Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30255)

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30255)

Published by Rawat Yukerd, 2021-07-17 09:24:06

Description: แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30255) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสรรพยาวิทยา จัดทำโดย นายเรวัตร อยู่เกิด

Search

Read the Text Version

วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กจิ เรียนรู้ ครูให้ความรู้เกยี่ สว่ นไฮโพทาลามัส พ้อย เร่อื ง ฮอร์โม 11. ครแู สดงภา ภาพท่ี 11 ภาพ จากน้ันครใู ชค้ 11.1 ตอ่ มที่เ 11.2 นักเรีย สร้างฮอรโ์ มนอะไ ครูให้ความรู้เก ส่วนไฮโพทาลาม พอ้ ย เรอ่ื ง ฮอรโ์ ม ขน้ั สรุป(10 นาท 1. ครูนำนักเ ดงั ต่อไปน้ี

124 จกรรมการเรยี นรู้ สือ่ และอปุ กรณ์การ การวัดและการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวดั การประเมิน ยวกบั ฮอร์โมนท่ีสร้างจากสมอง ส โดยใชส้ อ่ื นำเสนอพาวเวอร์ มน าพตอ่ มไทมสั พแสดงต่อมไทมสั ในรา่ งกายมนษุ ย์ คำถาม ดังน้ี เห็นอยใู่ นภาพน้ีคอื ต่อมอะไร ยนทราบหรือไม่ว่าต่อมดังกล่าว ไร ทำหน้าที่อย่างไร กี่ยวกับฮอร์โมนที่สร้างจากสมอง มัส โดยใช้สื่อนำเสนอพาวเวอร์ มน ท)ี รียนสรุปในประเด็นต่าง ๆ

วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กจิ เรียนรู้ 1.1 ต่อมใต้ส ทำหน้าท่อี ะไรบ้า 1.2 ฮอรโ์ มนท ฮอรโ์ มน อะไรบ้า 1.3 ต่อมไทมัส 2. ครมู อบใบงา

125 จกรรมการเรียนรู้ สอ่ื และอุปกรณก์ าร การวดั และการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวัด การประเมนิ สมองส่วนหลังสร้างฮอร์โมนอะไร าง ทส่ี ร้างจากต่อมใตส้ มองมีทัง้ สน้ิ กี่ าง สสรา้ งฮอร์โมนที่มีชอ่ื วา่ อะไร าน เร่ือง ฮอร์โมน

โรงเรยี นสรร กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทย แผนการจดั การเรียนรู้ เรอื่ ง ฮอร์โมนจากตับอ่อน ตอ่ ม ภาคการศกึ ษาตน้ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6/พ และ 6/1 สาระชวี วทิ ยา 4. เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์ และมนษุ ย์ การหายใจ และการแล ถา่ ย การรับรู้ และการตอบสนอง การเคล่อื นที่ การสบื พนั ธ์ุ และกา ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ ม.6/16 สืบค้นขอ้ มูล อธิบาย และเขียนแผนผังสรปุ หนา้ ทขี่ องฮอร์โม

126 รพยาวทิ ยา ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มไทรอยด์ ตอ่ มพาราไทรอยด์และตอ่ มหมวกไตสว่ นใน รายวิชา ชวี วิทยา5 ว30255 ผสู้ อน นายเรวตั ร อยเู่ กดิ ลกเปลีย่ นแก๊ส การลำเลยี งสาร และการหมนุ เวยี นเลอื ด ภมู ิค้มุ กนั ของรา่ งกาย การขัย ารเจริญเตบิ โต ฮอรโ์ มน การรกั ษาดลุ ยภาพ และพฤตกิ รรมของสตั ว์ รวมท้ังนำความรู้ มนจากต่อมไรท้ อ่ และเน้ือเยือ่ ที่สร้างฮอรโ์ มน

วัตถปุ ระสงค์การ เน้ือหาสาระ กิจ เรยี นรู้ นกั เรยี นสามารถ ตับอ่อน(Pancrease) เป็นอวัยวะท่ี ข้ันนำ (5 นาท 1. บอกลกั ษณะ สร้างเอนไซม์หลายชนิดส่งไปย่อยอาหาร 1. ครูแสดงภาพ โครงสร้างของตับอ่อน ที่ลำไส้เล็ก เพราะตับอ่อนประกอบด้วย และบรเิ วณทที่ ำหนา้ ท่ี ต่อมสร้างเอนไซม์ซึ่งเป็นต่อมมีท่อจึง เปน็ ตอ่ มไรท้ อ่ ในตับ สามารถลำเลียงเอนไซม์ดังกล่าวมายัง อ่อนได้ ลำไสเ้ ลก็ ได้ ภายในตบั ออ่ นมีกลุ่มเซลล์ที่ 2. บอกกลไกการ แตกต่างจากเนื้อเยื่อสว่ นใหญข่ องตับอ่อน ทำงานของฮอรโ์ มนที่ กลุ่มเซลล์นก้ี ระจายเป็นหยอ่ ม ๆ มีหลอด สร้างมาจากตับอ่อนได้ เลือดมาเลี้ยงกลุ่มเซลล์นี้มีชื่อว่าไอส์เลต ภาพที่ 1 ภ 3. บอกลักษณะ ออฟลังเกอร์ฮันส์(Islet of Langerhans) โครงสร้างและตำแหน่ง จากนั้นมีการศึกษาพบว่าไอส์เลตออฟลัง จากน้ันครูใช้คำ ที่อยู่ของตอ่ มไทรอยด์ เกอร์ฮันส์สร้างฮอร์โมนที่สำคัญ 2 ชนิด 1.1 นักเรียน ได้ คือ อินซูลิน(Insulin)และกลูคากอน 4. บอกหน้าท่ขี อง (Glucagon) ร่างกายมนุษย์ปร ฮอรโ์ มนทส่ี ร้างมาจาก ฮอร์โมนอินซลู ิน(Insulin) เป็นฮอร์โมน สมอง ต่อมไพเน ต่อมไทรอยด์ได้ ไทรอยด์ ต่อมหม 5. บอกลักษณะ สร้างจากกลุ่มเซลล์บีตา(β-cell) ที่ รังไข)่ โครงสรา้ งและตำแหน่ง ทอ่ี ย่ตู ่อมพาราไทรอยด์ บริเวณส่วนกลางของของไอส์เลตออฟลัง 1.2 นักเรียน ได้ เกอร์ฮันส์ หน้าที่สำคัญคือ ลดระดับ ท่อใดไปแล้วบ้า น้ำตาลในเลือดให้เป็นปกติ เมื่อร่างกายมี ต่อมไทมัส) น้ำตาลในเลือดสูงอินซูลินจะหลั่งออกมา มากเพื่อกระตุ้นให้เซลล์ตับและเซลล์ 1.3 นักเรียน หน้าท่อี ย่างไร กล้ามเนื้อนำกลูโคสเข้าไปในเซลล์มากขึน้

127 จกรรมการเรียนรู้ สอื่ และอปุ กรณ์การ การวัดและการประเมินผล เรยี นรู้ การวัด การประเมิน ที) 1. สอื่ นำเสนอ 1. การมี 1. การ พต่อมไรท้ อ่ ทัง้ หมดในรา่ งกาย พาวเวอรพ์ อ้ ย เร่ือง ส่วนรว่ ม ประเมนิ การ ฮอรโ์ มน และตอบ ตอบคำถาม 2. ใบงาน เร่ือง คำถามใน ในชั้นเรียน ฮอรโ์ มน ช้ันเรียน 2. การ 2. การ ประเมนิ การ ตอบคำถาม ตอบคำถาม ลงในแบ ลงในแบบ ภาพแสดงตอ่ มไรท้ ่อในรา่ งกาย บันทกึ บันทกึ กจิ กรรม กจิ กรรม ำถาม ดังน้ี เรอ่ื ง เร่อื ง ฮอรโ์ มน ฮอร์โมน ถูกต้องอยา่ ง นจำได้หรือไม่ว่าต่อมไร้ท่อใน นอ้ ยร้อยละ ระกอบไปด้วยอะไรบ้าง (ต่อมใต้ 80 นียล ต่อมไทรอยด์ ต่อมพารา มวกไต ต่อมไทมสั ตับออ่ น อัณฑะ นได้ศึกษาการทำงานของต่อมไร้ าง (ต่อมไพเนียล ต่อมใต้สมอง นทราบหรือไม่ว่าต่อมอื่น ๆ ทำ

วัตถปุ ระสงคก์ าร เน้อื หาสาระ กจิ เรยี นรู้ และเปลี่ยนกลูโคสให้เป็นเป็นไกลโคเจน ขนั้ สอน (85 น 6. บอกหน้าทีข่ อง เพื่อเก็บสะสมไว้ ทำให้ระดับน้ำตาลใน 1. ครูแสดงกรา ฮอร์โมนท่สี รา้ งมาจาก เลือดลดลงสู่ระดับปกติ ถ้ากลุ่มเซลล์ท่ี หลงั รบั ประทานอ ตอ่ มพาราไทรอยดไ์ ด้ สร้างอินซูลินถูกทำลาย ระดับน้ำตาลใน 7. บอกลกั ษณะ เลอื ดสูงกว่าปกตทิ ำใหเ้ ปน็ โรคเบาหวาน ภาพที่ 2 ภาพแส โครงสร้างและตำแหน่ง ฮอร์โมนกลูคากอน(Glucagon) เซลล์ ร ทอี่ ยูต่ ่อมหมวกไตได้ 8. บอกหนา้ ที่ของ แอลฟา(α-cell) ซึ่งเป็นเซลล์อีกประเภท จากนั้นครูใชค้ ำถ ฮอรโ์ มนทีส่ ร้างมาจาก 1.1 หลงั จาก ตอ่ มหมวกไตช้นั ในได้ ห น ึ ่ ง ข อ ง ไ อ ส ์ เ ล ต อ อ ฟ ล ั ง เ ก อ ร ์ ฮ ั น ส์ กลูคากอนทำหน้าท่ีตรงขา้ มกบั อินซูลินคือ ประมาณ 20 นา เม่อื ระดบั นำ้ ตาลในเลือดต่ำ กลคู ากอนจะ เปล่ียนแปลงไปอ ไปกระตุ้นการสลายตัวของไกลโคเจนจาก เลือดสูงขน้ึ ) ตับและกล้ามเนื้อได้น้ำตาลกลูโคสแล้ว ปล่อยออกมา ทำให้เลือดมีระดับน้ำตาล 1.2 เมื่อเวลา เพม่ิ ขึ้น ในกระแสเลือดแ ต่อมไทรอยด์(Thyroid gland) หลังจากรับประ ต่อมไทรอยด์ของคนจัดว่าเป็นต่อมที่มี (แตกต่าง โดยร ขนาดใหญ่ตอ่ มหนง่ึ อยตู่ ดิ กับบรเิ วณกล่อง ลดลง) เสียง มีลักษณะเป็น 2 พู และมีเนื้อเยื่อ ของตอ่ มพาราไทรอยด์ติดอยทู่ างด้านหลัง 1.3 เมื่อเวลา ข้างละ 2 ต่อม ในกระแสเลือดม ฮอรโ์ มนจากต่อมไทรอยด์ (ระดับน้ำตาลใน ระดบั ปกตกิ ่อนรับ

128 จกรรมการเรียนรู้ สื่อและอุปกรณ์การ การวดั และการประเมินผล เรียนรู้ การวดั การประเมิน นาที) าฟระดับน้ำตาลในกระแสเลือด อาหาร สดงระดับนำ้ ตาลในกระแสเลอื ดหลัง รบั ประทานอาหาร ถาม ดังน้ี กรบั ประทานอาหารไปแล้ว าที ระดบั นำ้ ตาลในกระแสเลอื ด อยา่ งไร (ระดับน้ำตาลในกระแส าผ่านไป 45 นาที ระดับน้ำตาล แตกต่างจากช่วง 20 นาทีแรก ะทานอาหารหรือไม่ อย่างไร ะดับน้ำตาลในกระแสเลือดจะ าผ่านไป 1 ชั่วใมง ระดับน้ำตาล มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร นกระแสเลือดลดกลับเข้ามาสู่ บประทานอาหาร)

วตั ถุประสงคก์ าร เน้ือหาสาระ กจิ เรยี นรู้ ไทรอกซนิ ทำหนา้ ท่ีในการควบคุมอัตรา 1.4 นักเรียน เมแทบอลิซึมในร่างกาย ภายในต่อม ทำหน้าที่ควบค ไทรอยด์มกี ลมุ่ เซลลจ์ ำนวนมากแต่ละกลุ่ม ฮอร์โมนนั้นถูกส ประกอบไปด้วยเซลล์ที่มีความหนาเพียง (อนิ ซลู ินและกลูค ชั้นเดียว และมีช่องตรงกลาง เรียกกลุ่ม ครูให้ความรู้เ เซลล์นี้ว่า ไทรอยด์ฟอลลิเคิล (Thyroid กลูคากอนโดยอ follicle) ซึ่งทำหนา้ ท่ีสรา้ งฮอร์โมนไทรอก เร่อื ง ฮอร์โมน ซิน 2. ครูแสดงภาพ ต่อมไทรอยด์ของคนบางคนสร้าง ไทรอกซินได้น้อยกว่าคนปกติทั้ง ๆ ที่ ร่างกายมีปริมาณไอโอดีนอยู่มากและ พบว่าร่างกายผลิตไทรอกซินได้น้อย ซึ่ง ภาพท่ี 3 การแสดงออกของอาการจะแตกต่างกัน จากนน้ั ครใู ชค้ ำ ไปในเด็กและผู้ใหญ่ โดยในเดก็ จะมีผลทำ 2.1 นักเรียน ให้พัฒนาการทางร่างกายและสมองด้อย อย่นู ี้คือตอ่ มอะไร ลง ทำใหร้ า่ งกายเต้ีย แคระ แกรน็ แขนขา 3. ครูแสดงภาพ สนั้ ผวิ หยาบแหง้ ผมบาง การเจริญเติบโต ช้ากว่าปกติและปัญญาอ่อน กลุ่มอาการ เช่นนี้ เรียกว่า เครทินิซึม(Cretinism) สำหรับในผู้ใหญ่การขาดฮอร์โมนไทรอก ซินจะทำให้มีอาการเหนื่อยง่าย น้ำหนัก ภาพที่ 4 ภาพแส เพิ่ม ทนความหนาวไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อน

129 จกรรมการเรยี นรู้ สื่อและอปุ กรณก์ าร การวดั และการประเมินผล เรยี นรู้ การวัด การประเมนิ นจำได้หรือไม่ว่าฮอร์โมนใดท่ี คุมระดับน้ำตาลในเลือดและ สร้างมาจากอวัยวะใดในร่างกาย คากอน สร้างมาจากตับออ่ น) เกี่ยวกับฮอร์โมนอินซูลินและ อาศัยสื่อนำเสนอพาวเวอร์พ้อย พต่อมไทรอยด์ 3 ภาพแสดงต่อมไทรอยด์ ำถาม ดังน้ี นทราบหรือไม่ว่าต่อมไร้ท่อที่เห็น ร(ต่อมไทรอยด์) พลกั ษณะของตอ่ มไทรอยด์ แสดงตำแหนง่ และลักษณะของตอ่ ม ไทรอยด์

วตั ถุประสงคก์ าร เนือ้ หาสาระ กิจ เรยี นรู้ แรง ผมและผิวหนังแหง้ หัวใจโต ร่างกาย จากนนั้ ครใู ช้คำ อ่อนแอ ติดเชื้อง่าย มีอาการซึม เฉื่อยชา 3.1 จากภาพ และความจำเสื่อม กลุ่มอาการเช่นน้ี รา่ งกาย (อย่บู รเิ ว เรยี กว่า มกิ ซีดมี า(Myxedema) ครูให้ความรู้เก สำหรับโรคคอพอกที่เกิดจากการขาด ในร่างกายมนุษย ธาตุไอโอดีน ทำให้ต่อมไทรอยด์ไม่ ไทรอยด์โดยอาศัย สามารถสร้างไทรอกซินได้ อาการจะ ฮอรโ์ มน เหมอื นกบั โรคมกิ ซีดีมาแตม่ ีลักษณะคอโต 4. ครแู สดงภาพ ดว้ ย เนอื่ งจากต่อมใตส้ มองส่วนหน้าหลั่ง TSH มากระตุ้นต่อมไทรอยด์มากเกินไป โดยต่อมนี้ไม่สามารถสร้างไทรอกซินออก ไปยับยั้งการหลั่ง TSH จากต่อมใต้สมอง ได้ จะทำให้ต่อมไทรอยด์ขยายขนาด ภาพท่ี 5 ภาพแ ผดิ ปกติ โรคคอพอกอีกชนิดหนึงคือ โรคคอพอก จากน้นั ครใู ช้คำ เป็นพิษ(Toxic goiter) เนื่องจากต่อม 4.1 ภายในต ไทรอยด์ถูกกระตุ้นให้สร้างฮอร์โมนมาก อย่างไร (ประกอ เกินไป ผู้ที่เป็นโรคนี้คอจะไม่โตมากนัก ช่องว่างเป็นบางจ แต่บางคนอาจจะมีอาการตาโปนด้วย ครูให้ความรู้เก สาเหตุเนื่องมาจากความผิดปกติบางอย่าง พาราฟอลลิคิวล ในร่างกาย เป็นเหตุให้ต่อมไทรอยด์ถูก พ้อย เร่ือง ฮอร์โม กระตนุ้ ให้ทำงานหนกั ตลอดเวลา ต่อมจึง

130 จกรรมการเรยี นรู้ สื่อและอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ ำถาม ดังน้ี พต่อมไทรอยด์อยู่บริเวณใดของ วณลำคอใกลก้ ับหลอดลม) กี่ยวกับตำแหน่งของต่อมไทรอยด์ ย์ และลักษณะภายนอกของตอ่ ม ยสอื่ นำเสนอพาวเวอร์พอ้ ย เร่ือง พเซลลภ์ ายในตอ่ มไทรอยด์ แสดงลกั ษณะภายในตอ่ มไทรอยด์ ำถาม ดงั น้ี ต ่ อ ม ไ ท ร อ ย ด ์ ม ี ล ั ก ษ ณ ะ เ ป็ น อบไปด้วยเซลล์มากมายและมี จดุ ) กี่ยวกับไทรอยด์ฟอลลิเคิลและ ลาร์เซลล์ โดยอาศัยสื่อพาวเวอร์ มน

วตั ถุประสงคก์ าร เน้อื หาสาระ กิจ เรยี นรู้ ขยายโตขึ้นและสร้างฮอร์โมนไทรอกซิน 4.2 นักเรียน ออกมามากกว่าปกติ มีอาการตรงข้ามกบั สร้างฮอร์โมนอะ มกิ ซีดมี า อาจรกั ษาไดโ้ ดยใหค้ นไข้กินยาท่ี ฮอรโ์ มนและแคล ยับยั้งการสร้างฮอร์โมนหรือการผ่าตดั เอา 4.3 นักเรียน บางส่วนของต่อมออก หรือให้สารไอโอ ทำหนา้ ทอ่ี ะไร มีค โอดีนที่เป็นกัมตภาพรังสีเพื่อทำลาย 5. ครูแจกข้อม เนือ้ เยอื่ บางสว่ นของตอ่ ม ไทรอยด์และการบ นอกจากนี้ในสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก จากนั้นใชค้ ำถาม ไทรอกซินยังสามารถกระตุ้นการเกิด 5.1 นักเรียน เมทามอรโ์ ฟซสิ ได้ อะไรในร่างกาย แคลซโิ ทนนิ (Calcitonin) สรา้ งมาจาก ของร่างกาย การ กลุ่มเซลล์ที่อยู่ระหว่างฟอลลิเคิล คือ ครูให้ความรู้เก เซลล์ซี(C-cell) หรือ พาราฟอลลิคิวลาร์ ฮอร์โมน หน้าท เซลล์(Parafollicular cell) หน้าที่ของ ฮอรโ์ มนตอ่ มนษุ ย แคลซิโทนินคือ กระตุ้นการสะสม พอ้ ย เร่อื ง ฮอรโ์ ม แคลเซียมที่กระดูก ลดการดูดกลับ 5.2 นักเรียน แคลเซียมที่ไตและลดอัตราการดูดกลับ จำนวนน้อย ร่า แคลเซียมที่ลำไส้เล็ก ฮอร์โมนนี้ทำงาน อย่างไร (อัตราก ร่วมกับฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ ร่างกายมีอาการบ และวติ ามินดี 5.3 นักเรียน รา่ งกายเม่อื มีการ ผู้ใหญ่แตกตา่ งกัน

131 จกรรมการเรยี นรู้ สื่อและอปุ กรณ์การ การวัดและการประเมินผล เรียนรู้ การวัด การประเมนิ นทราบหรือไม่ว่าต่อมไทรอยด์ ะไรบ้าง (ไทรอกซินหรือไทรอยด์ ลซโิ ทนนิ ) นทราบหรือไมว่ ่าฮอร์โมนดังกล่าว ความสำคญั อย่างไรต่อร่างกาย มูลผลที่เกิดจากการทำลายต่อม บดตอ่ มไทรอยดใ์ ห้คนปกตกิ ิน ม ดงั นี้ นคิดว่าฮอร์โมนดังกล่าวทำหน้าท่ี (เกี่ยวข้องกับการเมแทบอลิซึม รพฒั นาของสมอง) กี่ยวกับการสังเคราะห์ไทรอยด์ ที่และความสำคัญของไทรอยด์ ย์ โดยอาศัยส่ือนำเสนอพาวเวอร์ มน นคิดว่าถ้าหากไทรอยด์ฮอร์โมนมี างกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลง การเมแทบอลิซึมเปลี่ยนแปลงไป บวม ทนอากาศหนาวไม่ได้) นคิดว่าการตอบเปลี่ยนแปลงของ รขาดไทรอยด์ฮอร์โมนในเด็กและ นหรอื ไม่

วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กจิ เรยี นรู้ ต่อมพาราไทรอยด์( Parathyroid ครูให้ความรู้เ gland) เป็นตอ่ มทอี่ ยตู่ ิดกบั ต่อมไทรอยด์ ไทรอยด์ฮอร์โมน ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนที่มีชื่อว่า พารา โดยอาศยั สอ่ื นำเส ทอร์โมน(Parathormone) หรือ พารา 5.4 นักเรียน ไ ท ร อ ย ด ์ ฮ อ ร ์ โ ม น ( Parathyroid นักเรยี นตอบตาม hormone) ต่อมนี้มีความสำคัญเฉพาะ 5.5 นักเรียน กับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเท่านั้น ทำหน้าที่ ประเภท (2 ประ ควบคุมสมดุลแคลเซียมในเลือด โดยเพ่ิม โรคคอพอกเปน็ พ อัตราการสลายแคลเซียมที่กระดูก เพ่ิม 5.6 นกั เรยี นท การดูดกลับแคลเซียมที่ท่อหน่วยไตและ ชนดิ แตกตา่ งกันอ ช่วยเร่งอัตราการดดู ซึมแคลเซียมในลำไส้ ครูให้ความรู้เก เล็ก การทำงานควบคุมระดับแคลเซียมน้ี โดยอาศัยสือ่ นำเส จะทำงานรว่ มกับต่อมไทรอยด์ 6. ครูแสดงภาพ สตั ว์สะเทนิ นำ้ สะ ฮอรโ์ มนจากต่อมหมวกไตส่วนใน ม ี 2 ช น ิ ด ไ ด ้ แ ก ่ เ อ พ ิ เ น ฟ ริ น ( Epinephrine) ห ร ื อ อ ะ ด ร ี น า ลิ น (Adrenaline) และนอร์เอพิเนฟริน หรือ นอร์อะดรีนาลิน(Noradrenaline) ซึ่ง ภาพท่ี 6 ภาพแสด ฮอร์โมนทั้ง 2 ชนิดนี้ออกฤทธิ์เหมือนกัน มีผลทำให้น้ำตาลในเลือดเพิ่มมากขึ้น จากน้นั ครใู ชค้ ำ กระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็ว ความดันเลือดสูง

132 จกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และอุปกรณก์ าร การวดั และการประเมินผล เรียนรู้ การวัด การประเมนิ เกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นเมื่อ นน้อยลงในเด็กและผู้ใหญ่มนุษย์ สนอพาวเวอร์พ้อย เรือ่ ง ฮอรโ์ มน นรู้จักโรคคอพอกหรือไม่ (รู้/ไม่รู้ มประสบการณ์ของนักเรียน) นทราบหรือไม่ว่าโรคคอพอกมีกี่ ะเภท ได้แก่ โรคคอพอกปกติกับ พษิ /นักเรยี นอาจจะยังตอบไม่ได้) ทราบหรือไมว่ า่ โรคคอพอกแต่ละ อย่างไร กี่ยวกับโรคคอพอกแต่ละประเภท สนอพาวเวอรพ์ อ้ ย เรอื่ ง ฮอรโ์ มน พหน้าที่ของไทรอยด์ฮอร์โมนต่อ ะเทินบก ดงผลของไทรอกซนิ ตอ่ สัตวส์ ะเทินน้ำ สะเทินบก ำถาม ดงั น้ี

วตั ถุประสงคก์ าร เนอื้ หาสาระ กิจ เรยี นรู้ ทำให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อของ 6.1 นักเรียน หลอดเลือดอาร์เตอรีที่บริเวณหัวใจและ สัตว์สะเทินน้ำส กล้ามเนื้อโครงร่าง และมีการหดตัวของ กระบวนการเมท กล้ามเนื้อของหลอดเลือดอาร์เตอรีขนาด จะไม่เกิดการเมท เลก็ บรเิ วณทางเดินอาหารและไต ครูให้ความรู้เก สะเทินน้ำสะเท พาวเวอร์พ้อย เร 7. ครูแสดงภาพ แคลเซยี มในเลอื ด ภาพที่ 7 ภาพแส จากน้ันครูใช้คำ 7.1 ภาพดังก (ภาวะแคลเซยี มใ 7.2 นักเรียน เกีย่ วขอ้ งกบั การเ

133 จกรรมการเรยี นรู้ สอื่ และอปุ กรณก์ าร การวดั และการประเมินผล เรียนรู้ การวดั การประเมนิ นคิดว่าไทรอกซินมีผลอย่างไรต่อ สะเทินบก (มีผลเกี่ยวข้องกับ ทามอร์โฟซิส ถา้ หากมีน้อยเกินไป ทามอรโ์ ฟซสิ ) กี่ยวกับผลของไทรอกซินต่อสัตว์ ทินบก โดยอาศัยสื่อนำเสนอ รอ่ื ง ฮอร์โมน พหน้าเว็ปเพจแสดงข้อมูลภาวะ ดต่ำ สดงขอ้ มูลเก่ยี วกับภาวะแคลเซียมใน เลือดตำ่ ำถาม ดังนี้ กล่าวเป็นข้อมูลเกี่ยวกับอะไร ในเลือดต่ำ) นทราบหรือไม่ว่าฮอร์โมนใดที่ เปล่ียนแปลงของระดบั แคลเซียม

วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กจิ เรียนรู้ ในกระแสเลือด ฮอรโ์ มน) 7.3 ฮอร์โมน (แคลซิโทนิน) 7.4 นักเรียน ออกฤทธิเ์ มอ่ื ใดแ ครูให้ความรู้เก แคลซิโทนิน โดย เร่อื ง ฮอร์โมน 8. ครแู สดงภาพ ภาพท่ี 8 ภ จากนน้ั ครูใชค้ ำ 8.1 นักเรียน บริเวณใดของรา่ ง ดา้ นหลัง) 8.2 นักเรียน ไทรอยด์สร้างฮอ พาราไทรอยดฮ์ อ

134 จกรรมการเรียนรู้ สื่อและอปุ กรณก์ าร การวดั และการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมิน (แคลซิโทนินและพาราไทรอยด์ นใดที่สร้างมาจากต่อมไทรอยด์ นทราบหรือไม่ว่าแคลซิโทนินจะ แลว้ กลไกการทำงานเป็นอยา่ งไร กี่ยวกับการทำงานออกฤทธิ์ของ ยอาศัยสื่อนำเสนอพาวเวอร์พ้อย พตอ่ มพาราไทรอยด์ ภาพแสดงต่อมพาราไทรอยด์ ำถาม ดังน้ี นคิดว่าต่อมพาราไทรอยด์อยู่ งกาย (อยตู่ ิดกับตอ่ มไทรอยดท์ าง นทราบหรือไม่ว่าต่อมพารา อร์โมนอะไร (พาราทอร์โมนหรือ อร์โมน)

วตั ถปุ ระสงค์การ เนื้อหาสาระ กิจ เรียนรู้ 8.3 นักเรีย พาราไทรอยด์ฮ ควบคุมระดบั แคล ครูให้ความรู้เ การออกฤทธ์ของ ฮอร์โมน โดยอาศ ฮอร์โมน 9. ครแู สดงภา ภาพที่ 9 จากนน้ั ใชค้ ำถา 9.1 นักเรียน เหนอื ไตคอื อะไร 9.2 ต่อมหมว อะไรบ้าง (2 ส่วน ตอ่ มหมวกไตสว่ น

135 จกรรมการเรยี นรู้ ส่อื และอุปกรณก์ าร การวดั และการประเมินผล เรียนรู้ การวัด การประเมิน ย น ค ิ ด ว ่ า พ า ร า ท อ ร ์ โ ม น ห รื อ ฮอร์โมน เกี่ยวข้องอะไรกับการ ลเซยี มในเลอื ด เกี่ยวกับกลไกการทำงานและ งพาราทอร์โมนและพารไทรอยด์ ศยั สื่อนำเสนอพาวเวอรพ์ ้อย เร่อื ง าพต่อมหมวกไต 9 ภาพแสดงตอ่ มหมวกไต าม ดงั น้ี นทราบหรือไม่ว่าโครงสร้างที่อยู่ (ต่อมหมวกไต) วกไตแบ่งออกเป็นกี่ส่วน ได้แก่ น คือ ตอ่ มหมวกไตส่วนนอกและ นใน)

วตั ถปุ ระสงค์การ เนื้อหาสาระ กจิ เรียนรู้ 9.3 นักเรียน ส่วนในสร้างฮอ รา่ งกายอย่างไร ครูให้ความรู้เก หมวกไตและการ โดยอาศยั ส่ือนำเส ขั้นสรุป(10 นา 1. ครูนำนักเ ดังตอ่ ไปนี้ 1.1 ตับอ่อน ดงั กล่าวมีกลไกกา 1.2 ต่อมไท ฮอร์โมนดังกลา่ วม 1.3 ต่อมพา ฮอรโ์ มนดังกลา่ วม 1.4 ต่อมหมว ฮอร์โมนดงั กล่าวม 2. ครูมอบใบงา แลว้ นำมาส่งในวนั

136 จกรรมการเรียนรู้ ส่ือและอุปกรณ์การ การวดั และการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ นทราบหรือไม่ว่าต่อมหมวกไต อร์โมนอะไรบ้าง ออกฤทธิ์ต่อ กี่ยวกับฮอร์โมนที่สร้างจากต่อม รออกฤทธิ์ของฮอร์โมนดังกล่าว สนอพาวเวอร์พอ้ ย เรื่อง ฮอรโ์ มน าท)ี รียนสรุปในประเด็นต่าง ๆ นสร้างฮอร์โมนอะไร ฮอร์โมน ารทำงานอย่างไร รอยด์สร้างฮอร์โมนอะไร ทำ มกี ลไกการทำงานอย่างไร ราไทรอยด์สร้างฮอร์โมนอะไร มกี ลไกการทำงานอย่างไร วกไตส่วนนอกสร้างฮอร์โมนอะไร มกี ลไกการทำงานอย่างไร าน เรือ่ ง ฮอร์โมนใหน้ กั เรียนทำ นพุธที่ 3 สงิ หาคม 2559

โรงเรยี นสรร กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ย แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง ฮอร์โมนตอ่ มหมว ภาคการศึกษาต้น ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6/พ และ 6/1 สาระชีววิทยา 4. เข้าใจการยอ่ ยอาหารของสตั ว์ และมนุษย์ การหายใจ และการแล ถา่ ย การรบั รู้ และการตอบสนอง การเคล่อื นที่ การสืบพนั ธ์ุ และกา ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ ม.6/16 สบื ค้นข้อมูล อธบิ าย และเขียนแผนผงั สรุปหนา้ ท่ีของฮอร์โม

137 รพยาวิทยา ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วกไตสว่ นนอก ฮอร์โมนจากอวยั วะเพศ และรก รายวชิ า ชีววิทยา5 ว30255 ผูส้ อน นายเรวัตร อยเู่ กดิ ลกเปล่ียนแกส๊ การลำเลยี งสาร และการหมุนเวียนเลอื ด ภูมิคุม้ กันของรา่ งกาย การขัย ารเจริญเติบโต ฮอรโ์ มน การรกั ษาดลุ ยภาพ และพฤติกรรมของสตั ว์ รวมท้ังนำความรู้ มนจากตอ่ มไรท้ อ่ และเนอ้ื เยื่อท่สี ร้างฮอรโ์ มน

วัตถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กิจ เรียนรู้ นักเรยี นสามารถ ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) ของ ข้ันนำ (5 นาท 1. บอกฮอรโ์ มนท่ี สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอยู่เหนือไตท้ัง 2 ข้าง 1. ครแู สดงภาพ สรา้ งจากต่อมหมวกไต ต่อมนี้ประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอกที่ สว่ นนอกและหนา้ ทีข่ อง เรียกว่า ต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal ฮอร์โมนดังกลา่ วได้ cortex) และเนื้อเยื่อชั้นใน เรียกว่า ต่อม 2. บอกกลไกการ หมวกไตส่วนใน(Adrenal medulla) ควบคมุ การทำงานของ ฮอร์โมนจากตอ่ มหมวกไตสว่ นนอก ตอ่ ม ฮอร์โมนทีส่ รา้ งจาก หมวกไตส่วนนอกจะสร้างฮอร์โมน ต่อมหมวกไตส่วนนอก มากกว่า 50 ชนิด โดยจะกล่าวถึงกลุ่ม ภาพท่ี 1 ภ ได้ สำคญั 2 กลุ่ม คือ 3. บอกฮอรโ์ มนท่ี จากนน้ั ครใู ชค้ ำ สรา้ งจากอวัยวะเพศ - กลโู คคอรต์ คิ อยด์ 1.1 นักเรียน และหนา้ ที่ของฮอร์โมน (Glucocorticoids) ดังกล่าวได้ ร่างกายมนุษย์ปร 4. บอกกลไกการการ - มเิ นราโลคอรต์ คิ อยด์ สมอง ต่อมไพเน ทำงานของฮอรโ์ มนที่ ไทรอยด์ ต่อมหม สรา้ งจากอวยั วะเพศ (Mineralocorticoids) รงั ไข)่ ของแตล่ ะเพศได้ กลูโคคอรต์ ิคอยด์ (Glucocorticoids) 1.2 นักเรยี นไ ทำหน้าทห่ี ลักในการควบคมุ เมแทบอลิซึม ทอ่ ใดไปแล้วบา้ ง ของคาร์โบไฮเดรต ตัวอย่างของฮอร์โมน ต่อมไทมสั ต่อมไท กลุ่มนี้คือ คอร์ติซอล(Cortisol) มีหน้าท่ี อ่อน สำคัญในการเพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด ตอ่ มหมวกไตส่วน โดยกระตุ้นเซลล์ตับให้เปลี่ยนกรดอะมโิ น และกรดไขมันเป็นคาร์โบไฮเดรตและเกบ็ 1.3 นักเรียน หนา้ ท่อี ย่างไร

138 จกรรมการเรียนรู้ สอื่ และอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรียนรู้ การวัด การประเมิน ท)ี 1. สือ่ นำเสนอ 1. การมี 1. การ พต่อมไรท้ ่อทงั้ หมดในร่างกาย พาวเวอร์พอ้ ย เร่ือง ส่วนร่วม ประเมนิ การ ฮอร์โมน และตอบ ตอบคำถาม 2. ใบงาน เรื่อง คำถามใน ในชั้นเรียน ฮอร์โมน ชั้นเรียน 2. การ 2. การ ประเมนิ การ ตอบคำถาม ตอบคำถาม ลงในแบ ลงในแบบ ภาพแสดงตอ่ มไร้ท่อในร่างกาย บนั ทึก บันทกึ กิจกรรม กิจกรรม ำถาม ดงั น้ี เรอ่ื ง เร่อื ง ฮอรโ์ มน ฮอร์โมน ถูกต้องอย่าง นจำได้หรือไม่ว่าต่อมไร้ท่อใน น้อยร้อยละ ระกอบไปด้วยอะไรบ้าง (ต่อมใต้ 80 นียล ต่อมไทรอยด์ ต่อมพารา มวกไต ต่อมไทมัส ตบั อ่อน อัณฑะ ไดศ้ กึ ษาการทำงานของต่อมไร้ (ตอ่ มไพเนียล ต่อมใต้สมอง ทรอยด์ ตอ่ มพารา ต่อมไทมสั ตบั นใน) นทราบหรือไม่ว่าต่อมอื่น ๆ ทำ

วตั ถุประสงคก์ าร เน้ือหาสาระ กิจ เรยี นรู้ สะสมไว้ในรูปของไกลโคเจน ทำให้ตับมี ขนั้ สอน (85 ไกลโคเจนสะสมสำหรบั เปลย่ี นเป็นกลูโคส 1. ครูแสดงภาพ ส่งเข้าสู่กระแสเลือด นอกจากนี้ยังมี หน้าทีค่ วบคมุ สมดุลของแรธ่ าตุไดเ้ ลก็ น้อย การมกี ลูโคคอรต์ คิ อยดม์ ากเกินไป ทำให้ เกดิ อาการคูชชงิ ( Cushing’s syndrome) ผ ู ้ ป ่ ว ย จ ะ มี ความผิดปกติเกี่ยวกับเมแทบอลิซึมของ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด และโปรตีน ระดับ ภาพท่ี 2 ภ น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น กล้ามเนื้ออ่อนแรง เนื่องจากมีการสลายโปรตีนและลิพิดท่ี จากนน้ั ครูใช้คำ ตามบริเวณแขนขา ขณะที่มีการสะสม 1.1 โครงสรา้ ลิพดิ ทบี่ ริเวณแกนกลางลำตัว เช่น ใบหน้า ในร่างกาย (ไต) ทำใหห้ น้ากลมคลา้ ยดวงจันทร์ บริเวณต้น 1.2 นักเรีย คอมีหนอกยื่นออกมา อาการเช่นนี้อาจ แตกต่างไปจากไต พบได้ในผู้ป่วยที่ไดร้ บั การรกั ษาด้วยยาที่มี (ต่อมหมวกไต) คอร์ติโคสเตอรอยด์เป็นส่วนผสมเพ่ือ ครูอธิบายเกี่ยว ป้องกันอาการแพ้หรืออักเสบติดต่อกัน และการสังเครา เป็นระยะเวลานานซึ่งฮอร์โมนนี้มีผลต่อ ชน้ั นอกโดยใชส้ อื่ การกดภูมิคุ้มกนั ของร่างกาย 2. ครูอธิบายเก มิเนราโลคอร์ตคิ อยด์ คอยด์โดยใช้สื่อ ฮอร์โมน

จกรรมการเรียนรู้ 139 5 นาท)ี สอ่ื และอุปกรณ์การ การวัดและการประเมนิ ผล พไตและต่อมหมวกไต เรยี นรู้ การวดั การประเมิน ภาพแสดงไตและตอ่ มหมวกไต ำถาม ดังนี้ างทนี่ ักเรยี นเหน็ อยู่น้ีคอื อวยั วะใด น ส ั ง เ ก ต เ ห ็ น โ ค ร ง ส ร ้ า ง ใ ด ที่ ตแบบเดิมที่เราเคยศึกษากันมา วกับโครงสร้างของต่อมหมวกไต าะห์ฮอร์ใมนในต่อมหมวกไต อนำเสนอพาวเวอร์พอ้ ย กี่ยวกับฮอร์โมนกลุ่มกลูโคคอร์ติ อนำเสนอพาวเวอร์พ้อย เรื่อง

วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กิจ เรยี นรู้ (Mineralocorticoids) มีหน้าที่หลักใน 3. ครูให้ความ การควบคุมสมดุลของน้ำและแร่ธาตุใน โลคอร์ติคอยด์โดย ร่างกาย ฮอร์โมนที่สำคัญในกลุ่มนี้ คือ เรื่อง ฮอรโ์ มน แอลโดสเทอโรนซง่ึ ควบคมุ การทำงานของ 4. ครูแสดงภาพ ไตในการดูดกลับน้ำและโซเดียมเข้าสู่ หลอดเลือดและขับโพแทสเซียมออกจาก ท่อหนว่ ยไตให้สมดลุ กับความตอ้ งการของ ร่างกายทั้งยังควบคุมสมดุลของความ เข้มข้นของฟอสเฟตในร่างกายอีกด้วย ภาพที่ 3 ภ การขาดแอลดสเตอโรนจะมีผลให้ร่างกาย สูญเสียน้ำและโซเดียมไปพร้อมปัสสาวะ จากนัน้ ครใู ช้คำ เป็นจำนวนมากและส่งผลให้ปริมาตรของ 4.1 นักเรียน เลือดในร่างกายลดลง จนอาจทำให้ผู้ปว่ ย ทำลายร่างกายข ตายไดเ้ พราะความดันในเลือดตำ่ อยา่ งไร (สร้างฮอ ฮอร์โมนเพศ (Sex Hormone) คาร์โบไฮเดรตแล ในภาวะปกติฮอร์โมนเพศทีส่ ร้างจากต่อม จากนั้นครูให้คว หมวกไตส่วนนอกมีเพียงเล็กน้อยเท่าน้ัน อาศัยสอื่ นำเสนอ เมื่อเทียบกับฮอร์โมนเพศที่สร้างจาก 4.2 การสร้าง อวัยวะเพศ จึงมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง นอกถูกควบคุมด ของร่างกายไม่มากนัก แต่อย่างไรก็ดีถ้า ดังกล่าวสร้างมา หากต่อมน้ีสร้างฮอร์โมนเพศมากเกินปกติ ตอ่ มใต้สมองส่วน ยอ่ มทำใหเ้ กดิ ความผิดปกติทางเพศไดโ้ ดย 4. ครูแสดงภา เพศหญิง

140 จกรรมการเรียนรู้ สื่อและอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมิน มรู้เกี่ยวกับฮอร์โมนกลุ่มมิเนรา ยอาศยั สือ่ นำเสนอพาวเวอร์พ้อย พผู้ปว่ ยโรคแอดดสิ นั ภาพแสดงผปู้ ว่ ยโรคแอดดิสัน ำถาม ดงั น้ี นคิดว่าถ้าหากต่อมหมวกไตถูก ของเราจะเกิดการเปลี่ยนแปลง อรโ์ มนที่ควบคมุ เมแทบอลิซึมของ ละสมดุลน้ำ แร่ธาต)ุ วามรู้เกี่ยวกับโรคแอดดิสัน โดย อพาวเวอร์พ้อย เรื่อง ฮอร์โมน งฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วน ด้วยฮอร์โมนอะไรและฮอร์โมน าจากที่ใด (ACTH สร้างมาจาก นหน้า) าพอวัยวะเพศของเพศชายและ

วตั ถุประสงคก์ าร เน้อื หาสาระ กจิ เรยี นรู้ เด็กจะแสดงอาการเป็นหนุ่มเป็นสาวเร็ว ขึ้น อวัยวะเพศจะมีการเจริญเพิ่มขนาด มากขน้ึ มีขนขน้ึ ตามร่างกายมากกว่าปกติ เสียงห้าว ในผู้หญิงที่โตเป็นสาวแล้วถ้ามี ฮอร์โมนเพศชายจากตอ่ มนมี้ ากจะมหี นวด เคราเกิดข้ึน ภาพที่ 3 ถ้าต่อมหมวกไตส่วนนอกถูกทำลายจน จากนน้ั ครใู ช้คำ ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ จะทำให้เป็น 4.1 นักเรียน โรคแอดดสิ ัน(Addison’s disease) ผ้ปู ว่ ย ของเพศชายและ จะซูบผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่ อณั ฑะ เพศหญิงค สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุซึ่งจะเปน็ 4.2 นักเรียน จากอวัยวะสืบพ สาเหตใุ หถ้ ึงความตายได้ อะไรบ้าง (เพศช อวยั วะเพศ อวัยวะเพศ ไดแ้ ก่ อณั ฑะ(Testis)และรงั หญงิ สรา้ งอสี โทรเ ไข(่ Ovary) เมื่อเริ่มเข้าสู่วัยหนุ่ม เซลล์เลย์ดิกจะ 4.3 การสร้า ได้รับการกระตุ้นโดย LH จากต่อมใต้ ควบคุมด้วยฮอร สมองสว่ นหน้าให้สรา้ งฮอร์โมนเพศชายซ่ึง สรา้ งมาจากท่ีใด เรียกว่า แอนโดรเจน(Androgens) ซึ่ง 5. ครแู สดงภาพ ประกอบไปด้วยฮอร์โมนหลายชนิด แต่ที่ สำคัญที่สุด คือ เทสโทสเตอโรน (Testosterone) มีหน้าที่ทำให้เพศชายมี

จกรรมการเรยี นรู้ 141 สื่อและอุปกรณก์ าร การวดั และการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวัด การประเมิน 3 ภาพแสดงอวัยวะสบื พันธ์ุ ำถามดงั นี้ นทราบหรือไม่ว่าอวัยวะสืบพันธ์ุ ะเพศหญิง คืออะไร (เพศชายคือ คือรงั ไข)่ นจำได้หรือไม่ว่าฮอร์โมนที่สร้าง พันธุ์เพศชายและเพศหญิง มี ชาย สร้างเทสโทสเตอโรน, เพศ รเจนและโพรเจสเตอโรน) างฮอร์โมนจากอวัยวะเพศถูก ร์โมนอะไรและฮอร์โมนดังกล่าว (โกนาโดโทรฟนิ /FSH/LH) พอวยั วะสบื พันธเุ์ พศชาย

วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กจิ เรยี นรู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ส ื บ พ ั น ธ ุ ์ แ ล ะ มี ลักษณะของการแตกเนื้อหนุ่ม เช่น การมี ลูกกระเดอื กทเ่ี หน็ ได้ชดั มีขนตามร่างกาย รักแร้ แขน ขา อวัยวะเพศ ไหล่กว้าง สะโพกแคบ กล้ามเนอ้ื เจริญเตบิ โตเปน็ มัด ภาพท่ี 4 ภา รงั ไข่(Ovary) มีแหล่งผลติ ฮอรโ์ มนอยู่ 2 จากน้นั ครูใชค้ ำ 5.1 นักเรียน แหง่ คอื ฟอลลเิ คิลและคอรป์ สั ลเู ทยี ม เมื่อรังไข่ได้รับ FSH จากต่อมใต้สมอง สง่ ผลอย่างไรต่ออ ส่วนหน้าจะมีการสร้างเซลล์ฟอลลิเคิล ครูให้ความรู้เก ล้อมรอบโอโอไซต์หลายชั้น ในระยะที่ไข่ อวัยวะเพศชายโ ใกล้สุกก่อนที่จะหลุดออกจากรังไข่จะมี พ้อย เรอ่ื ง ฮอร์โม ช่องกลวงตรงกลาง ในระยะก่อนตกไข่ 6. ครูแสดงภาพ เซลลฟ์ อลลิเคลิ ที่ลอ้ มรอบเซลล์ไข่จะสร้าง อ ี ส โ ท ร เ จ น ซ ึ ่ ง ม ี บ ท บ า ท เ ก ี ่ ย ว ข ้ อ ง กั บ ลักษณะสำคัญในการทำให้เกิดลักษณะ ของเพศหญิง เช่น แตกเนื้อสาว มีเสียง ภาพที่ 4 ภาพ เล็ก สะโพกผาย อวัยวะเพศและเต้านมมี ขนาดโตขึน้ มีขนขนึ้ ตามรกั แร้และอวัยวะ จากนน้ั ครใู ชค้ ำ เพศ อีสโทรเจนยังมีส่วนควบคุมการ 6.1 นักเรียน เปลี่ยนแปลงของรังไข่และเยื่อบุมดลูก โดยอีโทรเจนในปริมาณที่สูงจะกระตุ้น สง่ ผลอย่างไรต่ออ ต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้หลั่ง LH มา ครูให้ความรู้เก อวัยวะเพศหญิง พ้อย เรื่อง ฮอร์โม

จกรรมการเรยี นรู้ 142 สอื่ และอุปกรณก์ าร การวัดและการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมนิ าพแสดงอวัยวะสืบพันธเ์ุ พศชาย ำถาม ดังนี้ นจำไดห้ รอื ไมว่ ่า FSH และ LH อวยั วะสืบพันธุ์เพศชาย กี่ยวกับการสร้างฮอร์โมนจาก โดยอาศัยสื่อนำเสนอพาวเวอร์ มน พอวยั วะสืบพันธ์เุ พศหญิง พแสดงอวัยวะสบื พันธุ์เพศหญิง ำถาม ดังนี้ นจำได้หรือไม่ว่า FSH และ LH อวัยวะสบื พันธุเ์ พศหญิง กี่ยวกับการสร้างฮอร์โมนจาก งโดยอาศัยสื่อนำเสนอพาวเวอร์ มน

วตั ถุประสงคก์ าร เนอื้ หาสาระ กิจ เรยี นรู้ กระตุ้นให้เกิดการตกไข่หลังจากนั้น 7. ครูแสดงภา ฟอลลเิ คลิ จึงกลายเป็นคอร์ปัสลูเทยี ม คอร์ปัสลูเทียมจะสร้างโพรเจสเตอโรน และอีสโทรเจนซ่ึงทำงานร่วมกัน เพื่อช่วย กระตุ้นการเจริญของเยื่อบุชั้นในของผนงั มดลูกใหห้ นาขึ้นเพื่อรองรับการฝังตัวของ ภาพท่ี 5 เอมบรโิ อ นอกจากนย้ี งั มีส่วนกระตุ้นต่อม น้ำนมให้เจริญแต่ไม่กระตุ้นการสร้าง จากนัน้ ครูใช้คำ น้ำนม 7.1 รูปที่นักเ ถ้าหากเซลล์ไข่ท่ตี กไม่ไดร้ บั การผสมจาก ท่ีอย่ใู นครรภ์มาร อสุจิ คอร์ปัสลูเทียมจะเปลี่ยนแปลงและ 7.2 นักเรียน หยุดสรา้ งโพรเจสเตอโรน ทำใหเ้ ยื่อบุผนัง เกี่ยวข้องกับการ มดลูกสลายตัวและถูกขับออกมาจาก อาจจะยงั ไม่ทราบ ม ด ล ู ก เ ร ี ย ก ว ่ า ป ร ะ จ ำ เ ด ื อ น 7.3 นักเรียน (Menstruation) และมีการเจริญเติบโต อืน่ อีกหรอื ไม่ ของฟอลลิเคิลชุดใหม่โดยการควบคุมจาก ครูให้ความรู้เก FSH และ LH จากตอ่ มใตส้ มองส่วนหน้า โดยอาศัยส่อื นำเส ข้นั สรปุ (10 น รก 1. ครูนำนักเร หลังจากที่เอมบริโอฝังตัวที่ผนังมดลูก ดงั ต่อไปนี้ แล้ว เซลล์ของรก(Placenta) จะเริ่มหลั่ง 1.1 ต่อมหม กลุ่ม แตล่ ะกล่มุ ท

จกรรมการเรียนรู้ 143 าพรก สื่อและอุปกรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ 5 ภาพแสดงทารกในครรภ์ ำถาม ดงั นี้ เรียนเห็นอยูน่ ี้คือรูปอะไร (ทารก รดา) นทราบหรือไม่ว่าโครงสร้างใด รกำจดั ของเสียในทารก (นักเรียน บ/รก) นทราบหรือไม่ว่ารกมีหน้าที่อย่าง กี่ยวกับการสร้างฮอร์โมนจากรก สนอพาวเวอรพ์ ้อย เรอ่ื ง ฮอรโ์ มน นาท)ี ียนสรุปเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ มวกไตส่วนนอกสร้างฮอร์โมนกี่ ทำหน้าทอี่ ะไร

วตั ถุประสงคก์ าร เนอ้ื หาสาระ กิจ เรยี นรู้ ฮอรโ์ มนชอ่ื ฮวิ แมนคอรโิ อนิกโกนาโดโทร 1.2 อวัยวะ ฟิน (Human Chorionic ฮอร์โมนดงั กล่าวท Gonadotrophin; HCG) เพื่อกระตุ้น 1.3 อวัยวะเ คอร์ปัสลูเทียมในรังไข่ให้เจริญต่อไปและ ฮอร์โมนดงั กลา่ วท สรา้ งโพรเจสเตอโรนเพ่มิ ข้ึน 1.4 รกสร้างฮ ทำหน้าทีอ่ ย่างไร 2. ครมู อบหมา

144 จกรรมการเรยี นรู้ สื่อและอุปกรณ์การ การวดั และการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมนิ เพศชายสร้างฮอร์โมนอะไร ทำหนา้ ท่ีอยา่ งไร เพศหญิงสร้างฮอร์โมนอะไร ทำหน้าท่ีอย่างไร ฮอร์โมนอะไร ฮอร์โมนดังกล่าว ายใบงานเร่ือง ฮอรโ์ มน

145 ภาคผนวก ก แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

146 เกณฑ์ประเมนิ ทักษะการสรา้ งผังกราฟกิ โดยใช้เกณฑก์ ารประเมินแบบรูบริคส์ รายการประเมนิ พฤติกรรมบง่ ชี้ 1. การจดั เรียงมโน ทศั น์ 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 2. การเชือ่ มโยง แสดงมโนทัศน์หลกั ได้ แสดงมโนทัศนห์ ลกั ได้ แสดงมโนทัศน์หลักได้ ระหวา่ งข้อมลู ชัดเจน แยกมโนทัศน์ย่อย ชัดเจน แยกมโนทศั นย์ ่อย ชัดเจน แต่ไม่แยกมโน 3. เนอื้ หา 4. การออกแบบ ออกมาจากมโนทัศนห์ ลกั ออกมาจากมโนทศั นห์ ลัก ทัศน์ย่อยออกมาจากมโน จัดวางมโนทัศน์ที่อยู่ใน แต่ไม่ได้จดั วางมโนทัศน์ท่ี ทัศน์หลัก และไม่ได้จัด ระดับเดียวกันให้อยู่ใน อยใู่ นระดบั เดยี วกันให้อยู่ วางมโนทัศน์ที่อยู่ใน ระนาบเดียวกัน และ ในระนาบเดียวกัน หรือ ระดับเดียวกันให้อยู่ใน ข้อมูลที่อยู่ในมโนทัศน์ ข้อมูลที่อยู่ในมโนทัศน์ ระนาบเดียวกัน รวมถึง รองเป็นประเด็นย่อยท่ี รองไม่ได้เป็นประเด็น ข้อมูลที่อยู่ในมโนทัศน์ แยกออกมาจากมโนทัศน์ ย่อยที่แยกออกมาจาก รองไม่ได้เป็นประเด็น หลัก มโนทศั นห์ ลกั ย่อยที่แยกออกมาจาก มโนทัศน์หลกั มกี ารลากเสน้ เชอื่ มแสดง มีการลากเส้นเช่อื มแสดง มีการลากเส้นเชือ่ มแสดง ความสัมพนั ธไ์ ด้อย่าง ความสัมพันธ์ได้อย่าง ความสัมพันธ์แต่ไม่ระบุ ถกู ต้องทง้ั หมด มีการใช้ ถูกต้อง มีการใช้คำเชื่อม คำเชื่อมเพื่ออธิบาย คำเช่ือมเพือ่ อธิบาย เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ของแต่ละ ความสมั พนั ธข์ องระหว่าง ระหว่างมโนทัศน์แต่ มโนทัศน์ มโนทศั นไ์ ด้ถกู ตอ้ ง เลอื กใช้คำเช่ือมผิด แสดงข้อมูลสำคัญ ได้ แสดงข้อมูลสำคัญได้ แสดงข้อมูลสำคัญได้ ครบถ้วน ข้อมูลมีความ ครบถ้วน ข้อมูลมีความ ครบถ้วน แต่ข้อมูลและ ถูกต้อง และเขียนสะกด ถูกต้อง แตเ่ ขียนสะกดคำ เขียนสะกดคำไมถ่ กู ตอ้ ง คำไดถ้ กู ต้องท้ังหมด ไมถ่ กู ตอ้ ง ผังกราฟิกเป็นระเบียบ ผังกราฟิกเป็นระเบียบ ผังกราฟิกไม่เปน็ ระเบียบ ง่ายต่อการอ่านมีความ ง่ายต่อการอ่าน มีความ ไม่น่าสนใจ แต่ไม่มีการ น่าสนใจ มีการแบ่งพื้นที่ น่าสนใจ แต่ไม่มีการแบ่ง แบง่ พนื้ ทีห่ นา้ กระดาษให้ หน้ากระดาษให้แต่ละม พื้นที่หน้ากระดาษให้แต่ แต่ละมโมทัศน์เท่า ๆ กัน โมทัศน์เท่า ๆ กัน และมี ละมโมทัศน์เท่า ๆ กัน และไม่มีการใช้สีสันที่ การใช้สีสันที่แตกต่างกัน หรือไม่มีการใช้สีสันที่ แตกต่างกันเพื่อเน้นย้ำ เพื่อเน้นย้ำความสำคัญ แตกตา่ งกนั เพือ่ เน้นย้ำ ความสำคญั ของเนื้อหา ของ

147 รายการประเมนิ พฤติกรรมบ่งช้ี 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน เนื้อหาหรือแสดงลำดับ ความสำคัญของเนื้อหา หรือแสดงลำดับของมโน ข อ ง ม โ น ท ั ศ น ์ ห ลั ก หรือแสดงลำดับของมโน ทศั น์หลักมโนทัศน์รอง มโนทัศนร์ อง ทัศนห์ ลกั มโนทศั น์รอง เกณฑก์ ารประเมิน คะแนนเตม็ 12 คะแนน คะแนน 9 - 12 หมายถึง ดี คะแนน 5 - 8 หมายถงึ พอใช้ คะแนน 1 - 4 หมายถึง ปรับปรงุ

148 เกณฑ์การประเมนิ การสรปุ บทเรยี น โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมินแบบรูบรคิ ส์ ประเดน็ ในการ 3 ระดบั คะแนน 1 ประเมนิ มกี ารจับประเด็นสำคัญ 2 มกี ารจบั ประเด็นสำคญั 1. การสรปุ ประเด็น ขยายความ ยกตวั อย่าง ไดน้ อ้ ย สำคญั เปรียบเทยี บและสรุป มกี ารจับประเดน็ สำคัญ ความคดิ รวบยอดไดด้ ี ได้ แตข่ ยายความหรอื 2. ความถกู ตอ้ งของ ยกตัวอย่างไม่ได้ เนอ้ื หา เน้อื หาตรงประเดน็ 3. ความครบถว้ นของ ถกู ตอ้ ง และเข้าใจง่าย เน้อื หาตรงประเดน็ แตไ่ ม่ เนื้อหาไม่ตรงประเด็น เนือ้ หา ถูกตอ้ ง 2 แหง่ และไมถ่ กู ต้อง 3 แหง่ 4. ความถูกต้องของ หัวข้อครบถว้ นตาม การใชค้ ำและการ ประเดน็ ที่กำหนด มีเน้ือหา 1 หวั ขอ้ ที่ขาด มีเนื้อหามากกว่า 3 สะกดคำ หายไป หัวข้อทีข่ าดหายไป การใช้คำและการสะกด คำถูกต้องทงั้ หมด การใชค้ ำและการสะกด การใชค้ ำและการสะกด คำถกู ต้องมากกวา่ 80 คำถูกต้องน้อยกว่า 80 เกณฑก์ ารประเมิน คะแนนเตม็ 12 คะแนน คะแนน 9 – 12 คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน 5 – 8 คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน 1 – 4 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

149 เกณฑป์ ระเมินทกั ษะการสรา้ งโปสเตอร์ โดยใชเ้ กณฑ์การประเมินแบบรบู ริคส์ รายการประเมนิ พฤติกรรมบ่งชี้ 1. เนื้อหา 2. การออกแบบ 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 3. การนำเสนอขอ้ มูล แสดงข้อมลู สำคัญได้ แสดงขอ้ มลู สำคญั ได้ แสดงขอ้ มลู สำคัญไดไ้ ม่ ครบถว้ น ขอ้ มูลมีความ เกอื บท้งั หมด ข้อมลู มี ครบถว้ น ข้อมลู ไม่ ถูกต้อง และเขยี นสะกด ความถกู ต้อง และเขยี น ถูกตอ้ ง คำไดถ้ ูกตอ้ งท้งั หมด สะกดคำไดถ้ ูกตอ้ งเกือบ และเขยี นสะกดคำไดไ้ ม่ ทั้งหมด ถูกต้อง โปสเตอรม์ คี วามเปน็ โปสเตอรเ์ กือบทั้งหมด โปสเตอร์ไม่ความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย เปน็ ระเบียบเรยี บร้อย มี ระเบียบเรยี บร้อย ไม่ นา่ สนใจ จดั สรรพนื้ ท่ีใน ความน่าสนใจ น่าสนใจ ใจดั สรรพนื้ ที่ใน การวางขอ้ ความและ จัดสรรพื้นท่ใี นการวาง การวางข้อความและ รปู ภาพได้อย่างเหมาะสม ขอ้ ความและรูปภาพได้ รูปภาพได้ไมเ่ หมาะสม มีการเลอื กใชส้ ีเพอ่ื อย่างเหมาะสม มกี าร ขาดการเลือกใช้สีเพอื่ แสดงความแตกตา่ งของ เลือกใช้สเี พอ่ื แสดงความแตกตา่ งของ หัวขอ้ หรอื เน้นย้ำ แสดงความแตกต่างของ หวั ขอ้ หรอื เนน้ ย้ำ ความสำคญั ของข้อความ หัวข้อหรอื เน้นย้ำ ความสำคัญของขอ้ ความ ความสำคัญของขอ้ ความ นำเสนอขอ้ มลู อยา่ งเปน็ นำเสนอขอ้ มูลอยา่ งเป็น นำเสนอขอ้ มูลอย่างเป็น ระบบ มกี ารเช่อื มโยง ระบบ มีการเชื่อมโยง ระบบ แต่ไมม่ กี าร ขอ้ มลู ระหวา่ งหวั ข้อท่ี ขอ้ มลู ระหว่างหัวขอ้ ที่ เช่ือมโยงข้อมูลระหว่าง สัมพันธก์ นั และเลอื กการ สัมพันธก์ นั แตก่ ารเลอื ก หวั ข้อที่สัมพันธก์ ัน แต่ นำเสนอดว้ ยรปู ภาพหรอื นำเสนอด้วยรูปภาพหรอื การเลอื กนำเสนอดว้ ย ขอ้ ความ ได้อยา่ งชดั เจน ข้อความ ยังไมช่ ดั เจน ไม่ รปู ภาพหรอื ขอ้ ความ ยัง ถกู ต้อง ถูกต้อง ไมช่ ดั เจน ไม่ถกู ตอ้ ง เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนเต็ม 9 คะแนน คะแนน 7-9 หมายถึง ดี คะแนน 4-6 หมายถงึ พอใช้ คะแนน 1 - 3 หมายถึง ปรบั ปรุง

150 เกณฑ์การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงคด์ ้านความม่งุ มั่นในการทำงาน โดยใช้เกณฑก์ ารประเมินแบบรูบริคส์ รายการประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งช้ี 1. ความตง้ั ใจและเอา 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ใจใสต่ อ่ ภาระงานท่ี ขณะทำงานทีไ่ ดร้ บั ไดร้ บั มอบหมาย โดยมี มอบหมาย นกั เรยี นไม่ ขณะทำงานที่ได้รับ ขณะทำงานทไ่ี ด้รับ พฤติกรรมบง่ ชี้ ดังนี้ แสดงพฤตกิ รรมบง่ ชี้ท้งั - เล่นโทรศัพท์มือถือ 3 พฤติกรรม หรอื แสดง มอบหมาย นกั เรียนแสดง มอบหมาย นกั เรยี น ระหวา่ งทำงาน พฤตกิ รรมบง่ ชี้ 1 ใน 3 - นำงานในรายวิชา พฤติกรรม พฤติกรรมบง่ ช้ี 2 ใน 3 แสดงพฤติกรรมบ่งชท้ี ัง้ อื่นขนึ้ มาทำ - ฟบุ หลับ แกป้ ญั หาไดด้ ว้ ยตัวเอง พฤติกรรม 3 พฤตกิ รรม 2. รู้จกั แก้ปัญหาใน ทง้ั หมด การทำงานเมือ่ มี แก้ปญั หาด้วยตัวเอง แกป้ ัญหาดว้ ยตวั เองนอ้ ย อุปสรรค มีความพยายามทีจ่ ะ 3. การปรบั ปรงุ และ ปรับปรุงแก้ไขการทำงาน มากกว่าร้อยละ 80 กวา่ ร้อยละ 80 ของ แก้ไขการทำงานของ ของตนใหม้ ีผลงานทดี่ ี ตนใหด้ ียิ่งขึ้น และคุณภาพอยู่เสมอ ของงานทั้งหมด งานท้งั หมด มคี วามพยายามทจ่ี ะ มีความพยายามท่ีจะ ปรบั ปรงุ แก้ไขการทำงาน ปรับปรงุ แกไ้ ขการทำงาน ของตนใหม้ ีผลงานทด่ี ี ของตนให้มผี ลงานทดี่ ี และคณุ ภาพ และคุณภาพเป็นบางคร้ัง เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนเต็ม 9 คะแนน คะแนน 7 - 9 คะแนน ดี คะแนน 4 - 6 คะแนน พอใช้ คะแนน 1 - 3 คะแนน ปรบั ปรงุ

151 เกณฑป์ ระเมนิ ทกั ษะการทำงานเปน็ กลมุ่ โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ แบบรูบรคิ ส์ รายการประเมนิ 3 คะแนน พฤติกรรมบ่งชี้ 1 คะแนน 1. บทบาทหนา้ ที่ 2 คะแนน ไมม่ ีการกำหนดบทบาท 2. การมีส่วนร่วม มกี ารกำหนดบทบาท หน้าที่ของสมาชกิ หน้าทีส่ มาชกิ ไวช้ ดั เจน มีการกำหนดบทบาท สมาชิกกลมุ่ สว่ นใหญ่ไม่ 3. ความรบั ผดิ ชอบ หน้าท่สี มาชกิ ไม่ครบ มสี ว่ นร่วมในการ สมาชกิ กลุ่มทกุ คนมีส่วน สมาชิกกลมุ่ ส่วนใหญ่มี ปฏิบัตงิ านหรือมีน้อย 4. การรบั ฟังความ ร่วมในการปฏิบัตงิ าน ส่วนร่วมในการ สมาชิกส่วนใหญ่ไม่ คดิ เห็น กลุ่ม ปฏบิ ตั งิ าน ทำงานตามหน้าทที่ ่ีไดร้ บั 5. ผลสำเรจ็ ของงาน มอบหมาย หลกี เล่ียง สมาชกิ ทุกคนทำงาน สมาชกิ ส่วนใหญท่ ำงาน งาน และงานเสร็จชา้ ตามหนา้ ทที่ ี่ได้รบั ตามหนา้ ท่ที ไ่ี ด้รบั กว่ากำหนด มอบหมาย ไม่หลกี เล่ียง มอบหมาย ไม่หลกี เลีย่ ง งาน งานเสรจ็ ทันตาม งาน งานเสรจ็ ทันตาม สมาชิกสว่ นใหญ่ไมร่ บั ฟงั กำหนด กำหนด ความคิดเห็นของผู้อ่นื สมาชกิ ทุกคนรบั ฟัง สมาชกิ สว่ นใหญร่ ับฟัง เกิดจากความร่วมมอื ความคิดเห็นของผู้อนื่ ความคิดเหน็ ของผูอ้ นื่ ของสมาชิกส่วนน้อยใน อยา่ งมเี หตผุ ล อยา่ งมีเหตผุ ล กลุ่ม เกิดจากความรว่ มมอื เกดิ จากความรว่ มมอื ของสมาชิกส่วนใหญใ่ น ของสมาชกิ ทกุ คนใน กลุ่ม กลมุ่ เกณฑก์ ารประเมิน คะแนนเต็ม 15 คะแนน คะแนน 11 – 15 คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน 6 – 10 คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน 1 – 5 คะแนน หมายถงึ ปรับปรงุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook