Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย

เอกสารประกอบการสอน ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย

Description: ความหมาย ความสำคัญ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีและจุดมุ่งหมายของการศึกษาปฐมวัย องค์ประกอบและรูปแบบของการศึกษาปฐมวัย วิวัฒนาการของการศึกษาปฐมวัย นโยบาย กฎหมาย ข้อบังคับของการศึกษาปฐมวัยไทย สภาพปัจจุบันและแนวโน้มของการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย ฝึกปฏิบัติศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะการจัดการศึกษาปฐมวัยในท้องถิ่นตามหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษาปฐมวัย

Keywords: การศึกษาปฐมวัย

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยัหลกั สตู รอนปุ ริญญาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ.2556) เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล ตาแหน่ง ครู อนั ดบั คศ.2 วทิ ยาฐานะชานาญการ วิทยาลยั ชุมชนปัตตานี สถาบันวิทยาลัยชุมชน สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | ก คำนำ เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรอนุปริญญาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2556) วิทยาลัยชุมชนปัตตานี สถาบันวิทยาลัยชุมชน สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงเป็นผลงานทางวชิ าการที่ผู้เรยี บเรยี งจัดทาขึ้นโดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อใช้เป็นเครอ่ื งมือสาคัญของครผู ู้สอนและนกั ศึกษาสาหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนของนักศึกษาหลักสูตรอนุปริญญาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย วิทยาลัยชุมชนปัตตานี ที่มุ่งเน้นให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ในเน้ือหารายวิชาและตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการเรียนการสอนในรายวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั เอกสารประกอบการสอน เลม่ น้ไี ดแ้ บ่งเน้ือหาสาระออกเป็น 8 หนว่ ย ได้แก่ หน่วยที่ 1 ความรูเ้ บอ้ื งต้นเกีย่ วกับการศกึ ษาปฐมวัย หน่วยที่ 2 ปรชั ญาทางการศกึ ษาและทฤษฎีที่เก่ียวขอ้ งกับพฒั นาการของเด็กปฐมวยั หนว่ ยท่ี 3 แนวคดิ ทฤษฎขี องนกั การศกึ ษาที่มีอทิ ธพิ ลต่อการศึกษาปฐมวัย หนว่ ยที่ 4 ววิ ฒั นาการของการศกึ ษาปฐมวัยในต่างประเทศ หน่วยท่ี 5 ววิ ัฒนาการของการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศไทย หนว่ ยที่ 6 รูปแบบของการจัดการศกึ ษาปฐมวยั หนว่ ยที่ 7 นโยบาย กฎหมาย ขอ้ บงั คับในการจดั การศึกษาปฐมวยั หนว่ ยท่ี 8 สภาพปจั จุบัน ปญั หา และแนวโน้มของการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย ซึ่งในแต่ละหน่วย ประกอบด้วย สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ บทนาเน้ือหา บทสรุป ใบงาน แบบฝึกหัดหลังเรยี น แบบทดสอบหลังเรียน และบรรณานุกรม โดยไดจ้ ัดลาดับเนื้อหา ประสบการณ์เรียนรู้ในแต่ละหน่วยอย่างเป็นระบบ เน้นการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ได้ผ่านการตรวจสอบและประเมินผลจากผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่านได้แก่ ดร.อุไรวรรณ ชินพงษ์ ดร.ชัยวิวัฒน์ วงศ์สวัสด์ิ นางณัฐรุจา พลานิวัติ นายมุตตอเหล็บโตะ๊ มสุ อ และนางจริยา นาวาทอง จนทาให้เนื้อหามคี วามถกู ตอ้ งและสมบูรณม์ ากขึ้น สุดท้ายนี้ ผู้เรียบเรียงขอขอบพระคุณผู้เช่ียวชาญ ผู้บริหาร และเพื่อนครูทุกท่านที่กรุณาให้คาปรึกษา ช้ีแนะแนวทางในการจัดทาเอกสารประกอบการสอน ตลอดจนเจ้าของตารา หนังสือ และเอกสารต่างๆ ที่ได้นามาอ้างอิง หวังเปน็ อย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการสอน เล่มน้ี จะอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอน และเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน นักศึกษา และผู้สนใจในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากมีข้อบกพร่องประการใด ผู้เรียบเรียงขอน้อมรับไว้ และจะนาไปพฒั นาปรับปรุงให้มีความสมบรู ณม์ ากยง่ิ ขึน้ ตอ่ ไป นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล ครู อันดับ คศ. 2 วิทยฐานะ ชานาญการ วิทยาลัยชุมชนปตั ตานี เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | ขสำรบญัคานา ……………………………………………………………………………………………………………………………. หน้าสารบัญ …………………………………………………………………………………………………………………………. กขอ้ แนะนาในการใชเ้ อกสารประกอบการสอน …………………………………………………………………… ขรายละเอียดของรายวิชา รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย ...................................... 1หน่วยท่ี 1 หนว่ ยที่ 1 ควำมรูเ้ บื้องตน้ เก่ียวกบั กำรศกึ ษำปฐมวัย ……………………………..…… 2 3 สาระการเรียนรู้ ....................................................................................................... 3 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................. 3 สาระการเรียนรู้ ....................................................................................................... 3 บทนา ...................................................................................................................... 4 1. ความหมายของเดก็ ปฐมวยั ………………………………………………………………………. 4 2. ความสาคัญของเดก็ ปฐมวัย ................................................................................ 5 3. ความหมายของการศึกษาปฐมวยั ....................................................................... 6 4. ความสาคัญของการศกึ ษาปฐมวัย ……………………………………………………………… 7 5. หลกั การจดั การศึกษาปฐมวยั .............................................................................. 10 6. องคป์ ระกอบของการศกึ ษาปฐมวยั …………………………………………………………… 13 7. จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษาปฐมวยั ……………………………………………………………… 15 บทสรุป ……………………………………………………………………………………………………… 16 ใบงาน ..................................................................................................................... 17 แบบฝกึ หัดหลงั เรยี น ................................................................................................ 18 แบบทดสอบหลงั เรียน …………………………………………………………………………………. 20 บรรณานุกรม ........................................................................................................... 22หน่วยท่ี 2 ปรัชญำทำงกำรศึกษำและทฤษฎีที่เก่ยี วขอ้ งกบั พฒั นำกำรของเดก็ ปฐมวัย ....... 23 สาระการเรียนรู้ ....................................................................................................... 23 จุดประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................. 23 สาระการเรียนรู้ ....................................................................................................... 23 บทนา ...................................................................................................................... 24 1. ปรัชญาทางการศกึ ษา ......................................................................................... 24 24 1.1 ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม (Essentialism) ........................................ 25 1.2 ปรชั ญาการศกึ ษานริ ันตรนิยม (Perennialism) ………………………………… 26 1.3 ปรชั ญาการศึกษาพิพัฒนาการนยิ ม (Progessivism) …………………………. 27 1.4 ปรชั ญาการศกึ ษาปฏิรปู นิยม (Reconstructionism) ………………………… 27 1.5 ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism) …………………………….. เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | คสำรบญั (ตอ่ ) 2. ทฤษฏีทเ่ี กย่ี วข้องกับพฒั นาการของเด็กปฐมวยั ………………………………………….. หน้า 2.1 ทฤษฎีพฒั นาการทางร่างกายของกเี ซล ……………………………………………. 28 2.2 ทฤษฎพี ฒั นาการทางบุคลิกภาพของซิกมนั ต์ ฟรอยด์ ………………………… 28 2.3 ทฤษฎพี ฒั นาการทางบคุ ลกิ ภาพของอิริคสนั …………………………………….. 29 2.4 ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรเู นอร์ .................................................................. 30 2.5 ทฤษฎีการเรยี นรู้ทางสังคมของ อลั เบิร์ต แบนดรู า ……………………………. 32 2.6 ทฤษฎพี ฒั นาการทางจริยธรรมของ ลอเรนส์ โคลเบอร์ก ……………………. 33 2.7 ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปัญญาของ จนี เพียเจต์ ………………………………. 34 2.8 ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปญั ญาของ โฮเวิร์ด การด์ เนอร์ …………………….. 35 37 บทสรุป ……………………………………………………………………………………………………… 38 ใบงานที่ 1 ............................................................................................................... 40 ใบงานท่ี 2 ............................................................................................................... 41 แบบฝกึ หดั หลังเรียนที่ 1 ......................................................................................... 42 แบบฝกึ หัดหลงั เรยี นที่ 2 ………………………………………………………………………………. 45 แบบทดสอบหลังเรยี น ............................................................................................. 48 บรรณานกุ รม ........................................................................................................... 50หน่วยที่ 3 แนวคดิ ทฤษฎขี องนกั กำรศึกษำท่มี ีอิทธพิ ลต่อกำรศึกษำปฐมวัย ....................... 51 สาระการเรยี นรู้ ....................................................................................................... 51 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................. 51 สาระการเรียนรู้ ....................................................................................................... 51 บทนา ...................................................................................................................... 52 แนวคดิ ทฤษฎขี องนักการศกึ ษาทมี่ ีอิทธพิ ลต่อการศึกษาปฐมวยั ……………………….. 52 52 1. จอหน์ อาโมส โคเมนิอสุ …………………………………………………………………… 54 2. ฌอง จาค รสุ โซ …………………………………………………………………………….… 55 3. โจฮานน์ ไฮนร์ ิค เปสตาลอสซี่ …………………………………………………………… 57 4. เฟรดริค วลิ เฮลม์ เฟรอเบล …………………………………………………….………… 59 5. มาเรีย มอนเตสซอร่ี ………………………………………………………………………… 61 6. จอหน์ ดิวอ้ี …………………………………………………………………………..………… 62 บทสรุป ……………………………………………………………………………………………………… 64 ใบงาน ..................................................................................................................... 65 แบบฝึกหัดหลงั เรยี น ................................................................................................ 67 แบบทดสอบหลังเรยี น …………………………………………………………………………………. 69 บรรณานุกรม ........................................................................................................... เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | งสำรบัญ (ตอ่ )หนว่ ยท่ี 4 วิวฒั นำกำรของกำรศึกษำปฐมวัยในต่ำงประเทศ ……………………………………….. หน้า สาระการเรียนรู้ ....................................................................................................... 70 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................. 70 สาระการเรยี นรู้ ....................................................................................................... 70 บทนา ...................................................................................................................... 70 1. การศกึ ษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษ ………………………………………………………….. 71 2. การศกึ ษาปฐมวัยในประเทศสวเี ดน .................................................................... 71 3. การศึกษาปฐมวยั ในประเทศสหรัฐอเมริกา ......................................................... 76 4. การศึกษาปฐมวัยในประเทศนิวซีแลนด์ .............................................................. 79 5. การศึกษาปฐมวัยในประเทศญปี่ ุ่น ...................................................................... 85 6. การศึกษาปฐมวยั ในประเทศอิสราเอล ……………………………………………………….. 90 บทสรุป ……………………………………………………………………………………………………… 94 ใบงาน ..................................................................................................................... 99 แบบฝึกหดั หลังเรียน ................................................................................................ 100 แบบทดสอบหลงั เรยี น …………………………………………………………………………………. 102 บรรณานุกรม ........................................................................................................... 104 106หน่วยท่ี 5 ววิ ัฒนำกำรของกำรศึกษำปฐมวยั ในประเทศไทย .............................................. 107 สาระการเรียนรู้ ....................................................................................................... 107 จุดประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................. 107 สาระการเรียนรู้ ....................................................................................................... 107 บทนา ...................................................................................................................... 108 1. การศกึ ษาปฐมวยั สมยั ก่อนมีระบบโรงเรียน ........................................................ 108 2. การศึกษาปฐมวัยสมัยมรี ะบบโรงเรียน ................................................................ 112 บทสรุป ……………………………………………………………………………………………………… 117 ใบงาน ..................................................................................................................... 119 แบบฝกึ หดั หลังเรียนที่ 1 ......................................................................................... 120 แบบฝึกหัดหลงั เรียนท่ี 2 ………………………………………………………………………………. 122 แบบทดสอบหลังเรยี น ............................................................................................. 124 บรรณานุกรม ........................................................................................................... 126 เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | จสำรบญั (ตอ่ )หนว่ ยท่ี 6 รปู แบบของกำรจดั กำรศึกษำปฐมวัย ………………………………………………………… หนา้ สาระการเรยี นรู้ ....................................................................................................... 127 จุดประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................. 127 สาระการเรยี นรู้ ....................................................................................................... 127 บทนา ...................................................................................................................... 127 1. รปู แบบการศึกษาปฐมวยั จาแนกตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 128 2542 และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2545 ..................................................................... 128 2. รปู แบบการศึกษาปฐมวยั จาแนกตามรูปแบบของการจัดสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวยั .................................................................................................................... 132 3. หน่วยงานท่รี ับผิดชอบในการจดั การศึกษาปฐมวัย .............................................. บทสรุป ……………………………………………………………………………………………………… 133 ใบงาน ..................................................................................................................... 136 แบบฝึกหัดหลังเรยี นที่ 1 ......................................................................................... 138 แบบฝกึ หัดหลังเรียนที่ 2 ………………………………………………………………………………. 139 แบบทดสอบหลังเรยี น ............................................................................................. 141 บรรณานกุ รม ........................................................................................................... 143 145หนว่ ยที่ 7 นโยบำย กฎหมำย ข้อบงั คับในกำรจดั กำรศึกษำปฐมวัย ................................... 146 สาระการเรยี นรู้ ....................................................................................................... 146 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................. 146 สาระการเรยี นรู้ ....................................................................................................... 146 บทนา ...................................................................................................................... 147 1. กฎหมาย ข้อบังคับทีเ่ กี่ยวข้องกบั การจดั การศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทย ......... 147 2. นโยบายที่เก่ยี วขอ้ งกับการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ในประเทศไทย .......................... 149 3. ปฏญิ ญาเพ่ือเด็กไทย ........................................................................................... 162 บทสรุป ……………………………………………………………………………………………………… 164 ใบงาน ..................................................................................................................... 165 แบบฝึกหัดหลงั เรยี น ................................................................................................ 166 แบบทดสอบหลังเรยี น ............................................................................................. 169 บรรณานกุ รม ........................................................................................................... 171 เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | ฉสำรบัญ (ตอ่ )หนว่ ยท่ี 8 สภำพปจั จุบนั ปญั หำ และแนวโนม้ ของกำรจัดกำรศกึ ษำปฐมวัยในประเทศไทย หนา้ สาระการเรยี นรู้ ....................................................................................................... 172 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................. 172 สาระการเรยี นรู้ ....................................................................................................... 172 บทนา ...................................................................................................................... 172 1. สภาพปจั จบุ นั ของการจดั การศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย ................................. 173 2. ปัญหาของการจัดการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศไทย ............................................ 173 3. แนวโน้มการจัดการศึกษาปฐมวยั ในประเทศไทย ................................................ 182 บทสรุป ……………………………………………………………………………………………………… 185 ใบงานที่ 1 ............................................................................................................... 188 ใบงานที่ 2 ............................................................................................................... 189 ใบงานท่ี 3 ............................................................................................................... 190 แบบฝึกหัดหลงั เรียนท่ี 1 ......................................................................................... 191 แบบฝกึ หดั หลังเรยี นที่ 2 ………………………………………………………………………………. 192 แบบทดสอบหลงั เรยี น ............................................................................................. 194 บรรณานุกรม ........................................................................................................... 196 198 เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | ช สำรบญั ตำรำงตารางที่ 1 ลาดบั ขั้นเหตผุ ลจริยธรรมของลอเรนส์ โคลเบอรก์ .................................................. หนา้ตารางท่ี 2 ลาดบั ขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาของเพยี เจต์ ........................................................ 34ตารางท่ี 3 จานวนเดก็ อายุ 3 - 5 ปี ที่เขา้ รบั บริการในโรงเรียนอนบุ าลของรฐั และเอกชน 36 ปี พ.ศ. 2554 ........................................................................................................... 174 เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 1 ข้อแนะนำกำรใชเ้ อกสำรประกอบกำรสอน รหสั วชิ ำ ศษ 0103 รำยวิชำกำรศึกษำปฐมวัย หลักสูตรอนุปรญิ ญำศกึ ษำศำสตร์ สำขำวชิ ำกำรศึกษำปฐมวยั (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ.2556) 1. เอกสารประกอบการสอน รหัสวิช า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรอนุปริญญาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2556) ของสถาบันวิทยาลัยชุมชน สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ใช้สาหรับประกอบการเรียนการสอนกับนักศึกษาท้ังห้อง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อการเรียนการสอน ในการเรียนรู้นักศึกษาจะต้องใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน และศึกษาเนื้อหาไปพร้อม ๆ กัน โดยประกอบไปดว้ ยเนอ้ื หา จานวน 8 หนว่ ย ดังนี้ หน่วยท่ี 1 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับการศกึ ษาปฐมวัย หนว่ ยท่ี 2 ปรัชญาทางการศึกษาและทฤษฎที ี่เก่ียวข้องกบั พฒั นาการของเด็กปฐมวยั หน่วยท่ี 3 แนวคดิ ทฤษฎีของนักการศึกษาท่ีมีอทิ ธพิ ลต่อการศกึ ษาปฐมวัย หน่วยที่ 4 ววิ ัฒนาการของการศึกษาปฐมวยั ในตา่ งประเทศ หน่วยที่ 5 ววิ ัฒนาการของการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศไทย หน่วยที่ 6 รูปแบบของการจัดการศึกษาปฐมวยั หน่วยที่ 7 นโยบาย กฎหมาย ข้อบังคบั ในการจัดการศกึ ษาปฐมวยั หน่วยที่ 8 สภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวโน้มของการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย 2. การใช้เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรอนุปริญญาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2556) วิทยาลัยชุมชนปัตตานีในแต่ละหนว่ ยนักศกึ ษาควรปฏบิ ตั ิตามขัน้ ตอนดังนี้ 2.1 ศกึ ษาสาระสาคญั สาระการเรียนรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.2 ศกึ ษาเนอ้ื หา/สาระการเรียนรแู้ ตล่ ะหนว่ ย 2.3 นักศึกษาต้องพยายามทาแบบฝึกหัดหลังเรียนที่ปรากฏในท้ายหน่วยของแต่ละหนว่ ยอยา่ งเตม็ ความสามารถ 2.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ขอ้ 2.5 ร่วมกนั สรปุ ผลการเรยี นรู้ 2.6 นักศกึ ษาต้องปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามคาแนะนาของผูส้ อนอย่างเคร่งครดั เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 2 รำยละเอยี ดของรำยวชิ ำ รหัสวิชำ ศษ 0103 รำยวิชำกำรศึกษำปฐมวยั จำนวนหนว่ ยกิต 3 (2-2-5) หลกั สตู รอนุปรญิ ญำศึกษำศำสตร์ สำขำวชิ ำกำรศึกษำปฐมวัย (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ.2556)จดุ มุ่งหมำยของรำยวิชำ 1. อธิบายความหมาย ความสาคญั นโยบาย กฎหมาย และข้อบังคบั ของการศกึ ษาปฐมวัย 2. อธบิ ายแนวคิด ทฤษฎี และจุดมุง่ หมายของการศึกษาปฐมวยั 3. บอกองคป์ ระกอบและรูปแบบของการศึกษาปฐมวยั 4. รแู้ ละเข้าใจววิ ัฒนาการของการศึกษาปฐมวัย 5. วิเคราะหป์ ัญหาและแนวโนม้ การจัดการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศไทย 6. ฝึกปฏิบัติศกึ ษาและวเิ คราะหล์ ักษณะการจัดการศึกษาปฐมวัยในทอ้ งถิ่นคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ความหมาย ความสาคัญ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีและจุดมุ่งหมายของการศึกษาปฐมวัยองค์ประกอบและรูปแบบของการศึกษาปฐมวัย วิวัฒนาการของการศึกษาปฐมวัย นโยบาย กฎหมายข้อบังคับของการศึกษาปฐมวัยไทย สภาพปัจจุบันและแนวโน้มของการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย ฝึกปฏิบัติศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะการจัดการศึกษาปฐมวัยในท้องถ่ินตามหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการศกึ ษาปฐมวัย เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 3 หน่วยที่ 1 ความร้เู บ้ืองต้นเก่ียวกบั การศกึ ษาปฐมวยัสำระสำคัญ การศกึ ษาปฐมวัย เปน็ การจัดการศึกษาเพอ่ื สง่ เสริมพฒั นาการและความพรอ้ มให้แก่เด็กปฐมวัยเป็นองค์รวมอย่างเหมาะสมตามวัย การพัฒนาเด็กปฐมวัยมีความสาคัญอย่างมากต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การจัดการศึกษา และการพัฒนาประเทศ ทั้งน้ีเพราะประสบการณ์ต่าง ๆ ที่เด็กได้รับในชว่ งปฐมวยั จะมอี ทิ ธิพลต่อชีวติ ของบคุ คลจนชว่ั ชวี ติจดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ 1. บอกความหมายของเด็กปฐมวยั ได้ 2. บอกความสาคญั ของเด็กปฐมวัยได้ 3. บอกความหมายของการศึกษาปฐมวยั ได้ 4. บอกความสาคัญของการศึกษาปฐมวยั ได้ 5. อธบิ ายหลกั การจดั การศึกษาปฐมวัยได้ 6. อธบิ ายองค์ประกอบของการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศไทยได้ 7. บอกจุดมุง่ หมายของการจัดการศึกษาปฐมวยั ตาม ได้สำระกำรเรยี นรู้ 1. ความหมายของเด็กปฐมวยั 2. ความสาคญั ของเดก็ ปฐมวยั 3. ความหมายของการศกึ ษาปฐมวยั 4. ความสาคัญของการศึกษาปฐมวยั 5. หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย 6. องค์ประกอบของการศึกษาปฐมวยั 7. จุดมงุ่ หมายของการศกึ ษาปฐมวัย เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 4 บทนำ เนอื่ งจากสภาพสังคมไทยในปจั จุบันเปล่ียนแปลงไปทงั้ ด้านเศรษฐกจิ และค่านิยมในการดาเนินชีวิต พ่อแม่ต้องออกไปทางานนอกบ้านทาให้มีเวลาดูแลลูกน้อยลง เด็กเล็ก ๆ ท่ียังไม่ถึงวัยเรียนจึงขาดคนดูแล ทาให้พ่อแมต่ ้องส่งลูกไปรบั บรกิ ารอบรมเลยี้ งดูในสถานรบั เลย้ี งเด็กหรือโรงเรียนอนุบาล รัฐบาลได้เล็งเห็นความสาคัญในเรื่องน้ี จึงได้วางนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาปฐมวัยโดยรัฐรับภาระจัดเองส่วนหน่ึง และส่งเสริมให้เอกชนและสถาบันต่าง ๆ ในสังคมช่วยอบรมเลี้ยงดูเด็กแทนพ่อแม่จัดการอบรมเลี้ยงดูเด็กอีกส่วนหน่ึง ซ่ึงการจัดการศึกษาระดับปฐมวยั ไม่ใช่การจัดการศึกษาภาคบังคับ โดยการจัดการศึกษาภาคบังคับเป็นการจัดการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่หน่ึงเป็นต้นไป การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยเป็นชว่ งวยั ที่มีความสาคัญที่สุด โดยนักการศึกษาและนักจิตวิทยามีความคิดเห็นที่สอดคล้องกันว่าเด็กวัยแรกเกิดจนถึง 5 ปี 11 เดือน 29 วัน หรือต่ากว่า 6 ปี เป็นวัยท่ีสาคัญต่อการวางรากฐานบุคลิกภาพและการพัฒนาสมอง การจัดการศึกษาสาหรับเด็กวัยนี้จึงมีความสาคัญต่อการส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กในทกุ ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตลอดจนส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กให้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ เพื่อให้มีความพร้อมท่ีเรียนในระดับที่สูงข้ึนต่อไปในอนาคต1. ควำมหมำยของเดก็ ปฐมวยั คาว่า “เด็กปฐมวัย” มีผู้เรียกช่ือแตกต่างกันไป เช่น เด็กก่อนวัยเรียน เด็กเล็ก เด็กระดับก่อนประถมศึกษา เด็กอนุบาลศึกษา ซ่ึงคาเหล่านี้มีความหมายในตัวเอง แต่ไม่ว่าจะใช้ชื่อใดย่อมมีความหมายเดียวกัน สาหรับในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้จะใช้คาว่า “เด็กปฐมวัย” ซ่ึงจะครอบคลุมคาที่กล่าวถึงข้างต้นทั้งหมด โดยมีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของเด็กปฐมวัยไว้หลากหลาย ดงั น้ี พชั รี เจตน์เจรญิ รักษ์ (2545) กล่าวว่า เด็กปฐมวยั หมายถึง วัยเด็กตอนต้นโดยนับตงั้ แต่แรกเกิดถึง 6 ปี เป็นวัยท่ีเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่สังคมได้รู้จกั บุคคลอื่น ๆ มากข้ึน นอกเหนือจากคนในครอบครัวตนเอง เดก็ วัยน้ีเพ่ิงออกจากบ้านสู่โรงเรียน ยังไม่พร้อมที่จะช่วยเหลือตนเองหรอื รับรู้กฎข้อบังคับต่าง ๆของโรงเรียน ต่อเม่ืออายุถึง 6 ปี เด็กเริ่มช่วยเหลือตัวเองได้มากข้ึน มีความพร้อมมากขึ้น รู้จักเล่นกับเพ่อื น จึงเป็นวัยท่ีกาลังมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ คนทั่วไปมกั เรยี กเด็กวัยน้ีว่า เด็กเล็ก เด็กปฐมวยั หรือเดก็ อนบุ าล กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2546) กล่าวว่า เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึง 5 ปี 11 เดือน 29 วัน ทั้งในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษาซ่ึงพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณแ์ ละจิตใจ สงั คม และสติปัญญากาลงั พัฒนาอยา่ งเต็มที่ บุษบง ตันติวงศ์ (2552) กล่าวว่า เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กต้ังแต่ระยะปฏิสนธิ ถึงอายุ 5 ปี11 เดือน ซ่ึงเป็นช่วงอายุที่เป็นรากฐานของการเจริญเติบโตทุกด้าน โดยเฉพาะด้านสมองซึ่งเติบโตถึงรอ้ ยละ 80 ของผใู้ หญ่ เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 5 ศศิพันธุ์ เปี๊ยนเป่ียมสิน (2553) กล่าวว่า เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กที่มีอายุต้ังแต่เริ่มปฏิสนธิจนถึง 6 ปี ซ่ึงเป็นวัยที่พัฒนาการด้านต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จะมีธรรมชาติและลักษณะเฉพาะท่ีแตกตา่ งไปจากบุคคลในวัยอื่นๆ เป็นวยั ที่กาลังสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว มีความยากรู้อยากเห็นช่างสงสัย ช่างซักถาม ชองค้นคว้า สารวจ อยู่ไม่น่ิง ชอบอิสระเป็นตัวของตัวเอง มีลักษณะของการยึดตนเองเป็นศูนย์กลางจึงมักแสดงอารมณ์ต่างๆ อย่าเปิดเผย ชอบทาตามและเลียนแบบผู้อื่นในขณะเดียวกันก็มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จึงเป็นวัยท่ีมีความสาคัญและเป็นพ้ืนฐานของการพัฒนาบุคคลในดา้ นร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม แลสติปัญญาใหเ้ จริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ สรุปได้ว่า “เด็กปฐมวัย” หมายถึง เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิด -5 ปี 11เดือน 29 วัน โดยคาว่าแรกเกิด หมายถึง หลังจากที่มีการปฏิสนธิ แต่การนับอายุของเด็กปฐมวัยจะเริ่มนับเมื่อเด็กคลอดออกมาแล้ว การนับอายุของเด็กปฐมวัยจะไม่นับรวมเมื่อเด็กยังอยู่ในครรภ์มารดาเพราะว่าตามกฎหมายได้กาหนดไว้เม่ือเด็กคลอดออกมาแล้วยังมีชีวิต บิดามารดาจึงสามารถแจ้งกับเจ้าหน้าท่ีเพื่อขอรับใบสูติบัตร ดังนั้นการนับอายุตามกฎหมายจะเริ่มเมื่อเด็กคลอดออกมาแล้วอย่างปลอดภัย แต่นักการศึกษาจะถือว่าหลังจากที่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้นขณะที่เด็กอยู่ในครรภ์มารดาก็ถือว่าเป็นเด็กปฐมวัยเพราะว่าเด็กได้มีพัฒนาการในด้านต่าง ๆ เกิดข้ึนมากมาย เช่น พัฒนาการทางด้านรา่ งกายพัฒนาการทางด้านสติปัญญา เป็นต้น ซ่ึงพัฒนาการของเด็กที่อยู่ในครรภ์มารดานั้นจะส่งผลต่อเดก็ หลงั จากทเี่ ดก็ คลอดแลว้2. ควำมสำคัญของเดก็ ปฐมวัย เด็กวัยเริ่มแรกของชีวิต หรือที่เรียกว่า “เด็กปฐมวัย” จัดได้ว่าเป็นระยะท่ีสาคัญที่สุดของชีวิตเพราะพัฒนาการทุกๆ ด้านของมนุษย์ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม บุคลิกภาพ โดยเฉพาะด้านสติปัญญาจะเจริญมากที่สุดและพัฒนาการใดๆ ในวัยน้ีจะเป็นพ้ืนฐานท่ีมีความสาคัญต่อพัฒนาการในชว่ งอื่นๆ ของชีวิตเปน็ อยา่ งมาก วีรพล สารบรรณ (2547) ได้กล่าวถึงความสาคัญของเด็กปฐมวัยไว้ว่า เด็กเป็นทรัพยากรท่ีมีค่าย่งิ เป็นความหวงั ของครอบครัวและสังคม เป็นผสู้ บื ทอดมรดกทางวฒั นธรรมและความเป็นมนุษยช์ าติเป็นพลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ อนาคตของประเทศจึงขึ้นอยู่กับคุณภาพของเด็ก เด็กท่ีมีความสมบูรณ์และมีพัฒนาการในทุกๆ ด้านท่ีเหมาะสมกับวัย ไม่ว่าจะเป็นพัฒนาการทางด้านร่างกายสติปญั ญา อารมณแ์ ละสังคม จะเป็นผทู้ ีส่ ามารถดารงชีวิตและอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ นันทิยา นอ้ ยจันทร์ (2549) ได้กล่าวถึง ความสาคญั ของเด็กปฐมวัยและการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยดังนี้ 1. การพัฒนามนุษย์อย่างมีประสิทธภิ าพ จาเปน็ ต้องเรมิ่ ต้งั แตอ่ ยใู่ นครรภ์ ชว่ งปฐมวัยและตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ 2. หลกั วชิ าและการวจิ ยั ได้แสดงวา่ ปจั จัยแวดล้อมการเล้ยี งดูท่เี หมาะสมสามารถเปล่ียนโครงสรา้ งและประสิทธภิ าพการทางานของสมองมนุษย์ได้ เวลาที่สาคญั และจาเป็นทส่ี ุดในการพฒั นาสมองคือในช่วง 5 ปี แรกของชีวติ เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 6 3. การพัฒนาคุณภาพมนุษย์ที่ย่ังยืน และป้องกันปัญหาสังคมในระยะยาว จาเป็นต้องเริ่มพัฒนาตั้งแตป่ ฐมวัย โดยเน้นให้ครอบครัวเป็นแกนหลักและชมุ ชนเป็นฐานที่ มีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการพัฒนาเล้ียงดูเดก็ ทกุ ขนั้ ตอน 4. แนวคิดในการพัฒนาเด็กเพ่ือให้มีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล นับตั้งแต่ปฏิสนธิจวบจนเจริญวัย จาเป็นต้องมีการตื่นตัวและผนึกกาลังกันทุกฝ่ายท้ังภาครัฐ และเอกชนร่วมกันส่งเสริมครอบครัวให้พ่อแมม่ คี วามรกั และความรูส้ ามารถเล้ียงดบู ุตรหลานไดถ้ ูกวธิ ี 5. ผู้ดูแลเด็ก ครู รวมท้ังเจ้าหน้าที่สาธารณสุข มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยใหเ้ จรญิ เติบโตไปในทางทีพ่ ึงประสงค์ บุคคลเหล่าน้ีต้องมีหลักวิชาและทกั ษะที่ถูกต้องในการเลยี้ งดเู ดก็ ศศิพันธุ์ เป๊ียนเปี่ยมสิน (2553) กลา่ วว่า ช่วงปฐมวัยเป็นชว่ งท่ีสาคัญทสี่ ุดของชีวิต เพราะเป็นช่วงท่ีพัฒนาการทุกด้านเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา การพัฒนาเด็กในช่วงวัยนี้จะเป็นการวางพื้นฐานทางด้านจิตใจ อุปนิสัยและความสามารถ ซึ่งหากผู้ที่เก่ียวข้องสามารถสร้างแบบแผนทางพฤติกรรมและเจตคติท่ีดีให้แก่เด็กปฐมวัยได้แล้ว เด็กปฐมวัยจะสามารถเตบิ โตและมีชีวติ อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ สรุปได้ว่า เด็กปฐมวัยเป็นช่วงวัยท่ีมีความสาคัญเพราะเด็กวัยนี้เป็นช่วงวัยท่ีมีพัฒนาการด้านต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา ถ้าเราสามารถสง่ เสริมเดก็ ในวัยนี้ไดต้ รงกับความสนใจและความสามารถของเด็กจะทาให้การเรยี นรู้มปี ระสิทธิภาพมากขนึ้ และจะเป็นผู้ที่สามารถดารงชวี ิตและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสขุ3. ควำมหมำยของกำรศกึ ษำปฐมวัย การศกึ ษาสาหรับวัยเดก็ หรือปฐมวัย เป็นการจดั การศึกษาที่มคี วามสาคัญอย่างยิ่งสาหรับรากฐานการพฒั นาบุคคลให้เปน็ ผูท้ ี่มีคุณภาพ สมบูรณท์ ้ังร่างกายและจติ ใจ เน่อื งจากวัยเดก็ เป็นวัยทม่ี ีความสาคญั ท่ีสุดของการวางรากฐานชวี ติ ซ่ึงไดม้ นี ักวิชาการศึกษาหลายท่านได้ใหค้ วามหมายของการศกึ ษาปฐมวัยไวด้ ังน้ี เยาวพา เดชะคุปต์ (2542) กลา่ วว่า “การจัดการศึกษาปฐมวยั ” หมายถึง การจัดการศึกษาสาหรับเด็กท่ีมีอายตุ ั้งแต่แรกเกดิ จนถึง 6 ปี ซง่ึ การจัดการศึกษาดงั กลา่ วจะมลี ักษณะพเิ ศษท่แี ตกต่างไปจากระดับอ่นื ๆ ทงั้ นี้เพราะเด็กในวัยน้เี ป็นวัยทสี่ าคญั ต่อการวางรากฐานบุคลกิ ภาพและการพฒั นาทางสมอง การจัดการศึกษาสาหรับเดก็ ในวัยนีม้ ชี ่ือเรียกต่างกนั ไปหลายช่ือ ซ่งึ แต่ละโปรแกรมก็มวี ธิ ีการและลกั ษณะในการจัดกิจกรรมซง่ึ มีจุดมุ่งหมายที่จะชว่ ยพฒั นาเดก็ ในรูปแบบต่างๆ กนั สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา (2548) กล่าววา่ การศกึ ษาปฐมวัยตามความหมายท่ีเป็นสากล หมายถงึ การจดั การศึกษาในลักษณะอบรมเลี้ยงดแู ละให้การศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมให้แกเ่ ด็กแรกเกดิ - 5 ปี ก่อนเข้าเรยี นในระดบั ประถมศึกษา พิทยาภรณ์ มานะจุติ (2548) ไดใ้ หค้ วามหมายของการศกึ ษาปฐมวยั ไวว้ า่ เปน็ การศึกษาท่ีจัดใหแ้ กเ่ ด็กวยั แรกเกิดจนถงึ 6 ปี โดยแยกได้เปน็ 2 ระดบั คือ เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 7 1. ระดับบริบาล ได้แก่ การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาเด็กวัยแรกเกิด ถึง 3 ปี ซ่ึงเน้นการดูแลอบรมและพัฒนาให้เด็กเกิดการเจริญเติบโตและก้าวหน้าทั้งด้านพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สงั คมและสตปิ ญั ญา 2. ระดับอนุบาล ได้แก่ การจัดการศึกษาเพ่ือเดก็ วัย 3-6 ปี ใหม้ ีความเติบโตและพัฒนาครอบคลมุ ทง้ั ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสตปิ ญั ญา นภเนตร ธรรมบวร (2549) กล่าวว่า การศึกษาปฐมวัยโดยทั่วไป หมายถึง การจัดการศึกษาท่ีมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อการพัฒนาการในเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง 8 ขวบ หรือชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 การจัดการเด็กในท่ีน้ีรวมถึงการจัดการศึกษาทางเป็นทางการ และการจัดการศึกษาแบบไมเ่ ปน็ ทางการ เพราะการเรยี นรขู้ องเด็กในช่วงวยั ด้งั กล่าวถอื เปน็ รากฐานของการเรียนร้ใู นอนาคต ศศิพันธ์ุ เป๊ียนเปี่ยมสนิ (2553) กล่าววา่ การจดั การศึกษาปฐมวยั เป็นการจัดการศึกษาให้กับเด็กทมี่ ีอายตุ ั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปี ในลักษณะการอบรมเล้ยี งดูที่มีความสาคัญย่ิงในอันท่จี ะช่วยส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาในทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญา ตลอดจนการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ไปในทิศทางท่ีถูกต้องเหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัยความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และวางรากฐานบุคลิกภาพ และการพัฒนาสมอง เพ่ือให้เด็กเติบโตข้ึนอย่างมีคุณภาพ และพร้อมที่จะรับการศึกษาในระดับท่ีสูงขน้ึ อย่างมปี ระสิทธิภาพต่อไป ซง่ึ การจัดการศกึ ษาดงั กล่าวจะมีลักษณะพเิ ศษทีแ่ ตกต่างไปจากระดับอนื่ ๆ สรุปได้ว่า การศึกษาปฐมวัย หมายถึง การจัดการศึกษาสาหรับเด็กหรือการจัดประสบการณ์สาหรบั เด็กต้ังแตแ่ รกเกิดถึง 6 ปี เพ่อื พัฒนาเดก็ ปฐมวัยทุกด้านทัง้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา รวมทั้งการวางรากฐานในการพัฒนาบุคลิกภาพ เพ่ือใหเ้ ด็กมีความสมบรู ณ์ทุกด้านโดยใช้วธิ ีการทหี่ ลากหลายหรือลกั ษณะพเิ ศษท่มี ีความเหมาะสม4. ควำมสำคญั ของกำรศึกษำปฐมวัย เยาวพา เดชะคปุ ต์ (2542) ไดก้ ล่าวไว้ว่า การจดั การศกึ ษาปฐมวยั เปน็ พน้ื ฐานท่ีสาคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เน่ืองจากเด็กปฐมวัยท่ีมีอายุระหว่าง 3 - 6 ปี จะเป็นช่วงอายุท่ีสามารถพัฒนาความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาได้อย่างเต็มที่ หากไม่ได้รับการพัฒนาส่งเสริมในช่วงนี้อาจจะมีผลทาให้การพัฒนาด้านต่าง ๆ เป็นไปอย่างเชื่องช้าซ่ึงจะกระทบต่อความเจริญเตบิ โตในอนาคต ดงั ท่นี ักจติ วทิ ยาเสนอแนวคดิ ไว้ เช่น ซกิ มันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) กล่าวว่า “วัยเร่ิมต้นของมนุษย์คือ ระยะ 5 ปีแรกของคนเรา ประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีได้รับในตอนต้นของชีวิตจะมีอิทธิพลต่อชีวิตของคนเราตลอดจนถึงวาระสุดท้าย โดยเช่ือว่าการอบรมเล้ียงดูในระยะปฐมวัยนั้นจะมีอิทธิพลต่อชีวิตของคนเราตลอดจนถึงวาระสุดท้าย โดยเชอ่ื ว่าการอบรมเลีย้ งดูในระยะปฐมวัยนั้นจะมีผลกระทบต่อการพัฒนาบุคลกิ ภาพของเดก็ ในอนาคต” เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 8 โจ แอล ฟรอสท์ (Loe L. Frost) ได้เสนอว่า “เด็กในช่วง 4 - 5 ปีแรกของชีวิต เป็นชว่ งที่ความเจริญงอกงามทางด้านร่างกายและจิตใจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วท่ีสุด นอกจากน้ียงั มีความรู้สึกที่ไวต่ออทิ ธพิ ลของสงิ่ แวดลอ้ มภายนอก” นภเนตร ธรรมบวร (2549) กล่าวว่า ความสาคัญของการศึกษาปฐมวัยคือ การที่ครูจะสอนได้ดนี ้ันจาเป็นตอ้ งศึกษาเด็ก ย่ิงกว่าน้ันงานวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาการทางสมองมนุษย์ย้ังเน้นความสาคัญของการศึกษาปฐมวัยโดยเฉพาะในช่วงของ 5 ของปีแรกของชีวิตว่า เป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุดสาหรับการเรียนรู้และเด็กจาเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากพ่อแม่หรือผู้ดูแลตั้งแต่แรกเกิด โดยการให้ความรักการโอบกอด สมั ผัส พูดคยุ และเล่นกบั เด็กเพอื่ ใหส้ มองของเด็กไดร้ ับการพฒั นาอย่างเต็มท่ีตามศกั ยภาพการเข้าใจพัฒนาเด็กส่งผลดีต่อครูผู้สอนหลายประการ ผลดีประการหนึ่งคือ ช่วยให้ครูเข้าใจกระบวนการเรียนร้ขู องเดก็ ได้ดยี ่งิ ขน้ึ ยงั สามารถวางแผนหลกั สตู ร การเรยี นการสอนได้เหมาะสมกบั เด็กแต่ละคนได้มากข้ึนศักยภาพ การเข้าใจพัฒนาเด็กส่งผลดีต่อครูผู้สอนหลายประการ ผลดีประการหนึ่งคือ ช่วยให้ครูเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กได้ดียิ่งข้ึน ยังสามารถวางแผนหลักสูตร การเรียนการสอนไดเ้ หมาะสมกับเดก็ แตล่ ะคนได้มากขึ้น เมื่อตระหนักว่าเด็กมีความสาคัญต่อประเทศ ผู้ใหญ่ท่ีเกี่ยวข้อง หรือท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบต่อเด็กได้ปฏิบัติต่อเด็กสมกับความสาคัญของเขาหรือยัง โดยเฉพาะพ่อแม่ ครู อาจารย์ เพราะว่าเด็กที่เจริญเติบโตข้ึนเป็นผู้ใหญ่ท่ีดีนั้นต้องมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีควบคู่กันไปถือว่าการอบรมเลี้ยงดูนั้นมีความสาคัญมาก ศศิพันธุ์ เปี๊ยนเป่ียมสิน (2553) กล่าวว่า การจัดการศึกษาปฐมวัยนับวันจะมีความสาคัญต่อชุมชนมากยิ่งข้ึน เน่ืองจากสังคมไทยในอดีตเด็กอยู่ในครอบครัวท่ีมีผู้ใหญ่ดูแล เพราะครอบครัวไทยแต่โบราณเป็นครอบครัวแบบขยายมี ปู่ ย่า ตา ยาย อยู่รวมกัน แต่ปัจจุบันสังคมไทยกลายเป็นครอบครัวเดี่ยวท่ีมีแต่พ่อ แม่ ลูก และแม่ยังต้องออกไปประกอบอาชพี นอกบ้านเพ่ือเพมิ่ รายไดใ้ ห้กับครอบครัว พ่อแม่จึงนาลูกไปฝากไว้ตามสถานรับเล้ียงเด็ก สถานบริบาลทารก หรือโรงเรียนอนุบาลเร็วขึ้นวกว่าเดิมนกั จิตวทิ ยา นักการศึกษา รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญในวงการการศึกษาต่างก็เล็งเห็นถึงความสาคัญของการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัย เพราะจากการค้นคว้าและวิจัยพบว่า พัฒนาการทุกๆด้านของบุคคลมีรากฐานมาจากการพัฒนาในวัยเด็กโดยเฉพาะในช่วงอายุ 0 - 6 ปี ดังน้ันการปลูกฝังทัศนคติ ค่านิยมและบุคลิกภาพ รวมท้งั การสง่ เสรมิ การเรยี นรใู้ หก้ ับเด็ก จะทาไดด้ ที สี่ ดุ ในช่วงนีซ้ งึ่ เป็นวัยเร่ิมต้นของชีวิต การจัดการศึกษาปฐมวัยที่เหมาะสมควรคานึงถึงการเสริมสร้างพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างได้สัดส่วน กล่าวคือ เปิดโอกาสให้เด็กได้สร้างเสริมพัฒนาการด้านร่างกายทั้งกล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเน้อื เลก็ ได้รับอาหารทมี่ ีคณุ ค่าทางโภชนาการและถูกสว่ น ไดร้ ับการปลูกฝังและเสริมสร้างพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาอย่างเต็มที่ เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตเป็นบุคคลท่ีมีประสิทธิภาพและมีคุณค่าแก่สังคม การพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพมีผลมาจากการส่งเสริมพัฒนาการต้ังแต่ปฐมวัย ซ่ึงเป็นระยะวิกฤติที่เด็กสามารถเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วการกระตุ้นทางตา หู จมูก ล้ินและกาย ให้ได้เห็น ได้ยิน ได้สัมผัส และได้เรียนรู้ โดยการเล่นตั้งแต่ปฐมวัย โดยเฉพาะการได้รับความรัก ความอบอุ่น การดูแลจากพ่อแม่ จะช่วยให้ใยประสาทในเซลล์สมองขยายงอกงาม ทาให้เด็กสามารถเรียนรู้ได้ง่าย รู้เหตุผล อันเป็นพ้ืนฐานการพัฒนาเด็กให้สมบูรณ์มากที่สุด เด็กเล็กๆ จะเรียนรู้ทุกอย่างในวัยท่ีเขายังเล็กอยู่ แต่ถ้าหากเด็กวัยน้ีไม่ได้รับการเอาใจใส่ เม่ือพ้นวัยนีไ้ ปเดก็ จะเรียนรูส้ ิ่งต่าง ๆ ไดด้ ้วยความยากลาบากและในบางอย่างกจ็ ะไม่สามารถเรียนรู้ไดอ้ ีกเลย เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 9 อรุณี ทองดี และคณะ (2555) ได้กลา่ วถงึ ความสาคัญของการศกึ ษาปฐมวยั ซง่ึ สามารถสรุปได้ดงั นี้ 1. ความสาคญั ต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ นักจติ วิทยาและนักการศึกษาหลายท่านมีความเห็นท่ีสอดคล้องกันว่า เด็กปฐมวัย เป็นวัยเร่ิมต้นของชีวิตมนุษย์ และนับเป็นช่วงวัยท่ีสาคัญท่ีสุดช่วงหน่ึง เพราะเป็นช่วงวัยของการวางรากฐานและเตรียมตัวเพ่ือชีวิต ท้ังยังเป็นช่วงระยะที่เกิดการเรยี นร้มู ากท่สี ดุ ในชีวิตดว้ ย 2. ความสาคัญต่อการเสริมสร้างคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ นักจิตวิทยาหลายท่านมีความเห็นสอดคล้องกันว่า ช่วงวิกฤตของชีวิตในระยะ 5 ปีแรก เป็นระยะสาคัญในการวางรากฐานบุคลิกภาพของมนุษย์ ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพของประชากรจึงจาเป็นต้องเริ่มพัฒนาตั้งแต่ระยะปฐมวัยเพ่อื ให้เติบโตขน้ึ เป็นคนทมี่ ีคณุ ภาพและมคี ุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องสังคมและประเทศชาติ 3. ความสาคัญต่อกระบวนการจัดการศึกษา พีอาเจต์ (Jean Piaget) ผู้พัฒนาทฤษฏีทางปัญญาที่แพร่หลายท่ีสุด กล่าวว่า เด็กในช่วงอายุ 2 - 6 ขวบ เป็นช่วงวัยที่เด็กเริ่มเรียนรู้ภาษาพูดและสามารถเรียนรสู้ ิ่งต่างๆ ได้ดีข้ึน แต่ความสามารถในการเรียนรู้ยงั อยู่ในลักษณะจากัด ดังนน้ั เด็กวัยน้ีจึงจาเป็นต้องฝึกทักษะการใช้ประสาทสัมผัส ซ่ึงการจัดสภาพแวดล้อมและประสบการณ์ทเี่ หมาะจะช่วยเสริมสร้างพัฒนาในด้านการคิด และพัฒนาการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาในขั้นต่อไปให้สมบรู ณ์ยิง่ ขึน้ การจัดการศึกษาปฐมวัย ถึงแมจ้ ะไม่เปน็ การศึกษาภาคบงั คับแต่กเ็ ป็นการจัดการศึกษาให้แก่เด็กในระยะแรก ที่มุ่งเตรียมความพร้อมให้แก่เด็กเพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาทุกด้านอย่างครอบคลุม อันได้แก่ การส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญารวมทั้งพัฒนาคุณธรรมและเสริมสร้างบุคลิกภาพที่เหมาะสม เพ่ือเป็นพื้นฐานไปสู่การดารงชีวิตในสังคมอยา่ งเปน็ สขุ และมีความพร้อมในการเรยี นรูใ้ นขัน้ ตอ่ ไปได้ตามศักยภาพแห่งตน กระบวนการศึกษาของมนุษย์ เป็นกระบวนการที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตเพราะมนุษย์จาเป็นต้องเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนอยู่เสมอ ดังนั้นการส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ จะช่วยส่งเสริมให้เด็กสามารถพัฒนาตนเองไปตามศักยภาพของตนอย่างต่อเนื่อง และการเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ทุกแห่ง ไม่ใช่เฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น แต่เด็กจะเรียนรู้จากประสบการณ์ในชีวิตประจาวันและจากการสอนอย่างเป็นทางการ ดังนนั้ การจัดการศกึ ษาสาหรับเด็กจึงควรจัดอย่างสอดคล้องและต่อเนื่องกันทุกระดับ และการศึกษาปฐมวัย คือ จุดเร่ิมต้นท่ีสาคัญของกระบวนการศึกษาของมนุษย์ 4. ความสาคัญต่อการวางรากฐานในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาประเทศชาติน้ันจะต้องเริ่มต้นจากการพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพ โดยให้เป็นท้ังคนเก่งและคนดี เป็นบุคคลท่ีมีท้ังสติปัญญา ความสามารถและมีคุณธรรมจริยธรรม ซ่ึงคุณสมบัติต่างๆ เหล่านี้จะต้องได้รับการปลูกฝังอบรมส่ังสอนตั้งแต่ยังเด็ก ท้ังต้องอาศัยความร่วมมือจากสถาบันทางสังคมทุกสถาบันร่วมมือกันพัฒนาเดก็ ตัง้ แตเ่ ยาว์วัย สรุปได้ว่า การศึกษาปฐมวัยนับเป็นจุดเร่ิมต้นที่มีความสาคัญต่อการวางรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือพัฒนาให้เป็นคนท่ีมีคุณภาพตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคมและประเทศชาติ กระบวนการจัดการศึกษา การจัดสภาพแวดล้อมและประสบการณ์ท่ีเหมาะสมสาหรบั เด็กปฐมวัยจะช่วยเสริมสร้างพัฒนาการในด้านความคิดและพัฒนาการเรียนรู้ทางสติปัญญาในข้ันต่อไปให้ เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 10สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ทั้งนี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากสถาบันทางสังคมทุกสถาบันร่วมมือกัน หากผู้ที่เก่ียวข้องกับเด็กปฐมวัยทุกฝ่ายได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว และร่วมมือกันพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเป็นอย่างดีแล้ว ก็จะส่งผลให้ได้ประชากรที่มีคุณภาพซึ่งจะเติบโตมาเป็นกาลังในการพัฒนาประเทศได้ในท่ีสดุ5. หลกั กำรจดั กำรศกึ ษำปฐมวัย นักการศึกษาปฐมวยั หลายท่านไดเ้ สนอแนะหลกั การในการจดั การศึกษาปฐมวยั ซึ่งควรมีความแตกต่างจากการศึกษาระดบั อื่น ดงั นี้ เยาวพา เดชะคุปต์ (2542) กล่าวว่า หลักการจัดการศึกษาปฐมวัยควรมุ่งพัฒนาเด็ก 3ประการ ดงั น้ี 1. ความเสมอภาคทางโอกาส เด็กทุกคนไม่ว่าจะมาจากที่ใด สังคมใด มีความเสมอภาคเท่าเทียมกันในการท่ีจะได้รับการพัฒนาในระดับปฐมวัย เพื่อให้เจริญเติบโตไปสู่ความเป็นพลเมืองดีมีคณุ ภาพ โดยเฉพาะเด็กในชนบท ชุมชนแออัด หรือเด็กที่อยู่ในครอบครัวท่ียากไร้ควรได้รับการพิจารณาช่วยเหลอื เป็นพเิ ศษเพ่อื ใหไ้ ด้รบั การพัฒนาตามแนวทางเช่นเดียวกบั ทเ่ี ด็กในเมอื งไดร้ บั 2. การพัฒนาศักยภาพของเด็ก มนุษย์ทุกคนมรศักยภาพหรือความสามารถอยู่ภายในตัวซ่ึงติดตัวมาต้ังแต่กาเนิด ศักยภาพต่าง ๆ เหล่านี้สามารถพัฒนาได้และสามารถจะนาออกมาใช้เมื่อได้รับการกระตุ้นท้ังจากส่ิงเร้าภายนอกและแรงจูงใจภายในตนเอง การจัดการศึกษาสาหรับเด็กวัยน้ีจะตอ้ งพยายามดึงศกั ยภาพของเด็กแต่ละคนออกมา และพฒั นาศักยภาพน้ันใหเ้ จริญงอกงามสมบูรณ์ 3. ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นธรรมชาติของมนุษย์เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันตามคุณสมบัติประจาตัวและสิ่งแวดล้อมที่ได้รับ การจัดการศึกษาปฐมวัยจะตอ้ งตระหนักถึงหลักความจรงิ น้ี การตระหนกั ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลจะเป็นพืน้ ฐานในการวางแนวทางการพัฒนาเด็กตามลักษณะเฉพาะของเขา และเป็นการพยายามเข้าถึงตัวเด็กแต่ละคนด้วย กรมวชิ าการ (2546) ได้กาหนดหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2546 โดยยึดหลักการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ท่สี าคัญ ดงั น้ี 1. การสร้างหลักสูตรท่ีเหมาะสม การพัฒนาหลักสูตรพิจารณาจากความต้องการ และความสามารถ ตลอดจนวัยประสบการณ์ของเด็กโดยเป็นหลักสูตรที่มงุ่ เน้นตัวเด็กเป็นสาคัญและมุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน แบบองค์รวมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาบนพ้ืนฐานของการให้ความสาคัญกับประสบการณ์เดิมที่เด็กมีอยู่ และการสร้างเสริมประสบการณ์ใหม่ที่มีความหมายกบั ตวั เด็ก เป็นหลักสูตรที่ให้โอกาสเด็กท้ังเด็กปกติ เด็กด้อยโอกาส และเดก็ พเิ ศษได้พัฒนาตามศักยภาพรวมท้ังยอมรับในวัฒนธรรมและชีวิตความเป็นอยู่ของเด็ก ตลอดจนพัฒนาเด็กให้รู้สึกเป็นสุขในปัจจุบันมิใชเ่ พยี งเพื่อเตรียมเด็กสาหรบั อนาคตขา้ งหนา้ เท่านนั้ 2. การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ควรอยู่ในสภาพที่สนองความต้องการและความสนใจของเด็กท้ังภายในและภายนอกบ้านหรือหอ้ งเรยี น(สาหรับเด็กในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย) พ่อแม่หรือผู้เลีย้ งดเู ด็กจาเป็นต้องจัดสภาพแวดลอ้ มให้เด็กไดอ้ ยู่ในท่ีที่สะอาด ปลอดภัย อากาศถา่ ยเท ผ่อนคลายไมเ่ ครียด มีโอกาสออกกาลังกายและพกั ผ่อน เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 11มีส่ือวัสดุอุปกรณ์ มีของเล่นท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับวัย ให้เด็กมีโอกาสได้เลือกเล่น เรียนรู้เกี่ยวกับตนเองและโลกที่เด็กอยู่ รวมทง้ั พฒั นาการอยรู่ ่วมกบั คนอ่ืนในสังคม ดังนนั้ สภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอกบ้านหรือห้องเรียนจึงเป็นเสมือนสังคมย่อยหน่ึงที่มีคุณค่าสาหรับเด็กแต่ละคนจะเรียนรู้และสะทอ้ นใหเ้ หน็ ว่าบคุ คลในสังคมเหน็ ความสาคัญของการอบรมเลยี้ งดูและให้การศกึ ษากบั เด็กปฐมวัย 3. การจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการและการเรยี นร้ขู องเด็ก พอ่ แม่หรือผู้เล้ียงดูเดก็ มีความสาคัญต่อการจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กอย่างมาก พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเด็กต้องเปลีย่ นบทบาทจากผู้บอกความรู้หรือส่ังให้เด็กทามาเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจัดสภาพแวดล้อม ประสบการณ์ และกจิ กรรมส่งเสริมพฒั นาการและการเรยี นรู้ของเดก็ ตามความต้องการของเด็กโดยที่พ่อแมห่ รอื ผู้เลยี้ งดูเด็กและเด็กมีส่วนท่ีจะริเริ่มทั้ง 2 ฝ่าย ท้ังนี้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเด็กจะเป็นผู้สนับสนุน ช้ีแนะ และเรียนรู้ร่วมกับเด็ก ส่วนเด็กเป็นผู้ลงมือกระทา เรียนรู้ และค้นพบด้วยตนเอง ดังนั้น พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเด็กจะต้องยอมรับ เห็นคุณค่า รู้จักและเข้าใจธรรมชาติของเด็กแต่ละคนท่ีตนเองดูแลรับผิดชอบก่อน เพื่อจะได้วางแผนการจัดสภาพแวดล้อมและการจัดกิจกรรมท่ีจะสง่ เสรมิ พฒั นาการและการเรยี นรขู้ องเดก็ ได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูเด็กควรรู้จักพัฒนาตนเองในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเดก็ อย่างถกู วธิ ีและปรับปรงุ การใช้เทคนิคการจัดกิจกรรมต่างๆใหเ้ หมาะกับเด็กในแตล่ ะชว่ งวยั 4. การบูรณาการการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนหรือการส่งเสริมการเรียนรู้ ในระดับปฐมวัยยึดหลักการบูรณาการท่ีวา่ “หน่ึงแนวคิดเด็กสามารถเรยี นรู้ได้หลายกิจกรรมหน่ึงกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายทักษะและหลายประสบการณ์สาคัญ” การเรียนรู้ของเด็กเกิดขึ้นจากความสนใจและโอกาสในการลงมือกระทาจริงในวิถีชีวติ ประจาวัน ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของพ่อแม่หรือผู้เลย้ี งดูเด็กจะต้องวางแผนการจัดประสบการณ์ในแต่ละวันให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่นที่หลากหลายกิจกรรมหลากหลายทักษะ หลากหลายประสบการณ์สาคัญอย่างเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการ เพื่อให้บรรลุจดุ หมายของหลกั สูตรแกนกลางท่กี าหนดไว้ 5. การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก การประเมินเด็กระดับปฐมวัยยึดวิธีการสังเกตเป็นส่วนใหญ่ พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเด็กจะต้องสังเกตและประเมิน ทั้งการอบรมเล้ียงดู ของตนและพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กว่าเป็นไปตามจุดประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่ ผลทไ่ี ด้จากการสังเกตพัฒนาการเด็ก จากข้อมูลเชิงบรรยาย จากการรวบรวมผลงานของเด็ก จากพฤติกรรมการแสดงออกในสภาพท่ีเป็นจริง จากข้อมูลครอบครัวของเด็ก ตลอดจนการที่เด็กประเมินตนเองหรือผลงาน สามารถบอกได้ว่าเด็กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด ข้อมูลจากการประเมินพัฒนาการจะชว่ ยพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูเด็กในการวางแผนการจัดกจิ กรรม ชใ้ี ห้เห็นความต้องการพิเศษของเด็กแต่ละคน ใช้เป็นข้อมูลในการส่ือสารกับพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็ก และขณะเดียวกันยังใช้ในการประเมินประสิทธภิ าพและคุณภาพการจดั การศกึ ษาให้กับเด็กในวยั น้ีได้อกี ด้วย 6. ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับผู้เล้ียงดูเด็ก เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้งน้ีเน่ืองจากสภาพแวดล้อมที่เด็กเจริญเติบโตขึ้นมา พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูเด็กจะต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลทาความเข้าใจพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ต้องยอมรับและร่วมมือกัน รับผิดชอบ หรือถือเป็นหุ้นส่วนท่ีจะต้องช่วยกันพัฒนาเด็กให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการร่วมกัน ดังนั้นผู้เลี้ยงดูเด็กจึงมิใช่จะแลกเปล่ียนความรู้กับพ่อแม่ ผู้ปกครองด้วยกันเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กเท่านั้น แต่จะต้องให้พ่อแม่ เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 12ผปู้ กครอง มสี ่วนร่วมในการพฒั นาด้วย ทงั้ น้ี มิไดห้ มายความให้พอ่ แม่ ผปู้ กครองจะเป็นผกู้ าหนดเน้ือหาหลักสูตรตามความต้องการ โดยไมค่ านึงถึงหลกั การจดั ทเ่ี หมาะสมกบั วยั เด็ก สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) ได้กล่าวสรุปหลักการในการจัดการศึกษาปฐมวัยไว้ว่า โจนเฮนดริค (Joanne Hendrick) ยึดหลักในการจัดการศึกษาว่า “เด็กคือใครและเด็กต้องการอะไร” ซึ่งการจัดการศึกษาปฐมวัย พน้ื ฐานสาคญั ควรยดึ หลกั ดังต่อไปน้ี คือ 1. เด็กมพี ฒั นาการทกุ ขน้ั ตอน ดงั นั้น ควรจดั เตรียมการศกึ ษาให้เหมาะสมกบั ระดบั ช้ัน 2. เพิ่มความสามารถในการพัฒนาเด็กโดยเน้นให้เด็กมีความมั่นใจในตนเองและเห็นคณุ คา่ ของตนเอง 3. พัฒนาการทางด้านร่างกายและอารมณ์ให้ดีอยูเ่ สมอ 4. เด็กเรียนรู้ด้วยกระบวนการ เช่น ปฏิบัติจริง มีส่วนร่วมประสบการณ์กับบุคคลและทากิจกรรมต่าง ๆ เปิดโอกาสให้เด็กเรียนรู้อย่างอิสระโดยผ่านการเล่น มีโอกาสตัดสินใจด้วยตนเอง เคทส์ (Katz) สนับสนุนว่า หลักในการจัดการศึกษาควรยึดขอบข่ายต่อคาถามที่ว่า “เด็กต้องการอะไร” โดยเสนอว่าพื้นฐานความต้องการของเด็กนั้นเป็นสิ่งสาคัญที่ผู้ใหญ่ต้องรู้ว่ามีอะไรบ้างและจะตอบสนองอย่างไรจึงจะพัฒนาเด็กอยา่ งได้ผล ความตอ้ งการพื้นฐานของเด็กคือ 1. เด็กต้องการความรู้สกึ ปลอดภัยอย่างแทจ้ ริง ในสว่ นความต้องการท่ีพัฒนาตัวเด็กในระยะนี้น้ันความรู้สึกผูกพันอย่างม่ันคงไม่ใช่เพียงแต่ผู้ใหญ่ให้ความอบอุ่นเท่าน้ัน แต่ต้องให้ความปลอดภยั หรอื ความมน่ั คงแกเ่ ด็ก 2. เด็กทุกคนต้องการความเพียงพอหรือความสามารถที่จะทา ควรเสริมสร้างเด็กให้มีความคดิ เกี่ยวกบั ตนเองว่าเปน็ คนดี โดยคดิ คานงึ ให้อยูใ่ นขอบเขตท่ีเพียงพอไม่ใช่ว่าตนเองดีเกินความจรงิ 3. เด็กทุกคนควรมีความร้สู ึกหรือประสบการณ์เก่ยี วกับชีวิตของเขาในทางที่ดีกวา่ ชวี ิตมคี ุณค่า ความพอใจอยา่ งมเี หตุผล ความสนใจ ความแท้จริง ดงั น้ันควรทาในสิ่งท่เี ด็กรู้สึกวา่ ชีวิตของเขาเปน็ ความจรงิ 4. เด็กมีความต้องการที่จะให้ผู้ใหญ่กับเพื่อนเด็กอ่ืน ๆ ร่วมให้เขาต้องตัดสินใจด้วยประสบการณ์ตนเอง ไม่ควบคุมเด็กทุกด้าน ปล่อยให้เรียนรู้และตัดสินใจท่ีจะกระทากิจกรรมอะไรด้วยตนเอง 5. เดก็ ตอ้ งการให้ผ้ใู หญ่ยอมรบั ว่ามอี านาจในตวั เขาเอง 6. เด็กต้องการผลที่ดีที่สุดจากการสนองตอบกลับมาจากผู้ใหญ่และเพื่อน ๆ ซึ่งคุณสมบัติที่ควรให้แก่เด็กน้ันได้แก่ ความสามารถ ความซื่อสัตย์ ความใจดี ความเมตตา การยอมรับในความแตกต่างของผูอ้ น่ื ความต้องการท้ัง 6 ประการนี้ควรเป็นหลักของความรับผิดชอบท่ีผู้ใหญ่ควรจัดให้เด็ก ดังน้ันจงึ ถือเป็นหวั ใจหลักในการจัดการศึกษาปฐมวัย สรุปได้ว่า หลักการจัดการศึกษาปฐมวัยเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ควรมุ่งพัฒนาให้เด็กในทุกระดับได้รับความเสมอภาคเท่าเทียมกัน และมุ่งเน้นกระตุ้นการพัฒนาศักยภาพหรือความสามารถที่อยู่ภายในตัวของเด็กออกมา และพัฒนาศักยภาพน้ันให้เจริญงอกงาม และยึดหลักความแตกต่างระหว่างบคุ คลของเดก็ แต่ละคน เพอ่ื ทจ่ี ะได้พัฒนาไปในทางท่ถี กู ตอ้ งเหมาะสม เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 136. องคป์ ระกอบของกำรศึกษำปฐมวยั ดร.นรี ์ - จารน์ ีฟ (Dr. Nir - Jarniv อา้ งถึงใน เยาวพา เดชะคุปต์, 2542) กล่าวว่า การศกึ ษาปฐมวัยควรมีองคป์ ระกอบทสี่ าคญั 3 ประการ คือ 1. ตวั เด็ก ในเรื่องนี้ครูและผู้ที่เก่ียวข้องควรมีความเขา้ ใจเก่ียวกับความคดิ รวบยอดของตัวเด็กกล่าวคือ ควรเข้าใจถึงจิตวิทยาพัฒนาการ ธรรมชาติของเด็ก และเข้าใจถึงพัฒนาการในการคิด ความตอ้ งการ ฯลฯ ของเด็ก โดยควรคานึงถึงว่า 1.1 เด็กทุกคนมีความเหมือนกัน คือ มีการพัฒนาการไปตามลาดับขั้นตอน มีความตอ้ งการ และมีความกระตือรือรน้ เหมอื น ๆ กัน 1.2 เด็กทุกคนมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ ทุกคนจะมีภูมิหลังและพื้นฐาน ไม่เหมอื นกัน 1.3 เดก็ ทุกคนตอ้ งการมเี พ่ือน ในการจัดหลักสูตรสาหรับเด็กปฐมวยั จึงควรจัดให้สอดคล้องกับตัวเด็กโดยคานึงถึงพัฒนาการของเดก็ ทั้ง 4 ดา้ น คอื ด้านร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา และคานงึ ถึงวา่ เดก็ จะมีความแตกต่างระหวา่ งบุคคล 2. พ่อแม่ ในการจัดการศึกษา ควรคานึงถงึ ว่าพอ่ แม่เป็นครคู นแรกและเป็นแบบอยา่ งให้แกล่ ูกพ่อแม่เป็นบุคคลคนแรกท่ีลูกรู้จัก เป็นผู้ปลูกฝังความคิดและพัฒนาบุคลิกภาพ ตลอดจนค่านิยมต่าง ๆของสังคม จากการวิจัยพบว่า การนาพ่อแม่เข้ามามสี ่วนในการให้การศกึ ษากับลูกทาให้การศึกษาสาหรับเด็กดียิ่งข้ึน นอกจากน้ียังได้มีการให้การศึกษาแก่พ่อแม่ในการอบรมเล้ียงดูแก่ลูกให้มากข้ึน จึงเป็นสิ่งท่ีน่าคิดวา่ ทาอย่างไรเราจึงจะสามารถช่วยให้พ่อแมซ่ ่งึ เป็นบคุ คลทสี่ าคัญยิ่งของลกู ไดเ้ ข้าใจ และมสี ว่ นรว่ มในการให้การอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษาแก่ลูก เป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ลูกอย่างแท้จริง ดังนั้นในการจัดการศึกษาจงึ ควรมกี ารรวมเอาพ่อแม่เขา้ ไวใ้ นการจัดการศึกษาสาหรบั เด็กดว้ ย 3. ตัวครู ความหมายของครูในที่น้ีหมายรวมไปถึงผู้ดูแลเด็ก พ่ีเลี้ยง ศึกษานิเทศก์ และบคุ ลากรอ่ืน ๆ ทีม่ ีส่วนเก่ียวขอ้ งกับการอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษากับเด็ก ในการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัย ครูและบุคคลต่าง ๆ ที่กล่าวมาเป็นบุคคลที่มีความสาคัญต่อการอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษากับเด็ก ดังน้ันบุคคลเหล่าน้ีจึงควรมีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั การจัดการศึกษาสาหรับเด็กในวัยนด้ี ้วย โกร์ดอน และวิลเลียม บราวน์ (Gordon & Williams - Browne อ้างถงึ ใน นภเนตร ธรรมบวร,2549) ได้กล่าวไว้ว่า ในปัจจุบันการจัดการศึกษาปฐมวัยมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ปรัชญา ความเช่ือ รูปแบบวิธีการเรียนการสอน รวมตลอดถึงการจัดการสิ่งแวดล้อม อยา่ งไรก็ตาม กล่าวถึงการจดั การศกึ ษาปฐมวัยว่ามีองคป์ ระกอบที่สาคญั ร่วมกัน 3 ประการ คอื 1. อัตราส่วนของครผู ู้สอนตอ่ เด็ก 2. ขนาดของชนั้ เรียน 3. การศกึ ษา และประสบการณข์ องครู และผู้ดูแลเด็ก เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 14 สมาคมการอนุบาลศึกษาแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (National Association for theEducation of Young Children หรือ NAEYC อา้ งถึงใน นภเนตร ธรรมบวร, 2549) ไดก้ าหนดมาตรฐานการจัดการศึกษาปฐมวยั ทม่ี ีคณุ ภาพไว้ดังตอ่ ไปนี้ 1. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ในช้ันเรียน การจัดการศึกษาปฐมวัยท่ีมีคุณภาพควรส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ ท้ังนี้เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้พัฒนาความเข้าใจในตนเองและบุคคลรอบขา้ ง 2. หลักสูตรการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้เด็กเป็นผู้ลงมือปฏิบัติจริงในชั้นเรียนโดยผา่ นการจัดกิจกรรมที่เหมาะสม ทง้ั นี้ตอ้ งคานงึ ถงึ ความสนใจและประสบการณเ์ ดิมของเด็ก 3. การติดต่อส่ือสารกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ถือเป็นองค์ประกอบที่สาคัญมากในชีวิตของเด็กโรงเรยี นจงึ ควรส่งเสริม และกระตุ้นให้พอ่ แม่ ผู้ปกครองมสี ่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน 4. บุคลากรในสถานศึกษาปฐมวัยควรผ่านการอบรมเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กและการศึกษาปฐมวัย รวมตลอดถึงเป็นผู้ท่ีตระหนักในความต้องการของเด็ก ท้ังน้ีเนื่องจากคุณภาพและความสามารถของบคุ ลากรถอื เปน็ องค์ประกอบทส่ี าคญั ในการตดั สนิ คุณภาพของสถานศึกษาปฐมวัย 5. การให้ความสาคัญกับโครงสรา้ งของระบบการบริหารบุคลากรในสถานศึกษาปฐมวัยทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันว่า ความต้องการและความสนใจของเด็ก รวมตลอดถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผใู้ หญจ่ ะได้รับการตอบสนอง 6. การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ การจดั การศึกษาปฐมวยั ท่ีมีประสิทธิภาพสว่ นหนึ่งขึน้ อยู่กับคุณภาพของการบรหิ ารงาน การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพรวมถึงการติดต่อส่ือสารท่ีดี การมีความสมั พันธ์ท่ีดีกับชุมชน ความม่ันคงทางเศรษฐกิจการเงิน รวมตลอดถึงการให้ความเอาใจใส่ตอ่ ความต้องการ และการทางานของบคุ ลากรในการปกครอง 7. การจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกชั้นเรียน ควรคานึงถึงการมีสว่ นรว่ มของเดก็ ในกจิ วตั รประจาวนั และปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งเด็กกบั ผใู้ หญ่ 8. การดูแลสุขภาพ ความปลอดภัยของเด็กและผู้ใหญ่ การจัดการศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพจาเป็นต้องคานึงถึงการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บและอุบัติเหตุอนั อาจเกิดข้ึน รวมตลอดถึงให้ความรู้แกเ่ ดก็ เก่ียวกับความปลอดภยั 9. โภชนาการท่ีดี การจัดการศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพควรคานึงถึงหลักโภชนาการที่ดีกล่าวคือ เด็กจาเป็นต้องได้รับสารอาหารที่พอเพียงและมีคุณค่า รวมตลอดถึงมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารท่ดี ี 10. การประเมินผลท่เี ป็นระบบและมีความต่อเนอ่ื ง การประเมินผลเป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคัญในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษาปฐมวัย การประเมินผลควรมุ่งเน้นที่ประสิทธิภาพของการจดั การศึกษาปฐมวัยในการตอบสนองความต้องการของเด็กและผ้ปู กครอง ศศิพันธ์ุ เป๊ียนเปี่ยมสิน (2553) กล่าวว่า องค์ประกอบที่สาคัญในการจัดการศึกษาปฐมวัยได้แก่ พ่อแม่ และครู ดังนั้นพ่อแม่ ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจิตวิทยาพัฒนาการ ธรรมชาติของเด็ก ตลอดจนเข้าใจความคิดและความต้องการของเด็ก โดยการจัดการศึกษาปฐมวัยจะต้องจัดให้สอดคล้องกับพัฒนาการด้านต่าง ๆ ตามวัยของเด็ก คานึงถึงความสนใจความสามารถ ความถนัด และความแตกต่างระหว่างบุคคล นอกจากน้ันการให้การศึกษาแก่พ่อแม่ใน เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 15การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย เพื่อให้พ่อแม่เป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ลูกอย่างแท้จริง จึงมีความสาคัญและความจาเป็นอย่างย่ิงต่อการพฒั นาเด็กปฐมวยั สรปุ ไดว้ า่ องคป์ ระกอบทสี่ าคัญในการจดั การศึกษาปฐมวัย ไดแ้ ก่ ตัวเด็ก ครูผสู้ อน ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ชมุ ชนและสงิ่ แวดลอ้ ม การจดั หลกั สูตร และการบรหิ ารจดั การท้งั หมดเปน็ ปัจจยั สาคัญในการจัดการศึกษาปฐมวัย ท่ีจะสง่ ผลใหเ้ ด็กปฐมวัยไดร้ ับการพฒั นารอบด้านอยา่ งสมดลุ7. จุดมุง่ หมำยของกำรศึกษำปฐมวยั กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการกาหนดหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช2546 ขึ้นเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม มีประสิทธิภาพและมาตรฐานเดียวกัน สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยกาหนดจุดม่งุ หมายซ่ึงถอื เป็นมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ได้ ดังน้ี 1. สาหรับเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี การพัฒนาเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี มุ่งส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญาท่ีเหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจ และความแตกต่างระหว่างบคุ คล เพ่ือใหเ้ ด็กมีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ดังน้ี (กรมวิชาการ, 2546) 1.1 รา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวัยและมสี ุขภาพดี 1.2 ใช้อวยั วะของรา่ งกายได้คลอ่ งแคล่วประสานสมั พนั ธ์กนั 1.3 มคี วามสุขและแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวยั 1.4 รบั รูแ้ ละสรา้ งปฏิสัมพนั ธ์กบั บคุ คลและสงิ่ แวดล้อมรอบตัว 1.5 ช่วยเหลอื ตนเองได้เหมาะสมกับวยั 1.6 สื่อความหมายและใช้ภาษาได้เหมาะสมกบั วัย 1.7 สนใจเรียนรู้ส่ิงต่างๆ รอบตวั 2. สาหรับเด็กอายุต่ากว่า 3 - 5 ปี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ 3 - 5 ปี มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล จึงกาหนดจุดหมายซ่ึงถือเป็นมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังน้ี(กรมวชิ าการ, 2546) 2.1 รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวัยและมสี ุขนสิ ัยทด่ี ี 2.2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว และประสานสมั พนั ธ์กัน 2.3 มีสขุ ภาพจติ ทด่ี ีและมีความสขุ 2.4 มคี ุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจดีงาม 2.5 ชื่นชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี การเคล่อื นไหว และรักการออกกาลงั กาย 2.6 ชว่ ยเหลือตนเองได้เหมาะสมกับวยั 2.7 รักธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 16 2.8 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุข 2.9 ใชภ้ าษาส่อื สารได้เหมาะสมกบั วัย 2.10 มคี วามสามารถในการคดิ และการแกป้ ญั หาได้เหมาะสมกับวยั 2.11 มจี ิตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ 2.12 มีเจตคตทิ ่ีดตี ่อการเรยี นรู้ และมที กั ษะในการแสวงหาความรู้บทสรปุ เด็กปฐมวัย หมายถึง หมายถึง เด็กที่มีอายุตัง้ แตแ่ รกเกิด -5 ปี 11 เดือน 29 วัน หรอื ต่ากวา่ 6ปี ซ่งึ เป็นชว่ งอายุที่เปน็ รากฐานของการเจรญิ เติบโตทกุ ด้าน เดก็ ปฐมวัยเป็นช่วงวัยที่มีความสาคญั เพราะเด็กวัยน้ีเป็นช่วงวัยท่ีมีพัฒนาการด้านต่าง ๆ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ถ้าเราสามารถส่งเสริมเด็กในวัยนี้ได้ตรงกับความสนใจและความสามารถของเด็กจะทาให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และจะเป็นผู้ท่ีสามารถดารงชีวิตและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสขุ การศึกษาปฐมวัย หมายถึง การจดั การศึกษาสาหรับเด็กวัยแรกเกิดจนถงึ อายุ 6 ปี ซ่ึงเป็นการวางพื้นฐานทางการศึกษาให้แก่เด็กในระยะเริ่มต้น โดยมุ่งเตรียมความพร้อมเพ่ือส่งเสริมให้เด็กแตล่ ะคนได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสมตามวัย การจัดการศึกษาในระดับนี้มีความสาคัญมาก เพราะช่วงวัยท่ีสาคัญที่เด็กจะเกิดการเรียนรู้มากที่สุดในชีวิต เป็นช่วงวัยของการวางรากฐานและเตรียมตัวเพ่ือชีวิต เพื่อที่จะได้เจริญเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลทีม่ ีคณุ ค่าของประเทศชาติสืบไป หลักการจัดการศึกษาปฐมวัยเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัย ควรมุ่งพัฒนาให้เด็กในทุกระดับได้รับความเสมอภาคเท่าเทียมกัน และมุ่งเน้นกระตุ้นการพัฒนาศักยภาพหรือความสามารถที่อยู่ภายในตัวของเด็กออกมา และพัฒนาศักยภาพนั้นให้เจริญงอกงาม และยึดหลักความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็กแต่ละคน เพ่ือที่จะได้พัฒนาไปในทางท่ีถูกต้องเหมาะสม โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญในการจัดการศึกษาปฐมวัย ได้แก่ ตัวเด็ก ครูผู้สอน ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ชุมชนและสิง่ แวดลอ้ ม การจัดหลักสูตรและการบริหารจัดการทัง้ หมดเป็นปัจจยั สาคญั ในการจัดการศึกษาปฐมวัย ทีจ่ ะสง่ ผลให้เด็กปฐมวยั ไดร้ ับการพฒั นารอบด้านอยา่ งสมดุล เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 17 ใบงำน หนว่ ยที่ 1 ควำมรู้เบอื้ งตน้ เกี่ยวกับกำรศึกษำปฐมวยัคำช้ีแจง : 1. ให้นกั ศึกษาแบง่ กลุม่ ออกเป็น 5 กล่มุ (กลุ่มละ5-6 คน) โดยกาหนดบทบาทและหน้าที่ความรับผดิ ชอบของสมาชิกในกลมุ่ ใหช้ ดั เจน 2. มอบหมายงานใหน้ กั ศึกษาแตล่ ะกล่มุ ศกึ ษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชาการศึกษาปฐมวัย หน่วยท่ี 1 เรื่อง ความร้เู บื้องตน้ เกีย่ วกับการศึกษาปฐมวัย แล้วร่วมกนั สรปุ เนื้อหาในรูปของ Mind Mapping พรอ้ มกับนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรยี น ในประเด็น ดังนี้  กลุ่มที่ 1 หวั ข้อเรือ่ ง - ความหมายของเด็กปฐมวยั - ความสาคญั ของเด็กปฐมวยั  กลมุ่ ท่ี 2 หัวข้อเร่ือง - ความหมายของการศกึ ษาปฐมวยั - ความสาคัญของการศกึ ษาปฐมวัย  กลุ่มที่ 3 หัวขอ้ เรอ่ื ง - หลกั การจัดการศกึ ษาปฐมวัย  กลุ่มที่ 4 หัวข้อเรือ่ ง - องค์ประกอบของการศึกษาปฐมวัย  กลุ่มที่ 5 หัวขอ้ เรื่อง - จุดม่งุ หมายของการศกึ ษาปฐมวยั ****************************************** เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 18 แบบฝกึ หดั หลงั เรยี น หนว่ ยที่ 1 ควำมรู้เบ้ืองตน้ เกีย่ วกับกำรศึกษำปฐมวัยคำชีแ้ จง : ใหน้ ักศึกษาตอบคาถาม อธบิ าย แสดงความคิดเหน็ ยกตวั อยา่ งหรือตามคาส่ังแตล่ ะข้อท่ี กาหนดให้1. จงอธิบายความหมายของเดก็ ปฐมวัย ตามความเขา้ ใจของนักศกึ ษา................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... .......................................2. นกั ศกึ ษาคดิ ว่าเด็กปฐมวัยมคี วามสาคัญอยา่ งไร จงอธบิ าย พร้อมยกตัวอยา่ งประกอบ............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .......................................3. จงอธบิ ายความหมายของการศกึ ษาปฐมวัย ตามความเข้าใจของนักศกึ ษา............................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .......................................4. จงอธิบายความสาคัญของการศกึ ษาปฐมวยั ตามความเขา้ ใจของนักศึกษา............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ....................................... เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 195. จงบอกองค์ประกอบของการศกึ ษาปฐมวัย............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... .......................................6. จงบอกจุดมุ่งหมายของการศกึ ษาปฐมวยั 6.1 จุดมุ่งหมายของการศึกษาปฐมวัยสาหรับเดก็ อายตุ ่ากว่า 3 ปี............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ....................................... 6.2 จดุ มุ่งหมายของการศึกษาปฐมวยั สาหรับเดก็ อายุ 3-5 ปี............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .................. เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 20 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยที่ 1 ควำมรู้เบ้อื งตน้ เกยี่ วกบั กำรศกึ ษำปฐมวัยรหสั -ชอ่ื รายวิชา ศษ 0103 การศกึ ษาปฐมวัย ระดับอนปุ ริญญา ชั้นปีท่ี 1หนว่ ยที่ 1 ความรเู้ บอื้ งต้นเก่ยี วกับการศึกษาปฐมวยั จานวน 10 ขอ้ เวลา 15 นาทีคำช้ีแจง : อา่ นคาถามตอ่ ไปน้ีท่ีละข้อ แล้วเขยี นเครื่องหมาย X ทข่ี ้อคาตอบท่ีเห็นวา่ ถูกต้องทส่ี ุด เพยี งข้อเดียว1. จดุ มุง่ หมายของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย สาหรบั เดก็ อายุ 3-5 ปี ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้อง ก. รับรู้และสร้างปฏสิ ัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตวั ข. ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมกบั วยั ค. ใช้อวยั วะของรา่ งกายได้คลอ่ งแคล่วประสานสัมพนั ธ์กัน ง. รักธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย2. ข้อใดไม่ใช่หลักการจัดการศกึ ษาปฐมวัย ก. หลักความรว่ มมือ ข. หลกั การพฒั นาเดก็ โดยองคร์ วม ค. หลักการจัดประสบการณ์ทีย่ ึดเดก็ เป็นสาคญั ง. หลักความสามาความสามารถและความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล3. หลักการจดั การศึกษาปฐมวัยของหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2546 มีสาระสาคัญดังน้ียกเว้นขอ้ ใด ก. ส่งเสริมกระบวนการเรยี นรแู้ ละพัฒนาการท่ีครอบคลมุ เด็กปฐมวัยทกุ ประเภท ข. พฒั นาเดก็ โดยองคร์ วมผา่ นการเลน่ และกจิ กรรมท่ีเหมาะกับวัย ค. มุ่งให้เดก็ มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคมและสติปญั ญาท่ีเหมาะสมกับวัย ง. ยดึ หลักการอบรมเล้ียงดแู ละให้การศึกษาท่เี น้นเดก็ เป็นสาคัญ4. การจดั การศึกษาปฐมวัยในขอ้ ใดทีแ่ สดงวา่ สามารถจัดการศึกษาไดเ้ หมาะสมและสอดคล้องกับจุดมุง่ หมายของการจัดการศึกษาปฐมวัย ก. โรงเรยี น ก. รบั เดก็ อายุ 3-6 ปี ในทอ้ งถ่ินทกุ คน ข. โรงเรียน ข. รบั เด็กแต่แรกเกิด-3 ปี ท่พี อ่ แมฐ่ านะยากจน ค. โรงเรยี น ค. รับเด็กตั้งแต่แรกเกิด-6 ปี เพ่ือส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ทุกด้าน ง. โรงเรียน ง. รับเด็กตั้งแตแ่ รกเกิด-3 ปี เพ่ือชว่ ยเล้ียงดใู นระหวา่ งทพ่ี อ่ แม่ไปประกอบอาชีพ5. จุดมงุ่ หมายของการศึกษาปฐมวัยมงุ่ เนน้ ใหเ้ ด็กได้พัฒนาครบทุกด้าน ยกเวน้ ข้อใดก. ด้านรา่ งกาย ข. ดา้ นอารมณ์ - จิตใจข. ดา้ นการสงั เกต ง. ดา้ นสตปิ ัญญา เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 216. ความหมายของการศึกษาปฐมวัยขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้อง ก. เปน็ การศึกษาเด็กอายุต้งั แต่แรกเกดิ จนถงึ 6 ปี และเรยี นรู้เกย่ี วกับพัฒนาการเด็กความ ตอ้ งการของเดก็ ข. เปน็ การศึกษาเด็กอายตุ ั้งแต่แรกเกดิ จนถงึ 8 ปี และเรียนรู้เก่ยี วกับพัฒนาการเด็กความ ตอ้ งการของเดก็ ค. เป็นการศึกษาเด็กอายุตงั้ แต่แรกเกดิ จนถงึ 10 ปี และเรียนรูเ้ ก่ียวกับพัฒนาการเด็กความ ต้องการของเด็ก ง. เปน็ การศึกษาเด็กอายตุ ั้งแต่ 3 ปี จนถงึ 6 ปี และเรยี นรเู้ กยี่ วกับ พัฒนาการเด็กความ ตอ้ งการของเดก็7. “เดก็ ปฐมวยั ” ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2546 หมายถึงข้อใด ก. เด็กตงั้ แต่แรกเกดิ ถงึ 5 ปบี ริบูรณ์ ข. เดก็ ตง้ั แต่แรกเกิด ถึง 6 ปบี ริบูรณ์ ค. เด็กต้งั แต่แรกเกดิ ถึง 5 ปี 11 เดือน 29 วัน ง. เด็กต้งั แตแ่ รกเกิด ถงึ 5 ปี 11 เดือน 30 วัน8. ข้อใดคือองคป์ ระกอบทสี่ าคญั ในการจัดการศึกษาปฐมวยัก. ตวั เด็ก ข. ครูผู้สอนข. ผปู้ กครอง ง. ถกู ทุกข้อ9. จดุ มุง่ หมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 สาหรับเด็กอายตุ ่ากว่า 3 ปี ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. พัฒนาเด็กโดยองคร์ วมผา่ นการเลน่ และกจิ กรรมทเี่ หมาะสมกบั วัย ข. ประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว ชุมชนและสถานศึกษาในการพัฒนาเดก็ ค. จดั ประสบการณก์ ารเรียนรใู้ ห้สามารถดารงชีวติ ประจาวันไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพและมคี วามสุข ง. มุง่ สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คมและสติปัญญาทีเ่ หมาะสม กับวัยความสามารถ ความสนใจ และความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล10. ตอ่ ไปน้ีขอ้ ใดคือความสาคญั ของการจดั การศึกษาปฐมวัย ก. เป็นการจัดการศกึ ษาในรูปแบบของการบูรณาการผา่ นกระบวนการเล่น เพื่อใหเ้ ดก็ เกิดการเรยี นรู้ ข. เป็นการจดั การศึกษาให้เด็กได้รบั ประสบการณ์ตรงจากการใช้ประสาทสัมผสั ทง้ั 5 ตามแนวคดิ ของมอนเตสซอรี่ ค. เปน็ การวางรากฐานของการศึกษาและการอบรมเลีย้ งดูท่ีตอ้ งครอบคลุมพฒั นาการท้ัง 4 ดา้ นเพ่ือให้เด็กเจริญเติบโตเป็นบคุ คลท่มี ีประสิทธิภาพและมีคุณคา่ แกส่ ังคม ง. เป็นการพฒั นาบุคคลให้มีคุณภาพโดยการส่งเสรมิ พัฒนาการจากผู้เชย่ี วชาญดา้ นปฐมวยั เป็นหลกั **************************************************** เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 22 บรรณำนกุ รมวิชาการ, กรม กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2546). หลกั สตู รกำรศึกษำปฐมวยั พุทธศกั รำช 2546. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพร้าว.วิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สานกั . (2548). แนวดำเนินงำนศนู ยต์ ้นแบบ. กรงุ เทพฯ : ม.ป.ท.วรี พล สารบรรณ. (2547). กำรศกึ ษำสภำพกำรจัดกำรศกึ ษำระดบั ก่อนประถมศึกษำ (อนบุ ำล 3 ขวบ). หนองคาย : ม.ป.ท.นภเนตร ธรรมบวร. (2549). หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวยั . พมิ พ์ครงั้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .นนทิยา นอ้ ยจนั ทร์. (2549). กำรประเมนิ ผลพัฒนำกำรเด็กปฐมวัย. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. นครปฐม : นติ นิ ยั จากัด.บษุ บง ตนั ติวงศ.์ (2552). กำรศกึ ษำวอลดอร์ฟ : ปรชั ญำ หลกั สตู รและกำรสอน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .พัชรี เจตนเ์ จรญิ รักษ์. (2545). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวิชำ 1072307 กำรเตรียมควำมพร้อม เพ่ือกำรเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย. ลพบุรี : สถาบันราชภฎั เทพสตร.ีพิทยาภรณ์ มานะจตุ ิ. (2548). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวิชำกำรจัดกำรศึกษำระดบั อนบุ ำล. พิมพ์ครงั้ ที่ 8. เชยี งใหม่ : ภาควิชาการอนบุ าลศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ เชยี ใหม่เยาวพา เดชะคุปต.์ (2542). กำรศกึ ษำปฐมวัย. กรงุ เทพฯ : แมค็ .สริ ิมา ภญิ โญอนันตพงษ.์ (2550). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวชิ ำ ECED 201 กำรศึกษำปฐมวัย (Early Childhood Education). กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สวนดสุ ติ .ศศพิ ันธ์ุ เปี๊ยนเปี่ยมสิน. (2553). เอกสำรชุดวิชำ ECED 201 กำรศึกษำปฐมวัย (Early Childhood Education). กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสวนดสุ ติ .อรณุ ี ทองดี และคณะ. (2555). หลักกำรและแนวคิดทำงกำรศึกษำปฐมวัย (ปรบั ปรุงครง้ั ที่ 1). กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช. เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 23 หน่วยท่ี 2 ปรชั ญาทางการศึกษาและทฤษฎีทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั พัฒนาการของเดก็ ปฐมวัยสำระสำคญั ปรัชญาทางการศึกษาได้แก่ ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยมปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม และทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ได้แก่ ทฤษฎีพัฒนาการทางร่างกายของกีเซล ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพของซิกมันต์ ฟรอยด์ ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพของอิริคสัน ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูเนอร์ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของแบนดูรา ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก และทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ และโฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ ซึ่งทุกทฤษฎีอธิบายธรรมชาติความเจริญของมนุษย์ มีการเปล่ียนแปลงคุณภาพแบบค่อยเป็นค่อยไป ความรู้พ้ืนฐานเหล่านี้จะเปน็ องค์ความรู้นาไปสูก่ ารปฏบิ ัตติ ่อเด็กปฐมวัยอยา่ งมีประสิทธภิ าพจดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ 1. บอกประวัติความเปน็ มา แนวคิดพ้ืนฐาน และแนวคดิ ทางการศึกษาของปรชั ญาทางการศึกษาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 2. บอกแนวคดิ ทสี่ าคญั ของทฤษฎีท่ีเกยี่ วข้องกับพัฒนาการของเด็กปฐมวยั ได้อย่างถูกต้องสำระกำรเรยี นรู้ 1. ปรชั ญาทางการศึกษา 1.1 ปรชั ญาการศึกษาสารตั ถนิยม (Essentialism) 1.2 ปรชั ญาการศึกษานิรันตรนิยม (Perennialism) 1.3 ปรชั ญาการศกึ ษาพพิ ัฒนาการนิยม (Progessivism) 1.4 ปรัชญาการศกึ ษาปฏริ ูปนิยม (Reconstructionism) 1.5 ปรชั ญาการศกึ ษาอตั ถิภาวนยิ ม (Existentialism) 2. ทฤษฎีท่เี ก่ยี วข้องกบั พฒั นาการของเด็กปฐมวยั 2.1 ทฤษฎพี ัฒนาการทางรา่ งกายของกเี ซล 2.2 ทฤษฎพี ฒั นาการทางบุคลกิ ภาพของซิกมนั ต์ ฟรอยด์ 2.3 ทฤษฎพี ฒั นาการทางบคุ ลิกภาพของอริ คิ สัน 2.4 ทฤษฎกี ารเรียนรู้ของบรเู นอร์ 2.5 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสงั คมของแบนดูรา 2.6 ทฤษฎีพฒั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอรก์ 2.7 ทฤษฎพี ัฒนาการทางสตปิ ญั ญาของเพยี เจต์ 2.8 ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปญั ญาของโฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 24 บทนำ การศึกษานับว่าเป็นปัจจัยท่ีสาคัญย่ิงในการพัฒนาประเทศท้ังในด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เคร่ืองมือชนิดหน่ึงในการเตรียมประชากรของชาติให้มีคุณภาพ คือ การศึกษาโดยการจัดการศึกษาของประเทศนั้นควรจะต้องมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติถ้ามีการเปล่ียนแปลงนโยบายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การจัดการศึกษาของประเทศก็จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ซ่ึงในแต่ละสังคมจะมีแนวทางในการจัดการศึกษาต่างกันเพราะสภาพของสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองท่ีไม่เหมือนกัน ตามแนวความคิดหรือความเชื่อเก่ียวกับการจัดการศึกษา ก็คือ ปรัชญาทางการศึกษา ดังนั้นผู้ที่มีหน้าท่ีในการจัดการศึกษาควรยึดแนวทางในการจัดการศึกษา หรือปรชั ญาของการศกึ ษาต่างกันไปตามวตั ถุประสงค์ของสังคมและสถานการณ์ทางสังคม ในแต่ละยุคสมัย การจัดการศึกษาของประเทศใดถ้าไม่ยึดการศึกษาที่ถูกต้องก็ไม่มีทางท่ีจะทาให้ประเทศเจริญไปสู่เป้าหมายท่ีต้องการ ปรัชญาการศึกษา จึงเป็นส่ิงสาคัญในการกาหนดแนวทางในการพัฒนาประเทศ ปรัชญาทางการศึกษาและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เป็นก้าวแรกแห่งการศึกษาความรู้ท่ีสร้างความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างมีเหตุผลซึ่งครอบคลุมเน้ือหาสาระเก่ียวกับปรชั ญาทางการศึกษา ได้แก่ ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยมปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม และทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ได้แก่ ทฤษฎีพัฒนาการทางร่างกายของกีเซล ทฤษฎีพฒั นาการทางบุคลิกภาพของซิกมันต์ ฟรอยด์ ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพของอิริคสัน ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูเนอร์ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของแบนดูรา ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก และทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ ซึ่งทุกทฤษฎีอธิบายธรรมชาติความเจริญของมนุษย์ มีการเปล่ียนแปลงคุณภาพแบบค่อยเป็นค่อยไป ความรู้พื้นฐานเหล่านี้จะเป็นองค์ความรู้นาไปสู่การปฏบิ ัติตอ่ เด็กปฐมวยั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ1. ปรชั ญำทำงกำรศกึ ษำ อรสา สุขเปรม (2549) กล่าวว่า ปรัชญาการศึกษามีอยู่มากมายหลายลัทธิตามลักษณะและตามธรรมชาติของมนุษย์ท่ีต่างก็คิดและเชื่อไม่เหมือนกันอาศัยแนวคิดของปรัชญาพื้นฐานที่แตกต่างกันหรือนามาผสมผสานกันทาให้มีลักษณะท่ีคาบเกี่ยวกันหรืออาจมาจากความคิดของปรัชญาพื้นฐานสาขาเดียวกัน ดังนั้นปรัชญาการศึกษาจึงมีหลายลัทธิหลายระบบ ในท่ีนี่จะกล่าวถึงปรัชญาการศึกษาที่มีอทิ ธพิ ลต่อการจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั และเปน็ ทีน่ ยิ มกันอย่างกว้างขวางดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1 ปรชั ญำกำรศึกษำสำรตั ถนยิ ม (Essentialism) ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม (Essentialism) เป็นปรัชญาการศึกษาท่ีเกิดในอเมริกา เม่ือประมาณ ปี ค.ศ.1930 โดยการนาของ วิลเลยี่ ม ซี แบคลี (William C. Bagley) และคณะได้รวมกลุม่ กันเพ่ือเผยแพร่ แนวคิดทางการศึกษาฝ่ายสารัตถนิยม และได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในสมัยสงครามโลกครั้งท่ี 2 และยังนิยมเรื่อยมาอีกเปน็ เวลานาน เพราะมีความเช่ือว่าลัทธิปรัชญาสารัตถนยิ มมี เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวยั | 25ความเข้มแข็งในทางวิชาการและมีประสิทธิภาพในการสรา้ งค่านิยมเกย่ี วกับระเบียบวินัยได้ดีพอที่จะทาใหโ้ ลกเสรตี ่อสู้กบั โลกเผดจ็ การของคอมมวิ นิสต์ 1.1.1 แนวความคิดพ้ืนฐาน ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยมมาจากปรัชญาพ้นื ฐาน 2 ฝ่ายคือ ฝ่ายจิตนิยมซ่ึงมีความเชื่อว่า จิตเป็นส่วนท่ีสาคัญที่สุดในชีวิตของคนการที่จะรู้และเห็นความจริงได้ก็ด้วยความคิด อีกฝ่ายหนึ่งคือ วตั ถนุ ิยมซึง่ มคี วามเชอ่ื ในเร่อื งวตั ถุนิยมวตั ถุในธรรมชาติที่เราเห็น สมั ผัสหรือมีประสบการณ์ต่อส่ิงเหล่านั้นท้ังสองฝ่ายกลายเป็นเนื้อหาหรือสาระหรือสารัตถศึกษา ปรัชญาการศึกษาลัทธินี้ให้ความสนใจในเนื้อหาเป็นหลักสาคัญถือว่าเน้ือหาสาระต่างๆ เช่น ความรู้ทักษะ ทัศนคติ ค่านิยม และอื่น ๆเป็นส่ิงที่ดีงามถูกต้องได้รับการกลั่นกรองมาดีแล้วควรได้รับการทานุบารุงและถ่ายทอดไปให้แก่คนรุ่นหลงั ถอื เป็นการอนรุ กั ษแ์ ละถ่ายทอดทางวัฒนธรรม 1.1.2 แนวความคิดทางการศกึ ษา ปรัชญาน้ีมีความเช่ือว่า การศึกษาควรมุ่งพัฒนาความสามารถที่มนุษย์มีอยู่แล้วเช่น ความสามารถในการจา ความสามารถในการคดิ ความสามารถที่จะรสู้ ึก ฯลฯ การศกึ ษาควรมุง่ ทีจ่ ะถ่ายทอดความรทู้ ี่สั่งสมกันมา ความเช่ือความศรทั ธาต่าง ๆ ที่ยึดถือกันเป็นอมตะอบรมมนุษย์ให้มีความคิดเห็น และความเป็นอยู่สมถะของการเป็นมนุษย์ ดังน้ันจึงควรจัดประสบการณ์ให้ได้มาซึ่งความรู้ทกั ษะ คา่ นยิ มท่จี าเปน็ ตอ่ การดารงชีวติ รจู้ กั รกั ษาและสบื ทอดทางวฒั นธรรมอนั ดีงามของสังคมไว้ 1.2 ปรัชญำกำรศกึ ษำนริ นั ตรนยิ ม (Perennialism) ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม (Perennialism) เป็นปรัชญาการศึกษาที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญาพื้นฐานกลุ่มวัตถุนิยมเชิงเหตุผล (Rational realism) หรือบางทีเรียกว่า เป็นพวกโทมนัสนิยมใหม่ (Neo – Thomism) เกดิ ข้นึ ในขณะท่ีประเทศตา่ ง ๆ ทว่ั โลกกาลังมีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีใหมๆ่ เกิดขึ้น โดยเฉพาะประเทศทางตะวนั ตกซงึ่ มรี ะบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม ก่อให้เกิดการแข่งขันทางการค้าอย่างไม่เป็นธรรม มีการเอารัดเอาเปรียบสินค้าราคาสูงเกิดปัญหาครอบครัวขาดระเบยี บวินัย มนษุ ย์ไมส่ ามารถปรับตัวใหเ้ ข้ากับวทิ ยาศาสตร์สมัยใหมไ่ ด้ทาให้วฒั นธรรมเสื่อมสลายลงไปจึงมีการเสนอปรัชญาการศึกษาลัทธิน้ีข้ึนมาเพ่ือให้การศึกษาเป็นสิ่งนาพามนุษย์ไปสู่ความมีระเบียบเรียบร้อย มีเหตแุ ละผล มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม จงึ เป็นท่มี าของปรัชญาการศกึ ษานิรันตรนยิ ม ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม มีมาแล้วต้ังแต่สมัยกรีกโบราณ ผู้เป็นต้นคิดของปรัชญาลัทธิน้ีคือ อริสโตเติล (Aristotle) และเซนต์โทมัส อะไควนัส (St. Thomas Aquinas) อริสโตเติลได้พัฒนาปรัชญาลทั ธินโ้ี ดยเน้นการใช้ความคิดและเหตุผล จนเชื่อได้ว่า Rational humanism ส่วนอะไควนัส ได้นามาปรับให้เข้ากับสถานการณ์โดยคานึงถึงความเช่ือเก่ียวกับพระเจ้า เรื่องศาสนา ซึ่งเป็นเรื่องของเหตุและผลแนวคิดนี้มีสว่ นสาคญั โดยตรงต่อแนวคดิ ทางการศึกษาในศตวรรษท่ี 20 นักปรชั ญาท่ีเปน็ ผู้นาของปรัชญานี้ในขณะน้ีคือ โรเบิร์ต เอ็มฮัทชินส์ (Robert M. Hutchins) และคณะได้รวบรวมหลักการและให้กาเนิดปรัชญานิรันตรนยิ มขึ้นมาใหมใ่ นปี ค.ศ.1929 1.2.1 แนวความคิดพนื้ ฐาน ปรัชญานิรันตรนิยมมีรากฐานมาจากปรัชญาจิตนิยมและปรัชญาวัตถุนิยมปรชั ญาการศึกษาลัทธิน้แี บ่งออกเป็น 2 ทัศนะคอื ทัศนะแรกเนน้ ในเรอื่ งเหตุผลและสติปัญญา อกี ทัศนะหน่ึงเป็นเรื่องเกี่ยวกับศาสนาโดยเฉพาะกลุ่ม ศาสนาคริสตน์นิกายโรมันคาทอลิค ต้ังแต่ 2 ทัศนะเกี่ยวข้องกับเหตุและผลจนเช่ือได้ว่า เป็นโลกแห่งเหตุผล ส่วนคาว่า นิรันตร เชื่อว่า ความคงทนถาวร เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 26ย่อมเปน็ จรงิ มากกว่าสิ่งที่เปลี่ยนแปลงการศึกษาควรสอนส่ิงทเ่ี ป็นนิรันตรไม่เปล่ียนแปลงและจะเป็นส่งิ ที่มคี ุณคา่ ทกุ ยคุ ทุกสมัยได้แก่คุณคา่ ของเหตุผลคุณค่าของศาสนา เป็นการนา เอาแบบอยา่ งท่ดี ีของอดตี มาใช้ในปัจจบุ นั หรือย้อนกลับไปส่สู ิ่งทด่ี ีงามในอดีต 1.2.2 แนวคดิ ทางการศกึ ษา ปรัชญาการศึกษาลัทธินี้เช่ือว่า สิ่งที่สาคัญท่ีสุดของธรรมชาติมนุษย์คือความสามารถในการใช้เหตุผล ซ่ึงความสามารถในการใช้เหตุผลนั้นจะควบคุมอานาจฝ่ายต่าของมนุษย์ได้ เพ่ือให้มนุษย์บรรลุจุดมุ่งหมายในชีวิตท่ีปรารถนาดังท่ี โรเบิร์ต เอ็มฮัทชินส์ (Hutchins, 1953 : 68อ้างถึงใน อรสา สุขเปรม, 2549) กล่าวว่า การปรับปรุงมนุษย์ หมายถึง การพัฒนาพลังงานเหตุผลศีลธรรมและจิตใจอย่างเต็มที่ มนุษย์ทุกคนล้วนมีพลังเหล่าน้ีและมนุษย์ควรพัฒนาพลังท่ีมีอยู่ให้ดีที่สุดการศึกษาในแนวปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม คือ การจัดประสบการณ์ให้ได้มาซึ่งความรู้ ความคิดท่ีเป็นสัจธรรม มีคณุ ธรรม และมีเหตผุ ล 1.3 ปรัชญำกำรศึกษำพิพัฒนำกำรนิยม (Progressivism) ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) ปรัชญาน้ีให้กาเนิดขึ้นเพ่ือต่อต้านแนวคิดดังเดิมที่การศึกษามักเน้นแต่เนื้อหา สอนให้ท่องจาเพียงอย่างเดียว ทาให้เด็กพัฒนาด้านสติปัญญาอย่างเดียว ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ ไม่มีความกล้าและความมั่นใจในตนเองประกอบกับ มีความก้าวหน้าในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทาให้เกิดแนวความคิดปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมขึ้น ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมเกิดขึ้นใน ค.ศ.1870 โดยฟรานซิส ดับเบิ้ลยูปาร์คเกอร์(Francis W. Parker) ได้เสนอให้มีการปฏิรูปการศึกษาเสียใหม่ เพราะการเรียนแบบเก่าเข้มงวดเรื่องระเบียบวินัย แต่แนวคิดน้ีไม่ได้รับการยอมรับ ต่อมา จอห์น ดิวอ้ี (John Dewey) ได้นาแนวคิดน้ีมาทบทวนใหม่โดยเริม่ งานเขียนชือ่ School of Tomorrow ออกตีพิมพ์ในปี ค.ศ.1915 ตอ่ มามีผู้สนบั สนุนมากขึ้นจงึ ตั้งเป็นสมาคมการศึกษาแบบพพิ ฒั นาการ (Progressive Education Association) (Kneller,1971 : 47 อ้างถึงใน อรสา สุขเปรม, 2549) และนาแนวคิดไปใช้ในโรงเรียนต่างๆ แต่ก็ถูกจู่โจมตีจากฝ่ายปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม กลับมาได้รับความนยิ มอีกจนสมาคมการศกึ ษาพิพัฒนาการนิยมตอ้ งยุบเลิกไป แตแ่ นวคิดทางการศึกษาปรชั ญาพิพัฒนาการนิยมยังคงใช้ในสหรัฐอเมริกา ต่อมาได้รับความนิยมมากข้ึนและแพร่หลายไปยังประเทศตา่ ง ๆ รวมท้ังประเทศไทยด้วย 1.3.1 แนวความคดิ พ้ืนฐาน ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมมีพื้นฐานมาจากปรัชญาลัทธิประจักษ์วาท ซ่ึงเกิดในประเทศอังกฤษในคริสต์ศตวรรษท่ี 17 ต่อมาได้นาเอาแนวคิดประจักษ์วาทมาสร้างเป็นปรัชญาลัทธิใหมม่ ีช่ือเรียกต่าง ๆ กัน เช่น Experimentalism, Pragmatism, Instrumentalism ซ่ึงปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมก็มีแนวคิดมาจากปรัชญาดังกล่าว คาว่า พิพัฒน์ หรือ Progressive หมายถึง ก้าวหน้าเปล่ียนแปลงไม่หยุด อยู่กับท่ี สาระสาคัญของความเป็นจริง และการแสวงหาความรู้ไม่หยุดน่ิงอยู่กับที่แต่จะเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลาและส่ิงแวดล้อม บุคคลสามารถแสวงหาความรู้ได้จากประสบการณ์ประสบการณ์จะนาไปสู่ความรู้ และความรู้เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง ปรัชญาน้ีเน้นกระบว นการโดยเฉพาะกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์เมื่อนามาใช้กับการศึกษาแนวทางของการศึกษาจึงตอ้ งพยายามปรับปรุงให้สอดคล้องกับกาลเวลาและภาวะแวดลอ้ มอยู่เสมอ การศึกษาจะไมส่ อนใหค้ นยึดม่ันในความจริง ความรู้ และค่านิยมที่คงที่ หรือสิ่งที่กาหนดไว้ตายตัวต้องหาทางปรับปรุงการศึกษาอยู่ เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 27เสมอ เพื่อนาไปสู่การค้นพบความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ ปรัชญาน้ีอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปรัชญาประสบการณ์นยิ ม (Experimentalism) 1.3.2 แนวความคดิ ทางการศึกษา มีแนวคิดว่าการศึกษาคือ ชีวิต มิใช่เป็นการเตรียมตัวเพื่อชีวิต หมายความว่าการทจ่ี ะมีชีวิตอยู่อย่างมีความสขุ จะต้องอาศยั การเข้าใจความหมายของประสบการณ์นิยม ฉะนั้นผเู้ รียนจึงควรจะได้เรยี นรใู้ นสิ่งที่เหมาะแก่วัยของเขาและสิ่งท่จี ัดให้ผ้เู รียนเรยี นควรจะเป็นไปในทางที่ก่อให้เกิดประสบการณ์ท่ีผเู้ รียนสามารถเข้าใจปัญหาชีวิตและสังคมในปัจจุบันและหาทางปรับตัวให้เข้ากับภาวะท่ีเปน็ จริงในปจั จุบนั (Kneller, 1971 อา้ งถึงใน อรสา สุขเปรม, 2549) 1.4 ปรัชญำกำรศกึ ษำปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) ในปี ค.ศ.1930 ได้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าในสหรฐั อเมรกิ า เกดิ ปัญหาการว่างงาน คนไม่รจู้ กั ใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ เกดิ ช่องวา่ งระหวา่ งชนช้ันในสังคม จึงมีนักคิดกลุ่มหนึ่งพยายามจะแก้ปัญหาสังคมโดยใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสงั คม ผนู้ าของกลุ่มนกั คิดกลุ่มน้ี ได้แก่ จอรจั เอสเค้าทส์ (George S.Counts) ซึง่ มีความเห็นดว้ ยกับหลักการประชาธิปไตยแต่ต้องเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง และควรเห็นว่าโรงเรียนควรมีหน้าที่แก้ปัญหาเฉพาะอย่างของสังคมผู้ที่วางรากฐานและตั้งทฤษฎีปฏิรูปนิยม ได้แก่ ธีโอดอร์ บราเมลด์(Theodore Brameld) ในปี ค.ศ.1950 โดยได้เสนอปรัชญาการศึกษาเพื่อปฏิรูปสังคมและได้ตีพิมพ์ลงในหนังสือหลายเล่ม ธโี อดอร์ บราเมลด์ จึงได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาของปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม” 1.4.1 แนวความคิดพื้นฐาน ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยมมีแนวความคิดที่พัฒนามาจากปรัชญาพิพัฒนาการนิยม หรือปฏิบัตินิยมซึ่งมีความเช่ือว่า ความรู้ความจริงเป็นส่ิงท่ีเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ความรู้เป็นเครอ่ื งมือในการแก้ปัญหา ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมเน้นความสาคัญ ของการพัฒนาผู้เรียน ส่วนปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยมมีแนวความคิดว่า ผู้เรียนมิได้เรียนเพ่ือพัฒนาตนเองเพียงอย่างเดียวแต่ต้องเรียนเพ่ือนาความรู้ไปพัฒนาสังคมให้สังคมเป็นสังคมประชาธิปไตยอย่างแท้จริง คาว่า ปฏิรูป หรือReconstruct หมายถึง บูรณะการสร้างข้ึนมาใหม่หรือทา ขึ้นใหม่ เน้นการสร้างสังคมใหม่ เพราะว่าสงั คมขณะนน้ั มีปัญหาต่าง ๆ มากมาย ท้ังปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง การศึกษาจึงมีบทบาทในการเป็นเคร่ืองมือสร้างสังคมและวัฒนธรรมท่ีดีงามขึ้นมาใหม่ เป็นสังคมในอุดมคติที่มีความเพยี บพรอ้ ม และจะตอ้ งทาอยา่ งรีบดว่ น 1.4.2 แนวคดิ ทางการศึกษา ปรัชญาการศึกษาลัทธินี้มีแนวคิดว่า เนื่องจาการศึกษามีความสัมพันธ์กับสังคมอย่างแยกไม่ออก การศึกษาจึงควรนาสังคมไปสู่สภาพที่ดีท่ีสุด การศึกษาต้องทาให้ผู้เรียนเข้าใจและมุ่งม่ันที่จะสร้างสังคมอุดมคติขึ้นมาให้เหมาะสมกับพื้นฐานทางวัฒนธรรมและภาวะทางเศรษฐกิจของโลกยุคใหม่ 1.5 ปรชั ญำกำรศึกษำอตั ถิภำวนิยม (Existentialism) ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism) ปรัชญานี้เกิดขึ้นเน่ืองจากความรู้สึกที่ว่ามนุษย์กาลังสูญเสียความเป็นตัวของตัวเองการศึกษาที่มีอยูก่ ็มีส่วนทาลายความเป็นมนุษย์เพราะสอนให้ผเู้ รียนอย่ใู นกรอบของสงั คมท่ีจากัดเสรีภาพความเปน็ ตัวของตวั เองให้ลดนอ้ ยลง นอกจากนวี้ ิทยาศาสตร์ เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 28และเทคโนโลยี ยังมีส่วนในการทาลายความเป็นมนุษย์เพราะตอ้ งพึ่งพามันมากเกินไปนั่นเอง ผู้ให้กาเนิดแนวความคิดใหม่ ทางปรัชญาการศกึ ษาอัตถิภาวนยิ ม ได้แก่ ซอเร็น คีร์เคอรก์ าร์ด (Soren Kierkegard)นักปรัชญาชาวเดนมาร์ค เขาได้เสนอความคิดว่า ปรัชญาเป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละคน ดังนั้นทุกคนจึงควรสร้างปรัชญาของตนเองจากประสบการณ์ไม่มีความจริงนิรนั ดร์ ให้ยดึ เหน่ียวเป็นสรณะตวั ตายความจริงท่ีแท้คือ สภาพของมนุษย์ แนวคิดของคีร์เคอร์การ์ด มีผู้สนับสนุนอีกหลายคน ซ่ึงเป็นคนร่วมสมัยในช่วงปี ค.ศ. 1950-1965 แต่ความพยายามที่จะนา มาประยุกต์ใช้กับการศึกษาก็เป็นเวลาราว10 ปีต่อมา และผู้ริเร่ิมนามาใช้ทดลองในโรงเรียน คือ เอ เอสนีลล์ (A.S. Neil) โดยทดลองในโรงเรียนสาธิตและโรงเรยี นซมั เมอร์ฮิลล์ (Summer hill) ในประเทศองั กฤษ 1.5.1 แนวความคิดพน้ื ฐาน ปรัชญานมี้ ีความสนใจและความเช่ือในเร่ืองเก่ียวกับการมีชีวิตอยู่จริงของมนุษย์มนุษย์จะต้องเข้าใจและรู้จักตนเอง มนุษย์ทุกคนมีความสาคัญ และมีลักษณะเด่นเฉพาะตนเองทุกคนมีเสรีภาพที่จะเลือกตัดสินใจในการกระทา ส่ิงใดๆแต่จะต้องรับผิดชอบต่อการกระทา นั้น ปรัชญาอัตถิภาวนิยมนี้ยกย่องมนุษย์เหนือส่ิงอื่นใด ส่งเสริมให้มนุษย์มีความเป็นตัวของตัวเองแต่ก็ต้องไม่มองข้ามเสรภี าพของอ่นื หมายถึง จะตอ้ งเปน็ ผู้ใช้เสรีภาพบนความรบั ผิดชอบ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม 1.5.2 แนวความคิดทางการศกึ ษา คาว่า อัตถิภาวะ ตามสารานุกรมปรัชญาอธิบายว่า มาจาก คาว่า อัตถิ =เป็นอยู่+ ภาวะ= สภาพ เมื่อรวมกันแล้วแปลว่าสภาพท่ีเป็นอยู่ (Existence) ดังนั้น การศึกษาตามปรัชญาอัตถิภาวนิยมจึงส่งเสริมให้มนุษย์แต่ละคนรู้จักพิจารณาตัดสินสภาพ และเจตจานงท่ีมีความหมายต่อการดารงชีวิต การศึกษาจะต้องให้อิสระแก่ผู้เรียนท่ีจะเลือกสรรส่ิงต่างๆ ได้อย่างเสรีมีความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและสังคม2. ทฤษฎที เี่ กยี่ วขอ้ งกบั พัฒนำกำรของเด็กปฐมวัย ในการศึกษาถงึ พัฒนาการของเด็กได้มีผศู้ กึ ษาไว้อยา่ งมากมาย ในที่นจี้ ะกล่าวถงึ ทฤษฎีท่ีเปน็ พ้ืนฐานซง่ึ สามารถนามาใชใ้ นการพัฒนาเด็กปฐมวัยและเปน็ ประโยชน์ตอ่ พื้นฐานการสร้างความเขา้ ใจในการประเมินพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ดงั นี้ 2.1 ทฤษฎีพฒั นำกำรทำงร่ำงกำยของกเี ซล สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) กล่าวว่า อาร์โนลด์ กีเซล (Arnold Gesell) เขามีชีวิตอยู่ในช่วงระยะเวลาระหว่างปี ค.ศ.1880 - ค.ศ.1961 เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ผู้เริ่มก่อต้ังสถาบันพัฒนาการเด็ก (Institute of Child Development) ณ มหาวิทยาลัยเยล ระหว่างปี ค.ศ. 1930-1940กีเซล อธิบายทฤษฎีเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กว่าการเจริญเติบโตของเด็กทางรา่ งกาย เน้ือเยื่อ อวยั วะ หน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ และพฤติกรรมที่ปรากฏข้ึนเป็นรูปแบบท่ีแน่นอนและเกิดขึ้นเป็นลาดับข้ัน ประสบการณ์ และสภาพแวดล้อมเป็นองค์ประกอบรองที่ต่อเติมเต็มเสริมพัฒนาการต่าง ๆ กีเซล เช่ือว่า วุฒิภาวะจะถูกกาหนดโดยพันธุกรรม และมีในเด็กแต่ละคนมาต้ังแต่เกิดซ่ึงเป็นส่ิงสาคัญท่ีทาให้เด็กแต่ละวยั มีความพร้อมทาสง่ิ ต่าง ๆ ได้ถ้าวุฒภิ าวะหรือความพร้อมยังไมเ่ กดิ ข้ึนตามปกติในวัยน้นั สภาพแวดล้อมจะไมม่ ีอิทธพิ ลต่อพฒั นาการของเด็ก เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 29 อาร์โนลด์ กีเซล (Arnold Gesell) ได้สร้างเกณฑ์มาตรฐานสาหรับวัดพฤติกรรมของเด็กในแตล่ ะระดับ เน้นความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลโดยใช้วิธีการสงั เกตพฤติกรรม ซึ่งเขาได้แบ่งพัฒนาการของเดก็ ท่ีต้องการวดั และประเมนิ ออกเปน็ 4 กลุม่ ใหญ่ ดังน้ี 1. พฤติกรรมทางการเคล่ือนไหว (Motor Behavior) ครอบคลุมการบังคับอวัยวะตา่ ง ๆ ของรา่ งกายและความสัมพนั ธท์ างด้านการเคลอ่ื นไหว 2. พฤติกรรมทางการปรับตัว (Adaptive Behavior) ครอบคลุมความสัมพันธ์ของการใช้มอื และสายตา การสารวจ ค้นหา การกระทาตอ่ วัตถุ การแกป้ ัญหาในการทางาน 3. พฤติกรรมทางการใช้ภาษา (Language Behavior) ครอบคลุมการที่เด็กใช้ภาษาการฟงั การพดู การอ่าน และการเขยี น 4. พฤติกรรมส่วนตัวและสังคม (Personal-Social Behavior) ครอบคลุมการฝึกปฏิบัติสว่ นตวั เชน่ การกินอาหาร การขบั ถา่ ย และการฝกึ ตอ่ สภาพสังคม เช่น กรเล่น การตอบสนองผอู้ ่นื จากแนวความคิดของ อาร์โนลด์ กีเซล (Arnold Gesell) สามารถนามาอธิบายพัฒนาการของมนุษย์ในด้านการเจริญเติบโตพัฒนาการทางร่างกาย และสามารถนาไปเช่ือมโยงกับพัฒนาการทางสติปัญญาได้อีกด้วย นอกจากนั้น กีเซล ได้เขียนหนังสือข้ึน 2 เล่ม คือ The First Five Year of Lifeและ The Child from Five to Ten ซึ่งแนวคิดดังกล่าวน้ีมีบทบาทมากต่อการจัดกลุ่มเด็กเข้าศึกษาในชั้นอนุบาลศึกษาและชั้นประถมศึกษา เกณฑ์มาตรฐานใช้เป็นแบบทดสอบมาตรฐานในการทานายพฤติกรรม วิเคราะห์กลุ่ม และทาวิจัย เพ่ือบอกลักษณะพัฒนาการของเด็ก โดยใช้อายุทางปฏิทินเป็ นเกณฑ์ นอกจากนี้มีบทบาทมากในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับเด็ก โดยการจัดกิจกรรมนั้นต้องให้เหมาะสมกับวฒุ ิภาวะของเด็กแต่ละคน 2.2 ทฤษฎพี ัฒนำกำรทำงบุคลกิ ภำพของซิกมันต์ ฟรอยด์ สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) กล่าวว่า ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็นนักจิตวิทยาเขามีชีวิตอยู่ในช่วงระยะเวลาระหว่างปี ค.ศ.1856 - ค.ศ.1939) ฟรอยด์ ได้ให้ความสาคัญของเด็กวัย 5ปแี รกของชวี ิต ซ่ึงเป็นวัยท่ีสาคัญท่ีสุดของชีวติ เขาเชื่อว่าวัยน้ีเป็นรากฐานของพัฒนาการดา้ นบุคลิกภาพและบุคคลท่ีมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเด็กที่สุดคือ แม่จะเป็นผู้มีอิทธิพลอย่างสูงต่อบุคลิกภาพและสขุ ภาพจติ ของเด็ก ฟรอยด์ได้พฒั นาทฤษฎีทีเ่ ก่ียวกับพฒั นาการของเด็กตง้ั แต่แรกเกิดจนถึงวัยรนุ่ โดยให้ชื่อว่าทฤษฎีพัฒนาการทางเพศ (Psychosexual Development) ซ่ึงทฤษฎีนี้เช่ือว่า พัฒนาการทางบุคลิกภาพของเด็กแต่ละคนจะข้ึนอยู่กับการเปลี่ยนแปลงชีวภาพของร่างกาย โดยร่างกายจะเปลี่ยนแปลงบริเวณแห่งความพึงพอใจเป็นระยะ ๆ ในช่วงอายุต่าง ๆ กัน และถ้าบริเวณแห่งความพึงพอใจต่าง ๆ นี้ได้รับการตอบสนองเต็มที่เด็กจะมีพัฒนาการท่ีดีและสมบูรณ์ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าไม่ได้รับการตอบสนองเต็มที่ก็จะทาให้เกิดการสะสมปัญหาและแสดงออกเม่ือเด็กโตข้ึน ซ่ึงฟรอยด์(Freud) ได้แบ่งลาดบั ขั้นพัฒนาการทางเพศไว้ 5 ขน้ั ดงั น้ี 1. ข้ันความพอใจอยู่ท่ีบริเวณปาก (Oral Stage) ขั้นนี้อยู่ในช่วงอายุ 0 - 1 ปี ในขั้นน้ีจะมคี วามสนใจบรเิ วณปาก ปากนาความสุขเมอื่ ได้ถูกอาหารสนองความตอ้ งการความหิว ถา้ ไม่ได้รบั การตอบสนองกอ็ าจจะทาให้เกิดความคับขอ้ งใจ 2. ขั้นความพอใจอยู่ที่บรเิ วณทวารหนัก (Anus Stage) ขั้นน้อี ยู่ในช่วงอายุ 1 - 3 ปี ซ่ึงเป็นระยะขับถ่าย เด็กจะเรียนรู้การขับถ่าย ถ้าเด็กไม่ถูกบังคับก็จะเกิดความพอใจ ไม่ขัดแย้งและไม่เกิดความตึงเครียดทางอารมณ์ เรยี บเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 30 3. ขน้ั ความพอใจอย่ทู ่ีบรเิ วณอวัยวะเพศ (Phallic Stage) ขั้นนีอ้ ยใู่ นช่วงอายุ 3 - 6 ปีซึ่งเป็นระยะเกี่ยวข้องกับอวัยวะสืบพันธุ์ สนใจ อยากรู้อยากเห็น สภาพร่างกายแตกต่างไปตามเพศเรียนรู้บทบาททางเพศของตน เลียนแบบบทบาทพอ่ แมข่ องตน ต้องการความรัก ความอบอุ่นจากพอ่ แม่ 4. ข้ันก่อนวัยรุ่น (Latency Stage) ขั้นน้ีอยู่ในช่วงอายุ 6-11 ปี เป็นระยะสนใจสังคมเพ่อื นฝงู เดก็ จะพยายามปรับตวั ให้มคี วามสมั พันธท์ ีด่ ีกบั บุคคลอ่ืน ๆ 5. ขั้นวัยรุ่น (Genital Stage) ขั้นน้ีอยู่ในช่วงตั้งแต่วัยรุ่นถึงวัยผู้ใหญ่ เป็นระยะท่ีมีความสนใจในเพศตรงขา้ มมากขนึ้ และเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ความรักระหวา่ งเพศ จะเห็นได้ว่า ลาดับขั้นพัฒนาการทางเพศทั้ง 5 ข้ัน ของฟรอยด์ ในข้ันพัฒนาการท่ี 1-3 มีความเก่ียวข้องกับวัยของเด็กปฐมวัย นอกจากนี้ ฟรอยด์ ยงั กล่าวถึง โครงสร้างของบุคลิกภาพไว้ด้วยว่าบุคลิกภาพประกอบไปด้วยอิด (Id) อีโก้ (Ego) และซุปเปอร์อีโก้ (Super Ego) ซ่ึงการทางานของบุคลิกภาพอย่ภู ายใต้พลัง 3 สง่ิ น้ี ดังนี้ 1. อดิ (Id) คือ บคุ ลิกภาพส่วนท่ีเป็นจิตไร้สานกึ เปน็ แรงผลักดันตามธรรมชาติที่ส่ังให้มนุษย์กระทาส่ิงต่าง ๆ เพื่อให้ได้ตามที่ตนต้องการ เป้าหมาย Id คือ ความพึงพอใจ (PleasurePrinciple) 2. อีโก้ (Ego) คือ บุคลิกภาพส่วนที่มนุษย์พัฒนาข้ึนจากการได้มีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก เป็นส่วนที่ควบคุมให้มนุษย์ปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับความเป็นจริง โดยใช้หลักแห่งความจริง (Rrality Principle) 3. ซุปเปอร์อีโก้ (Super Ego) คือ บุคลิกภาพท่ีมนุษย์พัฒนาขึ้นจากคา่ นิยมและมาตรฐานจริยธรรมของบิดามารดา เป็นส่วนที่ควบคุมให้มนุษย์เลือกทาแต่ส่ิงท่ีตนคิดว่าดี (Ego Ideal)และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมท่ีขัดต่อมาตรฐานจริยธรรมของตน (Conscience) บุคคลที่มีบุคลิกภาพที่ดี คือบุคคลอีโก้ (Ego) สามารถปรบั ให้เกิดความสมดุลระหว่างแรงขับตามธรรมชาติของอิด (Id) กับมาตรฐานจรยิ ธรรมของซปุ เปอรอ์ โี ก้ (Super Ego) 2.3 ทฤษฎีพฒั นำกำรทำงบคุ ลิกภำพของอริ คิ สนั สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) กล่าวว่า อิริคสัน (Erik Erikson) เขามีชีวิตอยู่ในช่วงระยะเวลาระหว่างปี ค.ศ.1902-ค.ศ.1994 เป็นนักจิตวิเคราะห์ที่มีช่ือของอเมริกา และจัดอยู่ในกลุ่มฟรอยด์รุ่นใหม่ เกิดท่ีเมืองแฟรงเฟิต ประเทศเยอรมัน ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ประเทศอเมริกาในปี ค.ศ.1933 และเป็นผู้วิเคราะหเ์ ก่ียวกับเด็กเป็นคนแรกในนครบอสตัน เห็นว่าการจะทาความเข้าใจพฤติกรรมเด็ก จะต้องศึกษาจากการอบรมเล้ียงดู สภาพสังคม และความเป็นอยู่ของเด็ก ปัญหาที่นามาวิเคราะห์น้ันจะอธิบายเชื่อมโยงระหว่างจิตวิทยากับสังคมวิทยาในรูปแบบของมนุษย์วิทยาซ่ึงมีแนวความคิดว่ามนุษย์ต้องพ่ึงสังคมและสังคมก็ต้องพึ่งมนุษย์ มนุษย์มีวิวัฒนาการที่สลับซับซ้อนและผ่านข้ันตอนต่างๆของธรรมชาติหลายข้นั ตอน อิริคสัน เป็นนักจิตวิทยาในกลุ่มจิตวิเคราะห์ มีอาชีพเป็นจิตแพทย์ ในปี 1955 ได้รับการเลือกต้ังเป็นประธานของ The Division of Development Psychology อิริคสัน (Erikson) ได้เน้นความสาคัญของเด็กปฐมวัยว่าเป็นวัยที่กาลังเรียนรู้ส่ิงแวดล้อมรอบตัว ซึ่งเป็นส่ิงท่ีแปลกใหม่และน่าต่นื เต้นสาหรับเด็ก บุคลกิ ภาพจะสามารถพัฒนาไดด้ ีหรอื ไม่ขึ้นอยูก่ ับว่าแต่ละช่วงของอายุเดก็ ประสบสิ่งทพ่ี ึงพอใจตามขั้นพฒั นาการต่าง ๆ ของแต่ละวัยมากเพียงใด ถา้ เดก็ ได้รบั การตอบสนองต่อส่ิงท่ตี นพอใจ เรียบเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 31ในช่วงอายุนั้น เด็กก็จะมีพัฒนาการทางบุคลิกภาพท่ีดีและเหมาะสมและพัฒนาครอบคลุมถึงวัยผู้ใหญ่ดว้ ย อารี รังสินันท์ (2530) กล่าวว่า อิริคสัน เน้นความสนใจของการปฏิบัติหน้าที่มารดาควรปฏิบัติตอ่ เด็กว่าจะมีผลต่อพัฒนาการทางบุคลิกภาพของเด็กเป็นอย่างมาก ซึ่งพัฒนาการทางบุคลิกภาพตามทฤษฎีของอริ ิคสนั มี 8 ขน้ั ดงั น้ี 1. วัยทารก ช่วงอายุ 0 - 2 ปี (Infancy) ขน้ั ความไวว้ างใจหรือความไม่ไว้วางใจ (TrustVersus Mistrust) ในขั้นนี้เด็กจะพัฒนาความรู้สึกว่าตนเป็นที่ยอมรับและสามารถให้ความเชื่อใจเป็นมติ รแก่คนอื่น วธิ ีการอบรมเล้ียงดขู องพ่อแม่ ไม่ว่าจะเปน็ การอมุ้ การให้อาหาร หรอื วิธีการเลี้ยงดูตา่ ง ๆจะส่งผลไปสบู่ ุคลิกภาพของความเปน็ มติ ร เปิดเผย และเชื่อถือไว้เน้ือเช่ือใจต่อสภาพแวดล้อมและบุคคลต่าง ๆ ถ้าเด็กไม่ได้รับความรักและความอบอุ่นอย่างเพียงพอ เด็กก็จะพัฒนาบุคลิกภาพของความตระหนี่ ปกปดิ ไม่ไวว้ างใจ และมักมองโลกในแง่รา้ ย 2. วัยเด็ก ช่วงอายุ 2 - 5 ปี (Early Childhood) ข้ันความเป็นด้วยของตัวเองหรือความอับอาย สงสัย ไม่แน่ใจ (Autonomy Versus Shame or Doubt) เด็กวัยน้ีเริ่มเรียนรู้ท่ีจะช่วยตนเอง สามารถควบคุมตนเอง และส่ิงแวดล้อมรอบตัวได้ เด็กจะสามารถทางานง่าย ๆ เหมาะสมกับวัยของเด็กให้สาเร็จด้วยตนเอง เช่น การหยิบอาหารเข้าปาก เดิน วิ่ง หรือเล่นของเล่น ถ้าพ่อแม่บังคบั หรือห้ามไม่ได้เด็กกระทาส่ิงใดด้วยตนเอง หรือเข้มงวดเกินไปจะทาให้เด็กเกิดความสงสัยในความสามารถของตนเอง เกิดความละอายในส่ิงท่ีตนกระทาซ่ึงจะทาให้เด็กรู้สึกว่าตนไม่สามารถทาอะไรได้อย่างถกู ตอ้ งและได้ผล เกดิ ความยอ่ ท้อ ชอบพ่ึงผูอ้ ื่น 3. วัยเลน่ หรือวัยกอ่ นเข้าเรียน ชว่ งอายุ 4 - 7 ปี (Play Age) ขัน้ ความคดิ ริเริม่ หรอื รสู้ ึกผดิ (Initiative Versus Guilt) ในวัยนเี้ ปน็ วัยท่ีเด็กจะมคี วามกระตือรือรน้ ทจ่ี ะเรียกส่งิ ต่าง ๆ รอบตัวเองเด็กมีการเลียนแบบผู้อยู่ใกล้ชิดหรือสิ่งแวดล้อมที่ตนรับรู้ เด็กเร่ิมเรียนรู้และยอมรับค่านิยมของครอบครัว และสิ่งถ่ายทอดสู่เด็ก ถ้าเด็กไม่มีอิสระในการค้นหาก็จะส่งผลไป สู่ความคับข้องใจที่ไม่สามารถเรียนรใู้ นสงิ่ ที่ตนอยากรู้ ซึ่งจะสง่ ผลต่อจิตใจของเดก็ และความรู้สึกผิดติดตวั 4. วัยเขา้ โรงเรียน ช่วงอายุ 6 - 11 ปี (School Age) ขัน้ การประสบความสาเรจ็ ความขยันหม่ันเพียรหรือรู้สึกด้อย (Mastery Versus Inferiority) เป็นขั้นที่ทุ่มเท ขยัน เพ่ือเกิดความสาเร็จชอบแขง่ ขนั ร่วมกับเพ่ือนกบั กลมุ่ 5. วัยรุ่น ช่วงอายุ 12 - 17 ปี (Adolescent) ข้ันการปรับตัวให้เป็นที่ยอมรับหรือการถดถอยกา้ วร้าว (Identity Versus Identity Diffusion) ในวัยนี้เด็กจะเรมิ่ เข้าสูว่ ัยรนุ่ ซึ่งเป็นช่วงทีเ่ ดก็ ไม่รู้จักความต้องการของตนเอง เด็กวัยรุ่นเป็นช่วงที่แสวงหาความทัดเทียมและพยายามกระทาตนเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน และเร่ิมมีการคบหากับเพื่อนต่างเพศมากข้ึน ถ้าไม่เป็นที่ยอมรับ การแสดงออกของเดก็ กจ็ ะกลายเปน็ การถดถอย กา้ วร้าว และมีปัญหาในการปรบั ตวั 6. วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ช่วงอายุ 18 - 35 ปี (Young Adult) ขั้นความสุขใจหรือการแยกตัว (Intimacy Versus Isolation) ในวัยนี้จะพยายามแสวงหาลักษณะประจาตนโดยพยายามปรบั ตัวให้เหมอื นพ่อ แม่ หรือบุคคลที่มชี ่ือเสียงโด่งดังตา่ งๆ ในวัยน้ีจะรับร้เู พื่อพัฒนาความเป็นตัวของตังเอง เพ่ือจะพัฒนาข้ึนเป็นใหญ่ท่ีสามารถสนิทสนมกับผู้อ่ืน และสามารถรวมกลุ่มกับผู้อื่นได้แต่ถ้าไม่สามารถปรับตวั ได้กจ็ ะรสู้ กึ เควง้ คว้าง เปลา่ เปลี่ยวขาดความอบอุ่น เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 32 7. วัยผู้ใหญ่ ช่วงอายุ 35 - 45 ปี (Mature Age) ขั้นความมีชีวิตชีวาหรือความน่าเบื่อหน่าย (Generativity Versus Isolation) ในวัยน้ีสภาพจิตใจของบุคคลจะขึ้นอยู่กับส่ิงแวดล้อมรอตัวซ่ึงบุคคลจะมีความรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่ ในการสร้างฐานะให้มั่นคงและสร้างความรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่ ในการสร้างฐานะให้ม่ังคงและสร้างความรับผิดชอบต่อตัวเองและบุคคลอ่ืน จะรู้สึกเบ่ือหน่ายเฉอ่ื ยชา สน้ิ หวงั 8. ผใู้ หญ่ท่ีสมบูรณ์ ชว่ งอายุ 45 ปี (Mature Age) ขั้นความมั่นคงทางจิตหรอื ความรู้สึกในทางส้ินหวัง (Ego integrity Versus Disgustor despair) ในวัยแห่งความเป็นผู้ใหญ่ บุคคลจะมีความเป็นตัวของตัวเอง มีความถ้อยทีถ้อยอาศัย และมีความเป็นตัวของตัวเอง เห็นอกเห็นใจเพื่อนมนุษย์ ถ้าบุคคลสามารถพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลท่ีมีความม่ันคงทางจิต สามารถทางานเพื่อตนเองได้โดยไม่หวังผลตอบแทนและเป็นคนท่ีมีความสาเรจ็ ในชวี ิตก็จะเป็นผทู้ ี่มีความม่นั คงทางจติ แต่ถ้าไมป่ ระสบผลสาเร็จในชวี ติ ก็จะทาให้ไมว่ างใจใคร รู้สึกมปี มด้อย ไรค้ ่า และกลายเปน็ คนเฉอ่ื ยชาไป จะเหน็ ได้ว่า ข้ันพัฒนาการทางบุคลิกภาพตามทฤษฎีของอิริคสัน ท้งั 8 ขั้น ในขั้นพฒั นาการท่ี1 - 3 มีความเกี่ยวข้องกับวัยของเด็กปฐมวัย เด็กมีความสัมพันธ์กับพ่อแม่ และครอบครัว ดังน้ัน พ่อแม่เป็นบุคคลที่มีความสาคัญต่อพัฒนาการทางบุคลิกภาพเด็กในวัยนี้เป็นอย่างมาก เด็กมีพัฒนาการทางบคุ ลิกภาพท่สี มบูรณใ์ นวยั ผใู้ หญ่ไดข้ ้ึนอย่กู ับรากฐานพฒั นาการในวยั นี้เปน็ สาคญั 2.4 ทฤษฎกี ำรเรียนรขู้ องเจอรล์ อม บรเู นอร์ สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) กล่าวว่า เจอร์ลอม บรูเนอร์ (Jerome S. Bruner) เกิดในครอบครัวท่ีมีฐานะช้ันกลางค่อนข้างสูง ซึ่งถูกคาดหวังให้เป็นนักกฎหมาย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยดุ๊ก ในปีค.ศ.1937 และจบปริญญาเอกทางจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัยฮาวาดร์ เป็นนักจิตวิทยาในยุคใหม่ชาวอเมริกันคนแรกท่ีสืบสานความคิดของเพียเจต์ โดยเช่ือว่าพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเกิดจากกระบวนการภายในอินทรีย์ (Organism) เน้นความสาคัญของส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมเด็กซงึ่ จะพัฒนาได้ดีเพียงใดนัน้ ขึ้นอยู่กบั ประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมรอบตัวเดก็ และชี้ให้เห็นว่าการศึกษาว่าเดก็ เรยี นรู้อยา่ งไร ควรศึกษาตวั เด็กในช้ันเรียนไมค่ วรใชห้ นแู ละนกพิราบ ทฤษฎีของบรูเนอร์เน้นหลักการ กระบวนการคิด ซึ่งประกอบด้วย ลักษณะ 4 ข้อ คือแรงจูงใจ (Motivation) โครงสร้าง (Structure) ลาดับข้ันความต่อเน่ือง (Sequence) และการเสรมิ แรง(Reinforcement) สาหรับในหลักการท่ีเปน็ โครงสร้างของความรู้ของมนุษย์ บรเู นอร์แบ่งขั้นพัฒนาการคิดในการเรียนร้ขู องมนุษยอ์ อกเปน็ 3 ขน้ั ด้วยกนั ซ่งึ คล้ายคลงึ กบั ขนั้ พัฒนาการทางสติปญั ญาของเพยี เจต์ ไดแ้ ก่ 1. ขน้ั การกระทา (Enactive Stage) เด็กเรยี นร้จู ากการกระทาและการสัมผัส 2. ขนั้ คิดจินตนาการหรือสร้างมโนภาพ (Piconic Stage) เด็กเกดิ ความคิดจากการรบั รู้ตามความเป็นจรงิ และการคดิ จากจนิ ตนาการดว้ ย 3. ขั้นใช้สัญลักษณ์และคิดรวบยอด (Symbolic Stage) เด็กเริ่มเข้าใจเรียนรู้ความสมั พันธ์ของสงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัว และพัฒนาความคดิ รวบยอดเกีย่ วกบั ส่งิ ท่พี บเหน็ เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 33 2.5 ทฤษฎกี ำรเรยี นรู้ทำงสังคมของ อัลเบิรต์ แบนดูรำ (Albert Bandura) สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) กล่าวว่า อัลเบิร์ต แบนดูรา (Albert Bandura) นักจิตวิทยาร่วมสมัยเกิดในปี ค.ศ.1925 เป็นนักจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยแสตนด์ฟอร์ด (Stanford University)โดยแบนดูรา กล่าวว่า การเรียนรู้ของมนุษย์นั้นเกิดจากพฤติกรรมบุคคลน้ันมีการปฏิสัมพันธ์อย่างต่อเน่ืองระหว่างบุคคลและส่ิงแวดล้อม ซ่ึงทฤษฎีน้ีเน้นบุคคลเกิดการเรียนรู้โดยการให้ตัวแบบ(Learning Through Modeling) โดยผู้เรียนจะเลียนแบบจากตัวแบบ และการเลียนแบบนี้เป็นกระบวนการที่เกิดข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยการสังเกตพฤติกรรมของตัวแบบ การสังเกตการณ์ตอบสนองและปฏิกิริยาต่าง ๆ ของตัวแบบ สภาพแวดล้อมของตัวแบบ ผลการกระทา คาบอกเล่า และความน่าเช่ือถือของตัวแบบได้ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยจึงเกิดข้ึนได้ ซ่ึงกระบวนการต่าง ๆ ของการเลยี นแบบของเดก็ ประกอบดว้ ย 4 กระบวนการ คือ 1. กระบวนการดึงดดู ความสนใจ คือ กจิ กรรมการเรียนรู้ทเ่ี ดก็ ไดส้ งั เกตตวั แบบ และตัวแบบน้ันดึงดูดให้เด็กสนใจที่จะเลียนแบบ ควรเป็นพฤติกรรมงา่ ย ๆ ไม่สลับซับซ้อน ง่ายต่อการเอาใจใส่ของเดก็ ที่เกดิ การเลียนแบบและเกดิ การเรยี นรู้ 2. กระบวนการคงไว้ คือ กระบวนการบันทกึ รหัสเป็นความจา การที่เด็กจะต้องมีความแม่นยาในการบันทึกส่ิงที่ได้เห็นหรือได้ยินเก็บเป็นความจา ทั้งนี้ เด็กดึงข้อมูลที่ได้จากตัวแบบออกมาใช้กระทาตามโอกาสท่ีเหมาะสม เด็กท่ีมีอายุมากกว่าจะเรียนรู้จากการสังเกตการณ์กระทาที่ฉลาดของบุคคลอ่ืน ๆ ได้มากกว่า โดยประมวลไว้ในลักษณะของภาพพจน์ และในลักษณะของภาษา และเด็กโตขึ้นนาประสบการณ์และสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาเช่ือมโยงและต่อมาจะใช้การเรียนรู้มีเทคนิคที่ นามาช่วยเหลือความจา คือ การท่องจา การทบทวน หรือการฝึกหัด และการรวบรวมส่ิงท่ีเกี่ยวพันกันในเหตกุ ารณ์ ซ่ึงจะชว่ ยใหเ้ ขาไดเ้ ก็บสะสมความรูไ้ ว้ในระดับซง่ึ สามารถนามาใช้ไดเ้ ม่ือตอ้ งการ 3. การะบวนการแสดงออก คือ การแสดงผลการเรียนรู้ด้วยการกระทา คือ การท่ีเด็กเกิดผลสาเร็จในการเรียนรู้จากตัวแบบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความแม่นยา เด็กจะตอ้ งแสดงพฤติกรรมได้จากการเรียนรู้ด้วยการเคลื่อนไหวออกมา เป็นการกระทาออกมาในรูปของการใช้กล้ามเนื้อความรู้สึกด้วยการกระทาคร้ังแรกไม่สมบูรณ์ ดงั น้ัน เด็กจาเป็นต้องลองทาหลาย ๆ คร้ัง เพื่อให้ได้ลักษณะพฤติกรรมที่ต้องการ แล้วเขาก็จะได้รบั ทราบผลของการกระทาจากประสบการณ์เหล่านัน้ เพื่อนามาแก้ไขพฤตกิ รรมท่ียังไม่เข้ารูปเข้ารอย สิ่งนี้จะทาให้เกิดพัฒนาการในการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ เด็กท่ีมีอายุมากกว่าจะมีกลา้ มเนือ้ ทีแ่ ข็งแรงและสามารถควบคุมไดด้ กี วา่ เด็กทมี่ ีอายนุ ้อยกวา่ 4. กระบวนการจูงใจ คือ กระบวนการเสริมแรงให้กับเด็กเพื่อแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบได้ถูกต้อง โดยเด็กเกิดการเรียนรู้จากการเรียนรู้จากการเลียนแบบตัวแบบที่จะมาจากบุคคลท่ีมีช่ือเสียงมากกว่าบุคคลท่ีไม่มีชื่อเสียง จากการเลียนแบบตัวแบบที่มาจากบุคคลท่ีเป็นเพศเดียวกับเด็กมากกว่าจะเป็นเพศตรงข้ามกนั จากการเลียนแบบตัวแบบที่เป็นรางวัล เชน่ เงิน ช่อื เสียง สถานภาพทางเศรษฐกิจสูง จากพฤติกรรมของบุคคลท่ีถูกลงโทษ มีแนวโน้มท่ีจะไม่ถูกนามาเลียนแบบ และจากการท่ีเด็กได้รบั อทิ ธิพลจากตวั แบบท่ีมีความคล้ายคลึงกับเดก็ ไดแ้ ก่ อายุ หรอื สถานภาพทางสังคม สรุปแนวคิดของอัลเบิรต์ แบนดูรา เน้นพฤติกรรมใด ๆ ก็ตามสามารถปรับหรือเปล่ียนได้ตามหลกั การเรยี นรู้ เป็นการกระตุ้นเดก็ มีการเรยี นรูพ้ ัฒนาการทางด้านสงั คม โดยใชก้ ารสังเกตตัวแบบท่เี ด็กเห็น เด็กมีระดับการเรียนรู้แล้ว เด็กจะมีทางเลือกใหม่ ๆ เพิ่มมากขึ้น เพ่ือเก็บสะสมพฤติกรรมที่เป็นไปได้เอาไว้ และยง่ิ กว่านั้นตวั แปรจะชว่ ยให้เขาเลือกสถานการณ์ท่ีดที ่สี ุดไวใ้ ช้ปฏิบตั ติ ่อไป เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 34 2.6 ทฤษฎีพฒั นำกำรทำงจริยธรรมของ ลอเรนส์ โคลเบอรก์ สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) กล่าวว่า ลอเรนส์ โคลเบอร์ก (Lawrence Kohlberg) เกิดในปี ค.ศ. 1927 เป็นนักจิตวิทยาที่เกิดในประเทศสหรัฐอเมริกา จบปริญญาโทและปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยชิคาโก (Chicago University) และที่ทาหน้าท่ีเป็นอาจารย์ด้วย ต่อมาย้ายมาสอนที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ณ ท่ีนี้เขาได้รับทุนทาการวิจัยเกี่ยวกับพัฒนาการทางจริยธรรม ซึ่งเขาได้ศึกษาการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมของเด็กวัยรุ่นตอนต้นและวัยผู้ใหญ่ เป็นการศึกษาแบบระยะยาว และได้ตั้งทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม ประกอบด้วยขั้นพัฒนาการให้เหตุผลเชิงจริยธรรม 6 ขั้น มีระดับความคิดทางจริยธรรม 3 ระดบั ในแตล่ ะระดับแบ่งเปน็ 2 ข้ัน ดังแสดงในตารางที่ 1 ดงั นี้ตารางท่ี 1 ลาดบั ขัน้ เหตุผลจริยธรรมของลอเรนส์ โคลเบอร์ก อำยุ(ปี) ขั้นเหตุผลจรยิ ธรรม อำย(ุ ปี) ระดับจรยิ ธรรม2-7 ปี ขั้นท่ี 1 หลักการหลบหลีกการถูก 2-10 ปี ระดับที่ 1 เริ่มมจี รยิ ธรรม ลงโทษ 10-16 ปี ระดับท่ี 2 มีจริยธรรมตามเกณฑ์7-10 ปี10-13 ปี ขน้ั ท่ี 2 หลกั การแสวงหารางวลั 16 ปี ขึน้ ไป ระดับท่ี 3 มีจริยธรรมของตนเอง13-16 ปี ขั้นที่ 3 หลกั การทาตามทีผ่ อู้ ่ืน เหน็ ชอบ16 ปี ขึน้ ไปผู้ใหญ่ ขน้ั ที่ 4 หลกั การทาตามหน้าท่ที าง สงั คม ขน้ั ที่ 5 หลกั การทาตามคามน่ั สญั ญา ขั้นท่ี 6 หลักการยึดอดุ มคตสิ ากล จากตารางที่ 1 ลาดับขั้นเหตุผลจริยธรรมของลอเรนส์ โคลเบอร์ก (Lawrence Kohlberg)สามารถสรุปไดด้ ังนี้ 1. ระดับเร่ิมมีจริยธรรม (2 - 10 ปี) มีลักษณะทาตามที่สังคมกาหนดว่าดีหรือไม่ ส่วนใหญ่จะมองผลของการกระทาว่าได้รับความเจ็บปวด หรือความพึงพอใจ และจะทาตามกฎเกณฑ์ท่ีมีผู้มีอานาจเหนือตนกาหนดไว้เป็น ขั้นท่ี 1 เด็กจะเคารพกฎเกณฑ์เพ่ือหลีกเล่ียงการถกู ลงโทษ ขั้นท่ี 2 ใช้หลักการแสวงหารางวัล เลือกทาแตส่ ่ิงที่นาความพอใจมาให้ตน เท่านั้น การมองความสัมพันธ์ของคนยังแคบ มีลักษณะการแลกกัน ถือเกณฑ์กรรมสนองกรรมอย่าตีคนอ่ืน เพราะเขาจะตเี ราตอบ 2. ระดบั มีจริยธรรมตามกฎเกณฑ์ มีลักษณะคล้ายตามประเพณีนยิ ม (10 - 16 ปี) ขั้นท่ี 3 เกณฑ์การตัดสินใจความถูกผิดอยู่ท่ีผู้อื่นเห็นชอบการทาดี คือ ทาส่ิงที่ทาให้ผูอ้ ่ืนพอใจ ช่วยเหลอื ผู้อ่นื เพอ่ื ให้สังคมยอมรับ ขั้นท่ี 4 เกณฑ์การตัดสินความถูกผิดอยู่ที่ความเป็นระเบียบของสังคม และการกระทาตามกฎเกณฑ์ของสังคม ทาตามหน้าทีข่ องตน รกั ษากฎเกณฑ์ เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวยั | 35 3. ระดับมีจริยธรรมของตนเอง มีลักษณะพยายามกาหนดหลกั การทางจรยิ ธรรมทต่ี ่างไปจากกฎเกณฑ์ของสังคม (16 ปขี น้ึ ไป) ข้นั ที่ 5 คิดถงึ กฎที่จะเป็นประโยชนส์ งั คม คานึงถงึ สทิ ธสิ ว่ นบุคคล ยอมรบั กฎเกณฑ์สว่ นรวม ขั้นท่ี 6 คานึงถงึ หลักจรยิ ธรรมตัดสินความถูกผดิ จากจรยิ ธรรมที่ตนยึดถือจากสามัญสานกึ ของตนเองจากเหตผุ ล คานึงถงึ สิทธิมนุษยชน ไม่คลอ้ ยตามสงั คม 2.7 ทฤษฎีพัฒนำกำรทำงสติปัญญำของ จนี เพียเจต์ (Jean Piaget) สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) กล่าวว่า จีน เพียเจต์ (Jean Piaget) เป็นนักจิตวิทยาชาวสวิสเซอร์แลนด์ท่ีเป็นท่ีรู้จักในฐานะผู้เชี่ยวชาญในทฤษฎีพัฒนาการทางด้านสติปัญญา เกิดท่ีเมืองนูซาเทล (Neuchatel) หนังสือและบทความท้ังหมดซ่ึงเป็นผลงานของเขาเกี่ยวข้องกบั ความเจริญเติบโตและพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก ซ่ึงทฤษฎีนี้เน้นถึงความสาคัญของความเป็นมนุษย์ อยู่ที่มนุษย์มีความสามารถในการสร้างความรู้ผ่านการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ซ่ึงปรากฏอยู่ในตัวเด็กต้ังแต่แรกเกดิ ความสามารถนค้ี ือ การปรับตวั เปน็ กระบวนการทเี่ ด็กสร้างโครงสร้างตามความคดิ (Scheme) โดยการมีปฏิสัมพนั ธโ์ ดยตรงกบั ส่ิงแวดล้อม 2 ลักษณะ คือ 1. การซึมซับประสบการณ์ คือ กระบวนการท่ีอินทรีย์ได้ดูดซึมสิ่งแวดล้อมจากประสบการณ์เดิมของตนเอง ขอบเขตของการดูดซึมนี้ข้ึนอยู่กับประสบการณ์เดิมของอินทรีย์น้ันๆตัวอย่างเช่น เด็กชายแชมป์ อายุ 2 ขวบ เห็นส้มคร้ังแรกจะบอกว่า คือลูกบอลเพราะประสบการณ์เดิมของแชมป์รู้จักว่าลูกบอลเป็นลูกกลมๆ สีส้ม เม่ือเขาพบส่ิงใหม่คือส้ม เขาก็สามารถจะรับรู้ได้ตามประสบการณเ์ ดิมของเขาเทา่ นนั้ 2. การปรับโครงสร้างสติปัญญา เป็นกระบวนการควบคู่ไปกับการซึมซับประสบการณ์เม่ือสิ่งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสติปัญญาในอินทรีย์จึงต้องมีการปรับปรุงให้สมดุลกับสิง่ แวดล้อม หน่วยทมี่ ีการปรบั ตัวน้ี เพียเจต์ เรียกวา่ สกีมา (Schema) ทั้งนห้ี มายความวา่ ส่ิงแวดล้อมมีอิทธิพลช่วยให้เด็กเปลี่ยนความคิด ความเข้าใจและปรับโครงสร้างสติปัญญาให้ตรงกับสภาพแวดล้อมของเขา เด็กพยายามปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมโดยซึมซับประสบการณ์ และการปรับโครงสร้างสติปัญญา ตามสภาพแวดล้อมเพ่ือให้เกิดความสมดุลในโครงสร้างความคิด ความเข้าใจ ความสามารถน้ีเป็นส่วนสาคัญของโครงสร้างทางสมอง นอกจากนี้ เพียเจต์ เน้นเร่ืองการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้เม่ือเด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนและผู้ใหญ่ ในการเข้าสังคมน้ันๆ อิทธิพลของทฤษฎีน้ีมีบทบาทในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก คือ ให้เด็กเรียนรู้โดยให้โอกาสเด็กในการเล่น สารวจ ทดลอง มีโอกาสเลือกตัดสนิ ใจและแกป้ ญั หาต่าง ๆ ด้วยตนเอง พัฒนาการทางสติปัญญาตามทฤษฎีของเพยี เจต์ เปน็ ไปตามลาดบั ขั้น 4 ข้นั ดงั น้ี 1. ขนั้ ประสาทสัมผสั และการเคลื่อนไหว (Sensorimotor) พัฒนาการระยะนี้อยู่ในช่วง2 ปีแรกหลังเกิด ข้ันนี้เป็นขั้นของการเรียนรู้จากประสาทสัมผัส ในขั้นนี้พัฒนาการจะก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาการเรียนรู้ การแก้ปัญหา มีการจัดระเบียบการกระทา มีการคิดก่อนท่ีจะทาการกระทาจะทาอย่างมีจุดมุ่งหมายด้วยความอยากรู้อยากเห็น และเด็กยังสามารถเลียนแบบ โดยไม่จาเป็นต้องมีตัวแบบให้เห็นในขณะน้ันได้ซึ่งแสดงถึงพัฒนาการด้านความจาที่เพ่ิมมากขึ้นในช่วง 18 - 24เดอื น เรยี บเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 36 2. ขน้ั ความคดิ ก่อนปฏิบัตกิ าร (Intuitive or Preoperational) ข้ันน้ีจะอยู่ในช่วง 2-7ปี ในระยะ 2-4 ปี เด็กยังยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง มีขีดจากัดในการรับรู้ สามารถเข้าใจได้เพียงมิติเดียวในระยะ 5-6 ปี เด็กจะย่างเข้าสู่ข้ัน Intuitive Thought ระยะน้ีเป็นช่วงหัวเล้ียวหัวต่อของการคิดท่ีข้ึนอยู่กับการรับรู้กับการคิดอย่างมีเหตุผลตามความจริง ซึ่งเด็กจะก้าวออกจากการรับรู้เพียงมิติเดียวไปสู่การรับรู้ได้ในหลาย ๆ มติ ิในเวลาเดียวกันมากข้ึน และจะก้าวไปสกู่ ารคิดอย่างมีเหตผุ ล โดยไม่ยึดอยู่กับการรับรู้เท่านั้น เด็กจะเร่ิมมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับส่ิงต่าง ๆ รอบตัวดีขึ้น แต่ยังคิดและตัดสินผลของการกระทาตา่ ง ๆ จากสิ่งท่เี หน็ ภายนอก 3. ข้ันปฏิบัติการคิดแบบรูปธรรม (Concrete Operational) ขั้นน้ี เริ่มจากอายุ 7-11ปี เด็กจะมีความสามารถคิดเหตุผลและผลที่เก่ียวข้องกับปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน โดยไม่ยึดอยู่เฉพาะการรับรู้เหมือนขั้นก่อน ๆ ในข้ันน้ีเด็กจะสามารถคิดย้อนกลับ (Reversibility) สามารถเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์ (Conservation) สามารถจัดกลุ่มหรือประเภทของสิ่งของ (Classification) และสามารถจัดเรยี งลาดับของสิง่ ตา่ ง ๆ (Seriation) ได้ เดก็ ในขนั้ ปฏิบตั กิ ารคิดด้วยรูปธรรมจะพัฒนาจากการยึดตนเองเป็นศูนย์กลางไปสู่ความสามารถที่จะเข้าใจแนวคิดของสังคมรอบตัว และสามารถเข้าใจว่าผู้อ่ืนคิดอยา่ งไรมากข้นึ แม้ว่าการคดิ ของเด็กวัยนจี้ ะพัฒนาไปมากแตก่ ารคิดของเด็กยังต้องอาศยั พื้นฐานของการสมั ผสั หรอื สง่ิ ทเี่ ป็นรูปธรรม เด็กยังไม่สามารถคิดในส่ิงที่เป็นนามธรรมท่ีซับซ้อนได้เหมือนผู้ใหญ่ อย่างไรกต็ าม ตอนปลายของขั้นนี้เด็กจะเร่ิมเขา้ ใจสาเหตุของเหตุการณ์รอบตัวพรอ้ มจะแก้ปญั หา ไมเ่ พียงแต่สิ่งที่สัมผสั ได้หรือเป็นรูปธรรมเท่านั้นแต่เด็กจะเรม่ิ สามารถแก้ปัญหา โดยอาศัยการต้ังสมมติฐานและอาศัยหลกั ของความสัมพันธ์ของปัญหานนั้ ๆ บา้ งแล้ว 4. ข้ันปฏิบัติการคิดแบบนามธรรม (Formal Operational) ตง้ั แต่อายุ 11 ปี จนถึงวัยผใู้ หญ่เป็นชว่ งท่ีเด็กจะสามารถคิดไม่เพียงแต่ในสิ่งท่ีเห็นหรือได้ยินโดยตรงเหมือนระยะก่อน ๆ อีกต่อไปแต่จะสามารถจินตนาการเงื่อนไขของปัญหาในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต โดยพัฒนาสมมติฐานอย่างสมเหตุสมผลเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ ซ่ึงก็หมายถึงว่า ในระยะน้ีเด็กจะมีความสามารถคิดหาเหตุผลเหมอื นผูใ้ หญน่ ่นั เอง สรุปได้ว่า พัฒนาการทางสติปัญญาตามทฤษฎีของเพียเจต์ เปน็ ไปตามลาดับข้ัน 4 ข้ัน ดังแสดงในตารางที่ 2 ดังนี้ตารางท่ี 2 ลาดับข้นั พัฒนาการทางสติปญั ญาของเพยี เจต์ อำย(ุ ป)ี ขน้ั พฒั นำกำรอายุ 0-2 ปี ประสาทสัมผสั และการ เด็กเรยี นรูโ้ ดยใช้ประสาทสมั ผัส เชน่ ปาก หู ตาอายุ 2-7 ปี เคลือ่ นไหว (Sensorimotor) สง่ิ แวดล้อมรอบตัว ความคดิ ก่อนปฏบิ ตั ิการ เรียนรภู้ าษาพูด สัญลกั ษณ์ เครื่องหมาย ท่าทาง (Intuitive or ในการส่อื ความหมาย รู้จกั สง่ิ ที่เป็นตวั แทน Preoperational) โครงสร้างทางสตปิ ัญญาแบบงา่ ย ๆ สามารถหา เหตผุ ลอ้างอิงได้ มีความเชือ่ ในความคดิ ของตน อยา่ งมาก ยดึ ตัวเองเป็นศนู ย์กลาง เลียนแบบ พฤติกรรมของผใู้ หญ่ เรียบเรียงโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 37 อำย(ุ ป)ี ขั้น พัฒนำกำรอายุ 7-11 ปี ปฏิบตั ิการคิดแบบรปู ธรรม รับร้รู ปู ธรรมได้ดี ใชเ้ หตผุ ล สร้างกฎเกณฑ์ เหน็ต้ังแต่อายุ 11 ปี (Concrete Operational) ความสัมพนั ธ์ของส่ิงต่าง ๆ เป็นนามธรรมจนถงึ วยั ผ้ใู หญ่ ปฏบิ ัตกิ ารคิดแบบนามธรรม รู้จักคิดหาเหตุผล มีระบบ คาดคะเน (Formal Operational) ตง้ั สมมตฐิ าน แกป้ ัญหา พฒั นาสตปิ ัญญาอยา่ ง สมบูรณ์ มคี วามคดิ เทา่ ผใู้ หญ่ 2.8 ทฤษฎพี ฒั นำกำรทำงสติปัญญำของ โฮเวริ ด์ กำรด์ เนอร์ สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550) กล่าวว่า โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) เกิดในปีค.ศ.1943 เป็นนกั จิตวทิ ยาและผูเ้ ชย่ี วชาญทางด้านสตปิ ญั ญาแหง่ มหาวทิ ยาลัยฮาวาร์ด ได้ศึกษาเก่ยี วกับความหลากหลายของสติปัญญา (Theory of Multiple Intelligence : MI) โดยใช้หลักการวิวัฒนาการทางชีววิทยา จาแนกความสามารถหรือสติปัญญาของคนเอาไว้ 7 ประเภท และต่อมาเขาเพิ่มอีก 1ประเภท เรียกว่า สติปัญญาด้านรักธรรมชาติ (Naturalistic) ต่อมาเพ่ิมอีก 1 ประเภท คือ สติปัญญาด้านการดารงชีวิต (Existential Intelligence) รวมทั้งหมด 9 ด้าน ซ่ึงการ์ดเนอร์เช่ือว่า สมองของมนุษย์ได้แบ่งเป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนได้กาหนดความสามารถท่ีค้นหาและแก้ปัญหาท่ีเรียกว่า “ปัญญา”ซ่ึงมีหลาย ๆ อยา่ งถอื กาเนิดมาจากสมองเฉพาะส่วนแตกต่างกัน ซึง่ สตปิ ญั ญา 9 ด้าน ได้แก่ 1. สติปัญญาด้านภาษา (Linguistic Intelligence) หมายถึง ผู้ที่มีความสามารถทางด้านภาษาสูง อาทิ นักเล่านิทาน นักพูด (ปฐกถา) ความสามารถใช้ภาษาในการหว่านล้อม การอธิบาย กวีนักเขียนนวนิยาย นักเขียนบทละคร บรรณาธิการ นักหนงั สอื พมิ พ์ นักจติ วิทยา 2. สติปัญญาด้านตรรกและคณิตศาสตร์ (Logical/Mathematical Intelligence)หมายถึง กลุ่มผู้ท่ีมีความสามารถสูงในการใช้ตัวเลข อาทิ นักบัญชี นักคณิตศาสตร์ นักสถิติ กลุ่มผู้ให้เหตุผลที่ดี อาทิ นักวิทยาศาสตร์ นักตรรกศาสตร์ นักจัดทาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้ท่ีมีความไวในการเห็นความสัมพันธ์แบบแผนตรรกวิทยา การคิดเชิงนามธรรม การคิดที่เป็นเหตุผล (Cause-Effect)และการคิดคาดการณ์ (If-Then) วิธีการใช้ในการคิด ได้แก่ การจาแนกประเภท การจัดหมวดหมู่ การสนั นิษฐาน การสรปุ การคิดคานวณ การตั้งสมมติฐาน 3. สติปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (Visual/Spatial Intelligence) หมายถึง ผู้ท่ีมีความสามารถมองเห็นภาพของทิศทางแผนท่ีท่ีกว้างไกล อาทิ นายพรานป่าผู้นาทาง พวกเดินทางไกล รวมถึงผูท้ ี่มคี วามสามารถมองความสัมพันธ์ มองเหน็ แสดงออกเป็นภาพรูปรา่ งในการจัดการกับพ้นื ที่ เนื้อท่ีการใช้สี เสน้ พนื้ ผวิ รปู รา่ ง อาทิ สถาปนิก มัณฑนากร นักประดิษฐ์ ศิลปินต่าง ๆ 4. สติปัญญาด้านร่างกายและการเคล่ือนไหว (Bodily/Kinesthetic Intelligence)หมายถึง ผู้ท่ีมีความสามารถในการใช้ร่างกายของตนเองแสดงออกทางความคิด ความรู้สึก อาทินักแสดงละคร ภาพยนตร์ นักแสดงท่าใบ้ นักกีฬา นักฟ้อนราทาเพลง และผู้ที่มีความสามารถในการใช้มือประดิษฐ์ เช่น นักป้ัน ช่างแก้รถยนต์ รวมถึงความสามารถทักษะทางกาย เช่น ความคล่องแคล่วความแข็งแรง ความรวดเรว็ ความยืดหยนุ่ ความประณตี และความไวทางประสาทสมั ผสั 5. สติปัญญาด้านดนตรี (Musical/Rhythmic Intelligence) หมายถึง ผู้ท่ีมีความสามารถทางด้านดนตรี ได้แก่ นักแต่งเพลง นักดนตรี นักวิจารณ์ดนตรี รวมถึงความไวในเร่ืองจังหวะทานองเสยี ง ตลอดจนความสามารถในการเข้าและวเิ คราะหด์ นตรี เรยี บเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า ศษ 0103 รายวิชาการศึกษาปฐมวัย | 38 6. สติปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ (Intrapersonal Intelligence) หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด และเจตนาของผู้อื่น ท้ังน้ี รวมถึงความสามารถในการสังเกต น้าเสียง ใบหน้า ท่าทาง ท้ังยังมีความสามารถสูงในการรู้ถึงลักษณะต่าง ๆ ของสัมพันธภาพของมนุษย์และสามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ เช่น สามารถทาให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลปฏบิ ตั งิ าน 7. สติปัญญาด้านตน หรือการเข้าใจตนเอง (Interpersonal Intelligence) หมายถงึ ผู้ที่มคี วามสามารถในการรูจ้ ักตนเอง และสามารถประพฤตปิ ฏิบัติตนไดจ้ ากความรสู้ ึกตนน้ี ความ สามารถในการรู้จักตัวตน อาทิ การรู้จักตนเองตามความเป็นจรงิ เช่น มีจุดอ่อน จุดแข็ง ในเรื่องใด มีความรู้เท่าทันอารมณ์ ความคดิ ความปรารถนาของตนอง มคี วามสามารถในการฝกึ ฝนตนเอง และเข้าใจตนเอง 8. สติปัญญาด้านการรักธรรมชาติ (Naturalistic Intelligence) หมายถึง ผู้ที่มีความเข้าใจ ความเปล่ียนแปลงของธรรมชาติและปรากฏการณ์ธรรมชาติ เข้าใจความสาคัญของตนเองกับสิ่งแวดล้อม และตระหนักถึงความสามารถของตนที่จะมีส่วนช่วยในการอนุรักษ์ธรรมชาติ เข้าใจถึงพัฒนาการของมนุษย์และการดารงชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนตาย เข้าใจและจาแนกความเหมือนกันของสิ่งของ เขา้ ใจการหมนุ เวยี นเปลย่ี นแปลงของสาร 9. สติปัญญาด้านการดารงชีวิต (Existential Intelligence) หมายถึง ผู้ท่ีมีความสามารถในการไตร่ตรอง คานึง สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการมีชีวิตอยู่ในโลกมนุษย์ เข้าใจการกาหนดของชวี ติ และการรเู้ หตุผลของการดารงชีวติ อยใู่ นโลกบทสรปุ ปรัชญาการศึกษามอี ยู่มากมายหลายลัทธิตามลักษณะและตามธรรมชาติของมนุษย์ท่ีตา่ งก็คิดและเชื่อไม่เหมือนกันอาศัยแนวคิดของปรัชญาพ้ืนฐานที่แตกต่างกันหรือนามาผสมผสานกันทาให้มีลักษณะทค่ี าบเกยี่ วกนั หรอื อาจมาจากความคิดของปรชั ญาพ้นื ฐานสาขาเดยี วกัน 1. ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยมนั้นจะเน้นในดา้ นการเรยี นรู้ การสร้างวนิ ัยในตนเอง ครูผูส้ อนและผู้เรียน การศกึ ษามาจากครูมิใช่ผู้เรียน ครูเป็นผู้ใหน้ ักเรียนเป็นผู้รบั หลักสูตรเนน้ เนื้อหาวิชาและวิธีสอนใหน้ กั เรยี นมงุ่ รับรู้และจดจาใชก้ ารปาฐกถาเขา้ ไป 2. ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม คือ การศึกษาถึงเนื้อหาวิชาและแก่นสาระพื้นฐานส่วนสาคัญ ปรัชญาสารัตถนิยมมาจากพ้ืนฐาน 2 ปรชั ญา ก็คือ ปรัชญาจิตนยิ มและปรัชญาสัจนิยม โรงเรยี นสง่ เสริมให้รู้จกั คุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม เน้นระเบียบวินยั ผู้สอนเป็นศูนย์กลาง ใช้วิธีการบรรยายในการรับรู้ จดจา ใช้การออกกาลงั กายในการสรา้ งผู้เรียนให้มีวนิ ยั 3. ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม เป็นปรัชญาที่เน้นการต่อต้านแต่การศึกษาแบบดั้งเดิมท่ีมักจะเน้นแต่เนื้อหาท่องจาอย่างเดียว ไม่มีความคิดเป็นของตนเอง ครูเป็นผู้จัดประสบการณ์หรือกิจกรรมท่ีเน้นการมีส่วนรวมอยู่บนพื้นฐานและความสนใจของผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนนาไปใช้ได้อย่างถูกต้องโดยเรียนรู้จากประสบการณ์ในชีวิตจริง ใช้วิธีสอนแบบปรัชญาตามหลักวิทยาศาสตร์ครูเป็นผู้ชแ้ี นะจัดกจิ กรรม เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 39 4. ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม คาว่า ปฏิรูป คือ การบูรณะหรือการสร้างข้ึนใหม่ ปฏริ ูปนิยมจึงมุ่งการปฏิรูปสังคมข้ึนมาใหม่ เพราะถือว่าสังคมในปัจจุบันมีปัญหาทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและศิลปวัฒนธรรมเป็นเหตุต้องแก้ปัญหาอยู่เร่ือยๆ จึงต้องหาทางสร้างค่านิยมและแบบแผนของสังคมขึ้นใหม่ เน้นหาค่านิยม สร้างความเสมอภาคและความเป็นธรรมอีกทั้งต้องเตรียมคนสู่สังคมใหม่ พัฒนาสังคมใหด้ ขี ้นึ 5. ปรชั ญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม เป็นปรัชญาที่ให้ความสาคัญกบั องคป์ ระกอบท่ีทาให้มนุษย์มีความสมบูรณ์ย่ิง เพราะเช่ือว่ามนุษย์มิใช่วัตถุแต่มีชีวิตจิตใจ มีความรู้สึก มีความต้องการ และมีความเปน็ ตวั ของตวั เอง ในการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัย เราควรคานึงถึงพัฒนาการของเด็กในวัยน้ันๆ เป็นสาคัญ การศึกษาถึงพัฒนาการของเด็กจะช่วยให้เราเกิดความเขา้ ใจถึงธรรมชาติและลักษณะพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวยั ซง่ึ จะช่วยให้เราสามารถจัดประสบการณ์ จดั การเรียนการสอน และอบรมเลยี้ งดูเด็กได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับพัฒนาการ จากทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ที่ได้นาเสนอไว้ดังกล่าวน้ัน สรุปได้ว่า พัฒนาการของมนุษย์ต้ังแต่ปฏิสนธิจนกระท่ังเติบโตเป็นผู้ใหญ่ เป็นพัฒนาการท่ีมีกระบวนการต่อเนื่องมีลาดับขั้นตอน ได้แก่ ทฤษฎีพัฒนาการของกีเซล ทฤษฎีบุคลิกภาพหรือทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ และอิริคสัน ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูเนอร์ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของแบนดูรา ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก และทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ และโฮเวิรด์ การด์ เนอร์ ซ่ึงทุกทฤษฎีอธิบายพฤติกรรมของมนษุ ย์ท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป ดังน้ัน การสร้างความเข้าใจในแนวคิดทางทฤษฎีพ้ืนฐาน จะช่วยให้ผู้บริหาร ครูผู้สอนผู้ปกครอง และผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยได้อย่างเหมาสมและมปี ระสทิ ธภิ าพ เรยี บเรยี งโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหสั วิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 40 ใบงำนท่ี 1 หนว่ ยท่ี 2 ปรัชญำทำงกำรศกึ ษำ และทฤษฎีที่เก่ยี วข้องกับพัฒนำกำรของเด็กปฐมวยัคำช้ีแจง : 1. ใหน้ กั ศกึ ษาแบง่ กลมุ่ ออกเปน็ 5 กลมุ่ (กลมุ่ ละ 5-6 คน) โดยกาหนดบทบาทและหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบของสมาชิกในกลมุ่ ให้ชัดเจน 2. มอบหมายงานให้นกั ศกึ ษาแต่ละกล่มุ ศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชาการศกึ ษาปฐมวัย หน่วยที่ 2 ปรชั ญาทางการศกึ ษาและทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้องกบั พัฒนาการของเดก็ ปฐมวัยหวั ขอ้ เร่ืองปรชั ญาทางการศึกษา แล้วร่วมกันสรปุ เนื้อหาในรูปของ Mind Mapping พรอ้ มกับนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน ในประเด็น ดังน้ี  กลุ่มที่ 1 ปรชั ญาการศึกษาสารตั ถนยิ ม (Essentialism) - แนวคดิ พน้ื ฐาน - แนวคิดทางการศกึ ษา  กลมุ่ ที่ 2 ปรัชญาการศึกษานริ ันตรนิยม (Perennialism) - แนวคิดพน้ื ฐาน - แนวคดิ ทางการศึกษา  กลมุ่ ท่ี 3 ปรัชญาการศกึ ษาพพิ ัฒนาการนยิ ม (Progessivism) - แนวคดิ พน้ื ฐาน - แนวคดิ ทางการศึกษา  กล่มุ ที่ 4 ปรชั ญาการศึกษาปฏริ ปู นยิ ม (Reconstructionism) - แนวคิดพ้ืนฐาน - แนวคิดทางการศกึ ษา  กลุม่ ที่ 5 ปรชั ญาการศกึ ษาอัตถภิ าวนิยม (Existentialism) - แนวคิดพนื้ ฐาน - แนวคิดทางการศึกษา ******************************************************* เรียบเรยี งโดย นางสาวศุภพชิ ญ์ ดานวล

 เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ศษ 0103 รายวชิ าการศึกษาปฐมวัย | 41 ใบงำนที่ 2 หนว่ ยท่ี 2 ปรัชญำทำงกำรศึกษำ และทฤษฎีท่เี กย่ี วขอ้ งกบั พฒั นำกำรของเดก็ ปฐมวยัคำชแี้ จง : 1. ใหน้ กั ศกึ ษาแบง่ กลุ่มออกเป็น 8 กลมุ่ (กลุม่ ละ3-4 คน) โดยกาหนดบทบาทและหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบของสมาชกิ ในกลุ่มใหช้ ดั เจน 2. มอบหมายงานให้นักศกึ ษาแต่ละกลมุ่ ศึกษาเน้ือหาจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชาการศกึ ษาปฐมวยั หนว่ ยที่ 2 ปรัชญาทางการศึกษาและทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้องกับพฒั นาการของเด็กปฐมวัยหวั ข้อเรือ่ งเร่ือง ทฤษฎีท่เี ก่ียวขอ้ งกับพฒั นาการของเด็กปฐมวัย แลว้ ร่วมกันสรปุ เนือ้ หาในรปู ของ MindMapping พรอ้ มกับนาเสนอผลงานหน้าช้นั เรียน ในประเด็น ดังนี้ - กลุม่ ท่ี 1 ทฤษฎพี ัฒนาการทางร่างกายของกีเซล - กลมุ่ ท่ี 2 ทฤษฎพี ฒั นาการทางบุคลิกภาพของซิกมันต์ ฟรอยด์ - กลุ่มที่ 3 ทฤษฎพี ฒั นาการทางบคุ ลกิ ภาพของอิรคิ สนั - กลุม่ ท่ี 4 ทฤษฎีการเรยี นร้ขู องบรูเนอร์ - กล่มุ ท่ี 5 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของแบนดูรา - กล่มุ ท่ี 6 ทฤษฎพี ฒั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอรก์ - กลมุ่ ที่ 7 ทฤษฎีพัฒนาการทางสตปิ ญั ญาของเพยี เจต์ - กลุ่มท่ี 8 ทฤษฎีพฒั นาการทางสตปิ ญั ญาของโฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ ************************************************* เรียบเรียงโดย นางสาวศภุ พิชญ์ ดานวล