Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย

เอกสารประกอบการสอน ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย

Description: ความหมาย ความสำคัญ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีและจุดมุ่งหมายของการศึกษาปฐมวัย องค์ประกอบและรูปแบบของการศึกษาปฐมวัย วิวัฒนาการของการศึกษาปฐมวัย นโยบาย กฎหมาย ข้อบังคับของการศึกษาปฐมวัยไทย สภาพปัจจุบันและแนวโน้มของการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย ฝึกปฏิบัติศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะการจัดการศึกษาปฐมวัยในท้องถิ่นตามหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษาปฐมวัย

Keywords: การศึกษาปฐมวัย

Search

Read the Text Version

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 1424. จงบอกหน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบในการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ทีเ่ ปน็ หนว่ ยงานของรัฐ วา่ มีหน่วยงานอะไรบา้ ง............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................................5. หนว่ ยงานที่จัดการศึกษาในรูปแบบโรงเรียน และหน่วยงานที่จดั การศึกษาในรูปแบบศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ มีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร............................................................................................................................. .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ...................................... ************************************************ เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 143 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยท่ี 6 รปู แบบของกำรจดั กำรศกึ ษำปฐมวยัรหัส-ชอื่ รายวชิ า ศษ 0103 การศกึ ษาปฐมวยั ระดบั อนุปริญญา ชั้นปที ่ี 1หนว่ ยที่ 6 รปู แบบของการจดั การศกึ ษาปฐมวัย จานวน 10 ขอ้ เวลา 15 นาทีคำชแี้ จง : อา่ นคาถามตอ่ ไปน้ีท่ลี ะข้อ แล้วเขยี นเครื่องหมาย X ทีข่ ้อคาตอบที่เหน็ วา่ ถูกตอ้ งท่ีสดุ เพยี ง ขอ้ เดยี ว1. การจดั การศึกษาปฐมวยั นอกระบบ ยึดหลกั การใด ก. พฒั นาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเลน่ และกจิ กรรมทเ่ี หมาะสม ข. จดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ ดก็ เกดิ การเรยี นรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง ค. จดั การศกึ ษาและอบรมเลี้ยงดูให้กับเด็กปฐมวัยท่ีครอบคลุมเดก็ ทกุ ประเภท ง. กระจายโอกาสทางการศึกษาใหค้ รอบคลุมท่วั ถึงทุกพ้นื ท่ี2. หน่วยงานของรัฐบาลที่เริ่มการอนุบาลขึ้น คือหน่วยงานใด กรมสามญั ศกึ ษา ก. กรมการฝึกหัดครู สานักงานคณะกรรมการการ ค. กรมการศาสนา ประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ3. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ลักษณะของรูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศยั ก. ไม่จาเปน็ ต้องมหี ลักสตู ร ไมม่ ีเวลาเรียนท่ีแน่นอน ข. สามารถเรียนได้ตลอดเวลา เกิดไดท้ ุกสถานท่ี ค. มีรปู แบบท่ีไม่เปน็ รปู แบบท่ีจะอธบิ ายไดช้ ัดเจน ไม่สามารถจับต้องหรือมองเห็น ง. ระยะเวลาขึ้นอยู่กบั ชนดิ และลักษณะของสิง่ ทเี่ รียน รวมทั้งความสนใจของผ้เู รยี น4. หนว่ ยงานภาครฐั ทรี่ ับผดิ ชอบการจดั การศึกษาปฐมวยั ในรปู แบบศนู ย์พัฒนาเด็กมดี งั ตอ่ ไปนี้ ยกเว้นข้อใด ก. ศนู ย์อบรมเด็กก่อนเกณฑใ์ นวดั ข. สถานสงเคราะหเ์ ด็กอ่อนของกรมประชาสงเคราะห์ ค. ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กของกรมการพฒั นาชมุ ชน ง. ศูนยเ์ ด็กขององค์กรตา่ งๆ เช่น มูลนธิ ิ สมาคม5. ลกั ษณะสาคญั ของการจดั การศกึ ษาปฐมวัยในระบบเป็นอยา่ งไร ก. ไม่มีหลักสูตรใชส้ าหรบั จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนทแี่ น่นอน ข. ใช้หลักสูตรแกนกลางเดียวกันท่วั ประเทศ ค. หลักสตู รสามารถปรับตามความสนใจและความตอ้ งการของผเู้ รยี น ง. เน้อื หาวิชาสามารถปรับตามความตอ้ งการของผเู้ รยี น เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 1446. การจดั การศึกษาปฐมวัยในรปู แบบ “ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก” ในปจั จบุ นั สงั กดั กระทรวงใดก. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ข. กระทรวงสาธารณสขุค. กระทรวงมหาดไทย ง. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร7. การจดั การศึกษาปฐมวยั นอกระบบมคี วามสาคัญอยา่ งไร ก. ทกุ คนมสี ิทธเิ สมอภาคเท่าเทยี มกันในการไดร้ บั บรกิ ารการศึกษา ข. เปน็ การศกึ ษาท่ตี อบสนองตอ่ ความต้องการของเดก็ ผู้ปกครอง ค. เป็นการศึกษาทต่ี อบสนองต่อแนวทางการปฏริ ูปการศึกษา ง. พัฒนาเดก็ ใหม้ ีคุณภาพที่ดี พัฒนาไปสู่ความเปน็ มนษุ ย์ที่สมบูรณ์8. “เปน็ การจัดการศกึ ษาทใี่ หผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนรดู้ ้วยตนเอง ศกั ยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สงั คม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรอู้ ่นื ๆ” จากข้อความดังกล่าว เป็นการจัดการศึกษาปฐมวัยในรูปแบบใดก. การจัดการศกึ ษาปฐมวัยในระบบ ข. การจดั การศึกษาปฐมวยัค. การจดั การศึกษาปฐมวยั ตามอธั ยาศยั ง. การจัดการศึกษาปฐมวยั ตลอดชีวิต9. ข้อใดคือ จุดมงุ่ หมายของการจดั การศึกษาปฐมวัยในรูปแบบศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ ก. ใหค้ วามรู้ พฒั นาเด็กและเตรียมความพร้อมให้เดก็ เพื่อเขา้ เรยี นในช้ันประถมศึกษา ข. แบง่ เบาภาระการอบรมเล้ียงดูเดก็ ของพ่อแม่ ผูป้ กครอง ให้สามารถใชเ้ วลาในการประกอบ อาชีพได้มากขึ้น ค. สง่ เสรมิ พัฒนาการและเตรยี มความพร้อมให้กับเด็กท้งั ทางด้านร่างกาย อารมณ์และจติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา ง. ถูกทุกข้อ10. ตอ่ ไปนข้ี อ้ ใด ไมใ่ ช่ สถานศึกษาสาหรบั การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในประเทศไทยก. ศูนยพ์ ัฒนาเด็กปฐมวัย ข. ศูนยพ์ ฒั นาเด็กก่อนเกณฑส์ ถาบันศาสนาค. ศนู ยพ์ ฒั นาชุมชน ง. โรงเรยี น******************************************************* เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 145 บรรณำนกุ รมวัฒนา ปญุ ญฤทธ.์ิ (2542). กำรจัดสภำพแวดลอ้ มในสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย. กรงุ เทพฯ : สถาบนั ราชภัฎพระนคร.วฒั นา มคั คสมนั และเลขา ปิยะอจั ฉริยะ. (2555). “รปู แบบของการจดั การศึกษาปฐมวัย” แนวกำรศกึ ษำชดุ วชิ ำ หลักกำรและแนวคดิ ทำงกำรปฐมวัยศึกษำ หน่วยที่ 1-7 (ฉบับปรับปรุงครงั้ ที่ 1). นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช.ศศิพันธุ์ เปี๊ยนเปี่ยมสิน. (2553). เอกสำรชุดวิชำ ECED 201 กำรศึกษำปฐมวัย (Early Childhood Education). กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสวนดสุ ิต. เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 146 หนว่ ยท่ี 7 นโยบาย กฎหมาย ข้อบังคับในการจัดการศึกษาปฐมวัยสำระสำคญั รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการศกึ ษาปฐมวยั จึงได้กาหนดกฎหมาย ขอ้ บังคับที่เก่ียวข้องกับการศึกษาปฐมวัย ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 รวมทั้งนโยบายต่างๆ เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้แก่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ และแผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติ รวมทัง้ ปฏญิ ญาเพ่ือเดก็ ไทยจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ 1. บอกนโยบายพื้นฐานที่เกีย่ วขอ้ งกับการจัดการศึกษาในรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศกั ราช 2550 ได้ 2. บอกสาระสาคญั ของพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545 ที่เกย่ี วขอ้ งกบั การพัฒนาเด็กปฐมวยั ได้ 3. อธบิ ายแนวนโยบายของรฐั บาลในการจัดการศกึ ษาปฐมวัยตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติได้ 4. อธบิ ายแนวนโยบายของรัฐบาลในการจดั การศึกษาปฐมวัยตามแผนการศึกษาแห่งชาติได้ 5. อธิบายแนวนโยบายของรฐั บาลในการจดั การศกึ ษาปฐมวัยตามแผนพฒั นาการศกึ ษาแหง่ ชาติได้ 6. บอกสาระสาคญั ปฏิญญาเพอื่ เด็กไทยท่ีเกยี่ วข้องกบั ทิศทางในการพฒั นาเด็กได้สำระกำรเรียนรู้ 1. กฎหมาย ข้อบงั คบั ทีเ่ กย่ี วข้องกับการจดั การศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทย 1.1 รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 1.2 พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 2. นโยบายท่เี ก่ยี วข้องกบั การจัดการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศไทย 2.1 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 2.2 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 2.3 แผนพฒั นาการศกึ ษาแหง่ ชาติ 3. ปฏญิ ญาเพ่อื เด็กไทย เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 147 บทนำ ประเทศไทยมีการจัดการศึกษาปฐมวัยมานานแล้ว โดยเจ้านายเช้ือพระวงศ์เข้าเรียนในโรงเรียนราชกุมารและโรงเรียนราชกุมารี ส่วนชาวบ้านก็นิยมนาลูกไปฝากท่ีวัด ต่อเม่ือมีการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบจึงมีชั้นมูลศึกษาเกิดข้ึน และมีโรงเรียนราษฎร์ที่จัดการศึกษาปฐมวัย ได้แก่โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย โรงเรียนราชินี และโรงเรียนมาแตร์เดอี ได้เริ่มเปิดสอนแผนกอนุบาลขึ้นโดยนาวิธีการสอนแบบเฟรอเบล และมอนเตสซอร่ีมาเป็นตัวอย่าง ในยุคหลังเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบบสมบรู ณาญาสิทธริ าชมาเป็นระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมขุ รัฐบาลได้จัดตั้งโรงเรียนอนุบาลของรัฐแห่งแรกใน ปี พ.ศ. 2483 คือ โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือเตรียมเด็กให้มีความพร้อมสาหรับเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา และโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ยังคงดาเนินการสอนอยู่จนถึงปัจจุบัน นอกจากน้ัน นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2497 เป็นตน้ มา รฐั บาลเร่ิมมีนโยบายส่งเสริมให้โรงเรียนเอกชนเปิดสอนระดับอนุบาลศึกษาในขณะเดียวกันหน่วยงานต่าง ๆ ก็เร่ิมเข้ามามีสว่ นรว่ มจดั การศกึ ษาในระดบั น้มี ากยงิ่ ข้นึ จะเห็นได้ว่ารัฐบาลได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการศึกษาปฐมวัยมากยิ่งขึ้นจึงได้กาหนดกฎหมาย ข้อบังคับท่ีเก่ียวขอ้ งกับการศึกษาปฐมวัย รวมท้ังนโยบายต่างๆ เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยรายละเอยี ดดังนี้ 1. กฎหมาย ขอ้ บงั คบั ทเ่ี กีย่ วข้องกับการจดั การศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทย 2. นโยบายท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการจดั การศกึ ษาปฐมวัยในประเทศไทย 3. ปฏิญญาเพอื่ เด็กไทย1. กฎหมำย ขอ้ บงั คบั ทีเ่ กย่ี วข้องกบั กำรจัดกำรศึกษำปฐมวัยในประเทศไทย กฎหมาย ข้อบงั คับท่ีเก่ียวขอ้ งกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย มีดงั นี้ 1.1 รฐั ธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจกั รไทย พุทธศักรำช 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้กาหนดนโยบายพ้ืนฐานในส่วนท่ีเกีย่ วกับการศกึ ษา ในมาตรา 80 (3) ว่า “(3) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม โดยจัดให้มีแผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพ่ือพัฒนาการศึกษาของชาติ จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ก้าวหน้าทันการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก รวมท้ังปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสานึกของความเป็นไทย มีระเบียบวินัยคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข (4) สง่ เสริมและสนับสนนุ การกระจายอานาจเพ่ือให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ชมุ ชนองค์การทางศาสนา และเอกชน จัดและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาให้เท่าเทียมและสอดคลอ้ งกับแนวนโยบายพน้ื ฐานแหง่ รฐั เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 148 (5) ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆ และเผยแพร่ขอ้ มลู ผลการศกึ ษาวิจัยทีไ่ ดร้ ับทุนสนบั สนนุ การศึกษาวิจยั จากรัฐ (6) ส่งเสริมและสนบั สนุนความรู้รกั สามัคคแี ละการเรียนรู้ ปลูกจติ สานกึ และเผยแพร่ศิลปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณขี องชาติ ตลอดจนค่านยิ มอันดีงามและภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ” นอกจากนี้ยังได้กาหนดในมาตรา 49 ว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างท่ัวถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย โดยรวมถึงผู้ยากไร้ ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ หรือผู้อยู่ในสภาวะยากลาบาก ต้องได้รับการสนับสนุนจากรัฐเพื่อให้ได้รับการศึกษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอ่ืนด้วย การจัดการศึกษาอบรมขององค์กรวิชาชีพหรือเอกชนการศึกษาทางเลือกของประชาชน การเรียนรู้ด้วยตนเอง และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ย่อมได้รับความคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ที่เหมาะสมจากรัฐ” (สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2553) 1.2 พระรำชบญั ญตั ิกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2542 นภเนตร ธรรมบวร (2549) กล่าวว่า ในปี พ.ศ.2542 ประเทศไทยได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับแรกขึ้น ซึ่งมีผลบังคับใช้ตง้ั แต่วันท่ี 20 สิงหาคม พ.ศ.2542 เป็นต้นมา และถือว่าเป็นกฎหมายแม่บทที่เป็นหัวใจสาคัญในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ การปฏิรูปการศึกษาของไทยตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 นี้ถือได้ว่าเป็นการปฏิรูปการศกึ ษาคร้งั ใหญข่ องประเทศครัง้ ท่ี 2 นับต้งั แต่มีการปฏริ ปู ครัง้ แรกในสมัยรัชกาลท่ี 5 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 กล่าวถึงการจัดการศึกษาว่าด้วยเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน กล่าวคือ การศึกษาครอบคลุมต้ังแต่เกิดจนตาย โดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษาที่ให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายตามมติของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 16 มีนาคมพ.ศ.2542 โดยให้ทุกส่วนของสังคมมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษาปฐมวยั การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไม่น้อยกวา่ 12 ปี ที่ในที่นี่นั้นจะครอบคลุมชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1ถึงมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยไม่ครอบคลุมการศึกษาระดับปฐมวัย อย่างไรก็ตาม รัฐบาลยังคงหึความสาคัญแก่การพัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งหมายถึง เด็กในช่วงอายุระหว่าง 0 - 5 ปี (ตั้งแต่แรกปฏิสนธิ ถึง อายุ 5 ปี11 เดือน 29 วัน) จึงมีการจัดทาแผนปฏิบัติการในนโยบายและมาตรฐานการพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีครอบคลุมเดก็ 0 -5 ปี เจตนารมณ์สาคัญของการจัดการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ยึดหลักกว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถที่จะเรียนรู้ได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ทัง้ น้ี โดยมุ่งหวังว่าจะนาไปสู่การพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษยท์ ี่สมบูรณ์ท้ังร่างกายจิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม เป็นผู้มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข สาระสาคัญพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545 มีหลายมาตราท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ไดแ้ ก่ มาตร 13 (1) บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์การสนับสนุนจากรัฐให้มีความร้คู วามสามารถในการอบรมเลีย้ งดู และการให้การศกึ ษาแกบ่ ุตรหรือบุคคลซ่ึงอยูใ่ นความดูแล เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 149 มาตรา 14 (1) บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน มีสิทธไิ ด้รับสิทธิประโยชน์การสนับสนนุ จากรฐั ใหม้ คี วามร้คู วามสามารถในการอบรมเลี้ยงดบู คุ คลซึ่งอย่ใู นความดูแลรับผดิ ชอบ มาตรา 18 และ 18 (1) การจัดการศึกษาปฐมวัยและการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้จัดในสถานศึกษาดังต่อไปนี้ ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ของสถาบันศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความต้องการพิเศษหรือสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยท่เี รยี กชอื่ อย่างอืน่ มาตร 47 ใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั ประกอบด้วย ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน และระบบการประกนั คุณภาพภายนอก2. นโยบำยทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั กำรจัดกำรศึกษำปฐมวัยในประเทศไทย การศึกษาปฐมวัยของไทยสมัยมีระบบโรงเรียนในอดีตเร่ิมตั้งแต่มีโครงการศึกษา พ.ศ. 2441เป็นต้นมา ในสมัยน้ันรัฐยังไมไ่ ด้เน้นความสาคญั ของการศึกษาในระดบั น้ี ไม่มกี ารกาหนดนโยบายท่ีแน่ชัดแต่ภายหลังรัฐเริ่มให้ความสาคัญเพ่ิมมากขึ้นเร่ือย ๆ โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2483 ซึ่งเป็นปีแรกท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้จัดการศึกษาในระดับอนุบาลศึกษา โดยจัดต้ังโรงเรียนอนุบาลของรัฐข้ึนเป็นแห่งแรกน่ันกค็ ือ โรงเรยี นอนุบาลละอออุทิศ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเตรียมเด็กให้มีความพร้อมสาหรบั เขา้ เรยี นในระดับประถมศึกษา และต่อมารัฐได้ตระหนักถึงความสาคัญของการศึกษาของเด็กในระดับน้ีมากยิ่งขึ้นจงึ ไดก้ าหนดนโยบายท่เี ก่ียวข้องกบั การจดั การศึกษาปฐมวัยตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติแผนการศกึ ษาแห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาตฉิ บับตา่ ง ๆ ดังนี้ 2.1 แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ เยาวพา เดชะคุปต์ (2542) กล่าวว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้เร่ิมขึ้นเน่ืองจากระบบงบประมาณท่ีมีอยู่เดิมไม่สามารถสนองตอบต่อความต้องการของระบบเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดสร้างระบบโครงข่ายพ้ืนฐาน ทั้งนี้เนื่องจากในระบบงบประมาณแบบเดิมเป็นการจัดสรรปีต่อปีทาใหไ้ ม่สามารถจะผนวกโครงการก่อสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ ซึง่ จาเป็นต้องไดร้ ับการจัดสรรทรัพยากรอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายปีไว้ได้ รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสาคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้เสนอขอความช่วยเหลือจากธนาคารโลกซ่ึงได้จัดส่งคณะผู้เชี่ยวชาญมาศึกษาเร่ืองนี้ และจากข้อเสนอแนะของคณะผู้เชี่ยวชาญดังกล่าวก็ได้มีการจัดต้ังสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจซ่ึงต่อมาได้เปลี่ยนเป็นสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติข้ึนเมื่อปี พ.ศ.2502โดยมหี น้าท่ีในการจัดทาแผนพัฒนาของประเทศ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554) กล่าวว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมีมาแล้ว 11 ฉบับ มีระยะเวลาดาเนินการฉบับละ 5 ปี โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 เร่ิมใช้ในปี พ.ศ. 2504 มีระยะเวลา 6 ปี โดยอยู่ในสมัยของนายกรัฐมนตรี จอมพลสฤิษดิ์ ธนะรัชต์ จนถึงปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยได้ประกาศใช้แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม มาแลว้ 11 ฉบับด้วยกัน และปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในระยะของการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ.2555 - 2559) เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 150 สาระสาคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 - 11 ทเ่ี กี่ยวข้องกบั เด็กปฐมวัยสรุปไดด้ ังนี้ 2.1.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 8 (พ.ศ.2540-2544) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2540) กล่าวว่าแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ.2540 - 2544) เป็นจุดเปลี่ยนสาคัญของการวางแผนพัฒนาประเทศท่ีให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม และมุ่งให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”และใช้เศรษฐกิจเป็นเคร่ืองช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้นพร้อมทั้งปรับเปล่ียนวิธีการพัฒนาแบบแยกส่วนมาเป็นบูรณาการแบบองค์รวมเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดล้อม สาหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ.2540 - 2544) ได้กาหนดแนวทางการพัฒนาหลักท่ีเกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยด้านการเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัยดังน้ี 2.1.1.1 สนับสนุนและส่งเสริมให้เยาวชน คู่สมรส และพ่อแม่ มีความรู้เก่ียวกับชีวิตครอบครัวและวิธีการเล้ียงดูที่ถูกต้องเหมาะสม โดยมอบให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องประสานการดาเนินงานไปในทศิ ทางเดียวกัน 2.1.1.2 สนับสนุนและส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้รับการบริการในรูปแบบต่างๆเช่น ศูนย์พัฒนาเด็ก สถานรับเล้ียงเด็กในท่ีทางานและในสถานประกอบการ โดยดาเนินการร่วมกันระหวา่ งภาครัฐ ภาคเอกชน และครอบครวั 2.1.1.3 สนับสนุนให้เด็กทุกคนได้รับการส่งเสริมด้านโภชนาการอย่างเพียงพอและมคี ณุ ภาพ 2.1.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ.2545 - 2549) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2545) กล่าวว่าแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ.2545 - 2549) ได้อญั เชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นปรัชญานาทางในการพัฒนาและบริหารประเทศควบคู่ไปกับกระบวนทัศน์การพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวม โดยใช้แนวคิดที่ยึด“คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 8 โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนาท่ีสมดุลทั้งด้านตวั คน สังคม เศรษฐกจิ และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงแรสร้างระบบบริหารจดั การภายในที่ดีให้เกิดข้ึนในทกุ ระดับอันจะทาให้เกิดการพัฒนาท่ีย่ังยนื และความอยู่ดีมีสุขของคนไทย มุ่งพัฒนาสังคมสู่สังคมท่ีเข้มแข็งและมีดุลยภาพใน 3 ด้าน คือ สังคมคุณภาพ สังคมแหง่ ภูมิปญั ญาและการเรียนรู้ สังคมสมานฉนั ทแ์ ละเอื้ออาทรต่อกัน สาหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ.2545 - 2549) ได้กาหนดแนวทางการพัฒนาหลักทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั เด็กปฐมวยั ดงั นี้ 2.1.2.1 สร้างคนทกุ คนใหเ้ ปน็ คนดี คนเกง่ พรอ้ มดว้ ยคุณธรรม จริยธรรม มวี นิ ัยมคี วามรับผดิ ชอบ พงึ่ ตนเองได้ มีคุณภาพชีวติ ทด่ี ี มคี วามสขุ อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทด่ี ี 2.1.2.2 เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถคิดเป็น ทาเป็น มีเหตุผล มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ สามารถเรียนรไู้ ด้ตลอดชวี ติ รเู้ ทา่ ทนั โลก เพ่อื พร้อมรบั กับการเปลี่ยนแปลง 2.1.2.3 มีสถาบนั ครอบครวั ท่เี ขม้ แข็ง ตลอดจนเครอื ข่ายชุมชนท่ัวประเทศ เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 151 2.1.3 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2550) กล่าวว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) ได้จัดทาขึ้นสาหรบั ใช้เป็นแผนยุทธศาสตร์เพื่อรองรับการเปลยี่ นแปลงในระยะ 10 - 15 ปขี ้างหน้า และขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ทมี ีความสาคญั สูงให้เกิดผลทางปฏิบัติในระยะ 5 ปีของแผนโดยยังคงอญั เชิญ “ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง”มาเป็นหลักปฏิบัติในการพัฒนาและบริหารประเทศ โดยยึดหลักกระบวนทัศน์การพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มี“คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 8 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 และยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนจากทุกภาคส่วนในสังคมเพ่ือมุ่งพัฒนาสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน คนไทยมีคุณธรรมนาความรอบรู้ รู้เท่าทันโลกครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้าแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรมสิง่ แวดล้อมมีคุณภาพและทรพั ยากรธรรมชาติที่ยั่งยืนอยู่ภายใต้ระบบบรหิ ารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดารงไว้ซ่ึงระบอบประชาธิปไตยท่ีมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี โดยมีพันธกิจของการพัฒนาประเทศที่สาคัญคือ การพัฒนาคุณภาพคนในชาติให้มีความรู้ คู่คุณธรรม พร้อมรับการเปล่ียนแปลง เสริมสร้างความเท่าเทียมกัน และความเข้มแข็งของสังคม ปฏิรูปโครงสรา้ งเศรษฐกจิ และพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการประเทศใหเ้ กดิ ธรรมาภบิ าลในทกระดับ สาหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) กล่าวถึงแนวทางการพฒั นาทเี่ ก่ยี วข้องกบั เด็กปฐมวัย ดังน้ี 2.1.3.1 พัฒนาคนให้มีคุณภาพ เป็นคนดี คนเก่ง พร้อมดว้ ยคุณธรรม จริยธรรมมีความสขุ อยู่ในครอบครวั ท่อี บอุ่นและสภาพแวดลอ้ มท่ดี ี พงึ่ ตนเองได้ มคี วามม่ันคงในการดารงชีวิต 2.1.3.2 เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถคิดเป็น ทาเป็น มีเหตุผล มีความคิดร่ิเริ่มสรา้ งสรรค์ สามารถเรียนรู้ไดต้ ลอดชีวิต รเู้ ท่าทนั โลก เพ่อื พรอ้ มรับกับการเปลยี่ นแปลง 2.1.3.3 มีการเช่ือมโยงบทบาทสถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษาสาธารณสุข ตลอดจนชมุ ชนท่ัวประเทศเป็นเครอื ขา่ ยท่เี ข้มแข็ง 2.1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555) กล่าวว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ได้จัดทาขึ้นในช่วงเวลาที่ประเทศไทยต้องเผชิญกับสถานการณ์ทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และส่งผลกระทบอย่างรุนแรงกว่าช่วงที่ผ่านมา ในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 - 10สังคมไทยได้อัญเชิญหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ไปประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางในทุกระดับตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม จนถึงระดับประเทศ ซ่ึงได้มีส่วนเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและช่วยให้สังคมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ได้ อย่างมั่นคงท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ทุกภาคส่วนในสังคมไทยเห็นพ้องร่วมกันน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอย่างต่อเน่ือง เพื่อมุ่งให้เกิดภูมิคุ้มกนั และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม เพ่ือให้การพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและย่งั ยืน เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 152 การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 ได้ตระหนักถึงสถานการณ์และความเส่ียงซึ่งเกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงในระดับโลกและภายในประเทศโดยเฉพาะภาวะผันผวนด้านเศรษฐกิจ พลังงาน และภูมิอากาศท่ีเป็นไปอย่างรวดเร็วและส่งผลกระทบอย่างชัดเจนต่อประเทศไทยท้ังเชิงบวกและลบ ดังนั้นทิศทางการบริหารจัดการประเทศภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ รองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจึงเป็นการใช้จุดแข็งและศักยภาพท่ีมีอยูใ่ ห้เป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาประเทศเพื่อสร้างความเขม้ แขง็ และรกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศท่ีเน้นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของฐานการผลิตภาคเกษตร และการประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม ขณะเดยี วกันจาเป็นต้องปรับตัวในการเชอ่ื มโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกและภูมิภาค ซึ่งประเทศไทยมีพันธกรณีภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ เพื่อสามารถใช้โอกาสท่ีเกิดขึ้นและเพ่ิมภูมิคุ้มกันของทุนท่ีมีอยู่ในสังคมไทยได้อย่างเหมาะสมพร้อมก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนใน ปี 2558 ขณะเดียวกันจาเป็นต้องสร้างความพร้อมสาหรับเช่ือมโยงด้านกายภาพท้ังโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ควบคู่กับการยกระดับคุณภาพคน การเสริมสร้างองค์ความรู้ การพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสรา้ งสรรค์ใหเ้ ป็นพลังขบั เคลื่อนการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมไทย สาหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) กล่าวถึงแนวทางการพฒั นาทีเ่ กี่ยวข้องกับเด็กปฐมวยั ดงั น้ี 2.1.4.1 ปรบั โครงสร้างและการกระจายตัวประชากรให้เหมาะสม เป็นการสง่ เสริมคู่สมรสที่มีความพร้อมให้มีบุตรเพ่ิมข้ึน และรักษาระดับอัตราเจริญพันธุ์ไม่ให้ต่ากว่าระดับท่ีเป็นอยู่ปจั จุบนั 2.1.4.2 พัฒนาคุณภาพคนไทยใหม้ ีภมู คิ ุม้ กนั ต่อการเปลี่ยนแปลง มงุ่ พัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัยสอดแทรกการพัฒนาคนด้วยกระบวนการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างวัฒนธรรมการเก้ือกูลพัฒนาทกั ษะให้คนมกี ารเรยี นรู้ตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ติ 2.1.4.3 สง่ เสริมการลดปัจจัยเสี่ยงดา้ นสุขภาพอยา่ งเป็นองค์รวม โดยสรา้ งเสริมสุขภาวะคนไทยให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ พัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครวั ชุมชน 2.1.4.4 ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มุ่งสร้างกระแสสังคมให้การเรียนรู้เป็นหน้าท่ีของคนไทยทุกคนมีนิสัยใฝ่รู้รักการอ่านต้ังแต่วัยเด็ก และส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันของคนต่างวัยควบคู่กับการส่งเสริมให้องค์กร กลุ่มบุคคล ชุมชน ประชาชน และสื่อทุกประเภทเป็นแหล่งเรียนรู้อย่างสรา้ งสรรค์ ส่ือสารด้วยภาษาท่ีเข้าใจง่าย รวมถึงส่งเสริมการศึกษาทางเลือกท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รียน และสร้างสังคมแห่งการเรยี นรทู้ ่ีมคี ุณภาพและสนบั สนุนปัจจยั ทก่ี อ่ ให้เกดิ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ 2.2 แผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ เยาวพา เดชะคุปต์ (2542) กล่าวว่า แผนการศึกษาแห่งชาติ หมายถึง แผนการที่รัฐจัดทาข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาในระยะยาว การกาหนดแผนการศึกษาชาติจึงเป็นการกาหนดแม่บทในการจัดการศึกษา สถานศึกษาทุกระดับและทุกประเภทต้องปฏิบัติตามท่ีแผนการศึกษาชาติกาหนดไว้ ซึ่งรายละเอียดของแผนการศึกษาแห่งชาติน้ันโดยทั่วไปมักกล่าวถึงการจัดการศึกษาในเรื่องความมุ่งหมายของการศึกษา นโยบายการศึกษา ระบบการศึกษา การบรหิ ารการศกึ ษา และอน่ื ๆ เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 153 ประเทศไทยเริ่มมีการใช้แผนการศึกษาแห่งชาติเป็นคร้ังแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ เมือประเทศไทยเร่ิมจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ และมีระบบโรงเรียน ซึ่งมีลักษณะเช่นปัจจุบัน การจัดการศึกษาอย่างมีระบบจึงจาเป็นต้องมีแผนการศึกษาชาติข้ึน เพื่อเป็นแนวทางให้สถานศึกษาถือเป็นแม่บทในการจัดการศึกษา ระยะก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เรียกว่า โครงการศึกษาชาติ ระยะหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เป็นต้นมาเรยี กว่า แผนการศกึ ษาชาติ รูปแบบแผนการศึกษาแหง่ ชาติ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ระยะ คอื 2.2.1 แผนการศึกษาแห่งชาติระยะแรก (ก่อนการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.2441-2475) การศึกษานโยบายของรัฐเก่ียวกับการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยในอดีตที่ผ่านมาไม่ได้เน้นหนักถึงความสาคัญเท่ากับการศึกษาระดับอื่นๆ มิได้กาหนดไว้อย่างเป็นทางการ เนื่องจากอดีตท่ีผ่านมาไม่ได้เน้นความสาคัญของการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยเท่ากับการจัดการศึกษาระดับอ่ืนๆในระยะก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีโครงการศึกษาชาติอยู่ 4 ฉบับ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจดั การศกึ ษา ได้แก่ 2.2.1.1 โครงการศกึ ษาชาติ พ.ศ.2441 2.2.1.2 โครงการศึกษาชาติ พ.ศ.2445 และฉบับแก้ไข พ.ศ.2452 2.2.1.3 โครงการศึกษาชาติ พ.ศ.2456 และฉบับแกไ้ ข พ.ศ.2458 2.2.1.4 โครงการศึกษาชาติ พ.ศ.2464 2.2.2 แผนการศึกษาแห่งชาติระยะที่ 2 (หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475-2494) หลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เป็นต้นมา การศึกษาปฐมวัยได้รับความสนใจเพ่ิมมากขึ้น บรรดานักการศึกษาผู้ที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาในสมัยน้ันได้เล็งเห็นและตระหนักถึงความสาคัญของวัยเด็กจึงได้จัดการศึกษาแก่เด็กในวัยนี้อย่างกว้างขวาง ดังน้ัน คาว่า มูลศึกษาหรือการศึกษาเบ้ืองต้น ก็ยังปรากฏอยู่ในแผนการศึกษาชาติ พ.ศ.2479 ซ่ึงได้กาหนด มูลศึกษา เป็นการศึกษาสาหรับเด็กอายุต่ากว่าเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ และเป็นการศึกษาเบ้ืองแรกมีลักษณะคล้ายคลึงกับโครงการศึกษาชาติ พ.ศ.2494 โดยรวมแนวความคิดเรื่องอนุบาลศึกษาหรือที่เรียกว่า มูลศึกษา ซ่ึงเดิมแบ่งเป็นโรงเรียนบุรพบท โรงเรียน ก.ข นโม และกินเดอกาเตนเข้าไว้ด้วยกัน และเปล่ียนจากมูลศึกษาเป็นอนุบาลศึกษาในแผนการศึกษาชาติ พ.ศ.2494 และกาหนดอายุของเด็กต่ากวา่ 8 ปีลงมา หรอื ในระหวา่ งอายุ 3 -7 ปี เรียนในชนั้ มูลศกึ ษา ดังน้ันจะเห็นว่าชั้นมูลศึกษาหรอื การศกึ ษาวัยก่อนเกณฑ์บังคับเรียนน้ันยังไม่ได้กาหนดจุดมุ่งหมายเพื่อเตรียมความพร้อมแก่เด็ก หากมุ่งเตรียมให้เด็กอ่านออกเขียนได้เป็นสาคัญ ส่วนอายุเด็กนั้น กาหนดอายุเดก็ ท่ีจะเขา้ เรยี นในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ไว้ว่าย่างเข้าปีที่ 8 ดงั น้ันเดก็ ในชั้นมูลศกึ ษามีอายุต่ากว่า 8 ปี ลงมาหรือในระหว่างอายุ 3 - 7 ปี 2.2.3 แผนการศึกษาแห่งชาติปัจจุบัน (พ.ศ.2494 - ปัจจุบัน) แผนการศึกษาแห่งชาตินบั ตง้ั แต่หลัง พ.ศ.2493 จนถงึ ปัจจบุ ัน มดี ังน้ี 2.2.3.1 แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2503 การศึกษาปฐมวัยได้รับความสนใจและสนับสนนุ จากรัฐ ได้มกี ารเปลยี่ นแปลงไปในทางทด่ี ีข้นึ จานวนโรงเรยี นอนุบาลในรูปแบบต่างๆ ก็เกิดข้ึน ในปี พ.ศ.2511 กาหนดใหม้ ีโรงเรียนอนุบาลครบทุกจังหวดั ซง่ึ เป็นไปตามเปา้ หมายที่วางไว้ต้ังแต่เร่ิมดาเนินการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2503 มีส่วนสาคัญท่ีเก่ียวข้องกับการศกึ ษาปฐมวยั สรุปได้ดงั นี้ เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 154 2.2.3.1.1 การศึกษาปฐมวัย เป็นระดับหนึ่งของการศึกษาก่อนการศึกษาภาคบังคับ อาจจัดเป็นอนบุ าลที่มี 2 ชั้น หรอื 3 ช้นั หรอื ช้ันเดก็ เลก็ ในโรงเรยี นประถมศกึ ษา 2.2.3.1.2 เป็นการอบรมเบ้ืองต้นเพ่ือให้กุลบุตร กุลธิดา พร้อมท่ีจะรับการศึกษาในระดบั ประถมศึกษา 2.2.3.1.3 อายุ กาหนดอายเุ ดก็ ปฐมวยั ระหวา่ ง 3-6 ปี 2.2.3.2 แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2520 ในปี พ.ศ.2520 ได้มีการเปลย่ี นแปลงแผนการศึกษาชาตใิ หม่ และมีสาระสาคัญท่เี กี่ยวขอ้ งกับการศกึ ษาปฐมวยั ดงั นี้ 2.2.3.2.1 การศึกษาก่อนประถมศกึ ษา เปน็ การศกึ ษาระดบั หน่ึง 2.2.3.2.2 รัฐพึงเร่งรัดและสนับสนุนการอบรมเล้ียงดูเด็กในวัยก่อนประถมศึกษา รัฐจะสนับสนุนให้ท้องถิ่นและภาคเอกชนจัดให้มาก รัฐจะจัดเป็นตัวอย่างและเพื่อการค้นควา้ วิจัยเทา่ นนั้ 2.2.3.2.3 การศึกษาก่อนประถมศึกษา เป็นการศึกษาท่ีมุ่งอบรมเล้ียงดกู ่อนการศกึ ษาภาคบังคับ เพอ่ื เตรยี มเดก็ ให้มคี วามพร้อมทุกด้านพอทจ่ี ะรบั การศึกษาต่อไป 2.2.3.2.4 การจัดการศึกษาก่อนประถมศึกษา อาจจัดเป็นการศึกษาในระบบโรงเรียน หรือการศึกษานอกโรงเรียน โดยอาจจัดเป็นสถานรับเล้ียงเด็กหรือศูนย์เด็กปฐมวัยหรืออาจจดั เป็นช้นั เด็กเล็กหรอื โรงเรียนอนุบาล 2.2.3.3 แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2535 ระบบการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติฉบับนี้เป็นระบบท่ีให้บุคคลได้ศึกษา และเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาตนเองทั้งในด้านสติปัญญา จิตใจ ร่างกาย และสังคมอย่างสมดุล สามารถเสริมสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่ประเทศภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยมีสาระสาคัญได้แก่ การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา เป็นการศึกษาในลักษณะของการอบรมเล้ียงดูและพัฒนาความพร้อมของเด็กท้ังทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ บุคลิกภาพ และสังคม เพ่ือรับการศึกษาในระดับต่อไป และการจัดการศึกษาระดับน้ีอาจจัดในรูปของช้ันเด็กเล็ก ชั้นอนุบาลศึกษาหรือในรูปของศูนย์พัฒนาเด็กประเภทต่างๆ ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับสภาพของแต่ละพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายนโยบายการศกึ ษาในระดบั ปฐมวัยตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2535 มจี ุดเนน้ ดังน้ี 2.2.3.3.1 จัดการศึกษาและส่งเสริมการอบรมเล้ียงดูเด็กท่ีเป็นประโยชน์ต่อพัฒนาการของเด็กตามสภาวะความต้องการพ้ืนฐานตามวัยตั้งแต่ปฏสิ นธิและพัฒนาคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 2.2.3.3.2 ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับบริการเพ่ีอเตรียมความพรอ้ มอยา่ งน้อย 1 ปี ก่อนเข้าเรียนระดบั ประถมศึกษา แนวทางการดาเนินงานตามแนวนโยบายการศึกษาในระดับปฐมวยั ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2535 จะเน้นท่ีการขยายบริการการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยให้กว้างขวางโดยเฉพาะในชนบทห่างไกลและชุมชนแออัดในทุกจังหวัด โดยให้โรงเรียนประถมศึกษาทุกโรงเรียนท้ังของรัฐและท้องถ่ินจัดบริการเตรียมความพร้อมสาหรับเด็กอย่างน้อย 1 ปี ก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 155 2.2.3.4 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2545-2559) สานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ (2545) กล่าวว่า แผนการศึกษาฉบับนี้จัดทาภายใต้กรอบนโยบายท่ีกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ในส่วนที่เกีย่ วข้องกับการศึกษา โดยมีกฎหมายแม่บทเช่อื มต่อกับบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ คอื พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 เป็นฐานหลักของนโยบายแห่งรัฐด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของชาติ และเพื่อเป็นกรอบแนวทางในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ ใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษาของชาติ ซ่ึงเป็นแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว 15 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2545-2559)ฉบบั นี้ไดก้ าหนดวัตถุประสงค์และแนวนโยบายเพ่ือดาเนนิ การทเ่ี กีย่ วกบั การศึกษาปฐมวัย ไวด้ งั น้ี 2.2.3.4.1 พัฒนาคนอย่างรอบด้าน และสมดุลเพ่ือเป็นฐานหลักของการพัฒนา มแี นวนโยบายเพอื่ ดาเนนิ การและเป้าหมาย ดังน้ีแนวนโยบาย เป้าหมาย1. การพัฒนาทุกคนให้มโี อกาสเข้าถึงการ 1.1 เด็กปฐมวยั อายุ 0 - 5 ปี ทกุ คนไดร้ บั การพฒั นาเรยี นรู้ และเตรียมความพร้อมทุกด้านก่อนเข้าสูร่ ะบบ การศกึ ษา2. การปฏิรปู การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนตาม 2.1 ผู้เรียนเป็นคนเก่งที่พัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ และเตม็ ตามศกั ยภาพ เป็นคนดี และมคี วามสขุ 2.2 ครูทุกคนได้รับการพัฒ นาให้มีความรู้และ ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้น ผ้เู รยี นมีความสาคญั ทสี่ ุด 2.3 ผู้บริหารสถานศึกษาและครูทุกคนได้รับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ 2.4 สถานศกึ ษาทุกแห่งมีการประกันคุณภาพการศึกษา3. การปลกู ฝงั และเสรมิ สรา้ งศีลธรรม คุณธรรม 3.1 มีการบูรณาการด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะและจรยิ ธรรม คา่ นยิ มและคุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ วัฒนธรรม ทั้งในเน้ือหา กระบวนการ และกิจกรรมในระบบวถิ ีชีวิตทีด่ ีงาม การเรียนรู้ เพ่ือเสริมสร้างศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผ้เู รียน 3.2 บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคม อ่ืนทุกแห่งร่วมคิดและร่วมดาเนินงานเพื่อพัฒนาคน ไทยทุกคนให้เป็นผู้มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิ ยม รวม ท้ั งค่านิ ยมเชิงสุน ท รียภ าพ และ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ตามระบบวิถชี วี ิตทด่ี ีงาม เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 156 2.2.3.4.2 สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญา และการเรยี นรู้ มีแนวนโยบายเพอื่ ดาเนินการ และเป้าหมาย ดังนี้ แนวนโยบาย เป้าหมาย1. การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อสร้าง 1.1 คนไทยทุกคนมีทักษะและกระบวนการในการคิดเสริมความรู้ ความคิด ความประพฤติและ การวิเคราะห์ และการแก้ปัญหา มีความใฝ่รู้ และคุณธรรมของคน ส าม ารถ ป ระยุ กต์ ใช้ ค ว าม รู้ อ ย่ างถู กต้ องเห ม าะส ม สามารถพัฒนาตนเองได้อยา่ งต่อเนื่องเต็มตามศักยภาพ 1.2 คนไทยทุกคนมีความซื่อสัตย์สุจริต รู้จักผอดชอบ ช่ัวดี มีระเบียบวินัย ประหยัด อดออม มีจิตสานึก ความรับผดิ ชอบต่อส่วนรวม และมีสุขภาพแขง็ แรง 1.3 คนไทยทุกคนมีโอกาสและทางเลือกที่จะเรียนรู้ อย่างต่อเน่ืองตลอดช่วงอายุแต่ละวัยจากสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วยรูปแบบและวิธีการท่ี หลากหลายมีคุณภาพ และยึดหยุ่นตามความต้องการ ความสนใจ และความถนดั ของผู้เรียน 2.2.3.5 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552 – 2559) สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2553) กล่าวว่า แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552 - 2559) เป็นแผนระยะยาวภายใต้บทบัญญัติของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 เน้นนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยึดทางสายกลางบนพนื้ ฐานของความสมดุลพอดี รจู้ ักประมาณอย่างมีเหตุผล มีความรอบรู้เท่าทันโลกเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต เพื่อมุ่งให้เกิดการพัฒนาท่ีย่ังยืนและความอยู่ดีมีสุขของคนไทย โดยยึด “คน” เปน็ ศนู ยก์ ลางการพัฒนา โดยไดก้ าหนดแนวนโยบายในแต่ละวตั ถปุ ระสงค์ ดงั นี้ วัตถุประสงค์ แนวนโยบาย1. พัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุลเพื่อเป็น 1.1 พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ในทุกฐานหลักของการพัฒนา ระดับและประเภทการศึกษา 1.2 ปลูกฝังและเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม มีจิตสานึกและมีความ ภูมิใจในความเป็นไทย มีระเบียบวินัย มีจิตสาธารณะ คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและยึดม่ันในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และรงั เกียจการทุจริต ต่อตา้ นการซอื้ สทิ ธ์ขิ ายเสียง 1.3 เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนทุกคน ต้ังแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิตได้มีโอกาสเข้าถึงบริการ เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 157วตั ถปุ ระสงค์ แนวนโยบาย การศึกษาและการเรยี นรู้ โดยเฉพาะผดู้ ้อยโอกาส ผู้พิการ หรือทพุ พลภาพ ยากจน อยูใ่ นท้องถิน่ ห่างไกล ทรุ กนั ดาร 1.4 ผลิตและพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับความ ต้องการของประเทศ และเสริมสร้างศักยภาพการ แข่งขนั และร่วมมือกบั นานาประเทศ 1.5 พัฒนามาตรฐานและระบบการประกันคุณภาพ การศึกษา ทั้งระบบประกันคุณภาพภายในและระบบ การประกนั คณุ ภาพภายนอก 1.6 ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน มีคุณธรรม และคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี2. สร้างสงั คมไทยใหเ้ ป็นสังคมคุณธรรม 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษา อบรม และเรียนรู้ของภูมิปญั ญาและการเรยี นรู้ สถาบันศาสนา และสถาบันทางสังคม ทั้งการศึกษาใน ระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2.2 ส่งเสริมสนับสนุนเครือข่ายภูมิปัญญา และการ เรียนรู้ประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม พลศึกษา กีฬา เป็นวถิ ชี ีวติ อย่างมคี ณุ ภาพและตลอดชีวติ 2.3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม และทรัพย์สินทางปัญญา พัฒนาระบบ บรหิ ารจัดการความรูแ้ ละสร้างกลไกการนาผลการวิจัย ไปใชป้ ระโยชน์3. พฒั นาสภาพแวดลอ้ มของสงั คมเพื่อเปน็ ฐาน 3.1 พัฒนาและนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพ่ือการในการพฒั นาคน และสร้างสังคมคุณธรรม พัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาสทางการศึกษา และการภูมิปญั ญาและการเรียนรู้ เรยี นรูต้ ลอดชีวิต 3.2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยเร่งรัด ก ระจ าย อ าน าจ ก ารบ ริ ห ารแ ล ะจั ด ก ารศึ ก ษ าไป สู่ สถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถนิ่ 3.3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ประชาชน ประชาสังคม และทุกภาคส่วนของสงั คมในการบริหาร จัดการศึกษา และสนบั สนุนสง่ เสรมิ การศกึ ษา 3.4 ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ และการลงทุน เพ่ือการศึกษา ตลอดจนบริหารจัดการ และใช้ ทรพั ยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 3.5 ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศด้าน การศึกษา พัฒนาความเป็นสากลของการศึกษาเพื่อ เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 158วตั ถุประสงค์ แนวนโยบาย รองรับการเป็นประชาคมอาเซียน และเพ่ิมศักยภาพ การแข่งขันของประเทศภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ขณะเดียวกันสามารถอยู่ร่วมกันกับพลโลกอย่างสันติสุข มีการพ่งึ พาอาศยั และเก้ือกลู กนั 2.3 แผนพฒั นำกำรศกึ ษำแห่งชำติ เยาวพา เดชะคุปต์ (2542) กล่าวว่า แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ หมายถึง แผนกาหนดทิศทาง และขอบเขตในการพัฒนาการศึกษาของชาติ ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มักกาหนดเป็นแผนระยะปานกลาง คือ 5 ปี แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติถือเป็นนโยบายเป้าหมาย และวิธีการดาเนินงานด้านการศึกษาที่กาหนดข้ึนในช่วงระยะเวลาหน่ึงถือเป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ในระยะแรกทีม่ ีแผนพฒั นาประเทศน้ันยังไม่มกี ารศึกษาโดยตรงเพราะตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก พ.ศ.2504 - 2509 ไม่ได้เน้นความสาคัญของการพัฒนาสังคมและกาลังคนมากนัก ต่อมาในระยะที่ 2 ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ พ.ศ.2507 - 2509 ได้มกี ารเพิ่มเตมิ การพัฒนาการศกึ ษาด้วย ซึ่งนบั เป็นครงั้ แรกทม่ี กี ารกาหนดนโยบายในการพัฒนาการศึกษา ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 ยังคงเน้นการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจต่อจากเดิมแต่ไดข้ ยายด้านสังคมเพิ่มขึ้น กล่าวคือ เป็นการพัฒนาด้านการศึกษาเพ่ิมขึ้น การศึกษาเร่ิมมีความสาคัญอย่างแท้จริงในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ.2515 – 2519 ซ่ึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3 ถือว่าการพัฒนาการศึกษาเป็นการพัฒนาด้านหน่ึงท่ีมีความสาคัญควบคู่กับการพัฒนาด้านอื่นๆ และตั้งแต่น้ันมาจะมีแผนพฒั นาการศึกษาโดยเฉพาะควบคู่กบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ สาระสาคัญของแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติที่เก่ียวข้องกับการศึกษาปฐมวัยในแต่ละฉบับสรปุ ได้ดังนี้ 2.3.1 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504 - 2509) ในแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับน้ีไม่ไดก้ ล่าวถงึ การศึกษาปฐมวัยโดยตรง 2.3.2 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2510 - 2514) นโยบายที่สาคัญของรัฐตามแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับนี้ คือ การขยายการศึกษาภาคบังคับให้ท่ัวถึง แต่ยังไม่ได้เนน้ การศกึ ษาปฐมวยั โดยตรง 2.3.3 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2515 - 2519) ได้กาหนดถึงนโยบายและแนวดาเนินการในการจัดการศึกษาปฐมวัยไว้วา่ จะปรับปรุงคณุ ภาพการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในโรงเรียนอนุบาลของรัฐท่ีมีอยู่แล้ว 24 โรงเรียนให้ดีข้ึนเพื่อเป็นตัวอย่างแก่เอกชนท่ีจัดการศึกษาระดับนี้ โดยเฉพาะในด้านการปรับปรุงคุณภาพครู อาเภอใหญ่ท่ีมีความเจริญทางเศรษฐกิจและมีประชาชนหนาแน่นจะพจิ ารณาเปิดโรงเรียนอนุบาลเปน็ ตัวอยา่ งตามความเหมาะสม โดยมุ่งให้กรมสามัญทาเพื่อเป็นตัวอย่างให้เอกชนและหน่วยงานอ่ืนได้จัดทาโดยเน้นในการปรับปรุงคุณภาพของโรงเรยี นอนุบาลเป็นสาคญั เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 159 2.3.4 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 - 2524) ได้กาหนดถึงนโยบายและแนวดาเนินการในการจัดการศึกษาปฐมวัยไว้ว่า การจัดการศึกษาปฐมวัยนั้นรัฐจะไม่เข้าดาเนินการเองแต่จะส่งเสริมให้ท้องถิ่นและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องช่วยจัดการศึกษาภาคบังคับในรูปแบบต่างๆ ตามความจาเป็นของท้องถ่ิน โดยรัฐกาหนดระเบียบในการจัดการศึกษาระดับนี้ไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติซ่ึงสอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับพุทธศักราช 2520 ที่มีรายละเอียดระบุไว้ดังน้ี 2.3.4.1 รัฐเร่งจัดและสนับสนุนการอบรมเล้ียงดเู ด็กในวัยก่อนประถมศึกษาโดยรฐั จะสนับสนุนให้ท้องถิ่นและภาคเอกชนจดั ให้มากที่สุด สาหรับการจดั การศึกษาระดับนข้ี องรัฐจะจัดทาเพียงเพ่อื เป็นตัวอยา่ งและเพ่อื การคน้ คว้าวิจยั เทา่ น้นั 2.3.4.2 การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาเป็นการศึกษามุ่งอบรมเล้ียงดูเด็กก่อนการศึกษาภาคบังคับเพ่ือเตรียมให้มีความพร้อมทุกด้านดีพอที่จะเข้ารับการศึกษาต่อไป การจัดสถานศึกษาระดับก่อนประถมศึกษานั้นอาจจัดเป็นการศึกษาในระบบโรงเรียน หรือการศึกษานอกโรงเรียน โดยอาจจัดเป็นสถานรับเลย้ี งดูเด็กหรือศูนย์เด็กปฐมวัย และในบางกรณีอาจจัดเป็นชั้นเด็กเล็กหรอื โรงเรียนอนบุ าลได้ 2.3.5 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับท่ี 5 (พ.ศ. 2525 - 2529) ได้กาหนดถึงนโยบายและแนวดาเนินการในการจดั การศกึ ษาปฐมวัยไวว้ ่า 2.3.5.1 รฐั จะเรง่ รัดและสนับสนนุ ให้ชุมชนร่วมกับหน่วยงานของรัฐในการอบรมเล้ียงดูเด็กก่อนวัยเรียน โดยมุ่งกระจายไปยังชนบทถิ่นห่างไกลและแหล่งเส่ือมโทรมก่อน สาหรับช้ันเด็กเล็กให้เน้นการจัดในท้องถ่ินท่ีนักเรียนพูดภาษาถิ่น (หมายถึง ภาษายาวี สว่ ย เขมร และชาวเขาเผ่าต่างๆ)ที่มีปัญหาต่อการเรียนให้ท่ัวถึงทุกโรงเรียน ส่วนการศึกษาปฐมวัยรัฐจะทาเป็นตัวอย่างและการวิจัยเทา่ น้ัน 2.3.5.2 รัฐจะทาการปรับปรุงคุณภาพและจัดอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยก่อนประถมศึกษาโดยจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสรา้ งสุขภาพอนามัย โภชนาการ สติปัญญา บุคลกิ ภาพ และจรยิ ธรรม เป็นการเตรียมความพร้อมของเด็กทจี่ ะเข้าสรู่ ะบบการประถมศึกษาและสงั คม 2.3.5.3 วิจัยและพัฒนารูปแบบ กาหนดมาตรฐานการพัฒนาเดก็ วยั ก่อนประถมศึกษาและอบรมผดู้ แู ลเด็กใหส้ อดคลอ้ งกันระหว่างหน่วยงานใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั 2.3.6 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับท่ี 6 (พ.ศ. 2530 - 2534) ได้กาหนดนโยบายและเป้าหมายในการจดั การศึกษาระดับก่อนประถมศกึ ษาไว้ว่า 2.3.6.1 เร่งขยายการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาเพ่ือเตรียมความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม รวมทั้งดูแลสุขภาพอนามัยโภชนาการแก่เด็กกอ่ นวัยเรยี นโดยเฉพาะเขตนอกเมืองพร้อมท้ังพัฒนารูปแบบการจัดบริการให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นและพัฒนาการของเด็กพเิ ศษประเภทต่างๆ 2.3.6.2 เร่งปรับปรุงคุณภาพ บริการเตรียมความพร้อมของเด็กก่อนวัยเรียนเพ่อื ให้เด็กมีพัฒนาการถูกตอ้ งตามหลักจิตวทิ ยาของเด็กและให้บริการท่ีไดม้ าตรฐานทัดเทียมกนั 2.3.6.3 พัฒนาระดับการนิเทศ ติดตม และประเมินผล เพ่ือให้การจัดการศึกษาระดับกอ่ นประถมศึกษาไดบ้ รรลุตามเป้าหมาย เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 160 2.3.6.4 ให้มีการประสานงานและร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการบริการแก่เดก็ ในพื้นท่เี ป้าหมายไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ และมปี ระสทิ ธิภาพ 2.3.6.5 สนับสนุนให้ชุมชนและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศกึ ษาและรปู แบบที่จัดบริการให้มากย่ิงขึ้น ในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับท่ี 6 ได้มีการพิจารณาและกาหนดนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนครอบครัวในการอบรมเล้ียงดูเด็กให้มีคุณภาพย่ิงข้ึน โดยกาหนดเป็นมาตรการให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดโครงการให้ความรู้ในการเป็นพ่อแม่แก่ผู้ที่เป็นพ่อแม่ ผู้ท่ีจะมีครอบครัวและนักเรียน นิสัต นักศึกษา ทุกระดับให้เหมาะสมตลอดจนให้ส่ือมวลชนเผยแพร่ความรู้ในการเป็นพ่อแม่ใหม้ ากยง่ิ ข้นึ 2.3.7 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับท่ี 7 (พ.ศ. 2535 - 2539) ได้กาหนดวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาไว้ว่า เพ่ือจัดและส่งเสริมให้เด็กก่อนประถมศึกษาได้รับการพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญาให้สอดคล้องตามหลักจิตวิทยาพฒั นาการและให้มกี ารเตรียมความพร้อมกอ่ นเข้าเรียนระดับประถมศึกษาอย่างทวั่ ถึง โดยมีนโยบายดงั นี้ 2.3.7.1 เร่งปรับปรุงการจัดการศึกษาและอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยกอ่ นประถมศึกษาใหส้ อดคลอ้ งตามหลกั จิตวิทยาพฒั นาการ 2.3.7.2 เร่งขยายการจัดการศึกษาและอบรมเลี้ยงดูเด็กในรูปแบบต่างๆ เพ่ือให้เดก็ วัยกอ่ นประถมศึกษาได้รับการเตรยี มความพร้อมอย่างท่วั ถงึ รวมทั้งเดก็ ที่ด้อยโอกาส 2.3.7.3 เร่งเพ่ิมปริมาณและพัฒนาคุณภาพครูและผู้ดูแลเด็ก รวมท้ังจัดให้บุคลากรทีจ่ าเปน็ สาหรบั เดก็ ทม่ี คี วามผดิ ปกติ เพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธิภาพการจดั บรกิ ารเตรยี มความพร้อม 2.3.7.4 พัฒนาระบบการบริหารและจัดการศึกษาให้เอ้ือต่อการดาเนินงานพร้อมท้ังระดมสรรพกาลังจากแหล่งต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน มาใช้ในการจัดการศึกษาอย่างเปน็ ธรรม 2.3.8 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบบั ท่ี 8 (พ.ศ. 2540 - 2544) ศศิพันธุ์ เปย๊ี นเป่ียมสิน (2553) กล่าวว่า แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาตฉิ บับท่ี 8 (พ.ศ.2540 - 2544) ได้กาหนดให้มีการยกระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานของปวงชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนได้รับบริการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีครอบคลุมตั้งแต่การเตรียมความพร้อมก่อนท่ีจะมีครอบครัว เด็กแรกเกิดที่ควรได้รับการเล้ียงดูอย่างถูกต้องอันเป็นการศึกษาของเด็กตั้งแต่ปฐมวัยเรื่อยมาจนการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพอย่างกว้างขวางเท่าเทียมกัน และได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่า ให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการเตรียมความพร้อมอย่างน้อย 1 ปี ก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษาก่อน ปี พ.ศ. 2544 และขยายปริมาณการเข้าถึงบริการการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาของเด็กปฐมวัย (3 - 5 ปี) จากร้อยละ 65 เป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 90 ในปี พ.ศ. 2544 พร้อมท้ังได้วางแนวทาง/มาตรการในการขยายบริการการเตรยี มความพร้อมแกเ่ ด็กปฐมวยั ไวด้ ังน้ี 2.3.8.1 จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับชีวิตครอบครัว การวางแผนครอบครัว วิธีการเลี้ยงดูลูกท่ีถูกต้องเหมาะสมแก่คู่สมรส พ่อแม่ และสมาชิกในครอบครัวผ่านสื่อประเภทต่างๆ อย่างกว้างขวาง โดยให้หน่วยงานทางการศึกษาประสานและร่วมมือกับส่ือมวลชนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง อีกทั้งจัดกิจกรรมรณรงค์ทางสังคมเพ่ือให้เกิดความตระหนักว่าการลงทุนพัฒนาเด็ก เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 161ในช่วงวัยน้ีเป็นการลงทุนขั้นพื้นฐานที่สาคัญท่ีจะเอ้ือให้การพัฒ นาในช่วงวัยต่อไปเป็นไปอย่างมีประสิทธผิ ลยง่ิ ขึน้ 2.3.8.2 รัฐและองค์กรทางสังคมสนับสนุนให้เด็กได้รับอาหารหลัก อาหารเสริมและนมอย่างเพียงพอและมีคุณภาพ โดยมีมาตรการเสริมเป็นพิเศษสาหรับเด็กที่อยู่ในสภาวะทุพโภชนาการ และเด็กทดี่ ้อยฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม 2.3.8.3 ส่งเสริมสนับสนุนการเตรียมความพร้อมอย่างมีมาตรฐานให้แก่เด็กปฐมวัยในรูปแบบท่ีหลากหลายโดยดาเนินการเป็นกระบวนการร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ ชุมชนและครอบครัว โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เดก็ ด้อยโอกาสให้ไดร้ ับบริการแบบใหเ้ ปล่า 2.3.9 แผนพัฒนาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กระทรวงศึกษาธิการ ระยะท่ี 9(พ.ศ.2545 - 2549) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2545 ก) กล่าวว่า แผนพัฒนาการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม กระทรวงศึกษาธิการ ระยะที่ 9 (พ.ศ.2545 - 2549) ได้กาหนดนโยบายการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกาหนดไว้ดังนี้ “เร่งรัดจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีมีคุณภาพให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเปา้ หมาย ตง้ั แต่ระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศกึ ษาอย่างทวั่ ถงึ และเป็นธรรม” โดยกาหนดเป้าหมายไวว้ ่า 2.3.9.1 เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพฒั นาเพ่อื เตรียมความพรอ้ มอย่างน้อย 2 ปีก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยกระทรวงศึกษาธิการจะรับภาระรอ้ ยละ 96 ของนกั เรียนในกล่มุ เปา้ หมาย 2.3.9.2 นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษาได้รับอาหารเสริม (นม) และอาหารกลางวันอย่างทั่วถึง โดยกระทรวงศึกษาธิการจะรับภาระร้อยละ 93 ของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมทั้งวางมาตรการเพ่อื ดาเนนิ การดังนี้ 2.3.9.2.1 รณรงค์ให้พ่อแม่ผู้แกครองตระหนักถึงความสาคัญและสนับสนนุ บุตรหลานใหไ้ ดร้ ับการศกึ ษาจนจบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 2.3.9.2.2 ประสานงานกับหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนที่รับผิดชอบการจดั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานในการกาหนดกลมุ่ เป้าหมายทีจ่ ะรับบรกิ ารให้เหมาะสม 2.3.9.2.3 กาหนดมาตรฐานข้ันพ้ืนฐานในการจัดการศึกษาท้ังปัจจัยและกระบวนการ และจัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์การศึกษาและบุคลากรให้แก่สถานศึกษาอย่างน้อยให้ถึงเกณฑ์มาตรฐานทกุ สถานศึกษา โดยให้ความสาคญั แก่สถานศกึ ษาท่ีขาดแคลนเปน็ อนั ดบั แรก 2.3.9.2.4 พัฒนาสถานศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภทใหเ้ ปน็ ปัจจบุ นั 2.3.9.2.5 ดาเนินการจัดหาอาหารเสริม (นม) และอาหารกลางวันให้แก่เดก็ ในระดับกอ่ นประถมศึกษา และประถมศึกษาอยา่ งทัว่ ถึง โดยเน้นกล่มุ ผดู้ อ้ ยโอกาสเป็นพเิ ศษ 2.3.9.2.6 ใหค้ วามรู้แก่พ่อแม่ และผแู้ กครองฝนการอบรมเลี้ยงดูเดก็ เพ่ือเสริมการพัฒนาเดก็ อย่างถกู ตอ้ ง และสามารถสงั เกตแววความถนัดของบุตรหลานได้ 2.3.9.2.7 จัดบริการการศึกษาในรูปแบบที่ยึดหยุ่นหลากหลาย เพ่ือให้บริการอย่างทั่วถึงกว้างขวาง รวมทั้งการพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแก่ผู้ด้อยโอกาสและผู้ที่มีความสามารถพิเศษ เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 162 2.3.9.2.8 สนับสนุนให้ศาสนบุคคลให้ความรู้ อบรมจริยธรรม คุณธรรมแกน่ กั เรียน นกั ศึกษา เยาวชนและประชาชนอยา่ งทว่ั ถึง 2.3.9.2.9 ประสานงานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านสาธารณสุขเพ่ือให้เด็กในระดบั ปฐมวัยทกุ คนได้รับการสร้างภูมิคมุ้ กันเพื่อป้องกันโรคทปี่ ้องกันได้3. ปฏญิ ญำเพ่อื เด็กไทย ศศิพันธุ์ เปี๊ยนเปี่ยมสิน (2553) กล่าวว่า รัฐได้ให้ความสาคัญเก่ียวกับการจัดการศึกษาปฐมวัยเพ่ิมมากข้ึนเรื่อย ๆ และในปจั จุบนั จะพบวา่ รฐั ให้ความสาคญั กบั การจัดการศึกษาในระดับนี้มากด้วยการกาหนดนโยบายที่ชัดเจนเพิ่มมากขึ้น เพราะสืบเน่ืองมาจากที่ประชุมสมัชชาแห่งชาติคร้ังที่ 1ดา้ นการพัฒนาเด็กซ่ึงจดั ข้ึนระหว่างวันท่ี 30 - 31 สิงหาคม 2533 ณ ตึกสนั ติไมตรีทาเนียบรัฐบาลได้ให้การรับรองปฏญิ ญาสากลเพ่ือเด็กหลงั จากน้ันคณะรัฐมนตรไี ด้มีมติเม่ือวนั ท่ี 13 สิงหาคม 2534 เห็นชอบและอนุมัติให้ประกาศใช้ปฏิญญาเพ่ือเด็กอย่างเป็นทางการ กาหนดให้หน่วยงานที่ดาเนินการเกี่ยวกับเด็กทั้งภาครัฐและเอกชนถือเป็นแนวนโยบายในการดาเนินการพัฒนาเด็กโดยใช้สภาวะความต้องการพน้ื ฐานและบรกิ ารสาหรบั เดก็ (สพด.) ปฏิญญาเพ่อื เด็กไทย เด็กเป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีคุณค่าและจะเป็นผู้สบื ทอดความเป็นชาติในอนาคต ดังน้ันเด็กทุกคนไม่ว่าจะเป็นเด็กท่ีด้อยโอกาสในลักษณะใดก็ตาม เช่น เด็กพิการ เด็กถูกทอดท้ิงเด็กเร่ร่อน เด็กถูกทารุณกรรม เด็กท่ีถูกใช้แรงงานอย่างผิดกฎหมาย และโสเภณีเด็ก เป็นต้น จะต้องได้รับการพัฒนาตามหลกั การดงั กลา่ วข้างตน้ จงึ ไดก้ าหนดปฏิญญาเพอ่ื เด็กไว้โดยมีรายละเอียดตอ่ ไปนี้ 3.1 ทิศทางในการพัฒนาเด็ก (ตามความต้องการพ้นื ฐานของเด็ก) 3.1.1 เด็กต้องได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากบิดามารดา หรือบุคคลในครอบครัวท่ีให้ความรักและความเข้าใจ เพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านอันได้แก่ การพัฒนาทางกาย ทางจิตใจ สติปัญญา สังคม อารมณ์ ค่านิยม และเจตคติ โดยเฉพาะในระยะตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงอายุ 6 ปีแรกของชีวิต ซงึ่ เปน็ ระยะท่ีสาคญั ท่ีสดุ ในการวางรากฐานและสร้างเสรมิ คุณภาพของคน 3.1.2 เด็กต้องได้รับสารอาหารอย่างน้อยท่ีสุดตามความต้องการของร่างกายท่ีได้กาหนดไว้ตามวัย เริ่มต้ังแต่ปฏิสนธิจนถึงในช่วงอายุต่าง ๆ เพื่อใหร้ ่างกายเจริญเติบโตเต็มท่ีและแข็งแรงสมบูรณ์ตามปกตใิ นวัยของตน 3.1.3 เด็กต้องได้รับการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการ และได้รับการป้องกันจากโรคและภัยท่ีสามารถหลีกเล่ียงได้ เด็กต้องได้รับการสร้างเสริมคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนตามท่ีได้กาหนดไว้ตลอดจนได้รับการป้องกันจากโรคติดต่อรวมทั้งต้องได้รบั การรักษาพยาบาลข้ันพื้นฐานในกรณที ี่เจ็บปว่ ยและได้รับการฟืน้ ฟูสภาพ 3.1.4 เดก็ ตอ้ งมีทอี่ ยู่อาศัยที่ถูกสขุ ลักษณะ ไมค่ ับแคบจนเกินไปและอยใู่ นส่ิงแวดล้อมท่ีไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อสุขภาพทั้งทางกายและทางจิตใจ เด็กต้องได้มีโอกาสได้พัฒนาและมีสถานที่ว่ิงเล่นออกกาลังกาย และเล่นกฬี า รวมทงั้ มีส่วนรว่ มในกิจกรรมนนั ทนาการตามวัย 3.1.5 เด็กต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นอย่างน้อย เพ่ือพัฒนาให้มีปัญญามีคณุ ธรรมตามหลักศาสนาของตน และมีจริยธรรมขั้นพ้ืนฐาน เด็กต้องได้รับการฝึกอบรมให้มีความรู้และ เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 163ทักษะในการดารงชีวิตมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีเจตคติท่ีจะใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเน่ืองและตลอดชีวิต มีเจตคติท่ีดีต่อครอบครัว สังคม และการดาเนินชีวิต มีความเข้าใจเกี่ยวกับตนเองอย่างถูกต้องเป็นจริงเข้าใจและยอมรับความต้องการสิทธิบทบาทของตนเองและผู้อ่ืน เพื่อให้เป็นพลเมืองไทยที่มีความรบั ผิดชอบ มีคณุ ภาพ และรจู้ ักอยูร่ ่วมกนั โดยสนั ติ 3.1.6 เด็กต้องได้รับการพัฒนาให้มีสุนทรียภาพซาบซึ้งในความงาม รู้จักรักเข้าใจและอ นุ รั ก ษ์ ม ร ด ก แ ล ะ เอ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ งช าติ ด้ ว ย ก า รมี ส่ ว น ร่ ว ม ส ร้างส รร ค์ แ ล ะ พั ฒ น าใน กิ จ ก รร ม ด้ า นศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม 3.1.7 เด็กจะต้องได้รับการฝึกอบรมพัฒนาความรู้และทักษะสาหรับการเตรียม การประกอบอาชพี ตามความถนัด ความสามารถ และความสนใจของตน เพ่อื ให้พ่ึงตนเองไดใ้ นเชิงเศรษฐกิจรวมท้ังมคี า่ นยิ มท่ีพึงประสงคใ์ นการทางานที่สุจริตและเหมาะสมกบั วัย 3.1.8 เด็กต้องมีโอกาสและสามารถแสดงความคิดเห็นของตนได้ด้วยจิตสานึกต่อสังคมส่วนรวมและสาธารณสมบัติ มีส่วนร่วมกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อสังคมรวมท้ัง การยึดถือเร่ืองความมีวินัยในตนเองและความยุติธรรมในสังคม เพื่อเป็นพ้ืนฐานของวิถีทางในการดาเนินชีวิตตามครรลองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เปน็ ประมุข 3.1.9 เด็กต้องมีโอกาสเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในสังคม ท้ังภาครัฐและภาคเอกชนอันหมายถงึ สทิ ธใิ นการใช้บรกิ ารด้านการปอ้ งกันการคมุ้ ครองและแกไ้ ขการฟนื้ ฟูและการพฒั นา 3.1.10 เด็กต้องได้รับโอกาสในการรับรู้และการพิทักษ์สิทธิและผลประโยชน์พ้ืนฐานจากรัฐ สถาบันสังคม และองค์กรธุรกิจ พร้อมท้ังการมีตัวแทนในการพิทักษ์สิทธิและผลประโยชน์ดังกล่าวตามความเหมาะสม เด็กต้องได้รับการพิทักษ์และคุ้มครองต่อการถูกกลา่ วหาวา่ กระทาผิดโดยไม่นามาเปิดเผยต่อสาธารณชนหรอื ประชาชน และต้องได้รบั การปฏบิ ัตทิ แ่ี ตกตา่ งไปจากผูใ้ หญ่ 3.2 พนั ธกรณขี องรฐั สถาบันสงั คม องคก์ รธุรกิจ และส่อื มวลชน 3.2.1 บิดาและมารดามีหนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบเท่าเทียมกันในการตอบสนองความต้องการพ้ืนฐานของเด็กทั้งน้ีผู้ท่ีจะเป็นบิดาและมารดาจะต้องมีความพร้อมทางด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต มีวุฒิภาวะท่ีจะรับผิดชอบต่อครอบครัว สามารถที่จะประกอบอาชีพ รวมท้ังเรียนรู้วิธีการเล้ียงดูเด็กเพื่อพัฒนาเด็กให้บรรลุถึงศักยภาพของความเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์ โดยรัฐ สถาบันสังคมและองค์การธรุ กจิ จะต้องร่วมกันสนับสนุน 3.2.2 ผู้ใหญ่ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กด้วยการเป็นแบบอย่างท่ีดีและสร้างส่งิ แวดล้อมท่ีเหมาะสมสาหรับเด็กรวมท้ังให้ความร่วมมือแก่รัฐและสถาบันสังคมท่ีจะร่วมพัฒนาปกป้องคุ้มครองและพิทกั ษส์ ิทธิเด็ก เพือ่ ไม่ใหถ้ ูกทอดทงิ้ ถกู เอาเปรียบหรือถูกทารณุ ทง้ั ทางร่างกายและจติ ใจ 3.2.3 รัฐ สถาบนั สงั คม อันรวมถึงองค์กรเอกชนและชุมชนดว้ ย โดยเฉพาะองค์กรธรุ กิจและส่ือมวลชนต้องร่วมมือกันในการพัฒนาเด็กและพิทักษ์สิทธิเด็กตลอดจน ประสานการให้บริการตามความต้องการพน้ื ฐานของเด็ก รวมท้งั สนับสนุนกลไกในการวางนโยบายมาตรการและการปฏบิ ัติ 13.2.4 รัฐ สถาบันสังคม อันรวมถึงองค์กรเอกชน และชุมชนด้วย โดยเฉพาะองค์กรธุรกิจและสื่อมวลชน ต้องส่งเสริมการวิจัยว่าด้วยสถานภาพของเด็กและสภาวะการพัฒนาเด็ก เผยแพร่ความรู้เก่ียวกับสิทธิเด็กและปฏิรูปนโยบายมาตรการกฎหมายและการปฏิบัติซ่ึงขัดกับสิทธิเด็กภายใต้รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 164 3.2.5 รัฐบาลโดยสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติและสภาองค์การพัฒนาเดก็ และเยาวชนตอ้ งประสานความรว่ มมอื กับสมัชชาแห่งชาติเพื่อรายงานสภาวะด้านเด็กและผลการดาเนินงานพัฒนาเด็กและพิทักษ์สิทธิเด็กและสรุปเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเป็นประจาอยา่ งน้อยทกุ 2 ปี อยา่ งต่อเนอ่ื งบทสรปุ การจัดการศกึ ษาปฐมวัยของประเทศไทยในปัจจบุ ัน รัฐบาลได้ตระหนักถงึ ความสาคญั ของการจัดการศึกษาปฐมวัยจึงได้กาหนดกฎหมาย ข้อบังคับที่เก่ียวข้องกับการศึกษาปฐมวัย ซ่ึงได้แก่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545 รวมท้ังนโยบายตา่ งๆ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ดงั น้ี 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมีมาแล้ว 11 ฉบับ มีระยะเวลาดาเนินการฉบับละ5 ปี โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 เริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2504 มีระยะเวลา 6 ปีจนถึงปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยได้ประกาศใช้แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม มาแล้ว 11 ฉบับด้วยกัน และปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในระยะของการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่11 (พ.ศ.2555 - 2559) 2. แผนการศึกษาแห่งชาติ ประเทศไทยเริ่มมีการใช้แผนการศึกษาแห่งชาติเป็นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ เมือประเทศไทยเร่ิมจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบและมีระบบโรงเรียน ซึ่งมีลักษณะเช่นปัจจุบัน การจัดการศึกษาอย่างมีระบบจึงจาเป็นต้องมีแผนการศึกษาชาตขิ ้นึ เพื่อเปน็ แนวทางให้สถานศึกษาถอื เปน็ แม่บทในการจัดการศึกษา 3. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ จากอดีตที่ผ่านมาในการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยจะใช้แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติแต่ละฉบับเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาในแต่ละแผนจะมีการกาหนดนโยบายทชี่ ดั เจนสอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจและสงั คมทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปในแตล่ ะชว่ งเวลา 4. ปฏิญญาเพื่อเด็กไทย ทุกคนไม่ว่าจะเป็นเด็กที่ด้อยโอกาสในลักษณะใดก็ตาม เช่น เด็กพิการ เด็กถูกทอดท้ิง เด็กเร่ร่อน เด็กถูกทารุณกรรม เด็กท่ีถูกใช้แรงงานอย่างผิดกฎหมาย และโสเภณีเด็ก เป็นต้น จะต้องได้รบั การพัฒนาตามความต้องการพน้ื ฐานของเด็ก เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 165 ใบงำน หน่วยที่ 7 นโยบำย กฎหมำย ข้อบังคับ ในกำรจัดกำรศกึ ษำปฐมวยั ในประเทศไทยคำชแ้ี จง : 1. ให้นักศึกษาแบ่งกลุม่ ออกเป็น 5 กลุม่ (กลมุ่ ละ5-6 คน) โดยกาหนดบทบาทและหน้าท่ีความรับผิดชอบของสมาชิกในกลมุ่ ใหช้ ดั เจน 2. มอบหมายงานให้นกั ศกึ ษาแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ าศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั หนว่ ยท่ี 7 นโยบาย กฎหมาย ขอ้ บังคบั ในการจัดการศึกษาปฐมวยัในประเทศไทย แลว้ ร่วมกันสรุปเน้ือหาในรูปของ Mind Mapping พรอ้ มกับนาเสนอผลงานหนา้ ช้นัเรยี น ในมปี ระเดน็ ดงั นี้  กล่มุ ที่ 1 กฎหมาย ข้อบงั คบั ทเ่ี กยี่ วข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทย 1.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 1.2 พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542  กลุ่มที่ 2 นโยบายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการจัดการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศไทย 2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ  กลมุ่ ท่ี 3 นโยบายทเี่ ก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย 2.2 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ  กลมุ่ ท่ี 4 นโยบายทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย 2.3 แผนพัฒนาการศกึ ษาแห่งชาติ  กลุ่มที่ 5 ปฏิญญาเพือ่ เด็กไทย ***************************************************** เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 166 แบบฝึกหัดหลงั เรยี น หน่วยท่ี 7 นโยบำย กฎหมำย ข้อบังคับในกำรจัดกำรศกึ ษำปฐมวยั ในประเทศไทยคำช้แี จง : ใหน้ กั ศึกษาตอบคาถาม อธบิ าย แสดงความคดิ เห็น ยกตวั อย่างหรือตามคาส่งั แต่ละข้อท่ี กาหนดให้1. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ฉบับปรับปรงุ (พ.ศ.2552-2559) มแี นวทางในการพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยอยา่ งไร........................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ........................................................2. สาระสาคัญของพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 มีหลายมาตราทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การพฒั นาเด็กปฐมวัย ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ....................................... เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 1673. จงอธิบายเกีย่ วกับนโยบายของรฐั บาลในการจัดการศึกษาปฐมวัยตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 3.1 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ.2550 - 2554)............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... .. 3.2 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 11 (พ.ศ.2555 - 2559)................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ .......................................4. จงเปรียบเทียบแนวนโยบายของรัฐบาลในการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติพุทธศกั ราช 2503 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2520 และแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช2535............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. .............................. เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 168..................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................. .......................................5. ปฏิญญาเพอื่ เด็กไทย มีสาระสาคญั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทศิ ทางในการพฒั นาเด็กไวว้ ่าอย่างไร............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ....................................... **************************************************** เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 169 แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 7 นโยบำย กฎหมำย ขอ้ บงั คับ ในกำรจดั กำรศึกษำปฐมวัยในประเทศไทยรหสั -ชอ่ื รายวชิ า ศษ 0103 การศกึ ษาปฐมวัย ระดับอนปุ ริญญา ชัน้ ปีท่ี 1หน่วยที่ 7 นโยบาย กฎหมาย ข้อบังคบั ในการจดั การศึกษาปฐมวัยในประเทศไทยจานวน 10 ข้อ เวลา 15 นาทีคำชแี้ จง : อ่านคาถามตอ่ ไปนี้ท่ลี ะข้อ แลว้ เขียนเคร่ืองหมาย X ท่ีข้อคาตอบท่ีเห็นวา่ ถูกต้องที่สดุ เพยี ง ขอ้ เดยี ว1. แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติฉบับใดที่ได้กาหนดนโยบายสง่ เสรมิ และสนับสนนุ ครอบครวั ใหม้ กี ารอบรมเล้ียงดูเด็กใหม้ ีคุณภาพดยี ง่ิ ข้ึน ก. แผนพัฒนาการศึกษาแหง่ ชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525 - 2529) ข. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530 - 2534) ค. แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบั ที่ 7 (พ.ศ.2535 - 2539) ง. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540 - 2544)2. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ สอดคล้องกบั ข้อใดมากทีส่ ดุ ก. แผนการศึกษาแห่งชาติ ข. แผนพฒั นาการศกึ ษาแห่งชาติ ค. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ สังคมแห่งชาติ ง. แผนพัฒนาการศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมของกระทรวงศกึ ษาธิการ3. ข้อใดคอื แนวนโยบายที่เก่ยี วขอ้ งกบั การจดั การศึกษาปฐมวัยในแผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2520 ก. อบรมเลย้ี งดูเบื้องตน้ เพื่อใหก้ ุลบตุ ร กุลธดิ า พรอ้ มทจี่ ะรบั การศึกษาในระดบั ชั้นประถมศึกษา ข. สง่ เสริมให้เด็กปฐมวยั ทุกคนได้รับบริการเพื่อเตรียมความพร้อมอย่างนอ้ ย 1 ปี ก่อนเข้าเรียน ระดับประถมศึกษา ค. การศึกษาก่อนประถมศึกษา เป็นการศึกษาท่ีมุ่งอบรมเล้ียงดูก่อนการศึกษาภาคบังคับเพ่ือ เตรียมให้เดก็ มคี วามพรอ้ มทกุ ด้านพอท่จี ะรบั การศึกษาตอ่ ไป ง. พฒั นาชีวติ ให้เป็นมนษุ ย์ทส่ี มบรู ณ์ เปน็ คนดี คนเกง่ และมีความสขุ สมบูรณท์ ้ังรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม มีจริยธรรม สามารถอยูร่ ่วมกับผู้อ่นื ได้อย่างมีความสขุ4. แผนแม่บทการศึกษาของชาติในปัจจุบัน คือ ก. แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 8 (พ.ศ.2540 - 2544) ข. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ฉบบั ปรับปรุง (พ.ศ.2552 - 2559) ค. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ง. แผนพฒั นาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ระยะท่ี 9 (พ.ศ.2545 - 2549) เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 1705. ขอ้ ใดไมใ่ ช่หลักการจดั การศกึ ษาตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ก. เปน็ การศึกษาตลอดชวี ติ สาหรบั ประชาชน ข. ใหส้ ังคมมสี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษา ค. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรยี นร้ใู หเ้ ปน็ ไปอย่างต่อเน่ือง ง. การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซงึ่ มีความบกพร่องทางรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา6. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหช่ าตฉิ บับใดท่ีได้กาหนดแนวทางการโดยยึดคนเปน็ ศูนย์กลางในการพัฒนาและใชเ้ ศรษฐกิจเป็นเคร่ืองช่วยพฒั นาให้คนมคี วามสุขและมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึน้ก. ฉบบั ที่ 8 (พ.ศ.2540 - 2544) ข. ฉบบั ท่ี 9 (พ.ศ.2545 - 2549)ค. ฉบบั ท่ี 8 (พ.ศ.2550 - 2554) ง. ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2555 - 2559)7. แนวนโยบายในการดาเนินการพัฒนาเด็กตามปฏิญญาเพ่ือเด็กไทย ข้อใดกลา่ วถูกต้อง ก. เดก็ ต้องมีทอี่ ยูอ่ าศยั ทถ่ี ูกสุขลักษณะ ไม่คับแคบจนเกินไป ข. เด็กต้องได้รับการศึกษาในระดบั ปริญญาตรเี ปน็ อย่างนอ้ ย ค. รฐั บาลมีหน้าท่พี ัฒนาเดก็ และพทิ ักษส์ ิทธเิ ด็กเทา่ นน้ั ง. เด็กไม่จาเป็นต้องเขา้ ถงึ การบรกิ ารข้ันพืน้ ฐานตา่ งๆ ในสงั คม ทัง้ ภาครฐั และเอกชน8. ข้อใดหมายถึง แผนกาหนดทศิ ทางและขอบเขตในการพัฒนาการศึกษาของชาติ มักกาหนดเปน็ แผนระยะปานกลาง คือ 5 ปี ก. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ข. แผนพัฒนาการศึกษาแหง่ ชาติ ค. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ง. แผนพฒั นาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กระทรวงศึกษาธกิ าร9. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 กาหนดนโยบายในส่วนทเ่ี กย่ี วกับการศึกษาไว้วา่ อยา่ งไร ก. ให้มรี ะบบการประกนั คุณภาพการศึกษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ข. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจดั การศึกษาในทุกระดับและทกุ รูปแบบ ค. สนบั สนุนใหเ้ ด็กทุกคนได้รบั การสง่ เสรมิ ด้านโภชนาการอยา่ งเพยี งพอ ง. สร้างคนทุกคนให้เป็นคนดี คนเกง่ พร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม10. ข้อใดคือแนวนโยบายเพื่อดาเนินการท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาปฐมวัยของแผนการศึกษาแห่งชาติ(พ.ศ.2545 - 2559) ก. ปลูกฝังและเสรมิ สรา้ งใหผ้ เู้ รยี นมศี ลี ธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม มีจิตสานักและ มีความภูมิใจในความเปน็ ไทย ข. พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรใู้ นทุกระดับและประเภทการศึกษา ค. พฒั นาคนอยา่ งรอบด้านและสมดุลเพ่ือเป็นฐานของการพัฒนา ง. การพฒั นาทกุ คนใหม้ ีโอกาสเข้าถงึ การเรยี นรู้******************************************************* เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 171 บรรณำนุกรมนภเนตร ธรรมบวร. (2549). หลักสตู รกำรศึกษำปฐมวัย. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย.เยาวพา เดชะคปุ ต์. (2542). กำรศึกษำปฐมวยั . กรุงเทพฯ : แม็ค.ศศพิ นั ธุ์ เปย๊ี นเปย่ี มสิน. (2553). เอกสำรชุดวิชำ ECED 201 กำรศึกษำปฐมวัย (Early Childhood Education). กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สวนดุสติ .สานักงานคณะกรรมการศกึ ษาแหง่ ชาติ. (2545). แผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ (พ.ศ.2545 - 2559) : ฉบับสรุป. พมิ พ์คร้งั ที่ 2. กรงุ เทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟิค จากดั .-------------. (2545 ก). แผนพฒั นำกำรศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม กระทรวงศึกษำธิกำร ระยะที่ 9 (พ.ศ.2545 - 2549). กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค จากัด.สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2540). แผนพัฒนำเศรษฐกจิ และ สังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2540 - 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรสุ ภา.-------------. (2545). แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี 9 พ.ศ. 2545 - 2549. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา.-------------. (2550). แผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา.-------------. (2554). แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 - 2559. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา.สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). แผนกำรศกึ ษำแห่งชำติ ฉบับปรบั ปรงุ (พ.ศ.2552 - 2559). กรงุ เทพฯ : พริกหวานกราฟฟคิ จากัด. เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 172 หนว่ ยที่ 8สภาพปจั จุบนั ปญั หา และแนวโน้มของการจดั การศึกษาปฐมวัยในประเทศไทยสำระสำคญั การวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวโน้มของการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทยจะชว่ ยให้ครูผสู้ อน ผบู้ ริหาร พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศกึ ษาปฐมวัยเข้าใจถึงแนวทางในการจัดการศึกษาปฐมวัยได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพจุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. วิเคราะห์สภาพปจั จบุ นั ของการจัดการศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทยได้ 2. วิเคราะห์ปัญหาของการจัดการศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทยได้ 3. บอกแนวโนม้ ในการจัดการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศไทยได้สำระกำรเรยี นรู้ 1. สภาพปัจจุบันของการจดั การศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย 2. ปัญหาของการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย 3. แนวโนม้ ในการจดั การศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทย เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 173 บทนำ เมื่อการศึกษาเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความสาคัญกับการพัฒนาการในทุกด้านของช่วงอายุแรกเกิดจนถึง 5 ปี หรือวัยก่อนเข้าเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ทีม่ กั เรียกกนั ว่า “เด็กปฐมวยั ” ให้มีพฒั นาการอย่างเหมาะสมตามหลกั วิชาการแล้วก็จะสามารถเติบโตเป็นคนดีมีคณุ ภาพ ส่งผลดีต่ออนาคตของสังคมและประเทศชาติด้วย ในสังคมปัจจุบันความต้องการในการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยเพ่ิมมากข้ึนเป็นเงาตามตัว ท้ังนี้เพราะภาวะทางเศรษฐกิจและสภาพทางสังคมซง่ึ พอ่ แม่จะต้องออกไปทางานนอกบ้าน ทาให้พอ่ แม่ตอ้ งสง่ ลูกเข้าโรงเรียนอนุบาลหรือสถานรับเลี้ยงเด็กเร็วขึ้นกว่าเดิม การจัดสถานรับเลี้ยงเด็กหรือโรงเรียนท่ีมีประสิทธิภาพจะช่วยแก้ปัญหาของสังคมเป็นการแบ่งเบาภาระพ่อแม่ และยังมีส่วนช่วยในการพัฒนาเด็กอย่างถูกต้องเหมาะสมกบั เด็ก การจดั การศกึ ษาปฐมวัยของประเทศไทยในปัจจบุ ัน รัฐบาลไดต้ ระหนกั ถงึ ความสาคัญของการจัดการศึกษาปฐมวัยจึงได้กาหนดกฎหมาย ข้อบังคับที่เก่ียวข้องกับการศึกษาปฐมวัยต่างๆ อาทิเช่นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 รวมท้ังนโยบายต่างๆ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ประกอบด้วยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ เป็นต้นซึ่งปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในช่วงปลายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) และแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ฉบับปรับปรงุ (พ.ศ.2552 -2559)1. สภำพปัจจุบนั ของกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัยในประเทศไทย 1.1 สภำพปัจจุบันของกำรดูแลเด็กปฐมวยั 0 - 5 ปี สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ (2556) กล่าวว่า การดาเนินงานพัฒนาเด็กปฐมวัยในประเทศไทยในปัจจบุ นั แบ่งเป็น 2 กลุม่ อายุ คือ กลุ่มอายตุ ่ากว่า 3 ปี และกลุ่มอายุ 3 - 5 ปี 1.1.1 กลุ่มอายุต่ากว่า 3 ปี ครอบครัวต้องเป็นแกนหลักในการดูแลและส่งเสริมพฒั นาการ ซงึ่ บุคคลสาคญั คือ พ่อแม่ ผู้ปกครอง และสมาชิกในครอบครวั โดยตอ้ งถอื ว่าเด็กทุกคนมีสิทธิ์ท่ีจะได้รับการดูแล ช่วยเหลือ ให้มีชีวิตอยู่รอดปลอดภัย ได้รับการคุ้มครองป้องกันและได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ สามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ดังน้ันพ่อแม่ ผู้เล้ียงดูเด็ก ผู้ที่เก่ียวข้องกับเด็กต้องมีความรู้ มีทักษะในเรื่องการเลี้ยงดู การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็ก รวมทั้งการจัดการเรียนรู้ท่ีบ้าน เนื่องจากเด็กวัยน้ีต้องการการเล้ียงดูและพัฒนาให้เป็นไปตามพัฒนาการตามวัยจึงไม่ใช่จัดการศึกษาให้เด็กปฐมวัยแต่ต้องให้ความรู้แก่พ่อแม่ และผู้ท่ีเก่ียวข้องกับเด็กให้มีความรู้ในเรื่องการเล้ียงดูเด็กและสามารถเล้ียงดูเด็กเข้าใจธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเด็กด้วยวิธีการที่หลากหลาย เด็กไม่จาเป็นต้องได้รับบริการโดยผ่านสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็ก แต่เป็นหน้าที่ของรัฐท่ีจะต้องให้บริการไปถึงเด็กทุกคนโดยส่วนใหญ่อยู่ในความดูแลของครอบครัว จากนั้นเข้ารับบริการจากสถานรับเลยี้ งเดก็ ในรปู แบบต่างๆ ทั้งของรฐั และเอกชน เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 174 1.1.2 กลุ่มอายุ 3 - 5 ปี ใช้สถานพัฒนาเด็กหรือรูปแบบอ่ืนทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั โดยให้ครู ผเู้ ล้ยี งดเู ดก็ ผดู้ แู ลเดก็ รว่ มมือกับพอ่ แม่ ผูป้ กครอง และครอบครัวในการพัฒนาเด็กเด็กอายุ 3 -5 ปี เด็กกลุ่มน้ีมีโอกาสเข้ารับบริการในรูปแบบที่หลากหลาย ซึ่งจัดโดยหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดย 99% ของเด็กกลุ่มนี้เข้ารับบริการในโรงเรียนอนุบาลทั้งภาครัฐและเอกชน ดังตารางที่ 3 อย่างไรก็ตามการศึกษาปฐมวัยไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับเด็กทุกคนไม่จาเป็นต้องเข้ารับบริการจากสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแต่นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาเด็กปฐมวัย มีเปา้ หมายทจี่ ะให้เด็กปฐมวยั ทุกคนไดร้ ับการพัฒนาอย่างมคี ณุ ภาพตารางที่ 3 จานวนเด็กอายุ 3 - 5 ปี ที่เขา้ รบั บรกิ ารในโรงเรียนอนุบาลของรฐั และเอกชน ปี พ.ศ. 2554เด็กอายุ 3-5 ปี จานวนเด็กทเี่ ข้ารบั บริการ จานวนเดก็ ทไี่ มไ่ ด้2,805,537 คน เขา้ รับบริการ ภาครฐั เอกชน ทง้ั หมด 9,304 2,176,869 คน 619,364 คน 2,796,233 คน (1%) (77.5%) (21.5%) (99%)ทีม่ า : สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาแหง่ ชาติ (2556) 1.2 สภำพกำรเปล่ยี นแปลงทำงสังคมและสง่ิ แวดล้อมท่ีกระทบต่อเดก็ ปฐมวยั วัฒนา ปุญญฤทธ์ิ (2551) กล่าวว่า กระแสการเปลย่ี นแปลงของโลกมิได้มผี ลกระทบต่อคนทว่ั ไปเทา่ นัน้ หากแต่สง่ ผลกระทบต่อเด็กปฐมวัยดว้ ยเช่นกนั ซ่ึงปรากฏสภาพดังนี้ 1.2.1 สภาพการไหล่บ่าทางวัฒนธรรมท่ีมาจากการสื่อสารไรพ้ รมแดนทาให้วัฒนธรรมค่านิยมที่ดีงามลดน้อยถอยลง ภูมิปัญญาท้องถิน่ ถูกละเลย ลักษณะของสังคมไทยที่เคยช่วยเหลือเก้ือกูลเอ้ืออาทร เอาใจใส่ ดูแลรักใคร่ฉันญาติมิตรพ่ีน้องเร่ิมเสื่อมถอย สังคมเมืองขยายตัวมากขึ้น เกิดกระแสวัตถุนิยมเป็นค่านิยมของคน วิถีชีวิตท่ีเคยพึ่งพาตนเองมีการใช้ชีวิตแบบเรียบง่ายสูญหายไปความสัมพันธข์ องคนในชุมชนลดน้อยลง ตา่ งคนต่างอยู่ จิตสานึก จิตสาธารณะไม่มี เกดิ ความรู้สึกวา่ ธุระไม่ใช่ ไม่สนใจความประพฤติของตนว่าจะส่งผลเสียหายต่อผู้อ่ืนหรือสังคม เด็กปฐมวัยจึงอยู่ท่ามกลางสภาพสังคมทบ่ี กพร่องด้านคณุ ธรรม ตัวแบบทด่ี ีไม่มีหรือหายาก เด็กจงึ เตบิ โตขึ้นมาอยา่ งขาดคุณภาพ 1.2.2 การทาลายทรัพยากรและใช้ทรัพยากรอย่างไม่คุ้มค่า ขาดการเอาใจใส่ดูแลจดั การอย่างมีคุณภาพ ทาใหเ้ กดิ ปญั หาด้านสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติขาดความสมดุลเกดิ ปัญหาระบบนิเวศมีอุบัติภัยทางธรรมชาติเกิดข้ึนมากมายรวมทั้งโรคภัยไข้เจ็บท่ีรุมเร้ามนุษย์และสิ่งมีชีวิต ปัญหาส่ิงแวดล้อมเป็นพิษเกิดมลพิษในสิ่งแวดล้อม ปัญหาขยะและของเสียอันตรายมากข้ึน แบบแผนการดาเนินชวี ิตไม่เหมาะสม ความสุขในชวี ิตจงึ ลดน้อยลง อบุ ัตภิ ัยและโรคภัยตา่ งๆ ทาภยั มนุษยม์ ากข้ึน เด็กปฐมวยั จงึ เติบโตขนึ้ ทา่ มกลางภาวะแหง่ ความทุกข์ยาก จะเห็นได้ว่า จากบริบทการเปล่ียนแปลงของโลกและสังคมซ่ึงอาจจะเรียกได้ว่าการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากการกระทาของมนุษย์ เด็กปฐมวยั ต้องอยู่ในสงั คมแห่งการแปรปรวนนี้ วิถีชีวิตท่ีดีงามในอดีตค่อยลดลง เด็กจะตอ้ งเผชิญกบั โลกที่มีสภาวะยากลาบากย่ิงขึน้ ตอ่ ไป เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 175 1.3 กำรขบั เคล่อื นกำรพฒั นำเด็กปฐมวัยเชงิ นโยบำย นับต้ังแต่มีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 เป็นต้นมา นโยบายของรัฐให้ความสาคัญกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก โดยมุ่งท่ีจะเตรียมความพร้อมให้แก่เด็กปฐมวัยก่อนเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา และในปัจจุบันได้มีการเสนอนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) ระยะยาว พ.ศ. 2550 - 2559 และจัดทาแผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (แรกเกิดถึงก่อนเขา้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1) ตามนโยบายรฐั บาล พ.ศ.2555 - 2559 รายละเอียดดังน้ี 1.3.1 นโยบายและยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) ระยะยาว พ.ศ.2550 - 2559) สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกบั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงมหาดไทย จัดทานโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) ระยะยาว พ.ศ.2550 - 2559 เสนอต่อคณะรัฐมนตรีซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ความเห็นชอบนโยบายและยุทธศาสตร์ฯ ในคราวประชุม เม่ือวันที่ 22พฤษภาคม 2550 และได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงและหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องร่วมกันนานโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาเด็กปฐมวยั สู่การปฏิบัตไิ ว้ ดังน้ี 1.3.1.1 นโยบาย พัฒนาเด็กปฐมวัยช่วงอายุ 0 - 5 ปี ทุกคนอย่างมีคุณภาพ เต็มศักยภาพ มีครอบครัวเป็นแกนหลัก และผู้มีหน้าท่ีดูแลเด็กและทุกส่วนของสังคมได้มีส่วนร่วมในการจัดบริการและสิ่งแวดล้อมที่ดี เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพของท้องถ่ินและการพัฒนาเด็กตามวยั โดยกลมุ่ เป้าหมาย มดี งั น้ี 1.3.1.1.1 เด็กอายุ 0 - 5 ปี ทุกคน 1.3.1.1.2 พ่อแม่ สมาชกิ ในครอบครัว ผูเ้ ตรียมตวั เป็นพอ่ แม่ 1.3.1.1.3 ผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กโดยตรง ได้แก่ ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้เล้ียงดูเด็ก พี่เล้ียงเด็ก ผู้สูงอายุที่ดูแลเด็ก แพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ เจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ ฯลฯ 1.3.1.1.4 ชุมชน ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรชุมชนต่างๆผ้นู าทางศาสนา อาสาสมคั รในรปู แบบตา่ งๆ กลุ่มอาชพี นักเรียน/เยาวชน ฯลฯ 1.3.1.1.5 สังคม ได้แก่ สถาบันทางสังคม สื่อมวลชน สถาบันวิจัยสถาบันการศึกษา นักวิชาชีพและองค์กรวิชาชีพต่างๆ องค์กรของรัฐ องค์กรเอกชน องค์กรธุรกิจ และองคก์ รระหวา่ งประเทศ ฯลฯ 1.3.1.2 ยทุ ธศาสตร์หลัก ยทุ ธศาสตร์หลักเป็นแนวคดิ และทศิ ทางที่จะนาไปเป็นกรอบในการจดั ทาแผนปฏิบัติการท่ชี ัดเจนตอ่ ไป ยุทธศาสตร์หลัก ประกอบดว้ ย 3 ยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวัย มแี นวคดิ และเปา้ หมายดังนี้ แนวคดิ 1. เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ท้ังเด็กปกติ เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษและเด็กท่ีมคี วามสามารถพิเศษทกุ คนตอ้ งไดร้ ับการเล้ียงดูทสี่ ่งเสรมิ พฒั นาการท้ังทางรา่ งกาย สติปัญญาอารมณ์ จิตใจ สังคม คุณธรรมจริยธรรม โดยให้ความสาคัญกับการสร้างปัญญาท่ีเข้าถึงความดีงามความถกู ต้อง (จิตวญิ ญาณ) วฒั นธรรม และภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ การสื่อสารและการเรียนรู้ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กด้อยโอกาสและเด็กที่มีความต้องการพิเศษ มีสิทธิท่ีจะได้รับการดูแบและการช่วยเหลือเป็นพิเศษ เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 176เด็กทุกคนต้องมีชีวิตอยู่รอดปลอดภัยได้รับการคุ้มครองป้องกันและได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ และสามารถดาเนนิ ชวี ิตอยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข และสร้างสรรค์ 2. มีการพัฒนารูปแบบการให้บรกิ ารท่ีเหมาะสมหลากหลาย และทัว่ ถึงในการพัฒนาเด็กท้ังเด็กปกติ เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ และเด็กที่มีความสามารถพิเศษทุกคนให้มีการพัฒนาทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ สังคม จริยธรรม และการมีนิสัยท่ีดีจากพ่อแม่ผู้ปกครอง ผูเ้ ลีย้ งดเู ดก็ และครูปฐมวยั หรือทเ่ี รยี กช่ือเป็นอยา่ งอ่นื อยา่ งมคี ุณภาพ 3. มีการพัฒนาระบบการมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนผ่านบริการตามวัยของเด็กระหว่างครอบครวั กบั สถานบริการและ/หรอื สถานศึกษาอย่างมีประสิทธภิ าพ เปา้ หมาย 1. การพัฒนาเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี ให้ครอบครัวเป็นแกนหลักในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ในกรณีที่จาเป็นให้สถานรับเลี้ยงเด็กในรูปแบบต่างๆ เป็นท่ีให้บริการเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก โดยมีผู้เลี้ยงดูเด็ก/พ่ีเลี้ยงเด็กท่ีได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะด้านเด็กปฐมวัยแล้วเป็นผู้ดูแลและพัฒนาเด็ก ท่ีสาคัญคือ ให้พ่อแม่ และครอบครัวมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิ ดมากที่สดุ 2. การพัฒนาเด็กอายุ 3 - 5 ปี ครอบครัวยังคงเป็นแกนหลักในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการ และให้สถานพัฒนาเด็ก สถานศึกษาหรือรูปแบบอื่น ท้ังในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย เป็นที่ให้บริการคุ้มครองป้องกันและพัฒนาเด็กโดยผู้ดูแลเด็กและครู ฯลฯ มีลักษณะเป็น “มืออาชีพ” คือ มีความรู้ เจตคติ ค่านิยม รวมถึงมีทักษะท่ีเหมาะสมและดีท่ีสุดในการคุ้มครองป้องกันและพัฒนาเด็กรอบด้านในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อพัฒนาการของเด็ก โดยมีพ่อแม่ผปู้ กครอง และครอบครัวมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมืออย่างสม่าเสมอ ในกรณีท่พี ่อแม่ประสงค์จะเล้ียงดูและให้การเรียนรู้ลูกด้วยตนเอง หรือจัดเป็นกลุ่มๆ ในชุมชน รัฐต้องสนับสนุนให้พ่อแม่มีความรู้และทกั ษะในเรือ่ งการจดั การเรยี นร้ทู ีบ่ า้ น 3. การพัฒนาเด็กอายุ 0 - 5 ปี ต้องเป็นไปอย่างมีคุณภาพรวมถงึ การให้การบริการด้านสขุ ภาพทางกายและทางจิตใจแกเ่ ด็กอย่างสม่าเสมอ เพอ่ื ค้นหาปัญหาและขอ้ บกพรอ่ งต้ังแต่ต้นโดยระบบการส่งต่อท่ีดี ทันต่อสถานการณ์ เป็นการเช่ือมโยงจากบ้านไปสู่ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวยั โรงเรียน และหนว่ ยปรกึ ษาทางการแพทย์ ในกรณีที่จาเป็นเด็กสามารถได้รับการตรวจรักษาและบาบดั ฟืน้ ฟูท่ีทันการณ์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมพ่อแม่และผู้เกี่ยวข้องเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัย มีแนวคดิ และเปา้ หมายดงั น้ี แนวคดิ 1. พ่อแม่ ผู้เล้ียงดูเด็ก สมาชิกในครอบครัว คู่สมรสใหม่ ผู้เตรียมตวั เป็นพอ่ แม่ หญิงตั้งครรภ์ ครู บคุ ลากรทางการแพทย์และสาธารณสขุ และผู้นาชุมชน ผูน้ าท้องถิ่นต้องได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการอบรมเล้ียงดู การจัดประสบการณ์และสร้างส่ิงแวดล้อมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยอย่างถูกต้องเหมาะสม รวมท้ังได้คุ้มครองป้องกันอุบตั ิเหตุและภยั อนั ตรายตา่ งๆ อนั จะเกิดขึ้นได้ เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 177 เปา้ หมาย 1. การพัฒนาเด็กอายุ 0 - 5 ปี ให้ใช้หลักการที่มีบ้านและครอบครัวโดยมีพ่อแม่ ผู้ปกครอง และสมาชิกในครอบครัวเป็นบุคคลสาคัญ เป็นฐานในการอบรมเล้ียงดู (Homebased approach) และพัฒนาเด็กปฐมวยั อย่างเป็นองค์รวม 2. พัฒนาความรู้และทักษะแก่ผู้ที่เก่ียวข้องกับเด็กปฐมวัยในด้านจิตวิทยา พัฒนาการเด็กต้ังแต่อยู่ในครรภ์ จนถึงอายุ 5 ปี รวมถึงการให้ความรู้พื้นฐานด้านพัฒนาการเด็กอายุ 6 - 8 ปี เพ่ือให้เกิดความเข้าใจอย่างต่อเนื่องของพัฒนาการเด็กปฐมวัย ทั้งน้ีจะต้องครอบคลุมทุกระดบั ต้งั แตค่ รอบครวั ชุมชน ถึงระดับผ้เู ช่ยี วชาญ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การส่งเสริมสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย มีแนวคดิ และเป้าหมายดงั นี้ แนวคดิ 1. ทุกภาคส่วนของสังคม ไดแ้ ก่ องค์กร สถาบัน สื่อมวลชน ในทุกระดับมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ดูแล ส่งเสริม คุ้มครอง ปกป้อง และระดมทรัพยากรเพื่อการลงทุนในการพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพและเหมาะสมกับท้องถิ่น เพื่อให้เด็กปฐมวัยท้ังเด็กปกติ เด็กที่มีความต้องการพิเศษ และเด็กที่มีพ่อแม่อยู่ในสภาวะที่ไม่สามารถเลี้ยงดูรับผิดชอบได้รับการส่งเสริมพฒั นาการอนั รวมท้ังพัฒนาการทางรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ สังคม คุณธรรมจรยิ ธรรม โดยให้ความสาคัญกับการสร้างปัญญาที่เข้าถึงความดี ความถูกต้อง (จิตวิญญาณ) วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถน่ิ ใหส้ ามารถเข้ารับการศึกษาในระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน และดารงชีวิตอยใู่ นสังคมได้เป็นอยา่ งดี 2. พัฒนาองค์ความรู้ท่ีเก่ียวกับการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย โดยสง่ เสริมสนับสนุนให้มีการวิจัย ทดลอง เพื่อพัฒนารูปแบบท่ีเหมาะสมและหลากหลายในการพัฒนาเด็กปฐมวัยอยา่ งเป็นรปู ธรรม เป้าหมาย 1. รัฐและสังคมร่วมรับผิดชอบในการจดั ส่ิงแวดล้อมและบริการให้ครอบครัวและผู้เล้ียงดูได้พัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างครบวงจร ต้ังแต่การวางแผนปฏิบัติการ เฝ้าระวังติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล 2. สร้างความพร้อมทางด้านเศรษฐกิจและสังคมให้ชุมชนและองค์กรท้องถิ่นให้เลือกต่อครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัยสามารถดาเนินการดูแลปกป้อง คุ้มครองและจัดประสบการณ์ การเรยี นรู้ใหแ้ ก่เดก็ ปฐมวยั ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพสงู สดุ 3. เมื่อชุมชนและท้องถ่ินมีความเข้มแข็งท้ังด้านเศรษฐกิจและความรู้ความสามารถ ให้รัฐกระจายความรับผิดชอบไปยังชุมชนท้องถิ่น (ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรธุรกิจ และอ่ืนๆ) ดาเนนิ การเต็มทใี่ นทกุ ดา้ น โดยรัฐมีหน้าท่ีกาหนดนโยบายระดับชาติ แนวทาง รูปแบบการตรวจสอบ มาตรฐาน การประเมินผล การสนับสนุน และการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสกลุ่มต่างๆ พร้อมท้ังสร้างสิ่งแวดล้อมและสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาเด็ก 4. สื่อมวลชนมีบทบาทสาคัญในการปกป้องคุ้มครองสิทธิและสร้างเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ด้วยการเผยแพร่ความรู้และทักษะให้พ่อแม่และผู้เล้ียงดูเด็กในรปู แบบตา่ งๆ รวมถงึ กระตุ้นให้สังคมเห็นความสาคญั ของการพัฒนาเด็กปฐมวัย เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 178 1.3.2 แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (แรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีที่ 1)ตามนโยบายรัฐบาลดา้ นเด็กปฐมวัย พ.ศ.2555 - 2559 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ซึ่งฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเด็กแห่งชาติดาเนินงานร่วมกับกระทรวงหลัก ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงแรงงาน และกระทรวงยตุ ิธรรม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดประชุมปรึกษาหารือ และประชุมปฏิบัติการเพ่ือจัดทาแผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (แรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีที่ 1) ตามนโยบายรฐั บาล พ.ศ.2555 - 2559 เพ่ือเผยแพร่ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการจัดทาแผนงาน/โครงการพฒั นาเด็กปฐมวัยของประเทศไทย รายละเอยี ดดงั น้ี 1.3.2.1 นโยบายรัฐบาลด้านเด็กปฐมวัย พ.ศ.2555 - 2559 ได้แก่ เร่งรัดเพื่อให้เด็กปฐมวัย (แรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีท่ี 1) ทุกคนได้รับการพัฒนารอบด้าน ตามวัย อย่างมีคุณภาพและต่อเนอ่ื ง และมมี ตใิ ห้ 1.3.2.1.1 กระทรวงท่ีเกี่ยวข้องรับทราบนโยบาย มาตรการ และเร่งนาสู่การปฏบิ ัติอย่างเปน็ รปู ธรรมโดยร่วมมอื กบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1.3.2.1.2 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ประสานและบูรณาการการดาเนินงานของทุกกระทรวงท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาเด็กทุกวัย โดยจัดทารายละเอียดและแนวปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม แล้วรายงานต่อคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ รวมทั้งการติดตามผลกการดาเนนิ งาน 1.3.2.2 ยุทธศาสตร์ และเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (แรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีท่ี 1)ตามนโยบายรัฐบาล พ.ศ.2555 - 2559 มีสาระครอบคลุมนโยบายของรัฐทัง้ หมด 4 ยทุ ธศาสตร์ในแต่ละยุทธศาสตร์ประกอบดว้ ยเปา้ หมาย ซ่ึงมีรายละเอยี ด ดงั น้ี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 เด็กทุกคนได้รับบริการในการพฒั นาเต็มศักยภาพ โดยมีเป้าหมายดงั น้ี 1. เดก็ ทุกคนในช่วงอายุแรกเกิดถึง 5 ปี หรือก่อนเข้าประถมศึกษาปีท่ี 1ได้รบั บริการด้านสุขภาพ ภายในปี 2559 2. เด็กแรกเกิดถึงก่อนประถมศึกษาปีท่ี 1 ร้อยละ 90 มีพัฒนาการตามวัยภายในปี 2559 3. เด็กทุกคนในช่วงอายุ 3 ปี ถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีความตอ้ งการได้รบั การพฒั นาในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในทุกรูปแบบ ภายในปี 2559 4. เด็กทุกคนเข้าประถมศึกษาปีที่ 1 เม่ืออายุครบ 6 ปี ตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาภาคบงั คับ ภายในปี 2559 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ไอโอดนี กบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั โดยมเี ป้าหมายดงั นี้ 1. เด็กแรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับไอโอดีนในอาหารอยา่ งเพยี งพอ 2. หญิงต้ังครรภท์ ุกคนไดร้ บั ไอโอดีนในอาหารอยา่ งเพยี งพอ และได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 179 3. หญิงที่เล้ียงลูกด้วยนมแม่ทุกคนระยะ 6 เดือนแรกต้องได้รับไอโอดีนในอาหารอยา่ งเพียงพอ และได้รับยาเม็ดเสรมิ ไอโอดนี ยุทธศาสตร์ที่ 3 การอบรมเล้ยี งดูเดก็ ปฐมวยั โดยมเี ป้าหมายดงั น้ี เด็กปฐมวัย (แรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีที่ 1) ทุกคนได้รับการอบรมเล้ียงดอู ยา่ งมีคุณภาพเพ่อื มีพฒั นาการอยา่ งรอบดา้ นและตามวัย ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 กลไกการดาเนินงานพฒั นาเด็กปฐมวยั โดยมีเปา้ หมายดงั น้ี 1. กากับติดตามมาตรการที่แต่ละกระทรวงกาหนด เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและมติคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ (ก.พ.ป.) 2. มีคณะกรรมการระดับจังหวดั ภายในปี พ.ศ.2559 3. ระบบข้อมูลด้านเด็กปฐมวัย การสารวจขอ้ มูล การวิจัยตา่ งๆ สามารถช่วยในการวางแผน และตดิ ตามประเมนิ สถานการณอ์ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ(สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2556) สรุปได้ว่า ในอนาคตการจัดการศึกษาปฐมวัยและการพัฒนาเด็กปฐมวยั ไดร้ ับความสนใจ เห็นความสาคัญและส่งเสริมให้มีการจัดรูปแบบที่หลากหลาย วิธีการจัดในปัจจุบันสามารถนามาใช้ได้เพียงแต่ต้องพิจารณาหน่วยงาน หรือองค์กรท่ีจัดให้มีความเป็นเอกภาพและพัฒนาคุณภาพการจัดให้ได้มาตรฐาน 1.4 โครงกำรพฒั นำเด็กปฐมวัยที่ดำเนนิ กำรในประเทศไทย สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2556) กล่าวว่า โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยความร่วมมือของหนว่ ยงานตา่ งๆ ท้งั ภาครฐั และเอกชน มีดังน้ี 1.4.1 โครงการถงุ รับขวญั เดก็ แรกเกดิ กระทรวงสาธารณสุขได้จัดทาโครงการถุงรับขวัญสาหรับเด็กแรกเกิ ดจานวน1,000,000 ชุด มอบให้แก่ครอบครัวที่มีเด็กเกิดใหม่ในระยะเวลา 1 ปี ตั้งแต่วันท่ี 28 กรกฎาคม 2548จนถึงวันท่ี 27 กรกฎาคม 2549 เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของการท่ีประเทศจะต้องลงทุนเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวยั และเปน็ ตัวอย่างเคร่ืองมือชุดแรกสาหรับครอบครวั ในการกระตุ้น พัฒนาการสมองของเด็ก เช่นการกระตุ้นประสาทสัมผัส การดู การฟัง การสัมผัสต่างๆ การกระตุ้นการใช้กล้ามเน้ือ การเข้าใจรูปทรงมิติต่างๆ การฟัง และการใช้ภาษาเพื่อสร้างฐานความฉลาด ภายในถุงรับขวัญ ประกอบด้วย หนังสือนมแม่ทนุ สมองของลูกรัก เคร่อื งแขวน (โมบาย) หนังสือรอ้ งเล่นเต้นเพลิน หนังสือลอยน้า เทป-ซีดีเพลงกล่อมลูกชาวสยาม ผ้าพัฒนาการของเล่นเขย่ากัด (rattle) หนังสือรับขวัญวันสมองสดใส สต๊ิกเกอร์ ท้ังน้ีกระทรวงสาธารณสุขโดยกรมอนามัยเป็นผูแ้ จกจ่ายถุงรับขวัญเด็กแรกเกิดและตดิ ตามประเมินผลการใช้ถงุ รับขวญั เดก็ แรกเกิด ในปี 2555 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาดาเนินการศึกษาวิจัยโครงการคัดสรร-พัฒนาศึกษา-วิเคราะห์ “การจัดทาถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด” เพื่อให้ถุงรับขวัญสามารถใช้ได้อย่างต่อเน่ืองต้ังแต่แรกเกิดถึง 2 ปี ภายในถุงรับขวัญ ประกอบด้วย ชุดหนังสือเล่มแรก 3 เล่ม คือ กุ๊กไก่ปวดท้อง ต้ังไข่ล้มและน้องหมีเล่นกับพ่อ หนังสือลอยน้า 4 เร่ือง โดย 2 เรื่อง เป็นเร่ืองเกี่ยวกับการใช้ภาษาอีก 2 เรื่องเป็นเร่อื งกิจวตั รประจาวนั ผ้าหม่ พัฒนาการ และเครอ่ื งแขวน เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 180 1.4.2 โครงการหนังสือเลม่ แรกสาหรบั เด็กอายุ 6 เดือน - 6 ปี สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาร่วมกับมูลนิธิหนังสือเพ่ือเด็ก ดาเนินงานโครงการหนังสือเล่มแรกสาหรับเด็ก อายุ 6 เดือน - 6 ปี อย่างต่อเน่ือง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอแนวคิดการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยด้วยหนังสือและนาเสนอรูปแบบการส่งเสริมนิสัยรกั การอ่านเพื่อการพัฒนาเด็กให้ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ โดยคัดเลือกหนังสือภาพ หนังสือนิทานท่ีเหมาะสมกับเด็กเพื่อสง่ เสริมนสิ ยั รกั การอ่านของเด็กปฐมวยั ต้ังแตแ่ รกเกิดต่อเน่ืองจนถึงอายุ 6 ปี พร้อมทง้ั แนะนาพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ครู ผู้ดูแลเด็ก ในการใช้หนังสือเพ่ือสร้างนิสัยรักการอ่าน สร้างความสัมพันธ์ที่อบอุ่นภายในครอบครัวรวมท้ังเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ด้วยวิธีการและรูปแบบต่างๆ เพื่อให้บุคคล กลุ่มบุคคลองค์กรสถาบันต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งชุมชน และสังคมตระหนักในความสาคัญของการส่งเสริมนสิ ยั รักการอา่ นหนังสอื ชดุ หนงั สอื ท่ีใช้ในโครงการหนงั สือเล่มแรก ประกอบด้วย ชุดหนังสอื สาหรับเดก็ และชุดหนังสอื สาหรับพอ่ แม่ ดังนี้ 1.4.2.1 หนังสือสาหรับพ่อแม่ ประกอบด้วย สร้างนิสัยรักการอ่านให้ลูกน้อยและค่มู อื พอ่ แมห่ นชู อบหนงั สอื 1.4.2.2 ชุดหนังสือสาหรับเด็กอายุต่ากว่า 1 ปี ประกอบด้วย ตั้งไข่ล้ม น้องหมีเล่นกับพ่อ กุ๊กไก่ปวดท้อง แมงมุมลาย รู้ไหมหนูชอบทาอะไรกับพ่อ รู้ไหมหนูชอบทาอะไรกับแม่ จันทร์เจา้ ขา 1.4.3 โครงการเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่ โครงการเล้ียงลูกด้วยนมแม่เปน็ โครงการท่ีปลุกกระแสสร้างวฒั นธรรมการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ พร้อมท้ังส่งเสริมสนับสนุนการเล้ียงดูทารกแรกเกิดถึง 2 ปี ด้วยนมแม่โดยให้นมแม่เพียงอย่างเดยี วต้งั แต่แรกเกดิ ถึง 6 เดือน และใหอ้ าหารเสริมตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป เรอ่ื งการเล้ียงดลู ูกด้วยนมแมเ่ ป็นการให้ทุนทางสมองแก่ลูก ทารกที่ได้กินนมแม่จะเติบโตท้ังร่างกาย จิตใจ และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสขุ นมแม่มีสารอาหารช่วยเสริมสร้างเซลล์สมอง เส้นใยประสาทสมอง และจอประสาทตาโดยเฉพาะอย่างย่ิงหัวนา้ นม หรอื โคลอสตรมั เป็นยอดอาหารท่ีอดุ มไปด้วยสารอาหารทใี่ ห้คาร์โบไฮเดรตโปรตีน วิตามิน เกลือแร่ ครบถ้วน นอกจากน้ัน นมแม่ยังมีสารอ่ืนๆ อีกกว่า 200 ชนิด ซึ่งจะมีผลดีท้ังทางตรงและทางอ้อมต่อพัฒนาการของสมอง นมแม่มีภูมิต้านทานโรค ทาให้ลูกแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย ลดการเส่ยี งต่อการเกิดโรคภูมิแพ้ การจัดกิจกรรมเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ส่งเสริมการเลี้ยงลกู ด้วยนมแม่ เช่น การประชุมวิชาการนมแม่แห่งชาติ กิจกรรมงาน “อ่ิมอุ่นรัก จากอกแม่” ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในศูนย์อนามยั ทัว่ ประเทศ คลินกิ นมแม่เคลื่อนที่ โปสเตอรอ์ ิ่มอนุ่ รกั จากอกแม่ โปสเตอรห์ นูนอ้ ยนมแม่ เปน็ ต้น 1.4.4 โครงการไอโอดีนในหญิงตงั้ ครรภแ์ ละเด็กปฐมวยั ไอโอดีนมีส่วนสาคัญในการสร้างเซลล์สมอง การควบคุมพัฒนาการเจริญเติบโตของระบบประสาทในเด็กเล็ก โดยเฉพาะต้ังแต่เด็กอยู่ในครรภ์มารดาช่วง 0 - 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์การควบคุมเมตาบอลิซึมของร่างกายทั้งหมด การเจริญเติบโตของ Growth Hormone กลุ่มเส่ียงคือหญิงต้ังครรภ์ หญิงให้นมบุตร ทารก เด็กเลก็ และผู้สูงอายุ โดยก่อนหญิงตั้งครรภ์ต้องมีภาวะโภชนาการไอโอดีนในระดับท่ีเพียงพอต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการของสมองทารกในครรภ์ การขาดสาร เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 181ไอโอดีนในขณะต้ังครรภ์ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของสมอง และสติปัญญาของทารกในครรภ์อาจเกิดการแท้งบุตร คลอดออกมาอาจเป็นโรคเอ๋อ แต่หากเด็กแรกคลอดขาดไอโอดีนจะเกิดภาวะสติปัญญาบกพร่อง สมองเจริญเติบโตไม่เต็มที่อาจเกิดภาวะสมองพิการ เพราะยังเป็นช่วงที่สมองเจริญเติบโตการศึกษาเปรียบเทียบความสามารถด้านต่างๆ ระหว่างเด็กท่ีขาดไอโอดีนระดับน้อยกับขาดไอโอดีนระดับรุนแรงพบว่า การเจริญเติบโตและความสามารถด้านต่างๆ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญภาวะขาดสารไอโอดีนนัน้ หากรา่ งกายขาดแล้วร่างกายไมส่ ามารถแกไ้ ขได้เองและไม่มีทางแก้ไขให้คนื กลับ ปจั จุบันหญิงต้ังครรภ์ได้รับยาเม็ดวิตามินท่ีมีสารไอโอดีน ในชดุ สิทธปิ ระโยชน์ของหญิงต้ังครรภ์ท่ีมาฝากครรภ์ในสถานบริการ โดยกรมบัญชีกลางมีข้อยกเว้นในกรณีหญิงต้ังครรภ์สามารถเบิกจา่ ยการใชย้ าเม็ดวิตามนิ รวมและแรธ่ าตไุ ด้ การแก้ปัญหาท่ีถาวรควรใช้เกลือผสมไอโอดีนโดยการกาหนดมาตรการเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้าหรอื Universal Salt Iodization (USI) ซ่ึงเป็นมาตรการทไี่ ด้ผลที่สุด ครอบคลมุ สูงสุดทั้งคนและสตั ว์ โดยใส่ไอโอดนี ลงในเกลอื บรโิ ภคทคี่ นรับประทานและเกลอื อุตสาหกรรมที่ใชเ้ ลีย้ งสัตว์ 1.4.5 โครงการสมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นาตามวยั 0 - 5 ปี สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาร่วมกับองค์กรทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ)โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพ่ิมความเข้าใจเกี่ยวกับความสามารถในการแสดงออก หรือการแสดงพฤติกรรมตามวัยของเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในดา้ นต่างๆ วา่ เด็กสามารถทาอะไรได้ (can do) ในแต่ละช่วงอายุ ในกรณีที่เด็กยังไม่สามารถแสดงพฤติกรรมตามวัยได้ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กจะต้องดาเนินการจัดกิจกรรมและทากิจกรรมกับเด็กเพ่ือพัฒนาเด็กให้มีความสามารถตามวัยน้ันๆ โดยกิจกรรมต่างๆ จะต้องมีความหลากหลายเพ่ือเอื้อใหเ้ ด็กได้พัฒนาพฤติกรรมต่างๆ ได้ตามธรรมชาติ ตามวัย และตามศกั ยภาพของเด็ก สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 0 - 3 ปี ประกอบดว้ ย ตัวชี้วัดเชงิ พฤติกรรมส่วนหลัก (Domain) 4 ด้าน (สมรรถนะในการเคล่ือนไหวและสุขภาวะทางกาย, สมรรถนะในการรับรู้และเรียนรู้, สมรรถนะด้านภาษาและการสื่อความหมาย และสมรรถนะด้านอารมณ์และสังคม) และพฤตกิ รรมบง่ ชี้ (Indicators) 286 ขอ้ สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 3 - 5 ปี ประกอบดว้ ย ตัวช้ีวัดเชิงพฤติกรรมส่วนหลัก (Domain) 7 ด้าน (ความสามารถในการเคลื่อนไหวและสุขภาวะทางกาย, พัฒนาการด้านสงั คม, พัฒนาการด้านอารมณ์, พัฒนาการด้านการคิดและสติปัญญา, พัฒนาการด้านภาษา, พัฒนาการดา้ นจริยธรรม และพฒั นาการดา้ นการสรา้ งสรรค์) และพฤตกิ รรมบง่ ช้ี (Indicators) 419 ข้อ สาหรับการนาผลการศึกษาวิจัยดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติน้ัน สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทาโครงการ นาร่องทดลองนาสมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 3 - 5 ปี ไปใช้ในสถานศึกษาจานวน 12 โรง เพื่อสร้าง ความรู้ ความเข้าใจเร่ืองสมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัยให้กับครูและผู้ดูแลเด็ก เพื่อนาความรู้ที่ได้ไปพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาเด็กอายุ 3 - 5 ปี ให้มีความสามารถตามวยั ต่อไป เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 1822. ปัญหำของกำรจัดกำรศกึ ษำปฐมวยั ในประเทศไทย สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550) ได้สรุปปัญหาของการจัดการศึกษาปฐมวัยไว้ว่าในปัจจุบันเป็นที่น่าวิตกและถือเป็นวิกฤตของเด็กปฐมวัย เน่ืองจากข้อเท็จจริงจากการประเมินสถานการณ์ และทดสอบพัฒนาการการคัดกรองในเด็กปฐมวัย (อายุ 0 - 5 ปี) พบว่า โดยภาพรวมเด็กปฐมวัยมีแนวโน้มพัฒนาการล่าช้าในด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา และจริยธรรม เม่ือพิจารณาจากประเดน็ ปญั หาตา่ งๆ แลว้ สรุปไดด้ งั น้ี 1. ปญั หาการเล้ียงดู 1.1 การเลีย้ งดโู ดยครอบครัว 1.1.1 เด็กอายุ 0 - 5 ปี ที่อยู่กับครอบครัว พ่อแม่ไม่มีโอกาสเรียนรู้วิธีการเป็นพ่อแม่ที่ดีและวิธีปฏิบัติตนกับลูกในทางที่ถูกที่ควร พ่อแม่จานวนมากไม่ให้ความสาคัญของการดูแลลูกด้วยตนเอง ปล่อยปละละเลยให้อยู่กับญาติหรือผู้เลี้ยงดู อีกทั้งยังมีพ่อแม่จานวนมากท่ียังเข้าใจผิดในเรอื่ งการดแู ลดูลูก เชน่ ให้ความรักด้วยวธิ ีการให้ส่ิงของเป็นรางวัล ตีเด็กทุกคร้ังท่ีทาผดิ ขู่เด็กว่าจะไม่รักถ้าไมเ่ ชอื่ ฟงั ให้เด็กกลวั ในตวั บคุ คลทีผ่ ิดผดิ เชน่ หมอ ตารวจ ฯลฯ 1.2 การเล้ยี งดูโดยสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั 1.2.1 เด็กอายุ 0 - 3 ปี ที่รับบริการจากสถานรับเลี้ยงเดก็ พบว่า สถานรับเลี้ยงเด็กส่วนใหญ่ยังด้อยคุณภาพทั้งในด้านการบริหารและการจัดการ โดยเฉพาะมาตรฐานคุณภาพที่เหมาะสม อาทิ มาตรฐานการเลี้ยงดูเด็ก มาตรฐานรับเล้ียงเด็ก มาตรฐานครูพ่ีเลี้ยง รวมทั้งยังไม่มีการกากบั ดแู ลคุณภาพมาตรฐานอย่างมีประสิทธภิ าพและต่อเนื่อง 1.2.2 เด็กอายุ 3 - 5 ปี ที่รับบริการจากสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปแบบศูนย์เด็กเล็ก พบว่ายังขาดคุณภาพในเรื่องวิธีการเรียนรู้ของเด็ก จิตวิทยา และพัฒนาการเด็ก เช่น ให้เด็กเรียนโดยท่องจาอย่างเดียว ไม่ส่งเสริมให้เด็กใช้ความคิดต้ังแต่เล็กๆ การให้เด็กนั่งอยู่กับท่ีทั้งวัน การเร่งสอนอ่าน เขียน คิดเลข การเรียนการสอนดาเนินการโดยขาดความเข้าใจปรัชญาพื้นฐานการเรียนรู้ของเด็ก กระบวนการผลิตครู พี่เลี้ยง และการเตรียมบุคลากรต้องเน้นการส่งเสริมให้บุคลากรมีคุณสมบัติที่เหมาะสม มีความรู้ความเข้าใจโดยเฉพาะด้านจิตวิทยาและพัฒนาการของเด็ก ปัจจุบันยังขาดการฝึกอบรมทั้งก่อนประจาการและระหว่างประจาการอย่างต่อเน่ืองและมีประสิทธิภาพน้อย รวมท้ังขาดการกากบั ดแู ลคุณภาพมาตรฐานศูนยเ์ ดก็ ปฐมวัยอย่างเปน็ ระบบ 1.2.3 เด็กอายุ 3 - 5 ปี ที่รับบริการจากสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปโรงเรียนอนุบาล ยังด้อยคุณภาพในเร่ืองการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ได้แก่ การเร่งสอนอ่าน เขียน คิดเลขเพื่อให้สามารถสอบเข้าช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ไม่ให้อิสระแก่เด็กในการแสดงออก ห้ามเด็กพดู การบังคับให้น่ังเงียบๆ ให้ทาการบ้านทุกวัน รวมทั้งขาดความเข้าใจเก่ียวกับวิธีการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนอกจากนี้นโยบายการผลิตครู รวมทั้งการจัดหาบุคลากรที่จาเป็นต่อการพัฒนาเดก็ ได้แก่ บุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ โดยเฉพาะด้านจิตวิทยาและพัฒนาของเด็ก ยังขาดกุมารแพทย์ จิตแพทย์นักจิตวิทยาเด็ก ครูด้านการศึกษาปฐมวัยท่ีจะช่วยให้บุคลากรท่ีเก่ียวข้องสามารถจะพัฒนาตนเองได้ตลอดเวลายงั มอี ยู่นอ้ ย เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 183 2. ปัญหาการพัฒนาเด็ก 2.1 ขาดความเข้าใจเร่ืองปรัชญาการพัฒนาเด็กปฐมวัย ปัจจุบันการเรียนการสอนเด็กปฐมวัยดาเนนิ การโดยปราศจากความเข้าใจในปรัชญาพน้ื ฐานท่ีมีต่อมนษุ ย์ โดยเฉพาะในช่วงปฐมวัยของชีวิต รวมทั้งขาดความรู้ความเข้าใจเร่ืองสิทธิเด็กและสิทธิมนุษยชนมีน้อยจึงทาให้ขาดความเข้าใจถึงความสาคัญของการคุ้มครองป้องกันให้เด็กทุกคนอยู่รอดปลอดภัย มีพัฒนาการและเจริญเติบโตตามวัยทกุ ด้าน 2.2 ขาดการวิจัย/ความรู้เชิงสังเคราะห์ที่จะเลือกต่อการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กมีการศึกษาวิจัยองค์ความรู้ใหม่ๆ องค์ความรู้เร่ืองพัฒนาการของเด็ก องค์ความรู้เรื่องการอบรมเลี้ยงดูเด็กอย่างเหมาะสม และทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการดแู ลเด็กปฐมวยั ในตา่ งประเทศมากมาย แต่การนาองค์ความรู้เหล่าน้ีมาศึกษาและนามาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการบริการและการศึกษาปฐมวัยในบริบทของประเทศไทยมีน้อย ขาดการกระตุ้นให้เกิดการวิจัยและพัฒนา รวมท้ังการผลิตแพทย์ที่จะนาสู่การส่งเสริมให้มีความเชียวชาญแกะผู้สอน และผู้วิจัยระดับอุดมศึกษาในอันท่ีจะนามาใช้ฝึกอบรมให้ได้ประโยชนใ์ นระยะยาว 2.3 ขาดวิธีการบรหิ ารจัดการที่มคี ุณภาพประสิทธิภาพ ผู้บริหารจัดการด้านการบริการและการศึกษาเด็กปฐมวัย ส่วนใหญ่ไม่ได้รับความรู้เฉพาะทางท่ีจะช่วยให้การบริการแก่เด็กปฐมวัยเปน็ ไปอยา่ งมีคุณภาพ รวมทัง้ การจัดหาและการใชท้ รัพยากรท่ีเหมาะสมกับเดก็ ตามวัย จัดทาฐานขอ้ มูลที่เป็นภาพรวมของการพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกดา้ น ตลอดจนการใชข้ อ้ มลู ทีม่ อี ยใู่ นการบริหารจัดการ 2.4 ขาดการบูรณาการท่ีมีประสทิ ธิภาพ การพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นองค์รวมต้องมีการบูรณาการของงานด้านต่างๆ ได้แก่ สุขภาพ การศึกษา การปกป้องคุ้มครอง ความม่ันคงทางสังคมสวัสดิการ โดยรวมประสานกับครอบครัว ชุมชน สังคมอย่างมีประสิทธิภาพ และจาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนให้ทันเหตุการณ์ มีบุคลากรอย่างพอเพียงกบั การประสานความรู้และทักษะในทกุ ระดับทั้งในระดบั ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดบั นานาชาติ 2.5 ขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงานจัดบริการ/พัฒนา หน่วยงานที่ดาเนินการเก่ียวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย 0-5 ปี และการให้ความรู้พ่อแม่ ผู้ปกครอง เก่ียวกับการอบรมเลี้ยงดูลูกท้ังภาครัฐและเอกชนมีไม่น้อยกว่า 8 กระทรวง 35 หน่วยงาน แต่ก็ยังไม่สามารถจัดบริการเสริมกาลังครอบครัว เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยได้ครอบคลุมทั่วถึง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ถ้าการประสานงานและไม่มีเอกภาพของนโยบาย ตลอดจนทิศทางในการจัดการศกึ ษา 2.6 ขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน ประชาชน ประชาชนและชุมชนต้องมีส่วนร่วมและใส่ใจในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มากข้ึน เพ่ือให้พลังชุมชนและท้องถ่ินเป็นขุมกาลังท่ีช่วยดูแลเด็กได้อย่างตอ่ เนือ่ งและมีคณุ ภาพ 2.7 ขาดการถอนแผนระยะสั้นและระยะยาวไปสู่การปฏิบัติ ประเทศไทยมีนโยบายและแผนการพัฒนาเด็กเป็นเวลากว่า 20 ปี แต่ไม่ได้กาหนดผู้รับผิดชอบโดยตรงของการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ ขาดกลไกในการดาเนินงานทั้งในระดับชาติ และระดับท้องถ่ิน นอกจากน้ียังไม่มีการติดตามและประเมนิ ผลให้สามารถดาเนินการใหเ้ ป็นไปตามนโยบายและแผนต่างๆ 2.8 ขาดการระดมทรัพยากรทุกภาคส่วนของสังคมโดยเฉพาะภาครัฐยังไม่ได้ลงทุนเพื่อการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ให้ชัดเจนเหมาะสมและต่อเนอื่ ง เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 184 สริ มิ า ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) กลา่ วว่า ปญั หาของการจดั การศึกษาปฐมวัย มีดังนี้ 1. การขาดคุณภาพ ผลการประเมินการจัดบริการพัฒนาเด็ก 3 - 5 ปี พบว่า ด้อยคณุ ภาพท้ังในด้านการบริหารและจัดการ ขาดคุณภาพในเรื่องวิธีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น การเรียนรู้โดยการให้เด็กท่องจาอย่างเดยี ว ไม่ส่งเสรมิ ให้เด็กใช้ความคดิ ตั้งแต่เล็กๆ การใหเ้ ดก็ นัง่ อยู่กบั ท่ีทั้งวัน การจัดหลกั สูตรตายตัว การเร่งสอนอ่าน เขียน คิดเลข เพ่ือให้สอบเข้าช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ได้ ไม่ให้อิสระในการแสดงออก หา้ มเด็กพูด ให้นงั่ เงยี บๆ บังคับให้ทาการบ้านทุกวัน ความเข้าใจผดิ เกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้ทีย่ ึดผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 2. ขาดการให้ความรู้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครองอย่างทั่วถึง พ่อแม่ไม่มีโอกาสเรียนรู้ วิธีการเป็นพ่อแม่ที่ดี และวิธีรกั ลูกในทางท่ีถูกที่ควร พ่อแมจ่ านวนหนึ่งยงั มีความเข้าใจผิดในเร่ืองการเล้ียงดูลูกเช่น ให้ความรักด้วยวิธีการให้ส่ิงของเป็นรางวัล ตีเด็กทุกคร้ังที่ทาผิด ขู่เด็กว่าจะไม่รัก ถ้าไม่เชื่อฟัง เด็กไม่มสี ทิ ธพ์ิ ดู เวลารับประทานอาหาร ใหเ้ ด็กกลวั ในตวั บคุ คลทผ่ี ดิ ผิดเชน่ หมอ ตารวจ 3. ขาดการฝึกอบรมบุคลากรที่เก่ียวข้อง กระบวนการผลิตครูและการเตรียมบุคลากรเช่น ผดู้ แู ลเดก็ ทจ่ี าเป็นทางานกบั เด็กปฐมวัยจะต้องเนน้ การเสริมสรา้ งใหบ้ คุ ลากรมีคุณสมบัติที่เหมาะสมมีความรู้ความเข้าใจ โดยเฉพาะด้านจิตวิทยาเด็ก ปัจจุบันยังขาดการฝึกอบรมท้ังก่อนประจาการและระหว่างประจาการอยา่ งเป็นระบบ ควรจดั ฝึกอบรมได้ทัง้ ในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน และตามอัธยาศัย ในสถานที่ๆ บคุ คลนน้ั จะเข้าทางาน 4. ขาดการกาหนดมาตรฐานการจัดบริการสาหรับเด็กปฐมวยั ท่ีมีอายุต่ากวา่ 3 ปี และบรกิ ารสาหรับเด็กอายุ 3-5 ปี ไมม่ ีการกากับดแู ลคุณภาพมาตรฐานอย่างต่อเนอื่ ง รวมทง้ั ไมม่ กี ารกาหนดมาตรฐานคณุ ภาพทเ่ี หมาะสม เช่น ขาดการกาหนดตัวบ่งช้คี ณุ ภาพ ขาดระบบให้การรับรองคุณภาพ พัชรา เอี่ยมกิจการ (2557) กล่าวว่า ข้อมูลจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ในปีพ.ศ. 2555 ได้สารวจจานวนเด็กปฐมวัยที่มีอายุ 0 - 5 ปี มีจานวน 4,585,759 คน ซ่ึงแบ่งตามการดูแลและการจดั การศึกษา สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 กลมุ่ คือ กลุ่มเด็กอายุ 0 -1 ปี จานวน 1,509,017 คน และกลุ่มเด็กอายุ 2-5 ปี จานวน 3,076,742 คน พบประเด็นท่ีน่าสนใจดังนี้ 1. การดูแลเด็กปฐมวัยในช่วงอายุ 0 - 1 ปี ท่ีได้รับการดูแลเบื้องต้นจากครอบครัวยังขาดการส่งเสริมและดูแลอย่างเป็นระบบ เนื่องจากครอบครัวสว่ นใหญ่ยงั ขาดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการดแู ลเดก็ ปฐมวยั อย่างเหมาะสมตามพฒั นาการ 2. การเข้าไม่ถึงโอกาสทางการศึกษา โดยมีเด็กอายุ 2 - 5 ปี จานวน 365,506 คน หรือร้อยละ 12 ของเด็กในช่วง 2 - 5 ปี ยังไมไ่ ด้เรียนหนังสอื 3. ขาดการดูแลท่ีดีและมีคุณภาพ โดยมีเด็กอายุ 2 - 5 ปี จานวน 911,111 คน หรือร้อยละ 30 ของเด็กในช่วงอายุ 2 - 5 ปี อยู่ในการดูแลของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กท่ีไม่ได้มาตรฐาน หรือมีมาตรฐานในระดบั ขั้นต่า 4. ความหลากหลายในการพัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก เน่ืองจากในปัจจุบันมีหลายหน่วยงานท่ีเข้ามาดูแลศูนย์เด็กเล็ก เช่น กรมอนามัย กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงแต่ละหน่วยงานต่างดาเนินงานตามแผนงานของแต่ละหน่วยงาน ทาให้ไม่มีมาตรฐานกลางในการดูแลและการให้การศึกษาแกเ่ ดก็ ปฐมวยั เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 185 สรุปได้ว่า ปัญหาของการจัดการศึกษาปฐมวัยเกิดจากการเล้ียงดู ท้ังการเลี้ยงดูโดยครอบครัวและการเลีย้ งดูโดยสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยในรูปแบบสถานรับเล้ยี งเด็ก ศูนย์เดก็ เลก็ โรงเรียนอนบุ าล ซ่ึงส่วนใหญ่ยังด้อยคุณภาพ สาหรับการพัฒนาเด็ก ส่วนใหญ่ขาดความเข้าใจเรื่องปรัชญาการพัฒนาเด็กปฐมวัย ขาดการให้ความรแู้ ก่ พ่อแม่ ผู้ปกครองอย่างทวั่ ถึง ขาดวิธีการบริหารจดั การและการบูรณาการทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงานจดั บรกิ าร/พัฒนา ขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนขาดการถอนแผนระยะสนั้ และระยะยาวไปสู่การปฏิบตั ิ และขาดการระดมทรพั ยากรทุกภาคสว่ นของสังคม3. แนวโนม้ กำรจดั กำรศกึ ษำปฐมวยั ในประเทศไทย จากการศกึ ษาสภาพปัจจุบันและปญั หาของการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ในประเทศไทย พบว่า ทั้งภาครัฐและเอกชนก็ได้มีความเคลื่อนไหวในการดาเนินงานเก่ียวกับการจัดการศึกษาปฐมวัยเพิ่มมากขึ้นเป็นระยะ ซึ่งในทศวรรษหน้าแนวโน้มของการจัดการศึกษาปฐมวัยน่าจะได้รับการเอาใจใส่เพ่ิมและมีรูปแบบท่ีพฒั นาเพ่มิ มากขนึ้ นภเนตร ธรรมบวร (2549) กล่าวว่า จากสภาพความต้องการของเด็กไทย รวมตลอดถึงปัญหาต่างๆ ที่เก่ยี วข้องกับตัวเด็ก อาทิ คุณภาพและมาตรฐานของสถานรับเล้ียงเด็กการอบรมเล้ียงดูเด็ก และการพัฒนาเด็ก เป็นต้น สามารถนามาใช้เป็นข้อมูลในการกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กไทยในอนาคตได้โดยมุ่งสนองความต้องการพื้นฐานของเด็ก และการพัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพอย่างเป็นระบบรวมตลอดถึงการกาหนดสภาพแวดล้อมการเรยี นรูท้ ีพ่ ่ึงปรารถนาในอนาคตได้ดังต่อไปนี้ 1. การจัดการศึกษาปฐมวัยในอนาคตควรมีการขยายการจัดบริการเพ่ือให้เด็กทุกคนมีโอกาสได้รบั บริการอย่างทัว่ ถึง แต่ทง้ั นีไ้ ม่ไดห้ มายความว่า เด็กกอ่ นวยั เรียนทกุ คนต้องเขา้ รับการศึกษาในระบบแตร่ ัฐจาเปน็ ตอ้ งควบคมุ และติดตามประเมินผลได้ว่า เด็กกอ่ นวัยเรยี นทกุ คนได้รับการเตรยี มความพรอ้ มทางด้านร่างกาย สงั คม อารมณ์ และสติปัญญาอย่างเหมาะสม ทั้งนี้เพราะเด็กในวัยแรกเกิดถึง 6 ขวบมีพัฒนาการทร่ี วดเร็วในทกุ ๆ ดา้ น 2. พัฒนาสุขภาพและสมองของเด็ก การปฏิรูปการศึกษาตั้งแต่เด็กอยู่ในครรภ์โดยการให้ความร้แู ก่ผู้ใหญ่โดยเฉพาะคู่สมรสและคนหนุ่มสาวในเรื่องการวางแผนครอบครัว สขุ ภาพอนามยั แม่และเด็ก การกระตุ้นเซลล์สมอง โภชนาการ พัฒนาการทางสมองของเด็ก การกระตุ้นสมอง และการเรียนรู้รวมตลอดถึงการวางรากฐานพัฒนาการของชีวิต ท้ังน้ีเพราะช่วง 3 ปีแรกของชีวิตเป็นช่วงที่สาคัญมากกล่าวคือ เป็นช่วงที่เด็กเริ่มพัฒนาบุคลิกภาพของตนเอง นอกจากนั้น รัฐจาเป็นต้องแก้ปัญหาเด็กในชมุ ชนแออัดและชนบท ปัญหาการขาดสารอาหารในเดก็ ส่งเสรมิ ให้แม่เลย้ี งลกู ด้วยนมตนเอง รวมตลอดทง้ั ให้เดก็ ทุกวยั บรโิ ภคนมและอาหารท่มี คี ณุ คา่ ต่อสมองและรา่ งกาย 3. ให้ความสาคัญกับคุณภาพของครู และพ่ีเลี้ยงเด็กท่ีมีความรู้ความเข้าใจ และความต้ังใจในการปฏิบตั ิหน้าทเ่ี พื่อฝึกฝนใหเ้ ด็กมีพฒั นาการท่ดี ีท้ังทางร่างกายและจติ ใจ 4. ส่งเสริมให้มกี ารทาวิจัยในช้ันเรียนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอเก่ยี วกับการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและวิธกี ารสอนทีเ่ หมาะสมสาหรับเด็ก 5. ส่งเสรมิ ให้ชุมชนมสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษาในรปู ของการจดั ตั้งคณะกรรมการโรงเรียนที่มผี ู้ปกครองและสมาชิกชุมชนร่วมเป็นกรรมการด้วย ทงั้ น้ีเพ่ือเป็นเครื่องมอื ในการประสานความร่วมมือระหว่างชุมชนและโรงเรียนในการพัฒนาเด็ก การเผยแพร่ความรู้แก่ครอบครัว ให้การสนับสนุนทางด้าน เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 186ทรัพยากร เป็นแหล่งความรู้ที่หลากหลาย ตลอดจนการป้องกัน และแก้ไขปัญหาเด็กในเรื่องต่างๆรวมท้ังเป็นกลไกในการนาความต้องการจากครอบครัวและชุมชนไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนอยา่ งต่อเน่อื ง 6. รัฐควรมีมาตรการในการให้ความช่วยเหลือแก่แม่ที่มีปัญหาพิเศษบางกลุ่ม เช่น แม่วัยรุ่นแมใ่ นเรอื นจา เป็นต้น นอกจากนั้นควรมกี ารกาหนดบทลงโทษสาหรบั พ่อแม่ท่ีทอดท้ิงลูก ทารณุ ลูก หรือขายแรงงานลูกทั้งน้เี พอื่ ลดอตั ราการกระทาผิดในลกั ษณะนข้ี องพอ่ แม่ 7. รัฐควรมีมาตรการคุ้มครองเด็กที่มีปัญหา อาทิ เด็กถูกทารุณกรรม โดยจัดหาองค์กร กลุ่มบคุ คล หรอื ครอบครวั ทมี่ ีความพรอ้ มในการให้ความอนุเคราะห์ เป็นท่ีพักพิงช่ัวคราว 8. ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้จากระบบสื่อสารให้มากขึ้น โดยพัฒนาเด็กให้เป็นผู้ที่สนใจใฝ่รู้ มีโลกทัศน์ท่ีเปิดกว้าง สนใจในความเป็นไปของเหตุการณ์ต่างๆ รอบตัว เข้าร่วมกิจกรรมท่ีทาประโยชน์เพ่ือส่วนรวม และสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ขณะเดียวกันเด็กก็จาเป็นต้องได้รับการฝึกให้เป็นผู้มีวิจารณญาณ สามารถแยกแยะความถูกผิด ความจริง ความเท็จ ความเหมาะสมและไม่เหมาะสมได้ตามเหตุตามผล ไม่หวั่นไหวไปตามแรงโหมโฆษณาเพื่อประโยชน์ส่วนตัวของสือ่ มวลชน 9. ปัจจุบันความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวไทยในเปล่ียนแปลงไปจากในอดีต กล่าวคือความผูกพันในครอบครวั ลดน้อยลง และคนแกก่ ็ถกู ทอดทิง้ มากข้ึน โดยพ่อแม่หรือคนหนุ่มสาวจะอพยพเพ่ือมาหางานทาในเมืองโดยท้ิงเด็กให้อยู่กับคนแก่ท่ีบ้าน หรือส่งเด็กไปฝากเลี้ยงในสถานรับเลี้ยงเด็กหรือโรงเรียนต้ังแต่อายุยังน้อยมากข้ึน ด้วยเหตุน้ีการพัฒนาเด็กไทยในอนาคตความมุ่งพัฒนาจิตสานึกของพ่อแม่ในการเลี้ยงดูลูกให้มากข้ึน พ่อแม่ควรจะได้เรียนรู้วิธีการใช้เวลาอยู่กับลูกอย่างมีคุณภาพรวมถงึ การใหก้ ารศกึ ษาแก่ผู้สูงอายุในการเลี้ยงดูเด็ก สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) กล่าวว่า ในการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัย ควรดาเนินการภายใต้ข้อตกลงเบื้องต้น หมายถึงการทาความเข้าใจในทิศทางท่ีตรงกันร่วมกัน ทิศทางการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวยั มีดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ทิศทางการจัดการศึกษาเดก็ ปฐมวยั มีดงั น้ี เด็กปฐมวัยโดยธรรมชาติแล้วมีความอยากรู้ อยากเห็น มีความสามารถในการเรยี นรู้ มีความกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ การจัดประสบการณ์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมที่สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ เดก็ กระตนุ้ ให้เดก็ เกดิ การเรียนรู้ เปน็ คนเกง่ คนดี และมคี วามรู้ ความสุข สามารถริเริม่ และสามารถกากบั การเรียนรู้ของตนเองได้ สามารถสรา้ งสรรคค์ วามรู้ขึ้นได้จากการมปี ฏิสัมพันธก์ ับบุคคลอ่ืน และได้รับส่ือวัสดุอุปกรณ์ที่มีความหมายในสถานการณ์ท่ีเป็นจริง มีพัฒนาการด้านสติปัญญาร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ และสงั คมในระดบั และอัตราที่ตา่ งกัน เด็กควรไดร้ ับการพัฒนาพรอ้ มกันโดยรวมกนั ทกุ ดา้ นในชว่ ง 8 ปีแรก ซึ่งเป็นวยั พฒั นาที่สาคญั 2. ทศิ ทางการเรียนรู้ มดี งั น้ี กระบวนการเรียนรู้เริ่มจากรูปธรรมไปสู่นามธรรม โดยอาศัยการเสาะแสวงหา และค้นหาคาตอบการจัดสภาพแวดล้อมหลากหลายท่ีกระตุ้นการเรียนรู้ การจัดสภาพสังคมท่ีกระตุ้นให้ปฏิสัมพันธก์ ับผเู้ รยี น ผู้มีประสบการณ์จดั กิจกรรมขน้ั ตอนการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสม เม่ือเกิดการเรียนรูแ้ ล้วย่อมเข้าฝังลึกภายในจิตใจ มีความหลากหลายทางสติปัญญาที่แตกต่างกันในการเรียนรู้ เช่น เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 187ด้านภาษา คณิตศาสตร์ มิติสัมพันธ์ กล้ามเน้ือ การเคลื่อนไหวทางร่างกาย การเข้าใจผู้อื่น การเข้าใจตนเองและอ่ืนๆ การเรียนรูท้ ้งั หมดเป็นพื้นฐานสังคมมาจากพ้นื ฐานของเดก็ ช่วงปฐมวยั 3. ทิศทางความรู้ มดี งั นี้ ความรู้มีรากฐานมาจากความสามารถทางภาษา ความเชื่อและวัฒนธรรม ประเพณีท่ีต่างกัน ความรมู้ ีหลากหลายสาขาวชิ า ท้งั ผลงานการผลิตและทักษะ วิธีการมีความสาคัญต่อการไดม้ าซ่ึงความรู้ ความร้ทู ีผ่ ่านกระบวนการแกป้ ญั หาจะช่วยให้ความรคู้ วามยง่ั ยืนกว่าการจดจา 4. ทศิ ทางการเรียนการสอน มีดังนี้ 4.1 ครผู สู้ อน จะต้องได้รับการฝกึ อบรมทักษะการสอนเป็นพเิ ศษ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในการสอนเด็กปฐมวยั 4.2 การเรียนการสอน ต้องเป็นการสอนท่ีเน้นตอบสนองผู้เรียนเป็นสาคัญมากกว่าเน้นทักษะการท่องจาเน้ือหาสาระตามหลักสูตร เน้นการส่งเสริมบุคคลและเป็นกลุ่มเล็ก ครอบคลุมและตอบสนองต่อการค้นคว้าวิจัยที่เกิดข้ึนใหม่และความรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับการเจริญงอกงาม พัฒนาการและการเรียนรู้ของผู้เรียน ครอบคลุมและตอบสนองต่อขอบข่ายการเรียนรู้ท่ีขยายมากขึ้นอย่างไม่จบสิ้นในทุกสาขาวิชา ต้องยอมรับความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรมและลีลาการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกันของผู้เรียนการเรียนการสอนจะตอ้ งดาเนนิ ควบคู่ไปกับการประเมินอย่างตอ่ เนือ่ งกันไปด้วยกันและกลมกลนื เปน็ ส่งิ เดียว 5. ทิศทางการประเมนิ การเรียน มดี งั น้ี การประเมินด้วยการเปรียบเทียบผลงานระหว่างกันในกลุ่มทั้งหมดเป็นส่ิงที่เกือบไม่มีคณุ คา่ ใดๆ การประเมนิ การเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ มใิ ช่การสะทอ้ นปริมาณความรู้ทม่ี อี ยแู่ ต่เป็นการสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับส่ิงแวดล้อม และความสามารถที่เกิดขึ้น แต่เป็นการประเมินสภาพที่มีรากฐานของการสร้างหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ในการให้ข้อมูลทางด้านพัฒนาการ ความคิดและจิตวิทยา เป็นการประเมินสภาพจริงท่ีให้ข้อมูลสารสนเทศที่เที่ยงตรงเก่ียวกับผู้เรียนรวมทั้งกระบวนการเรียนรู้ต้องพิจารณาถึงสตปิ ัญญาที่แตกต่างกัน ลีลาการเรยี นรู้ท่ีแตกต่างกัน และสภาพการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน และสะท้อนความเข้าใจได้ถูกต้องท่ีสุดจากความแตกต่างของมนุษย์ การประเมินตามสภาพจริงมีรากฐานจากความรู้ด้านการเจริญงอกงาม และพัฒนาการของผู้เรียนที่สามารถทานายการปฏิบัติในอนาคตได้เท่ียงตรง รูปแบบการประเมินเชิงคุณภาพสามารถให้ข้อมูลเก่ียวกับผู้เรียนได้อย่างปรนัยและเช่ือถือได้ การประเมินที่เหมาะสมกับพัฒนาการได้มาจากการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างเหมาะสมกับพัฒนาการ และในทางกลับกันหลักสูตรมีความเหมาะสมกับการพัฒนาการของผ้เู รียนได้มาจากการประเมนิ ทเ่ี หมาะสมกับพฒั นาการ การประเมินการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสาคญั เป็นการประเมินตามสภาพจริง ท่ีต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนและครูผู้สอนสะท้อนความคิดเห็นต่อเป้าหมายและแนวทางสู่ความสาเ ร็จได้แนวคิดหลักการ และทิศทางในการจัดการเรียนการสอนของระดับปฐมวัย ซึ่งเมื่อมองภาพการจัดการศึกษาในระดับน้โี ดยรวมแล้วมุ่งเนน้ พัฒนาเดก็ โดยส่วนรวมทุกด้านคอื รา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา สรุปได้ว่า แนวโน้มการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยมีแนวโน้มการจัดการเรียนเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีลักษณะดังน้ี มุ่งเสริมสร้าง/สนับสนุนเกี่ยวกับวุฒิภาวะพัฒนาการและการเรียน มุ่งเน้นการพัฒนาท่ีเกิดขึ้นอย่างเด่นชัด มุ่งให้ความสาคัญกับจุดเด่นของผู้เรียน มุ่งเน้นผลจากการวัด และประเมินผลหลักสูตรการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สถานการณ์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงมุ่งอาศัยการปฏิบัติ สอดคล้อง กลมกลืนกับการเรียนการสอน มุ่งเน้นการเรยี นรู้อย่างมีจดุ หมาย มุง่ ดาเนิน เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 188ควบคไู่ ปกับทุกสภาพแวดล้อม สามารถให้ภาพเรอ่ื งราวการเรยี นรู้ และความสามารถของผเู้ รียนท่ัวๆ ไปมุ่งอาศัยความร่วมมือกันระหว่างผู้ปกครอง ครูและนักเรียน รวมทั้งบุคคลในวิชาชีพอื่นๆ ตามความจาเปน็บทสรุป การจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยเป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นเด็กเป็นสาคัญโดยให้เด็กแต่ละคนได้รับการส่งเสริม เกิดการพัฒนา และเรียนรู้ก้าวหน้าอย่างสูงสุดเท่าที่เด็กทาได้ ครูผู้สอนผู้บริหาร ผู้ปกครอง ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องต้องสร้างแนวคิดพ้ืนฐานการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยโดยรู้ทนั ความเคลือ่ นไหวในมิติใหม่แห่งการปฏิรูปการศกึ ษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ท่ีมุ่งเน้นรูปแบบการเรียนรู้ของเด็กเป็นสาคัญ การจัดการศึกษาและสิ่งแวดล้อมสาหรับเด็กปฐมวัยจึงไม่ควรเป็นรูปแบบมาตรฐานเดียวกันทุกคน แต่ควรเป็นไปตามหลักการจัดที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั เน้นการพัฒนาการและธรรมชาติ สนบั สนุนศักยภาพและพัฒนาการของผู้เรียนทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา สอดคล้องตามแนวการจัดการศึกษาปฐมวัย เด็กปฐมวัยในปัจจุบันยังประสบปัญหาท่ีเกิดจากผลกระทบด้านการพัฒนาเด็กจากสถาบันครอบครัวและสังคม ความไม่รู้บทบาทหน้าท่ีของพ่อแม่ ความยากจน ความไม่รู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับวิธีการอบรมเลี้ยงดูเด็กตลอดจนการแสดงแบบอย่างท่ีไม่ดีมีผลต่อการพัฒนาเด็กทั้งทางด้านสติปัญญาอารมณ์ สังคม และจิตใจของเด็กโดยตรง ซ่ึงส่งผลทาให้เด็กไทยเจริญเติบโตยังไม่ได้มาตรฐานเท่าที่ควรในเร่ืองความแข็งแรงสมบูรณ์ท้ังทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญาของเด็กในฐานะที่จะเป็นพลเมืองท่ีจะเตบิ โตเปน็ ผ้ใู หญ่ในอนาคตของสังคมไทยในภายภาคหนา้ ต่อไป การศึกษาถึงสภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวโน้มของการจัดการศึกษาปฐมวัยจะช่วยให้ผบู้ ริหาร ศึกษานิเทศก์ ครู พ่อแม่ ผู้ปกครองและผู้ที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวยั มีความรูค้ วามเขา้ ใจและสามารถวเิ คราะห์สภาพทเ่ี ป็นอยขู่ องการของการจดั การศึกษาสาหรับเด็กปฐมวยั ได้ เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 189 ใบงำนที่ 1 หน่วยที่ 8 สภำพปจั จบุ ัน ปญั หำ และแนวโนม้ ของกำรจัดกำรศกึ ษำปฐมวยั ในประเทศไทยคำช้แี จง : 1. ให้นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มออกเปน็ 5 กลมุ่ (กลมุ่ ละ5 - 6 คน) โดยกาหนดบทบาทและหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบของสมาชกิ ในกลุ่มให้ชดั เจน 2. มอบหมายงานให้นกั ศึกษาแตล่ ะกลุ่มศึกษาเน้ือหาจากเอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ าศษ 0103 รายวิชาการศกึ ษาปฐมวยั หนว่ ยที่ 8 สภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวโน้มของการจัดการศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทย แล้วรว่ มกันสรุปเนือ้ หาในรูปของ Mind Mapping พรอ้ มกับนาเสนอผลงานหนา้ชนั้ เรียนในมปี ระเดน็ ดงั น้ี ใหน้ ักศึกษาแต่ละกลมุ่ สรุปสภาพปัจจุบันของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในประเทศไทย ********************************************************* เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 190 ใบงำนท่ี 2 หน่วยที่ 8 สภำพปัจจบุ ัน ปัญหำ และแนวโน้มของกำรจัดกำรศกึ ษำปฐมวยั ในประเทศไทยคำชแ้ี จง : 1. ให้นักศึกษาแบง่ กลุ่มออกเปน็ 5 กลุ่ม (กล่มุ ละ5 - 6 คน) โดยกาหนดบทบาทและหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบของสมาชกิ ในกลุม่ ใหช้ ัดเจน 2. มอบหมายงานให้นักศกึ ษาแตล่ ะกล่มุ ศกึ ษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน รหัสวิชาศษ 0103 รายวิชาการศกึ ษาปฐมวัย หนว่ ยที่ 8 สภาพปจั จุบัน ปัญหา และแนวโน้มของการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย แลว้ ร่วมกนั สรปุ เนอ้ื หาในรปู ของ Mind Mapping พร้อมกับนาเสนอผลงานหนา้ชั้นเรียนในมปี ระเด็น ดงั น้ี ให้นกั ศึกษาแต่ละกล่มุ วิเคราะหป์ ัญหาของการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย ********************************************************* เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 191 ใบงำนท่ี 3 หน่วยท่ี 8 สภำพปัจจบุ ัน ปญั หำ และแนวโน้มของกำรจัดกำรศกึ ษำปฐมวยั ในประเทศไทยคำชแ้ี จง : 1. ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ 5 กลมุ่ (กลมุ่ ละ5 - 6 คน) โดยกาหนดบทบาทและหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบของสมาชิกในกลมุ่ ใหช้ ดั เจน 2. มอบหมายงานให้นกั ศึกษาแต่ละกลุ่มศึกษาเน้ือหาจากเอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ าศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั หน่วยที่ 8 สภาพปจั จุบัน ปัญหา และแนวโน้มของการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย แล้วรว่ มกันสรุปเนอื้ หาในรปู ของ Mind Mapping พร้อมกับนาเสนอผลงานหนา้ชั้นเรยี นในมปี ระเดน็ ดังนี้  ให้นกั ศึกษาแตล่ ะกลมุ่ แสดงความคดิ เห็นวา่ แนวโน้มการจดั การศกึ ษาปฐมวัยของไทยจะเป็นอยา่ งไร ********************************************************* เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล