Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย

เอกสารประกอบการสอน ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย

Description: ความหมาย ความสำคัญ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีและจุดมุ่งหมายของการศึกษาปฐมวัย องค์ประกอบและรูปแบบของการศึกษาปฐมวัย วิวัฒนาการของการศึกษาปฐมวัย นโยบาย กฎหมาย ข้อบังคับของการศึกษาปฐมวัยไทย สภาพปัจจุบันและแนวโน้มของการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย ฝึกปฏิบัติศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะการจัดการศึกษาปฐมวัยในท้องถิ่นตามหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษาปฐมวัย

Keywords: การศึกษาปฐมวัย

Search

Read the Text Version

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 92 5.3.1.3 ธรรมชาติศึกษา เพ่ือช่วยให้เด็กมีความเข้าใจและคุ้นเคยกับสัตว์ พืชและ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ส่งเสริมให้เด็กฝึกสังเกต วิเคราะห์ และจัดการกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นดว้ ยตนเองให้มีทกั ษะทีจ่ าเปน็ สาหรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ใหร้ ้จู ักและสนใจในตวั เลขต่าง ๆ 5.3.1.4 ภาษา เพ่ือพัฒนาทักษะการฟัง ในการฟังนิทานและเรื่องราวต่าง ๆ ได้เขา้ ไปส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กได้แสดงความคิดเหน็ อย่างมอี ิสระโดยใชภ้ าษาไดถ้ กู ต้อง และสนับสนุนให้เด็กไดอ้ ่านหนังสือที่มีรูปภาพและนิทานต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมความคิดริเริ่มและจินตนาการของเด็กให้กว้างไกล 5.3.1.5. ดนตรีและจังหวะ เพื่อให้เด็กได้สนุกสนานกับการฟังดนตรี ส่งเสริมการร้องเพลง การเล่นกับเครื่องดนตรีต่าง ๆ ให้อิสระในการท่ีเด็กจะแสดงออกท้ังทางความคิดเห็นและความร้สู กึ ทางเสยี งเพลง และการแสดงทา่ ทางอย่างเสรี 5.3.1.6 การวาดภาพและงานฝีมือ เพ่ือพัฒนาทางด้านสุนทรียภาพ ช่วยให้เด็กได้มีประสบการณ์ทีส่ นกุ สนานในการวาดภาพและงานฝีมือตา่ ง ๆ อย่างมีอิสระ นอกเหนือจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วในหลักสูตรยังได้บรรจุการแข่งขันกีฬาการไปปิกนิก การสารวจสถานท่ีต่าง ๆ ในชุมชนเข้าไว้ด้วยรวมทั้งพิธีการและงานฉลองต่าง ๆ เช่น วันเด็กเทศกาลฉลองตุก๊ ตา วันดูพระจนั ทร์ เทศกาลดดู าว หรือวนั ฉลองผ้กู ่อต้ังโรงเรยี นอนบุ าล เป็นตน้ 5.3.2 หลักสูตรสาหรับสถานรับเลี้ยงเด็ก ถ้าเป็นเด็กกลุ่มอายุเท่ากันกับเด็กโรงเรียนอนุบาลนั้นจะตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของ “มาตรฐานของหลักสูตรอนุบาล” หรือพูดอีกอย่างหน่ึงก็คือเป็นมาตรฐานทป่ี รบั มาจากมาตรฐานขัน้ ต่าของสถาบันสวัสดิการเด็กนน่ั เอง ในสถานรับเล้ียงเด็กมีกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ การตรวจสุขภาพประจาวัน การนอน การพักผ่อนกลางวัน การตรวจผิวหนังและอุณหภูมิของร่างกาย การตรวจความสะอาดเมื่อนักเรียนมาโรงเรียน การเล่นอย่างอิสระ ซ่ึงเด็กอาจจะเลือกเล่นดนตรี กิจกรรมเข้าจังหวะ การวาดภาพฝึกศิลปะปฏิบัติ ศึกษาธรรมชาติ สังคมศึกษา หรือเล่นเกมกันเป็นกลุ่มเพ่ือความสนุกสนาน และเมื่อถึงเวลากลับบา้ นก็จะมีการตรวจความสะอาดดวู ่ามแี ผลหรือบาดเจบ็ ที่ตรงไหนบา้ ง เสอ้ื ผา้ เรียบรอ้ ยหรอื ไมท่ ุกคร้ังกิจกรรมอ่ืน ๆ ก็คล้ายคลึงกับโรงเรียนอนุบาลคือ มีการพาเด็กไปปิกนิก มีกิจกรรมสารวจรอบ ๆโรงเรียนและพาไปรว่ มชมงานเทศกาลตา่ ง ๆ ตามประเพณี ตามปกติแล้วสถานรับเล้ียงเด็กจะดูแลเด็กวันละ 8 ช่ัวโมง ในปัจจุบันหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเปน็ หลกั สตู รระดับหนึง่ ในหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีกระทรวงการศึกษาธิการเป็นผู้กาหนดตามกฎหมายการศึกษาในระบบโรงเรียน และข้อบังคับกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาในระบบ โรงเรียน โดยหน่วยงานดังกล่าวได้กาหนดเวลาเรียนอย่างต่าสาหรับระดับการศึกษาปฐมวัยและกาหนดรายวิชาและจานวนชั่วโมงท่ีต้องทาการสอนสาหรับการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษา 5.4 หนว่ ยงำนทร่ี ับผดิ ชอบกำรจัดกำรศกึ ษำปฐมวยั ศศิพันธุ์ เปี๊ยนเปี่ยมสิน (2553) กล่าวว่า การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญ่ีปุ่น ไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับ การจัดการศึกษาในระดับน้ีเป็นหน้าที่ของจังหวัด ซึ่งเป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค โดยมีคณะกรรมการการศึกษาของจังหวัด มีหน้าท่ีในการบริหารการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน คือบริการให้คาปรึกษาและข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรม สารวจความต้องการในการเรียนรู้ของประชาชน และพัฒนาโปรแกรมการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเยนรู้ตลอดชีวิตพร้อมท้ังรับผิดชอบจัดการฝึกอบรมสาหรับผู้จัดโปรแกรม ตลอดจนเตรียมระบบและวิธีการสาหรับฝึกอบรมดังกล่าว นอกจากจังหวัดจะเป็น เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 93ผู้รับผิดชอบจัดการศึกษาแล้วยังมีหน่วยงานอ่ืน ๆ ท่ีสนับสนุนและกากับดูแลการจัดการศึกษาในแต่ละรูปแบบ ดงั น้ี 5.4.1 กระทรวงศึกษาธิการ วิทยาศาสตร์ การกีฬาและวัฒนธรรม รับผิดชอบดูแลโรงเรียนท้ังโรงเรียนอนุบาลของรัฐที่ท้องถ่ินหรือจังหวัดดูแลรับผิดชอบ และโรงเรียนอนุบาลเอกชน โดยกระทรวงศึกษาธิการจะออกกฎที่ใช้เป็นหลักในการพิจารณาค่าเล่าเรียนซึ่งจะคานึงถงึ จานวนปีท่ีจะต้องเรียนช่วงโมงที่สอน มาตรฐานของตึกเรียน เคร่ืองมือภายในโรงเรียน การฝึกฝนจานวนครูและครูใหญ่และหลักสตู รอย่างกว้าง ๆ 5.4.2 กระทรวงสาธารณสุขและการส่งเคราะห์ จะดูแลรับผิดชอบสถานรับเล้ียงเด็กโดยมีการกาหนดมาตรฐานอย่างต่าของสถานรับเลี้ยงเด็กไว้ ซึ่งมาตรฐานน้ันรวมถึงสถานท่ี เคร่ืองมือสาหรับเลี้ยงดูทารก หอ้ งเล้ียงเดก็ อัตราสว่ นระหว่างครกู ับนกั เรยี น ส่วนหลักสตู ร เครอื่ งมือและของเล่นต่าง ๆ สาหรับเด็กอายุ 3-5 ปีน้ัน เหมือนกับของโรงเรียนอนุบาลทุกประการ สาเหตุที่จัดเหมือนกันก็เนื่องมาจากข้อตกลงระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและการสงเคราะห์กับกระทรวงศึกษาธิการในปี ค.ศ.1963 เงินสนับสนุนในการดาเนินงานของสถานรับเล้ียงเด็กนั้นได้รับจากการร่วมมือกันระหว่างส่วนบริหารงานสว่ นทอ้ งถ่ินกับรฐั บาล โดยทีร่ ฐั บาลให้ความชว่ ยเหลอื ผา่ นทางองค์การสงั คมสงเคราะห์ต่าง ๆส่วนค่าเลา่ เรียนนน้ั ขึ้นอยู่กบั ฐานะครอบครัวเดก็ เป็นหลัก ถา้ เดก็ ทีม่ าจากครอบครวั ท่ีมฐี านะต่าก็แทบจะไม่ต้องจ่ายเงินเลย 5.5 บคุ ลำกรดำเนนิ กำรจดั กำรศกึ ษำปฐมวัย ศศิพนั ธุ์ เปย๊ี นเปยี่ มสิน (2553) กล่าวว่า บุคลากรดาเนนิ การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่น มี 2 ประเภท ได้แก่ 5.5.1 บุคลากรในโรงเรียนอนุบาล จะประกอบไปด้วย ผู้อานวยการ คณะครู และอาจะมีบคุ ลากรอน่ื ๆ อกี แต่ในสถานการณ์พเิ ศษกอ็ าจมีการยกเว้นได้ 5.5.1.1 ผู้อานวยการ เป็นผู้บังคับบัญชา และดูแลรับผิดชอบ รวมท้ังให้คาปรึกษาแก่ผู้ร่วมงานอ่ืน ๆ มักจะเป็นผู้ท่ีได้รับประกาศนียบัตรครูระดับช้ันเย่ียม และมีประสบการณ์ในการปฏบิ ตั ิงานทางดา้ นการศกึ ษาไมน่ อ้ ยกว่า 5 ปี 5.5.1.2 ครูประจาการท่ีปฏิบัติงานเต็มเวลา ซ่ึงมีหน้าท่ีดูแลรับผิดชอบเด็กมักจะมีวฒุ ิปริญญาตรี หรืออนุปริญญาตรจี ากวิทยาลัย ในบางกรณอี าจมีผู้ชว่ ยครูที่ทางานเตม็ เวลาหรือครูประจาการทที่ างานได้ไม่เต็มเวลามาสอนแทนบ้าง แต่ครูผ้ชู ่วยหรือครูแบบทางานไม่เต็มเวลาเหล่านี้ก็จะต้องมีวุฒิอยา่ งนอ้ ยระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 5.5.1.3 โรงเรียนอนุบาลทุกแห่งจะมีหัวหน้าซ่ึงทาหน้าที่ช่วยเหลือผู้อานวยการมีครูพยาบาล หรือผู้ชว่ ยและเสมียน นอกจากนี้ถ้าสามารถจัดหาในโรงเรียนอนุบาลกจ็ ะได้จัดหาแพทย์ทันตแพทย์และเภสัชกรรมไว้ด้วย ห้องเรียนแต่ละห้องควรมีครูเต็มเวลาประจาอย่างน้อย 1 คน ต่อนกั เรียนท่ีอายเุ ทา่ กันไมเ่ กิน 40 คน 5.5.2 บุคลากรของสถานรับเล้ียงเด็ก ประกอบด้วย พยาบาลกลางวัน และแพทย์ท่ีมาประจาเฉพาะบางเวลา สาหรับพยาบาลกลางวันนั้นจะมีอัตราส่วน 1 คน ต่อเด็กอายุต่ากว่า 3 ปีจานวน 6 คน และอย่างน้อย 1 คน ต่อเด็กอายุระห่าง 3 - 4 ปี จานวน 20 ปี สถานรับเลี้ยงเด็กทุกแห่งควรมีพยาบาลประจาอย่างน้อยท่ีสุดแห่งละ 2 คน พยาบาลเหล่าน้ีควรจะมีวุฒิทางพยาบาลจากสถาบันทกี่ ระทรวงสาธารณสุขและการสงเคราะห์หรือองค์กรอ่นื ทีเ่ กย่ี วข้องรบั รองแล้ว เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 946. กำรศกึ ษำปฐมวยั ในประเทศอสิ รำเอล ประเทศอิสราเอลเคยสูญเสียอิสรภาพนานถงึ 2,000 ปี ประชาชนในประเทศจึงต้องอพยพไปอยู่ประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก จนกระท่ังภายหลังได้อพยพกลับมารวมตัวกันอยู่ในดินแดนเดิมที่เคยอาศัยอยู่ประเทศอิสราเอลจึงเป็นประเทศที่เพิ่งตั้งตัวใหม่ แต่มีอดีตท่ีร่งุ เรืองและยาวนานประกอบไปด้วยสังคมท่ีกาลังเติบโตและพัฒนาและมีโปรแกรมการศึกษาที่เปล่ียนแปลงไปอย่างช้า ๆ แบบค่อยเป็นค่อยไปอิสราเอลมีส่วนผสมของสังคมตะวันออกและตะวันตกอยู่ด้วยกัน เป็นท่ีรวมของผู้คนท่ีมาต้ังหลักแหล่งจากทุกมุมโลก จะเห็นได้จากระบบการศึกษาที่สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายของเยาวชนของชาติซึ่งมีภูมิหลังท่ีแตกต่างกัน มีท้ังกลุ่มท่ียึดม่ันศรัทธาในศาสนาและกลุ่มท่ีไม่มีศาสนามีทั้งอาณาเขตของพวกอาหรับและอาณาเขตของพวกฮิบรูและยังมีภาษามากมายที่ใช้ในการติดต่อกัน อย่างไรก็ดี แม้อิสราเอลจะเป็นดินแดนแห่งความขดั แยง้ ดังกล่าว แต่ส่งิ หน่งึ ที่ทั้งประเทศร่วมใจกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวและยึดเป็นส่ิงสาคัญ คือ การจัดการศึกษาปฐมวยั ดังนั้นจึงน่าสนใจท่ีจะศึกษาการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศนี้ โดยมีรายละเอียดดงั นี้ 6.1 ประวัติควำมเป็นมำของกำรศกึ ษำปฐมวัยในประเทศอิสรำเอล สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (2534) กล่าวว่า การศึกษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอลจดั ข้ึนตามความเชื่อท่ีว่า การให้การศึกษาแก่เด็กในวัยน้ีจะมีผลต่อการพัฒนาประเทศเน่ืองจากการหล่อหลอมกล่อมเกลาเด็กทาได้ง่ายกว่าและประสบผลสาเร็จมากกว่า ด้วยความเช่ือดังกล่าวรัฐบาลได้จัดการศึกษาภาคบังคับให้ฟรีแก่เด็กอายุ 5 ขวบ ต้ังแต่ปี ค.ศ. 1953 โดยรัฐสภาออกกฎหมายการศึกษาภาคบังคับว่าเด็กวัย 5 ขวบ ทุกคนต้องเข้าโรงเรียนอนุบาลเพื่อจะได้เรียนภาษาฮิบรู และเรียนรู้วัฒนธรรมประจาชาติ ท้ังนี้โดยมีจุดมุ่งหมายท่ีจะให้การศึกษาในระดับนี้เป็นเคร่ืองอุดช่องระหว่างประชาชนผอู้ พยพมาจากดินแดนตา่ งๆ กวา่ 100 ประเทศ การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุคแรกๆ มิได้ประสบผลสาเร็จดังท่ีคาดไว้ ทั้งน้ีเน่ืองจากผู้อพยพใหม่ในช่วง ค.ศ. 1950 - 1960 ส่วนใหญ่มาจากประเทศท่ีนับถือศาสนาอิสลามซ่ึงยากจนและอพยพมาจากหลายประเทศจึงประสบปญั หาด้านวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคมที่แตกต่างกนั มากจนไม่สามารถใช้การศึกษาในระดับน้ีเป็นเคร่ืองหล่อหลอมเด็ก เพื่อให้ประเทศชาติเป็นปึกแผ่นได้ จึงจาเป็นต้องปรับวธิ ีการเรียนการสอนเสียใหม่เพ่ือให้ผู้อพยพมาใหม่ยอมรับได้ จนกระท่ังใน ปี ค.ศ. 1960 - 1970 มีสถิติว่าเด็กอายุ 3 - 4 ขวบ ทุกคนได้รับการศึกษาปฐมวัย ในปี ค.ศ. 1976 และ 1977 รัฐบาลได้ใช้จ่ายเงินถึง ร้อยละ 8.33 ของงบประมาณการศึกษาท้ังหมดไปทางด้านการศึกษาปฐมวัย โดยเด็กท่ีอายุถึง 5ขวบ จะได้รบั การศึกษาในระดับการศกึ ษาปฐมวัยซึ่งเป็นการศกึ ษาภาคบังคับและให้เปล่า และเด็กเกือบร้อยละ 100 จะเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาล สาหรับเด็กอายุต่ากว่า 5 ขวบ รัฐบาลจะให้เงินอุดหนุนค่าเล่าเรียนโดยพิจารณาตามความจาเป็นของครอบครัวเป็นรายๆ ไป ในปี ค.ศ. 1978 อิสราเอลมีโรงเรียนอนุบาล 5,400 แห่ง และมีเดก็ เข้าเรยี นในโรงเรยี นอนบุ าลเปน็ จานวนมาก กลา่ วคอื เดก็ ในกล่มุ อายุ 5 ปีเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลร้อยละ 100 เด็กในกลุ่มอายุ 4 ปี และ 3 ปี เข้าเรียนร้อยละ 97 และ 87ตามลาดบั ในปี ค.ศ. 1979 - 1980 รัฐบาลได้จัดทุนอุดหนุนสาหรับการจัดการศึกษาของเด็กปฐมวัยจานวนกว่า 5,000 ห้องเรียน ซึ่งรับเลี้ยงดูเด็กระหว่าง 3 - 6 ขวบ เป็นจานวนถึง 264,000 คน ในปีค.ศ.1989 กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรม พยายามให้มีการสอนอ่านเขียนในโรงเรียนอนุบาลซึ่งขัดกับ เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 95ปรัชญาดั้งเดิมของการให้การศึกษา จึงได้มีการนาวิธีการสอนภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Language)มาใช้ โดยเน้นการจัดส่ิงแวดล้อมท่ีเต็มไปด้วยภาษาเขียน และเปิดโอกาสให้เด็กได้พูดและเขียนนอกจากน้ียังพาเด็กไปทัศนศกึ ษานอกสถานที่ ได้เรียนรู้ศลิ ปะ ดนตรี ละคร และคอมพิวเตอร์ และในปีค.ศ. 1990 กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมได้เพ่ิมการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทุกระดับการศึกษา ในระดับการศึกษาปฐมวัยจัดเป็นโปรแกรมให้เด็กได้หัดสังเกตส่ิงรอบตัว โดยผนวกเข้ากับกจิ กรรม การเลน่ บทบาทสมมุติ กิจกรรมสร้างสรรคต์ ่างๆ การเลา่ นทิ าน หรือการทาโครงงาน นอกจากนี้ ศศิพันธ์ุ เป๊ียนเป่ียมสิน (2553) กล่าวว่า แม้ว่าสถิติจะแสดงให้เห็นว่าอิสราเอลเป็นประเทศท่ีประสบผลสาเร็จในการขยายการศึกษาปฐมวัย แต่อิสราเอลก็มิได้นิ่งนอนใจได้หาทางปรับปรุงคุณภาพในการจัดตลอดจนวิธีการให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันและปัญ หาของตนเองตลอดเวลา ปญั หาท่อี ิสราเอลยอมรับวา่ ตนเองยังประสบอยูแ่ ละกาลังทดลองหาแนวทางแก้ไข ไดแ้ ก่ 1. ช่องว่างทางด้านการเรียนรู้ของเด็ก โดยมีเด็กเป็นจานวนมากที่จัดว่าเป็นผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาทาให้เกิดการเสียเปรียบแก่เด็กอื่น ๆ รัฐบาลจึงได้พยายามแก้ปัญหาบนรากฐานของความเช่ือที่ว่า การแก้ไขเด็กได้เร็วเท่าไรก็จะอุดช่องว่างในการเรียนรู้ของเด็กได้มากเท่าน้ัน รัฐบาลจงึ ไดเ้ นน้ พัฒนาการทางดา้ นสติปัญญาแก่เด็กดอ้ ยโอกาส โดยใช้การจัดกลุม่ เด็กเป็นกลุ่มเลก็ ๆ เด็กได้รับการสอนความคิดเบื้องต้นทางดา้ นคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษ อย่างไรก็ดีวิธีการนีต้ ้องอาศยั การแนะแนวสาหรับครเู ป็นเครื่องช่วยทาใหไ้ ม่ประสบผลสาเร็จดังคาดหวัง เนื่องจากอสิ ราเอลไมม่ ีบุคลากรผู้ท่ีจะใหก้ ารแนะแนวอยา่ งเพียงพอ 2. ชอ่ งวา่ งทางด้านวัฒนธรรมและค่านยิ มระหว่างครูกับพ่อแม่เด็ก ในช่วงแรก ๆ ครจู ะพยายามสอนแม่เด็กให้เรียนรู้ภาษาฮิบรู สอนสุขศึกษา จิตวิทยาการศึกษา และการปกครองแบบประชาธิปไตย แต่ประสบความล้มเหลว เน่ืองจากความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรมและค่านิยมในการดาเนนิ ชวี ิต ครูจึงเกิดความรสู้ ึกดูหม่ินพ่อแม่เด็กว่าเป็นพวกไรว้ ฒั นธรรม ต่อมารฐั บาลได้หาทางแกไ้ ขจนเป็นผลสาเร็จ โดยให้ความสนใจและยอมรับวัฒนธรรมพื้นฐานของพ่อแม่เด็กชักชวนให้มาร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนเพ่อื ส่งเสรมิ ให้พอ่ แมเ่ ด็กได้แสดงออกซึ่งวัฒนธรรมด้ังเดิมของตนก่อนท่ีจะอพยพมาอสิ ราเอล พร้อมทงั้ เปิดโอกาสให้เล่าถึงชีวิตในวัยเด็กในประเทศของตน 3. ช่องว่างระหว่างบุคคลและสังคม ปัญหาข้อนี้เกิดจากการท่ีพ่อแม่ไม่รู้จัก หรือไม่เข้าใจความสาคัญของตนเอง เน่ืองจากวัฒนธรรมของตนไม่เป็นท่ียอมรับของสังคมท่ัวไป อิสราเอลในช่วงเวลานั้น ทาให้ผลกระทบตกมาอยู่ที่ตัวเด็ก เด็กเป็นจานวนมากไม่รู้จักชื่อตนเอง ไม่รู้จกั ชื่อพ่อแม่พีน่ อ้ ง 6.2 รปู แบบกำรจัดกำรศกึ ษำปฐมวัย สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (2534) กลา่ วว่า การศกึ ษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอลน้ันมุ่งท่ีจะพัฒนาเด็กในทุกด้านตั้งแต่พัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และจรยิ ธรรม ท้ังนี้โดยคานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของเดก็ เป็นหลกั จุดประสงคป์ ระการสาคัญของการจดั การศกึ ษาระดับปฐมวัยในประเทศอิสราเอลนน้ั เพื่อที่จะส่งเสริมเดก็ ในการพฒั นาทกั ษะชีวติ โดยคานึงถึงสุขภาพและความปลอดภัยเป็นสาคัญ นอกจากน้ันยังมุ่งเน้นถึงการพัฒนาทัศนคติทางบวกต่อตนเองและผู้อื่น จุดมุ่งหมายประการสุดท้ายคือ เพ่ือท่ีจะพัฒนาเด็กให้มีทักษะการเรียนรู้และพฤติกรรมทีส่ ังคมยอมรบั มีพืน้ ฐานของความเปน็ มนษุ ยชนโดยคานึงถึงวฒั นธรรมและประเทศเป็นหลัก เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 96รูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวัยในประเทศอสิ ราเอล แบ่งเปน็ รูปแบบ 3 รูปแบบ ดงั น้ี6.2.1 ศูนย์เด็กเล็ก (Day Care Centers) รับเด็กต้ังแต่อายุ 3 เดือน - 4 ปี อยู่ภายใต้การดูแลขององค์การอาสาสมัครของสตรี และกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม จัดขึ้นเพื่อบริการแม่ท่ีต้องทางาน กระทรวงแรงงานฯ จะเป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายโดยคานึงถึงรายได้ของแต่ละครอบครวั เปน็ หลัก ศูนย์เลย้ี งเดก็ ของเอกชนหลายแหง่ ไม่ได้รับเงนิ อุดหนนุ จากภาครัฐ6.2.2 สถานรับเลี้ยงเด็ก (Nursery School) รับเด็กอายุ 3 - 5 ปี อยู่ภายใต้การดูแลของสภาเทศบาล ซึ่งสภาเทศบาลอุดหนุนเรื่องสถานท่ี อุปกรณ์ เงินเดือนผู้ช่วย และค่าใช้จ่ายอีกเล็กน้อย สว่ นกระทรวงศึกษาธกิ าร จะเป็นผูจ้ ่ายเงินเดือนครูและให้การนิเทศ เงินอุดหนุนแก่ครอบครัวของเด็ก ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับรายได้ของแต่ละครอบครัว อย่างไรก็ตามยังมีสถานรับเลี้ยงเด็กของเอกชนที่มีการจดทะเบียนและดูแลโดยกระทรวงศึกษาธิการ แต่ไม่ได้รับเงินอุดหนุน ครูในสถานเลี้ยงเด็กทุกคนจะต้องมคี ุณสมบตั ิตามทีก่ าหนด6.2.3 โรงเรียนอนุบาล (Kindergarten) รับเด็กอายุ 5 - 6 ปี การศึกษาระดับช้ันอนุบาลเป็นการศึกษาภาคบังคับ และจัดโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หน่วยการศึกษาของเทศบาล ให้เงินสนับสนุนค่าอาคารสถานที่ อุปกรณ์ เงินเดือนครูผู้ช่วยและเงนิ ค่าใช้จ่ายอน่ื อกี ก้อนกระทรวงศกึ ษาธกิ ารจะให้เงินเดอื นครูและนเิ ทศการสอนดว้ ย ครูอนบุ าลทกุ ทกุ คนจะต้องมคี ณุ สมบัติตามท่ีกาหนดสัดสว่ นของเดก็ ต่อครูเด็กอายุ 4 - 6 ปี จานวนเดก็ 35 คน : ครู 1 คน ครผู ูช้ ว่ ย 1 คนเด็กอายุ 2 - 3 ปี จานวนเดก็ 12 คน : ครู 1 คนเด็กอายุ 1 ½ - 2 ปี จานวนเดก็ 10 คน : ครู 1 คนเดก็ อายุ 3 เดือน - 1 ½ ปี จานวนเด็ก 6 คน : ครู 1 คนทางกระทรวงศึกษาธิการ บังคบั ให้ผูท้ เ่ี ลย้ี งเด็ก 2 - 3 ปี ต้องไดร้ บั การฝกึ หดั เปน็ ครสู ถานรบั เลย้ี งเดก็(ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการดูแลเด็กอายุ 2 ปี)6.3 หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวยัศศิพันธุ์ เปี๊ยนเป่ียมสิน (2553) กล่าวว่า หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอลน้ันแต่เดิมมาเป็นหลักสูตรที่ยึดเน้ือหาที่เป็นหลักตามประเพณีดั้งเดิม การจัดการศึกษาปฐมวัยคือ การจัดกรอบสาหรับเด็กท่ีบิดามารดาเป็นผู้ลภ้ี ัย ได้มีโอกาสรับรู้ถึงวฒั นธรรมฮิบรูพ้ืน ๆ ที่มีโอกาสฟื้นฟูขึ้นใหม่อย่างช้าๆ ในขณะที่พวกรุ่นพ่อแม่มีภาษาพูดมากมายเด็กประถมศึกษาปีท่ี 1 เกือบทุกคนจะพูดภาษาฮบิ รไู ดอ้ ย่างคล่องแคลว่ ซึง่ เป็นผลมาจากการเรยี นรู้ในช้ันอนุบาลเปน็ เวลาหลายปี ถึงแม้วา่ ในปัจจุบนั จะไม่มีความจาเป็นที่บังคับให้ต้องมีโปรแกรมการศึกษาที่ยึดเนื้อหา ซ่ึงเน้นวันหยุดในวันสาคัญต่าง ๆ บทเพลงสวดตามประเพณีต่าง ๆ เหล่าน้ีก็ตาม แต่หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยแข็งแกร่งขึ้นจนไม่สามารถจะเปล่ียนแปลงได้ง่าย ๆ แม้แต่กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมก็ยังต้องระมัดระวังในการให้คาจากัดความและพยายามส่งเสริมหลักสูตรที่จะช่วยเน้นทั้งทางด้านเนื้อหาความรู้และทักษะทางร่างกายที่จะช่วยในการเรียนรู้ซึ่งโปรแกรมท่ีจัดอย่างยอดเยี่ยมน้ีพร้อมทั้งเอกสารประกอบต่าง ๆ ได้มีการเตรียมไว้แล้วแต่ครูกย็ งั ลังเลทจ่ี ะใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์แบบแผนการศึกษาของอิสราเอลค่อนข้างจะคานึงถึงเด็กเป็นกลุ่มมากกว่าจะคานึงถึงแต่ละบุคคล แต่ขณะเดียวกันก็ไม่ได้ละเลยความเป็นส่วนตัวของเด็กแต่อย่างใด ในการเรียนการสอนจะมีการเน้นความสาคัญของเด็กในฐานะท่ีเป็นสมาชิกของสังคมเท่า ๆ กับท่ีเขาเป็นคน ๆ หน่ึงเด็ก ๆ จะทางาน เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 97หรือเล่นกันเป็นกลุ่ม ซึ่งครูจะเป็นผู้เลือกหรือจัดสรรให้เอง ครูเป็นผู้มีสิทธิ์ขาดในการควบคุมชั้นและกจิ กรรมการเรียนการสอน แต่ก็เปิดโอกาสให้นักเรียนมีอิสระในการทากิจกรรมและตัดสินใจของตนเองได้ ตวั อย่าง เช่น ครูเป็นผู้จัดตารางเวลาของแตล่ ะวัน แตใ่ นระหวา่ งที่ทากิจกรรมตามตารางน้ัน นักเรียนอาจจะเลือกทางานชนิ้ ใดกไ็ ดจ้ ะไปเข้ากลุ่มกับใครก็ไดโ้ ดยเสรดี ังนี้ เป็นตน้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนระดับปฐมวัยของประเทศอิสราเอลนั้น คานึงถึงความหลากหลายของกิจกรรม โครงสร้างการเรยี นรู้ ช่วงระยะเวลาในการเรียน และสถานท่ีหลักสาคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับเด็กปฐมวัยในช้ันเรียนของตนน้ัน ครูอิสราเอลได้คานึงถึงสิ่งต่าง ๆได้แก่ การเล่นเสรี กิจกรรมการแสดงออกต่าง ๆ การสัมผัสโดยตรงกับวัสดุต่าง ๆ กิจกรรมการสอนโดยตรง และการเรียนรู้โดยมีการแนะนา เป็นหลักทั้งนี้โดยที่กิจกรรมต่าง ๆ เหล่าน้ีน้ันอาจจัดได้หลายรปู แบบ เช่น กจิ กรรมเป็นรายบคุ คล กิจกรรมกลุ่มย่อย ไว้ล่วงหน้ากไ็ ด้ นอกจากนั้นรูปแบบของกจิ กรรมทก่ี ลา่ วถึงจะเกดิ ขึน้ ใน 2 ลักษณะคือ ในช้ันเรียนและนอกชั้นเรียน อาจเป็นกิจกรรมเสรีหรือกจิกรรมท่ีมีครูเปน็ ผแู้ นะนาก็ได้ กิจวัตรประจาวันของเด็กปฐมวัยนั้นมีความหลากหลายมาก เวลาโดยส่วนใหญ่ของเด็กจะมุ่งเน้นไปกิจกรรมกลุ่มย่อยหรือกิจกรรมเป็นรายบุคคลมากว่ากิจกรรมกลุ่มใหญ่ โดยมุ่งเน้นไปที่การเล่าและการให้เด็กได้มโี อกาสสมั ผสั กบั วัสดตุ ่าง ๆ โดยท่ีกจิ กรรมกลุ่มใหญ่ เชน่ การร้องเพลง การฟังนิทานการพูดคุย จะได้รับความสาคัญน้อยกว่า ตารางกิจวัตรประจาวันของโรงเรียนอนุบาลในอิสราเอลจะกาหนดเวลาท่ีเพียงพอสาหรับกิจกรรมต่าง ๆ ท้ังกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาด้านร่างกาย และกล้ามเนื้อกิจกรรมท่ีมุ่งเน้นพัฒนาด้านอารมณ์ ประสบการณ์ทางสังคม ประสบการณ์ท่ีสร้างเสริมพัฒนาการทางดา้ นสตปิ ัญญาและทกั ษะในการดาเนินชีวติ รวมตลอดถึงกระบวนการในการค้นหาความร้ดู ้วย ตารางกจิ วัตรประจาวนั07.45 น. - 08.30 น. เดก็ มาถงึ โรงเรยี น08.30 น. - 09.00 น. กจิ กรรมวงกลม สนทนาพดู คุยกับเดก็ เก่ียวกบั เรื่องอากาศเร่อื งทั่ว ๆ ไป เกย่ี วกับตวั เดก็ เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงออกหน้าช้ัน09.00 น. - 10.30 น. กจิ กรรมเสรี เดก็ แยกย้ายทากิจกรรมตามมมุ ตา่ ง ๆ10.30 น. - 11.00 น. รับประทานอาหารว่าง11.00 น. - 12.00 น. กิจกรรมกลางแจ้ง ในขณะเดยี วกนั ครจู ะสอนเดก็ ประมาณ 6 คน ในกลุ่มย่อย12.00 น. - 13.00 น. เกมการศึกษา13.00 น. - 13.30 น. กิจกรรมสงบ นิทาน สรปุ กิจกรรมตลอดวนั สาหรับการประเมินผลเด็กในระดบั ปฐมวัยน้นั มจี ุดมุ่งหมายที่จะดูความสนใจและความต้องการของเดก็ เป็นสาคญั เพื่อนาข้อมลู ท่ีได้ไปใช้ในการจดั โปรแกรมการเรยี นการสอนเพอื่ พัฒนาศักยภาพของเดก็ แตล่ ะคนต่อไป เม่ือเปน็ เชน่ นกี้ ารประสบความสาเรจ็ อย่างเป็นทางการ หรอื คะแนนจงึมใิ ชจ่ ุดมงุ่ หมายทส่ี าคญั ทีส่ ดุ สาหรบั การศกึ ษาปฐมวัย เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 98 6.4 หน่วยงำนทรี่ บั ผิดชอบจัดกำรศกึ ษำปฐมวัย ศศิพันธ์ุ เป๊ียนเป่ียมสิน (2553) กล่าวว่า ในประเทศอิสราเอลมีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบเก่ยี วกับการจัดการศกึ ษาปฐมวัยหลายหนว่ ยงาน คอื 6.4.1 กระทรวงศึกษาและวฒั นธรรม รบั ผดิ ชอบดา้ นหลกั สูตรการนิเทศการศึกษา การฝึกอบรมบุคลากรให้แก่โรงเรียนอนุบาลสาหรับเด็กในวัย 3 - 5 ปี โดยผู้ดูแลรับผิดชอบถือเป็นศึกษานิเทศก์ระดับชาติ ซ่ึงทาหน้าที่เป็นท้ังผู้อานวยการกรม และผู้ประสานงานระหว่างกรมกับส่วนราชการอ่ืน ๆ ในกระทรวง นอกจากนี้กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมยังรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดทาหลักสตู ร และใหค้ วามสะดวกแก่การอบรมครูสาหรบั การจัดการศกึ ษาในระดับปฐมวยั ดว้ ย 6.4.2 เทศบาล หรือทอ้ งถ่ิน รับผิดชอบด้านบริหารโรงเรยี นอนุบาลสาหรับเด็กวัย 3 - 5 ปีดแู ลซอ่ มแซมบารุง (รวมถงึ การก่อสร้างตา่ ง ๆ) ในโรงเรยี นอนบุ าลในทอ้ งถ่ินทต่ี นรับผดิ ชอบ 6.4.3 ศูนยช์ มุ ชน จัดโปรแกรมสาหรับแมแ่ ละเด็กในวยั ทารกและวยั สอนเดิน 6.5 บคุ ลำกรดำเนินกำรจดั กำรศกึ ษำปฐมวัย สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (2534) กล่าวถึงบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ในอิสราเอล สรุปได้ดงั น้ี 6.5.1 ครูอนุบาล ครูที่มีวุฒิทางอนุบาลจะสอนเด็กจานวน 30 - 35 คน ในแต่ละห้องครู เหล่านี้จะต้องผ่านสถาบันฝึกหัดครูประมาณ 2 - 3 ปี หลังจากเรียนอย่างน้อย 3 ปี ในช้ันมัธยมปลาย ปัจจุบันมีแนวโน้มท่ีไม่พึงประสงค์นักคือ นักศึกษาครูที่มีความสามารถสูงมักจะเลือกไปสอนในระดับมัธยมเหลือเพียงนักศึกษาที่มีความสามารถน้อยกว่ามาฝึกฝนทางการสอน เด็กเล็กแทนกระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมจึงต้องพยายามช่วยเหลือครูเหล่าน้ี โดยการจัดโปรแกรมการฝึกอบรมและสนับสนุนให้ครูเหล่าน้ีได้มีโอกาสศึกษาต่อ ในโรงเรียนอนุบาลของชาวยิวครูทุกคนเป็นหญิง แต่ในโรงเรยี นของชาวอาหรับยังถือว่าผู้ชายคือผู้ที่เป็นนักการศึกษา และร้อยละ 54 ของครูอนุบาลในอาหรับจะเปน็ ผูช้ าย และคงถอื ปฏิบตั ิเชน่ นีม้ าจนกระทง่ั ถงึ เม่ือไม่นานมาน้ีเอง 6.5.2 บุคลากรสนับสนุน ครูอนุบาลจะมีผู้ช่วยท่ีเป็นคนนอก ผู้ช่วยเหล่าน้ีได้รับการคัดเลือกมาจากแม่บ้านท่ีสมัครใจจะช่วยเหลือและมีจิตใจรักเด็ก ผู้หญิงเหล่าน้ีมักจะมีความรู้น้อยแต่จะช่วยรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับงานประเภทงานบ้าน คือ จัดเตรียมอาหารว่าง เก็บกวาดโต๊ะอาหาร และช่วยครูในเรื่องท่ัว ๆ ไป เช่น ช่วยแต่งตัวให้เด็กเมื่อจะออกไปทากิจกรรมกลางแจ้ง ช่วยเช็ดตัว เป็นต้นชว่ งเวลาท่ผี ้ชู ว่ ยเหล่าน้ีได้ช่วยเดก็ โดยตรงจะไม่เกนิ ครึ่งชัว่ โมง ครูมีโอกาสท่ีจะได้ทางานร่วมกบั ผู้เช่ียวชาญต่าง ๆ ด้วย เพราะจะมีครูสอนจะมีภารกิจหรือกิจกรรมท่ีจะต้องเดินทางเข้าจงั หวัด พยาบาล หมอ ทันตแพทย์ นักจิตวิทยา แวะมาเยี่ยมเยียนเป็นประจา นอกจากนยี้ งั มบี รกิ ารทางด้านกายภาพบาบัดไวส้ าหรับในกรณีท่ีจาเปน็ ด้วย เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 99บทสรุป ในปัจจุบันน้ีประเทศต่าง ๆ จะให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาปฐมวัย เพราะต่างก็ตระหนักว่าการพัฒนาประชากรของประเทศนั้น ต้องเร่ิมพัฒนาตง้ั แต่ปฐมวัย ประเทศในแถบทวีปยุโรปเช่น อังกฤษ และสวีเดน เห็นความสาคัญของการจัดการศึกษาปฐมวัย จึงพยายามพัฒนาการจัดการศึกษาในระดบั นี้จนได้รับการยอมรบั ว่าจัดการศึกษาในระดบั น้ีได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ สว่ นประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหน่ึงในทวีปอเมริกาเหนือซ่ึงได้รับการยอมรับว่ามีความเจริญในทุก ๆ ด้านโดยเฉพาะทางดา้ นการศึกษา การจดั การศึกษาปฐมวัยในสหรฐั อเมรกิ าไดม้ ีการพฒั นาแนวคิดและวิธกี ารจัดการศึกษาจนได้รับการยอมรับว่าจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในยโุ รป ปรชั ญาแนวคิดการจัดการศึกษาของแตล่ ะประเทศมีจุดเด่น และมีความแตกต่างกัน แต่ทุกประเทศเน้นการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยให้เต็มศักยภาพ และมีรปู แบบแนวทางการจดั การศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกามีรูปแบบการจัดที่คล้ายคลึงกัน 3 รูปแบบ ได้แก่ สถานรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียนเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล นอกจากนี้การจัดการศึกษาระดับนี้ยังมีการจัดบุคลากรที่เก่ียวข้องเพื่อดูแลและคอยให้ความช่วยเหลือเด็กและยังสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนได้แก่ผู้อานวยการ ครูผู้ชว่ ยครู พยาบาล คนครวั และนักการภารโรง เปน็ ต้น บุคลากรทกุ คนจะทางานร่วมกันเพื่อการช่วยเหลือและพัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อประเทศชาติในการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยสิ่งท่ีมีความแตกต่างกันที่ชัดเจนคือหน่วยงานท่ีทาหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษา และในบางประเทศมีหลายหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาร่วมกัน เช่น ประเทศอังกฤษ มีกระทรวงศึกษาธิการและแรงงาน กรมอนามัยและสวัสดิการสังคม และท้องถิ่น ประเทศสวีเดน มีคณะกรรมการสาธารณสุขและสวัสดิการแห่งชาติ เป็นผู้รับผิดชอบ ประเทศสหรัฐอเมริกามีกระทรวงสาธารณสขุ และท้องถิ่น เป็นผูร้ ับผิดชอบในการจัดการศึกษา ทกุ ประเทศจะส่ิงที่สอดคลอ้ งกันคอื การแบง่ ความรับผิดชอบของแตล่ ะหน่วยงานเพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ให้มีศกั ยภาพตามวัยในอนาคต สาหรบั ประเทศนิวซแี ลนด์มสี ภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการศึกษา โดยยึดปรชั ญาของ จอห์น ดวิ อ้ีคอื การเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ ผเู้ รียนรู้จากการปฏบิ ัติ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถนาความร้ไู ปใช้ในการแก้ปัญหาและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้เป็นการศึกษาเพื่อชีวิต การเรียนการสอนจึงเน้นให้ผู้เรียนสามารถคิดได้ ปฏิบตั ิได้และสามารถแกป้ ัญหาได้ โดยครูจะเรยี นรคู้ วบคู่ไปกับนักเรียนและสรุปบทเรียนรว่ มกัน ประเทศในแถบทวปี เอเชยี เชน่ ประเทศญ่ีปนุ่ และอิสราเอลก็เปน็ ประเทศท่ีให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาระดับนี้มานานแล้ว การจัดการศึกษาปฐมวัยในสองประเทศน้ีจึงได้รับการยอมรับว่าจัดได้อย่างมีคุณภาพ และมีประวัติศาสตร์ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยมาอย่างยาวนาน มีระบบการบริหารจัดการมีคุณภาพ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมีการปรับปรุงให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงกับเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนอย่างต่อเน่อื ง รวมไปถึงการพัฒนาบุคลากรที่เก่ียวขอ้ งให้มคี ุณภาพ และเพิ่มจานวนบุคลากรให้มีอัตราส่วนท่ีเหมาะสมกับเด็กปฐมวยั และมีบุคลากรที่หลากหลายทั้งผู้บริหาร ครผู ู้สอน นอกจากนี้มกี ารเชญิ วทิ ยากรในทอ้ งถ่ินหรอื พ่อแมผ่ ู้ปกครองเด็กมาร่วมในการจัดกจิ กรรมใหก้ ับเดก็ ในประเทศอสิ ราเอลยงั มบี คุ ลากรจากหน่วยงานมาชว่ ยสนับสนุนโรงเรยี น เชน่ หมอ พยาบาล ทันตแพทย์ นักจติ วทิ ยา เป็นต้น เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 100 ใบงำน หน่วยที่ 4 ววิ ฒั นำกำรของกำรศกึ ษำปฐมวยั ในต่ำงประเทศคำชแี้ จง : 1. ใหน้ ักศึกษาแบ่งกล่มุ ออกเป็น 6 กล่มุ (กลุ่มละ4-5 คน) โดยกาหนดบทบาทและหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบของสมาชกิ ในกลุ่มให้ชัดเจน 2. มอบหมายงานให้นกั ศึกษาแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาเน้ือหาจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชาการศึกษาปฐมวัย หน่วยท่ี 4 ววิ ัฒนาการของการศึกษาปฐมวัยในตา่ งประเทศ แลว้ รว่ มกันสรปุ เน้ือหาในรูปของ Mind Mapping พรอ้ มกับนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรยี น ในประเดน็ ดงั น้ี  กลุม่ ท่ี 1 การศึกษาปฐมวยั ในประเทศองั กฤษ - ประวตั ิความเปน็ มาของการศกึ ษาปฐมวยั - รูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัย - หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั - หน่วยงานทรี่ บั ผิดชอบการจดั การศึกษาปฐมวยั - บุคลากรดาเนินการจดั การศึกษาปฐมวยั  กลมุ่ ที่ 2 การศกึ ษาปฐมวัยในประเทศสวีเดน - ประวตั ิความเป็นมาของการศกึ ษาปฐมวัย - รูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัย - หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั - หนว่ ยงานทร่ี ับผิดชอบการจดั การศกึ ษาปฐมวัย - บคุ ลากรดาเนนิ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั  กล่มุ ที่ 3 การศึกษาปฐมวยั ในประเทศสหรฐั อเมริกา - ประวตั ิความเป็นมาของการศึกษาปฐมวยั - รปู แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวยั - หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย - หนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบการจดั การศึกษาปฐมวัย - บุคลากรดาเนินการจัดการศึกษาปฐมวยั  กล่มุ ที่ 4 การศึกษาปฐมวยั ในประเทศนวิ ซแี ลนด์ - ประวตั ิความเปน็ มาของการศกึ ษาปฐมวยั - รปู แบบการจัดการศึกษาปฐมวยั - หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย - หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบการจดั การศึกษาปฐมวยั - บคุ ลากรดาเนินการจดั การศึกษาปฐมวัย เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 101 กลุ่มที่ 5 การศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปนุ่ - ประวตั ิความเปน็ มาของการศึกษาปฐมวัย - รูปแบบการจัดการศกึ ษาปฐมวยั - หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั - หน่วยงานทรี่ ับผิดชอบการจัดการศกึ ษาปฐมวัย - บุคลากรดาเนนิ การจดั การศึกษาปฐมวยั กล่มุ ท่ี 6 การศึกษาปฐมวยั ในประเทศอิสราเอล - ประวตั ิความเป็นมาของการศกึ ษาปฐมวยั - รปู แบบการจัดการศึกษาปฐมวยั - หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั - หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั - บคุ ลากรดาเนินการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ************************************************* เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 102 แบบฝึกหดั หลงั เรยี น หน่วยท่ี 4 วิวฒั นำกำรของกำรศกึ ษำปฐมวัยในต่ำงประเทศคำชี้แจง : ใหน้ กั ศกึ ษาเปรียบเทียบการจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศอังกฤษ สวีเดน สหรฐั อเมริกานิวซแี ลนด์ ญ่ีปุ่น และอิสราเอล ในหัวข้อต่อไปนี้1. ประวตั คิ วามเปน็ มาของการศึกษาปฐมวยั 2. รปู แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัย3. หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย 4. หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ ประเทศ 1. ประวตั ิควำม 2. รปู แบบกำรจดั 3. หลักสตู ร 4. หนว่ ยงำนที่1.ประเทศ เปน็ มำของ กำรศึกษำปฐมวัย กำรศกึ ษำปฐมวัย รบั ผิดชอบองั กฤษ กำรศึกษำปฐมวัย2. ประเทศสวีเดน ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. ………………………….3. ประเทศ ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….…นิวซีแลนด์ …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 103 ประเทศ 1. ประวัติควำม 2. รปู แบบกำรจดั 3. หลกั สูตร 4. หนว่ ยงำนท่ี4. ประเทศ เปน็ มำของ กำรศกึ ษำปฐมวัย กำรศกึ ษำปฐมวัย รับผดิ ชอบญป่ี ุ่น กำรศึกษำปฐมวัย5. ประเทศอสิ ราเอล ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. ………………………….6. ประเทศ ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….…สหรฐั อเมรกิ า …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ………………………… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ……………………….… ……………………….… ……………………….… ……………………….… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. ………………………… …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 104 แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยท่ี 4 ววิ ฒั นำกำรของกำรศึกษำปฐมวยั ในตำ่ งประเทศรหสั -ช่อื รายวิชา ศษ 0103 การศกึ ษาปฐมวยั ระดบั อนุปริญญา ชั้นปีท่ี 1หนว่ ยท่ี 4 วิวฒั นาการของการศึกษาปฐมวยั ในต่างประเทศ จานวน 10 ข้อ เวลา 15 นาทีคำช้ีแจง : อา่ นคาถามตอ่ ไปนี้ทลี่ ะข้อ แล้วเขียนเครื่องหมาย X ทีข่ ้อคาตอบที่เห็นว่าถูกตอ้ งทสี่ ดุ เพียง ขอ้ เดยี ว1. การศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุน่ ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้อง ก. เนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถนาความรไู้ ปใชใ้ นการแก้ปัญหาและประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ข. เนน้ พัฒนาการเดก็ ตามธรรมธรรมชาติ ปลูกฝงั คณุ ธรรมธรรมและสง่ เสรมิ คณุ ภาพอนามยั ค. เน้นความหลากหลายของกิจกรรม โครงสรา้ งการเรยี นรู้ ช่วงระยะเวลาในการเรียน และ สถานที่ ง. เน้นรปู แบบการเรียนร้ทู ย่ี ึดผู้เรียนเป็นศนู ยก์ ลางและเปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นได้ลงมือกระทา กิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเอง2. ขอ้ ใดคือ รูปแบบของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในประเทศอังกฤษก. โรงเรยี นบริบาล /โรงเรียนสาหรบั เดก็ วยั แรก ข. โรงเรยี นอนุบาล/โรงเรยี นเดก็ เล็กค. ศนู ย์ดูแลเดก็ เล็ก/ศูนย์เด็กเล็กในชมุ ชน ง. โรงเรยี นอนบุ าล/สถานเล้ียงเดก็3. บุคลากรทางการศึกษาปฐมวัยของประเทศอสิ ราเอลมคี ุณลกั ษณะอย่างไร ก. ครอู นุบาลต้องไดร้ บั การจดทะเบียนครู ข. ครูอนุบาลจะต้องเข้าฝกึ อบรมในศูนยฝ์ กึ หดั ครู ค. ครอู นุบาลจะตอ้ งมคี ุณวฒุ ปิ รญิ ญาตรี หรืออนปุ รญิ ญาจากวทิ ยาลยั ง. ครอู นุบาลจะต้องได้รับการฝกึ ฝนเป็นเวลา 3 ปี ในมหาวทิ ยาลยั หรอื วทิ ยาลัย4. หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยของประเทศญี่ปุ่นมลี ักษณะอย่างไร ก. ไมม่ ีการกาหนดหลักสูตรท่ีแน่นอนตายตวั ข. หลักสูตรทมี่ ่งุ เน้นผเู้ รยี นเป็นศูนยก์ ลาง ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการเรยี นและเปน็ ผลู้ งมือกระทา ค. หลกั สตู รมีความยดึ หยุน่ สงู และประกอบดว้ ยเนื้อหา การเรยี นรู้ด้านต่างๆ หลายด้าน ง. หลักสูตรสาหรบั โรงเรยี นอนุบาล เป็นการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนา บุคลกิ ภาพแกเ่ ด็กปฐมวัย อายรุ ะหว่าง 3 - 5 ปี5. ขอ้ ใดคือ หนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบจดั การศึกษาปฐมวัยในประเทศสหรฐั อเมริกา ก. กระทรวงศกึ ษาธิการแหง่ รฐั หรือคณะกรรมการการศึกษาท้องถน่ิ ข. กระทรวงศึกษาธกิ ารและแรงงาน ค. กระทรวงสาธารณสุขและสังคม ง. สหพันธโ์ รงเรยี นอนบุ าล เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 1056. หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยของประเทศนวิ ซีแลนด์ยึดหลักปรชั ญาของนกั การศึกษาคนใดก. จอห์น ดิวอี้ ข. อีรคิ อรี ิคสนัค. เฟรอเบล ง. มอนเตสซอรี่7. การจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศสหรฐั อเมริกาในโปรแกรมไฮ/สโคป มีหลกั การท่ีสาคญั ในข้อใด ก. จัดทาหลักสตู รและโปรแกรมการสอนทชี่ ดั เจน ข. จัดสภาพแวดลอ้ มที่สง่ เสรมิ พัฒนาการทางด้านการปรับตัว ค. เปิดโอกาสให้เด็กมโี อกาสเลอื ก ตดั สนิ ใจและกระทาสงิ่ ต่างๆ ด้วยตนเอง ง. เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและเรียนรู้สภาพแวดล้อมรอบตัว8. การศึกษาปฐมวยั ในประเทศอังกฤษได้รบั อิทธิพลจากปรชั ญาและแนวคิดของนักการศกึ ษาคนใดก. เฟรอเบล ข. มอนเตสซอรี่ค. โคเมนิอสุ ง. ดิวอี้9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในประเทศอสิ ราเอล ยดึ ตามหลกั การตามข้อใด ก. การจดั กิจกรรมการเรียนรผู้ า่ นการเล่น ข. การจดั กิจกรรมส่วนมากมุ่งเน้นไปที่กจิ กรรมกลุ่มใหญ่ ค. การจัดกิจกรรมส่วนใหญไ่ ม่มีการวางแผนล่วงหน้า และเน้นทักษะการคิด ง. การจดั เตรียมส่ือท่สี ่งเสริมจินตนาการและความสามารถทางภาษา10. ขอ้ ใดคือ รปู แบบของการจดั การศกึ ษาปฐมวัยในประเทศสวเี ดน ก. โรงเรียนอนบุ าล/โรงเรยี นเดก็ เล็ก/ศนู ยเ์ ลี้ยงเด็กหรือสถานรับเล้ยี งเด็ก ข. โรงเรียนอนุบาล/ศนู ยด์ แู ลเด็กเลก็ /ศูนยเ์ ด็กเล่น ค. ศนู ยเ์ ด็กเลก็ /สถานรบั เล้ยี งเด็ก ง. โรงเรียนอนุบาล/สถานเลี้ยงเด็ก ******************************************************* เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 106 บรรณำนุกรมกมล สดุ ประเสริฐ และสนุ ทร สนุ นั ทช์ ัย. (2540). กำรปฏริ ปู กำรศึกษำของประเทศสหรฐั อเมริกำ. กรงุ เทพฯ : อรรถพลการพิมพ์.ทิพย์สดุ า สเุ มธเสนยี ์. (2542). ประสบกำรณ์กำรศึกษำปฐมวยั ตำ่ งประเทศ. กรุงเทพ ฯ : สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ.นภเนตร ธรรมบวร. (2542). ประสบกำรณก์ ำรศึกษำปฐมวัยต่ำงประเทศ. กรุงเทพ ฯ : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ.นติ ยา ประพฤตกิ จิ . (2539). กำรพฒั นำเด็กปฐมวยั . กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พรนิ้ ติง้ เฮา้ ส์ประภาพรรณ สุวรรณศุข. (2547). “พฒั นาการการปฐมวัยศึกษาในตา่ งประเทศ” เอกสำรกำรสอนชุด วชิ ำพฤตกิ รรมกำรสอนปฐมวัยศึกษำ หนว่ ยที่ 1 - 8. พิมพ์ครั้งท่ี 14. นนทบุรี : มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช.พณิ สุดา สริ ิธรังศรี. (2540). รำยงำนกำรปฏิรปู กำรศกึ ษำของประเทศนวิ ซีแลนด์. กรงุ เทพ ฯ : สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ.ศศิพันธุ์ เปี๊ยนเปี่ยมสิน. (2553). เอกสำรชุดวิชำ ECED 201 กำรศึกษำปฐมวัย (Early Childhood Education). กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สวนดสุ ิต.สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. (2534). โครงกำรวิจยั สภำพกำรจดั บรกิ ำรเพ่ือพัฒนำเด็ก อำยุ 0-6 ปี เรื่อง ภำพกำรจัดบรกิ ำรเพอื่ พัฒนำเดก็ อำยุ 0-6 ปี. กรุงเทพฯ : รุง่ เรืองสาสน์ . เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 107 หนว่ ยที่ 5 ววิ ัฒนาการของการศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทยสำระสำคัญ วิวัฒนาการของการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 สมัย ได้แก่ การศึกษาปฐมวัยสมยั ก่อนมีระบบโรงเรียน และการศึกษาปฐมวัยสมัยมีระบบโรงเรยี น การศกึ ษาปฐมวยั สมัยก่อนมีระบบโรงเรียน เร่มิ ตงั้ แต่สมยั กรุงสโุ ขทัยจนถึงสมยั ตอนตน้ รัชกาลท่ี 5 คือ ไม่มีแบบแผน ไม่มโี รงเรยี นสาหรับเรียนหนงั สอื โดยเฉพาะ ไม่มหี ลกั สูตรวา่ จะเรียนวิชาอะไรบ้างไม่มกี ารกาหนดเวลาเรยี น และไมม่ ีการวดั ผลการศึกษา สถานทีเ่ รียนหนงั สือของเด็กทีเ่ ปน็ ชาวบ้านท่ัวไปคือ “วัด” เน้นการศึกษาปฐมวัยสาหรับเช้ือพระวงศ์หรือเด็กที่มีฐานะดี โดยเรียนที่พระบรมมหาราชวังหรือท่ีบ้านของตนเอง ต่อมาจึงมกี ารจดั ในรปู ของสถานเลยี้ งเด็ก การศึกษาปฐมวัยสมัยมีระบบโรงเรียนของประเทศไทย เริ่มต้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั นบั ตง้ั แต่มโี ครงการศกึ ษาชาติ พ.ศ.2441 แบง่ เปน็ 2 ระยะ ไดแ้ ก่ 1. การจัดการศึกษาปฐมวัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เม่ือรัฐได้กาหนดโครงการศึกษาชาติขึ้นมา กล่าวถึงการศึกษาปฐมวัยท่ีเรียกว่า มูลศึกษาจะรวมถึงโรงเรียนบุรพบท โรงเรียนกินเดอกาเตน และโรงเรียน ก.ข นโม โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือสอนเด็กให้สามารถอ่าน เขียน และคิดคานวณเพ่ือเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษา ต่อมาได้มีการปรับปรุงโครงการศึกษาชาติ แต่ก็ยังปรากฏคาว่า มูลศกึ ษา หรอื การศึกษาเบอ้ื งต้น และเนน้ การเรยี น อา่ น เขียน คดคานวณ เปน็ สาคญั 2. การศึกษาปฐมวัยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หลังจากมีการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เป็นต้นมา การศึกษาปฐมวัยได้รับความสนใจเพ่ิมมากข้ึน บรรดานักการศึกษาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในสมัยนั้นได้เล็งเห็นและตระหนักถึงความสาคัญของวัยเด็ก จึงได้จัดการศกึ ษาในระดบั ปฐมวยั กว้างขวางขึน้ รัฐบาลเร่ิมให้ความสาคญั ในการจดั การศึกษาปฐมวัยเพ่ิมมากข้ึนในปี พ.ศ. 2483 ได้ตั้งโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศขึ้นเพ่ือเป็นแบบอย่างในการจัดโรงเรียนอนุบาลและได้ขยายโรงเรียนอนุบาลสู่ภูมิภาคจนครบทุกจังหวัด โดยมีการผลิตครูอนุบาลเพ่ือสนับสนุนการขยายโรงเรียนการศึกษาปฐมวัยของไทยจึงเร่ิมมุ่งเน้นการเตรียมความพร้อมให้กับเด็กมากกว่าการเรียนอ่านเขียนดงั เชน่ ในอดีตทผี่ ่านมาเป็นต้นมาจดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ 1. บอกประวัติความเป็นมาของการศกึ ษาปฐมวยั ในประเทศไทยได้อยา่ งถูกต้อง 2. อธิบายลักษณะการจัดการศกึ ษาปฐมวัยสมัยกอ่ นมีระบบโรงเรียนไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 3. อธบิ ายลกั ษณะการจัดการศกึ ษาปฐมวัยสมยั มรี ะบบโรงเรียนไดอ้ ย่างถูกตอ้ งสำระกำรเรยี นรู้ 1. การศึกษาปฐมวัยสมยั ก่อนมีระบบโรงเรียน 2. การศึกษาปฐมวยั สมัยมรี ะบบโรงเรยี น เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 108 บทนำ การจัดการศึกษาของประเทศไทยมีวิวัฒนาการมาโดยตลอดต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อาจจะเป็นเพราะมีปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศทาให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงต้องปรับตัวให้ทันสมัยเพ่ือความอยู่รอดและประเทศได้เกิดการพัฒนาให้ทัดเทยี มกับนานาประเทศ โดยการจัดการศึกษาในแต่ละยุคสมัยมที ้งั ความเหมอื นและความแตกต่างกันในรูปแบบท่ีจัดการศึกษาปฐมวยั ในยุคแรกหลักการจัดการศึกษายังไม่มีระบบที่ชัดเจน และยังจัดการเรียนการสอนมีอยู่ในวงจากัดในระดับครอบครัว ญาติพี่น้อง หรือในชุมชนเล็กๆ การจัดการศึกษาท่ีเป็นระบบมากท่ีสุดคือ จัดการเรียนการสอนในวัดโดยมีพระสงฆ์เป็นครูผู้สอน เป็นต้น ในระยะหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง การจัดการศึกษาได้พัฒนาระบบและรูปแบบในการจดั การศกึ ษาท่ีชัดเจนยิง่ ขึน้ จนถึงยคุ ปจั จบุ นั ด้วยเหตุผลท่ีกลา่ วมาทาให้การจัดการศึกษาของไทยมีววิ ัฒนาการเรื่อยมา ซึ่งเปน็ ปัจจัยทช่ี ่วยเสรมิ ความเจริญก้าวหนา้ ท้งั ทางด้านสงั คม เศรษฐกจิ และการเมืองของชาตใิ หม้ ัน่ คงและเจริญก้าวหน้าเพื่อให้ความเข้าใจถึงวิวัฒนาการของการศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทย ในหน่วยน้ีผู้เรียบเรียงขอกล่าวถึงวิวัฒนาการของการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทยสมัยก่อนมีระบบโรงเรียน และสมัยมีระบบโรงเรียนรายละเอียดดงั น้ี1. กำรศึกษำปฐมวัยสมัยกอ่ นมีระบบโรงเรียน ศศพิ ันธ์ุ เป๊ียนเปยี่ มสิน (2553) ได้กลา่ วถงึ การศึกษาปฐมวัยสมัยกอ่ นมรี ะบบโรงเรยี นไว้ ดังน้ี 1.1 กำรศกึ ษำปฐมวยั ในสมัยกรงุ สโุ ขทัย การศึกษาปฐมวัยในสมัยกรุงสุโขทัย เม่ือพ่อขุนรามคาแหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยข้ึนตั้งแต่พ.ศ. 1826 พระองค์ทรงนาออกเผยแพร่สู่บรรดาคนไทยทั่วไปในแถบลุ่มแม่น้ายม แม่น้าเจ้าพระยาตลอดจนลงไปทางใต้ ซงึ่ ก็ไดร้ บั การยอมรบั และนาไปสงั่ สอนถา่ ยทอดกนั ต่อไปอยา่ งแพรห่ ลาย ทั้งยังทรงสั่งสอนพระราชวงศ์ ช้าราชบริพาร ตลอดจนราษฎรให้หัดอ่าน หัดเขียนหนังสือไทย การศึกษาในสมัยนั้น เป็นการศึกษาแบบไม่เป็นทางการ ทั้งน้ีเน่ืองจากไมม่ ีการกาหนดหลักเกณฑ์ที่แน่นอนไม่มีการบังคับแต่เป็นการสอนให้เปล่า ไม่มีค่าจ้างหรือค่าเล่าเรียน และการเรียนเป็นไปตามความสมัครของผู้เรียนสถานศึกษา ได้แก่ บ้าน วัด สานักปราชญ์ราชบัณฑิต และราชสานัก ครูผู้สอน ได้แก่ บิดมารดา พระพราหมณ์ และราชบัณฑติ วชิ าเรยี นในสมัยกรงุ สุโขทัยอาจกล่าวได้วา่ มีการจดั การศกึ ษาโดยให้ผู้เรียนได้ศกึ ษาเน้ือหาตา่ งๆ ดังนี้ 1.1.1 การสอนจริยศึกษา อันได้แก่ การสอนให้เด็กปฏิบัติตนให้อยู่ในศีลธรรม จรรยาและปฏิบตั ติ ามหลกั พทุ ธศาสนา 1.1.2 การสอนพุทธิศึกษา ได้แก่ การสอนอ่าน เขียนภาษาไทย ภาษาบาลี และวิชาความรเู้ บ้ืองต้นอย่างอ่ืน 1.1.3 การสอนพลศึกษา ในสมัยน้ัน ผู้ชายทุกคนต้องเป็นทหาร ดังน้ันจึงจาเปน็ ต้องหัดวิชาสาหรบั ป้องกนั ตัว และไวใ้ ชใ้ นเวลาเกดิ ศกึ สงคราม เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 109 1.1.4 การสอนหัตถศึกษา ส่วนใหญ่ศึกษาภายในบ้าน โดยมีบิดามารดาที่มีความรู้ทางอาชีพถ่ายทอดวิชาความรู้ให้แก่บุตรหลานของตนสาหรับเด็กหญิงก็จะได้รับการอบรมเก่ียวกับกิจกรรมบา้ นเรือน การฝมี อื การประกอบอาหาร การทอผา้ หรอื การประกอบอาชีพของครอบครัว ดังน้ันจะเห็นได้ว่า การศึกษาปฐมวัยในสมัยสุโขทัยนี้เป็นการศึกษาอย่างไม่เป็นทางการ และยงั ไมไ่ ดใ้ หค้ วามสาคญั กบั การจดั การศึกษาในระดบั ปฐมวยั 1.2 กำรศึกษำปฐมวยั ในสมัยกรุงศรีอยุธยำ การศกึ ษาปฐมวัยในสมัยกรุงศรีอยุธยาในระยะแรก คงดาเนนิ ไปตามแบบเดิมเชน่ เดยี วกับสมัยกรุงสุโขทัย ต่อมาในสมัยพระนารายณ์มหาราชได้ทรงเจริญสัมพันธไมตรีกับฝร่ังเศส ดังน้ันในสมัยน้ีสถานศึกษาของไทยจึงมีสานักสอนศาสนา เพื่ออบรมเด็กไทยให้เป็นสามเณรในคริสต์ศาสนา และขณะเดียวกนั ก็มีการสอนวิชาการอนื่ ๆ นอกจากศาสนาด้วย อาทิ ภาษาฝร่ังเศส ดาราศาสตร์ การตอ่ เรือการกอ่ สร้าง เป็นต้น การศึกษาในสมัยพระนารายณ์มหาราชเจริญรุ่งเรืองมาก ท้ังด้านจริยศึกษา พุทธิศึกษา และพลศึกษา รวมทั้งมีหนังสือแบบเรียนภาษาไทยเล่มแรก คือ “หนังสือจินดามณี” ซ่ึงบรรจุเนื้อหาวิชาภาษาไทยตั้งแต่ช้ันประถมศึกษาข้ึนไปจนถึงข้ันอุดมศึกษา และการศึกษาเร่ิมแพร่หลายสู่คนธรรมดาสามญั มากขึ้นกว่าแต่ก่อน อย่างไรก็ตาม การศึกษาในระดับปฐมวยั ศึกษาที่จัดให้แกเ่ ด็กในวัย 3 - 7 ปี ก็ยงั ไมป่ รากฏ 1.3 กำรศกึ ษำปฐมวยั ในสมัยกรงุ ธนบรุ ีและกรุงรัตนโกสินทรต์ อนต้น (สมยั รัชกำลท่ี 1 -รชั กำลท่ี 4) การศึกษาปฐมวัยในสมัยกรุงธนบรุ ีและกรุงรตั นโกสินทร์ตอนต้น (สมัยรัชกาลท่ี 1 - รัชกาลที่ 4)หลงั จากเหตุการณ์บ้านเมืองเข้าสู่ปกติแล้ว การศึกษาในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเข้ารูปเดิมเหมือนในสมัยกรุงศรีอยุธยา และเมื่อเข้าสู่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เน่ืองจากทรงเห็นว่าการศึกษาวิชาหนังสือน้ัน ราษฎรทั่วไปได้อาศัยวัดเป็นท่ีศึกษาเล่าเรียนแล้ว แต่วิชาชีพอื่นๆ ยังไม่มีท่ีจะศึกษาเล่าเรียนกันได้จึงโปรดให้ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิต ผู้เช่ียวชาญในวิชาแขนงต่างๆ ได้จารึกวิทยาการลงในแผ่นศิลาวิชาท่ีนามาจารึกไว้ส่วนใหญ่เป็นวิชาชีพชั้นสูง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ หมวดอักษรศาสตร์ หมวดแพทยศาสตร์ และหมวดวิชาช่างฝีมือ นอกจากน้ียังได้ดัดแปลงหนังสือจินดามณีใหม่เพ่ือให้ใช้ศึกษาเล่าเรียนได้ง่ายขึน้ หนงั สอื ดังกลา่ ว ได้แก่ หนังสอื ประถม ก. กา และหนังสือประถมมาลา หนังสือท้ัง 2 เล่มน้ีใช้เป็นแบบเรียนจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการเรียนภาษาอังกฤษ วิชาแพทย์ วิชาเคร่ืองจักรกล วิชาต่อเรอื กาป่ัน วิชาเดนิ เรือกับพวกหมอสอนศาสนา นอกจากน้ันยังได้มีการพิมพ์หนังสอื ไทยขนึ้ ครง้ั แรก จงึ ทาให้การศกึ ษาแพร่หลายในหมปู่ ระชาชนอย่างกวา้ งขวางข้ึน ดังน้ัน จะเห็นได้ว่า การศึกษาของไทยต้ังแต่สมัยกรุงสุโขทัยมาจนถึงสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเปน็ การศกึ ษาชนดิ ไม่มีแบบแผน ไม่มีโรงเรียนสาหรับเรียนหนังสือโดยเฉพาะ ไม่มีหลักสูตรว่าจะเรียนวิชาอะไรบ้าง ไม่มีการกาหนดเวลาเรียน และไม่มีการวัดผลการศึกษา เด็กชายที่มีอายุตั้งแต่ 7 -8 ขวบข้ึนไป บิดามารดาจะพาไปฝากไว้กับพระ ส่วนเด็กหญิงจะเรียนวิชาการบ้านการเรือนอันจาเป็นแก่กลุสตรี โดยศึกษาท่ีบ้านของตน หรือบิดามารดาอาจนาไปฝากไว้ในราชสานักหรอื ในวังเจ้านาย หรือบ้านข้าราชการ ดังน้ันจะเห็นได้ว่าการศึกษาของไทยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ยังไม่ได้ เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 110ให้ความสาคัญต่อการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย อย่างไรก็ตาม จากประวัติการศึกษาอาจกล่าวได้ว่าการจัดการศกึ ษาในระดับปฐมวัยในระยะก่อนได้รับอทิ ธิพลทางตะวนั ตกนั้น มีลกั ษณะทีส่ าคัญดงั น้ี 1. การให้การปฐมวัยศึกษาสาหรับเช้ือพระวงศ์ เป็นการจัดการศึกษาให้แก่พระโอรส พระธิดา และเช้ือพระวงศ์ ซ่ึงเป็นการจัดการศึกษาในพระบรมมหาราชวัง โดยมีอาลักษณ์หรอื ราชบณั ฑติ มาสอน 2. การให้การปฐมวัยศึกษาสาหรับบุคคลที่บิดามารดามีฐานะดี บิดามารดากจ็ ะจ้างให้ครูมาสอนที่บ้าน หรอื เรยี นทบ่ี า้ น โดยมบี ิดามารดาเป็นผ้สู อนตามความสามารถหรือตามอาชีพของตน 3. การให้การปฐมวยั ศึกษาสาหรับประชาชนทั่วไป เด็กท่ีบิดามารดามีฐานะยากจนจาเป็นต้องออกไปประกอบอาชีพ หรือไม่มีความสามารถในการอบรมส่ังสอน ก็จะนาเด็กชายไปฝากไว้ที่วดั เพื่อให้เรียนหนังสอื และศึกษาพระธรรมวินัย และเม่ืออายุ 11 ขวบขนึ้ ไป ก็จะบวชเป็นสามเณร เพ่ือศึกษาเล่าเรียนอยู่ในวัด สาหรับเด็กหญิงส่วนใหญ่จะไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือ นอกจากบิดามารดาจะพาไปฝากไว้ในวัง หรือบ้านเจ้านาย เพื่อฝึกฝนการเป็นกุลสตรี และบางครอบครัวบิดามารดาก็จะสอนหรอื ถ่ายทอดงานอาชพี ของครอบครัวใหฝ้ ึกหัดภายในบ้าน 1.4 กำรศึกษำปฐมวัยของประเทศไทยระยะหลังได้รับอทิ ธิพลทำงตะวนั ตก เม่ือพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่ได้เสด็จขน้ึ เสวยราชสมบัติ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2411 ทรงมุ่งพัฒนาประเทศชาติทั้งด้านการปกครอง การสังคม การคมนาคม และการศึกษา เพื่อให้ประเทศไทยเปน็ ประเทศที่ทันสมัยตามแบบอารยประเทศ และทรงเล็งเห็นว่าการพัฒนาประเทศจาเปน็ ต้องใช้บคุ คลท่ีมีวิชาความรู้มารับราชการ ดังนั้น การจัดการศึกษาของไทยจึงต้องเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของประเทศชาติ ใน พ.ศ. 2414 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าใหต้ ้ังโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง โดยมีพระยาศรีสนุ ทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูล) เป็นอาจารย์ใหญ่ จึงนับเปน็ โรงเรียนแรกท่ีมีสถานท่ีเรียนที่จัดไว้โดยเฉพาะ มีฆราวาสเป็นครู และทาการสอนตามเวลาท่ีกาหนด มีการกาหนดวิชาที่เรียน ได้แก่วิชาภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ และวิชาอ่ืนๆ ซึ่งไม่เคยมีสอนในโรงเรียน หลังจากนั้นก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ตั้งโรงเรียนต่างๆ อีกหลายประเภท ในปี พ.ศ. 2427 ได้ทรงตั้งโรงเรียนหลวงสาหรับราษฎรขึ้นเป็นแหง่ แรก คือ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม ต่อมาเมื่อโรงเรียนหลวงได้แพร่หลายออกไปเป็นจานวนมาก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ประกาศตั้งกรมศึกษาธิการขึ้น ในปี พ.ศ. 2430 เพื่อให้มีหน้าทด่ี ูแลและจดั การศึกษาโดยเฉพาะ ดังน้ัน จะเห็นได้ว่า การจัดการศึกษาในประเทศไทยได้ดาเนินงานอย่างเป็นระบบ และแพร่หลายกว้างขวางไปยังราษฎรให้มีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนในสถานศึกษาโดยการดูแลของรัฐได้เริ่มต้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประกอบกับพระองค์ได้เสด็จประพาสทวียุโรปหลายคร้ัง ทั้งยังส่งข้าราชการชั้นสูงไปศึกษาและดูงานยังประเทศต่างๆ จึงทาให้การจัดการศึกษาในระยะหลังได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ โดยเฉพาะทางซีกโลกตะวันตก อันได้แก่ ประเทศในทวีปยุโรป และสหรฐั อเมรกิ า ต้งั แตร่ ัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นชว่ งระยะแรกท่ีเป็นการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียนและมีการจัดทาโครงการศึกษาชาติฉบับแรก พ.ศ.2441 จนถึงระยะหลังการเปล่ียนแปลงการปกครองเป็นระบบประชาธิปไตย รัฐได้จัดทาแผนการศึกษาชาติขึ้นจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงได้มีการปรับแผนเป็นระยะอย่างต่อเนื่องเรื่อยมา จนถึงขณะนี้เป็นระยะของแผนการศึกษาชาติออกมาหลายฉบับ และออกเปน็ พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาในท่สี ุด เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 111 1.5 กำรศกึ ษำปฐมวัยในยคุ เร่มิ ตน้ การศกึ ษาปฐมวัยในยุคเรมิ่ ตน้ ของประเทศไทยน้นั แบ่งเปน็ 2 รูปแบบ คอื 1.5.1 การปฐมวัยศึกษาในรูปแบบของโรงเรียน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาให้จัดตั้งโรงเรียนราชกุมารขึ้นในปี พ.ศ. 2435 และในปี พ.ศ. 2436จัดต้ังโรงเรียนราชกุมารีขึ้นเพ่ือเป็นสถานศึกษาของสมเด็กพระเจ้าลูกยาเธอและพระเจ้าลูกเธอที่ยังทรงพระเยาว์ จงึ นับเป็นสถานศึกษาในระดับปฐมวัยศึกษาแห่งแรกท่ีมีการจัดการศึกษาอย่างมีระบบ เน่ืองจากมีการจดั ชั้นเรยี น วิชาเรยี น วธิ เี รียน และเวลาเรยี นท่ชี ดั เจน ดังน้ี - สถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ พระบรมมหาราชวัง - ครูผู้สอน ไดแ้ ก่ ผมู้ ีความรู้สงู - การจัดช้ันเรียน กาหนดไว้ 3 ช้ัน ช้ันท่ี 1 หรือชั้นต้น ซ่ึงเทียบได้กับชั้นมูล ชั้นที่ 2และชนั้ ท่ี 3 - วิชาที่เรียน ใช้แบบเรียนเร็ว เล่ม 1 เล่ม 2 และเล่ม 3 ตามลาดับชั้นเรียน โดยการเรียนอ่าน เขยี น และเลข - วิธีสอน ใช้วิธสี อนแบบเรียนปนเลน่ และสนับสนุนเด็กให้ลงมือทากิจกรรมดว้ ยตนเองและฝกึ ความพร้อมทางกายมากกว่าการฝึกดา้ นสตปิ ัญญา - เวลาเรียน กาหนดเป็น 3 ระยะ คือระยะแรกตั้งแต่ 10.00 น.-12.00 น. ระยะท่ีสองเวลา 13.00 น.-14.30 น. และระยะท่ีสาม เวลา 15.00 น.-16.00 น. 5.2 การปฐมวยั ศึกษาในรูปแบบของสถานรับเลีย้ งเดก็ การศึกษาปฐมวัยในรูปแบบของสถานรับเลี้ยงเด็ก ได้เร่ิมดาเนินการใน พ.ศ. 2433 โดยพระอัครชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์กรมขุนสุทธาสินีนาฏ ในรัชกาลท่ี 5 เน่ืองจากสาเหตุที่พระองค์สูญเสียพระราชธดิ าท่ีมีพระชนมายุเพียง6 ชันษา ดังนั้นพระอัครชายาเธอจึงมีดาริที่จะรวบรวมเด็กกาพร้า เด็กยากจน เด็กจรจัดเหล่านี้เข้ามาเลี้ยง เพื่อให้การดูแลเรื่องอาหาร สุขภาพ และการศกึ ษา เพอื่ ช่วยใหเ้ ดก็ เตบิ โตเปน็ พลเมืองดีตอ่ ไป สถานรับเล้ียงเด็ก จึงได้ก่อต้ังข้ึนท่ีตาบลสวนมะลิ ถนนบารุงเมือง และเปิดดาเนินการเม่ือวันที่ 1 เมษายน 2433 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้เรยี กชือ่ ว่า โรงเลีย้ งเดก็ ของพระอัครชายาเธอ โดยมีกรมหมื่นดารงราชานุภาพ เป็นผู้อานวยการโรงเลี้ยงเด็กแห่งนี้เป็นคนแรก โรงเลี้ยงเด็กของพระอัครชายาเธอ รับเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 11ปีสาหรับเด็กหญิงและไม่เกิน 13 ปี สาหรับเด็กชาย เด็กท่ีพ่อแม่มีฐานะยากจน หรือเป็นเด็กกาพร้าหรือทุพพลภาพในระยะแรกมีเด็กรวมทั้งสิ้น 108 คน เป็นเด็กชาย 74 คน และเด็กหญิง 34 คน เด็กเหล่านี้จะได้รับการดูแลในเรื่องการกิน การนอน สุขภาพ ฝึกอบรมมารยาท และเมื่ออายุพอสมควรก็ให้เรียนหนังสือ ฝึกอาชีพและหางานให้ทา ตามลาดับ ซึ่งบิดามารดาของเด็กเหล่านี้ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆท้ังสิ้น ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า โรงเล้ียงเด็กของพระอัครชายาเธอ จึงเป็นการริเร่ิมการศึกษาปฐมวัยในรูปของสถานเลี้ยงเด็กข้ึนเป็นครั้งแรก และเป็นการให้บริการแก่เด็กกลุ่มด้อยโอกาสให้สามารถยกระดั บความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตให้เป็นประชากรท่ีมีคุณค่าของประเทศชาติต่อไป ทั้งน้ีเพราะสถานเลี้ยงเด็กแหง่ นไี้ ด้รับการสนบั สนนุ และสมทบทุนทรัพย์จากเจ้านายชน้ั ผใู้ หญ่ ตลอดจนไดร้ ับการอบรมสั่งสอนการเอาใจใส่ดูแลจากครูอย่างเต็มที่ จนกล่าวได้ว่า เด็กที่เกิดและเติบโตสมัยนั้นแม้จะเกิดเป็นบุตรข้าราชการหรือผู้ดีมีสกุลบางคน ก็ยังไม่ได้รับการอบรมบ่มนิสัยเท่าเด็กจากโรงเล้ียงเด็ก จึงเป็นการประกันว่าเด็กเหล่านจ้ี ะเตบิ โตขน้ึ มีตาแหนง่ หนา้ ท่ีราชการ และมฐี านะดใี นเวลาต่อมา เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 112 สรุปได้ว่า การศึกษาปฐมวัยสมัยก่อนมีระบบโรงเรียน เร่ิมตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นการจัดการศึกษาท่ีไม่มีแบบแผน ไม่มีระบบโรงเรียนสาหรับเรียนหนังสือโดยเฉพาะ ไม่มีหลักสตู ร ไม่มีกาหนดเวลาเรียน และไมม่ ีการวัดผลการศึกษา ในแต่ละสมัยจะเปล่ียนไปตามเหตุการณ์บา้ นเมือง และทสี่ าคัญยังไม่ได้เหน็ ความสาคัญต่อการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยอย่างเด่นชัดและจริงจัง จนกระท่ังตอนต้นสมัยของรัชกาลท่ี 5 ได้เริ่มเห็นความสาคัญของการจัดการศึกษาให้กับเด็กระดับน้ีซ่ึงได้เริ่มจัดในรูปของสถานเล้ียงเด็ก การศึกษาปฐมวัยก่อนมีระบบโรงเรียน เด็กส่วนใหญ่ซ่ึงเป็นลูกบุคคลธรรมดาท่ีมีฐานะยากจน เด็กชายจะมีโอกาสมากกว่าเด็กหญิงเพราะเด็กชายไปเรียนท่ีวัด เด็กผู้หญิงผปู้ กครองไม่นอยมใหเ้ รียนหนังสือและไมม่ ีสถานที่เรียนถึงแมจ้ ะมีโรงเรยี นเลี้ยงเด็กของพระอัครชายาเธอท่ีรบั เดก็ หญงิ ไปเลย้ี งดูให้การศึกษาแต่ ก็ยงั คงรับเดก็ ไดใ้ นจานวนจากดั2. กำรศึกษำปฐมวยั สมัยมีระบบโรงเรียน เยาวพา เดชะคุปต์ (2542 : 41) กล่าว่า การศึกษาปฐมวัยสมัยมีระบบโรงเรียนมีแนวคิดมาตั้งแต่โครงการศึกษาชาติ พ.ศ.2441 เป็นต้นมา จนถึงโครงการศึกษาชาติ พ.ศ.2464 การศึกษาปฐมวัยจัดในรูปของโรงเรียนมูลศึกษา ซ่ึงแบง่ ออกเป็นโรงเรียนกนิ เดอกาเตน (Kindergarten) โรงเรียนบุรพบทกับโรงเรียน ก.ข นโม โรงเรียนบุรพบทนั้นมุ่งให้นักเรียนมีความรู้หรือเข้าช้ันเรียนสูงหรือประถมศึกษาต่อไป การจัดโรงเรียนมูลศึกษาอาจจัดอยู่ในโรงเรียนประถมศึกษาก็ได้ โรงเรียน ก.ข นโม ก็เป็นขั้นมูลศึกษาเช่นกัน อาจจัดสอนตามวัด ตามบ้าน วิชาเรียนก็ได้แก่ อ่าน เขียน เลข หรือท่ีเรียกว่า ไตรภาคเม่ือเรยี นรู้ไตรภาคแล้วกจ็ ะได้เขา้ เรยี นในโรงเรียนประถมศึกษาตอ่ ไป อนึ่ง การจัดชั้นมูลศึกษาในเวลาน้ันนิยมฝากไว้ในโรงเรียนประถมศึกษาและเป็นการจัดการเพอ่ื เตรียมเด็กเข้าเรยี นในช้ันประถมศึกษา จึงจัดกันเอง ไมม่ ีหลกั สูตร หรือคติการเล่าเรียนเป็นแบบแผนเพื่อดาเนินการสอบไล่ ส่วนครูผู้สอนก็มีความรู้พอจะสอนให้เด็กอ่านออกเขียนได้บ้าง ฉะนั้นการศึกษาปฐมวัยในสมยั มีระบบโรงเรยี นจึงยงั เนน้ การสอนหนังสอื เป็นสาคัญ ศศิพันธ์ุ เป๊ียนเป่ียมสิน (2553) กล่าวว่า การจัดการศึกษาปฐมวัยสมัยมีระบบโรงเรียนมีการพัฒนาจัดระบบการศึกษาปฐมวัยเพิ่มข้ึน ส่วนหน่ึงได้รับอิทธิพลมาจากการศึกษาของต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศในแถบยุโรป เพ่ือใหเ้ กิดความชัดเจนในสมัยนี้สามารถแบ่งการจัดการศึกษาปฐมวัยได้เป็น 2 ระยะ ได้แก่ การศึกษาปฐมวัยก่อนการเปล่ียนแปลงการปกครอง และการศึกษาปฐมวัยหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง รายละเอยี ดมีดังน้ี 2.1 กำรศกึ ษำปฐมวัยก่อนกำรเปล่ยี นแปลงกำรปกครอง การศึกษาปฐมวัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เม่ือรัฐได้กาหนดโครงการศึกษาชาติขึ้นมา ได้มีการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย เป็น 2 ลักษณะ คือ การจัดการศึกษาปฐมวัยของรัฐ และการจดั การศึกษาปฐมวัยของเอกชน รายละเอยี ดดงั นี้ 2.1.1 การจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของรัฐ จากหลักฐานและประวัติการศึกษาของไทยแสดงให้เห็นว่า ความคิดเกี่ยวกับการปฐมวัยศึกษาได้พัฒนาเร่ือยมาจากการศึกษาในรูปของช้ันมูล หรือช้ันเตรียมประถมศึกษา และการจัดปฐมวัยศึกษาตามแนวความคิดของเฟรอเบล และมอนเตสซอรี่ ได้เริ่มมีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 113ปฐมวัยของไทย ต้ังแต่ปลายรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทั้งนี้เนื่องจากพระองค์ได้เคยเสด็จประพาสทวียโุ รป และโปรดให้ผมู้ ีหนา้ ทจี่ ัดการศึกษาไปศึกษาและดูงานต่างประเทศ ดังปรากฏในโครงการศึกษาชาติ พ.ศ. 2441 เป็นต้นมา โครงการฉบับน้ีได้กาหนดให้จัดการศึกษาต้ังแต่ระดับมูลศึกษาซ่ึงเทียบได้กับการปฐมวัยศึกษา ซึ่งคาว่า “มูลศึกษา” หมายถึง การศึกษาขั้นต้นก่อนจะเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษา มีกาหนด 3 ปี โดยเข้าเรียนอายุระหว่าง 7-9 ปี เรียนจบแล้วสามารถเรียนต่อชั้นประถมศึกษาได้ และถ้าไม่เรียนต่อก็สามารถออกไปช่วยพ่อแม่ทามาหากินได้ สาหรับการจัดปฐมวัยศกึ ษาในระยะแรกน้ี จดั เป็น 3 รปู แบบ คอื 2.1.1.1 โรงเรียนบุรพบท หมายถึง โรงเรียนท่ีสอนเด็กให้มีความรู้ก่อนท่ีจะเข้าโรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนน้ีอาจจัดแยกเป็นโรงเรียนต่างหาก หรือเป็นสาขาของโรงเรียนประถมศึกษาก็ได้ และจะรับเด็กอายุ 7 ปี โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือฝึกเด็กให้มีความรู้พอท่ีจะเข้าเรียนในโรงเรยี นประถมศึกษา 2.1.1.2 โรงเรียน ก.ข. นโม หมายถึง โรงเรียนท่ีสอนให้เด็กสามารถเขียน อ่านและคิดคานวณเลข ซึ่งจะสอนอยู่ตามวัดบ้าง ตามบ้านบ้าง โรงเรียนชนิดน้ีจัดสาหรับคนทั่วไปและไม่มีการกาหนดอายุ เมื่อเรียนรู้ไตรภาค คือ เขียน อ่าน และคิดเลขได้แล้ว จะได้เข้าเรียนในโรงเรียนประถมศกึ ษา 2.1.1.3 โรงเรียนกินเดอกาเตน (Kindergarten) หมายถึง โรงเรียนท่ีมีการจดั การเรียนการสอนในระดับมลู ศึกษา เช่น เดียวกบั โรงเรียน ก.ข. นโม แต่โรงเรียนกินเดอกาเตนรับเด็กเข้าเรียนโดยไม่จากัดอายุและให้เรียนอ่าน เขียน คิดเลข ตามวิธีเรียนอย่างเก่า และอาจเรียนตามบ้านหรือวัด โรงเรียนประถมศึกษาแหง่ ใดไม่เปิดสอนชั้นมลู ศึกษา จะเปิดสอนช้ันเตรียมเพยี ง1 ปี สาหรับสอนเด็กให้มีความรู้พอเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาอีกชั้นหน่ึงแทนมูลศึกษา 3 ปี ก็ได้ ท้ังน้ีเพื่อเตรียมเด็กขึ้นเรียนช้ันประถมศึกษา การสอนในช้ันมูลและช้ันประถมศึกษาจึงคล้ายคลึง หรือซ้ากันอยู่บ้าง 2.1.2 การจดั การศกึ ษาปฐมวัยของเอกชน ใน พ.ศ. 2454 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัยได้จัดตั้งแผนกอนุบาลขึ้นเป็นแห่งแรกดาเนินการโดย นางสาวเอ็ดนา ซานาโคลด์ (Miss Edna Sana Cold) ซึ่งได้จัดการสอนตามแนวของเฟรอเบล โรงเรียนแห่งนี้มีครูไทยท่ีสาเร็จการอนุบาลศึกษาจากประเทศสหรัฐอเมริกาและได้นาความรู้และแนวคิดมาปรบั ปรุงการจดั ปฐมวยั ศกึ ษา ทั้งในดา้ นการเรียนการสอน และวัสดคุ รุภณั ฑ์ การรบั เด็กท่ีเขา้ เรียนในโรงเรียนนจี้ ะรับรับท้งั เดก็ ชายและหญิงที่มอี ายรุ ะหว่าง 3 - 6 ปี เพ่ือมาฝึกอบรมในเรอื่ งต่างๆเช่น การสร้างสุขนิสัย มารยาทต่างๆ เป็นต้น นอกจากน้ียังมีการฝึกความพร้อมด้านสายตา และกล้ามเนื้อให้ประสานสัมพันธ์กัน โดยมีครูมาสอนวิชาศิลปะ การร้องราทาเพลง และใช้วิธีสอนตามแบบของเฟรอเบล ต่อมาในปี พ.ศ. 2466 โรงเรียนราชินีได้เปิดแผนกอนุบาลขึ้น โดยรับเด็กทั้งชายและเด็กหญิงอายุ 3 - 5 ปี และทาการสอนตามแนวของมอนเตสซอร่ี และเฟรอเบล ต่อมาในปี พ.ศ. 2470โรงเรียนมาร์แตร์เดอี ได้เปิดแผนกอนุบาล รับนักเรียนชาย - หญิง โดยใช้แนวการสอนตามแบบของเฟรอเบล และท่ีโรงเรียนแห่งน้ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช ได้ทรงศกึ ษาเล่าเรยี นช้นั อนุบาลเมือ่ ครงั้ ยังทรงพระเยาว์ เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 114 ปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีโรงเรียนราษฎร์มากข้ึนการจัดการสอนวิชาต่างๆ ก็สอนตามความพอใจของแต่ละโรงเรียนไม่เป็นระเบียบแบบแผนเดียวกันรัฐจึงได้ตราพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ฉบับแรกของไทยขึ้นใช้ เมื่อวันท่ี 5 มิถุนายน 2461 และในพระราชบัญญัตินี้แสดงให้เห็นว่าการศึกษาปฐมวัยในรูปของอนุบาลได้เริ่มมีระบบและมีแนวปฏิบัติท่ีชดั เจนข้ึน โดยเฉพาะการระบุวตั ถปุ ระสงค์ของการจัดการศึกษาในระดับนี้ คือ “มุ่งการเล้ียงดเู ด็กออ่ นๆเป็นสาคัญ และสอนให้เด็กรู้อ่าน เขียน เรียนนับไปพลางในระหว่างเวลานั้นด้วยโรงเรียนเช่นนี้ครูอนุบาลในโรงเรียนไมต่ ้องมปี ระกาศนยี บัตรก็ได้” ดังนั้นจะเห็นได้ว่า การศึกษาปฐมวัยในระยะเร่ิมมีระบบโรงเรียนน้ันเน้นการสอนหนังสือที่ให้เด็กอา่ นออก เขยี นได้ และคิดเลขเป็น เพอื่ จะไดเ้ ข้าเรยี นในโรงเรยี นประถมศึกษาต่อไป 2.2 กำรศกึ ษำปฐมวยั หลงั กำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบประชาธิปไตย คณะราษฎร์ได้ประกาศนโยบายการปกครองบริหารประเทศไว้ 6 ประการ และการศึกษาเป็นหลักสาคัญประการหน่ึง เม่ือมีการต้ังรฐั บาลข้ึนแล้วก็ได้จัดต้ังกรรมการศึกษาข้ึนคณะหน่ึง โดยมีเจ้าพระยาธรรมศกั ดิ์มนตรีเป็นประธาน เพื่อทาหน้าท่จี ดั วางแผนการศกึ ษาชาติ และแผนปฏบิ ัตกิ ารตา่ งๆ ที่เกยี่ วกับการศึกษา โดยแบง่ เปน็ 2 ระยะ ดังนี้ 2.2.1 การศึกษาปฐมวยั ยุคเรม่ิ ตน้ การศึกษาปฐมวัยยุคเริ่มต้น รัฐบาลในระยะต่อมาได้มกี ารจัดทาแผนการศึกษาชาติ อันเป็นแผนแม่บทของการจัดการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนของชาติ โดยมีการแก้ไขและพัฒนาตลอดมาหากศึกษาแผนการศึกษาทุกฉบับ ต้ังแต่ พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา จะพบวา่ รฐั กาหนดให้มีการจัดการศึกษาตงั้ แต่ระดบั มลู ศึกษาตลอดมาแต่ขาดการระบอุ ยา่ งเดน่ ชดั โดยรัฐให้ความสนใจกบั การจดั การศึกษาภาคบังคับมากกว่าการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย อย่างไรก็ตาม ในแผนการศึกษา พ.ศ. 2479 ได้ระบุว่าเด็กอายุระหว่าง 6 - 7 ปี ควรจะได้เข้าเรียนในช้ันมูล และในแผนการศึกษา พ.ศ. 2494 ได้กาหนดว่าเด็กอายุ 4 - 7 ปี ควรจะเข้าเรียนในช้ันอนุบาล และระบุไว้ในแผนการศึกษาชาติว่า “การศึกษาชั้นอนุบาล ได้แก่ การอบรมกุลบุตรธิดาก่อนการศึกษาภาคบังคับ โดยมีหลักการให้อบรมนิสัย และฝึกประสาทไวใ้ หพ้ รอ้ มทจี่ ะรบั การศึกษาชัน้ ประถมศึกษาต่อไป” นอกจากน้ี สิริมา ภิญโญอนันตพงศ์ (2550) กล่าวว่า หลังจากเปล่ียนแปลงการปกครอง คือ พ.ศ.2475 การศึกษาได้รับความสนใจมากข้ึน นักการศึกษาที่เกยี่ วข้องกับการจัดการศึกษาไดต้ ระหนักถึงความสาคัญของวัยเด็ก และไดจ้ ัดการศึกษาให้แก่เด็กในวยั นี้กวา้ งขวางขน้ึ ต่อมาในปี พ.ศ.2483 กระทรวงธรรมการได้เปิดโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกของรัฐขึ้นในจังหวัดพระนคร ชื่อว่า “โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ” เม่ือวันที่ 2 กันยายน 2483 โดยมี นางจิตรา ทองแถม ณ อยุธยา เปน็ ครูใหญ่ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือทดลองจัดการอนุบาลศึกษา และเพ่ือทดสอบความสนใจความเข้าใจของประชาชนในเรื่องการอนุบาลศึกษาโดยรับนักเรียนชายหญิงที่มีอายุระหว่าง 3 ปี 6 เดือน - 6 ปี หรือจนเข้าเรียนในชั้นประถมศกึ ษา บุคคลท่ีมีความสาคัญในวงการศึกษาปฐมวัย และเป็นผู้บุกเบิกการอนุบาลศึกษาของไทยได้แก่ “ม.ล.มานิจ ชุมสาย” ท่านเป็นผู้มีความรู้ความสนใจและเชี่ยวชาญในเร่ืองเด็กเล็กและการประถมศึกษา เป็นผู้วางโครงการก่อสร้างอาคารเรียนโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ให้การสนับสนุน และเผยแพร่เคร่อื งมือการสอนของมอนเตสซอรี่ ตลอดจนสนบั สนุนให้มีการผลิตสือ่ การสอนอนุบาล เพือ่ ช่วยให้การอนบุ าลศกึ ษาดาเนินไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 115 ในปี พ.ศ. 2485 กระทรวงธรรมการได้เปิดโรงเรียนอนุบาลในส่วนภูมิภาคเปน็ แห่งแรกคือ โรงเรียนอนุบาลนครราชสีมา และในปี พ.ศ. 2486 เปิดที่จังหวัดชลบุรี ตาก พระนครศรีอยุธยาราชบุรี ลพบุรี สงขลา พิษณุโลก และอุดรธานี การขยายโรงเรียนอนุบาลได้ทาติดต่อกันเร่ือยมาจนสามารถเปิดโรงเรียนอนุบาลได้ทั่วทุกจังหวัดใน พ.ศ. 2511 นอกจากน้ี รัฐบาลยังได้มีนโยบายสนับสนุนให้เอกชนช่วยจัดการศึกษาปฐมวัยเพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของรัฐ ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลเอกชนจึงมีบทบาทสาคญั ตอ่ การจัดการศกึ ษาในระดับปฐมวยั เป็นอย่างมาก และโรงเรยี นทเี่ ปิดสอนในระดับอนุบาลส่วนใหญ่จะยึดแบบอย่างการจัดการศึกษาตามรูปแบบของโรงเรียนอนบุ าลละอออทุ ิศ อารี รังสินันท์ (2543 : 137) กล่าวว่า รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนในระดับปฐมวัยของโรงเรยี นอนบุ าลละอออุทศิ มีรายละเอียด ดังน้ี 1. สถานท่ีศึกษา มีสถานที่เรียนโดยเฉพาะมีการปลูกสร้างอาคารเรียนท่ีเหมาะสมกับเดก็ และปลูกสร้างอย่างถกู ตอ้ งตามหลกั การ 2. จดุ มุ่งหมาย การจดั การเรียนการสอนมีจุดมงุ่ หมายทส่ี าคญั ดังนี้ 2.1 เพื่อเตรียมสภาพจิตใจของเด็กให้พรอ้ มที่จะรับการศึกษาในขั้นต่อไป หัดให้ใช้เคร่ืองมือตา่ งๆ ในการเรียน การเล่น และการประดิษฐ์ อบรมให้เป็นคนช่างคิด ช่างทา ขยัน ไม่อยู่น่ิงเฉย และเป็นคนว่องไว กระฉับกระเฉง 2.2 เพื่ออบรมเด็กให้เป็นคนมีความสังเกต มีไหวพริบ เฉลียวฉลาด คิดหาเหตุผลใหเ้ กิดความเข้าใจตนเอง ความพากเพยี ร พยายาม และอดทน ไมจ่ ับจด 2.3 เพ่ืออบรมให้เป็นคนพ่ึงตนเอง สามารถทาหรือปฏิบัติอะไรได้ด้วยตนเองเดก็ ในโรงเรียนอนุบาลนจ้ี ะต้องอบรมให้ช่วยตนเองให้มากท่ีสุด เชน่ หัดแต่งตัว ใสเ่ สื้อ นุ่งกางเกง หวีผมรบั ประทานอาหารเอง ฯลฯ ท้ังจะตอ้ งทาให้เปน็ เวลาดว้ ย โดยไมม่ พี เ่ี ลีย้ งคอยตักเตอื น หรอื คอยรบั ทาให้ครูเป็นแตผ่ ูค้ อยดแู ลควบคุมอย่หู า่ งๆ เทา่ น้ัน 2.4 เพื่อหัดมารยาทและศีลธรรมทั้งในส่วนตัวและการปฏิบัติต่อสังคม และหัดมารยาทในการน่ัง นอน เดิน และรับประทานอาหาร หัดให้เป็นคนสุภาพเรียบร้อย ฝึกนิสัยให้เป็นคนมีศีลธรรมอันดี จติ ใจเข้มแขง็ มรี ะเบียบ รกั ษาวนิ ัย มีความสามคั คีซ่ึงกันและกนั 2.5 เพื่อปลูกฝังนิสัยทางสุขภาพอนามัย รู้จักระวังสุขภาพของตน และรบั ประทานอาหารเป็นเวลา รจู้ กั รักษาร่างกายให้สะอาด และแข็งแรงอย่เู สมอ 2.6 เพ่ืออบรมให้เป็นคนร่าเริงต่อชีวิต มีการสอนร้องเพลง และการเล่นท่ีสนุกสนาน ทั้งนเ้ี พอื่ จะได้เปน็ นักสซู้ ง่ึ เต็มไปดว้ ยความรืน่ เริงเบิกบานและคิดกา้ วหน้าเสมอ 3. หลกั สตู ร ไดม้ ีการกาหนดวชิ าท่ีเรยี นและอัตราเวลาเรียนไว้อยา่ งชัดเจน 4. การจดั การเรียนการสอน สอนตามแนวคิดของเฟรอเบล โดยใช้วธิ ีสอนแบบเรียนปนเล่น ส่งเสริมให้เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมดว้ ยตนเอง และให้เหมาะสมกับประเพณีและวัฒนธรรมไทย ท้ังยงั สามารถนาไปปฏิบัตใิ นชวี ติ ประจาวนั ได้ 5. การกาหนดช้ันเรยี นและเวลาเรยี น การเรียนในระดับนมี้ กี าหนด 2 ปี คอื ชัน้ อนุบาลปีท่ี 1 และปีที่ 2 สาหรับระยะเวลาเรียนจะเร่ิมเรียนต้ังแต่ 09.00 น.-15.00 น. ซ่ึงโรงเรียนจะกาหนดตารางสอนประจาวัน เพ่ือใหค้ รูสอนวิชาและจัดกิจกรรมต่างๆ เพ่ือฝึกใหเ้ ดก็ สงั เกต คิดโดยการใชว้ ิธกี ารตา่ งๆ เช่น สนทนา เล่านิทาน ร้องเพลง วาดภาพ ฯลฯ และส่งเสริมให้เด็กได้พักผ่อนด้วย เน่ืองจากเด็กวัยนม้ี ีความสนใจในช่วงสั้น การจัดกิจกรรมตา่ งๆ จึงใช้เวลาชว่ งส้ันๆ คือ ช่วงละ 15 นาที เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 116 6. ครูและบุคลากร เป็นผู้มีความรู้ เช่ียวชาญในเร่ืองการศึกษาระดับปฐมวัย และการประถมศึกษาเป็นอยา่ งดี และมคี ุณสมบัตทิ ่เี หมาะสมสาหรบั เดก็ และเป็นแบบอย่างทด่ี ีแก่เด็ก การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ได้รับความสนใจจากบดิ ามารดาและผู้ปกครองเป็นอย่างมาก ต่อมารัฐมีนโยบายสนบั สนนุ ให้เอกชนชว่ ยจดั การศึกษาในระดับปฐมวัย เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของรัฐ โดยรัฐให้การช่วยเหลืออุดหนุนทางด้านการเงินและช่วยผลิตครูและอบรมครูแก่โรงเรียนอนุบาลเอกชนด้วย ส่วนการจัดการเรียนการสอนน้ัน ยึดแบบอย่างหลักสูตรและแนวการจัดการเรียนการสอนเช่นเดียวกับของโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า“โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ” เป็นสถานศึกษาแห่งแรกท่ีมีการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยอย่างเป็นระบบ และสอดคล้องกบั แนวการจดั การศึกษาในระดบั นตี้ ามแนวคิดหลักสากล นบั แต่นนั้ เป็นตน้ มา การจัดการศึกษาปฐมวัยก็ได้รับความสนใจมากผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาของชาติ ทั้งยังตระหนักถงึ ความสาคญั ของการจดั การศึกษาใหแ้ ก่เดก็ ในระดบั น้ีเพ่ิมมากข้นึ 2.2.2 การศกึ ษาปฐมวัยยุคก้าวหน้า อารี รังสินันท์ (2543) กล่าวว่า เนื่องจากรัฐได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการศึกษาปฐมวัยมากขึ้น จึงได้กาหนดนโยบายในแผนการศึกษาอย่างต่อเน่ือง ดังเช่น แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2494 ไดก้ าหนดให้เด็กอายุ 3 - 7 ปี เข้าเรียนในระดับปฐมวัย และในแผนการศกึ ษาชาติ พ.ศ.2503 ไดร้ ะบแุ ละกลา่ วถึงการศกึ ษาปฐมวยั ไว้ชัดเจน ดังน้ี 1. การอนุบาลศึกษา เป็นระดับหน่ึงของการศึกษาและเป็นการศึกษาก่อนภาคบังคับอาจจัดเปน็ อนบุ าลทม่ี ี 2 ช้นั หรอื 3 ชนั้ หรอื ชนั้ เด็กเล็กในโรงเรียนประถมศึกษา 2. การอบรมเบื้องต้น เพื่อให้กุลบุตรกุลธิดา พร้อมที่จะรับการศึกษาในระดับประถมศกึ ษา 3. อายุ กาหนดอายเุ ดก็ ปฐมวัยระหว่าง 3-6 ปี แผนการศึกษาชาติฉบับนี้ ช่วยให้เห็นแนวปฏิบัติได้ชัดเจนขึ้น ต่อมาในแผนการศึกษาชาติพ.ศ. 2520 - 2524 ได้มีการเปล่ียนแปลงแผนการศึกษาชาติใหม่และได้มี การเปลี่ยนแปลงท่ีเก่ียวข้องกบั การปฐมวยั ศกึ ษา ดงั น้ี 1. การศกึ ษาก่อนประถมศึกษา เป็นการศกึ ษาระดับหน่ึง 2. รัฐพึงเร่งรัดและสนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูเด็กในวัยก่อนประถมศึกษารัฐจะสนับสนนุ ให้ท้องถนิ่ และภาคเอกชนจดั ให้มาก รัฐจะจัดเปน็ ตัวอย่างและเพอื่ การคน้ ควา้ วิจัยเทา่ นนั้ 3. การศึกษาก่อนประถมศึกษา เป็นการศึกษาทม่ี ุ่งอบรมเลย้ี งดูเด็กก่อนการศกึ ษาภาคบังคบั เพ่อื เตรียมเด็กให้มคี วามพร้อมทุกด้านพอทีจ่ ะรับการศึกษาตอ่ ไป 4. การจัดการศึกษาก่อนประถมศึกษา อาจจัดการศึกษาในระบบโรงเรียนหรือการศึกษานอกโรงเรียน โดยอาจจัดเป็นสถานรับเล้ียงเด็ก หรือศูนย์เด็กปฐมวัยหรืออาจจัดเป็นช้ันเด็กเล็ก หรือโรงเรียนอนุบาลก็ได้ ทั้งยังสนับสนุนให้ท้องถิ่นและเอกชนจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยให้มากทส่ี ดุ โดยที่รฐั จะจดั เปน็ ตวั อยา่ งส่วนหนง่ึ และเพอ่ื การค้นควา้ วจิ ัยอกี ส่วนหน่งึ จากนโยบายในแผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2520 น้ีเอง ทาให้การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยมีความยดื หยุ่นและจดั หลายรูปแบบ ท้ังนเี้ พราะมีหน่วยงานท้งั ของรัฐและเอกชนได้ให้ความสนใจและดาเนินการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยเพ่ือช่วยพัฒนาเด็กในวัยนี้มากขึ้น ซ่ึงแต่ละหน่วยงานที่จัด เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 117การศึกษาจะมีวัตถุประสงค์และแนวการจัดท่ีแตกต่างกันไป หน่วยงานท่ีให้การศึกษาระดับปฐมวัยอาจจดั ได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ตามวัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั ได้เปน็ 2 ประเภท 1. หน่วยงานที่ใช้การศึกษาและการพัฒนาเด็กในชั้นอนุบาลและเตรียมประถมศึกษา เป็นหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาในแง่ที่มุ่งพัฒนาด้านวิชาการ เตรียมให้เด็กให้มีความพร้อมทางด้านวิชาการท่ีจะเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งในรูปของโรงเรียนอนุบาล 2 ปี หน่วยงานประเภทน้ี ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลต่าง ๆ ทั้งที่ดาเนินการโดยรัฐและเอกชน นอกจากน้ียังมีโครงการต่างๆ เชน่ โครงการโรงเรยี นวดั สอนเดก็ ก่อนเกณฑ์ โครงการจดั ชน้ั เด็กเล็กกอ่ นเกณฑ์บังคับเรียนในโครงการฝึกหดั ครูชนบท กรมการฝกึ หัดครู เป็นต้น 2. หน่วยงานที่มุ่งพัฒนาเด็กเล็กในด้านการส่งเสริมการอบรมเล้ียงดู เพ่ือให้เด็กมีความเจริญเติบโตท้ังด้านร่างกายและจิตใจและเพ่ือแบ่งเบาภาระของบิดามารดาหน่วยงานดังกล่าวได้แก่ โครงการพัฒนาเด็กเล็กของกรมการพัฒนาชุมชน สถานรับเลี้ยงเด็กกลางวันของสานักอนามัยกรุงเทพฯ และสถานสงเคราะห์เด็กของเอกชนภายใตก้ ารควบคุมของกรมประชาสงเคราะห์ สรปุ ได้ว่า การจัดการศึกษาปฐมวยั สมยั มีระบบโรงเรยี นของประเทศไทย เรมิ่ ต้นในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ 1) การจัดการศึกษาปฐมวัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อรัฐได้กาหนดโครงการศึกษาชาติข้ึนมา ได้มีการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย เป็น 2 ลักษณะ คือ การจัดปฐมวัยศึกษาของรัฐ และการจัดปฐมวัยศึกษาของเอกชน และ 2)การศึกษาปฐมวัยหลงั การเปลีย่ นแปลงการปกครอง หลังจากมกี ารเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ.2475เป็นต้นมา การศึกษาปฐมวัยได้รับความสนใจเพ่ิมมากข้ึน บรรดานักการศึกษาผู้ที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในสมัยน้ันไดเ้ ล็งเหน็ และตระหนกั ถงึ ความสาคัญของวัยเด็ก จึงไดจ้ ัดการศึกษาในระดับปฐมวัยกวา้ งขวางขึ้นบทสรปุ วิวัฒนาการของการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย แบง่ เป็น 2 สมยั ได้แก่ 1) การศึกษาปฐมวัยสมยั ก่อนมรี ะบบโรงเรียน และ 2) การศกึ ษาปฐมวัยสมัยมรี ะบบโรงเรยี น 1. การศึกษาปฐมวัยสมัยก่อนมีระบบโรงเรียน เริ่มต้ังแต่สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงสมัยตอนต้นรัชกาลที่ 5 คือ ไม่มีแบบแผน ไม่มีโรงเรียนสาหรับเรียนหนังสือโดยเฉพาะ ไม่มีหลักสูตรว่าจะเรียนวิชาอะไรบ้าง ไม่มีการกาหนดเวลาเรียน และไม่มีการวัดผลการศึกษา สถานท่ีเรียนหนังสือของเด็กท่ีเป็นชาวบ้านท่ัวไปคือ “วัด” เน้นการศึกษาปฐมวัยสาหรับเชื้อพระวงศ์หรือเด็กที่มีฐานะดี โดยเรียนที่พระบรมมหาราชวงั หรอื ทบ่ี ้านของตนเอง ต่อมาจึงมีการจดั ในรปู ของสถานเลยี้ งเด็ก 2. การศึกษาปฐมวัยสมัยมีระบบโรงเรียนของประเทศไทย เริ่มต้นในรัชสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั แบ่งเปน็ 2 ระยะ ได้แก่ 2.1 การจัดการศึกษาปฐมวัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เม่ือรัฐได้กาหนดโครงการศึกษาชาติข้ึนมา ได้มีการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย เป็น 2 ลักษณะ คือ การจัดการศึกษาปฐมวยั ของรัฐ และการจัดการศึกษาปฐมวัยของเอกชน 2.2 การศึกษาปฐมวัยหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง หลังจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เปน็ ตน้ มา การศกึ ษาปฐมวยั ไดร้ ับความสนใจเพ่ิมมากขึน้ บรรดานกั การศกึ ษาผู้ เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 118ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในสมัยนั้นได้เลง็ เหน็ และตระหนักถึงความสาคัญของวัยเด็ก จึงได้จดั การศกึ ษาในระดบั ปฐมวัยกว้างขวางข้ึน รฐั บาลเร่ิมให้ความสาคัญในการจัดการศึกษาปฐมวัยเพ่ิมมากข้ึนในปี พ.ศ. 2483 ได้ต้ังโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศข้ึนเพื่อเป็นแบบอย่างในการจัดโรงเรียนอนุบาลและได้ขยายโรงเรียนอนุบาลสู่ภูมิภาคจนครบทุกจังหวัด โดยมีการผลิตครูอนุบาลเพื่อสนับสนุนการขยายโรงเรียนการศึกษาปฐมวัยของไทยจึงเริ่มมุ่งเน้นการเตรียมความพร้อมให้กับเด็กมากกว่าการเรียนอา่ นเขียนดงั เชน่ ในอดตี ท่ีผ่านมาเป็นต้นมา เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 119 ใบงำน หน่วยท่ี 5 ววิ ฒั นำกำรของกำรศึกษำปฐมวยั ในประเทศไทยคำช้แี จง : 1. ให้นักศึกษาแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ 5 กล่มุ (กลุ่มละ5-6 คน) โดยกาหนดบทบาทและหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบของสมาชกิ ในกลุม่ ใหช้ ัดเจน 2. มอบหมายงานให้นกั ศึกษาแต่ละกลมุ่ ศกึ ษาเน้ือหาจากเอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ าศษ 0103 รายวิชาการศกึ ษาปฐมวยั หนว่ ยที่ 5 เรอื่ ง วิวัฒนาการของการศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทยแลว้ ร่วมกันสรุปเนอ้ื หาในรปู ของ Mind Mapping พรอ้ มกับนาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน ในมีประเดน็ดงั น้ี  กลุ่มที่ 1 การศึกษาปฐมวยั สมยั ก่อนมีระบบโรงเรยี น - การศึกษาปฐมวัยในสมยั สุโขทัย - การศกึ ษาปฐมวยั ในสมัยกรุงศรีอยธุ ยา - การศึกษาปฐมวัยในสมยั กรุงธนบรุ แี ละกรุงรัตนโกสินทร์ตอนตน้ (สมยั รชั กาลที่ 1-รัชกาลท่ี 4)  กลุ่มท่ี 2 การศึกษาปฐมวัยสมัยกอ่ นมีระบบโรงเรยี น - การศึกษาปฐมวยั ของประเทศไทยระยะหลงั ได้รับอิทธิพลทางตะวนั ตก  กลมุ่ ที่ 3 การศึกษาปฐมวยั สมัยก่อนมีระบบโรงเรียน - การศกึ ษาปฐมวยั ในยุคเร่มิ ต้น  กลุ่มท่ี 4 การศึกษาปฐมวัยสมัยมีระบบโรงเรียน - การศกึ ษาปฐมวัยกอ่ นการเปลย่ี นแปลงการปกครอง 1. การจัดการศึกษาปฐมวยั ของรฐั 2. การจดั การศึกษาปฐมวยั ของเอกชน  กลมุ่ ที่ 5 การศึกษาปฐมวัยสมัยมรี ะบบโรงเรยี น - การศึกษาปฐมวัยหลงั การเปล่ียนแปลงการปกครอง 1. การศกึ ษาปฐมวัยยุคเรม่ิ ต้น 2. การศึกษาปฐมวยั ยุคก้าวหนา้ ********************************************************* เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 120 แบบฝกึ หัดหลงั เรียนท่ี 1 หน่วยที่ 5 ววิ ัฒนำกำรของกำรศึกษำปฐมวัยในประเทศไทยคำช้ีแจง : ให้นกั ศึกษาตอบคาถาม อธบิ าย แสดงความคดิ เห็น ยกตวั อย่างหรอื ตามคาสัง่ แต่ละข้อท่ี กาหนดให้1. จงอธิบายบทบาทของวดั ในการจดั การศกึ ษาสมยั ก่อนมีระบบโรงเรียน.................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................................2. การจดั การศึกษาปฐมวยั สมัยกรุงสโุ ขทัย และกรงุ ศรอี ยุธยา มลี กั ษณะอยา่ งไร จงอธิบาย 2.1 สมัยกรงุ สุโขทัย ............................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ....... 2.2 สมยั กรุงศรีอยุธยา ........................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... .......................................3. ใครเป็นผู้จัดตง้ั โรงเรียนราชกุมาร และโรงเรยี นราชกุมารี จดั ตงั้ ข้นึ เม่ือไหร่ และมีวัตถุประสงค์อยา่ งไร 3.1 ผทู้ จี่ ัดตั้งโรงเรียนราชกุมาร และโรงเรียนราชกุมารี คือ .......................................................................................................................................................................................................................... 3.2 โรงเรยี นราชกมุ าร จดั ตงั้ ขนึ้ เมื่อ........................................................................................... 3.3 โรงเรียนราชกมุ ารี จัดตั้งข้นึ เม่อื ........................................................................................... 3.4 มีวัตถุประสงค์ เพ่ือ............................................................................................................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................... เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 1214. จงอธิบายลกั ษณะการจัดการศกึ ษาปฐมวยั สมัยก่อนมีระบบโรงเรยี น............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... .......................................5. การจัดการศึกษาปฐมวยั ของประเทศไทยระยะหลงั ได้รับอิทธพิ ลทางตะวันตก มีลักษณะอยา่ งไรจงอธิบาย............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ....................................... ***************************************************** เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 122 แบบฝึกหดั หลงั เรียนที่ 2 หน่วยที่ 5 ววิ ฒั นำกำรของกำรศกึ ษำปฐมวยั ในประเทศไทยคำช้แี จง : ให้นกั ศึกษาตอบคาถาม อธบิ าย แสดงความคิดเหน็ ยกตวั อยา่ งหรือตามคาสั่งแตล่ ะข้อท่ี กาหนดให้1. จงอธิบายลกั ษณะการจดั การศกึ ษาปฐมวัยสมัยมีระบบโรงเรียน............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................. .......................................2. โรงเรยี นอนบุ าลแห่งแรกของรฐั ช่อื ว่าโรงเรียนอะไร ตงั้ ขนึ้ เมือ่ ใด และมีวตั ถปุ ระสงค์อย่างไร 2.1 โรงเรียนอนบุ าลแหง่ แรกของรัฐ ชื่อว่า ............................................................................... 2.2 ตง้ั ขึน้ เมื่อ ............................................................................................................................ 2.3 มีวัตถปุ ระสงค์ เพ่ือ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... .......................................3. “ชั้นมลู ศกึ ษา” เปน็ การศึกษาขั้นตน้ ก่อนจะเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษา เทียบได้กับการศกึ ษาปฐมวัย แบ่งเปน็ 3 รูปแบบ ได้แกอ่ ะไรบ้าง และแตล่ ะรูปแบบมีจุดมงุ่ หมายอย่างไร............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ....................................... เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 1233. การศกึ ษาปฐมวยั ก่อนการเปล่ยี นแปลงการปกครอง มีลักษณะอย่างไร จงอธบิ าย............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... .......................................4. การศึกษาปฐมวยั หลังการเปล่ยี นแปลงการปกครอง มลี ักษณะอย่างไร จงอธิบาย............................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ....................................... ************************************************ เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 124 แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที่ 5 วิวฒั นำกำรของกำรศกึ ษำปฐมวยั ในประเทศไทยรหัส-ชอ่ื รายวชิ า ศษ 0103 การศึกษาปฐมวยั ระดับอนปุ ริญญา ช้นั ปีท่ี 1หน่วยท่ี 5 วิวฒั นาการของการศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทย จานวน 10 ข้อ เวลา 15 นาทีคำชแี้ จง : อ่านคาถามตอ่ ไปนี้ทล่ี ะข้อ แลว้ เขยี นเครื่องหมาย X ท่ขี ้อคาตอบท่ีเหน็ ว่าถูกต้องท่สี ุดเพยี ง ข้อเดยี ว1. ใครเป็นผู้รเิ ร่มิ การศึกษาปฐมวัยในรปู แบบของสถานเล้ียงเด็ก ก. พระองค์เจา้ สายสวลภี ริ มย์ ข. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ค. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ง. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั2. บคุ คลท่ีเป็นผู้บุกเบิกการอนุบาลศึกษาของไทยคือใครก. นางจติ รา ทองแถม ณ อยธุ ยา ข. ม.ล.มานิจ ชุมสายค. นางสมถวิล สังขะทรัพย์ ง. นายนาค เทพหัสดิน ณ อยธุ ยา3. การจดั การศึกษาปฐมวัยในรัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ระยะเริม่ ต้นเป็นการจดั ในลกั ษณะใด ก. จดั ในรูปแบบของสถานรับเลยี้ งเดก็ กาพรา้ เด็กยากจนและเด็กจรจัด ข. จัดเฉพาะพระราชกุมารและพระราชกมุ ารีได้ศึกษาภายในพระบรมมหาราชวัง ค. จัดในรูปแบบโรงเรียนอนบุ าลและชน้ั เด็กเลก็ โดยเรยี นในโรงเรียนประถมศกึ ษา ง. ถกู ทัง้ ขอ้ ก และ ข้อ ข4. การจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยในยคุ กา้ วหน้า รัฐมีบทบาทสาคญั ในเรื่องใด ก. การกาหนดเกณฑม์ าตรฐานของสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั ข. การกาหนดรปู แบบของการจัดการเรยี นการสอนในระบบโรงเรียน ค. การกาหนดนโยบาย จดุ ประสงค์และมาตรการในการจัดการศกึ ษาปฐมวัย ง. การกาหนดบทบาทของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการจดั การศึกษาปฐมวัย5. วดั มีบทบาทท่ีสาคัญในการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ในสมัยก่อนมีระบบโรงเรียนอยา่ งไร ก. เป็นสถานทอี่ ยู่อาศัย การอบรมเลยี้ งดู ให้การศึกษา และฝกึ อาชีพ ข. จัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กได้มีโอกาสเคล่อื นไหวในการออกกาลังกาย ค. อบรมสั่งสอนเด็กโดยมีพระสงฆ์เปน็ ครูผ้สู อน ง. ถูกทุกข้อ เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 1256. การศกึ ษาปฐมวัยที่พ่อแมจ่ ะนาลกู ชายไปฝากไวท้ ี่วดั เปน็ ศิษยเ์ พ่ือเรยี นหนังสือเป็นการศกึ ษาสาหรบับุคคลประเภทใดก. บุคคลที่มีฐานะดี ข. เจ้านายเช้ือพระวงศ์ค. บุคคลธรรมดาที่พ่อแม่มฐี านะยากจน ง. บคุ คลท่ีมีฐานะปานกลาง7. โรงเรยี น ก.ข นโม จัดการเรยี นการสอนเก่ียวกบั ดา้ นใด ก. เขียน อ่าน คดิ เลข ข. เขยี น อา่ น ดนตรี กฬี า ค. คดิ เลข กีฬา วชิ าการ ง. คิดเลข เขียน อา่ น วิชาการ8. การจัดการศึกษาปฐมวยั สมยั มีระบบโรงเรยี นเรม่ิ ตน้ เมื่อใดก. โครงการศึกษาชาติ พ.ศ.2441 ข. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2503ค. โครงการศึกษาชาติ พ.ศ.2464 ง. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.25209. ข้อใดคือ ลกั ษณะของการจดั การศึกษาปฐมวัยในสมยั สุโขทยั ก. เปน็ การเตรียมตวั สู่อาชพี ภายในครอบครัว ข. เป็นการสอนอา่ นเขียนภาษาไทยและภาษาบาลี ค. เป็นการเตรียมตวั ใหเ้ ด็กชายมีความสามารถในการป้องกนั ตนเอง ง. เป็นการจัดอย่างไมเ่ ป็นทางการและใหก้ ารศึกษาตามความสามารถของผสู้ อน10. โรงเรยี นราษฎรแ์ หง่ แรกทไ่ี ด้จดั ตั้งแผนกอนบุ าลข้นึ คือโรงเรียนใดก. โรงเรียนละอออุทิศ ข. โรงเรียนวฒั นาวทิ ยาลยัค. โรงเรยี นราชินี ง. โรงเรยี นมาร์แตรเ์ ดอี ******************************************************* เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 126 บรรณำนุกรมเยาวพา เดชะคุปต.์ (2542). กำรศึกษำปฐมวยั . พิมพ์คร้ังท่ี 3. กรงุ เทพฯ : แมค็ .ศศิพันธุ์ เป๊ียนเป่ียมสิน. (2553). เอกสำรชุดวชิ ำ ECED 201 กำรศึกษำปฐมวัย (Early Childhood Education). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสติ .สริ มิ า ภิญโญอนนั ตพงษ.์ (2550). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวิชำ ECED 201 กำรศึกษำปฐมวัย (Early Childhood Education). กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสติ .อารี รังสินนั ท์. (2543). เอกสำรกำรสอนชุดวชิ ำพฤติกรรมกำรสอนปฐมวยั ศึกษำ หน่วยที่ 3 พฒั นำกำรปฐมวัยศึกษำในประเทศไทย. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 127 หน่วยที่ 6 รูปแบบของการจัดการศกึ ษาปฐมวยัสำระสำคัญ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2545 กาหนดให้มีรูปแบบในการจัดการศึกษาปฐมวัย 3 รูปแบบ คือ การจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบ การจัดการศึกษาปฐมวยั นอกระบบ และการจัดการศึกษาปฐมวยั ตามอัธยาศัย การจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศไทยสามารถจาแนกรูปแบบของการจัดสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยได้ 2 รูปแบบ คือ การจัดการศึกษาปฐมวัยในรูปแบบโรงเรียน และการจัดการศึกษาปฐมวัยในรปู แบบศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ โดยแตล่ ะรปู แบบมีลกั ษณะการดาเนินงานที่เป็นลกั ษณะเฉพาะของตน หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาปฐมวัย มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความสนใจ ดังน้ัน การจัดดาเนินการศึกษาปฐมวัยจึงมีหลายหน่วยงานจัดดาเนินงานให้บริการ แต่ละหน่วยงานที่จัดก็จะมีวัตถุประสงค์และการจัดดาเนินงานที่มีลักษณะเฉพาะได้แก่ หน่วยงานท่ีจัดการศกึ ษาในรูปแบบโรงเรยี น และหน่วยงานท่จี ดั การศกึ ษาในรูปแบบศนู ยพ์ ฒั นาเดก็จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมาย ลกั ษณะสาคัญ ความสาคญั และหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบได้ 2. อธบิ ายความหมาย ลักษณะสาคัญ ความสาคญั และหลักการจัดการศกึ ษาปฐมวัยนอกระบบได้ 3. อธิบายความหมาย ลักษณะสาคัญ ความสาคัญ และหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยตามอธั ยาศยั ได้ 4. บอกหลกั การและเป้าหมายของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในรปู แบบโรงเรียนและรูปแบบศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กได้ 5. อธบิ ายหนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบในการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ได้สำระกำรเรยี นรู้ 1. รูปแบบการศึกษาปฐมวัย จาแนกตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเตมิ พ.ศ.2545 1.1 รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบ 1.2 รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยนอกระบบ 1.3 รปู แบบการจดั การศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศยั 2. รปู แบบการศกึ ษาปฐมวยั จาแนกตามรปู แบบของการจัดสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั 2.1 การจัดการศกึ ษาปฐมวยั ในรปู แบบโรงเรยี น 2.2 การจดั การศึกษาปฐมวัยในรูปแบบศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก 3. หนว่ ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบในการจดั การศึกษาปฐมวัย 3.1 หนว่ ยงานทีจ่ ดั การศึกษาปฐมวยั ในรปู แบบโรงเรยี น 3.2 หน่วยงานท่ีจดั การศึกษาปฐมวัยในรปู แบบศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 128 บทนำ รูป แบ บ ขอ งการจั ด การ ศึก ษ าป ฐ มวั ย เป็ น ลั กษ ณ ะห รือ แน วท าง ใน ก ารจั ด การ ศึกษ าเพ่ื อวางรากฐานชีวิต และพัฒนาเด็กปฐมวัยทัง้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สตปิ ัญญา และสังคม เป็นการศึกษาท่ีจัดขึ้นอย่างเป็นระบบระเบียบตามปรัชญา ทฤษฎี หลักการ หรือความเช่ือต่างๆ โดยครอบคลุมองค์ประกอบท่ีสาคัญๆ ของการศึกษาปฐมวัย ซึ่งได้รับการยอมรับหรือพิสูจน์ ทดสอบถึงประสิทธภิ าพแลว้ รูปแบบของการจัดการศึกษาปฐมวัย มีรูปแบบในการจัดท่ีหลากหลาย โดยแต่ละรูปแบบมีลักษณะการดาเนนิ งานทเี่ ป็นลักษณะเฉพาะของตน รายละเอยี ดมดี ังนี้1. รูปแบบกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัย จำแนกตำมพระรำชบัญญัตกิ ำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ.2542 และทีแ่ กไ้ ขเพิม่ เตมิ พ.ศ.2545 วัฒนา มัคคสมัน และเลขา ปิยะอัจฉริยะ (2555) กล่าวว่า พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพิม่ เตมิ พ.ศ.2545 หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 15 ได้กาหนดรูปแบบในการจัดการศึกษาในทุกระดับการศึกษา รวมท้ังการศึกษาปฐมวัยไว้ 3 รูปแบบ คือ การจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบ การจัดการศึกษาปฐมวัยนอกระบบ และการจัดการศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัย รายละเอียดมีดงั น้ี 1.1 กำรจดั กำรศึกษำปฐมวัยในระบบ 1.1.1 ความหมายของการจัดการศึกษาปฐมวยั ในระบบ การจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบ หมายถึง การจัดการศึกษาที่มุ่งปลูกฝังและส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีงามให้แก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้มีพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา ตามวัยของเด็ก เพ่ือเข้าเรียนในระดับประถมศึกษาต่อไป เป็นการศึกษาที่จัดข้ึนโดยมีโครงสร้างกฎระเบียบ มีการแบ่งระดับชั้นชัดเจน มีการกาหนดหลักสูตรจัดโครงสร้างสาระการเรียนรู้กาหนดเวลาเรียน กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนของแต่ละระดับช้ัน มีเกณฑ์ในการวัดและประเมินผล ใช้เวลาเรียนยาวนานตามที่หลักสูตรกาหนด กาหนดคุณสมบตั ิของผ้สู อน การเรียนการสอนเกดิ ข้นึ ในสถานท่จี ดั ข้ึนโดยเฉพาะ 1.1.2 ลกั ษณะสาคญั ของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในระบบ การจัดการศึกษาปฐมวยั ในระบบมลี ักษณะสาคญั ดังน้ี 1.1.2.1 เปน็ การศกึ ษาท่ีรัฐเป็นฝ่ายจดั รัฐเป็นฝา่ ยลงทุนเปน็ สว่ นใหญ่ แมว้ า่ จะมีการจัดโดยเอกชนอยูด่ ว้ ยบ้างก็ตาม 1.1.2.2 กลมุ่ เปา้ หมายเป็นเด็กอายุ 3 - 6 ปี เปน็ วยั ทจ่ี ะสามารถเรยี นรู้ความรู้ท่ีเปน็ พื้นฐานไดเ้ ต็มที่ เต็มเวลา เป็นวยั แห่งการเจริญเติบโตทั้งทางรา่ งกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา สามารถอบรมบ่มนิสยั ได้รวดเร็วและมีประสทิ ธภิ าพ 1.1.2.3 มีโครงสร้างของระบบที่แน่นอน เป็นไปตามลาดับขั้น มีการกาหนดจานวนชั้นปี และเกณฑ์อายุของผู้เรียน ซึ่งจะเป็นเครื่องกากับตัวของผู้เรียนให้เข้าสู่ระบบด้วยอายุที่ เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 129เท่ากัน เป็นรุ่นๆ ทาให้เกิดความสะดวกในการจัดการเรียนการสอนเพราะเด็กมีความพร้อมและความสนใจใกลเ้ คียงกนั 1.1.2.4 เปน็ การจดั การเรียนการสอนอยภู่ ายในโรงเรียนหรือสถานศึกษาเป็นหลัก 1.1.2.5 ใช้หลักสูตรแกนกลางเก่ียวกันทั่วประเทศ ซึ่งจะกาหนดกรอบความคิดสาระการเรียนรู้ จานวนชั่วโมงเรยี น ตลอดจนกจิ กรรมต่างๆ จากหน่วยงานสว่ นกลาง เพือ่ ให้สถานศกึ ษาได้ใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษาของตน 1.2.6 ครูและผบู้ รหิ ารในสถานศึกษาของรฐั เป็นขา้ ราชการประจาในสถานศึกษาแต่ละแห่งตามเกณฑ์ท่ีกาหนดให้ทุกสถานศึกษาของรัฐใช้เป็นแนวเดียวกัน การศึกษาปฐมวัยจะให้ความสาคัญกับครูประจาของสถานศึกษามาก ครูจะต้องมีคุณสมบัติตามท่ีกาหนด ถ้าขาดคุณสมบัติข้อใดข้อหนง่ึ ทกี่ าหนดไว้กไ็ ม่สามารถเปน็ ครูได้ แมจ้ ะมคี วามรู้ความสามารถเพียงใดกต็ าม 1.1.3 ความสาคญั ของการจดั การศึกษาปฐมวยั ในระบบ ความสาคัญของการจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบอยู่ที่มุ่งพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพท่ีดี สามารถพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเองและสังคม สร้างเสริมให้เด็กปฐมวัยได้เติบโตมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล เหมาะสมกับวัย เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุขและเติบโตเป็นพลเมืองดีให้กับประเทศชาติในอนาคต เป็นกระบวนการในการถ่ายทอดวัฒนธรรม ความรู้ความชานาญ ค่านิยม และประสบการณ์จากคนรนุ่ หนง่ึ ไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ให้ความสาคัญตอ่ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และใหท้ กุ คนมีสทิ ธ์ิเสมอภาคเท่าเทียมกันในการได้รับบริการการศึกษา 1.1.4 หลกั การจัดการศกึ ษาปฐมวยั ในระบบ การจัดการศกึ ษาปฐมวัยในระบบยึดหลักการจัดการศึกษาและการอบรมเลีย้ งดูให้กับเด็กปฐมวัยที่ครอบคลุมเด็กทุกประเภท ถือว่าเป็นการศึกษาท่ีมีความสาคัญท่ีสุด เพราะเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่ควรมีโอกาสในการเรียนรู้ และอัตราการเรียนรู้สูงสุด เป็นการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ที่ยั่งยืนและป้องกันปัญหาสงั คมในระยะยาว ยึดหลกั การพฒั นาเดก็ โดยองคร์ วมผ่านการเล่นและกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและวิถีชีวิตของเด็กตามบริบทของชุมชน สังคม และวัฒนธรรมไทย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กปฐมวัยสามารถดารงชีวิตประจาวันได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข โดยการประสานสัมพันธ์ร่วมมือกันระหว่างสถานศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง องค์กรสถาบนั สังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 1.2 กำรจัดกำรศึกษำปฐมวยั นอกระบบ 1.2.1 ความหมายของการจดั การศึกษาปฐมวัยนอกระบบ การจดั การศึกษาปฐมวัยนอกระบบ หมายถึง การจัดการศกึ ษาท่ีจดั ข้ึนเพอื่ สนองความต้องการของผู้เรียนท่ีอยู่นอกระบบโรงเรียน มีความยืดหยุ่นในเรื่องระบบ ระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ ท้ังด้านอายุ ระยะเวลาเรียน หลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลสถานท่ีเรียน เดก็ สามารถเขา้ เรยี นหรือหยุดเรยี น เรยี นไดต้ ามความพร้อม 1.2.2 ลักษณะสาคัญของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั นอกระบบ การจดั การศึกษาปฐมวัยนอกระบบ มลี ักษณะสาคญั ดังน้ี 1.2.2.1 ผู้เรียน ไม่ถูกกาหนดกฎเกณฑ์อายุเหมือนการศึกษาในระบบ ข้ึนอยู่กับความสมัครใจของผู้เรียนและผู้ปกครองเป็นสาคัญ ไม่มีการบังคับ สามารถสมัครเรียนได้ตามความตอ้ งการและความสนใจ เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 130 1.2.2.2 ผู้สอน ไมถ่ ูกกาหนดคุณสมบตั ิในตัว อาจเปน็ ผรู้ ้ผู เู้ ช่ยี วชาญในดา้ นนัน้ ๆ 1.2.2.3 หลักสูตรและเน้ือหาวิชา มีความยืดหยุ่นมาก สามารถปรับตามความสนใจและความตอ้ งการของผเู้ รยี น 1.2.2.4 รปู แบบการจัดการเรียนการสอน ไมม่ รี ปู แบบแนน่ อน 1.2.2.5 การเรียนการสอน บางครัง้ อาจจะเป็นชั้นเรยี น บางคร้ังจดั ในรปู กลมุ่หรอื เป็นรายบคุ คล 1.2.2.6 จดั ตามสถานท่ีสะดวก และเหมาะสมกับสภาพท้องถน่ิ 1.2.2.7 ระยะเวลา ข้ึนอยู่กบั ชนดิ และลักษณะของส่ิงทเี่ รียน และความสนใจของผู้เรยี น 1.2.2.8 กิจกรรม มคี วามยืดหยนุ่ มากเพื่อให้การจัดสนองตอบความต้องการของผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ 1.2.3 ความสาคัญของการจดั การศึกษาปฐมวยั นอกระบบ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั นอกระบบมีความสาคัญ เพราะเปน็ การศึกษาทตี่ อบสนองต่อความต้องการของเด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง และสอดคล้องกับสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม เด็กปฐมวัยสามารถรับบริการได้ทันทีเมื่อมีความพร้อม และเม่ือมีความจาเป็นต้องหยุดพักไว้ก่อนและกลับเข้ามาเรียนใหม่ได้เมื่อต้องการ โดยเฉพาะกับกลุ่มท่ีมีความจาเป็นต้องติดตามผู้ปกครองไปประกอบอาชีพในที่ต่างๆ และไม่ได้อยู่ในท่ีใดที่หนึ่งเป็นเวลานานๆ รวมทั้งกลุ่มเด็กที่มีผู้ปกครองไม่เห็นด้วยกับวิธีการจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบ สามารถจัดการศกึ ษาใหก้ ับบตุ รหลานของตนได้ 1.2.4 หลักการจัดการศกึ ษาปฐมวัยนอกระบบ การจดั การศกึ ษาปฐมวัยนอกระบบ ยดึ หลกั การดงั น้ี 1.2.4.1 การกระจายโอกาสทางการศึกษาปฐมวยั นอกระบบให้ครอบคลุมทัว่ ถงึทุกพน้ื ท่ใี ห้บรกิ ารเข้าถงึ ผ้เู รียนอยา่ งถ้วนหนา้ 1.2.4.2 ยืดหยุ่นในเร่ืองพนื้ ฐานความรู้ อายุ เวลาเรยี น สถานทเ่ี รียน กฎเกณฑ์และระเบียบต่างๆ 1.2.4.3 ม่งุ จัดกิจกรรมใหส้ นองความต้องการของผู้เรียน และสอดคล้องกบัสภาพของทอ้ งถน่ิ สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม 1.2.4.4 ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล จดั กิจกรรมใหผ้ เู้ รยี นสามารถเลือกไดต้ ามความพร้อม และความสะดวก 1.2.4.5 การเรยี นรู้ทส่ี ัมพันธ์กับสภาพการดาเนนิ ชวี ิต 1.2.4.6 ความหลากหลายของหลักสูตร เน้อื หา และกจิ กรรม เดก็ ปฐมวัยและผปู้ กครองสามารถเลือกเรยี นได้ตามความพรอ้ มและความสะดวก 1.2.4.7 ผู้สอนเป็นผรู้ ผู้ ูเ้ ชี่ยวชาญในเรื่องน้ันๆ 1.2.4.8 การมสี ่วนรว่ มของผเู้ รยี น เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 131 1.3 กำรจัดกำรศึกษำปฐมวยั ตำมอัธยำศยั 1.3.1 ความหมายของการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั การจัดการศกึ ษาปฐมวยั ตามอัธยาศัย หมายถงึ การที่เดก็ ปฐมวยั อายุ 3 - 6 ปี ไดร้ ับความรู้ประสบการณ์ ได้เสริมสร้างพัฒนาการด้านต่างๆ ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคมและสติปัญญา รวมทั้งความสามารถต่างๆ จากครอบครัว สังคม ส่ิงแวดล้อม และจากประสบการณ์ในการดารงชีวิตประจาวัน การได้รับประสบการณ์อาจจะได้จากการเล่น การพูดคุย สนทนา การสังเกตการเข้าร่วมในกิจกรรม โดยที่กิจกรรมเหล่าน้ีอาจไม่ได้เกิดข้ึนเพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหน่ึงทางการศึกษา แต่จัดขึ้นเพ่ือวัตถุประสงค์อ่ืนแต่กลับทาให้เด็กปฐมวัยได้รับประสบการณ์โดยบังเอิญหรือไม่ตัง้ ใจ การศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัยไม่มีการจัดอย่างเป็นระบบ ไม่มีรูปแบบกระบวนการท่ีแน่นอน เป็นกระบวนการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต 1.3.2 ลกั ษณะสาคญั ของการจัดการศึกษาปฐมวยั ตามอธั ยาศัย การจดั การศึกษาปฐมวยั ตามอัธยาศัย มีลักษณะสาคัญ ดงั น้ี 1.3.2.1 มีรูปแบบที่ไม่เป็นรูปแบบท่ีจะอธิบายได้ชัดเจน ไม่สามารถจับต้องหรือมองเห็นเหมือนการศึกษาในระบบท่ีมีโรงเรียนเป็นตัวแทนระบบ แต่มีอยู่เพราะเป็นส่วนหน่ึงของการดารงชวี ติ 1.3.2.2 การศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัยเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม มีหลายสถานการณ์จงึ มหี ลายวัตถปุ ระสงค์และไมจ่ าเปน็ ต้องเพ่ือการศกึ ษาเท่าน้ัน 1.3.2.3 การศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัยเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษารูปแบบอื่นๆอย่างแยกไม่ออกให้ชัดเจนได้ เด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้ตามอัธยาศัยไประหว่างการเรียนในระบบพร้อมๆ กันด้วย 1.3.2.4 การศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัย ไม่มีหลักสูตร ไม่มีเวลาเรียนที่แน่นอนไม่จากดั อายุ ไมม่ ีสถานท่ีแนน่ อน 1.3.2.5 ควบคุมเวลาได้น้อยมาก เพราะการศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัยเป็นการปลอ่ ยอสิ ระตามอธั ยาศัย 1.3.2.6 การศกึ ษาปฐมวัยตามอัธยาศยั เปน็ การอุบัติขน้ึ อาจจงใจหรือไม่จงใจไม่สามารถคาดหมายลว่ งหน้าได้ ไม่สามารถระบลุ ักษณะบง่ ชถ้ี ึงผลการเรียน 1.3.2.7 การศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัยสามารถเรียนได้ตลอดเวลา จึงเกิดได้ทุกท่ี ทกุ เวลา และทกุ สถานการณ์ ซึ่งการเรยี นร้อู าจเกดิ ข้ึนหรือไมเ่ กดิ ข้ึนอยู่กบั ผูเ้ รยี น 1.3.3 ความสาคญั ของการจัดการศกึ ษาปฐมวัยตามอัธยาศัย การจัดการศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัยมีความสาคัญเพราะเป็นการศึกษาทเี่ ปิดโอกาสให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส เป็นการเรียนรู้ตลอดเวลาและต่อเนื่องตลอดชีวติ เป็นการศึกษาที่สนองตอบต่อแนวทางการปฏิรูปการศึกษาท่ีต้องการพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ท่ีมีนิสัยใฝ่เรียนรู้ตั้งแต่ปฐมวัย สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองและแสวงหาความรู้ต่อเน่ืองตลอดชีวิต มีความสามารถในการศึกษา สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม มีศลี ธรรม คุณธรรม จริยธรรม มีจติ สานึก และความภูมใิ จในความเปน็ ไทย เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 132 1.3.4 หลกั การจัดการศกึ ษาปฐมวัยตามอธั ยาศยั การจัดการศึกษาปฐมวยั ตามอัธยาศัย ยดึ หลักการ ดงั น้ี 1.3.4.1 การจดั สภาพการเรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้และการบริการส่งเสริมการเรียนรู้แก่เด็กปฐมวัยเพื่อที่จะสามารถเลือกและกาหนดวิธีการเรียนรู้ การแสวงหาความรู้ความเข้าใจได้ด้วยตนเอง 1.3.4.2 การเรียนรู้ที่เกิดข้ึนโดยบังเอิญ เป็นการเรียนท่ีไหนก็ได้ เม่ือใดก็ได้ด้วยวธิ ีการใดๆก็ได้ 1.3.4.3 เนื้อหา หลักสูตรไม่มีตายตัว หรือแน่นอนเหมือนรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยระบบอน่ื ๆ 1.3.4.4 การประเมินผลและการวัดผลการเรียนรู้ของการจัดการศึกษาปฐมวัยตามอธั ยาศยั ขน้ึ อยู่กบั ตัวเดก็ เอง และการนาไปใช้ให้เกิดประโยชนใ์ นชีวิตประจาวันของเด็กเอง2. รูปแบบกำรศึกษำปฐมวัย จำแนกตำมรูปแบบของกำรจัดสถำนพัฒนำเดก็ ปฐมวัย วัฒนา ปุญญฤทธิ์ (2542) กล่าวว่า การจดั การศึกษาปฐมวยั ของประเทศไทยสามารถจาแนกตามรูปแบบของการจัดสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยได้ 2 รูปแบบ คือ การจัดการศึกษาปฐมวัยในรูปแบบโรงเรียน และการจัดการศึกษาปฐมวัยในรูปแบบศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยแต่ละรูปแบบมีลักษณะการดาเนินงานที่เป็นลักษณะเฉพาะของตน รายละเอยี ดมีดังนี้ 2.1 กำรจดั กำรศกึ ษำปฐมวยั ในรูปแบบโรงเรียน การจดั การศึกษาปฐมวัยในรปู แบบโรงเรียนมีเป้าหมายหลกั อยู่ทีเ่ ด็กอายุระหว่าง 3 - 6 ปี เป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งส่งเสริมพัฒนาการ และการเตรียมความพร้อมให้เด็กก่อนเข้าเรียนในระดับช้ันประถมศกึ ษา ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์และจติ ใจ สังคม และสติปัญญา การดาเนินการที่ผ่านมาไม่ว่าจะเป็นหนว่ ยงานของรฐั และเอกชนจะมรี ูปแบบการจัด 2 ลักษณะ คือ 2.1.1 ชั้นอนุบาล เป็นการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการครบทุกด้านท้ังดา้ นร่างกาย อารมณ์และจติ ใจ สังคม และสติปัญญา รวมท้ังลกั ษณะนิสัยตา่ ง ๆ โดยใช้ระยะเวลาในการจัดการศกึ ษาประมาณ 2 - 3 ปี สาหรบั เด็กที่มีอายรุ ะหว่าง 3 - 6 ปี 2.1.2 ชั้นเตรียมประถมศึกษาหรือชั้นเด็กเล็ก เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือเตรียมความพร้อมให้เด็กกอ่ นเขา้ เรยี นในระดบั ชน้ั ประถมศึกษาโดยใชร้ ะยะเวลาในการจดั การศกึ ษา 1 ปี สาหรับเด็กทม่ี อี ายุระหว่าง 5 - 6 ปี 2.2 กำรจัดกำรศกึ ษำปฐมวยั ในรูปแบบศูนย์พฒั นำเดก็ เลก็ การจัดการศึกษาปฐมวัยในรูปแบบศูนย์พัฒนาเด็กหรอื สถานรับเล้ียงเด็กน้ัน มีเป้าหมายหลักอยู่ที่เดก็ ปฐมวัยท่ีมีอายุตั้งแต่แรกเกิด - 6 ปี ที่ด้อยฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมซง่ึ ไดแ้ ก่ เด็กยากจนในเขตพื้นท่ีชนบทห่างไกลและชนกลุ่มน้อย เด็กที่อยู่ในชุมชนแออัด และเด็กด้อยความสามารถทางด้านรา่ งกาย สมอง และจิตใจ การจัดการศึกษาปฐมวัยในรูปแบบศูนย์พัฒนาเด็กมีช่ือเรยี กต่างกัน เชน่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ สถานรับเล้ียงเด็กกลางวัน ฯลฯ แต่อย่างไรก็ตามศูนย์พัฒนาเด็กเล็กส่วนใหญ่มีจดุ มงุ่ หมายหลักในการดาเนนิ งานที่คล้ายคลึงกนั สรปุ ได้ดังน้ี เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 133 2.2.1 เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการและเตรียมความพร้อมให้กับเด็กท้ังทางด้านร่างกายอารมณแ์ ละจติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา อย่างถูกต้องเหมาะสมตามวัย 2.2.2 เพื่อปลูกฝังสุขนิสัยท่ีดี และการปรับตัวเข้ากับสังคมนอกบ้าน รวมถึงให้สามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ 2.2.3 เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ พ่อแม่ ผู้ปกครองเกี่ยวกับการพัฒนาเด็ก การอบรมเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกวิธีการ ประกอบอาหารท่ีถูกหลักโภชนาการ เพ่ือป้องกันเด็กจากโรคขาดสารอาหารทง้ั การให้ภูมิคมุ้ กันโรค และการปอ้ งกนั โรคภัยไข้เจบ็ ที่ถูกตอ้ ง 2.2.4 เพือ่ กระตุ้นให้องค์กรท้องถ่นิ และครอบครวั มบี ทบาทในการพัฒนาและมีส่วนร่วมในการอบรมเลี้ยงดูเดก็ 2.2.5 เพื่อแบ่งเบาภาระการอบรมเล้ียงดูเด็กของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ให้สามารถใช้เวลาในการประกอบอาชีพได้มากขึน้3. หน่วยงำนทีร่ ับผิดชอบในกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัย ศศิพันธุ์ เป๊ียนเป่ียมสิน (2553) กล่าวว่า เน่ืองจากประเทศไทยมีรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยหลายรูปแบบ มีหน่วยงานทง้ั ภาครัฐและเอกชนให้ความสนใจ ดังน้นั การจดั ดาเนินงานการศกึ ษาปฐมวัยจงึ มีหลายหน่วยงานจัดดาเนินงานให้บริการ แต่ละหน่วยงานที่จัดก็จะมีวตั ถุประสงค์และการจัดดาเนนิ งานทมี่ ีลกั ษณะเฉพาะ รายละเอยี ดดังต่อไปน้ี 3.1 หนว่ ยงำนทจ่ี ัดกำรศึกษำในรปู แบบโรงเรียน 3.1.1 โรงเรียนอนุบาลของรัฐ หน่วยงานของรัฐที่ดูแลรับผิดชอบการจัดโรงเรียนในระดับช้ันอนุบาลและชั้นเด็กเล็ก ได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย สานักนายกรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ซึ่งแต่ละหน่วยงานมีลักษณะการดาเนินงานที่เป็นลักษณะเฉพาะของตน ดงั น้ี 3.1.1.1 โรงเรียนอนุบาลของรัฐท่ีอยู่ในความดูแลของกระทรวงศึกษาธิการมีหน่วยงานท่รี บั ผิดชอบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั คือ 3.1.1.1.1 โรงเรียนอนุบาลของรัฐท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัดและโรงเรียนประถมศึกษาที่อยู่ในหมู่บ้าน จะรับเด็กอายุระหว่าง 4 - 6 ปี เข้าเรยี นในชั้นอนุบาล มีหลักสูตร 2 ปี คือช้ันอนุบาลศึกษาปีที่ 1 และชั้นอนุบาลปีท่ี 2 หรือรับเด็กชายหญิงอายุ 5 - 6 ปี เข้าเรียนในช้ันเด็กเล็กหลักสูตร 1 ปี 3.1.1.1.2 โรงเรียนอนุบาลสาธติ ของสถาบนั ราชภัฏ จัดการศกึ ษาปฐมวัยขึน้ เพ่ือเตรียมความพรอ้ มของเดก็ ก่อนเขา้ เรยี นในระดบั ประถมศกึ ษา และเพือ่ แบ่งเบาภาระของอาจารย์และ ข้าราชการในสถาบัน ใช้เป็นแหลง่ ฝึกงานสาหรบั นักศึกษาวชิ าเอกการศึกษาปฐมวัย และเป็นแหล่งศกึ ษาเก่ียวกับความเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของเดก็ ส่วนใหญ่จะรบั เดก็ อายตุ ้ังแต่ 3 - 6 ปี เข้าศึกษาในหลกั สูตรอนุบาล 3 ปี แต่มบี างแหง่ ทร่ี ับเดก็ อายุ 4 - 6 ปี เขา้ ศึกษาโดยมหี ลักสตู ร 2 ปี เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 134 1.1.1.3 โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ สังกดั กองการศึกษาพเิ ศษ กรมสามญัศกึ ษาเปน็ โรงเรียนทจี่ ัดการศึกษาสาหรบั เด็กขาดโอกาสที่จะเรียนในโรงเรยี นปกติ ได้แก่ เด็กชาวปา่ เด็กชาวเขา เดก็ ชาวเรือ เดก็ ชาวเกาะ เด็กท่ีอยใู่ นท้องถิน่ กันดารหรอื มปี ญั หาทางสภาพภมู ิศาสตร์ เด็กยากจนท่ไี ม่สามารถเข้าเรยี นในโรงเรียนปกติ เด็กกาพรา้ บิดาหรอื มารดาขาดผู้อุปการะ หรือเดก็ ที่ขาดโอกาสทางการศึกษาในลกั ษณะอนื่ ๆ การจัดการศึกษาจดั อยูใ่ นลกั ษณะหลกั สูตรอนุบาล 2 ปี หรือหลักสูตรชั้นเด็กเลก็ 1 ปี 3.1.1.2 โรงเรียนอนุบาลของรัฐท่ีอยู่ในความดูแลของทบวงมหาวิทยาลัยดาเนินการจดั การศึกษาในโรงเรียนสาธติ ของมหาวทิ ยาลัย โดยชั้นอนุบาลจะใหก้ ารศึกษาแก่เดก็ อายุ 3 -6 ปี ในรูปแบบของช้ันอนุบาลในโรงเรียนสาธิตสังกัดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ใช้เวลาในการจัด 2 -3 ปี ในลักษณะเดียวกับโรงเรียนอนุบาลท่ัวไป โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าในด้านการเรยี นการสอน 3.1.1.3 โรงเรียนอนุบาลของรัฐทีอ่ ยใู่ นความดแู ลของสานักนายกรัฐมนตรี ได้แก่โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สังกัดกองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน สานักงานตารวจแห่งชาติรบั ผิดชอบในการจัดการศึกษาใหป้ ระชาชนที่อย่ใู นท้องถน่ิ ห่างไกล การคมนาคมไม่สะดวกดาเนินการจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบโรงเรียนให้แก่เด็กอายุ 3 - 6 ปี ในหลักสูตรอนุบาลศึกษา 2 ปี และหลักสูตรชั้นเด็กเล็ก 1 ปี เป็นการเตรียม ความพร้อมให้แก่เด็กก่อนเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา เพ่ือส่งเสริมการศึกษาแก่ประชาชนที่ยากจนไกล การคมนาคม และส่งเสริมสุขภาพอนามัยตลอดจนโภชนาการที่ถกู ต้องในเดก็ 3.1.1.4 โรงเรียนอนุบาลของรัฐที่อยู่ในความดูแลของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสงั คม ได้แก่ โรงเรียนท่อี ยู่ในความดูแลของกรมประชาสงเคราะห์ซง่ึ จัดการศกึ ษาปฐมวัยให้แก่เดก็ อายุ 3 - 6 ปี ในโรงเรียนหมู่บ้านชาวไทยต่างวฒั นธรรม และโรงเรียนในสถานสงเคราะห์เด็กเปน็ การดูแลเด็กกาพร้าหรือเด็กถูกทอดท้ิงโดยมุ่งหวังให้เด็กได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญาโดยการเล้ียงดู แก้ไขปัญหาให้การศึกษาเพ่ือให้เด็กเติบโตเป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพของประเทศ จัดหลกั สูตรอนบุ าล 2 ปี หรือหลกั สตู รช้นั เด็กเลก็ 1 ปี 3.1.1.5 โรงเรียนอนุบาลของรัฐท่ีอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนทอ้ งถิน่ ได้แก่ 3.1.1.5.1 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครรับผิดชอบจัดการศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร เริ่มเปิดดาเนินการสอนชั้นเด็กเล็กหลักสูตร 1 ปี ในโรงเรียนประถมศึกษาแต่ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะเปิดรับเด็กเข้าเรียนในหลักสูตรอนุบาล 2 ปี มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กในด้านตา่ ง ๆ รวมทัง้ เป็นการเตรียมความพร้อมให้เดก็ ก่อนเข้าเรยี นในชั้นประถมศึกษา 3.1.1.5.2 โรงเรียนสังกัดเทศบาล อยู่ในความดูแลของสานักงานการศึกษาท้องถ่ินเป็น ผู้รับผิดชอบดาเนินการจัดการศึกษาระดับอนุบาลศึกษาให้แก่เด็กวัย 4 - 6 ปีหรือวัยก่อนเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับในเขตเทศบาลและเมืองพัทยาโดยจัดหลักสูตรอนุบาล 2 ปี และหลักสตู รเดก็ เล็ก 1 ปี 3.1.2 โรงเรียนอนุบาลของเอกชน จะอยู่ในความดูแลของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เอกชนเป็นเจ้าของรับผิดชอบจัดการศกึ ษาโดยรับเด็กอายุ 3 - 6ปี จดั หลกั สูตรอนบุ าล 3 ปี คอื เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 135 3.1.2.1 อายุ 3 - 4 ปี ระดบั ช้นั อนบุ าลปีที่ 1 3.1.2.2 อายุ 4 - 5 ปี ระดบั ชั้นอนบุ าลปที ี่ 2 3.1.2.3 อายุ 5 - 6 ปี ระดับช้ันอนบุ าลปที ี่ 3 3.2 หน่วยงำนทจ่ี ดั กำรศกึ ษำในรูปแบบศูนย์พฒั นำเด็ก 3.2.1 หนว่ ยงานภาครัฐ หนว่ ยงานภาครฐั ทีร่ ับผิดชอบจดั การศกึ ษาปฐมวัยในรปู แบบศนู ยพ์ ฒั นาเด็กมีดังตอ่ ไปนี้ 3.2.1.1 ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดเปน็โครงการของกรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สอนเด็กก่อนเกณฑ์ที่จะเขา้ รับการศึกษาภาคบังคับตามกฎหมายทั้งชาย-หญิงทม่ี ีอายตุ ั้งแต่ 3 ปี ถงึ อายุย่างเข้าปที ่ี 6 เพื่ออบรมเลยี้ งดกู ล่อมเกลานสิ ัย โดยปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม วัฒนธรรม และประเพณีอันดงี ามของไทยให้แก่เดก็ ท้งั ดา้ นร่างกายสติปัญญา อารมณ์ และสังคม เพ่อื ชว่ ยเหลอื บดิ ามารดาที่ทางานนอกบ้าน ผ้ดู าเนนิ งานคือ เจ้าอาวาส มีพเ่ี ลีย้ งเปน็ ผปู้ ฏิบัติงาน ศูนยน์ ี้จะไดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ จากกรมการศาสนา 3.2.1.2 สถานสงเคราะห์เด็กกอ่ นวัยเรยี น หรอื ศูนย์พฒั นาเด็กก่อนวยั เรียนของกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน จดั บรกิ ารการศกึ ษาแก่เดก็ อายุ 2 - 6 ปี ที่ไมส่ ามารถรับบริการการศึกษาจากหนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบจัดการศึกษาโดยตรง จัดบรกิ ารในเขตพ้นื ท่ีที่เปน็ จงั หวัดชายแดนและมีกองร้อยตารวจตระเวนชายแดนตงั้ อยู่ หรือพ้นื ทีเ่ ปา้ หมายเพ่ือความมัน่ คงตามแผนมหาดไทยแมบ่ ทฉบับท่ี 4 การจดั บรกิ ารนีจ้ ะอย่ใู นรปู ของการศึกษานอกระบบโรงเรยี น 3.2.1.3 สถานสงเคราะห์เดก็ ออ่ นของกรมประชาสงเคราะห์ ให้การอนุบาลเล้ยี งดูเด็ก และให้การศึกษาแก่เด็กชาย - หญิง อายุต้ังแต่แรกเกดิ - 6 ขวบ ที่มีปัญหาด้านการเลี้ยงดูจากพ่อแม่หรือเป็นเด็กพิการ โดยมุ่งหวังให้เด็กได้รับการพัฒนาท้ังทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา หน่วยงานที่จัด ได้แก่ กองสงเคราะห์เด็กและบุคคลวัยรุ่น กองสงเคราะห์ชาวเขา กองนิคมสรา้ งตนเอง และกองบริการชมุ ชน เปน็ ตน้ 3.2.1.4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของกรมการพัฒนาชุมชน สังกัดกระทรวงมหาดไทยมีกองพัฒนาสตรีเด็กและเยาวชนเป็นผู้รับผิดชอบดาเนินงาน โดยสนับสนุนให้ชุมชนจัดต้ังศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตาบลหมู่บ้านเพื่อรับเลี้ยงดูเด็กอายุระหว่าง 3 - 6 ปี ให้มีพัฒนาการทั้งทางร่างกาย จิตใจอารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา มีการเตรียมความพร้อมเดก็ ในลักษณะเล่นปนเรียน และจดั ประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับเด็ก และเพ่ือช่วยแบ่งเบาภาระพ่อแม่ท่ีออกไปทางานนอกบ้าน ศูนย์น้ีมีผู้ดูแลเด็กทาหน้าที่เป็นผู้เล้ียงดูเด็กในอัตราส่วนผู้ดูแลเด็ก 1 คนต่อเด็ก 20 - 25 คน โดยได้รับค่าตอบแทนจากกรมการพัฒนาชุมชน ผู้ปกครอง และชุมชน คณะกรรมการพัฒนาเด็กเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงานศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ภายใต้การควบคมุ ดแู ลของกรรมการหมู่บ้านและกรรมการสภาตาบล 3.2.1.5 สถานรบั เล้ียงเดก็ กลางวันของสานักอนามัยกรุงเทพมหานคร ให้บริการแก่เด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน จากครอบครัวยากจนและขาดอาหารเพื่อให้บริการด้านสุขภาพ อนามัยโภชนาการ ด้านการพัฒนาจิตใจสติปัญญาและสังคม ด้านความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่และลูก โดยมีพ่ีเลี้ยงเด็กเป็นตัวประสานระหว่างพ่อแม่และลูก ช่วยช้ีแนะเก่ียวกับการเลี้ยงดูเด็ก เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียนช้ันประถมศึกษาและเสริมสร้างพฤติกรรมของเด็กด้านคุณธรรม จริยธรรมความรู้และทักษะการทางาน เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 136 3.2.1.6 สถานรับเลี้ยงเด็กกลางวันของสานักสวัสดิการสังคมกรุงเทพมหานครให้บริการแก่เด็กอายุระหว่าง 3 - 6 ปี ในชุมชนแออัดและเขตรอบนอก เพื่อเตรียมความพร้อมแก่เด็กก่อนเข้าเรียนช้ันประถมศึกษาโดยใช้แนวการจัดประสบการณ์ของสานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ ซึ่งมุ่งพัฒนาความพร้อมทางรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญามากกว่าการอา่ นออกเขียนได้ 3.2.1.7 บ้านเด็กสาธิตของสถาบันราชภัฏ จัดบริการอบรมเลี้ยงดูเด็กวัย 2 - 3ปี จัดขึ้นเพื่อเป็นแหล่งศึกษาเกี่ยวกับความเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก เป็นแหล่งสาธิตและฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาเอกการศึกษาปฐมวัย มีครูจานวน 1 คน และพ่ีเล้ียง 1 - 2 คน ดูแลเด็กประมาณกลุ่มละ 20 คน 3.2.2 หน่วยงานภาคเอกชน การจัดศนู ย์พัฒนาเดก็ ของภาคเอกชนมีการจัดดาเนินงานใน 2 ลกั ษณะ คือ 3.2.2.1 ศูนย์เด็กขององค์กร อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรต่าง ๆ ซ่ึงได้แก่มูลนิธิ สมาคม และบริษัท ศูนย์เด็กขององค์กรส่วนใหญ่จัดข้ึนเพื่อเผยแพร่ผลงานขององค์กรและการสงเคราะห์เด็กรับเด็กชาย-หญิง อายุระหว่าง 2 - 6 ปี ดาเนินการโดยคณะกรรมการขององค์การท่ีมีพี่เลี้ยงเป็นผู้ปฏิบัติงานมีหน่วยงานท่ีให้บริการ เช่น มูลนิธิเด็กมูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็กสหทัยมูลนิธิโสสะมลู นธิ แิ ห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ สภาสตรีแหง่ ชาตใิ นพระบรมราชินปู ถมั ภ์ เป็นต้น 3.2.2.2 ศูนย์เด็กหรือสถานรับเล้ียงเด็กของเอกชน ส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ในชุมชนเมืองจัดบริการเพ่ือแบ่งเบาภาระผู้ปกครอง มีขอบเขตการให้บริการตั้งแต่เด็กวัยแรกเกิดจนถงึ 6 ปี โดยศูนย์หรือสถานรบั เล้ียงเด็กแต่ละแห่งอาจจะรับเลี้ยงเด็กในช่วงอายุแตกต่างกันแต่ในปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่จะรับเลี้ยงเด็กต้ังแต่แรกเกิด - 3 ปี เพราะเด็กที่มีอายุ 3 ปี ข้ึนไป มักเข้ารับการศึกษาในระบบโรงเรียนการดาเนินงานเปน็ การให้บรกิ ารเชงิ ธุรกจิ มี กรมประชาสงเคราะห์เป็นผู้ดูแลควบคมุ ใหด้ าเนินงานด้วยดีมปี ระสิทธิภาพและถกู ต้องกฎหมายบทสรุป การจัดการศึกษาปฐมวัย มีรูปแบบในการจัดท่ีหลากหลาย ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2545 หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 15 กาหนดให้มีรูปแบบในการจัดการศึกษาปฐมวัย 3 รูปแบบ คือ การจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบ การจัดการศึกษาปฐมวยั นอกระบบ และการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ตามอธั ยาศยั 1. การจดั การศกึ ษาปฐมวัยในระบบ เป็นการจดั การศึกษาที่มีการกาหนดหลักสูตร เนื้อหา เวลาเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน มีเกณฑ์ในการประเมินผล มีการกาหนดอายุผู้เรียน กาหนดคุณสมบัติผูส้ อน และมสี ถานท่เี รยี นที่จดั ข้ึนโดยเฉพาะ 2. การจัดการศึกษาปฐมวัยนอกระบบ เป็นการจัดการศึกษาที่มีหลักสูตร เน้ือหา เวลาเรียนกิจกรรมการเรียนการสอนและเกณฑ์การประเมินผลที่ยืดหยุ่นไม่กาหนดตายตัว ไม่มีการกาหนดเกณฑ์อายุของผู้เรียน และคุณสมบัตขิ องผสู้ อนสถานที่เรยี นมีความยืดหยนุ่ อาจจะไม่มสี ถานท่ีจดั โดยเฉพาะ เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 137 3. การจัดการศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัย ไม่มีการกาหนดหลักสูตร เนื้อหา เวลาเวียน กิจกรรมการเรียนการสอน เกณฑก์ ารประเมินผล เกณฑอ์ ายุกู้เรียน ไม่มีการกาหนดคุณสมบัติผ้สู อน ไม่มีสถานที่แน่นอน เรียนรู้ที่ใดกไ็ ด้ ไมจ่ ากดั สถานท่แี ละเวลาในการเรียนรู้ รูปแบบการศึกษาปฐมวัย จาแนกตามรูปแบบของการจัดสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้ 2รูปแบบ คือ 1) การจัดการศึกษาปฐมวัยในรูปแบบโรงเรียน จะมีรูปแบบการจัด 2 ลักษณะ คือ ชั้นอนุบาล และชั้นเตรียมประถมศึกษาหรือชั้นเด็กเล็ก และ 2) การจัดการศึกษาปฐมวัยในรูปแบบศูนย์พัฒนาเด็กหรือสถานรับเล้ียงเด็ก เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ สถานรับเลี้ยงเด็กกลางวนั ฯลฯ หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาปฐมวัย มีหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนให้ความสนใจ การจดั ดาเนินงานการศึกษาปฐมวยั จึงมีหลายหนว่ ยงานจดั ดาเนนิ งานให้บริการ แตล่ ะหน่วยงานที่จัดกจ็ ะมีวตั ถุประสงคแ์ ละการจัดดาเนนิ งานทีม่ ลี ักษณะเฉพาะ 1. หน่วยงานท่ีจัดการศึกษาในรูปแบบโรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนอนุบาลของรัฐและโรงเรยี นอนุบาลของเอกชน 2. หน่วยงานท่ีจัดการศึกษาในรูปแบบศนู ย์พัฒนาเด็ก ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐได้แก่ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด สถานสงเคราะห์เด็กก่อนวัยเรียน หรือศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สถานสงเคราะห์เด็กอ่อน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของกรมการพัฒนาชุมชน สถานรับเล้ียงเด็กกลางวันของสานักอนามัยกรุงเทพมหานคร สถานรับเล้ียงเด็กกลางวัน และบ้านเด็กสาธิตของสถาบันราชภัฏ หน่วยงานภาคเอกชน ได้แก่ ศูนย์เด็กขององค์กร อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรต่าง ๆ ซ่ึงได้แก่ มูลนิธิ สมาคม และบริษัท ศูนย์เด็กหรือสถานรับเลี้ยงเด็กของเอกชน ซ่ึงส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ในชมุ ชนเมอื ง เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 138 ใบงำน หน่วยท่ี 6 รปู แบบของกำรจดั กำรศกึ ษำปฐมวยัคำชีแ้ จง : 1. ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกล่มุ ออกเป็น 5 กลมุ่ (กลมุ่ ละ5-6 คน) โดยกาหนดบทบาทและหน้าท่ีความรบั ผิดชอบของสมาชกิ ในกลมุ่ ให้ชดั เจน 2. มอบหมายงานให้นกั ศกึ ษาแต่ละกลมุ่ ศึกษาเน้ือหาจากเอกสารประกอบการสอน รหสั วิชาศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั หน่วยท่ี 6 เรือ่ ง รปู แบบของการจดั การศึกษาปฐมวัย แล้วร่วมกนัสรปุ เน้อื หาในรปู ของ Mind Mapping พรอ้ มกบั นาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรียน ในมีประเด็น ดังน้ี  กลุ่มท่ี 1 รปู แบบการศกึ ษาปฐมวยั จาแนกตามพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.2545 - การจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบ (ความหมาย ลักษณะสาคัญ ความสาคญั และหลักการจดั การศึกษาปฐมวัยในระบบ)  กลุ่มท่ี 2 รูปแบบการศึกษาปฐมวัย จาแนกตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพม่ิ เติม พ.ศ.2545 - การจัดการศึกษาปฐมวยั นอกระบบ (ความหมาย ลกั ษณะสาคญั ความสาคัญ และหลักการจัดการศึกษาปฐมวยั นอกระบบ)  กลมุ่ ที่ 3 รปู แบบการศึกษาปฐมวัย จาแนกตามพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทแี่ ก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ.2545 - การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตามอัธยาศยั (ความหมาย ลกั ษณะสาคัญ ความสาคัญ และหลักการจดั การศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัย)  กลุ่มที่ 4 รูปแบบการศกึ ษาปฐมวัย จาแนกตามรปู แบบของการจดั สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั - การจดั การศึกษาปฐมวยั ในรปู แบบโรงเรียน - การจัดการศกึ ษาปฐมวยั ในรปู แบบศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก  กลุ่มท่ี 5 หน่วยงานที่รับผดิ ชอบในการจดั การศึกษาปฐมวัย - หน่วยงานท่จี ัดการศึกษาปฐมวยั ในรูปแบบโรงเรียน - หน่วยงานทจี่ ัดการศึกษาในรปู แบบศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ ********************************************************* เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 139 แบบฝึกหัดหลงั เรยี นที่ 1 หน่วยท่ี 6 รปู แบบของกำรจดั กำรศกึ ษำปฐมวัยคำชีแ้ จง : ใหน้ กั ศึกษาตอบคาถาม อธบิ าย แสดงความคดิ เห็น ยกตัวอย่างหรอื ตามคาส่ังแตล่ ะขอ้ ที่ กาหนดให้1. จงอธบิ ายการจดั การศึกษาปฐมวัยในระบบ ในประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้ 1.1 ความหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบ............................................................................................. .................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................... 1.2 ลกั ษณะสาคญั ของการจัดการศกึ ษาปฐมวัยในระบบ............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................... ....................................... 1.3 ความสาคญั ของการจัดการศึกษาปฐมวยั ในระบบ............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ....................................... 1.4 หลกั การจัดการศึกษาปฐมวัยในระบบ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................................2. จงอธิบายการจัดการศึกษาปฐมวัยนอกระบบ ในประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี 2.1 ความหมายของการจัดการศกึ ษาปฐมวัยนอกระบบ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 140 2.2 ลกั ษณะสาคญั ของการจัดการศึกษาปฐมวัยนอกระบบ..................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ....................................... 2.3 ความสาคญั ของการจัดการศกึ ษาปฐมวยั นอกระบบ............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ....................................... 2.4 หลกั การจัดการศกึ ษาปฐมวยั นอกระบบ................................................................................................................................ ................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................... ................3. จงอธบิ ายการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตามอธั ยาศยั ในประเด็นดังตอ่ ไปนี้ 3.1 ความหมายของการจดั การศึกษาปฐมวัยตามอธั ยาศัย................................................................................................................................ ................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................... ................ 3.2 ลักษณะสาคัญของการจัดการศกึ ษาปฐมวัยตามอัธยาศัย................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................... ................................................................................ 3.3 ความสาคญั ของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตามอัธยาศัย............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ....................................... 3.4 หลกั การจัดการศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัย............................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................. ....................................... **************************************************** เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 141 แบบฝึกหดั หลงั เรียนที่ 2 หนว่ ยที่ 6 รูปแบบของกำรจดั กำรศกึ ษำปฐมวัยคำชแ้ี จง : ให้นักศึกษาตอบคาถาม อธบิ าย แสดงความคิดเห็น ยกตัวอยา่ งหรือตามคาสัง่ แตล่ ะขอ้ ที่ กาหนดให้1. การจัดการศึกษาปฐมวยั ในรปู แบบโรงเรยี นมีหลักการและเปา้ หมายอยา่ งไร............................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .......................................2. การจดั การศึกษาปฐมวัยในรูปแบบศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กมหี ลกั การและเป้าหมายอยา่ งไร............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... .......................................……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…3. จงบอกหนว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบในการจัดการศึกษาปฐมวยั ท่เี ปน็ เอกชน ว่ามีหนว่ ยงานอะไรบ้าง............................................................................................... .................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ....................................... เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล