวั อยา่ งหน้าเพจกระดานสนทนา ตวั อยา่ งที่ 2 ผลงานของคณุ สวุ รรณ โชตกิ าร ผลงานในรายวิชาการออกแบบเวบ็ ไซต์สาหรับอีเลริ ์นนิง หลกั สตู รผ้เู ชี่ยวชาญอีเลริ ์นนิง กิจกรรมท่ี 8 แลกเปล่ียนเรียนรู้การออกแบบและพฒั นาเวบ็ เพจ สาหรับการเรียนการสอนอีเลิร์ นนิง เม่ือเข้าร่วมกิจกรรมท่ี 2 แล้วขอให้ทกุ ท่านเขียนอภิปรายถงึ อีเลิร์นนิงเว็บไซต์ของ ท่านประกอบหน้า homepage และ หน้า webpage e-Learning, และ site structure (ส่วนรายละเอียดประเดน็ อภิปราย ‟ ทา่ นสามารถตรวจสอบได้ที่กระท้กู ิจกรรมค่ะ) พร้ อมทงั้ เข้าเย่ียมชมผลงานของเพื่อนร่วมชนั้ เรียนและให้ constructive feedback (ความคดิ เห็นเชิง สร้ างสรรค์) สาหรับงานชิน้ นี ้ ขอให้แต่ละท่านเข้ าร่วม comment งานของทุกท่าน โดยเป้ าหมายหลกั คอื การเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ และเพ่ือให้งานของทา่ นดยี ง่ิ ๆ ขนึ ้ ไป

บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา 257 กจิ กรรมท่ี 9 Review of CMS & LMS: What are Pros & Cons? ขอให้ทุกท่านเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ที่พัฒนาขึน้ จากระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ (Course Management System) Joomla! จากนนั้ ลองศกึ ษาข้อดี ข้อจากดั ของระบบบริหาร จดั การดงั กล่าว (ดตู วั อย่าง ๆได้จาก http://www.joomla.org) และขอให้ท่านเข้าเยี่ยมชม เว็บไซต์ที่พฒั นาขนึ ้ จากระบบบริหารจดั การการเรียนการสอน (Learning Management System) ตา่ ง ๆ เช่น http://www.blackboard.com, http://www.ucompass.com, http://www.webct.com และ http://www.moodle.com ศึกษาข้อดี ข้อจากัดของระบบบริหารจัดการดังกล่าว.. จากนนั้ ขอให้ท่านลองเปรียบเทียบ website ท่ีพัฒนาขึน้ จากระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ (Course Management System) และระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน (Learning Management System) www.ThaiCyberU.go.th

258 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา ตัวอย่างการศกึ ษาข้อดี ข้อจากัด และเปรียบเทยี บ LMS และ CMS ตวั อย่างที่ 1 ผลงานของคณุ ประทปี อินทรสทิ ธ์ิ

บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา 259 ตัวอย่างการศกึ ษาเวบ็ ไซต์ท่พี ัฒนาขึน้ จากระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน ตวั อยา่ งที่ 2 ผลงานของคณุ ณฤดี โอวาทวรัญญู www.ThaiCyberU.go.th

260 บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา กจิ กรรมท่ี 10 Effective Website for e-Learning จากการออกแบบหน้า Homepage สาหรับองค์กรทางการศึกษาที่มีการเรียน การสอน e-Learning เป็ นส่วนหนึ่ง/เป็ นส่วนใหญ่ ที่ได้จดั ทาขนึ ้ ในกิจกรรมท่ี 2 ขอให้ทกุ ทา่ น เข้าร่วมกิจกรรมเพ่ือตอ่ ยอดเพ่มิ เตมิ ดงั นี ้ - ขอให้ทกุ ทา่ นออกแบบและพฒั นาหน้าเวบ็ เพจสาหรับการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง (โดยอาจมีองค์ประกอบ เช่น หน้าหลกั สตู ร, หน้าแสดงข้อมลู ช่วยเหลือผ้เู รียน (ส่วนสนบั สนนุ การเรียนการสอนอีเลิร์นนิง เช่น หน้าแสดงข้อมลู วธิ ีการเรียน, คาถาม ‟ ตอบ, ตดิ ตอ่ , ส่วน ของชมุ ชนออนไลน์ (online community) สาหรับผ้เู รียนและผ้สู อน เป็นต้น) - ขอให้ทา่ นเขียน Site Structure ของเวบ็ เพจสาหรับรายวิชา โดยทา่ นอาจกล่าวถึง การใช้ระบบ CMS (Joomla!) สาหรับ 1 รายวชิ า หรือทงั้ หลกั สตู รกไ็ ด้ก็ได้ - จากนนั้ ขอให้ทา่ นเขียนอธิบายถงึ อีเลริ ์นนิงเวบ็ ไซต์ของทา่ นประกอบหน้าโฮมเพจ และหน้าอีเลิร์นนิงเว็บเพจ และ site structure (โดยทา่ นอาจอภิปรายถึงจุดเดน่ ของเว็บไซต์ ของท่าน สิ่งท่ีท่านได้พบ/ ประสบการณ์ในการเข้าชมอีเลิร์นนิงเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ ท่านเห็นว่ามี ข้อจากัดคือ…. ดงั นัน้ ในอีเลิร์นนิงเว็บไซต์ของท่าน ๆ จึงปรับแก้โดย…. หรืออาจเป็ น ประสบการณ์ทางบวก เช่น ท่านพบว่าอีเลิร์นนิงเวบ็ ไซต์ของ…. มีจุดเดน่ คือ…. ท่านจึงมี แนวทางในการพฒั นาดงั เชน่ อีเลิร์นนงิ เวบ็ ไซต์นีโ้ ดยนามาปรับให้เข้ากบั บริบทคอื …. - สดุ ท้าย ขอให้ทา่ นเข้าเย่ียมชมผลงานของเพ่ือนร่วมชนั้ เรียนและให้ความคิดเหน็ เชิงสร้ างสรรค์ (Constructive feedback) สาหรับงานชิน้ นี ้ ขอให้แต่ละท่านเข้าร่วมแสดง ความคดิ เหน็ งานของทกุ ทา่ น โดยเป้ าหมายหลกั คือ การเป็ นชุมชนแห่งการเรียนรู้ และเพ่ือให้ งานของทา่ นดียง่ิ ๆ ขนึ ้ ไป

บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 261 กิจกรรมท่ี 11 The effective website project: SUMMARY 1) ทกุ ทา่ นจะสร้าง WEBPAGE 2 หน้า คอื (1.1) HOMEPAGE สถาบนั คือหน้าเว็บของสถาบนั การศึกษาท่ีมีการจดั การ เรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง ทัง้ นีก้ ารสอนอีเลิร์นนิงอาจเป็ นส่วนหน่ึง หรือทัง้ หมดของ หลักสูตรท่ีสถาบันนัน้ ๆ มีโดยจุดประสงค์หลักของหน้านีค้ ือการให้ประชาสัมพันธ์และ เผยแพร่ข้อมลู ขา่ ว สารของสถาบนั คะ่ (1.2) WEBPAGE หน้า E-LEARNING สาหรับการเรียนการสอน e-Learning (โดยอาจมีองคป์ ระกอบ เช่น หน้าหลกั สูตร, หน้าแสดงข้อมลู ช่วยเหลือผ้เู รียน (ส่วน Support การเรียนการสอน e-Learning เช่น หน้าแสดงข้อมลู วธิ ีการเรียน, คาถาม ‟ ตอบ, ติดตอ่ ), ส่วนของ online community สาหรับผ้เู รียน ผ้สู อน) เป็ นต้น) (สร้ างเป็ น links ไว้เฉย ๆ ยงั ไม่ ต้องมีข้อมลู คะ่ ‟ แตท่ งั้ นี ้สาหรับทา่ นท่ีออกแบบและพฒั นาเพื่อเตรียมไปใช้จริง ๆ ก็ได้นะคะ ถือวา่ ยงิ ปื นครัง้ เดยี วได้นก 2 ตวั ‟ ได้ทงั้ โปรเจค็ ในวชิ านี ้และได้วชิ าเป็น e-Learning…. 2) ทกุ ท่านจะออกแบบ SITE STRUCTURE -- โครงสร้ างเว็บของรายวิชาซงึ่ เรียน ผ่าน CMS หรือ LMS ขอยา้ ว่าให้สร้ างเฉพาะ SITE STRUCTURE นะคะ -- ยงั ไม่ต้องถึงกบั พฒั นาระบบ (ในหน้า webpage ขอแค่ links เฉย ๆ เทา่ นนั้ และ site structure เพ่ือแสดง รายละเอียดโครงสร้างของรายวชิ าของแตล่ ะทา่ นคะ่ เพราะเชื่อวา่ ส่วนใหญ่ทกุ ๆ สถาบนั จะมี LMS อยู่แล้ว ตรงนีข้ อแค่ในส่วนของ design เท่านัน้ คะ ต่อไปภายหลังเราสามารถเอา site structure นีไ้ ปพฒั นาตอ่ ยอดใน LMS ตวั ใดตวั หนง่ึ คะ่ www.ThaiCyberU.go.th

262 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา ตวั อย่าง โปรเจคและ Site Structure ตวั อย่างที่ 1 ผลงานของคณุ สวุ รรณ โชตกิ าร ผลงานในรายวชิ าการออกแบบเวบ็ ไซต์สาหรับอีเลริ ์นนิง หลกั สตู รผ้เู ช่ียวชาญอีเลริ ์นนงิ

บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา 263 ตวั อย่างที่ 2 ผลงานของคณุ ปิยพจน์ ตณั ฑะผลนิ ผลงานในรายวิชาการออกแบบเวบ็ ไซต์สาหรับอีเลริ ์นนิง หลกั สตู รผ้เู ชี่ยวชาญอีเลิร์นนงิ www.ThaiCyberU.go.th

264 บทที่ 6 การนาเสนอกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา กิจกรรมท่ี 12 ประเมินเวบ็ ไซต์ ผ้เู รียนหลาย ๆ ทา่ นท่ีเป็ นอาจารย์คงทราบกนั ดีว่าการประเมินผลงานนนั้ ‟ ควรดู ทงั้ จาก (output) และจากกระบวนการทางาน (process) ดงั นนั้ จงึ อยากขอให้ทกุ ท่านสรุป กระบวนการ/ขนั้ ตอนในการทาโปรเจ็คชิน้ นี ้รวมถงึ ลองประเมิน อีเลิร์นนิงเวบ็ ไซต์ของตนเอง (self evaluation) โดยกรอบในการประเมินอีเลิร์นนิงเว็บไซต์นนั้ จะมาจากเนือ้ หาในบทท่ี 3 สรุปได้ดงั นี ้ การประเมินเว็บไซต์สาหรับการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงนนั้ จะเกี่ยวข้องกบั มิติของ การออกแบบส่วนต่อประสาน (Interface Design) ท่ี Khan (2005) ได้พูดถึงในหนังสือ E-Learning Quick Checklist ‟ ใน section ของเรื่อง checklist for E-learning interface design ซง่ึ ประกอบด้วยหวั ข้อในการพิจารณาต่าง ๆ ดงั นี ้(1) การออกแบบส่วนต่อประสาน (Page and site design) 17 ประเด็น (2) การออกแบบเนือ้ หา (content design) 10 ประเด็น 3. การออกแบบระบบนาทาง (Navigation) 20 ประเดน็ (4) การเข้าถึงข้อมูล (Accessibility) 6 ประเดน็ และ (5) การทดสอบการใช้งาน (Usability testing) 6 ประเดน็ นอกจากนี ้การประเมินเวบ็ ไซต์สาหรับการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง โดยได้ดดั แปลง มาจากแนวทางการประเมิน เว็บไซต์ของ Waterhouse (2005) จากหนงั สือ The Power of eLearning: the essential guide for teaching in the digital age ในหวั ข้อ Website Design ประกอบด้วย checklist ซงึ่ มี 3 ประเด็นหลกั ๆ คือ (1) ความน่าเช่ือถือ ( Website credibility ) 5 ประเด็น (2) คณุ ภาพในการออกแบบ (Design quality) 15 ประเดน็ และ (3) คณุ ภาพของเนือ้ หา (Content quality) 5 ประเดน็ จากข้อมูลเกณฑ์ในการประเมิน Website ทงั้ 2 นี ้ ขอให้แต่ละท่านลองนามา พิจารณาเวบ็ ไซต์ท่ีท่านได้พฒั นาขนึ ้ พร้ อมหยิบบางประเดน็ ในแต่ละหวั ข้อท่ีสามารถ apply ได้กบั เวบ็ ไซต์ของท่าน (จะเห็นว่าบางประเด็นอาจเกิน ขอบข่ายของงานของทา่ น เนื่องจาก เวบ็ ไซต์ท่ีเราพฒั นานนั้ ถือเป็ นเพียงร่างต้นแบบ (prototype) เท่านนั้ ยงั ไม่ถือว่าพัฒนาเต็ม รูปแบบ

บทท่ี 6 การนาเสนอกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทางการศกึ ษา 265 กจิ กรรมท่ี 13 การประยกุ ต์ใช้เกณฑ์การประเมินเวบ็ ไซต์ จากข้อมลู เกณฑใ์ นการประเมินเวบ็ ไซตท์ งั้ 3 ทไ่ี ด้กล่าวไว้ในบทท่ี 5 นี ้ขอให้แตล่ ะ ทา่ นลองนามาพจิ ารณากบั เวบ็ ไซต์ทีท่ า่ นได้พฒั นาขนึ ้ พร้อมหยิบบางประเดน็ ในแตล่ ะหวั ข้อ ทสี่ ามารถประยกุ ต์ใช้ได้กบั เวบ็ ไซต์ของทา่ นมาอภปิ รายเพ่ือเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทสรุป กิจกรรมทน่ี ามาเสนอทงั้ 13 กิจกรรมนี ้ประกอบด้วยกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ถือได้ว่าเป็ นการค้นคว้าต่อเนื่อง และส่งเสริมความรู้และทกั ษะการออกแบบเว็บไซต์ทาง การศกึ ษาสาหรับทงั้ ผ้ทู ่อี ย่ใู นบทบาทของผ้สู อนและบทบาทของผ้เู รียนด้วย www.ThaiCyberU.go.th

266 หลกั การออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ บรรณานกุ รม กรมวชิ าการ. (2544). ความรู้เก�ียวกับส�ือมัลตมิ ีเดยี เพ�อื การศกึ ษา. กรุงเทพฯ: ศนู ย์พฒั นา หนงั สือ, กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ. จติ เกษม พฒั นาศริ ิ. (2539). เร�ิมสร้างโฮมเพจด้วย HTML. กรุงเทพฯ: วติ ตี �กรุ๊ป. จินตวรี ์ มนั� สกลุ . (2551). เอกสารประกอบการสอนวชิ าการออกแบบเวบ็ ไซต์สําหรับอีเลริ ์นนิง. หลกั สตู รผ้เู ช�ียวชาญอีเลริ ์นนงิ . โครงการมหาวิทยาลยั ไซเบอร์ไทย สํานกั งาน คณะกรรมการอดุ มศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. จนิ ตวีร์ คล้ายสงั ข์ และประกอบ กรณีกิจ. (2552). PEDAGOGY-BASED HYBRID LEARNING: จากแนวคิดสู่การปฏิบัต.ิ วารสารครุศาสตร์ (ผ่านการพจิ ารณาจาก ผ้ทู รงคณุ วฒุ แิ ล้ว อย่ใู นระหว่างตีพิมพ์) จินตวีร์ คล้ายสงั ข์. (2553). โครงการวจิ ัยรูปแบบเวบ็ ไซต์และรูปแบบบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ท�เี หมาะสมสําหรับการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงในระดบั อุดมศกึ ษา. สํานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. เจนจริ า อนนั ตกาล. (2548). การศึกษารูปแบบโฮมเพจเวบ็ ไซต์ทางด้านการศกึ ษาระดบั อุดมศกึ ษาท�ตี รงตามความต้องการของผู้ใช้. วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี. ใจทพิ ย์ ณ สงขลา. (2547). การออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บในระบบการเรียน อิเลก็ ทรอนิกส์. กรุงเทพฯ: ศนู ย์ตําราและเอกสารทางวชิ าการ คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . . (2550). วธิ ีวทิ ยาการออกแบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

หลกั การออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 267 ณฐั พล ราไพ. (2548). รูปแบบของเวบ็ เพจท่มี ีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี. วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑติ สาขาเทคโนโลยีการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Designing e-learning หลักการออกแบบและการสร้างเว็บ เพ่อื การเรียนการสอน. เชียงใหม่ : องค์การค้าครุสภา. ปราวณี ยา สวุ รรณณฐั โชติ และจินตวีร์ มน่ั สกลุ . 2550. การจัดการเรียนการสอนแบบ ผสมผสานด้วยระบบบริหารจัดการเรียนรู้ Blackboard ของสาขาวิชาเทคโนโลยี การศกึ ษาสาหรับนิสิตระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์. เอกสารประกอบ การประชมุ วชิ าการคณะครุศาสตร์ วนั ท่ี 10 - 11 กรกฎาคม 2550 ปทปี เมธาคณุ วฒุ ิ. (2544). เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การบริหารสถาบันอุดมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ปิยพจน์ ตณั ฑะผลิน . (2009). Web 2.0 tools. (ออนไลน์). เข้าถงึ ใน http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/ bm521/kurokung_2/kurokung-web2/index.html (20 มีนาคม 2553). ไพฑรู ย์ ศรีฟ้ า. (2542). Webpage. วารสารเทคโนโลยีส่ือสารการศกึ ษา. 6(4)(พฤษภาคม) : หน้า 97-99. สรวงสดุ า ปานสกลุ . (2545). การนาเสนอรูปแบบการเรียนรู้กระบวนการแก้ปัญหาเชิง สร้างสรรค์แบบร่วมมือในองค์กรบนอินเทอร์เน็ต. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาดษุ ฏี บณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . สนุ ิตย์ เชรษฐาและชิตพงษ์ กิตตนิ ราดร. Web 2.0 กับการการเรียนรู้เพ่อื สร้างปัญญา สาธารณะ. Thai RuralNet (TRN). [ออนไลน์]. เข้าถงึ ใน http://www.trnlab.org/data/web2.0-whitepaper.pdf. (20 มีนาคม 2553). www.ThaiCyberU.go.th

268 หลกั การออกแบบเวบ็ ไซตท์ างการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ สมคดิ เอนกทวีผล. Web2.0 ถงึ ยุคแบ่งปัน .Positioning Magazine มถิ นุ ายน 2550. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ใน: http://www.positioningmag.com/Magazine/ Details.aspx?id=60894 (20 มีนาคม 2553). ศรีศกั ดิ์ จามรมาน. (2549). อีเลริ ์นนิงระดบั ปริญญาผุดขึน้ มามากมาย: การศกึ ษาออนไลน์ ในสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2548 โดยมลู นธิ ิ อลั เฟรด พี สโลน. สมทุ รปราการ : สานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลยั อสั สมั ชญั ศรีศกั ดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั อสั สมั ชญั ศรีศกั ดิ์ จามรมาน อทุ มุ พร จามรมาน และ จนิ ตวีร์ มน่ั สกลุ . (2549). เอกสารประกอบ การบรรยายเร่ือง“บทบาทของ E-Learning กับการศกึ ษาไทยยุค ICT” จดั โดยโครงการจดั ฝึกอบรมเพื่อเตรียมผ้บู ริหาร CEO รุ่น 3 คณะแพทย์ศาสตร์ ศริ ิราชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ในวนั จนั ทร์ท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 Bi, X.J. (2000). Instruction Design Attributes of Web-Based Course. [Online]. Available from: www.lib.umi.com/desertations/fullcit/9980399 (December 3, 2009). Davidson-Shivers, G.V. & Rasmussen, K. L. (2006). Web-Based Learning: Design, Implementation, and Evaluation. New Jersey: Pearson, Merrill Prentice Hall. Graham,L. (2002). Basic of design: Layout and typography for Beginners. New York: Delma, Thomson Learning Inc. Khan, B. H. (2005). E-Learning: Quick checklist. Hershey, PA: Information Science Publishing. Larisa Thomason. (2004). Web Site Usability Checklist. Netmechanic. (Part 2) 7(4)(February 2004). [online]. Available from: http://www.netmechanic.com/news/vol7/design_no4.htm

หลกั การออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ 269 Lynch, P. and S. Horton. (1999). Web Style Guide: Basic design principles for creating Web sites. New Haven: Yale University Press. NECTEC. (2545). เทคนิคการพัฒนาเวบ็ เพจ. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ใน: http://www.nectec.or.th/courseware/internet/webtech/0023.html. (20 มีนาคม 2553). Paul Boutin, (2006). Web 2.0: The new Internet “boom” doesn’t live up to its name. [Online]. Available from: http://www.slate.com/id/2138951/. (March 14, 2010) Paolo T, Filippo R., Pianta E., Girardi C., Lucca G. Di, Fasolino A. R., Tramontana P. (2003). Evaluation Methods for Web Application Clustering Proc. Of WSE. 2003.International Workshop on Web Site Evolution, Amsterdam, The Netherlands. September 2003. SLOAN, Consortium. 2005. Growing by Degrees Online Education in the United States [Online]. Available from: http://www.sloanc.org/resources/ growing_by_degree.pdf (2008, November) Tim O.R. and John B. (2009). What's next for Web 2.0? in Web Squared: Web 2.0 Five Years . [online]. Available from: http://oreilly.com/web2/archive/ what-is-web-20.html (March 15, 2010) Waterhouse, S. (2005). The Power of E-Learning: The essential guide for teaching in the digital age. Boston, MA: Pearson Education, Inc. www.ThaiCyberU.go.th

270 หลกั การออกแบบเวบ็ ไซต์ทางการศกึ ษา: ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั ิ คณะผู้จดั ทา ท่ปี รึกษา ดร.สเุ มธ แย้มนนุ่ เลขาธิการคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ผศ. ดร.เชาวเลศิ เลศิ ชโลฬาร ที่ปรึกษาโครงการมหาวิทยาลยั ไซเบอร์ไทย ผศ. สพุ รรรณี สมบญุ ธรรม ที่ปรึกษาโครงการมหาวิทยาลยั ไซเบอร์ไทย ผศ. ดร.ฐาปนีย์ ธรรมเมธา ผ้อู านวยการโครงการมหาวทิ ยาลยั ไซเบอร์ไทย ผศ. ดร.อนชุ ยั ธีระเรืองไชยศรี รองผ้อู านวยการโครงการมหาวทิ ยาลยั ไซเบอร์ไทย จดั ทาเนือ้ หา ผศ. ดร. จินตวรี ์ คล้ายสงั ข์ หน่วยงานรับผดิ ชอบ โครงการมหาวิทยาลยั ไซเบอร์ไทย สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา

Ÿo¼ nª¥«µ­˜¦µ‹µ¦¥r —¦‹·œ˜ª¸¦r ‡¨µo ¥­Š´ …r    ‹„µ¦«„¹ ¬µ¦³—´ ž¦· µÃšÂ¨³¦³—´ ž¦· µÁ°„­µ…µª· µÁš‡ÃœÃ¨¥„¸ µ¦«„¹ ¬µ‹µ„ ¤®µªš· ¥µ¨¥´ 7H[DV $ 0 8QLYHUVLW\\&RPPHUFH ž¦³Áš«­®¦“´ °Á¤¦„· µĜž¸¡«  ¨³‹„µ¦«¹„¬µ¦³—´ ž¦·µ˜¦¸‡¦»«µ­˜¦–´ ”·˜‹»¯µ¨Š„¦–r¤®µª·š¥µ¨¥´ Ĝž¸ ¡« ž‹´ ‹»´œÁžÈ œ°µ‹µ¦¥rž¦³‹Îµ£µ‡ª·µ®¨´„­¼˜¦„µ¦­°œÂ¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸„µ¦«¹„¬µ ‡–³‡¦»«µ­˜¦r‹»¯µ¨Š„¦–r¤®µª·š¥µ¨´¥°—¸˜Á‡¥—µÎ ¦Š˜ÎµÂ®œnŠŸ¼onª¥‡–—¸  nµ¥Áš‡ÃœÃ¨¥¸­µ¦­œÁš«Â¨³Á‡¦º°…nµ¥„µ¦«¹„¬µ‡–³‡¦»«µ­˜¦r‹»¯µ¨Š„¦–r ¤®µª·š¥µ¨´¥°µ‹µ¦¥rž¦³‹Îµ‡–³«¹„¬µ«µ­˜¦r¨³Ÿ¼onª¥‡–—¸ nµ¥˜nµŠž¦³Áš« °µ‹µ¦¥rž¦³‹Îµª·š¥µ¨´¥„µ¦«¹„¬µšµŠÅ„¨°·œÁš°¦rÁœÈ˜ ¤®µª·š¥µ¨´¥°´­­¤´ ´   ¨ ³ ° µ ‹ µ ¦ ¥r ­ ° œ ¦ ³ —´ ž ¦·   µ ˜ ¦¸  ­ µ … µ ª·  µ Á š ‡ à œ à ¨ ¥¸ „ µ ¦ «¹ „ ¬ µ šÉ¸  7H[DV $ 08QLYHUVLW\\&RPPHUFHž¦³Áš«­®¦“´ °Á¤¦„· µ ŗ¦o ´ ¦µŠª¨´ )HOORZVKLS $ZDUGHG $3(& H/HDUQLQJ 7UDLQLQJ 3URJUDP %XVDQ .RUHD ‹µ„,QVWLWXWH RI $3(& &ROODERUDWLYH (GXFDWLRQ ,$&(  $3(& H/HDUQLQJ 7UDLQLQJ &HQWHU Ĝž¸¡«  ¨³¦µŠª¨´ 5HFRJQLWLRQ RI 2XWVWDQGLQJ 6HUYLFH $ZDUGHG .DSSD 'HOWD 3L ,QWHUQDWLRQDO +RQRU 6RFLHW\\ LQ (GXFDWLRQ =HWD 0X &KDSWHU 7H[DV $ 0 8QLYHUVLW\\&RPPHUFH IRU 'HGLFDWLRQ WR WKH ,GHDOV RI WKH6RFLHW\\)LGHOLW\\WR+XPDQLW\\6FLHQFH6HUYLFHDQG7RLOĜž¸¡«


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook