วตั ถุประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ ก เรยี นรู้ ประเภทกรดยูริกสะสมไว้จนกระท่ังเอ็มบริโอ 1. ครใู หน้ ักเรยี ออกจากไข่ ที่ได้เกี่ยวกับก เจริญเติบโตของไ ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ของตนเอง จากน 1. ความสามารถในการในการส่อื สาร กล่มุ อน่ื ดูและแลก (การพูด การเขยี น) 2. ความสามารถในการคิด ขัน้ ตอบแทนส (การวเิ คราะห์ สังเคราะห์) 1. ครูให้นักเรยี 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต คิดว่าดีที่สุด จาก (กระบวนการกลมุ่ ) นั้นติดภายในห้อ 4. ความสามารถในการแก้ปญั หา ให้กับเพอ่ื นคนอื่น (-) 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี (-) ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) ทักษะกระบวนการทำงานเปน็ กลุ่ม
99 กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื และอุปกรณ์ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ การเรยี นรู้ ยนภายในกลุ่มร่วมกันสรุปข้อความรู้ การเจริญเติบโตของกบและการ ไก่ ลงในสมุดบันทึกประจำรายวิชา นั้นให้แลกเปลี่ยนสมุดกับนักเรียน กเปลี่ยนความคดิ เหน็ ระหว่างกลุ่ม สงั คม ยนร่วมกันคดั เลือกผลงานของกล่มุ ท่ี กนั้นนำกระดาษฟลิปชาร์ทของกลุ่ม องเรียนเพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้ น ๆ ทส่ี นใจ
100
โรงเรียนสรร กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ย แผนการจดั การเรียนรู้ เรือ่ ง ภาคการศึกษาต้น ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6/พ และ 6/1 สาระชวี วทิ ยา 4. เขา้ ใจการยอ่ ยอาหารของสตั ว์ และมนุษย์ การหายใจ และการแล ถ่าย การรบั รู้ และการตอบสนอง การเคลื่อนที่ การสืบพันธ์ุ และกา ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ ม.6/15 อธบิ ายการเจรญิ เติบโตระยะเอม็ บริโอ และระยะหลงั ของเอ
101 รพยาวทิ ยา ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ง การเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ย์ รายวิชา ชวี วิทยา5 ว30255 ผสู้ อน นายเรวัตร อยู่เกดิ ลกเปล่ยี นแกส๊ การลำเลยี งสาร และการหมนุ เวียนเลอื ด ภมู คิ มุ้ กนั ของร่างกาย การขัย ารเจริญเติบโต ฮอร์โมน การรกั ษาดลุ ยภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ รวมทั้งนำความรู้ อ็มบริโอของกบ ไก่ และมนุษย์
วัตถุประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ ก เรียนรู้ นักเรียนสามารถ ดา้ นความรู้(K) ข้ันระบุปัญหา 1. อธิบายการ เซลล์ไข่ปฏิสนธิกับอสุจิเป็นไซโกตที่ท่อนำ 1. ครูแสดงภาพ เปล่ยี นแปลงของ ไข่ส่วนต้นมีกระบวนการแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่ม เอมบริโอมนุษยใ์ น จำนวนเซลล์ เรยี ก คลีเวจ ไดเ้ ปน็ เอม็ บริโอใน แต่ละระยะการ ระยะมอรูลา ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อไป เจรญิ เตบิ โตได้ (K) เป็นเอ็มบริโอระยะบลาสทูลา ขณะที่มีการ เจริญเติบโตเอ็มบริโอจะเคลื่อนที่มาตามท่อ 2. เรยี งลำดบั การ นำไข่และมาฝังตัวในผนังมดลูกชั้นเอนโดมี เปลยี่ นแปลงท่ี เทรียม ภาพที่ 1 ภ เกิดข้ึนในแต่ละ เอ็มบริโอมีการสร้างถุงน้ำคร่ำหุ้มตัวเอง จากน้ันใช้คำถา ระยะการ ภายในถงุ บรรจุของเหลวทีเ่ รยี กวา่ นำ้ คร่ำเพื่อ 1.1 จากภาพ เจรญิ เตบิ โตได้ (P) ป้องกันการกระทบกระเทือนและช่วยให้ สง่ิ มีชีวิตชนิดใด ( ทารกเคลือ่ นไหวอยา่ งอิสระ และตวั เอ็มบริโอ 1.2 นักเรียน 3. สามารถทำงาน ยังมกี ารสรา้ งสายสะดอื เชือ่ มกับรก ของมนุษย์และก เปน็ กลุ่มได้ (A) (สงสยั ) เมื่ออายุได้ 2 สัปดาห์ เอ็มบริโอจะมีความ คำถามสำคัญ ก ย า ว ป ร ะ ม า ณ 1.5 ม ิ ล ล ิ เ ม ต ร ม ี ก า ร เปลย่ี นแปลงอย่า เจริญเติบโตในระยะแกสทรูลาทำให้เกิด เนื้อเยื่อ3 ชั้น คือ เอกโทรเดิร์ม เมโซเดิร์ม และเอนโดเดิรม์
102 กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื และอปุ กรณ์ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การเรยี นรู้ พการเจรญิ เติบโตของกบ (สงิ่ เรา้ ) 1. สอื่ พาวเวอร์ 1. ประเมินการอธบิ าย พ้อย เรอื่ ง การ การเปลีย่ นแปลงของเอมบริ เจรญิ เติบโตของ โอมนษุ ย์และการเรยี งลำดบั มนุษย์ การเปลีย่ นแปลงของเอม บรโิ อมนษุ ย์ ในแต่ละระยะ 2. กระดาษฟ การเจริญเตบิ โตจากช้นิ งาน ลปิ ชาร์ท การทำกจิ กรรมกลมุ่ ลงบน กระดาษฟลิปชาร์ท ภาพแสดงการเจรญิ เตบิ โตของกบ 3. รปู ภาพการ 2. ประเมนิ ทักษะการ าม ดังนี้ (สังเกต) เจรญิ เติบโตของ ทำงานกลุม่ โดยใชแ้ บบ พเป็นกระบวนการเจริญเติบโตของ มนษุ ย์ในครรภ์ ประเมินทักษะการทำงาน กลุ่ม (กบ) 4. บัตรข้อมูล นคิดว่ากระบวนการการเจริญเติบโต กบจะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร การเจรญิ เตบิ โต ของมนษุ ย์ใน การเจริญเติบโตของมนุษย์มีการ ครรภ์ างไรบา้ ง
วตั ถปุ ระสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ ก เรยี นรู้ 1. เอ็กโทเดิร์ม – เจริญไปเป็น เยื่อบุผิว ขัน้ แสวงหาสาร โพรงจมูก เยื่อบุผิวรับกลิ่น ระบบ 1. ครูให้นักเ เจริญเติบโตของ ประสาท นักเรียนกำหนดห 2. เมโซเดิร์ม – เจริญไปเป็นโนโทคอร์ด ระบบหมุนเวยี นเลือด ระบบโครงรา่ ง ช้ัน ครูอาจกำหนดห เปล่ยี นแปลงของ หนงั แท้ ระบบขับถา่ ยและสบื พันธุ์ 2. จากนั้นครูแ 3. เอนโดเดิร์ม – เจริญไปเป็นเยื่อบุ นักเรียนจำนวนก ทางเดนิ หายใจ ระบบทางเดินอาหาร ตับ แลว้ ครใู ห้นักเรียน มา โดยถ้าหากข และตับอ่อน สามารถจดบนั ทกึ ในสัปดาห์ท่ี 3 เริ่มปรากฏร่องรอยของ ขนั้ สรา้ งความร ระบบอวัยวะ ได้แก่ระบบประสาท หัวใจมี 1. ครูให้นักเรีย ลักษณะเป็นท่อ และเริ่มตน้ เป็นจงั หวะระยะ การทำกิจกรรม ด นี้เอ็มบริโอมีความยาวประมาณ 2-3 1.1 กระดาษ มิลลิเมตร หลังจากนั้นเอ็มบริโอจะเริ่มมี 1.2 รปู ภาพก อวัยวะต่างๆ เจริญเพิ่มขึ้น แขนและขาเร่ิม 1.3 บัตรข้อม ปรากฏชัดเจนเมื่ออายุได้ 4 สัปดาห์ อวัยวะ ครรภ์ ต่างๆ จะเจริญเติบโตและมีอวัยวะครบเม่ือ อายุได้ 8 สัปดาห์ซึ่งเป็นระยะสิ้นสุดของ
103 กิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อและอปุ กรณ์ ประเมินผลการเรยี นรู้ การเรยี นรู้ รสนเทศ รียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการ งมนุษย์ในครรภ์ โดยเปิดโอกาสให้ หัวข้อในการสืบค้นด้วยตนเอง โดย หัวข้อการสืบค้นให้เกี่ยวกับการ งเอมบรโิ อในแตล่ ะเดือน (วางแผน) แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม มี กลุ่มละ 3-4 คน หลังจากเข้ากลุ่ม นพูดคุยแลกเปลีย่ นข้อมูลที่ได้สืบค้น ข้อมูลใดที่แตกต่างกันให้นักเรียน กเพมิ่ เติมลงในสมดุ ของตนเองได้ รู้ ยนแต่ละกลุ่มออกมารับอุปกรณ์ใน ดังนี้ ษฟลิปชารท์ การเจริญเติบโตของมนุษยใ์ นครรภ์ มูลการเจริญเติบโตของมนุษย์ใน
วตั ถุประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ ก เรยี นรู้ เอ็มบริโอและหลังจากระยะนี้แล้วจะเรียกว่า เมื่อรับอุปกรณ ฟีตสั กลุ่มร่วมกันอภิป เมื่ออายุได้ 8-9 สัปดาห์ จะมีนิ้วมือ และ ตา่ ง ๆ ของทารก นิ้วเท้าเจริญเห็นได้ชัดเจน สามารถบอกเพศ 2. จากนั้นให้น ได้ ในช่วงเดือนที่ 4-6 ฟีตัสจะมีขนาดโตขึ้น รูปภาพการเจริญ เร่อื ยๆ มกี ารเลอ่ื นไหวมากขน้ึ สามารถรับฟัง ถกู ต้อง แลว้ ตดิ ล เสียงจากภายนอกได้ มีการเจริญเติบโตของ (สือ่ ความหมาย) กระดูก มีผม มีขน ฟีตัสในเดือนที่ 6จะมี 3. ครูและนักเ น้ำหนักประมาณ 680 กรมั ในช่วง 3 เดือน เกี่ยวกับการเจร สุดท้ายของการตั้งครรภ์ ฟีตัสจะมีขนาดโต ครรภ์ โดยอาศัยข มาก ระยะนี้เป็นระยะที่มีระบบประสาท ของนกั เรยี น (สรุป เจริญมาก ขั้นส่อื สาร หลงั จากแมต่ ้ังครรภ์ได้ประมาณ 280 1. ครูใหน้ กั เรีย การเจรญิ เติบโตร วัน ซึ่งนับจากวันแรกของการมีประจำเดือน ข้อมลู ของกลุ่มตน ครั้งสุดท้ายก็ถึงระยะครบกำหนดคลอดโดย กลมุ่ ขา้ งเคยี ง โดย ปกติส่วนหัวของทารกจะออกมาก่อน เขียนข้อความ หลังจากคลอดออกมาภายใน 1 นาที ทารก ข้อบกพร่องในกา จะเรมิ่ หายใจและตดิ ตามด้วยเสยี งร้อง
104 กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื และอุปกรณ์ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ การเรยี นรู้ ณ์ไปเรียนร้อยแล้วให้สมาชิกภายใน ปรายเกี่ยวกับการเจริญเติบโตระยะ กในครรภ์ นักเรียนทำการจับคู่บัตรข้อมูลและ ญเติบโตของทารกในระยะต่าง ๆ ให้ ลงบนกระดาษฟลปิ ชาร์ทท่ีครูแจกให้ เรียนร่วมกันอภิปราย ในประเด็น ริญเติบโตระยะต่าง ๆ ของทารกใน ข้อมูลจากการจับคู่ละติดบตั รขอ้ มูล รป) ยนแตล่ ะคนบนั ทกึ ขอ้ ความรู้เกี่ยวกับ ระยะต่าง ๆ ของทารกในครรภ์ จาก นเอง จากนัน้ สลบั กันตรวจกับเพื่อน ยเปดิ โอกาสใหม้ กี ารใชด้ ินสอในการ มเพิ่มเติมหากมีการตรวจพบ ารบนั ทกึ ของเพอ่ื น
วตั ถปุ ระสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ ก เรยี นรู้ ขนั้ ตอบแทนส ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) 1. ครูให้นักเรีย 1. ความสามารถในการในการสอ่ื สาร ไปตดิ ทหี่ อ้ งเรยี น (การพูด การเขียน) ชั้น 12 แผนกา 2. ความสามารถในการคดิ ทบทวนความรเู้ ก (การวิเคราะห์ สังเคราะห์) 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ (กระบวนการกล่มุ ) 4. ความสามารถในการแก้ปญั หา (-) 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (การสืบคน้ ข้อมลู จากอนิ เทอร์เน็ต) ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) ทักษะกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม
105 กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื และอปุ กรณ์ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การเรียนรู้ สังคม ยนนำกระดาษฟลิปชาร์ทของตนเอง นของนกั เรียนชัน้ 12 เพอื่ ใหน้ ักเรียน ารเรียนวิทยาศาสตร์ได้ใช้ในการ กีย่ วกบั การเจริญเติบโตของมนษุ ย์
โรงเรยี นสรร กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ย แผนการจดั การเรียนรู้ ภาคการศกึ ษาตน้ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6/พ และ 6/1 สาระชีววทิ ยา 4. เขา้ ใจการยอ่ ยอาหารของสัตว์ และมนษุ ย์ การหายใจ และการแล ถา่ ย การรบั รู้ และการตอบสนอง การเคลอื่ นที่ การสืบพนั ธุ์ และกา ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ ม.6/16 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขยี นแผนผงั สรุปหนา้ ทข่ี องฮอรโ์ ม
106 รพยาวิทยา ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เรือ่ ง ระบบตอ่ มไร้ทอ่ รายวิชา ชวี วิทยา5 ว30255 ผสู้ อน นายเรวัตร อยูเ่ กดิ ลกเปลย่ี นแกส๊ การลำเลียงสาร และการหมุนเวยี นเลอื ด ภูมคิ ุ้มกนั ของร่างกาย การขัย ารเจรญิ เตบิ โต ฮอร์โมน การรักษาดลุ ยภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ รวมท้ังนำความรู้ มนจากต่อมไรท้ ่อและเนอ้ื เยอื่ ทีส่ ร้างฮอรโ์ มน
วัตถปุ ระสงค์การ เนื้อหาสาระ กจิ เรียนรู้ นักเรยี นสามารถ ฮอร์โมน(Hormone) คอื สารเคมที ่สี รา้ ง ขน้ั นำ (10 นา 1. บอกความหมาย จากอวยั วะหนง่ึ แล้วลำเลียงไปตามกระแส 1. ครแู สดงภ ของฮอรโ์ มนได้ เลือดสู่อวัยวะเป้าหมายเพื่อทำหน้าท่ี เลือดไปยังบร 2. ระบโุ ครงสรา้ งหรอื ควบคุมการทำงานของระบบต่าง ๆ ของ ความหมายของค อวยั วะในร่างกายมนุษย์ ร่างกาย เช่น การทำงานของระบบ ทีท่ ำหน้าที่เปน็ ตอ่ มไร้ สืบพ ันธุ์ ระบบขับถ่าย ตลอ ดจน ท่อได้ กระบวนการเมแทบอลซิ ึมของร่างกาย 3. บอกตำแหนง่ ของ ต่อมไพเนียล(Pineal gland) ของ ภาพท่ี 2 ภาพแสด ไป สมองส่วนไฮโพทา สัตว์เลือดเย็นบางชนิดไม่สร้างฮอร์โมน ลามัส, ตอ่ มไพเนียล แต่เป็นกลุ่มของเซลล์รับแสง จากนน้ั ครใู ช้คำ และต่อมใต้สมองดว้ ย (Photoreceptor cell) ที่มลี ักษณะคล้าย 1.1 นักเรียน 4. บอกความสำคัญ กับกลมุ่ เซลล์รับแสงในช้ันเรตินาของ อะไร (ฮอร์โมน( ของต่อมไพเนียล นยั นต์ า จากอวัยวะหนึง่ แ ฮอร์โมนทตี่ อ่ มไพเนยี ล ต่อมนี้ในสัตว์เลือดอุ่นจำพวกสัตว์เลี้ยง อวัยวะเป้าหมาย สรา้ งและหนา้ ท่ีของ ลกู ดว้ ยน้ำนม มวี ิวฒั นาการมาเป็นเน้อื เยอ่ื ของระบบต่าง ๆ ฮอร์โมนนนั้ ได้ ที่ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนได้ จาก 1.2 โครงสร้ 5. บอกโครงสร้างของ การศึกษาพบว่าการทำงานของต่อมนี้มี เรยี กว่าอะไร (ต่อ ตอ่ มใตส้ มอง ฮอรโ์ มนที่ ความสมั พันธก์ บั แสงสว่างและการรบั ภาพ 1.3 นักเรียน ตอ่ มใตส้ มองสร้างและ มาก ทั้งนี้เพราะมีเส้นประสาทซิมพาเท คนเรามีอวัยวะห หนา้ ท่ีของฮอรโ์ มน ติกมาที่ต่อมนี้เพื่อทำหน้าที่ควบคุมการ ต่อมไร้ท่อบ้าง แ เหล่านั้นได้ สร้างฮอร์โมน เมื่อศึกษาสัตว์ที่ตาบอด ฮอรโ์ มนอะไรบา้ ง หรือนำมาไว้ในที่มืดพบว่าต่อมไพเนียล
107 จกรรมการเรียนรู้ สื่อและอุปกรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรียนรู้ การวัด การประเมิน าท)ี 1. สื่อนำเสนอ 1. การมี 1. การ ภาพการขนสง่ ฮอรโ์ มนผ่านหลอด พาวเวอร์พอ้ ย เรือ่ ง สว่ นรว่ ม ประเมนิ การ ิเวณเป้าหมาย เพื่อทบทวน ฮอร์โมน และตอบ ตอบคำถาม คำวา่ ฮอร์โมน 2. ใบงาน เรือ่ ง คำถามใน ในชั้นเรียน ฮอรโ์ มน ชั้นเรียน 2. การ 2. การ ประเมนิ การ ดงการขนสง่ ฮอรโ์ มนผา่ นหลอดเลอื ด ตอบคำถาม ตอบคำถาม ปยงั บรเิ วณเป้าหมาย ลงในแบ ลงในแบบ ำถาม ดังนี้ บนั ทกึ บนั ทกึ นจำได้หรือไม่ว่าฮอร์โมนหมายถึง กจิ กรรม กิจกรรม เรือ่ ง เร่อื ง ฮอรโ์ มน (Hormone) คือ สารเคมีที่สร้าง ฮอรโ์ มน ถูกต้องอยา่ ง นอ้ ยร้อยละ แล้วลำเลยี งไปตามกระแสเลือดสู่ 80 ยเพ่ือทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน ของรา่ งกาย) างที่มีหน้าที่สร้างฮอร์โมนเรา อมไร้ทอ่ ) นทราบหรือไม่ว่าในร่างกายของ หรือโครงสร้างใดที่ทำหน้าที่เป็น และต่อมไร้ท่อแต่ละต่อมสร้าง ง
วตั ถุประสงคก์ าร เนอื้ หาสาระ กจิ เรยี นรู้ สร้างฮอร์โมนออกมามาก ในทางตรงกัน ข้ันสอน (80 น ข้ามถ้านำสัตว์มาอยู่ในที่สว่างตลอดเวลา 1. ครูแสดงรูปโ จะมีผลให้ต่อมนี้สร้างฮอร์โมนได้น้อยลง ทอ่ ในรา่ งกายของ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าแสงสว่างมีบทบาท ตดิ ลงในสมดุ ต่อการทำงานของตอ่ มไพเนยี ลในสัตว์ ต่อมไพเนียลของคนอยูร่ ะหว่างเซรีบรมั ซีกซ้ายและซีกขวา ทำหน้าที่สร้าง เมลาโทนนิ (Melatonin) ซง่ึ ทำหนา้ ที่บอก ถึงรอบวัน และยังมีหน้าที่ยับยั้งการ เจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ไม่ให้ เติบโตเร็วเกินไปในช่วงก่อนวัยเจริญพันธ์ุ รูปที่ 1 รปู แสดงโ ดังนั้นถ้าหากต่อมนี้ผิดปกติสร้างฮอร์โมน มากเกินไปจะทำให้เป็นหนุ่มเป็นสาวช้า จากนนั้ ครใู ช้คำ กวา่ ปกติ จากการศึกษาพบว่าเด็กผูช้ ายที่ 1.1 จากภาพ มีเนื้องอกที่สมองและมีการทำลายของ อวัยวะใดบา้ ง (น ตอ่ มไพเนยี ล เด็กคนนีจ้ ะเขา้ สู่วัยหนุ่มเร็ว ตามพื้นฐานความ กว่าปกติ ครูให้ความรู้เ รา่ งกายทีท่ ำหน้า ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) เป็น ต่อมที่อยู่ติดกับสว่ นล่างของสมองส่วนไฮ 2. ครูแสดงภ โพทาลามัส แบ่งได้เป็น 3 ส่วน คือ ต่อม ต่อมไพเนียล, ส ใตส้ มองสว่ นหน้า ส่วนกลาง และส่วนหลัง ต่อมใตส้ มอง
108 จกรรมการเรียนรู้ สอ่ื และอุปกรณ์การ การวัดและการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมิน นาท)ี โครงสร้างที่ทำหน้าทีเ่ ป็นต่อมไร้ งคน พรอ้ มทัง้ แจกรปู ให้นักเรียน โครงสรา้ งทที่ ำหนา้ เป็นต่อมไรท้ ่อใน รา่ งกาย ำถาม ดังนี้ พนักเรียนรู้จักโครงสร้างหรือ นกั เรยี นอาจจะตอบไดแ้ ตกต่างกัน มร)ู้ เกี่ยวกับอวัยวะ/โครงสร้างใน าทีเ่ ปน็ ต่อมไร้ทอ่ สรา้ งฮอร์โมน าพสมองที่ระบุตำแหน่งของ สมองส่วนไฮโพทาลามัส และ
วตั ถุประสงคก์ าร เนือ้ หาสาระ กิจ เรยี นรู้ เนื่องจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าและ ส่วนกลางมีการเจริญและพัฒนามาจาก เนื้อเยื่อชนิดเดียวกันในระยะเอ็มบริโอ ดงั นัน้ จงึ อาจกล่าวได้ว่าเป็นหน่วยเดียวกัน ซ่งึ ถอื ได้ว่าเป็นต่อมไรท้ อ่ แทจ้ ริง ในขณะที่ ภาพท่ี 2 ภาพแส ต่อมใต้สมองส่วนหลังเป็นส่วนหนึ่งของ สมองสว่ นไฮ เนื้อเยื่อประสาทที่ไม่ได้สร้างฮอร์โมนเอง จากน้ันครใู ชค้ ำ แต่มีปลายแอกซอนของนิวโรซีครีทอรี 2.1 นักเรียน สมองส่วนไฮโพ (Neurosecretory cell) จาก ไฮโพทาลามัสมาสิ้นสุดและหลั่งฮอร์โมน บรเิ วณใดของสม ประสาทออกมาสู่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ครูให้ความรู้เก จ า ก น ั ้ น จ ึ ง เ ข ้ า ส ู ่ ก ร ะ แ สเ ลื อ ด ตำแหน่งของต่อ นอกจากนั้นไฮโพทาลามัสยังเป็นแหล่ง ลามสั และตอ่ มใต ผลิตและหลั่งฮอร์โมนที่กระตุ้นหรือยับยั้ง 3. ครูแสดงภาพต การหลั่งของฮอร์โมนที่ผลิตโดยต่อมใต้ สมองส่วนหน้า ซึ่งฮอรโ์ มนที่กระตุ้นหรอื ยับยั้งนี้จะถูกลำเลียงจากหลอดเลือด จากไฮโพทาลามัสมายังต่อมใต้สมองส่วน ภาพท่ี 3 ภาพ หน้า จากนั้นใช้คำถา 3.1 ต่อมไพเ ฮอร์โมนจากต่อมใตส้ มองส่วนหนา้ ต่อมใต้สมองส่วนหน้าผลิตและหลั่ง ของสมอง (อยู่ร ฮอร์โมนชนิดตา่ ง ๆ การหลั่งฮอร์โมนของ ขวา)
จกรรมการเรยี นรู้ 109 สอ่ื และอุปกรณ์การ การวัดและการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวัด การประเมิน สดงสมอง และตำแหน่งของไพเนียล, ฮโพทาลามสั และตอ่ มใตส้ มอง ำถาม ดังนี้ นทราบหรือไม่ว่าต่อมไพเนียล, ทาลามัส และต่อมใต้สมองอยู่ มอง (นักเรียนอาจจะยังตอบไม่ได)้ กี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของสมองและ อมไพเนียล สมองส่วนไฮโพทา ตส้ มอง ตำแหน่งของต่อมไพเนยี ลที่สมอง พแสดงตำแหนง่ ของตอ่ มไพเนียล าม ดงั น้ี เนียลของมนุษย์อยู่ในบริเวณใด ระหว่างเซรีบรัมซีกซ้ายและซีก
วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กิจ เรยี นรู้ ต่อมใต้สมองส่วนน้ีส่วนใหญ่จะถูกควบคุม 3.2 นักเรียน ด้วยฮอร์โมนประสาทจากไฮโพทาลามัส มนษุ ยส์ ร้างฮอรโ์ ม โกรทฮอร์โมน(Growth hormone; หนา้ ทอ่ี ยา่ งไร GH) มีหน้าที่สำคัญในการควบคุมการ 4. ครแู สดงภาพ เจริญเติบโตทั่วไปของร่างกาย อาจเรียก ฮอรโ์ มนชนิดน้ีอีกชอื่ หน่ึงวา่ โซมาโตโทรฟิน (Somatotrophin หรือ Somatotrophin hormone; STH) หาก มีมากเกินไปในวัยเด็กจะทำให้ร่างกายสูง ภาพท่ี 4 ภา ผิดปกติหรือสภาพร่างยักษ์(Gigantism) จากนั้นครูใชค้ ำ หากร่างกายขาดฮอร์โมนนี้ในวัยเด็กจะมี 4.1 จาก ภา ลักษณะเตี้ยแคระหรือสภาพแคระ เมลาโทนินมีหน้า (Dwarfism) หลบั ) บางคนอาจมี GH สูงภายหลังที่โตเต็มวัย ครูให้ความรู้เก แล้ว รา่ งกายจะไม่สูงใหญก่ วา่ ปกตมิ ากนกั หนา้ ทก่ี ระตุ้นใหเ้ แต่ส่วนที่เป็นกระดูกตามแขน ขา คาง กระดูกขากรรไกรและกระดูกแก้มยัง 4.2 นักเรีย ตอบสนองตอ่ ฮอร์โมนนีอ้ ยทู่ ำให้เกิดความ เมลาโทนนิ มกี ลไก ผิดปกติของกระดูกตามบริเวณใบหน้า 5. ครูแสดงภ นิ้วมือ นิ้วเท้า เรียกลักษณะดังกล่าวนี้ว่า ฮอร์โมนเมลาโทน อะโครเมกาลี(Acromegaly)
110 จกรรมการเรียนรู้ ส่อื และอุปกรณ์การ การวัดและการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวดั การประเมิน นทราบหรือไม่ว่าต่อมไพเนียลใน มนอะไรและฮอร์โมนดังกล่าวทำ พอาหารเสรมิ เมลาโทนิน าพแสดงอาหารเสริมเมลาโทนิน ำถาม ดังน้ี าพนักเรียนคิดว่าฮอร์โมน าที่เกี่ยวข้องกับอะไร (การนอน กี่ยวกับฮอร์โมนเมลาโทนินที่ทำ เกิดการหลับลึก ยนทราบหรือไม่ว่าฮอร์โมน กในการหลัง่ อย่างไร าพกราฟระดับการหลั่งของ นินในช่วงเวลาต่าง ๆ
วตั ถุประสงคก์ าร เนอ้ื หาสาระ กจิ เรียนรู้ ผู้ใหญ่ที่ขาด GH แม้จะไม่มีลักษณะท่ี ปรากฎอย่างเด่นชัด แต่มีระดับน้ำตาลใน เลือดต่ำกว่าคนปกติจึงทำให้ร่างกายไม่ สามารถทนต่อความเครียดต่าง ๆ ทาง อารมณ์ได้ ถ้าเครียดมาก ๆ อาจทำให้ ภาพที่ 5 ภาพ สมองได้รับอันตรายได้ง่ายเพราะได้รับ เมลาโ สารอาหารไม่เพียงพอ อย่างไรก็ตาม จากนัน้ ครูใชค้ ำ อันตรายที่เกิดขึ้นจะมากหรือน้อยยัง 5.1 ระดับฮ ขึ้นอยู่กับฮอร์โมนที่ควบคุมระดับน้ำตาล ช่วงเวลาใด (ประ ในเลือดชนิดอน่ื ด้วย 5.2 ระดับฮอ ประมาณเท่าใด ( 5.3 ระดับฮอ ประมาณเทา่ ใด ( 5.4 นักเรียนค เมลาโทนนิ หลั่งแต ครูให้ความรู้เก หลั่งฮอร์โมนเมล การรบั ร้กู ลางวันก กอ่ นวยั อันควร 6. ครูแสดงภาพ
จกรรมการเรยี นรู้ 111 สอื่ และอุปกรณ์การ การวัดและการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ พแสดงระดบั การหล่งั ของฮอร์โมน โทนนิ ในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ำถาม ดงั น้ี ฮอร์โมนเมลาโทนินเริ่มสูงข้ึน ะมาณ 16.00-18.00 น.) อร์โมนเมลาโทนินสูงที่สุดในเวลา (ประมาณ 01.00 น.) อร์โมนเมลาโทนินสูงที่สุดในเวลา (ประมาณ 07.00 น.) คิดว่าปัจจัยใดที่ทำให้ฮอร์โมน ตกตา่ งกัน (แสง) กี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการ ลาโทนินกับแสง หน้าที่เกี่ยวกับ กลางคืนและยับยง้ั การเจริญพันธุ์ พตำแหนง่ ของต่อมใต้สมอง
วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กจิ เรียนรู้ ภาพท่ี 6 ภา จากนั้นครใู ช้คำ 6.1 ตำแหนง่ สมองสว่ นไฮโพท 6.1 จากภาพ ออกเปน็ กส่ี ว่ น อ Anterior pituita ครใู หค้ วามรเู้ กี่ย ว่าเจริญมาจากท ส่วนแตกต่างกันอ ฮอร์ใมน พร้อมท ตอ่ มใตส้ มอง ภาพท่ี 7 ภาพ
จกรรมการเรยี นรู้ 112 ส่ือและอปุ กรณ์การ การวดั และการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวัด การประเมิน าพแสดงตอ่ มใต้สมองส่วนหลงั ำถาม ดงั นี้ งของตอ่ มใต้สมองอยทู่ ี่ใด (อยใู่ ต้ ทาลามสั ) พนักเรยี นคิดว่าต่อมใตส้ มองแบง่ อะไรบา้ ง ( 2 สว่ น ary และ Posterior pituitary) ยวกับลักษณะของตอ่ ม ใต้สมอง ที่ใด แบ่งเป็นกี่ส่วน และแต่ละ อย่างไร โดยใช้สื่อนำเสนอ เรื่อง ทั้งแสดงรูปภาพโครงสร้างของ พแสดงโครงสรา้ งของตอ่ มใต้สมอง
วตั ถปุ ระสงค์การ เน้อื หาสาระ กจิ เรียนรู้ ครูกล่าววา่ “ใน ตอ่ มใต้สมองสว่ น ฮอร์โมนแตล่ ะชน 8. ครูแจกใบข ค้นพบโกรทฮอร์โ จากนัน้ ครูใชค้ ำ 8.1 นักเรียน อยา่ งไรกับรา่ งกา 8.2 นักเรียน เกินไปร่างกาย เจรญิ เติบโตมากก 8.3 นกั เรียนค ปกติร่างกายจ เจริญเติบโตน แคระแกร็น) ครูให้ความร นำเสนอ เรือ่ ง ฮอ ขนั้ สรุป(10 นา 1. ครูนำนักเ ดงั ต่อไปน้ี 1.1 ตอ่ มไพเน
113 จกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และอปุ กรณก์ าร การวดั และการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมนิ นวนั นีเ้ ราจะมาดูกันวา่ บรเิ วณ นหน้าสร้างฮอร์โมนอะไรบ้างและ นดิ ออกฤทธอ์ิ ยา่ งไรตอ่ ร่างกาย” ข้อความที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการ โมน ำถาม ดังนี้ นคิดว่าฮอร์โมนดังกล่าวออกฤทธิ์ าย (ทำให้ร่างกายเจรญิ เตบิ โต) นคิดว่าถ้าหากฮอร์โมนนี้มามาก ยจะเป็นอย่างไร (ร่างกายจะ กวา่ ปกต)ิ คิดวา่ ถ้าหากฮอรโ์ มนนี้มีน้อยกว่า จะเป็นอย่างไร (ร่างกายจะ น ้อ ย ก ว ่า ปก ต ิ อ า จ จะเ ต้ีย รู้เรื่องโกรทฮอร์โมนโดยใช้ส่ือ อร์โมน าที) รียนสรุปในประเด็นต่าง ๆ นียลสร้างฮอรโ์ มนอะไร
วตั ถุประสงคก์ าร เน้อื หาสาระ กจิ เรยี นรู้ 1.2 ฮอร์โมน ขึ้นมหี น้าท่ีอย่างไ 1.3 ต่อมใต้ส อะไรบ้าง 1.4 โกรทฮอรโ์ 2. ครูมอบใบงา แล้วนำมาสง่ ในวัน
114 จกรรมการเรียนรู้ สอ่ื และอุปกรณก์ าร การวัดและการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมิน นที่ต่อมไพเนียลของมนุษย์สร้าง ไร สมองส่วนหน้าสร้างฮอร์โมน โมนมหี น้าทอี่ ยา่ งไรในมนุษย์ าน เรื่อง ฮอร์ในให้นักเรียนทำ นพุธท่ี 27 กรกฎาคม 2559
โรงเรยี นสรร กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทย แผนการจัดการเรยี นรู้ เรือ่ ง ฮอรโ์ มนจากต ภาคการศกึ ษาต้น ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6/พ และ 6/1 สาระชีววทิ ยา 4. เขา้ ใจการย่อยอาหารของสตั ว์ และมนษุ ย์ การหายใจ และการแล ถา่ ย การรบั รู้ และการตอบสนอง การเคลอ่ื นท่ี การสืบพนั ธ์ุ และกา ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ ม.6/16 สบื ค้นขอ้ มลู อธิบาย และเขยี นแผนผงั สรปุ หนา้ ที่ของฮอร์โม
115 รพยาวิทยา ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตอ่ มใตส้ มอง ไฮโพทาลามสั และตอ่ มไทมสั รายวชิ า ชวี วิทยา5 ว30255 ผูส้ อน นายเรวัตร อยเู่ กิด ลกเปลย่ี นแก๊ส การลำเลียงสาร และการหมุนเวยี นเลอื ด ภูมคิ ้มุ กันของร่างกาย การขัย ารเจรญิ เติบโต ฮอรโ์ มน การรักษาดลุ ยภาพ และพฤติกรรมของสตั ว์ รวมท้ังนำความรู้ มนจากต่อมไรท้ ่อและเนอ้ื เยอื่ ที่สร้างฮอร์โมน
วตั ถปุ ระสงค์การ เน้อื หาสาระ กจิ เรยี นรู้ นกั เรียนสามารถ ฮอร์โมนจากตอ่ มใต้สมองส่วนหน้า ขั้นนำ (10 นา 1. บอกโครงสรา้ งของ ต่อมใต้สมองส่วนหน้าผลิตและหล่ัง 1. ครูแสดงภาพ ต่อมใต้สมอง ฮอร์โมนท่ี ฮอร์โมนชนิดต่าง ๆ การหลั่งฮอร์โมนของ ตอ่ มใต้สมองสร้างและ ต่อมใต้สมองส่วนนีส้ ่วนใหญ่จะถูกควบคุม หน้าทขี่ องฮอรโ์ มน ด้วยฮอร์โมนประสาทจากไฮโพทาลามสั เหลา่ น้นั ได้ โกนาโดโทรฟิน (Gonadotrophin; 2. บอกลักษณะและ Gn) ประกอบด้วย ฟอลลิเคิลสติมิวเลท ภาพท่ี 1 ตำแหน่งทีอ่ ย่ขู องต่อม ต ิ ง ฮ อ ร ์ โ ม น ( Follicle stimulating ไทมัสและฮอรโ์ มนท่ี hormome; FSH) และลูทิไนซิงฮอร์โมน จากนั้นใช้คำถ สรา้ งขึน้ จากตอ่ มไทมสั (Luteinizing hormone; LH) ต่อมใต้สมอง ดงั น ได้ ใ น เ พ ศ ช า ย FSH จ ะ ก ร ะ ต ุ ้ น ก า ร 3. บอกลักษณะและ เจริญเติบโตของอัณฑะและหลอดสร้าง 1.1 ภาพที่เห ตำแหน่งท่ีอยู่ของตบั อสุจิให้สร้างอสุจิ ส่วน LH กระตุ้นกลุ่ม อะไร (ตอ่ มใต้สม อ่อนและฮอรโ์ มนที่ เซลล์อินเตอร์สติเชียล (Interstitial cell) สรา้ งขึน้ จากตับอ่อนได้ หรือเซลล์เลย์ดิก (Leydig cell) ที่แทรก 1.2 ต่อมใต้ส อยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจิในอัณฑะให้ อะไรบ้าง (2 ส่ว หลัง่ ฮอรโ์ มนเพศชาย คอื เทสโทสเตอโรน และต่อมใต้สมอง ส่วนในเพศหญิง FSH กระตุ้นการเจริญ ข อ ง ฟ อ ล ล ิ เ ค ิ ล ( Follicle) ใ น ร ั ง ไ ข่ 1.3 ต่อมใต้ส ขณะฟอลลเิ คิลเจริญจะสร้างฮอร์โมนเพศ หญิงคือ อีสโทรเจน(Estrogen) ส่วน LH ส่วนหลังแตกต่าง จะกระตุ้นการตกไข่และเกิดคอร์ปัสลู หน้าถือได้ว่าเป็น ใต้สมองส่วนหล ประสาทที่ไม่ได้ส ซอนของนิวโรซีค จากไฮโพทาลาม ประสาทออกมาส
116 จกรรมการเรยี นรู้ ส่อื และอปุ กรณก์ าร การวดั และการประเมินผล เรยี นรู้ การวดั การประเมิน าที) 1. สอ่ื นำเสนอ 1. การมี 1. การ พต่อมใต้สมอง พาวเวอรพ์ อ้ ย เรื่อง ส่วนรว่ ม ประเมนิ การ ฮอรโ์ มน และตอบ ตอบคำถาม 2. ใบงาน เรอื่ ง คำถามใน ในชั้นเรียน ฮอรโ์ มน ชัน้ เรียน 2. การ 2. การ ประเมนิ การ 1 ภาพแสดงตอ่ มใต้สมอง ตอบคำถาม ตอบคำถาม ลงในแบ ลงในแบบ ถามเพื่อทบทวนความรู้เกี่ยวกับ นี้ บนั ทกึ บนั ทกึ ห็นอยู่นี้เป็นภาพแสดงต่อมไร้ท่อ กิจกรรม กิจกรรม มอง) เรอื่ ง เร่อื ง ฮอรโ์ มน สมองแบ่งออกเป็นกี่ส่วน ได้แก่ ฮอร์โมน ถูกต้องอยา่ ง วน ได้แก่ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า งส่วนหลงั ) น้อยร้อยละ 80 สมองส่วนหน้าและต่อมใต้สมอง งกันอย่างไร (ต่อมใต้สมองส่วน นต่อมไรท้ ่อแท้จริง ในขณะที่ต่อม ลังเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อเย่ือ สร้างฮอร์โมนเองแต่มีปลายแอก ครีทอรี(Neurosecretory cell) มัสมาสิ้นสุดและหลั่งฮอร์โมน สตู่ อ่ มใต้สมองส่วนหลัง)
วตั ถุประสงคก์ าร เนอ้ื หาสาระ กิจ เรยี นรู้ เทียม คอร์ปัสลูเทียมจะสร้างฮอร์โมนชอ่ื 1.4 ในคาบเร โพ รเ จสเ ตอโรน( Progesterone) ทำ ต่อมใต้สมองส่ว หน้าที่ร่วมกับอีสโทรเจน ทำให้มีการ (โกรทฮอรโ์ มน) เปลี่ยนแปลงท่ีรังไข่และมดลูกเพ่ือรองรบั 1.5 นกั เรยี นท การฝงั ตัวของเอม็ บริโอ หน้าสร้างฮอร์ โพรแลกทิน (Prolactin) กระตุ้นต่อม ฮอร์โมน น้ำนมให้สรา้ งน้ำนม เพ่อื เลี้ยงลูกออ่ นหลัง คลอด ขัน้ สอน (80 น 1. ครูแสดงภาพ อะดรีโนคอร์ตโิ คโทรฟิน และเดก็ ผู้หญงิ (Adrenocorticotrophin หรือ Adrenocorticotrophin hormone; ACTH) ทำหน้าที่กระตุ้นต่อมหมวกไต สว่ นนอกใหห้ ลง่ั ฮอร์โมนตามปกติ ไทรอยดส์ ตมิ วิ เลติงฮอร์โมน (Thyroid stimulating hormone; TSH) กระตุ้น ตอ่ มไทรอยด์ใหห้ ลัง่ ฮอร์โมนเปน็ ปกติ ภาพที่ 2 ภาพแสด เอนดอรฟ์ ิน (Endorphin) เป็นสารท่ีมี เด็ก ฤทธิ์คลา้ ยมอรฟ์ ีน พบว่ามแี หลง่ สร้างจาก ต่อมใต้สมองส่วนหน้าและอาจสร้างจาก จากน้นั ครใู ชค้ ำ เนื้อเยื่อส่วนอื่น ๆ อีกด้วย เป็นสารที่ทำ 1.1 ถ้าหากเป เด็กกับช่วงทีเ่ ข้าส หน้าที่ระงับความเจ็บปวดและเชื่อกันว่า เอนดอร์ฟินยังเป็นสารที่ทำให้มีความคิด เปลี่ยนแปลงไปบ
117 จกรรมการเรยี นรู้ ส่อื และอุปกรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ รียนทีแ่ ล้วฮอร์โมนที่สร้างมาจาก วนหน้าที่ได้เรียนไปมีอะไรบ้าง ทราบหรอื ไมว่ า่ ต่อมใต้สมองส่วน โมนอะไรบ้างนอกจากโกรท นาที) พการเปลี่ยนแปลงของเด็กผู้ชาย ดงการเปลี่ยนแปลงของเดก็ ผู้ชายและ กผหู้ ญงิ เม่อื เขา้ ส่วู ัยรุน่ ำถาม ดงั น้ี ปรียบเทียบตัวนักเรียนตอนเป็น สู่วัยรุ่น นักเรียนสังเกตเห็นอะไร บ้าง (คำตอบหลากเหลายขึ้นกับ
วตั ถุประสงคก์ าร เน้อื หาสาระ กิจ เรยี นรู้ ในทางสร้างสรรค์ ช่วยเพิ่มความตื่นตวั มี ประสบการณ์ของ ชวี ติ ชีวาและความสขุ ซง่ึ สารน้จี ะหล่ังเม่ือ เข้าสู่การเปลีย่ นแ ออกกำลงั กายหรอื เมอื่ มอี ารมณ์แจ่มใสจึง เพศมากขึ้น เช่น เรียกสารนว้ี า่ สารแห่งความสุข เปน็ ต้น) 1.2 นกั เรียนท ฮอรโ์ มนจากต่อมใตส้ มองส่วนหลงั ดังกล่าวเกดิ ขน้ึ จา ต่อมใตส้ มองส่วนหลังเป็นส่วนทีม่ ีปลาย ครใู หค้ วามรเู้ ก่ยี แอกซอนของเซลล์นิวโรซีครีทอรีจาก ใชส้ ือพาวเวอร์พ้อ สมองส่วนไฮโพทาลามัสมาสิ้นสุดเป็น 2. ครูแสดงภาพ จำนวนมาก เซลล์เหล่านี้จะสร้างฮอร์โมน ประสาท(Neurohormone) มาปล่อยที่ ต่อมใต้สมองก่อนหลั่งสู่ส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายและลำเลียงผา่ นทางกระแสเลือด วาโสเพรสซิน(Vasopressin) หรือ ภาพท่ี 3 แอนติไดยูเรติคฮอร์โมน(Antidiuretic hormone) ทำหนา้ ท่ีควบคมุ การดูดกลับ จากน้นั ครใู ชค้ ำ 2.1 เด็กทารก น้ำของท่อหน่วยไตและกระตุ้นให้หลอด นำ้ นมจากแม)่ เลอื ดอารเ์ ตอรีหดตัว 2.2 นักเรยี นท อ อ ก ซ ิ โ ท ซ ิ น ( Oxytocin) ท ำ ใ ห้ กล้ามเนื้อเรียบที่มดลูกบีบตัว จึงเป็น เก่ียวข้องกบั การส ครูให้ความรู้เก ฮอร์โมนที่แพทย์ฉีดเพื่อช่วยเหลือในการ ใช้สือพาวเวอรพ์ ้อ คลอดของมารดาที่มีฮอร์โมนชนิดนี้น้อย 3. ครูแสดงภาพ
118 จกรรมการเรียนรู้ ส่อื และอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรียนรู้ การวดั การประเมนิ งนกั เรยี น ครพู ยายามนำคำตอบ แปลงที่เกีย่ วข้องกบั ลกั ษณะทาง น การมีหน้าอก สะโพกที่ผาย ทราบหรอื ไม่ว่าการเปลี่ยนแปลง ากฮอรโ์ มนชนดิ ใด ยวกับฮอร์โมนโกนาโดโทรฟนิ โดย อย เรอ่ื ง ฮอร์โมน พการให้นมบตุ ร 3 ภาพแสดงการใหน้ มบตุ ร ำถาม ดังน้ี กในภาพกำลังทำอะไร (กำลงั ดดู ทราบหรอื ไม่วา่ ฮอรโ์ มนใด สร้างน้ำนม กี่ยวกับฮอร์โมนโพรแลกทินโดย อย เรอ่ื ง ฮอร์โมน พต่อมหมวกไต
วตั ถุประสงคก์ าร เน้ือหาสาระ กจิ เรยี นรู้ กว่าปกติ นอกจากนี้ฮอร์โมนชนิดนี้ยัง กระต้นุ กล้ามเน้อื รอบ ๆ ต่อมนำ้ นมให้หด ตัวเพื่อขบั นำ้ นมออกมาเลย้ี งลูกอ่อน ไฮโพทาลามัส(Hypothalamus) เป็น ภาพท่ี 4 ส ม อ ง ท ี ่ อ ย ู ่ ใ ต ้ ส ่ ว น ข อ ง ท า ล า มั ส จากนัน้ ครใู ชค้ ำ (Thalamus) ภายในมีเซลล์นิวโรซีครีทอรี 3.1 นักเรียนจ (Neurosecretory cell) ที่สร้างฮอร์โมน คอื ต่อมอะไร (ต่อ ป ร ะ ส า ท ( Neurohormone) โ ด ย 3.2 นักเรยี นจ ไฮโพทาลามสั นอกจากจะมีเซลลน์ ิวโรซีครี ออกเป็นกี่ส่วน อ ทอรีที่ยื่นส่วนปลายแอกซอนไปที่ต่อมใต้ ช้นั นอกและต่อมห สมองส่วนหลังและสร้างแอนติไดยูเรติค 3.3 นักเรียนท ฮอร์โมนและออกซิโทซินแล้ว ยังสร้าง ทำหน้าที่ควบค ฮอร์โมนที่ทำหน้าที่ควบคุมต่อมใต้สมอง ชนั้ นอกอยอู่ ีก ส่วนหน้าทั้ง Stimulating hormone ครูให้ความรู้เก โทรฟิน โดยใช้ส และInhibiting hormone ไดแ้ ก่ ฮอรโ์ มน Thyrotropin-releasing 4. ครูแสดงภาพ hormone(TRH) Gonadotropin-releasing hormone (GnRH) Corticotropin-releasing hormone (CRH)
จกรรมการเรยี นรู้ 119 สอ่ื และอุปกรณก์ าร การวดั และการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ 4 ภาพแสดงต่อมหมวกไต ำถาม ดงั นี้ จำได้หรือไมว่ ่าต่อมท่ีอย่ใู นภาพนี้ อมหมวกไต) จำไดห้ รอื ไม่ว่าต่อมหมวกไตแบ่ง อะไรบ้าง ( 2 ส่วน ต่อมหมวกไต หมวกไตชน้ั ใน) ทราบหรอื ไม่วา่ ยังมฮี อร์โมนใดที่ คุมการทำงานของต่อมหมวกไต กี่ยวกับฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโค สื่อนำเสนอพาวเวอร์พ้อย เรื่อง พตอ่ มไทรอยด์
วตั ถุประสงคก์ าร เน้ือหาสาระ กจิ เรยี นรู้ Growth hormone-releasing ภาพท่ี 5 hormone (GHRH) จากนั้นครูใชค้ ำถ Growth hormone inhibitory 4.1 นักเรยี นท ภาพคอื ตอ่ มอะไร hormone (Somatostatin) Prolactin-inhibiting hormone (PIH) 4.2 นกั เรยี นท สามารถสร้างฮอร ต่อมไทมัส(Thymus gland) เป็น แคลซโิ ทนิน/นกั เ อวัยวะที่มีลักษณะเป็นพู มีตำแหน่งอยู่ 4.3 นกั เรียนท ระหว่างกระดูกอกกบั หลอดเลือดใหญ่ของ ทำหน้าที่ควบคุม หัวใจ มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาของ อกี เซลล์เม็ดเลือดขาวคือลิมโฟไซต์ชนิดที ครูให้ความร หรือเซลล์ที การแบ่งเซลล์และพัฒนาการ สติมิวเลติงฮอ ของลิมโฟไซต์ชนิดทีอาศัยไทโมซิน พาวเวอรพ์ อ้ ย เร (Thymosin) ซึ่งสร้างจากเซลล์บางส่วน 5. ครูแสดงภาพ ของไทมัส ดงั น้ันไทโมซินจึงเป็นฮอร์โมนท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั การสร้างระบบภูมิคุ้มกันของ รา่ งกาย ภาพท่ี 6 จากนนั้ ครใู ชค้ ำ 5.1 นักเรียนร 5.2 นกั เรยี นท อย่างไร
120 จกรรมการเรยี นรู้ สื่อและอุปกรณ์การ การวดั และการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมนิ 5 ภาพแสดงต่อมไทรอยด์ ถาม ดังน้ี ทราบหรือไมว่ า่ ตอ่ มทเี่ ห็นอยู่ใน ร (ตอ่ มไทรอยด)์ ทราบหรือไมว่ ่าต่อมดังกล่าว รโ์ มนอะไรไดบ้ า้ ง (ไทรอกซนิ และ เรียนอาจจะยงั ตอบไมไ่ ด)้ ทราบหรอื ไม่ว่ายังมฮี อร์โมนใดที่ มการทำงานของต่อมไทรอยด์อยู่ ู้เกี่ยวกับฮอร์โมนไทรอย ด์ อร์โมน โดยใช้สื่อนำเสนอ ร่อื ง ฮอร์โมน พตัวอกั ษร Endorphin 6 ภาพตัวอกั ษรEndorphin ำถาม ดงั นี้ รู้จักสารเคมคี ำน้หี รือไม่ (รจู้ ัก) ทราบหรือไม่ว่าสารน้ีมีคุณสมบัติ
วตั ถปุ ระสงค์การ เน้อื หาสาระ กจิ เรียนรู้ ครูให้ความรู้เก นำเสนอพาวเวอร 6. จากน้นั ครแู ส ตอ่ มใตส้ มองส่วน ภาพที่ 7 ภาพ 7. ครแู สดงภาพ ภาพท่ี 8 จากนน้ั ใช้คำถา 7.1 นอกจาก สว่ นใดอีกบ้าง (ต 7.2 ฮอร์โมน หลงั สรา้ งมาจากท
121 จกรรมการเรยี นรู้ สือ่ และอปุ กรณก์ าร การวดั และการประเมินผล เรียนรู้ การวัด การประเมนิ กี่ยวกับเอนดอร์ฟิน โดยใช้สื่อ รพ์ อ้ ย เรือ่ ง ฮอร์โมน สดงภาพสรุปฮอร์โมนท่ีสร้างจาก นหนา้ พแสดงฮอรโ์ มนท่ีสร้างจากต่อมใต้ สมองส่วนหนา้ พตอ่ มใตส้ มอง 8 ภาพแสดงตอ่ มใตส้ มอง าม ดังน้ี กส่วนหน้าแล้วต่อมใต้สมองยังมี ตอ่ มใต้สมองส่วนหลงั ) นที่สร้างขึ้นในต่อมใต้สมองส่วน ที่ใด (เซลลน์ วิ โรซีครีทอรีท่ีอยู่ใน
วตั ถุประสงคก์ าร เน้อื หาสาระ กิจ เรยี นรู้ สมองส่วนไฮโพท ทบ่ี ริเวณต่อมใตส้ 7.3 นักเรียนท หลงั สร้างฮอร์โมน 8. นักเรียนจำไ ของเลือดเปลี่ยน กับการปรับระดับ (Antidiuretic ho ครูให้ความรู้เก โดยอาศยั ส่ือนำเส 9. ครแู สดงภาพ ภาพที่ 9 จากนน้ั ครใู ชค้ ำ 9.1 ฮอรโ์ มนท (โพรแลคติน) 9.2 ถ้าหากโพ นักเรยี นทราบหร การหลง่ั น้ำนม
122 จกรรมการเรียนรู้ สอ่ื และอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรียนรู้ การวัด การประเมนิ ทาลามสั แล้วยืน่ ปลายแอกซอนมา สมองส่วนหลัง) ทราบหรอื ไม่ว่าต่อมใต้สมองส่วน นอะไรบ้าง ได้หรือไม่ว่าถ้าหากความเข้มข้น นแปลงไปฮอร์โมนใดที่เกี่ยวข้อง บความเข้มข้นเลือดให้เป็นปกติ ormone) กี่ยวกับแอนติไดยูเรติคฮอร์โมน สนอพาวเวอร์พอ้ ย เรอื่ ง ฮอรโ์ มน พการใหน้ มบุตร 9 ภาพแสดงการให้นมบุตร ำถาม ดังนี้ ท่ีเก่ยี วข้องกบั การสร้างนำ้ นมคือ พรแลคตนิ สรา้ งน้ำนมแล้ว รอื ไม่ว่าฮอร์โมนใดทเี่ กยี่ วขอ้ งกับ
วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กิจ เรยี นรู้ ครูให้ความรู้เก อาศยั ส่ือนำเสนอ 10. ครูแสดงภา ภาพ จากนน้ั ครูใชค้ ำ 10.1 สมองส (ใตส้ มองสว่ นทาล 10.2 นักเรีย ทาลามัสทำหน้าท ประสาทอตั โนวัต 10.3 นกั เรีย จากสมองส่วนไฮโ อยา่ งไร
123 จกรรมการเรยี นรู้ สื่อและอุปกรณ์การ การวดั และการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมนิ กี่ยวกับฮอร์โมนออกซิโทซินโดย อพาวเวอรพ์ อ้ ย เรื่อง ฮอรโ์ มน าพสมอง พที่ 10 ภาพแสดงสมอง ำถาม ดงั น้ี ส่วนไฮโพทาลามัสอยู่บรเิ วณใด ลามัส) ยนทราบหรอื ไมว่ ่าสมองส่วนไฮโพ ท่ีอยา่ งไร (ควบคุมระบบ ติและสร้างฮอร์โมน) ยนทราบหรือไม่ว่าฮอรโ์ มนที่สรา้ ง โพทาลามสั มอี ะไรบา้ ง ทำหนา้ ท่ี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299