Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ ตามกรอบ CEFR ระดับมัธยม

คู่มือการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ ตามกรอบ CEFR ระดับมัธยม

Published by Suthon Promlee, 2022-03-29 06:39:30

Description: CEFR Manual for Secondary Level1

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การจัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษแนวใหม่ ตามกรอบอา งอิงความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษา CLT CEFR

คํานาํ CEFR การเสริมสรางสมรรถนะและความสามารถในการส่อื สารเปนภาษา อังกฤษของคนไทย จัดเปนความจําเปนเรงดวนของประเทศไทยในปจจุบัน ในสภาวะทร่ี ะดบั ความสามารถของคนไทยในดา นภาษาองั กฤษยงั อยรู ะดบั ตา่ํ มาก ขณะทต่ี อ งเรง พฒั นาประเทศใหก า วทนั การเปลย่ี นแปลงของโลกและรองรบั ภาวะ การคา การลงทนุ การเชอ่ื มโยงระหวา งประเทศ และการเขา รว มเปน สมาชกิ ของประชาคมอาเซียนท่ีใชภาษาอังกฤษเปนภาษากลางหรือภาษาท่ีใชใน การทํางาน การปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจึงเปนนโยบายสําคัญ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทจ่ี ะตอ งเรง ดาํ เนนิ การใหเ กดิ ผลสาํ เรจ็ โดยเรว็ คมู ือการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแนวใหมฉบับน้ี สถาบัน ภาษาอังกฤษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจัดทําข้ึนเพ่ือ เปน แนวทางใหค รผู สู อนภาษาองั กฤษและบคุ ลากรทางการศกึ ษานาํ ไปใช เพอ่ื ให การจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษในระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานเปน ไปใน ทศิ ทางทส่ี อดคลอ งกบั นโยบาย มเี ปา หมายทช่ี ดั เจนและบรรลผุ ลตามเจตนารมณ ของการจดั การศกึ ษา โดยเนน การสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร Communicative Language Teaching (CLT) ตามกรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพ ยโุ รป The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) ซง่ึ เปน นโยบายสาํ คญั ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สถาบนั ภาษาองั กฤษ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ขอขอบคณุ คณะครู ศกึ ษานเิ ทศก เจา หนา ทซ่ี ง่ึ เปน ผจู ดั ทาํ คมู อื การจดั การเรยี น การสอนภาษาอังกฤษแนวใหม เพ่ือชวยครูผูสอนใหสามารถนํานโยบายสู การปฏบิ ตั ิ และหวงั เปน อยา งยง่ิ วา เอกสารฉบบั นจ้ี ะชว ยใหค รผู สู อนภาษาองั กฤษ และบุคลากรทางการศึกษานําไปประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน ภาษาองั กฤษเพอ่ื ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ อนั จะสง ผลตอ ความสาํ เรจ็ ในการพฒั นา สมรรถนะดานภาษาอังกฤษของผูเรียนและความพรอมของประเทศใน การกา วสปู ระชาคมอาเซยี นและประชาคมโลกอยา งมน่ั ใจตอ ไป (นายกมล รอดคลา ย) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน คู่มอื การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ ค�ำ น�ำ

CEFR สารบญั 1 1 บทท่ี 1 นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 3 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3 4 • ใชก รอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป The Common 6 European Framework of Reference for Languages (CEFR) 6 • ปรับจุดเนนการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใหเปนไปตามธรรมชาติ 9 ของการเรยี นรู โดยเนน การสอ่ื สาร (Communicative Language Teaching : CLT) 9 • สงเสริมใหมีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษท่มี ีมาตรฐานตามกรอบ 33 มาตรฐานหลกั 37 37 • สง เสรมิ การยกระดบั ความสามารถในการใชภ าษาองั กฤษ 38 • ยกระดบั ความสามารถในการจดั การเรยี นการสอนของครู ใหส อดคลอ งกบั 41 วธิ กี ารเรยี นรทู เ่ี นน การสอ่ื สาร (CLT) และเปน ไปตามกรอบความคดิ หลกั CEFR 42 • สง เสรมิ ใหม กี ารใชส อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษาเปน เครอ่ื งมอื 43 สาํ คญั ในการชว ยพฒั นาความสามารถทางภาษาของครแู ละผเู รยี น บทท่ี 2 คณุ ภาพผเู รยี นตามกรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษา ของสหภาพยโุ รป กรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป (The Common European Framework of Reference for Languages : CEFR) ความสอดคลอ งระหวา ง CEFR กบั หลกั สตู รแกนกลางฯ กลมุ สาระการเรยี นรู ภาษาตางประเทศ ในดานคุณภาพผูเรียนภายใตสาระและมาตรฐานการเรียนรู โดยยดึ แนวการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร (CLT) บทท่ี 3 การสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ความหมายของการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร (Communicative Language Teaching : CLT) หลกั การจดั การเรยี นการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร แนวการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ขน้ั ตอนการเรยี นการสอนตามแนวการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร กระบวนการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ส�รบญั คู่มือการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

สารบญั (ตอ่ ) 47 CEFR 47 บทท่ี 4 กจิ กรรมการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ 47 48 • แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรยี นการสอนการฟง 51 การสอนทกั ษะการฟง ภาษาองั กฤษ 76 ตวั อยา งการจดั กจิ กรรมการสอนทกั ษะการฟง 76 ตวั อยา งแผนการจดั การเรยี นการสอนทกั ษะการฟง 77 81 • แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรยี นการสอนการพดู 97 การสอนทกั ษะการพดู ภาษาองั กฤษ 97 ตวั อยา งการจดั กจิ กรรมการสอนทกั ษะการพดู 98 ตวั อยา งแผนการจดั การเรยี นการสอนทกั ษะการพดู 99 101 • แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรยี นการสอนการอา น 132 การจาํ แนกประเภทการอา น 133 เทคนคิ การอา นเรอ่ื งใหเ ขา ใจ 137 ขน้ั ตอนและกจิ กรรมการสอนการอา น 151 ตวั อยา งแผนการจดั การเรยี นการสอนทกั ษะการอา น 151 152 • แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรยี นการสอนการเขยี น 152 กจิ กรรมการเขยี น 153 ตวั อยา งแผนการจดั การเรยี นการสอนทกั ษะการเขยี น 154 169 • แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรยี นการสอนคาํ ศพั ท 169 ประเภทของคาํ ศพั ท 170 องคป ระกอบของคาํ ศพั ท 172 ขน้ั ตอนการสอนคาํ ศพั ทใ นชน้ั เรยี น 173 ตวั อยา งการจดั กจิ กรรมการสอนคาํ ศพั ท ตวั อยา งแผนการจดั การเรยี นการสอนคาํ ศพั ท • แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรยี นการสอนไวยากรณ กระบวนการสอนไวยากรณเ พอ่ื การสอ่ื สาร กจิ กรรมการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร ตวั อยา งการจดั กจิ กรรมการสอนไวยากรณ ตวั อยา งแผนการจดั การเรยี นการสอนไวยากรณ คู่มือการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ ส�รบญั

CEFR สารบญั (ตอ่ ) 193 193 บทท่ี 5 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ 193 198 วตั ถปุ ระสงคข องการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอน 200 การวดั และการประเมนิ ผลแบบทางเลอื ก (Alternative Assessment) 201 ขอ ควรคาํ นงึ และลกั ษณะสาํ คญั ของการประเมนิ ตามสภาพจรงิ 210 รบู รคิ (Rubric) 211 ตวั อยา งเครอ่ื งมอื การประเมนิ ผล 219 ภาคผนวก แหลง สบื คน ขอ มลู เพม่ิ เตมิ ทางอนิ เทอรเ นต็ คณะผจู ดั ทาํ คมู อื การจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษแนวใหม ส�รบญั คู่มือการจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

กรอบแนวคดิ ของค่มู อื การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ ตามกรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรป The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) 123 นโยบายการปฏริ ปู การเรยี นการสอน คณุ ภาพผเู รยี นตามกรอบมาตรฐาน การสอนภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษและแนวทางการสอน ความสามารถทางภาษาอังกฤษ เพอ่ื การสอ่ื สาร ภาษาองั กฤษแนวใหมต ามประกาศ ทเ่ี ปน สากล CEFR Communicative Language ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร Teaching (CLT) คมู อื CEFR การสอนภาษาองั กฤษ CEFR แนวใหมต ามกรอบ CEFR 45 6 A C B กิจกรรมการเรยี นการสอนภาษา การประเมนิ ผลการเรยี นการสอน [อา งองิ ] องั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สารภายใตก รอบ ภาษาองั กฤษ แหลง คน ควา ขอ มลู เพม่ิ เตมิ อา งองิ ความสามารถทางภาษาของ สหภาพยโุ รป CEFR คู่มอื การจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ CEFR

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education บทท่ี 1 นโยบายการปฏริ ูปการเร�ยนการสอนภาษาองั กฤษ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร บทที่ 1 คู่มอื การจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education บทที่ 1 นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ของกระทรวงศึกษาธิการ ดว ยกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมนี โยบายเรง ปฏริ ปู การเรยี นรทู ง้ั ระบบใหส มั พนั ธเ ชอ่ื มโยงกนั เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและพฒั นาศักยภาพของผเู รียน โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การสรางเสรมิ สมรรถนะและทักษะ การใชภาษาอังกฤษ ใหผเู รียนสามารถใชภาษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สารและใชเปนเคร่อื งมือในการแสวงหา องคค วามรเู พอ่ื การพฒั นาตน อนั จะนาํ ไปสกู ารเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศ และการเตรยี ม ความพรอ มรองรบั การเขา สปู ระชาคมอาเซยี นในป พ.ศ. 2558 เพอ่ื ใหบ รรลเุ ปา หมายดงั กลา ว กระทรวง ศึกษาธิการจึงกําหนดนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานข้นึ เพอ่ื ใหท กุ ภาคสว นไดต ระหนกั ถงึ ความจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งเรง รดั ปฏริ ปู การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษและพฒั นา ผเู รยี นใหม สี มรรถนะและทกั ษะตามทก่ี าํ หนด สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานจงึ ไดก าํ หนดแนวปฏบิ ตั ใิ นการปฏริ ปู การเรยี นการสอน ภาษาองั กฤษตามนโยบายในแตล ะดา น เพอ่ื ใหห นว ยงานทกุ สงั กดั ทจ่ี ดั การศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ทง้ั ในสว นกลาง สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา และสถานศกึ ษานาํ ไปดาํ เนนิ การใหบ รรลเุ ปา หมาย ดงั น้ี 1. ใชก รอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) ใชก รอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป (CEFR) เปน กรอบความคดิ หลกั ในการจดั การเรยี น การสอนภาษาอังกฤษของประเทศไทย ทั้งในการออกแบบหลักสูตร การพัฒนาการเรียนการสอน การทดสอบ การวัดผล การพฒั นาครูรวมถึงการกาํ หนดเปา หมายการเรียนรู เพ่ือใหการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ มีทิศทางในการ ดาํ เนนิ การทเ่ี ปน เอกภาพ มเี ปา หมายการเรยี นรแู ละการพฒั นาทเ่ี ทยี บเคยี งไดก บั มาตรฐานสากล ทเ่ี ปน ทย่ี อมรบั ในระดบั นานาชาติ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ กาํ หนดใหใ ชก รอบอา งองิ ทางภาษาของสหภาพยโุ รป The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) เปน กรอบความคดิ หลกั ในการจดั การเรยี น การสอนภาษาองั กฤษ กรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป (The Common European Framework of Reference for Languages : CEFR) คอื มาตรฐานการประเมนิ ความสามารถทางภาษาทส่ี หภาพยโุ รป จดั ทาํ ขน้ึ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ใชเ ปน แนวทางในการจดั การเรยี นการสอน และการประเมนิ ภาษาทส่ี องหรอื ภาษาตา งประเทศ ในป ค.ศ. 2002 สภาแหง สหภาพยโุ รปไดก าํ หนดใหใ ชก รอบอา งองิ CEFR ในการตรวจสอบ ความสามารถทางภาษา ปจจุบันกรอบอางอิง CEFR ไดรับการยอมรับอยางกวางขวางวาเปนมาตรฐาน ในการจดั ลาํ ดบั ความสามารถทางภาษาของแตล ะบคุ คล คมู่ ือการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 1

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ในการนํากรอบอางอิง CEFR มาใชในการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษน้นั กระทรวง ศกึ ษาธกิ ารไดก าํ หนดแนวทางในการดาํ เนนิ การดงั น้ี 1.1 ใช CEFR เปนกรอบความคิดหลักในการกําหนดเปาหมายการจัดการเรียนการสอน / การพฒั นา โดยใชร ะดบั ความสามารถ 6 ระดบั ของ CEFR เปน เปา หมายการพฒั นาผเู รยี นในแตล ะระดบั ทง้ั น้ี ในเบ้อื งตน กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดเปาหมายการพัฒนาระดับความสามารถทางภาษาของผเู รียน ในระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ไวด งั น้ี ระดบั นกั เรยี น ระดบั ความสามารถ ระดบั ความสามารถทาง ทางภาษา ภาษาตามกรอบ CEFR ผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา (ป.6) ผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาภาคบงั คบั (ม.3) ผใู ชภ าษาขน้ั พน้ื ฐาน A1 ผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (ม.6 / ปวช.) ผใู ชภ าษาขน้ั พน้ื ฐาน A2 ผใู ชภ าษาขน้ั อสิ ระ B1 ดงั นน้ั ในการประเมนิ หรอื ตรวจสอบผลการจดั การศกึ ษา หรอื ผลการพฒั นาผเู รยี นในแตล ะ ระดบั ขา งตน หนว ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบควรไดม กี ารทดสอบหรอื วดั ผล โดยใชแ บบทดสอบมาตรฐานทเ่ี ทยี บเคยี ง ผลคะแนนกบั ระดบั ความสามารถทางภาษาตามกรอบอางองิ CEFR เพอ่ื ตรวจสอบวา ผเู รยี นมผี ลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นภาษาผา นเกณฑร ะดบั ความสามารถทก่ี าํ หนดหรอื ไม 1.2 ใชพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยนําระดับความสามารถทางภาษา ทก่ี รอบอา งองิ CEFR กาํ หนดไวแ ตล ะระดบั มากาํ หนดเปา หมายของหลกั สตู ร และใชค าํ อธบิ ายความสามารถ ทางภาษาของระดบั นน้ั ๆ มากาํ หนดกรอบเนอ้ื หาสาระทจ่ี ะใชใ นการจดั การเรยี นการสอนตามหลกั สตู ร 1.3 ใชในการจัดการเรียนการสอน โดยนําระดับความสามารถทางภาษาและคําอธิบาย ความสามารถทางภาษาทก่ี รอบอา งองิ CEFR กาํ หนดไวแ ตล ะระดบั มาพจิ ารณาการจดั กระบวนการเรยี น การสอนเพอ่ื ใหผ เู รยี นสามารถแสดงออกซง่ึ ทกั ษะทางภาษาและองคค วามรตู ามทร่ี ะบไุ ว เชน ในระดบั A1 ผสู อนตอ งจดั กระบวนการเรยี นรเู พอ่ื ใหผ เู รยี นสามารถเขา ใจ ใชภ าษา แนะนาํ ถาม - ตอบ ปฏสิ มั พนั ธพ ดู คยุ ในเรอ่ื งทก่ี าํ หนดตามคาํ อธบิ ายของระดบั A1 การเรยี นการสอนจงึ ตอ งเนน ใหผ เู รยี นไดฟ ง และพดู สอ่ื สารเปน หลกั ผเู รยี นจงึ จะมคี วามสามารถตามทก่ี าํ หนด 1.4 ใชใ นการทดสอบ และการวดั ผล โดยใชแ บบทดสอบ / แบบวดั ทส่ี ามารถเทยี บเคยี งผลได กบั กรอบอา งองิ CEFR เพอ่ื ใหไ ดข อ มลู ระดบั ความสามารถของผเู รยี นหรอื ผเู ขา รบั การทดสอบ เพอ่ื การจดั กระบวนการเรยี นการสอน หรอื สอ่ื ใหสอดคลองกับความตอ งการจําเปน อนั จะนาํ ไปสกู ารพฒั นาผเู รียน / ผเู ขา รบั การทดสอบใหม คี วามสามารถตามเปา หมาย / เกณฑท ก่ี าํ หนด 2 ค่มู ือการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education 1.5 ใชใ นการพฒั นาครู โดยดาํ เนนิ การ ดงั น้ี 1) ใชเ ครอ่ื งมอื ในการประเมนิ ตนเอง (self-assessment checklist) ตามกรอบ CEFR เพ่อื เตรียมความพรอมกอนเขารับการทดสอบและประเมินความกาวหนาความสามารถทางภาษาอังกฤษ อยา งตอ เนอ่ื ง 2) ประเมนิ ความสามารถในการใชภ าษาองั กฤษของครกู อ นการพฒั นา โดยใชแ บบทดสอบ มาตรฐานตามกรอบ CEFR ในการตรวจสอบระดบั ความสามารถของครู 3) จดั ทาํ ฐานขอ มลู และกลมุ ครตู ามระดบั ความสามารถ เพอ่ื วางแผนพฒั นาตามกรอบ CEFR และตดิ ตามความกา วหนา ในการเขา รบั การพฒั นาของครใู นแตล ะกลมุ ความสามารถ 4) กาํ หนดเปา หมายความสามารถดา นภาษาตามกรอบ CEFR ในการพฒั นาครแู ตล ะกลมุ เพอ่ื นาํ มาจดั หลกั สตู ร และกระบวนการพฒั นาครใู หม คี วามสามารถในการใชภ าษาผา นเกณฑแ ละบรรลเุ ปา หมาย ทก่ี าํ หนด 5) ใชแ บบทดสอบมาตรฐานตามกรอบ CEFR ทดสอบหลงั การพฒั นาเพอ่ื ประเมนิ หลกั สตู ร การพฒั นา กระบวนการพฒั นา และความสามารถของครู เทยี บเคยี งกบั เปา หมายทก่ี าํ หนด รวมทง้ั จดั กจิ กรรม การพฒั นาอยา งตอ เนอ่ื ง 2. ปรับจุดเนนการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใหเปนไปตามธรรมชาติของ การเรยี นรู โดยเนน การสอ่ื สาร (Communicative Language Teaching : CLT) กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายใหปรับการเรียนการสอนจากการเนนไวยากรณ มาเปนเนน การสอ่ื สารทเ่ี รม่ิ จากการฟง ตามดว ยการพดู การอา น และการเขยี นตามลาํ ดบั ทง้ั น้ี การจดั การเรยี นการสอน ภาษาองั กฤษควรคาํ นงึ ถงึ ธรรมชาตกิ ารเรยี นรภู าษา กระบวนการเรยี นการสอนควรมลี กั ษณะเปน การเรยี นรู ตามธรรมชาตทิ ใ่ี กลเ คยี งกบั การเรยี นรภู าษาแรก คอื ภาษาไทย ทเ่ี รม่ิ การเรยี นรจู ากการฟง และเชอ่ื มโยง เสยี งกบั ภาพเพอ่ื สรา งความเขา ใจ แลว จงึ นาํ ไปสกู ารเลยี นเสยี ง คอื การพดู และนาํ ไปสกู ารอา นและเขยี น ในทส่ี ดุ การจดั การเรยี นการสอนจงึ ควรเปน การสอนเพอ่ื การสอ่ื สารอยา งแทจ รงิ ดงั นน้ั หนว ยงานตา ง ๆ ทม่ี หี นา ทส่ี ง เสรมิ สนบั สนนุ และจดั การเรยี นรู จงึ มบี ทบาทภารกจิ ในการพฒั นาสนบั สนนุ ชว ยเหลอื ใหค รู สามารถจดั การเรยี นรตู ามธรรมชาตขิ องภาษา เพอ่ื ใหผ เู รยี นมคี วามสามารถในการใชแ ละสอ่ื สารภาษาองั กฤษ 3. สง เสรมิ ใหม กี ารเรยี นการสอนภาษาองั กฤษทม่ี มี าตรฐานตามกรอบมาตรฐานหลกั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมนี โยบายใหจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษของสถานศกึ ษาเปน ไปอยาง มีมาตรฐานตามหลักสูตร รวมท้งั ใชแบบเรียน ส่อื การเรียนการสอนท่มี ีมาตรฐาน ท่สี ามารถสรางเสริม ความสามารถในการใชภ าษาองั กฤษของนกั เรยี นไดอ ยา งเทา เทยี มกนั แตส ามารถใชร ปู แบบวธิ กี ารทแ่ี ตกตา งกนั ได ท้งั น้ขี ้นึ อยกู ับสภาพบริบทและความพรอมของแตละสถานศึกษา ซ่งึ ทุกภาคสวนท่เี ก่ยี วของควรไดเขาไป มีบทบาทในการสงเสริม สนับสนุนการดําเนินการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของสถานศึกษา ใหเ ปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ มมี าตรฐาน และสง ผลตอ การพฒั นาความสามารถดา นภาษาองั กฤษของผเู รยี น คูม่ ือการจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 3

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ในการจดั ประเภทความพรอ มของสถานศกึ ษา จาํ แนกไดเ ปน 3 กลมุ ดงั น้ี 1) โรงเรยี นทม่ี คี วามพรอ มนอ ย เปน โรงเรยี นทม่ี คี วามไมพ รอ มดา นครสู อนภาษาองั กฤษ เชน ครไู มค รบชน้ั ไมม คี รจู บเอกภาษาองั กฤษ ครขู าดความสามารถจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามหลกั สตู ร ขาดสอ่ื วสั ดอุ ปุ กรณ ผปู กครองหรอื ชมุ ชนขาดความพรอ มในการสนบั สนนุ 2) โรงเรียนท่ีมีความพรอมปานกลาง เปนโรงเรียนท่ีมีความพรอมดานครูพอสมควร เชน ครคู รบชน้ั มคี รจู บเอกภาษาองั กฤษ และสามารถจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามหลกั สตู ร มสี อ่ื และ วสั ดอุ ปุ กรณเ พยี งพอตอ การจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามหลกั สตู ร ผปู กครองหรอื ชมุ ชนมคี วาม พรอ มในการสนบั สนนุ พอสมควร 3) โรงเรยี นทม่ี คี วามพรอ มสงู เปน โรงเรยี นทม่ี คี วามพรอ มดา นครสู อนภาษาองั กฤษ และสอ่ื วสั ดุ อปุ กรณใ นระดบั ดมี าก เชน ครคู รบชน้ั มคี รจู บเอกภาษาองั กฤษเพยี งพอ มคี รทู ส่ี ามารถจดั การเรยี นการสอน ภาษาองั กฤษไดต ามหลกั สตู ร อกี ทง้ั สามารถจดั รายวชิ าภาษาองั กฤษเพม่ิ เตมิ แกน กั เรยี นทม่ี คี วามสนใจและ ศกั ยภาพดา นภาษา มกี จิ กรรมสง เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษหลากหลาย มสี อ่ื และวสั ดอุ ปุ กรณท ่ี เพยี งพอและทนั สมยั ผปู กครองหรอื ชมุ ชนใหก ารสนบั สนนุ ดมี าก ท้งั น้ี โรงเรียนควรไดประเมินตนเองดวยแบบประเมินเพ่อื ดูระดับความพรอมของตนกอนเลือก แนวดําเนินการในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร ท่จี ะทําใหนักเรียนไดรับการพัฒนาจนบรรลุผล ตามทก่ี าํ หนดไวใ นหลกั สตู ร 4. สง เสรมิ การยกระดบั ความสามารถในการใชภ าษาองั กฤษ การยกระดบั ความสามารถดา นภาษาองั กฤษของผเู รยี น คอื เปา หมายสาํ คญั ของการจดั การศกึ ษา นอกเหนอื จากภารกจิ ในการพฒั นาผเู รยี นใหม คี วามสามารถในการใชภ าษาองั กฤษตามทห่ี ลกั สตู รกาํ หนดแลว กระทรวงศึกษาธิการมีบทบาทสําคัญในการสงเสริม สนับสนุนการพัฒนาผเู รียนในทุกระดับเพ่อื ยกระดับ ความสามารถดานภาษาอังกฤษใหสูงข้นึ และเต็มตามศักยภาพของผเู รียน โดยการจัดใหมีโครงการพิเศษ หอ งเรยี นพเิ ศษ และรายวชิ าทเ่ี นน การจดั ใหผ เู รยี นมโี อกาสศกึ ษาเรยี นรแู ละใชภ าษาองั กฤษมากขน้ึ อยา งเขม ขน เพอ่ื สนองตอบตอ ความตอ งการและความสนใจของผเู รยี น ชมุ ชน และสงั คม อนั จะนาํ ไปสกู ารสรา งประชากร ใหมีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารอันนําไปสกู ารศึกษาตอในระดับท่สี ูงข้นึ รวมท้งั การประกอบอาชพี ในอนาคตอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ แนวปฏบิ ตั ใิ นการดาํ เนนิ การประกอบดว ย 4.1 การขยายโครงการพเิ ศษดา นการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ ไดแ ก 1) International Program (IP) เปน การจดั การเรียนการสอนดวยหลกั สตู รนานาชาติ สาํ หรบั ผเู รยี นทม่ี คี วามสามารถทางวชิ าการสงู มงุ จดั การเรยี นการสอนใหไ ดค ณุ ภาพของโรงเรยี นนานาชาติ ตอ ยอดจากโปรแกรม EP 4 คมู่ อื การจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education 2) English Program (EP) เปน การจดั การเรยี นการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน ภาษาองั กฤษ โดยจดั สอนเปน ภาษาองั กฤษในวชิ าตา ง ๆ สปั ดาหล ะไมน อ ยกวา 18 ชว่ั โมง โดยครู ชาวตา งชาตเิ จา ของภาษา / หรอื ผทู ม่ี คี ณุ สมบตั เิ ทยี บเทา เปน ผสู อน ยกเวน ภาษาไทยและรายวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ ง กบั ความเปน ไทย และศลิ ปวฒั นธรรมไทย 3) Mini English Program (MEP) เปน การจดั การเรยี นการสอนตามหลกั สตู รกระทรวง ศึกษาธิการเปนภาษาอังกฤษในลักษณะเดียวกันกับ EP แตนักเรียนเรียนวิชาตาง ๆ เปนภาษาอังกฤษ ไมน อ ยกวา 15 ชว่ั โมง โดยครชู าวตา งชาตเิ จา ของภาษา / หรอื ผทู ม่ี คี ณุ สมบตั เิ ทยี บเทา เปน ผสู อน ยกเวน ภาษาไทยและรายวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ความเปน ไทยและศลิ ปวฒั นธรรมไทย 4) English Bilingual Education (EBE) เปน การจดั การเรยี นการสอนแบบสองภาษา (ไทย- องั กฤษ) ในวชิ าวทิ ยาศาสตร สงั คมศกึ ษา (ยกเวน ประวตั ศิ าสตรแ ละศาสนา) และศลิ ปะ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค เพอ่ื เพม่ิ โอกาสและเวลาในการเรยี นรแู ละใชภ าษาองั กฤษของนกั เรยี นในโรงเรยี นทง้ั ขนาดเลก็ และขนาดกลาง ท่ขี าดความพรอมในการจัดหาครูตางชาติมาสอน จัดการเรียนการสอนโดยครูไทยท่ไี ดรับการพัฒนาและ เตรยี มความพรอ มอยา งเปน ระบบ 5) English for Integrated Studies (EIS) เปน รปู แบบทพ่ี ฒั นาขน้ึ เพอ่ื เพม่ิ ทกั ษะภาษา อังกฤษของนักเรียน ท้งั ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ดวยการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยเี ปน ภาษาองั กฤษโดยครปู ระจาํ วชิ าทเ่ี ปน ครไู ทย 4.2 การพฒั นาหอ งเรยี นพเิ ศษภาษาองั กฤษ (Enrichment Class) ไดแ ก การจดั หอ งเรยี นพเิ ศษ ดา นภาษาองั กฤษ เพอ่ื ใหผ เู รยี นทม่ี ศี กั ยภาพทางภาษาองั กฤษสามารถใชภ าษาเพอ่ื การสอ่ื สารทางสงั คม (Social Interaction) และดา นวชิ าการ (Academic Literacy) การจดั หอ งเรยี นสนทนาภาษาองั กฤษ (Conversation Class) ท่เี นนทักษะการฟงและการพดู อยา งนอ ยสัปดาหล ะ 2 ช่วั โมง รวมถงึ การพัฒนาหลกั สตู รและ จดั การเรยี นการสอนรายวชิ าภาษาองั กฤษเพอ่ื อาชพี เพอ่ื ใหผ เู รยี นมคี วามพรอ มในการใชภ าษาองั กฤษสาํ หรบั ประกอบอาชพี โดยเฉพาะสาํ หรบั ผเู รยี นทจ่ี ะจบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 และในโรงเรยี นขยายโอกาส 4.3 การจดั กจิ กรรมและสภาพแวดลอ มทส่ี ง เสรมิ ความสามารถดา นภาษาองั กฤษ ไดแ ก 1) การเขา คา ยภาษาองั กฤษแบบเขม ระยะเวลา 2-4 สปั ดาห (84-170 ชว่ั โมง) ในชว ง ปด ภาคเรยี นสาํ หรบั ผเู รยี นทว่ั ไป และคา ยนานาชาตสิ าํ หรบั ผเู รยี นทม่ี คี วามสามารถสงู 2) การเพม่ิ ชว่ั โมงเรยี น เชน การเรยี นอยา งตอ เนอ่ื งครง่ึ วนั / ทง้ั วนั / หรอื มากกวา นน้ั 3) การจดั สภาพแวดลอ ม / บรรยากาศทส่ี ง เสรมิ / กระตนุ การฝก ทกั ษะการสอ่ื สาร เชน English Literacy Day, English Zone, English Corner, การประกวดแขง ขนั ตา ง ๆ ปา ยสารนเิ ทศ และ การเพม่ิ กจิ กรรมการอา นทง้ั ในและนอกหอ งเรยี นดว ยเนอ้ื หาสาระทห่ี ลากหลาย เปน ตน 4.4 การจดั ใหม กี ารเรยี นการสอนวชิ าสนทนาภาษาองั กฤษ ไดแ ก การจดั หลกั สตู รการเรยี นการสอน สนทนาภาษาองั กฤษเปน การทว่ั ไป การจดั หลกั สตู รการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษทเ่ี ขม ขน รวมถงึ การจดั ใหเ ปน สาระเพม่ิ เตมิ ในลกั ษณะวชิ าเลอื กไดด ว ย เพอ่ื ใหผ เู รยี นเลอื กเรยี นตามความสนใจ ความถนดั และ ตามศกั ยภาพ ค่มู ือการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 5

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education 5. ยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครู ใหสอดคลอง กับวิธีการเรียนรูท่ีเนนการส่ือสาร (CLT) และเปนไปตามกรอบความคิด หลกั CEFR ครูเปนปจจัยท่มี ีความสําคัญท่สี ุดปจจัยหน่งึ ของความสําเร็จในการพัฒนาความสามารถในการใช ภาษาอังกฤษของผเู รียน เน่อื งจากภาษาอังกฤษเปนทักษะท่ตี องอาศัยการเรียนรตู ามธรรมชาติของภาษา การปฏสิ มั พนั ธ การเลยี นแบบ และการมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ การเรยี นรแู ละฝก ฝนทกั ษะ ครทู ม่ี คี วามสามารถและ ความคลอ งแคลว ในการใชภ าษาองั กฤษ จะเปน ตน แบบทด่ี ขี องผเู รยี นในการเรยี นรแู ละฝก ฝน ครทู ม่ี คี วามรู ความสามารถดานการจัดการเรียนการสอนและการใชส่ือ จะชวยกระตุน สรางแรงจูงใจ และพัฒนา ความสามารถในการเรยี นรแู ละการใชภ าษาของผเู รยี น การพฒั นาครใู หม คี วามสามารถดา นภาษาองั กฤษ ตามเกณฑท ก่ี าํ หนดตามกรอบอา งองิ CEFR และมคี วามรคู วามสามารถดา นการสอนภาษาองั กฤษแบบสอ่ื สาร (CLT) จงึ เปน ความสาํ คญั จาํ เปน อยา งยง่ิ ทท่ี กุ หนว ยงานและทกุ ภาคสว นทเ่ี กย่ี วขอ งควรเรง ดาํ เนนิ การ เพอ่ื ยก ระดบั ความสามารถในการจดั การเรยี นการสอนของครใู หส อดคลอ งกบั วธิ กี ารเรยี นรทู เ่ี นน การสอ่ื สาร (CLT) และเปน ไปตามกรอบความคดิ หลกั CEFR การดําเนินการตามนโยบายเนนไปท่กี ารประเมินความรพู ้นื ฐานภาษาอังกฤษสําหรับครู เพ่อื ให มีการพัฒนาครูอยางเปนระบบและตอเน่ือง และใหมีกลไกการเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนการสอนท่ีมี ความหลากหลาย เพอ่ื ตอบสนองความแตกตา งของระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษ ในการยกระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษของครไู ดอ ยา งแทจ รงิ นอกจากน้ี ควรมรี ะบบการฝก ทกั ษะ และการสอบ วดั ระดบั ความสามารถทางภาษาออนไลนเ พอ่ื การพฒั นาตอ เนอ่ื งดว ย 6. สงเสริมใหมีการใชส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การศึกษาเปนเคร่อื งมือ สาํ คญั ในการชว ยพฒั นาความสามารถทางภาษาของครแู ละผเู รยี น สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information and Communication Technology : ICT) เปน เครอ่ื งมอื สาํ คญั ในโลกปจ จบุ นั ทเ่ี ขา มามบี ทบาทสาํ คญั ยง่ิ ในการพฒั นาความสามารถทางภาษาของครแู ละผเู รยี น การนาํ สอ่ื ICT มาใชในการจัดการเรยี นการสอน การเรยี นรแู ละฝกฝนทกั ษะทางภาษาจึงเปน แนวทางสาํ คัญในการ กระตนุ และสรา งการเรยี นรผู า นโลกดจิ ทิ ลั สอ่ื ทด่ี สี ามารถนาํ มาใชท ดแทนครไู ด โดยเฉพาะในสว นของการ ฝกฝนเก่ยี วกับการออกเสียง การฟง และการพูด ซ่งึ ครูบางสวนยังขาดความพรอมและขาดความม่นั ใจ อกี ทง้ั สอ่ื ยงั สามารถใชไ ดใ นทกุ สถานท่ี ทกุ เวลา ใชฝ ก ฝนซา้ํ ๆ ไดอ ยา งไมม ขี อ จาํ กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ มนี โยบายสง เสรมิ ใหม กี ารผลติ การสรรหา e-content, learning applications แบบฝก และแบบทดสอบทไ่ี ดม าตรฐานและมคี ณุ ภาพสาํ หรบั การเรยี นรู รวมทง้ั สง เสรมิ ใหม กี ารใชช อ งทาง การเรยี นรผู า นโลกดจิ ทิ ลั เชน การเรยี นรกู ารฟง การออกเสยี งทถ่ี กู ตอ งตาม Phonics จากสอ่ื ดจิ ทิ ลั รวมไปถงึ การจดั สภาพแวดลอ ม บรรยากาศทส่ี ง เสรมิ และกระตนุ การฝก ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ทง้ั ในและนอก หอ งเรยี นดว ย 6 คมู่ อื การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education นโยบายปฏริ ูปการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษของกระทรวงศึกษาธกิ าร 1 CEFRCEFR ใชก รอบ CEFR เปน กรอบคดิ หลกั ในการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ กาํ หนดเปา หมาย พฒั นาหลกั สตู ร ทดสอบ / วดั ผล พฒั นาครู การจดั การเรยี นการสอน และจดั การเรยี นการสอน / การพฒั นา 2 ปรบั จดุ เนน การเรยี นการสอนเพอ่ื การสอ่ื สาร 3 สง เสรมิ ใหม กี ารเรยี นการสอนภาษาองั กฤษทม่ี มี าตรฐาน ตามกรอบมาตรฐานหลกั ตามประเภทความพรอ มของโรงเรยี น CEFR4 สง เสรมิ การยกระดบั ความสามารถในการใชภ าษาองั กฤษ ขยายโครงการพเิ ศษ พฒั นาหอ งเรยี นพเิ ศษ จดั กจิ กรรมและสภาพแวดลอ ม จดั การเรยี นการสอนวชิ า ดา นการเรยี น ภาษาองั กฤษ ทส่ี ง เสรมิ ความสามารถ สนทนาภาษาองั กฤษ ดา นภาษาองั กฤษ การสอนภาษาองั กฤษ 5 ยกระดบั ความสามารถในการจดั การเรยี นการสอนของครใู หส อดคลอ ง กบั วธิ กี ารเรยี นรทู เ่ี ปน การสอ่ื สาร (CLT) และเปน ไปตามกรอบ CEFR 6 สง เสรมิ ใหม กี ารใชส อ่ื และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษา เปน เครอ่ื งมอื สาํ คญั ในการชว ยพฒั นาความสามารถทางภาษาของครแู ละผเู รยี น คมู่ อื การจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ 7

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education บทที่ 2 คณุ ภาพผเู รย� นตามกรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษา ของสหภาพยโุ รป The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) บทท่ี 2 ค่มู อื การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education บทที่ 2 คณุ ภาพผเู รยี นตามกรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) ศตวรรษท่ี 21 เปน ยคุ สงั คมแหง การเรยี นรู มกี ารใชเ ครอ่ื งมอื อยา งหลากหลายในการแสวงหาความรู ภาษาองั กฤษถอื วา เปน ทกั ษะทส่ี าํ คญั แหง ศตวรรษท่ี 21 และเปน เครอ่ื งมอื ทส่ี าํ คญั ในยคุ สงั คมแหง การเรยี นรู ในปจ จบุ นั ภาษาองั กฤษเปน ภาษาสากลทม่ี กี ารใชอ ยา งแพรห ลายมากทส่ี ดุ ภาษาหนง่ึ โดยทอ่ี งคค วามรทู ส่ี าํ คญั ของโลกสว นใหญถ กู บนั ทกึ และเผยแพรเ ปน ภาษาองั กฤษ จงึ มคี วามจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งจดั ใหม กี ารเรยี นการสอน ภาษาองั กฤษเพอ่ื ใหผ เู รยี นมคี วามรคู วามสามารถในการใชภ าษาองั กฤษเปน เครอ่ื งมอื เขา ถงึ องคค วามรแู ละ กา วทนั โลก รวมถงึ พฒั นาตนเองเพอ่ื นาํ ไปสกู ารเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศไทย และเพอ่ื ใหบ รรลเุ ปา หมายดงั กลา ว กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก าํ หนดนโยบายการปฏริ ปู การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ ในระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานโดยใชก รอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป (CEFR) เทยี บเคยี ง กบั คณุ ภาพผเู รยี นทไ่ี ดก าํ หนดไวใ นหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลมุ สาระ การเรยี นรภู าษาตา งประเทศ ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดงั ตอ ไปน้ี กรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) กรอบอา งองิ ทางภาษาของสหภาพยโุ รป (CEFR) คอื มาตรฐานการประเมนิ ความสามารถทางภาษา ทส่ี หภาพยโุ รปจดั ทาํ ขน้ึ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ใชเ ปน แนวทางในการจดั การเรยี นการสอน และการประเมนิ ภาษาท่สี องหรือภาษาตางประเทศ ในป ค.ศ. 2002 สภาแหงสหภาพยุโรปไดกําหนดใหใชกรอบอางอิง ทางภาษาของสหภาพยโุ รป (CEFR) ในการตรวจสอบความสามารถทางภาษา ปจ จบุ นั กรอบอา งองิ น้ี (CEFR) ไดร บั การยอมรบั อยา งกวา งขวางวา เปน มาตรฐานในการจดั ลาํ ดบั ความสามารถทางภาษาของแตล ะบคุ คล CEFR ไดจ าํ แนกผเู รยี นออกเปน 3 กลมุ หลกั และแบง เปน 6 ระดบั ความสามารถ ดงั น้ี level group A B C level group Basic User Independent User Proficient User ผใู ชภ าษาขน้ั พน้ื ฐาน ผใู ชภ าษาขน้ั อสิ ระ ผใู ชภ าษาขน้ั คลอ งแคลว name B1 B2 C1 C2 level A1 A2 Breakthrough Waystage Threshold Vantage Effective Mastery level name Begoinrner Elemoerntary Intermoerdiate InotrerUmpepdiearte OPrpoefirocairteionncayl Profiocirency Advanced คมู่ อื การจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 9

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ทง้ั นใ้ี นแตล ะระดบั ไดก าํ หนดความสามารถในการใชภ าษาไวด งั น้ี ระดบั คาํ อธบิ าย A1 ผเู รียนสามารถใชและเขา ใจประโยคงาย ๆ ในชวี ิตประจาํ วนั สามารถแนะนาํ ตวั เองและผอู ่นื สามารถตง้ั คาํ ถามเกย่ี วกบั บคุ คลอน่ื เชน เขาอยทู ไ่ี หน รจู กั ใครบา ง มอี ะไรบา ง และตอบคาํ ถาม เหลา นไ้ี ด ทง้ั ยงั สามารถเขา ใจบทสนทนาเมอ่ื คสู นทนาพดู ชา และชดั เจน A2 ผเู รยี นสามารถใชแ ละเขา ใจประโยคในชวี ติ ประจาํ วนั (ในระดบั กลาง) เชน ขอ มลู เกย่ี วกบั ครอบครวั การจบั จา ยใชส อย สถานท่ี ภมู ศิ าสตร การทาํ งาน และสามารถสอ่ื สารแลกเปลย่ี นขอ มลู ทว่ั ไป ในการใชช วี ติ ประจาํ วนั สามารถบรรยายความคดิ ฝน ความคาดหวงั ประวตั ิ สง่ิ แวดลอ ม และสง่ิ อน่ื ๆ B1 ผเู รยี นสามารถพดู เขยี น และจบั ใจความสาํ คญั ของขอ ความทว่ั ๆ ไปถา เปน หวั ขอ ทค่ี นุ เคยหรอื สนใจ เชน การทาํ งาน โรงเรยี น เวลาวา ง ฯลฯ สามารถจดั การกบั สถานการณต า ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ระหวา งการเดนิ ทางในประเทศทใ่ี ชภ าษาองั กฤษได สามารถบรรยายประสบการณ เหตกุ ารณ ความคดิ ฝน ความหวงั พรอ มใหเ หตผุ ลสน้ั ๆ ได B2 ผเู รียนมคี วามสามารถในการใชภาษาในระดับดี สามารถใชภ าษาพดู และเขยี นไดแทบทุกเร่อื ง อยา งถกู ตอ งและคลอ งแคลว รวมทง้ั สามารถอา นและทาํ ความเขา ใจบทความทม่ี เี นอ้ื หายากขน้ึ ได C1 ผเู รยี นสามารถเขา ใจขอ ความยาว ๆ ทซ่ี บั ซอ นในหวั ขอ หลากหลาย และเขา ใจความหมายแฝงได สามารถแสดงความคดิ ความรสู กึ ของตนไดอ ยา งเปน ธรรมชาติ โดยไมต อ งหยดุ คดิ หาคาํ ศพั ท สามารถใชภ าษาทง้ั ในดา นสงั คม การทาํ งาน หรอื ดา นการศกึ ษาไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ C2 ผเู รียนมีความสามารถในการใชภาษาไดอยางดีเย่ยี มใกลเคียงเจาของภาษา สามารถใชภาษา มาตรฐานไดอยางสละสลวย ถูกตองตามจุดประสงคท่จี ะส่อื สารไดดี สามารถอานบทความ ท่เี ปนภาษาตนฉบับ (โดยเฉพาะวรรณกรรม) ไดเขาใจ สามารถ และเลือกใชภาษาสําหรับ พูดและเขียนไดอยางเหมาะสม ผูเรียนสามารถเขาใจขอความยาว ๆ ท่ีซับซอนในหัวขอ หลากหลาย และเขา ใจความหมายแฝงได การใช CEFR เปน กรอบความคดิ หลกั ในการเปา หมายการจดั การเรยี นรู / การพฒั นา โดยใช ระดบั ความสามารถ 6 ระดบั ของ CEFR เปน เปา หมายการพฒั นาผเู รยี นในแตล ะระดบั ทง้ั น้ี ในเบอ้ื งตน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก าํ หนดเปา หมายการพฒั นาระดบั ความสามารถทางภาษาของผเู รยี นในระดบั การศกึ ษา ขน้ั พน้ื ฐาน ไวด งั น้ี ระดบั นกั เรยี น ระดบั ความสามารถ ระดบั ความสามารถทาง ทางภาษา ภาษาตามกรอบ CEFR ผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา (ป.6) ผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาภาคบงั คบั (ม.3) ผใู ชภ าษาขน้ั พน้ื ฐาน A1 ผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (ม.6 / ปวช.) ผใู ชภ าษาขน้ั พน้ื ฐาน A2 ผใู ชภ าษาขน้ั อสิ ระ B1 10 ค่มู ือการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ดงั นน้ั ในการประเมนิ หรอื ตรวจสอบผลการจดั การศกึ ษา หรอื ผลการพฒั นาผเู รยี นในแตล ะระดบั ขางตน หนวยงานท่รี ับผิดชอบไมเพียงแตประเมินหรือตรวจสอบคุณภาพผเู รียนตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 เทา นน้ั แตค วรไดม กี ารทดสอบหรอื วดั ผล โดยใชแ บบทดสอบมาตรฐาน ทเ่ี ทยี บเคยี งผลคะแนนกบั ระดบั ความสามารถทางภาษาตามกรอบอา งองิ CEFR ควบคกู นั ไปดว ย กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดใหผสู ําเร็จการศึกษาระดับช้นั ประถมศึกษาปท่ี 6 ตองมีความรู ความสามารถดา นภาษาองั กฤษ เมอ่ื เทยี บกบั กรอบ CEFR อยใู นระดบั A1 โดยแบง เปน ทกั ษะตา ง ๆ ดงั น้ี Listening, Reading, Spoken Interaction, Spoken Production, Written Interaction, Strategies และ Language Quality รายละเอยี ดคาํ อธบิ ายในตารางขา งลา งน้ี คาํ อธบิ ายกรอบอา งองิ ทางภาษาของสหภาพยโุ รป (CEFR) (EAQUALS BANK OF DESCRIPTORS - AS LEVELS) ระดบั A1 Listening การฟงโดยรวม การฟง คสู นทนา การฟง การ การฟง ในฐานะ การฟง จาก การฟงประกาศ (OVERALL (LISTEN TO อภปิ ราย ผูฟ ง / ผชู ม โทรทศั น (LISTEN TO LISTENING) INTERLOCUTOR) (LISTEN IN (LISTEN IN หรือภาพยนตร (LISTEN TO ANNOUNCEMENTS) DISCUSSION) AUDIENCE TV, FILM) - สามารถเขาใจ - สามารถเขาใจ สามารถเขา ใจ - - สามารถจับใจ A1 คําและวลีงา ย ๆ สาํ นวน คําและประโยค ความประกาศ ทไี่ ดฟ ง เชน การทกั ทาย สั้น ๆ ท่กี ลา ว หรือขอ ความ Excuse me, การกลาวลา อยา งชา ๆ งาย ๆ สั้น ๆ Sorry, เชน Hello, และชดั เจน และชดั เจน Thank you Good morning, เมื่อฟงบท เชนทีส่ นามบนิ เปนตน Goodbye สนทนา นานาชาติได - สามารถ เขาใจ - สามารถเขาใจ คําศัพท วันใน คําถามเพอ่ื ขอ สปั ดาหแ ละเดอื น ขอ มลู สวนตวั ในรอบป ทคี่ สู นทนา - สามารถเขาใจ กลา วอยางชา ๆ เวลาและวันท่ี ชดั ๆ - สามารถเขาใจ เชน What’s จํานวนนับและ your name?, ราคาสินคา How old are you?, What’s your address? เปน ตน คมู่ อื การจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ 11

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A1 Reading การอา นโดยรวม การอา นเพือ่ หา การอา นขอ มลู การอา นคาํ สง่ั การอาน การอา น (OVERALL ขอ มลู เบ้อื งตน และขอ โตแ ยง คาํ ชแ้ี จงขน้ั ตอน วรรณกรรม เอกสารโตต อบ READING) (READ FOR (READ INFO & (READ (READ (READ ORIENTATION) ARGUMENT) INSTRUCTIONS) LITERATURE) CORRESPONDENCE) A1 สามารถจําชื่อ สามารถเขาใจคํา สามารถเขา ใจ สามารถเขาใจ - สามารถเขาใจ คาํ และวลที ไ่ี ด และวลีที่ปรากฏ แบบฟอรม คาํ แนะนํางาย ๆ ขอความสนั้ ๆ เรยี นมาแลว บนปาย และใหขอ มูล ที่คุนเคย ท่ีมี ทเ่ี พื่อนเขยี น และสามารถนาํ สัญญาณตาง ๆ พื้นฐาน หรอื ไมม ภี าพ ในสถานการณ ไปใชใ นประโยค ในชวี ติ ประจาํ วัน สวนบุคคล ประกอบได ประจาํ วัน เชน งาย ๆ ทม่ี ี เชน “station, เชน name, “back at รูปภาพประกอบ car park, address, 4 o’clock.” no parking, date of birth. no smoking, keep left” ระดบั A1 Spoken Interaction การสนทนา การอภิปราย การแลกเปลย่ี นขอ มลู การตดิ ตอ กจิ ธรุ ะ การสนทนาทาง (CONVERSATION) (DISCUSSION) (INFORMATION (TRANSACTIONS) โทรศพั ท EXCHANGE) (TELEPHONING) - สามารถทักทาย - สามารถถาม - ตอบ - สามารถซื้อของ สามารถรบั โทรศัพท A1 และกลา วลางา ย ๆ ได เกยี่ วกบั ทอ่ี ยบู ุคคล ในรานโดยการพูด บอกช่ือตวั เองและ - สามารถถาม ที่รจู ัก สิ่งของทม่ี ี และใชท า ทางประกอบ ตอบคาํ ถามงา ย ๆ ทุกข-สุขได ของตนเองและ - สามารถสนทนา เชน “When is - สามารถโตตอบ คูสนทนา ถาคู เรอื่ งในชวี ติ ประจาํ Mrs. Jones back?” เพ่ือถามและตอบ สนทนาพูดชา ๆ วันเกยี่ วกบั ตัวเลข คําถามงาย ๆ และ และชดั เจน งาย ๆ เชน ราคา สามารถขอพูดซ้ํา สนิ คา หรอื แกไ ขคาํ พูด และขอ หมายเลขโทรศพั ท ความชวยเหลอื ได - สามารถถามและ ตอบคําถามสวนตัว งาย ๆ เชน What’s your name? How old are you? ถา คสู นทนาพดู ชา ๆ และเออื้ ตอ การเขา ใจ 12 คูม่ อื การจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A1 Spoken Production การบรรยาย การโตแยง การนาํ เสนอ (DESCRIPTION) (ARGUING A CASE) (PRESENTATIONS) - สามารถใหข อ มูลสว นตัว เชน - - A1 ที่อยู หมายเลขโทรศัพท สัญชาติ อายุ ครอบครัวและงานอดเิ รก - สามารถบรรยายเกย่ี วกบั ตัวเอง และครอบครัวดว ยภาษางา ย ๆ - สามารถบรรยายเก่ยี วกบั ที่อยู ของตนเองดวยภาษางา ย ๆ ระดบั A1 Written Interaction การเขยี นโดยรวม การเขยี นเชิงสรา งสรรค การเขยี นรายงานขอ มลู การเขยี นเอกสารโตต อบ (OVERALL WRITING) (CREATIVE) และขอ โตแ ยง (REPORTS: (CORRESPONDENCE) INFO & ARGUMENT) สามารถเขยี นขอ ความ - สามารถกรอกขอ มูล สามารถเขียนการด เชน ของตนเองในแบบฟอรม การดอวยพรวันเกิด A1 เกีย่ วกบั ตัวเอง ท่อี ยูอ าศยั ของโรงแรม เชน ช่อื ดว ยวลสี น้ั ๆ และงา ย ๆ ได นามสกุล วัน เดอื น ป เกดิ และสัญชาติ ระดบั A1 Strategies การปฏิสมั พันธ การเทียบเคียง การแกไ ขขอ บกพรอ ง (INTERACTION) (COMPENSATION) (REPAIR) - สามารถพูดติดตอกับผูอื่นดวย - - A1 คํา วลี หรือภาษาทา ทางงา ย ๆ - สามารถบอกไดว า ไมเ ขาใจ - สามารถขอใหคสู นทนาพูดซาํ้ ค่มู ือการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 13

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A1 Language Quality ขอบขายของ ความแมน ยาํ การเชอ่ื มโยงเรอ่ื ง ความถกู ตอ ง ความ ภาษาศาสตร คําศัพท (PRECISION) และความคดิ (ACCURACY) คลองแคลว สงั คม (RANGE) (LINKING TEXT (FLUENCY) (SOCIO- AND IDEAS) LINGUISTIC) สามารถใชค าํ วลี สามารถสือ่ สาร สามารถเช่ือม สามารถใชว ลสี นั้ ๆ สามารถพูดดวย สามารถใชค ํา A1 พืน้ ฐานงา ย ๆ ขอมูลพื้นฐาน วลีดวยคาํ เชน ทจี่ าํ ไดแลว ถอยคําเด่ียว ๆ สภุ าพในการ เกยี่ วกบั ครอบครวั เกยี่ วกับตนเอง and หรือ then เพ่อื จดุ ประสงค หรอื วลที ส่ี น้ั ได แนะนาํ ตนเอง และรายละเอียด ครอบครัว ได บางอยางได คําทักทาย สวนบคุ คล และงานทท่ี าํ อยางถกู ตอ ง คําอาํ ลา เชน และสถานการณ อยางงา ย ๆ ได และสมเหตสุ มผล please, ประจาํ วนั งา ย ๆ ได thank you, sorry ได ระดบั A1+ Listening การฟงโดยรวม การฟง คูสนทนา การฟงการ การฟงในฐานะ การฟง จาก การฟง ประกาศ (OVERALL (LISTEN TO อภิปราย ผูฟง / ผชู ม โทรทัศน (LISTEN TO LISTENING) INTERLOCUTOR (LISTEN IN (LISTEN IN หรือภาพยนตร (LISTEN TO ANNOUNCEMENTS) DISCUSSION) AUDIENCE TV, FILM) - สามารถเขาใจ - สามารถเขาใจ สามารถเขา ใจ - - - สามารถเขาใจ A1+ เรอื่ งทฟี่ ง เกย่ี วกบั เรอื่ งทฟ่ี ง เกย่ี วกบั เรอ่ื งทฟ่ี ง เมอ่ื สงิ่ ทฟ่ี ง เกย่ี วกบั ชีวติ ประจําวัน คําถาม คาํ ส่ัง ผพู ูด พูดชา ๆ ตัวเลขและเวลา ท่ีผูพูดพูดชา ๆ คาํ แนะนํางาย ๆ และชดั เจน จากประกาศ และชัดเจน เม่ือผูพูด เกี่ยวกบั ตนเอง ทช่ี ดั เจน เชน - สามารถเขาใจ พดู อยางชา ๆ และครอบครัว ในสถานีรถไฟ การบรรยาย - สามารถเขาใจ โดยใชคํางา ย ๆ - สามารถเขา ใจ บุคคล สงิ่ ของ เร่ืองท่ีฟงเกย่ี วกับ สง่ิ ทฟ่ี ง เกยี่ วกบั และคุณสมบัติ ราคาสินคา การบอกเสน ทาง เชน สี ขนาด จากทห่ี นง่ึ ไปอกี ทหี่ นึ่ง โดยรถ สาธารณะ หรอื การเดินเทา เม่ือผบู อกทาง พดู ชา ๆ และ ชดั เจน 14 คูม่ ือการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A1+ Reading การอา นโดยรวม การอานเพื่อหา การอา นขอ มลู การอา นคาํ สง่ั การอา น การอา น (OVERALL ขอ มลู เบอื้ งตน และขอ โตแ ยง คาํ ชแ้ี จงขน้ั ตอน วรรณกรรม เอกสารโตต อบ READING) (READ FOR (READ INFO (READ (READ (READ ORIENTATION) & ARGUMENT) INSTRUCTIONS) LITERATURE) CORRESPONDENCE) สามารถอาน สามารถจบั สามารถเขาใจ สามารถอาน - สามารถเขาใจ คําทกั ทาย และ A1+ และเขา ใจบท ประเด็นหลัก ขอ มลู สว นบคุ คล และปฏิบตั ิ ขอ ความส้นั ๆ อานส้ัน ๆ และ ของเร่อื งท่อี า น เชน ท่ีอยู อายุ ตามปา ยบอก งา ย ๆ โดย เชน แผน ปา ย จากบทอานที่มี เสน ทางได เชน งาย ๆ ที่อา น จับใจความหลกั ปา ยโฆษณา ภาพ แผนภมู ิ การเดนิ ทางจาก เชน ขอ ความ จากคํา วลี หรือแคตตาล็อก หรอื ตาราง ที่หนงึ่ ไปยงั อีก ในบัตรอวยพร ทค่ี ุนเคย ประกอบ ท่ีหนง่ึ วนั เกดิ บตั รเชญิ รว ม งานสงั สรรค ขอ ความใน โทรศพั ท ระดบั A1+ Spoken Interaction การสนทนา การอภปิ ราย การแลกเปลย่ี นขอ มลู การตดิ ตอ กจิ ธรุ ะ การสนทนาทาง (CONVERSATION) (DISCUSSION) (INFORMATION (TRANSACTIONS) โทรศพั ท EXCHANGE) (TELEPHONING) - สามารถสอบถาม - - สามารถบรรยาย - สามารถถามและ - สามารถเขา ใจ A1+ ทกุ ขส ขุ ของบคุ คลและ และถามเกย่ี วกบั ตอบคาํ ถามเก่ียวกบั ขอ ความงา ย ๆ ทสี่ ง มปี ฏิสมั พันธ เสอ้ื ผา เครอ่ื งแตง กาย สถานที่ เชน แหลง ทางโทรศัพท เชน ตอขาวสารน้ัน ๆ หรอื สง่ิ ของอน่ื ๆ ที่เกบ็ หนังสือ หรอื “We’re arriving - สามารถ ถาม ตอบ ทค่ี นุ เคย สง่ิ ของทค่ี นุ เคยอนื่ ๆ tomorrow at half คําถามงา ย ๆ และ - สามารถระบเุ วลา - สามารถถามเสน ทาง past four.” โตตอบในเรื่องท่ี โดยใชว ลี บง ชเ้ี วลา โดยใชป ระโยคงา ย ๆ - สามารถใหขอมูล คนุ เคย เชน ครอบครวั เชน “next week, เชน “Where is the พ้นื ฐานทมี่ ีอยูในการ ความเปน อยู last Friday, bank?” โตต อบทางโทรศพั ท ในชวี ติ ประจําวนั in November, - สามารถพดู ขอและ เชน ชอ่ื ทอ่ี ยู three o’clock” ใหส ่ิงของได หมายเลขโทรศัพท จดุ ประสงคของ การโทร ค่มู อื การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ 15

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A1+ Spoken Production การบรรยาย การโตแ ยง การนาํ เสนอ (DESCRIPTION) (ARGUING A CASE) (PRESENTATIONS) - สามารถแนะนาํ ตนเอง เชน บอกชอ่ื - - A1+ ทีอ่ ยู และอาชพี - สามารถบรรยายเกี่ยวกับ ครอบครัวอยา งงาย ๆ เชน บคุ คล ในครอบครวั อายแุ ละอาชีพ ของแตละบุคคล - สามารถบรรยายเกี่ยวกบั ทีอ่ ยู ของตนเอง - สามารถบรรยายส่ิงทีช่ อบ และไมช อบ เชน กีฬา ดนตรี โรงเรยี น และสตี า ง ๆ - สามารถใชค ํางาย ๆ เพ่อื บรรยายขนาด รปู ราง และสี ของสง่ิ ตาง ๆ ได - สามารถบรรยายสง่ิ ท่ตี นเอง บคุ คลอนื่ หรอื สัตวช นดิ ตาง ๆ สามารถทาํ ไดและไมสามารถทาํ ได ระดบั A1+ Written Interaction การเขียนโดยรวม การเขยี นเชงิ สรา งสรรค การเขยี นรายงานขอ มลู การเขยี นเอกสารโตต อบ (OVERALL WRITING) (CREATIVE) และขอ โตแ ยง (REPORTS: (CORRESPONDENCE) INFO & ARGUMENT) สามารถเขยี นประโยคงา ย ๆ - สามารถตอบแบบสอบถาม สามารถเขยี นโปสการด ดว ยขอ มลู สว นตวั (postcard) งาย ๆ A1+ เกยี่ วกับตนเอง เชน อยูทไ่ี หน ทาํ อะไร ดว ยขอ มลู เชน สถานทอ่ี ยู อากาศ และความรสู กึ เกยี่ ว กบั วันหยดุ 16 ค่มู อื การจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A1+ Strategies การปฏิสัมพนั ธ การเทยี บเคยี ง การแกไขขอ บกพรอง (INTERACTION) (COMPENSATION) (REPAIR) - - สามารถขอรอ งใหค สู นทนาพดู ชา ลง สามารถแสดงทาทางสื่อ A1+ - สามารถขอรอ งใหคูส นทนาพดู ซ้ํา ความหมาย แทนคําทไ่ี มรู ในสิ่งท่ีพูด ระดบั A1+ Language Quality ขอบขา ยของ ความแมน ยาํ การเชอ่ื มโยงเรอ่ื ง ความถกู ตอ ง ความ ภาษาศาสตร คําศพั ท (PRECISION) และความคดิ (ACCURACY) คลองแคลว สงั คม (RANGE) (LINKING TEXT (FLUENCY) (SOCIO- AND IDEAS) LINGUISTIC) รจู ักวลีพืน้ ฐาน สามารถสือ่ สาร สามารถเชอื่ มวลี สามารถใช สามารถพดู ชา ๆ สามารถกลาว ดวยวลีสั้น ๆ คาํ ทักทาย A1+ ท่ีใชพูดเกี่ยวกับ แลกเปลย่ี นขอ มลู ดว ย “and” โครงสรา ง หยดุ พูดชว่ั ขณะ ขอสิ่งของ และ ตนเอง และสอื่ สาร เฉพาะเก่ยี วกบั และ “but“ ประโยคงา ย ๆ และสามารถพูด กลาวลา ในชีวติ ประจาํ วนั ตัวเอง ครอบครวั หรอื “because” ตอดว ยวลีส้นั ๆ ได และอาชพี และ “then” ที่แตกตา งกนั ค่มู ือการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 17

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก าํ หนดใหผ สู าํ เรจ็ การศกึ ษาภาคบงั คบั (ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3) ตอ งมคี วามรู ความสามารถดา นภาษาองั กฤษ เมอ่ื เทยี บกบั กรอบ CEFR อยใู นระดบั A2 โดยแบง เปน ทกั ษะตา ง ๆ ดงั น้ี Listening, Reading, Spoken Interaction, Spoken Production, Written Interaction, Strategies และ Language Quality รายละเอยี ดคาํ อธบิ ายในตารางขา งลา งน้ี คาํ อธบิ ายกรอบอา งองิ ทางภาษาของสหภาพยโุ รป (CEFR) (EAQUALS BANK OF DESCRIPTORS - AS LEVELS) ระดบั A2 Listening การฟง โดยรวม การฟงคูส นทนา การฟงการ การฟงในฐานะ การฟง จาก การฟง ประกาศ (OVERALL (LISTEN TO อภิปราย ผูฟง / ผูช ม โทรทศั น (LISTEN TO LISTENING) INTERLOCUTOR (LISTEN IN (LISTEN IN หรือภาพยนตร (LISTEN TO ANNOUNCEMENTS) DISCUSSION) AUDIENCE TV, FILM) สามารถเขา ใจ - สามารถเขาใจ สามารถเขา ใจ - สามารถบอก - สามารถ A2 ขอมูล และ บทสนทนาที่ใช บทสน ทนา หัวเรื่อง และ เขาใจขอความ คําถามงา ย ๆ ในชวี ติ ประจาํ วัน ส้ัน ๆ ท่ผี ูพูด ใจความสาํ คญั ของ ส้นั ๆ งาย ๆ เกยี่ วกบั ครอบครวั อยางงา ย ๆ พดู อยา งชา ๆ การรายงานขา ว และชัดเจนท่ี ผคู น บาน งาน ท่คี ูสนทนา และชดั เจน ในประเดน็ ตา ง ๆ ใชในสนามบนิ และงานอดเิ รก พดู ชา ๆ เกยี่ วกบั ทางโทรทศั นได สถานีรถไฟ และชดั เจน ครอบครัว เชน “The train - สามารถเขาใจ งานอดิเรก และ to London บทสนทนา ชีวิตประจําวัน leaves at การใหความ ได 04.30 a.m.” ชวยเหลอื - สามารถเขา ใจ ใจความสาํ คญั ในประกาศตา ง ๆ ถา ผพู ดู พดู อยา ง ชัดเจน เชน การรายงาน สภาพอากาศ เปนตน 18 คมู่ อื การจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A2 Reading การอา นโดยรวม การอานเพอื่ หา การอา นขอ มลู การอา นคาํ สง่ั การอา น การอา น (OVERALL ขอมลู เบอ้ื งตน และขอ โตแ ยง คาํ ชแ้ี จงขน้ั ตอน วรรณกรรม เอกสารโตต อบ READING) (READ FOR (READ INFO & ORIENTATION) ARGUMENT) (READ (READ (READ INSTRUCTIONS) LITERATURE) CORRESPONDENCE) สามารถเขา ใจ สามารถหาขอมลู สามารถเขาใจ สามารถเขาใจ สามารถเขาใจ สามารถเขาใจ A2 บทอานสั้น ๆ ทีส่ าํ คัญใน ประเดน็ หลัก คําแนะนาํ ประเด็นสําคญั ขอความสนั้ ๆ และงา ย ๆ โฆษณา แผนพับ และรายงานสน้ั ๆ และขน้ั ตอน ทอ่ี านเก่ียวกับ งา ย ๆ ท่ปี ระกอบดวย ใบปลิว หนาเว็บ ขา วสน้ั ๆ งา ย ๆ การใช เชน เรือ่ งในชีวติ จากเพือ่ น ๆ คําศัพทท ี่คุนเคย (web page) ถา ผูอา นมี วิธใี ชโทรศัพท ประจําวัน เชน อเี มล แคตตาล็อก ความรูเกี่ยวกับ วธิ กี ดเงินจากตู ท่ีงา ย ๆ และ การสนทนา ตารางเวลา ฯลฯ เรอ่ื งน้ัน ๆ ATM หรือวิธีซ้ือ สั้น ๆ ที่มสี อ่ื ทางเว็บ อยบู าง เชน เครอื่ งดม่ื จากตู ประกอบ โปสการด หรือ ขา วเกีย่ วกบั อตั โนมตั ิ จดหมายส้นั ๆ กฬี า และบคุ คล ทม่ี ชี อ่ื เสยี ง ระดบั A2 Spoken Interaction การสนทนา การอภปิ ราย การแลกเปลย่ี นขอ มลู การตดิ ตอ กจิ ธรุ ะ การสนทนาทาง (CONVERSATION) (DISCUSSION) (INFORMATION (TRANSACTIONS) โทรศพั ท EXCHANGE) (TELEPHONING) - สามารถสอบถาม - สามารถรว ม - สามารถถามและ - สามารถสอ่ื สาร สามารถใชว ลี A2 ความรูส ึกของผอู ่นื อภปิ รายและ บอกทศิ ทางโดยใช ในสถานการณต า ง ๆ สาํ นวนตา ง ๆ ในสถานการณต า ง ๆ วางแผนกบั ผูอื่น แผนท่ี หรอื แผนผงั ในชวี ิตประจําวนั ในการรบั โทรศพั ท เชน “Are you เชน what to do, เชน Ordering แลกเปลี่ยนขอ มูล hungry?” or where to go and food and drink, งา ย ๆ และสนทนา “Are you ok ?” when to meet. shopping or using ทางโทรศพั ทสัน้ ๆ และบอกความรูส กึ post offices and กบั บคุ คลทีต่ นรูจ ัก ของตนเอง banks. เชน การนดั หมาย - สามารถถามและ - สามารถใชภ าษา พบกับบุคคล ตอบคาํ ถามงา ย ๆ ในการสอบถาม เกย่ี วกบั บา น ประเทศ เก่ยี วกบั ขอ มลู การทาํ งาน และ พน้ื ฐานในการเดนิ เวลาวาง ความชอบ ทาง รถประจําทาง และไมชอบ รถไฟแทก็ ซ่ี และการซ้อื ตัว๋ คูม่ ือการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ 19

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education การสนทนา การอภิปราย การแลกเปลย่ี นขอ มลู การตดิ ตอ กจิ ธรุ ะ การสนทนาทาง (CONVERSATION) (DISCUSSION) (INFORMATION (TRANSACTIONS) โทรศพั ท EXCHANGE) (TELEPHONING) - สามารถถามและ A2 ตอบคําถามเกี่ยวกบั เหตุการณที่ ผานมา เชน เวลา และสถานท่ขี อง งานเลย้ี ง ผูคน ในงานเล้ยี ง และ สงิ่ ทีเ่ กิดขึ้นทนี่ น่ั - สามารถเชอ้ื เชิญ และตอบรับ หรอื ปฏิเสธการเชื้อเชญิ อยางสภุ าพ - สามารถขอโทษ และตอบรบั การ ขอโทษ ระดบั A2 Spoken Production การบรรยาย การโตแยง การนาํ เสนอ (DESCRIPTION) (ARGUING A CASE) (PRESENTATIONS) - สามารถบรรยายเก่ียวกับตนเอง สามารถอธบิ ายเหตผุ ลวาชอบหรือ ถามเี วลาเตรยี มตวั สามารถให A2 ครอบครวั และบุคคลอน่ื ไมชอบส่ิงใด ขอ มลู พน้ื ฐานเกย่ี วกบั สง่ิ ทต่ี นเองรดู ี - สามารถบรรยายเกย่ี วกบั การศกึ ษา เชน ประเทศ ทมี กีฬา วงดนตรี ของตน งานทที่ าํ ในปจ จบุ นั หรอื ในอดตี ฯลฯ - สามารถบรรยายงานอดิเรก และความสนใจของตนเอง - สามารถบรรยายเกยี่ วกับบา น และสถานทอี่ ยขู องตนเอง - สามารถบรรยายสง่ิ ทท่ี าํ ในวนั หยดุ สดุ สปั ดาหหรอื ในวนั หยุดทผ่ี านมา ของตนเอง - สามารถพูดคุยเกยี่ วกบั แผนการ ในวนั หยุดสุดสัปดาห หรอื วันหยุด คร้งั ตอ ไปของตนเอง 20 คู่มือการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A2 Written Interaction การเขียนโดยรวม การเขียนเชิงสรา งสรรค การเขยี นรายงานขอ มลู การเขยี นเอกสารโตต อบ (OVERALL WRITING) (CREATIVE) และขอ โตแ ยง (REPORTS: (CORRESPONDENCE) INFO & ARGUMENT) สามารถเขียนเกี่ยวกับ สามารถเขยี นเกย่ี วกบั สง่ิ ของ สามารถกรอก - สามารถเขยี นขอ ความ A2 ตวั เองโดยใชภ าษางา ย ๆ เชน และบุคคลท่ีตนเองรูจ กั แบบสอบถาม ใหขอ มูล งา ย ๆ เชน การเชญิ หรอื ขอมูลเก่ียวกบั ครอบครัว เปนอยางดีดวยการใช เกย่ี วกบั วฒุ กิ ารศกึ ษา เปล่ยี นแปลงการเชิญ ของตนเอง โรงเรียน ภาษางา ย ๆ เชน รายละเอยี ด งาน ความสนใจ และ หรอื การนัดหมาย งานท่ีทาํ งานอดเิ รก ฯลฯ ของเพือ่ น สง่ิ ทีเ่ กิดข้ึน ทักษะตาง ๆ ของตนเอง - สามารถเขยี นขอ ความสน้ั ๆ ในแตละวนั ถึงเพ่ือน เพื่อขอหรือให ขา วสาร ขอ มลู สว นตวั เชน ขอ ความ หรือโปสการด ระดบั A2 Strategies การปฏิสัมพนั ธ การเทียบเคียง การแกไ ขขอบกพรอง (INTERACTION) (COMPENSATION) (REPAIR) - สามารถเร่มิ ตนการสนทนาได เม่ือไมสามารถนึกคาํ ศัพทออก - สามารถตรวจสอบงานเขยี น เพอื่ หาขอ ผดิ พลาด เชน ความสอดคลอ ง A2 - สามารถพดู ไดวาตนเองไมเขาใจ ในขณะท่ซี อื้ ของในรา นคา ระหวางประธานและคาํ กรยิ า ความสอดคลอ งของคาํ สรรพนาม และ อะไร และสามารถถามคําถาม สามารถชไี้ ปท่ีสินคา และ การใชคาํ นําหนานาม งาย ๆ เพ่อื ขอความชดั เจนได ขอความชว ยเหลอื ได ค่มู ือการจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ 21

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A2 Language Quality ขอบขายของ ความแมน ยาํ การเชอ่ื มโยงเรอ่ื ง ความถกู ตอ ง ความ ภาษาศาสตร คําศัพท (PRECISION) และความคดิ (ACCURACY) คลอ งแคลว สงั คม (RANGE) (LINKING TEXT (FLUENCY) (SOCIO- AND IDEAS) LINGUISTIC) มคี าํ ศพั ทมาก สามารถสื่อสาร สามารถ สามารถใชวลี สามารถทาํ ให สามารถพูด A2 เพียงพอท่จี ะ สิง่ ที่ตองการ เชอ่ื มโยง งาย ๆ ท่ีได ผอู ื่นเขา ใจ กบั ผอู ื่นอยา ง ส่อื สาร จะบอก ดว ย ความคิดโดย เรยี นรูสําหรบั โดยใชวลี สภุ าพในการ ในสถานการณ การแลกเปลีย่ น ใชคําเชอื่ ม สถานการณ ส้นั ๆ งาย ๆ สนทนาส้ัน ๆ ประจาํ วัน ขอ มลู ทง่ี า ย และ งา ย ๆ เชน เฉพาะ ไดอ ยาง แตบ อ ยครั้ง โดยใชค าํ ทกั ทาย อยา งงา ย ๆ ได ตรงประเดน็ “and”, “but”, ถูกตอ ง ทตี่ องหยุด และ การกลา วลา บางคร้งั ตองมี “because” มีขอผิดพลาด พยายามใชค าํ อน่ื ในชวี ติ ประจาํ วนั การปรบั เปลี่ยน บอยครง้ั เลก็ ๆ หรอื ตองพูดซ้าํ ขอ ความ นอย ๆ เชน ใหเขา ใจมากขึ้น ใหเ หมาะสม การใช tense ผดิ และการใช คาํ ลงทายผิด ระดบั A2+ Listening การฟงโดยรวม การฟงคูสนทนา การฟง การ การฟงในฐานะ การฟง จาก การฟงประกาศ (OVERALL (LISTEN TO อภปิ ราย ผูฟง / ผูชม โทรทัศน (LISTEN TO LISTENING) INTERLOCUTOR (LISTEN IN (LISTEN IN หรอื ภาพยนตร (LISTEN TO ANNOUNCEMENTS) DISCUSSION) AUDIENCE TV, FILM) สามารถเขาใจ สามารถเขา ใจ สามารถ สามารถเขา ใจ สามารถเขาใจ สามารถเขาใจ A2+ สิ่งทผ่ี ูพดู ในสิ่งทผี่ ูอ่นื แยกประเดน็ เนอ้ื เรอื่ งสั้น ๆ ใจความสาํ คญั ใจความสาํ คัญ พดู เพอื่ ตอบสนอง สนทนากบั ตนเอง การอภปิ ราย งา ย ๆ เม่อื ผพู ดู ของขา วทาง ของขอ ความ ความตอ งการทนั ที เก่ียวกับ ตา ง ๆ พดู อยางชา ๆ โทรทศั นไดทนั ประกาศ และ ในกรณีทผี่ พู ูด เรื่องตาง ๆ ทีพ่ ดู อยา งชา ๆ และชดั เจน ในกรณีที่ คาํ แนะนําท่ีงา ย พดู อยา งชา ๆ ในชีวิตประจําวัน และชดั เจน ผปู ระกาศพูด สัน้ และชัดเจน และชดั เจน ตราบเทา ทสี่ ามารถ อยา งชา และ เชน airport ขอความชว ยเหลอื ชดั เจน เปน ขาว gate ได ที่คนุ เคยและมี ภาพประกอบ ขา วเพื่อชวยใน การเขา ใจ 22 คู่มอื การจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A2+ Reading การอานโดยรวม การอานเพื่อหา การอา นขอ มลู การอา นคาํ สง่ั การอา น การอา น (OVERALL ขอ มลู เบือ้ งตน และขอ โตแ ยง คําช้ีแจงข้ันตอน วรรณกรรม เอกสารโตต อบ READING) (READ FOR (READ INFO & (READINSTRUCTIONS) (READ (READ ORIENTATION) ARGUMENT) LITERATURE) CORRESPONDENCE) สามารถเขา ใจ สามารถใช สามารถเขา ใจ สามารถเขาใจ สามารถเขาใจ สามารถเขาใจ A2+ บทอานท่ีสัน้ ๆ สมดุ โทรศพั ท และ ประเดน็ สําคัญ คาํ แนะนาํ ที่ เรื่องราวสั้น ๆ ขอ ความงา ย ๆ งา ย ๆ เปนเรื่อง หนงั สืออางอิง จากเร่ืองสั้นใน ใชภ าษางา ย ๆ ในชวี ิตประจาํ วัน ในจดหมาย ใกลตัวใชภาษา อ่ืน ๆ เพื่อคนหา หนังสือพิมพ เชน การใชโ ทรศพั ท ในประเดน็ ใกลต วั อิเลก็ ทรอนิกส ทพ่ี บบอย ๆ สง่ิ ทีต่ องการ / นิตยสาร สาธารณะ การใช ทเ่ี ขยี นดวย และจดหมาย ในชวี ิตประจาํ วัน และเขา ใจ โดยเฉพาะ เครอ่ื งจาํ หนา ยตว๋ั ภาษางา ย ๆ จากเพ่อื น หรอื ใจความสาํ คัญ เมื่อมรี ปู ภาพ สาธารณะ ขอ มลู เพื่อนรวมงาน ของขอ มลู นั้น ๆ ประกอบ เกย่ี วกับความ เชน การนดั หมาย เชน ราคา ขนาด ปลอดภัย และ เวลาไปรับ การบอกทิศทาง ประทานอาหาร กลางวนั / อาหารเยน็ หรือขอรองให มาทาํ งานแตเ ชา ระดบั A2+ Spoken Interaction การสนทนา การอภปิ ราย การแลกเปลย่ี นขอ มลู การตดิ ตอ กจิ ธรุ ะ การสนทนาทาง (CONVERSATION) (DISCUSSION) (INFORMATION (TRANSACTIONS) โทรศพั ท EXCHANGE) (TELEPHONING) - สามารถสนทนา - สามารถพดู ขอ - สามารถบอก - สามารถใชภาษา สามารถโทรศพั ท A2+ กับเพอื่ น ถาม-ตอบ และใหค วามคิดเห็น และปฏบิ ตั ติ าม ในชีวติ ประจําวนั หาเพอ่ื น คาํ ถามงา ย ๆ เกย่ี วกบั แสดงความเห็นดว ย ทศิ ทาง และ ในสถานการณต า ง ๆ เพือ่ แลกเปลยี่ น หวั ขอ ทคี่ นุ เคย (เชน และไมเ หน็ ดว ย คาํ แนะนาํ ทง่ี า ย ๆ เชน การจับจาย ขา วสาร พูดคยุ อากาศ งานอดิเรก แบบงาย ๆ เชน อธบิ ายวธิ กี าร ซอ้ื ของ การรบั ประทาน วางแผน และนัด สตั วเ ลย้ี ง ดนตรี กฬี า) - สามารถหารือ ไปยงั สถานทใ่ี ด อาหารนอกบา น และ หมายพบปะกนั - สามารถถามและ เกยี่ วกบั เรอื่ งตาง ๆ สถานทห่ี นง่ึ การตรวจสอบเวลา ตอบคาํ ถามงา ย ๆ ทจ่ี ะทาํ สถานท่ี ในการเดนิ ทาง เก่ยี วกับเหตุการณ ท่ีจะไป ฯลฯ - สามารถพดู ขอ ในอดตี (เชน ขอ มลู ทว่ั ๆ ไปเกย่ี วกบั เมือ่ วานนี้ การเดนิ ทาง การซอื้ ตวั๋ สปั ดาหก อ น และสามารถถา ยโอน ปก อน) ขอ มลู ทท่ี ราบเกย่ี วกบั สถานที่ เวลา ราคา ฯลฯ คมู่ ือการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ 23

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A2+ Spoken Production การบรรยาย การโตแ ยง การนาํ เสนอ การสรปุ ความ (DESCRIPTION) (ARGUING A CASE) (PRESENTATIONS) (SUMMARISING) สามารถสรปุ - สามารถบรรยายถงึ สถานที่ สามารถอธบิ ายและให - สามารถนําเสนอ ใจความสาํ คญั อยางยอ ๆ เกีย่ วกบั จากเรอื่ งทอ่ี า น A2+ ที่ชอบ เชน เมือง ท่ีพัก เหตผุ ลอยา งยอ ๆ ประเทศ ทมี กฬี า ในชว งวันหยดุ เก่ียวกบั วงดนตรี ฯลฯ - สามารถบอกส่งิ ที่ทาํ การกระทาํ และแผนการ เปน ประจาํ ทบี่ า น ทท่ี าํ งาน โดยมีเวลาเตรยี มตวั และในเวลาวา ง - สามารถบรรยายแผนการ การจดั การ และทางเลือก - สามารถบรรยายกจิ กรรม เหตกุ ารณ หรอื ประสบการณ ของตนเองในอดตี (เชน กจิ กรรม ทท่ี ําในวนั สดุ สัปดาห ในวันหยดุ ตา ง ๆ) - สามารถบรรยาย ประสบการณในการเรยี น หรือประสบการณใน การทํางาน ระดบั A2+ Written Interaction การเขียนโดยรวม การเขียนเชิงสรางสรรค การเขยี นรายงานขอ มลู การเขยี นเอกสารโตต อบ (OVERALL WRITING) (CREATIVE) และขอ โตแ ยง (REPORTS: (CORRESPONDENCE) INFO & ARGUMENT) สามารถเขยี นเกย่ี วกบั ชวี ติ สามารถเขยี นบรรยาย สามารถกรอกแบบสอบถาม - สามารถเขียนขอความ A2+ ประจาํ วันของตนเอง สั้น ๆ งาย ๆ เก่ียวกับ งาย ๆ จดหมาย และจดหมาย โดยใชป ระโยคงาย ๆ กจิ กรรม และประสบการณ หรอื แบบฟอรม รายงาน อิเล็กทรอนกิ สส้ัน ๆ เชน ผคู น สถานท่ี อาชีพ สว นตวั ในอดตี เชน วนั หยดุ ทเ่ี ปนมาตรฐาน แจง ขอ ตกลง หรอื ใหเ หตผุ ล โรงเรียน ครอบครวั ท่ีผานมา โดยใชป ระโยคสั้น ๆ เม่ือมีการเปลย่ี นแปลง งานอดิเรก ฯลฯ - สามารถเขยี นบรรยายสน้ั ๆ - สามารถเขียนจดหมาย เกย่ี วกบั เหตกุ ารณ หรอื จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส สนั้ ๆ ถงึ คนทร่ี จู กั เปน อยา งดี เพอ่ื เลา เกย่ี วกับสิ่งตา ง ๆ ในชวี ิตประจําวัน 24 คู่มอื การจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั A2+ Strategies การปฏิสัมพนั ธ การเทยี บเคยี ง การแกไ ขขอบกพรอง (INTERACTION) (COMPENSATION) (REPAIR) - สามารถเร่มิ ตนการสนทนา สามารถใชค าํ ที่งายขึน้ เมอ่ื ไม สามารถแกไ ขขอ ผดิ พลาดในโครงสรา ง สามารถนึกถึงคาํ ทตี่ องการใชได ประโยคงา ย ๆ ทไ่ี ดเรยี น ถามีเวลา A2+ ดําเนนิ การสนทนา หรอื จบการสนทนาส้ัน ๆ แบบงา ย ๆ และขอใหผ อู น่ื ชว ย (บอกคาํ ศัพท) และไดร บั ความชว ยเหลอื บา งเลก็ นอ ย - สามารถขอใหคูสนทนาพูดซํ้าใน ส่ิงที่พูดมาแลว ดวยวิธกี ารงาย ๆ ระดบั A2+ Language Quality ขอบขา ยของ ความแมน ยํา การเชอ่ื มโยงเรอ่ื ง ความถกู ตอ ง ความ ภาษาศาสตร คาํ ศพั ท (PRECISION) และความคดิ (ACCURACY) คลอ งแคลว สงั คม (RANGE) (LINKING TEXT (FLUENCY) (SOCIO- AND IDEAS) LINGUISTIC) สามารถรู สามารถสอ่ื สาร สามารถใช สามารถใช สามารถรว มการ สามารถสอื่ สาร A2+ คาํ ศพั ทเ พยี งพอ ประเดน็ สําคัญ คําเชอื่ มที่ โครงสราง สนทนาทยี่ าวขน้ึ กบั ผอู นื่ ในสงั คม ทจ่ี ะใชใ น ในสงิ่ ทีต่ อ งการ สาํ คัญท่ีสุด ประโยคงา ย ๆ เกยี่ วกับ อยา งงาย ๆ แต สถานการณ จะพูด แมวา เพอื่ เลา เรอื่ ง เชน ไดอ ยางถกู ตอง เร่อื งที่คุนเคย มปี ระสิทธภิ าพ และเรือ่ งตา ง ๆ บางครั้งตองใช “first” “then” ในสถานการณ แตบ อ ยครง้ั ที่ โดยการใชส าํ นวน ท่ีคุนเคยในชีวิต การอธิบายเพื่อ “after” และ ประจาํ วนั ทว่ั ๆ ไป ตองหยดุ และ ภาษาทั่ว ๆ ไป ประจําวนั สื่อสารใหง า ยขน้ึ “later” คิดเพ่อื สนทนา ทีง่ า ยทส่ี ดุ และ แตอ าจตอ ง ตอ หรอื เร่มิ ใหม ใชเปนประจํา คนหาคาํ ศัพท ดว ยวิธที ่แี ตก ที่ตอ งการใช ตา งจากเดิม คมู่ ือการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ 25

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก าํ หนดใหผ สู าํ เรจ็ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6 / ปวช.) ตอ งมคี วามรคู วามสามารถดา นภาษาองั กฤษ เมอ่ื เทยี บกบั กรอบ CEFR อยใู นระดบั B1 โดยแบง เปน ทกั ษะตา ง ๆ ดงั น้ี Listening, Reading, Spoken Interaction, Spoken Production, Written Interaction, Strategies และ Language Quality รายละเอยี ดคาํ อธบิ ายในตารางขา งลา งน้ี คาํ อธบิ ายกรอบอา งองิ ทางภาษาของสหภาพยโุ รป (CEFR) (EAQUALS BANK OF DESCRIPTORS - AS LEVELS) ระดบั B1 Listening การฟงโดยรวม การฟง คสู นทนา การฟง การ การฟงในฐานะ การฟงจาก การฟง ประกาศ (OVERALL (LISTEN TO อภปิ ราย ผฟู ง / ผชู ม โทรทัศน (LISTEN TO LISTENING) INTERLOCUTOR (LISTEN IN (LISTEN IN หรือภาพยนตร (LISTEN TO ANNOUNCEMENTS) DISCUSSION) AUDIENCE TV, FILM) สามารถเขาใจ สามารถเขา ใจ สามารถเขาใจ สามารถเขาใจ สามารถเขา ใจ สามารถเขา ใจ B1 ประเดน็ หลกั สิง่ ท่ีคสู นทนาพดู ประเด็นหลัก ถอ ยคาํ ในบท ประเด็นหลัก ขอ มลู ทางเทคนคิ คาํ พดู หรือถอย ในชีวติ ประจาํ วัน ของการอภปิ ราย สนทนาสน้ั ๆ ในรายการ เฉพาะท่ีงาย ๆ คาํ ทเี่ ปน มาตรฐาน แตบ างคร้ังตอง ในหวั ขอ ท่ี ที่มีความหมาย โทรทศั น เชน การปฏบิ ัติ เกย่ี วกับเรอ่ื งราว ขอใหคสู นทนา คุนเคยเกี่ยวกับ ชัดเจนโดยตรง ในหวั ขอ ทค่ี นุ เคย ตามคําแนะนํา ในชวี ติ ประจําวนั ใหค วามกระจา ง สถานการณ ในหวั ขอ ทค่ี นุ เคย เมือ่ รายการนน้ั ในการใชอ ปุ กรณ ทคี่ นุ เคย อาจจะ ในรายละเอียด ในชวี ติ ประจาํ วนั ถา ยทอดอยา ง ชนิดตาง ๆ ขอฟง ซาํ้ เพอื่ ความ เมอ่ื ผพู ดู พดู อยา ง ชา ๆ และชดั เจน ทค่ี นุ เคย ชดั เจน ชัดเจน แตบาง ครง้ั จําเปน ตอ งขอ รายละเอยี ดตา ง ๆ เพม่ิ เติม เพอ่ื ความเขาใจ 26 คมู่ อื การจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั B1 Reading การอานโดยรวม การอา นเพื่อหา การอานขอมูล การอา นคาํ สง่ั การอา น การอาน (OVERALL ขอมลู เบื้องตน และขอ โตแ ยง คาํ ชแ้ี จงขน้ั ตอน วรรณกรรม เอกสารโตตอบ READING) (READ FOR (READ INFO & ORIENTATION) ARGUMENT) (READ (READ (READ INSTRUCTIONS) LITERATURE) CORRESPONDENCE) สามารถเขาใจ สามารถสบื คน สามารถเขาใจ สามารถปฏิบัติ สามารถเขา ใจ สามารถเขาใจ B1 ประเด็นหลกั และเขา ใจขอ มลู ประเด็นหลัก ตามขนั้ ตอนงา ย ๆ นวนยิ ายที่ใช จดหมายสว นตวั ขอ เทจ็ จริงตา ง ๆ ที่ตองการ ในบทความสน้ั ๆ เชน ขน้ั ตอน ภาษางา ย ๆ และ เกยี่ วกับ ในเรอื่ งความสนใจ ในแผน พบั ใบปลวิ จากหนงั สอื พมิ พ ในการเลน เกม สามารถติดตาม เหตกุ ารณต า ง ๆ สว นตวั หรอื ความ และขอ ความสนั้ ๆ และนติ ยสาร การใชอุปกรณ เร่ืองสั้น ในการ ความรูส กึ และ สนใจในวชิ าชพี ได อนื่ ๆ ทอี่ ยใู นความ เก่ียวกบั ชนิดตาง ๆ ดําเนินเร่ืองที่มี ความตองการ อยา งดพี อทจี่ ะพดู สนใจ เหตกุ ารณป จ จบุ นั ที่คุน เคย หรอื โครงสรา งชดั เจน แลว สามารถเขยี น เก่ียวกบั และหวั ขอ ท่ี การทําอาหาร และมกี ารใช โตต อบได เรือ่ งเหลา น้ีได คุนเคย พจนานกุ รมบอ ย ๆ ในภายหลัง ระดบั B1 Spoken Interaction การสนทนา การอภิปราย การแลกเปลย่ี นขอ มลู การตดิ ตอ กจิ ธรุ ะ การสนทนาทาง (CONVERSATION) (DISCUSSION) (INFORMATION (TRANSACTIONS) โทรศพั ท EXCHANGE) (TELEPHONING) - สามารถเรม่ิ สนทนา - สามารถเสนอ - สามารถคน ควา - สามารถจดั การ สามารถสนทนา B1 ดําเนินการสนทนา หรือขอความคิดเหน็ และถา ยโอน กบั สง่ิ ทไ่ี มคาดคิด อยา งงาย ๆ และจบการสนทนา สวนบุคคล ในการ ขอ เทจ็ จรงิ ทเ่ี ปน ซึ่งอาจเกดิ ข้นึ ในชว ง ทางโทรศัพทก บั งาย ๆ ในหัวขอ ที่ อภิปรายแบบไมเปน ขอ มลู ไมซ บั ซอ น วนั หยดุ เชน การพบ คนท่ีรจู กั คุนเคยหรอื สนใจ ทางการกบั เพ่ือน - สามารถขอและ ทนั ตแพทย หรอื ซอ ม - สามารถแสดงออก แสดงความเห็นดวย ปฏบิ ตั ติ ามคาํ แนะนาํ จักรยาน และโตตอบตอ และไมเหน็ ดว ย อยา งละเอยี ด - สามารถสนทนา ความรสู กึ และทศั นคติ อยา งสภุ าพ นดั หมายดว ยตนเอง เชน ความประหลาดใจ -สามารถชว ยแกป ญ หา หรอื ทางโทรศพั ท เชน ความสุข ความเศรา ไดต รงประเด็น และ การจองตว๋ั เครอ่ื งบนิ ความสนใจ สามารถแลกเปล่ียน โรงแรม รถเชา และไมสนใจ ความเหน็ กบั ผอู นื่ ได ภตั ตาคาร โรงภาพยนตร คู่มือการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ 27

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั B1 Spoken Production การบรรยาย การโตแยง การนาํ เสนอ การสรปุ ความ (DESCRIPTION) (ARGUING A CASE) (PRESENTATIONS) (SUMMARISING) - สามารถบรรยาย สามารถอธิบายส้ัน ๆ สามารถนําเสนอเรื่องราว สามารถสรปุ ใจความหลกั B1 เรอื่ งทค่ี นุ เคยตามความสนใจ และใหเหตุผลประกอบ สน้ั ๆ ท่เี ตรยี มมาลวงหนา และเช่ือมโยงเนือ้ หา อยา งหลากหลาย ความคดิ เหน็ ในหวั ขอที่คนุ เคย เชน My ในบทอานสนั้ ๆ - สามารถเลารายละเอยี ด country และตอบคาํ ถามได เก่ียวกบั ประสบการณ อยา งชัดเจน ความรสู กึ ของตนเอง ระดบั B1 Written Interaction การเขยี นโดยรวม การเขยี นเชงิ สรางสรรค การเขยี นรายงานขอ มลู การเขยี นเอกสารโตต อบ (OVERALL WRITING) (CREATIVE) และขอ โตแ ยง (REPORTS: (CORRESPONDENCE) INFO & ARGUMENT) สามารถเขยี นขอ ความสน้ั ๆ สามารถเขยี นขอ ความงา ย ๆ สามารถเขยี นรายงานสน้ั ๆ - สามารถเขียนจดหมาย B1 เขา ใจงา ย ในหวั ขอ ทค่ี นุ เคย เก่ยี วกบั ประสบการณ ตามรปู แบบมาตรฐาน อเิ ลก็ ทรอนกิ ส หรอื ขอ ความ หรือเหตุการณ เชน ถา ยโอนขอ เทจ็ จรงิ ในชีวติ โตต อบกบั เพอ่ื น หรอื ผรู ว ม การเดนิ ทาง และการบรรยาย ประจาํ วันไปสูเรือ่ งราว งานเก่ยี วกับขา วสาร เพอื่ ความรสู ึก ในบริบทของตนเอง ขอและใหข อ มลู อยา งงา ย ๆ - สามารถเขยี นจดหมายสน้ั ๆ อยา งเปนทางการเพื่อขอ และใหข อ มูลทวั่ ไป อยางงา ย ๆ ระดบั B1 Strategies การปฏสิ มั พนั ธ การเทยี บเคียง การแกไขขอ บกพรอ ง (INTERACTION) (COMPENSATION) (REPAIR) - สามารถขอใหผ อู น่ื ชแ้ี จงหรอื อธบิ าย สามารถเลอื กใชคาํ ศพั ทอน่ื ทม่ี ี - สามารถขอคํายืนยันวาโครงสราง B1 ใหร ายละเอียดในส่งิ ท่ีเพ่งิ กลา วถึง ความหมายคลายคลงึ กนั เมอ่ื ไม ประโยคทใี่ ชถกู ตอ ง และหากมี - สามารถทบทวนคาํ พูด ในสิง่ ท่ี สามารถนกึ คดิ คาํ ศัพทไ ด รวมทง้ั ขอ ผดิ พลาดพนื้ ฐานบางอยา งกส็ ามารถ ผพู ดู ไดก ลา วไว เพอ่ื เปน การยนื ยนั วา ขอใหค ูสนทนาชว ยแกไ ขในส่งิ ท่ี แกไ ขได ถามีเวลา ผพู ดู และผฟู ง มคี วามเขา ใจทตี่ รงกนั พดู ไมถกู 28 คูม่ ือการจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั B1 Language Quality ขอบขา ยของ ความแมนยํา การเชอ่ื มโยงเรอ่ื ง ความถกู ตอ ง ความ ภาษาศาสตร คาํ ศพั ท (PRECISION) และความคดิ (ACCURACY) คลองแคลว สงั คม (RANGE) (FLUENCY) (SOCIO- (LINKING TEXT AND IDEAS) LINGUISTIC) สามารถรคู าํ ศพั ท เม่อื อธิบาย สามารถเชอื่ มโยง สามารถปฏบิ ตั ติ น สามารถดําเนนิ สามารถใช B1 เพยี งพอ บางส่ิงบางอยาง กลมุ ของวลี ไดเหมาะสมกบั การสนทนาได สาํ นวนงา ย ๆ ในการพดู คยุ สามารถทําให ใหเปนประเดน็ กาลเทศะ อยางตอเนื่อง ในชวี ติ ประจาํ วนั เกย่ี วกบั ครอบครวั บุคคลอืน่ เขา ใจ ทมี่ คี วามเชอ่ื มโยง แตบางครั้งตอ ง ไดอยางสุภาพ งานอดิเรก ในประเด็น ตามลําดบั หยุดคดิ และ และเหมาะสม ความสนใจ ท่ีสาํ คญั ท่ีสดุ แกไขสิ่งที่กาํ ลัง กับกาลเทศะ การทํางาน ที่ผพู ดู ตอ งการ สนทนา การเดนิ ทาง จะสอ่ื ความ ขาวสาร และเหตกุ ารณ ปจ จบุ ัน ระดบั B1+ Listening การฟง โดยรวม การฟง คูสนทนา การฟง การ การฟง ในฐานะ การฟง จาก การฟง ประกาศ (OVERALL (LISTEN TO อภปิ ราย ผูฟง / ผชู ม โทรทศั น (LISTEN TO LISTENING) INTERLOCUTOR (LISTEN IN (LISTEN IN หรอื ภาพยนตร (LISTEN TO ANNOUNCEMENTS) DISCUSSION) AUDIENCE TV, FILM) สามารถเขา ใจ สามารถเขาใจ สามารถ สามารถเขา ใจ สามารถเขาใจ สามารถเขาใจ B1+ ขอ มูลทต่ี รงไป บทสนทนา แยกประเดน็ คาํ บรรยายหรือ รายการโทรทศั น ขอ มลู ในประกาศ ตรงมาเก่ียวกับ ในชวี ิตประจําวนั การอภปิ ราย พดู คยุ ในสาขาวชิ า ในรายการท่ี และขอ ความอนื่ ๆ ชวี ิตประจําวนั ในสาํ เนยี งทคี่ นุ เคย ตา ง ๆ ของตัวเอง สนใจ เมื่อผพู ดู ทเ่ี ปน ขอ เทจ็ จรงิ การศึกษาหรอื ที่พูดอยา งชา ๆ ในเร่ืองท่ีคุนเคย พูดอยา งชดั เจน ทีบ่ ันทึกไว ทเ่ี กย่ี วของกบั และชัดเจน และมกี ารนาํ เสนอ เมอื่ ผพู ดู พดู ดว ย สิง่ ท่คี ุนเคย โครงสราง ภาษาทมี่ าตรฐาน โดยสามารถระบุ อยา งชดั เจน และชัดเจน ขอ ความทว่ั ไป และรายละเอียด ที่เฉพาะเจาะจง เมอื่ ผพู ดู พดู อยา ง ชดั เจน ในสาํ เนยี ง ที่คุนเคย คู่มอื การจัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 29

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั B1+ Reading การอานโดยรวม การอา นเพอ่ื หา การอา นขอ มลู การอา นคาํ สง่ั การอา น การอาน (OVERALL ขอ มลู เบอ้ื งตน และขอ โตแ ยง คาํ ชแ้ี จงขน้ั ตอน วรรณกรรม เอกสารโตตอบ READING) (READ FOR (READ INFO & (READ (READ (READ ORIENTATION) ARGUMENT) INSTRUCTIONS) LITERATURE) CORRESPONDENCE) สามารถเขา ใจ สามารถอา นเรว็ ๆ สามารถสรปุ สามารถเขา ใจ สามารถอา น สามารถเขา ใจ B1+ ประเด็นหลกั แลว ระบุขอมูล ประเด็นสาํ คัญ คาํ แนะนาํ ทช่ี ดั เจน นวนิยายงาย ๆ ประเดน็ สาํ คญั ในขอ ความ ขอความ จากบทอานที่ เชน วธิ กี ารเลน เกม รวมทงั้ เรอื่ งราวทม่ี ี ในจดหมาย หรอื หวั ขอ ทตี่ รงกบั ขอ เทจ็ จรงิ เปนการโตแ ยง การใชย า หรอื การ โครงสรา งทช่ี ดั เจน ทางการสัน้ ๆ ความสนใจสว นตวั ท่ีเปนประโยชน หรอื ขดั แยง กัน ติดต้ังซอฟตแวร โดยมีการใช เกยี่ วกับ หรอื วิชาชีพ จากนิตยสาร และคอมพวิ เตอร พจนานุกรมบาง ความสนใจ แผนพับ สวนตวั และ หรอื เว็บไซต วชิ าชพี ทเ่ี ขยี นไว อยา งชดั เจน โดย ใชพ จนานกุ รมได ระดบั B1+ Spoken Interaction การสนทนา การอภปิ ราย การแลกเปลย่ี นขอ มลู การตดิ ตอ กจิ ธรุ ะ การสนทนาทาง (CONVERSATION) (DISCUSSION) (INFORMATION (TRANSACTIONS) โทรศพั ท EXCHANGE) (TELEPHONING) - สามารถเรมิ่ สนทนา - สามารถแสดง - สามารถใหค าํ แนะนาํ - สามารถรองทกุ ข - สามารถสนทนา B1+ ในหวั ขอ ท่คี ุนเคย ความคดิ เหน็ ตอ หวั ขอ ในการทาํ สง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ จากปญ หาทเี่ กดิ จาก ใหนานขึ้นกับผูค น หรอื ความสนใจ ทเ่ี ปน นามธรรม เชน เชน การทาํ อาหาร รานคาหรือโรงแรม ทรี่ จู กั เปน การสว นตวั สว นตัว และชวย ภาพยนตร ดนตรี การซอ้ื ตว๋ั จากเครอ่ื ง - สามารถสนทนา ใหก ารสนทนาดาํ เนนิ บรรยายความรูสึกที่ ขายต๋วั หรือการใช ทางโทรศพั ท ตอ ไป โดยแสดงออก มีตอหัวขอเหลานั้น ซอฟตแ วร ในเรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ชวี ติ และโตต อบตอ และถามความคดิ เหน็ - สามารถใหเ หตผุ ล ประจาํ วนั เชน สงั่ หรอื คาํ แนะนาํ ของผอู ืน่ ตอ ปญ หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ยกเลกิ คาํ สง่ั การจอง ความคิดเห็น - สามารถเปรยี บเทยี บ การนดั หมาย รวมทัง้ ทัศนคติ อารมณ ความเหมอื นและความ การขอยกเลกิ การจอง ความรสู กึ เปนตน แตกตา งของทางเลอื ก และการนดั หมาย ในการอภปิ รายในสง่ิ ทท่ี าํ และสถานทท่ี ไี่ ป เปน ตน 30 คู่มือการจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั B1+ Spoken Production การบรรยาย การโตแยง การนาํ เสนอ การสรปุ ความ (DESCRIPTION) (ARGUING A CASE) (PRESENTATIONS) (SUMMARISING) สามารถสรุปขอ มูล - สามารถบรรยายเหตกุ ารณ สามารถพัฒนาการโตแยง สามารถนาํ เสนอผลงาน เรื่องใกลตัวที่ไมใชกิจวัตร B1+ ทเ่ี กดิ ขึ้นโดยบงั เอิญ อยางมีเหตผุ ล ที่เตรยี มมาลว งหนา ประจาํ วนั จากแหลง ขอ มลู หรอื อบุ ตั เิ หตุ ไดอ ยา งชดั เจน และตอบคําถามได ทห่ี ลากหลายและนาํ เสนอ ตรงประเดน็ ตอคนอ่นื ได - สามารถแสดงความรสู กึ เกย่ี วกบั ประสบการณ ของตนเองและอธบิ ายวา ทาํ ไมรูสกึ เชนนั้น ระดบั B1+ Written Interaction การเขียนโดยรวม การเขียนเชิงสรา งสรรค การเขยี นรายงานขอ มลู การเขยี นเอกสารโตต อบ (OVERALL WRITING) (CREATIVE) และขอ โตแ ยง (REPORTS: (CORRESPONDENCE) INFO & ARGUMENT) สามารถเขยี นเกยี่ วกบั หวั ขอ สามารถเขยี นบรรยาย สามารถเขียนรายงาน - สามารถเขียนจดหมาย B1+ ทคี่ นุ เคยไดห ลากหลาย และ รายละเอยี ดเก่ยี วกบั เก่ยี วกบั หวั ขอ ท่คี ุนเคย และบรรยายประสบการณ ดเี พยี งพอทจี่ ะใหผ อู นื่ ตดิ ตาม ประสบการณ ความใฝฝ น การเปรียบเทยี บและ และความรสู กึ ทางจดหมาย เร่อื งราว หรอื เหตกุ ารณท จี่ นิ ตนาการ แสดงความคิดเห็น อิเล็กทรอนิกสไ ด รวมทัง้ ความรสู ึก ที่แตกตางกนั - สามารถเขียนจดหมาย ท่ีเปนรูปแบบมาตรฐาน เกย่ี วของกบั เรอื่ งทส่ี นใจ คูม่ อื การจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 31

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ระดบั B1+ Strategies การปฏิสมั พันธ การเทยี บเคยี ง การแกไ ขขอบกพรอ ง (INTERACTION) (COMPENSATION) (REPAIR) - สามารถรว มวางแผน อภิปราย - สามารถเลอื กใชค าํ ศพั ทห รอื ประโยค - สามารถพูดซาํ ในรปู แบบการพดู B1+ ในประเด็นที่คุนเคย โดยการใช มาบรรยายส่ิงทไ่ี มส ามารถนึกคดิ ท่หี ลากหลายหากพบวา ผูฟง ไมเ ขาใจ โครงสรางประโยคท่ีถกู ตอ ง คาํ ศัพทเฉพาะเจาะจงได - สามารถแกไขขอ บกพรอ งที่เกิดจาก และเหมาะสม - สามารถอธิบายความหมายของ การพดู ไดเ อง เมื่อมีผฟู งแจงวา มี - สามารถสรปุ ประเดน็ สาํ คญั ในการ คาํ ศพั ทด ว ยคาํ อนื่ ๆ เมอื่ ไมส ามารถ ขอ ผิดพลาดเกิดขน้ึ จากการพูด รวมวางแผนหรอื อภิปรายเพื่อให ใชค าํ ในความหมายนนั้ ได เชน a big การวางแผนหรอื การอภปิ ราย car for transport things = truck ดาํ เนนิ ตอไป ระดบั B1+ Language Quality ขอบขา ยของ ความแมนยํา การเชอ่ื มโยงเรอ่ื ง ความถกู ตอ ง ความ ภาษาศาสตร คําศัพท (PRECISION) และความคดิ (ACCURACY) คลองแคลว สังคม (RANGE) (LINKING TEXT (FLUENCY) (SOCIO- AND IDEAS) LINGUISTIC) มวี งขอบเขต สามารถอธิบาย สามารถใช สามารถสอ่ื สารได สามารถนาํ เสนอ ใชภ าษาทไี่ ม B1+ ของคําศัพท ประเด็นสําคัญ คําเช่ือม อยา งถกู ตอ ง ไดอ ยา งตอเนือ่ ง ซับซอ นในการ เพียงพอที่ ทเ่ี กย่ี วของกบั เพื่อเชือ่ มท้งั และสมเหตผุ ล และมปี ระสทิ ธภิ าพ มปี ฏสิ มั พนั ธก บั จะอธิบาย ความคดิ ระหวาง ในบรบิ ททค่ี นุ เคย โดยไมตองไดรับ ผอู ่ืนใน สถานการณ ขอปญ หา ประโยคและ แมว า จะมี ความชวยเหลือ สถานการณต า ง ๆ ที่ไมคาดคิด ขอ โตแยง ยอหนาได ผลกระทบหรอื แมบางครั้งอาจมี ไดเหมาะสมกับ และไมสามารถ อยางชัดเจน บางคร้ังอาจพบ อปุ สรรคจาก การชะงักบาง กาลเทศะ คาดการณได และสมเหตสุ มผล ความบกพรอ ง ภาษาแมบ า ง เพ่ือการวางแผน ลวงหนา บาง กต็ าม และแกไขในสิ่งที่ แสดงความคดิ เหน็ กําลงั พูด ในเชงิ รปู ธรรมหรอื วฒั นธรรม ตลอดจนเรอื่ งราว ในชีวิตประจําวัน เชน ดนตรี ภาพยนตร 32 คูม่ ือการจัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ความสอดคลองระหวาง CEFR กับหลกั สูตรแกนกลางฯ กลมุ สาระการเรียนรู ภาษาตา งประเทศ ในดา นคณุ ภาพผเู รยี นภายใตสาระและมาตรฐานการเรยี นรู โดยยดึ แนวการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร (CLT) ตามทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก าํ หนดนโยบายการปฏริ ปู การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ ในระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ใหใ ชก รอบ CEFR เปน กรอบความคดิ หลกั ในการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ ของประเทศไทย ทง้ั การกาํ หนดเปา หมายการเรยี นรู การออกแบบหลกั สตู ร การพฒั นาการเรยี นการสอน และการวดั ประเมนิ ผล ดงั นน้ั ในการจดั การเรยี นการสอน ครคู วรวเิ คราะหค วามสอดคลอ งระหวา งคณุ ภาพ ผเู รียน มาตรฐานการเรยี นรตู ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กับกรอบ CEFR ดงั ตวั อยา ง ตารางการวเิ คราะหค วามสอดคลอ งระหวา งหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตา งประเทศกบั กรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป (CEFR) ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 สาระ และมาตรฐานการเรยี นรู กรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรป หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 (CEFR) สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร A1 มาตรฐาน ต 1.2 • Spoken Interaction มีทักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูล การสนทนา (Conversation) ขา วสาร แสดงความรสู กึ และความคดิ เหน็ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ - สามารถทกั ทายและกลา วลางา ย ๆ ได ต 1.2 ป.6/1 - สามารถถามทกุ ข- สุขได พดู /เขียนโตตอบการส่ือสารระหวา งบคุ คล - สามารถโตต อบเพอ่ื ถามและตอบคาํ ถามงา ย ๆ และสามารถ สาระการเรยี นรแู กนกลาง ขอพูดซา้ํ แกไขคาํ พดู และขอความชวยเหลือได บทสนทนาทใี่ ชใ นการทกั ทาย กลา วลา ขอโทษ ขอบคณุ - สามารถถามและตอบคําถามสวนตวั งาย ๆ เชน ชมเชย พูดแทรกอยา งสภุ าพ What’s your name? How old are you? ถา คูส นทนาพูดชา ๆ และเอือ้ ตอ การเขาใจ • Strategies การปฏิสมั พันธ (Interaction) - สามารถพดู ตดิ ตอกบั ผอู ่ืนดว ยคํา วลี หรอื ภาษาทาทางงา ย ๆ - สามารถบอกไดวาไมเ ขา ใจ - สามารถขอใหค ูสนทนาพดู ซ้ํา • Language Quality ภาษาศาสตรส ังคม (Socio-linguistic) สามารถใชค ําสภุ าพในการแนะนําตนเอง คาํ ทักทาย คาํ อําลา เชน please, thank you, sorry ได คมู่ อื การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่ 33

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education (ตวั อยา ง) ตารางการวเิ คราะหค วามสอดคลอ งระหวา งหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตา งประเทศกบั กรอบ CEFR ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 สาระ และมาตรฐานการเรียนรู กรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรป หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 (CEFR) สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสือ่ สาร A2 มาตรฐาน ต 1.2 • Spoken Interaction มีทักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูล การสนทนา (Conversation) ขา วสาร แสดงความรสู กึ และความคดิ เหน็ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ - สามารถสอบถามความรูสกึ ของผูอ่ืนในสถานการณตาง ๆ ต 1.2 ม.3/1 เชน “Are you hungry?” or “Are you ok ?” สนทนาและเขยี นโตต อบขอ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง เรอ่ื งตา ง ๆ และบอกความรสู ึกของตนเอง ใกลตัว สถานการณ ขาว เรือ่ งทอี่ ยใู นความสนใจของสังคม - สามารถถามและตอบคาํ ถามงา ย ๆ เกยี่ วกบั บา น ประเทศ และสือ่ สารอยา งตอเนื่องและเหมาะสม การทํางาน และเวลาวา ง ความชอบและไมช อบ สาระการเรียนรูแ กนกลาง - สามารถถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเหตุการณที่ผานมา ภาษาทใ่ี ชในการสือ่ สารระหวา งบคุ คล เชน การทกั ทาย เชน เวลาและสถานทีข่ องงานเลีย้ ง ผคู นในงานเล้ยี ง และ การลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การพดู แทรกอยา งสุภาพ สิ่งที่เกิดขึน้ ท่นี ัน่ การชกั ชวน การแลกเปลยี่ นขอ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง เรอื่ งใกลต วั - สามารถเช้อื เชิญและตอบรบั หรือปฏิเสธการเชื้อเชญิ สถานการณต า ง ๆ ในชวี ติ ประจาํ วนั การสนทนา เขยี นขอ มลู อยา งสภุ าพ เกี่ยวกับตนเองและบุคคลใกลตัว สถานการณ ขาว เรื่อง - สามารถขอโทษ และตอบรบั การขอโทษ ทอี่ ยใู นความสนใจในชวี ิตประจําวัน การติดตอ กจิ ธุระ (Transaction) - สามารถสอ่ื สารในสถานการณต า ง ๆ ในชวี ติ ประจาํ วนั เชน Ordering food and drink, shopping or using post offices and banks. • Strategies การปฏสิ มั พนั ธ (Interaction) - สามารถเริ่มตนการสนทนาได - สามารถพูดไดวาตนเองไมเขาใจอะไร และสามารถถาม คําถามงา ย ๆ เพอ่ื ขอความชดั เจนได การเทียบเคยี ง (Compensation) เม่ือไมสามารถนึกคําศัพทออกในขณะที่ซ้ือของในรานคา สามารถชีไ้ ปทสี่ ินคา และขอความชวยเหลือได • Language Quality ขอบขายของคาํ ศพั ท (Range) มีคาํ ศัพทม ากเพียงพอท่จี ะสือ่ สารในสถานการณประจําวนั อยางงา ย ๆ ได ความแมนยาํ (Precision) สามารถสื่อสารสิ่งท่ีตองการจะบอกดวยการแลกเปล่ียน ขอมูลท่ีงายและตรงประเด็น บางครั้งตองมีการปรับเปลี่ยน ขอความใหเ หมาะสม 34 คมู่ อื การจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education สาระ และมาตรฐานการเรยี นรู กรอบอา งองิ ความสามารถทางภาษาของสหภาพยโุ รป หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 (CEFR) การเชอ่ื มโยงเรอ่ื งและความคดิ (Linking text and ideal) สามารถเช่ือมโยงความคิดโดยใชคําเชือ่ มงา ย ๆ เชน “and”, “but”, “because” ความถูกตอง (Accuracy) สามารถใชวลงี า ย ๆ ท่ีไดเรยี นรสู าํ หรบั สถานการณเฉพาะ ไดอ ยา งถูกตอง มีขอ ผดิ พลาดบอยคร้งั เล็ก ๆ นอ ย ๆ เชน การใช tense ผดิ และการใชคาํ ลงทา ยผิด ความคลองแคลว (Fluency) สามารถทําใหผูอ นื่ เขา ใจ โดยใชว ลสี นั้ ๆ งาย ๆ แตบ อ ยครง้ั ทตี่ อ งหยดุ และพยายามใชค าํ อนื่ หรอื ตอ งพดู ซา้ํ ใหเ ขา ใจมากขน้ึ ภาษาศาสตรสงั คม (Socio-linguistic) สามารถพูดกับผอู นื่ อยางสภุ าพในการสนทนาสัน้ ๆ โดยใช คําทักทาย การกลาวลา ในชีวิตประจําวนั จากตารางแสดงใหเ หน็ วา CEFR จะชว ยใหค รผู สู อนมองเหน็ แนวทาง CEFR การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทเ่ี หมาะสมกบั ระดบั ความสามารถของผเู รยี น ท่กี ําหนดไวในแตละระดับ เพราะคําอธิบายตามกรอบของ CEFR มีการระบุ พฤติกรรมท่ีบงบอกความสามารถในทักษะทางภาษาแตละทักษะของผูเรียน มกี ารกาํ หนด Strategies ซง่ึ นกั เรยี นจาํ เปน ตอ งใชเ พอ่ื การสอ่ื สารและเพอ่ื ความ อยรู อด เม่อื เกิดปญหาในการส่อื สารนักเรียนมีวิธีแกปญหาโดยใชคําศัพทอ่นื ทใ่ี กลเ คยี ง หรอื การแสดงทา ทางเพอ่ื ชว ยใหก ารสอ่ื สารดาํ เนนิ ตอ ไป นอกจากน้ี ยงั มี Language Quality เพอ่ื กาํ หนดขอบขา ยคาํ ศพั ท ความแมน ยาํ การเชอ่ื มโยง เร่ืองกับความคิด ความถูกตอง ความคลองแคลว และภาษาท่ีเหมาะสม ในสงั คม ทกั ษะเหลา นเ้ี ปน ทกั ษะทจ่ี าํ เปน ตอ ความอยรู อดของการใชช วี ติ ในสงั คมทใ่ี ช ภาษาองั กฤษในการสอ่ื สาร จะเหน็ ไดว า กรอบมาตรฐาน CEFR ใหค วามชดั เจน ในการสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร โดยทค่ี ณุ ภาพของผเู รยี นยงั คงเปน ไป ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คูม่ อื การจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 35

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education บทที่ 3 การสอนภาษาอังกฤษเพ�่อการสื่อสาร บทท่ี 3 คมู่ ือการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education บทที่ 3 การสอนภาษาองั กฤษเพ่อ� การสอ่ื สาร ในปจ จบุ นั ประเทศไทยจาํ เปน ตอ งพฒั นาขดี ความสามารถของบคุ คลเพอ่ื เปน กาํ ลงั สาํ คญั ในการพฒั นา ประเทศใหเ จรญิ รดุ หนา กา วทนั ตอ กระแสความเปลย่ี นแปลงของสงั คมโลก โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การเขา สเู สรี ประชาคมอาเซยี น ทก่ี าํ หนดใหภ าษาองั กฤษเปน ภาษาสากลทใ่ี ชใ นการสอ่ื สารระหวา งกลมุ ประเทศอาเซยี น นน่ั หมายถงึ ผทู ส่ี ามารถสอ่ื สารดว ยภาษาองั กฤษยอ มไดเ ปรยี บในทกุ ทาง ภาษาองั กฤษจงึ เขา มามคี วามสาํ คญั ตอ การดาํ รงชวี ติ ประจาํ วนั ของคนไทยมากขน้ึ ประกอบกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก าํ หนดนโยบายการปฏริ ปู การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื ใหผเู รียนมคี วามรคู วามสามารถในการใชภ าษาอังกฤษเปน เครอ่ื งมอื ใน การเขา ถงึ องคค วามรแู ละกา วทนั โลก รวมถงึ พฒั นาตนเองเพอ่ื นาํ ไปสกู ารเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศไทยตอ ไป ดงั นน้ั การจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื ชว ยใหผ เู รยี นสามารถใชภ าษาองั กฤษ ในการส่อื สารไดจึงเปนเร่อื งสําคัญย่งิ โดยเฉพาะครูผสู อนตองจัดการเรียนการสอนใหผเู รียนไดฝกทักษะ การใชภ าษาใหม ากทส่ี ดุ เพอ่ื ใหส ามารถใชภ าษาเปน เครอ่ื งมอื ในการตดิ ตอ สอ่ื สารกบั ผอู น่ื ไดต ามความตอ งการ ในสถานการณต า ง ๆ ทง้ั ในชน้ั เรยี นและชวี ติ ประจาํ วนั และแนวทางหนง่ึ ทจ่ี ะชว ยใหผ เู รยี นไดใ ชภ าษาเพอ่ื การสอ่ื สาร ในชวี ติ ประจาํ วนั ไดจ รงิ นน้ั คอื การสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร (Communicative Language Teaching : CLT) ความหมายของการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร (Communicative Language Teaching : CLT) การสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร (Communicative Language Teaching : CLT) เปน แนวคดิ ในการ สอนภาษาทม่ี งุ เนน ความสาํ คญั ของตวั ผเู รยี น ใหผ เู รยี นไดใ ชภ าษาองั กฤษเพอ่ื ใชใ นการสอ่ื สารในชวี ติ ประจาํ วนั ไดจ รงิ มกี ารจดั ลาํ ดบั การเรยี นรเู ปน ขน้ั ตอนตามกระบวนการใชค วามคดิ ของผเู รยี น ซง่ึ เชอ่ื มระหวา งความรู ทางภาษา ทกั ษะทางภาษา และความสามารถในการสอ่ื สาร เพอ่ื ใหผ เู รยี นสามารถนาํ ความรดู า นภาษาไปใช ในการสอ่ื สาร ดงั นน้ั ในการจดั การเรยี นการสอน ครผู สู อนตอ งคาํ นงึ ถงึ การใหผ เู รยี นไดส อ่ื สารในชวี ติ จรงิ กจิ กรรมและภาระงานตา ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การสอ่ื สารจรงิ สอ่ื ทใ่ี ชก เ็ ปน สอ่ื จรงิ แตก ไ็ มไ ดล ะเลยความรดู า น ไวยากรณ เมอ่ื เกดิ ความผดิ พลาดทางดา นไวยากรณเ พยี งเลก็ นอ ย แตย งั สามารถสอ่ื สารได ครผู สู อนไมค วร ขดั จงั หวะโดยการแกไ ขใหถ กู ตอ งทนั ที ควรแกไ ขเมอ่ื ความผดิ พลาดนน้ั ทาํ ใหเ กดิ ความไมเ ขา ใจหรอื สอ่ื สาร ไมป ระสบความสาํ เรจ็ เทา นน้ั ทง้ั นเ้ี พอ่ื ทาํ ใหผ เู รยี นมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ การใชภ าษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร (Davies & Pearse, 2000 ; Brown, 2001 ; Richard, 2006) คเนล และสเวน (Canale and Swain, 1980) ไดแ ยกองคป ระกอบของความสามารถในการสอ่ื สารไว 4 องคป ระกอบ ดงั น้ี 1. ความสามารถทางดา นไวยากรณห รอื โครงสรา ง (Linguistic competence and Grammatical competence) หมายถงึ ความรดู า นภาษา ไดแ ก ความรเู กย่ี วกบั คาํ ศพั ท โครงสรา งของคาํ ประโยค ตลอดจน การสะกดและการออกเสยี ง คมู่ ือการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 37

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education 2. ความสามารถดา นสงั คม (Sociolinguistic competence) หมายถงึ การใชค าํ และโครงสรา ง ประโยคไดเ หมาะสมตามบรบิ ทของสงั คม เชน การขอโทษ การขอบคณุ การถามทศิ ทางและขอ มลู ตา งๆ และการใชป ระโยคคาํ สง่ั เปน ตน 3. ความสามารถในการใชโ ครงสรา งภาษาเพอ่ื สอ่ื ความหมายดา นการพดู และเขยี น (Discourse competence) หมายถึง ความสามารถในการเช่อื มระหวางโครงสรางภาษา (Grammatical form) กับ ความหมาย (Meaning) ในการพดู และเขยี นตามรปู แบบ และสถานการณท แ่ี ตกตา งกนั 4. ความสามารถในการใชก ลวธิ ใี นการสอ่ื ความหมาย (Strategic competence) หมายถงึ การใช เทคนคิ เพอ่ื ใหก ารตดิ ตอ สอ่ื สารประสบความสาํ เรจ็ โดยเฉพาะการสอ่ื สารดา นการพดู เชน การใชภ าษาทา ทาง (body language) การขยายความโดยใชค าํ ศพั ทอ น่ื แทนคาํ ทผ่ี พู ดู นกึ ไมอ อก เปน ตน จากแนวคดิ ขา งตน การสอนภาษาตามแนวทางการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สารนน้ั เนน การใชภ าษา ของผเู รียนมากกวาเนนโครงสรางทางไวยากรณ แตก็ไมไดละเลยโครงสรางทางไวยากรณ เพียงแตเนน การนาํ หลกั ไวยากรณเ หลา นไ้ี ปใชเ พอ่ื การสอ่ื ความหมายหรอื การสอ่ื สาร จงึ เปน การใหค วามสาํ คญั กบั ความ คลอ งแคลว ในการใชภ าษา (fluency) และความถกู ตอ ง (accuracy) ดว ย ดงั นน้ั การเรยี นการสอนแนวนจ้ี ะ ตอ งเนน การทาํ กจิ กรรมเพอ่ื การฝก ฝนการใชภ าษาใหใ กลเ คยี งสถานการณจ รงิ มากทส่ี ดุ (Littlewood, 1991 และ Larsen-Freeman, 2002) หลกั การจดั การเรยี นการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร การจดั การเรยี นรตู ามแนวการสอนเพอ่ื การสอ่ื สารมหี ลกั สาํ คญั ดงั น้ี 1. ผเู รยี นไดร บั การฝก ฝน รปู แบบภาษาทเ่ี รยี นจะใชไ ดใ นสถานการณท ม่ี คี วามหมาย ครตู อ งบอก ใหผ เู รยี นทราบถงึ จดุ มงุ หมายของการเรยี น การฝก การใชภ าษาเพอ่ื ใหก ารเรยี นภาษาเปน สง่ิ ทม่ี คี วามหมาย ตอ ผเู รยี น ใหผ เู รยี นรสู กึ วา เมอ่ื เรยี นแลว สามารถทาํ บางสง่ิ บางอยา งไดเ พม่ิ ขน้ึ สามารถสอ่ื สารไดต ามทต่ี น ตอ งการ 2. จดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการหรอื ทกั ษะสมั พนั ธ (Integrated Skills) คอื ใชท กั ษะทาง ภาษาทง้ั 4 ประกอบดว ยกรยิ าทา ทาง ทค่ี วรจะไดท าํ พฤตกิ รรมเชน เดยี วกบั ในชวี ติ จรงิ 3. ฝก สมรรถภาพดา นการสอ่ื สาร (Communicative Competence) คอื ผเู รยี นทาํ กจิ กรรม ใชภ าษา มลี กั ษณะเหมอื นในชวี ติ ประจาํ วนั ใหม ากทส่ี ดุ เพอ่ื ใหผ เู รยี นนาํ ไปใชไ ดจ รงิ กจิ กรรมการหาขอ มลู ทข่ี าดหายไป (Information Gap) ผเู รยี นทาํ กจิ กรรมนจ้ี ะไมท ราบขอ มลู ของอกี ฝา ยหนง่ึ จาํ เปน ตอ งสอ่ื สารกนั จงึ จะทราบ ขอ มลู สามารถเลอื กใชข อ ความทเ่ี หมาะสมกบั บทบาท สถานการณ สาํ นวนภาษาในรปู แบบตา ง ๆ (function) 4. จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหผ เู รยี นไดใ ชค วามรู รวมทง้ั ประสบการณท ไ่ี ดร บั สามารถแสดง ความเหน็ หรอื ระดมสมอง (Brainstorming Activity) ฝก การทาํ งานกลมุ แสดงบทบาทสมมตุ ิ (Role Play) เกมจาํ ลองสถานการณ (Simulation) การแกป ญ หา (Problem Solving) ฯลฯ 5. ฝก ผเู รยี นใหใ ชภ าษาในกรอบของความรทู างดา นหลกั ภาษา (Grammatical Competence) ความรู เกย่ี วกบั กฎเกณฑข องภาษา สอ่ื สารไดค ลอ ง (Fluency) เนน การใชภ าษาตามสถานการณ (Function) 6. จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามศกั ยภาพของผเู รยี น 38 คมู่ ือการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education 7. สง เสรมิ ใหผ เู รยี นเปน ตวั ของตวั เอง มคี วามรบั ผดิ ชอบ และสนบั สนนุ ใหศ กึ ษาหาความรนู อกชน้ั เรยี น 8. ผสู อนตอ งจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทส่ี นองความสนใจของผเู รยี น 9. ใหโ อกาสผเู รยี นพดู แสดงความคดิ เหน็ ตามทต่ี อ งการ 10. ตองชว ยชแ้ี นะ นาํ ทางผเู รียน ใหค ําแนะนํา ในระหวา งการดําเนนิ กจิ กรรม พรอมกบั ตรวจ ความกา วหนา ทางการเรยี นของผเู รยี น Jack C. Richards (2006) ไดใหขอสรุป 10 ประการในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพอ่ื การสอ่ื สาร (Ten core assumptions of current communicative language teaching) ไวด งั น้ี 1. Interaction : การเรยี นรภู าษาทส่ี องจะเกดิ ขน้ึ ไดง า ยถา ผเู รยี นไดป ฏสิ มั พนั ธห รอื สอ่ื สารในภาษานน้ั อยา งมคี วามหมาย 2. Effective Tasks : กจิ กรรมภาษาหรอื แบบฝก หดั ทม่ี คี ณุ ภาพในชน้ั เรยี นจะทาํ ใหผ เู รยี นมโี อกาส ทจ่ี ะสอ่ื ความหมายในภาษา เพม่ิ พนู แหลง การเรยี นรภู าษา สงั เกตการใชภ าษา และมสี ว นในการรว มสอ่ื สาร 3. Meaningful Communication : การสอ่ื สารจะมคี วามหมายกต็ อ เมอ่ื ผเู รยี นสอ่ื สารเรอ่ื งเกย่ี วขอ ง กบั ตน นา สนใจ และนา มสี ว นรว ม 4. Integration of Skills : การสอ่ื สารเปน กระบวนการเนน ภาพรวม (holistic process) ทต่ี อ งใช ทง้ั ทกั ษะทางภาษาและหลายรปู แบบ 5. Language Discovery/Analysis/Reflection: การเรยี นภาษาเกดิ จากการทาํ กจิ กรรมการเรยี นรู แบบอปุ นยั (inductive learning) คอื ผา นกระบวนการคน พบกฎและรปู แบบของภาษาดว ยตนเอง และจาก กจิ กรรมการเรยี นรทู ส่ี อนกฎและรปู แบบของภาษา (deductive learning) 6. Accuracy & Fluency : การเรยี นภาษาเปน การเรยี นรทู ค่ี อ ยเปน คอ ยไป ทผ่ี เู รยี นเรยี นรจู ากการใช ภาษาและจากการลองผดิ ลองถกู ในภาษา และถงึ แมค วามผดิ พลาดในการใชภ าษาจะเปน เรอ่ื งธรรมดาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในการเรยี นรู แตเ ปา หมายปลายทางของการเรยี นภาษาคอื การมคี วามสามารถในการใชภ าษาอยา งถกู ตอ ง และเหมาะสม 7. Individuality : ผเู รยี นแตล ะคนมหี นทางพฒั นาภาษาของตนเอง และมอี ตั ราการพฒั นาทไ่ี มเ ทา กนั และมคี วามตอ งการและแรงจงู ใจในการเรยี นภาษาทต่ี า งกนั 8. Learning and Communication Strategies : การเรยี นภาษาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพขน้ึ อยกู บั กลยทุ ธ ในการเรยี นและกลยทุ ธก ารสอ่ื สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ 9. Teacher as a facilitator : บทบาทของผสู อนในหอ งเรยี นคอื ผชู ว ยสรา งบรรยากาศในการ เรยี นรู สรา งโอกาสใหผ เู รยี นไดฝ ก และใชภ าษาและใหผ ลสะทอ นกลบั ในการใชภ าษาและการเรยี นภาษาของผเู รยี น 10. Collaboration & Sharing atmosphere : หอ งเรยี นเปรยี บเสมอื นชมุ ชนทผ่ี เู รยี นสามารถเรยี นรู และแบง ปน การเรยี นรซู ง่ึ กนั และกนั ลอตต้ี เบเกอร และเจเนต็ ออร (Lotti Baker and Janet Orr, 2014) ไดเ สนอแนวคดิ ในการสอน ภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร ในการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาวทิ ยากรแกนนาํ กลวธิ กี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สารและการประยกุ ตใ ชใ นชน้ั เรยี น (Communicative Language Teaching Approach and Integrating in Classroom)” ระหวา งวนั ท่ี 9 – 11 มกราคม 2557 สาํ หรบั ใชข ยายผลครผู สู อนภาษา องั กฤษในจดุ อบรมทว่ั ประเทศ โดยไดส รปุ จากแนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ของนกั วชิ าการศกึ ษาหลายทา นวา คมู่ อื การจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 39

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education “การสอนภาษาเพ่ือการส่อื สารเปนวิธีการสอนมากกวาเปนระเบียบวิธีท่ีเฉพาะเจาะจง ซ่งึ หมายความวา การสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สารสามารถสอนดว ยวธิ กี ารและเทคนคิ ทห่ี ลากหลาย (Brown, 2014 ; Harmer, 2003) ทฤษฎที อ่ี ยเู บอ้ื งหลงั การสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สารคอื หนา ทห่ี ลกั ของภาษาคอื การสอ่ื สาร และการให นกั เรยี นเรยี นรภู าษาดว ยการมสี ว นรว มในการสอ่ื สารในสถานการณจ รงิ ทกั ษะทส่ี มั พนั ธก บั การเรยี นการสอน แนวนค้ี อื ทกั ษะการฟง การพดู การอา น และการเขยี น สว นไวยากรณ (การเขยี นและการพดู ) ยงั คงมี ความสาํ คญั แตจ ดุ ตา งอยตู รงทไ่ี วยากรณน น้ั จะสอนในบรบิ ทของการสอ่ื สารทม่ี คี วามหมายมากกวา การแยก สอนไวยากรณต า งหาก” ทง้ั น้ี Lottie Baker & Janet Orr (2014) ไดส รปุ การสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร ตามหลกั ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ไว 4 ประการดงั น้ี 1. เนน การสอ่ื สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพดว ยความถกู ตอ งและคลอ งแคลว (A focus on effective communication with accuracy and fluency) ความสามารถในการสอ่ื สารเปน เปา หมายของการสอนภาษา เพ่อื การส่อื สาร และการส่อื สารท่มี ีประสิทธิภาพน้นั สัมพันธกับความถูกตองในดานไวยากรณและคําศัพท ซง่ึ ตอ งควบคไู ปกบั ความคลอ งแคลว ในการพดู และการเขยี น (Hymes, 1971) นอกจากน้ี Canale & Swain (1980) ไดเ พม่ิ เตมิ จากแนวคดิ ของ Hymes โดยสรปุ ความสามารถทจ่ี าํ เปน ในการสอ่ื สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพไว ส่ีประการ ประกอบดวยความสามารถดานไวยากรณ (Grammatical) ดานวาทกรรม (Discourse) ดานภาษาศาสตรเชิงสังคม (Sociolinguistic) และดานการใชกลวิธีในการส่ือความหมาย (Strategic) และทผ่ี า นมากวา สท่ี ศวรรษ นกั วชิ าการยงั คงศกึ ษาอยา งตอ เนอ่ื งเพอ่ื ยนื ยนั ความสาํ คญั ของความถกู ตอ งใน ความรดู า นหนว ยเสยี ง ไวยากรณ คาํ ศพั ท และความคลอ งแคลว ในการสอ่ื สาร 2. ความกลา ใชภ าษาในการรว มกจิ กรรมกลมุ (Risk-taking in Cooperative Groups) กจิ กรรม การเรียนรแู บบรวมมือกันแสดงถึงการเพ่มิ ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน ซ่ึงเปดโอกาสใหผูเรียนไดใชภาษา เพอ่ื การสอ่ื สาร (Johnson & Johnson, 1999) กลมุ การเรยี นรแู บบรว มมอื กนั จะเปน ประโยชนต อ การเรยี นรู ของนกั เรยี นและพฒั นาเปน กลมุ ทม่ี โี ครงสรา งของการเออ้ื ประโยชนต อ กนั ในกลมุ (Kagan, 1994) กลมุ นน้ั สาํ คญั ยง่ิ ตอ การเรม่ิ ใชภ าษาของนกั เรยี นทป่ี ระหมา ในการพดู ตอ หนา กลมุ ใหญ กจิ กรรมในกลมุ เลก็ ๆ นน้ั สรางแรงจูงใจในการใชภาษาและกระตุนนักเรียนใหกลาเส่ียงในการใชคําศัพทและโครงสรางภาษาใหม (Calderon, Slavin,& Sanchez, 2011) 3. เชอ่ื มโยงกบั ความหมายและบรบิ ท (Connected to Meaning and Context) ในการสอน ภาษาเพอ่ื การสอ่ื สารนน้ั นกั เรยี นจะมพี ฒั นาการทางภาษาดว ยการใชภ าษาในชวี ติ จรงิ (Harmer, 2003 ; Nunan, 1989) สอดคลอ งกบั ทฤษฎที างสงั คมวฒั นธรรมของ Vygotsky ทไ่ี ดใ หข อ สรปุ เกย่ี วกบั การสอนภาษา เพอ่ื การสอ่ื สารไวว า “วธิ ที ด่ี ที ส่ี ดุ ทจ่ี ะเรยี นรแู ละสอนภาษาคอื การปฏสิ มั พนั ธท างสงั คม” (Chaiklin, 2003) ภาระงานดา นภาษาควรเชอ่ื มโยงกบั บรบิ ทของชวี ติ จรงิ ทม่ี คี วามหมายตอ นกั เรยี น นน่ั คอื ภาระงานดา นภาษานน้ั อาจจะเชอ่ื มโยงถงึ ประเดน็ ทว่ั ๆ ไปทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การใชภ าษาในชวี ติ จรงิ 4. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห (Critical Thinking Skills) ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหม คี วามสาํ คญั มากขน้ึ สาํ หรบั นกั เรยี นในทกุ สาขาวชิ า ไมเ พยี งแตด า นภาษาเทา นน้ั ทฤษฎกี ารคดิ ทเ่ี ปน ทร่ี จู กั กนั อยา งแพรห ลาย คอื ทฤษฎกี ารเรยี นรตู ามแนวคดิ ของบลมู (Bloom’s Taxonomy) บลมู (Bloom, 1956) ไดเ สนอแนวคดิ วา นกั เรยี นมคี วามจาํ เปน ทต่ี อ งรจู กั ทกั ษะการคดิ ทง้ั ในระดบั สงู และระดบั ลา ง ทกั ษะในระดบั ลา ง คอื การจาํ และความเขา ใจ เชน การจดจาํ คาํ ศพั ทใ หมแ ละเขา ใจวลพี น้ื ฐาน ทกั ษะในระดบั สงู คอื การสงั เคราะหแ ละ 40 ค่มู อื การจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education การประเมนิ ผล เชน การรวบรวมขอ มลู ยอ ยในการเลา เรอ่ื ง หรอื แสดงความคดิ เหน็ และตดั สนิ ดว ยเหตผุ ล ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหม คี วามสาํ คญั อยา งยง่ิ ตอ การสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร เพราะภาระงานดา นการสอ่ื สารนน้ั ตอ งบรู ณาการทง้ั ทกั ษะระดบั ลา งและระดบั ทส่ี งู ขน้ึ ยกตวั อยา งเชน ในการสรา งภาษาใหมน น้ั นกั เรยี นตอ ง จดจาํ คาํ ศพั ทใ หม สงั เคราะหค วามคดิ และประเมนิ เลอื กวธิ ที ด่ี ที ส่ี ดุ ในการสอ่ื สาร แนวการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร แนวการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร (Communicative Teaching Approach) เปน แนวการสอน ทม่ี งุ เนน ผเู รยี นเปน สาํ คญั เพอ่ื ใหผ เู รยี นไดเ รยี นรอู ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ฝก การใชภ าษาในสถานการณจ รงิ ทม่ี ี โอกาสพบในชีวิตประจําวัน และยังใหความสําคัญกับโครงสรางไวยากรณ แนวการเรียนการสอนภาษา เพอ่ื การสอ่ื สารใหค วามสาํ คญั กบั การใชภ าษา (Use) มากกวา วธิ ใี ชภ าษา (Usage) นอกจากน้ี ยงั ใหค วาม สาํ คญั ในเรอ่ื งความคลอ งแคลว ในการใชภ าษา (Fluency) และความถกู ตอ งของการใชภ าษา (Accuracy) การจดั การเรยี นการสอนจงึ เนน หลกั สาํ คญั ดงั ตอ ไปน้ี 1) ตอ งใหผ เู รยี นเรยี นรวู า กาํ ลงั ทาํ อะไร เพอ่ื อะไร ผสู อนตอ งบอกใหผ เู รยี นทราบถงึ ความมงุ หมาย ของการเรยี นและการฝก ใชภ าษา เพอ่ื ใหก ารเรยี นภาษาเปน สง่ิ ทม่ี คี วามหมายตอ ผเู รยี น 2) การสอนภาษาโดยแยกเปนสวน ๆ ไมชวยใหผเู รียนเรียนรกู ารใชภาษาเพ่อื การส่อื สาร ไดดีเทากับการสอนในลักษณะบูรณาการในชีวิตประจําวัน การใชภาษาเพ่ือการส่ือสารจะตองใชทักษะ หลาย ๆ ทกั ษะ รวม ๆ กนั ไป ผเู รยี นควรจะไดฝ ก ฝนและใชภ าษาในภาพรวม 3) ตอ งใหผ เู รยี นไดท าํ กจิ กรรมการใชภ าษา ทม่ี ลี กั ษณะเหมอื นในชวี ติ ประจาํ วนั ใหม ากทส่ี ดุ 4) ตอ งใหผ เู รยี นฝก การใชภ าษามาก ๆ การเปด โอกาสใหผ เู รยี นไดท าํ กจิ กรรมในรปู แบบตา ง ๆ ใหม ากทส่ี ดุ ทจ่ี ะเปน ไปได 5) ผเู รยี นตอ งไมก ลวั วา จะใชภ าษาผดิ Jack C. Richard (2006) ไดเ สนอวธิ กี ารสอนเพอ่ื การสอ่ื สารอกี 2 วธิ ี ทเ่ี นน กระบวนการ คอื แนวการสอนภาษาโดยใชเ นอ้ื หาเปน ฐาน (Content-Based Approach : CBI) และแนวการสอนทย่ี ดึ ภาระงาน เปน ฐาน (Task-Based Instruction : TBI) โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1. แนวการสอนภาษาโดยใชเ นอ้ื หาเปน ฐาน (Content-Based Approach) เปน แนวการสอนทเ่ี นน เนอ้ื หาสาระการเรยี นรมู าบรู ณาการกบั จดุ หมายของการสอนภาษา กลา วคอื ใหผ เู รยี นใชภ าษาเปน เครอ่ื งมอื ในการเรยี นรู และในขณะเดยี วกนั กพ็ ฒั นาการใชภ าษาเพอ่ื การสอ่ื สารไปดว ย ดงั นน้ั การคดั เลอื กเนอ้ื หา ท่นี ํามาใหผเู รียนไดเรียนจึงเปนส่งิ สําคัญอยางย่งิ เพราะเน้อื หาท่คี ัดเลือกมาจะตองเอ้อื ตอการบูรณาการ การสอนภาษาทง้ั 4 ทกั ษะ คอื ฟง พดู อา น เขยี น นอกจากน้ี ยงั ชว ยใหผ เู รยี นสามารถพฒั นากระบวนการคดิ วเิ คราะห สามารถตดิ ตาม ประเมนิ ขอ มลู ของเรอ่ื ง และพฒั นาการเขยี นเชงิ วชิ าการทเ่ี กย่ี วขอ งกบั เรอ่ื งนน้ั ๆ ได ทาํ ใหผ เู รยี นเกดิ การเรยี นรภู าษาในลกั ษณะองคร วม (Whole Language Learning) 2. แนวการสอนทย่ี ดึ ภาระงานเปน ฐาน (Task-Based Approach) เปน การเรยี นรภู าษาทเ่ี กดิ จาก การปฏสิ มั พนั ธใ นขณะทท่ี าํ ภาระงานใหส าํ เรจ็ ความรดู า นคาํ ศพั ทแ ละโครงสรา งจะเปน ผลทไ่ี ดจ ากการฝก ใชภ าษาในขณะทาํ กจิ กรรม นยิ มนาํ แนวคดิ นไ้ี ปใชก บั นกั เรยี นในระดบั ประถมศกึ ษา เพราะเชอ่ื วา การเรยี นรู คมู่ อื การจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่ 41

English Language Institute Office of the Basic Education Commission Ministry of Education ภาษาเกดิ จากกระบวนการทน่ี กั เรยี นไดล งมอื ปฏบิ ตั งิ านจนลลุ ว งตามจดุ มงุ หมายทก่ี าํ หนดไว (Willis, 1996) การจดั การเรยี นรทู เ่ี นน ภาระงาน มจี ดุ มงุ หมาย 4 ประการ คอื 1) เพ่ือใหสามารถใชภาษาอังกฤษในการติดตอส่ือสารและในการปฏิบัติภาระงานท่ีไดรับ มอบหมายไดเ ปน ผลสาํ เรจ็ 2) เพอ่ื ใหส ามารถนาํ ความรแู ละประสบการณท างภาษาทไ่ี ดร บั ไปใชใ นชวี ติ จรงิ ได 3) เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ โดยผา นกระบวนการปฏบิ ตั ภิ าระงาน 4) เพอ่ื ใหส ามารถปฏบิ ตั ติ นไดอ ยา งถกู ตอ งเหมาะสมในการทาํ งานรว มกบั ผอู น่ื ขน้ั ตอนการเรยี นการสอนตามแนวการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร ข้ันตอนการจัดการเรียนการสอนตามแนวการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารในท่ีน้ี ขอกลาวถึง วธิ กี ารสอนแบบ 3Ps หรอื P-P-P ซง่ึ มขี น้ั ตอนดงั ตอ ไปน้ี สมุ ติ รา องั วฒั นกลุ (2540) ไดส รปุ ขน้ั ตอนวธิ กี ารสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สารไว 3 ขน้ั ตอน คอื 1. ข้นั นําเสนอ (Presentation) เปนการใหตัวปอนทางภาษา (Language Input) แกผเู รียน ซง่ึ จดั เปน ขน้ั การสอนทส่ี าํ คญั ขน้ั หนง่ึ ในขน้ั นค้ี รจู ะนาํ เสนอเนอ้ื หาใหม โดยจะมงุ เนน การใหผ เู รยี นไดร บั รแู ละ ทาํ ความเขา ใจเกย่ี วกบั ความหมายและรปู แบบภาษาทใ่ี ชก นั จรงิ โดยทว่ั ไป รวมทง้ั วธิ กี ารใชภ าษา ไมว า เปน ดา น การออกเสยี ง ความหมาย คาํ ศพั ท และโครงสรา งไวยากรณท เ่ี หมาะสมกบั สถานการณต า ง ๆ ควบคกู นั ไป 2. ขน้ั ฝก ปฏบิ ตั ิ (Practice) เปน การฝก ใหผ เู รยี นมคี วามแมน ยาํ ในรปู แบบภาษา เพอ่ื จะไดส ามารถ นาํ ไปใชใ นการสอ่ื สารตอ ไป หลงั จากทผ่ี เู รยี นไดร บั รรู ปู แบบภาษาวา เปน อยา งไรและสอ่ื ความหมายอยา งไร ในขน้ั นาํ เสนอไปแลว ในขน้ั นค้ี วรเปน การฝก ทเ่ี นน ความหมาย (Meaningful drills) เพราะผเู รยี นมคี วาม จาํ เปน ในการใชภ าษาเพอ่ื สอ่ื ความหมาย การฝก เนน ความหมายมหี ลายแบบ เชน ฝก การเเลกเปลย่ี นขอ มลู 42 คูม่ ือการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเเนวใหม่