Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore botanical_illustrations

botanical_illustrations

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-04-19 02:17:41

Description: botanical_illustrations

Search

Read the Text Version

เฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั เน่อื งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553 กรมอุทยานแหง ชาติ สตั วปา และพนั ธพุ ืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ ม









คาํ ปรารภ ดวยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ ม ไดจ ดั กจิ กรรมเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั เนอ่ื งในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธนั วาคม 2553 ในฐานะพระมหากษตั รยิ ท ี่ทรงเปนนกั วทิ ยาศาสตรโดยแท เปนตน แบบแหง การอนุรักษ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม และการวาดภาพเปน ศลิ ปะอกี ประเภทหนง่ึ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงสน พระราชหฤทยั และไดท รงฝก ฝนวาดภาพมาตงั้ แตย งั ทรงพระเยาว มผี ลงานศลิ ปะใหพ สกนกิ รชาวไทยไดช น่ื ชมตลอดมา หนังสอื พฤกษศิลป นอกจากจะแสดงถึงความสวยงามในศลิ ปะภาพวาดพรรณไม โดยการใชเทคนิคสนี ้ํา และ สีไม ยังประกอบดวยขอมูลพรรณไมดานตางๆ ท้ังลักษณะทางพฤกษศาสตร การกระจายพันธุ และการใชประโยชน เพ่ือใหบุคคลทั่วไปสามารถรับรูเรื่องราวของพรรณไมเหลาน้ี ซึ่งลวนเปนพรรณไมพ้ืนเมืองท่ีพบในประเทศไทยท้ังหมด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม คาดหวังวาจะเปนหนังสือท่ีทรงคุณคาทั้งทางดานศิลปะและดาน การอนรุ กั ษพ รรณพฤกษชาตไิ ปพรอ มๆ กนั อนั จะกอใหเกิดความหวงแหน และเกิดจิตสาํ นึกแกบ คุ คลทัว่ ไปของการมี สวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อันเปนภารกิจหลักของหนวยงานภายใตสังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม (นายสวุ ิทย คุณกติ ติ) รฐั มนตรีวาการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม

คาํ นํา ภายใตกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เน่ืองในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเจรญิ พระชนมพรรษาครบ 83 พรรษา กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม โดยกรมอทุ ยานแหง ชาติ สตั วป า และพนั ธุพชื ไดจ ดั พมิ พหนงั สือ “พฤกษศลิ ป เฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เน่ืองในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553” ในฐานะที่พระองคทรงดําเนินโครงการดานการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมมายาวนาน ตลอดระยะเวลาแหง การครองราชย การรวบรวมพรรณพฤกษชาติท่ีมี คณุ คา และมคี วามสวยงามของประเทศไทยในรปู แบบภาพวาดสนี าํ้ และสไี ม แสดงถงึ ความงดงามทางศลิ ปะของพรรณไม ทดี่ เู ปน ธรรมชาติ โดยทบ่ี คุ คลทว่ั ไปสามารถชน่ื ชมความงามและลกั ษณะของพรรณไมโ ดยไมต อ งมคี วามรดู า นพฤกษศาสตร แตอ ยา งใด อนั เปน การสาํ นกึ ถงึ พระอจั ฉรยิ ภาพดา นศลิ ปะของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทที่ รงแสดงใหเ ปน ทป่ี ระจกั ษ แกสายตาบุคคลทว่ั ไปทั้งในประเทศและตางประเทศตลอดมา กระผมขอขอบคุณกรมอทุ ยานแหง ชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื ท่ีไดร วมกนั จดั ทําหนังสือพฤกษศลิ ปเ ลม น้ี และ คาดหวงั วาจะกอใหเกิดความประทับใจขึน้ ในเบื้องตน จากความสวยงาม ออนชอย เสมอื นจรงิ ของภาพวาด แกบุคคล ทั่วไป นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนเยาวชนของชาติ นําไปสูความสนใจดานพรรณไมมากขึ้น เปนสื่อที่มีคุณภาพในการ เสริมสรางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและมีความมุงมั่นที่จะรักษาไวใหเปนมรดกแกลูกหลานสืบไป (นายโชติ ตราชู) ปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม

บทนํา กรมอทุ ยานแหง ชาติ สตั วป า และพนั ธพุ ชื ไดจ ดั พมิ พห นงั สอื “พฤกษศลิ ป” โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ เฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั เนอ่ื งในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธนั วาคม 2553 เพือ่ แสดงถงึ ความสวยงามของศลิ ปะภาพวาดพรรณไม โดยการใชเ ทคนคิ สนี าํ้ และสไี ม ในรปู แบบภาพวาดทางพฤกษศาสตร โดยเนนถึงศิลปะภาพวาดพรรณไมเปนสําคัญ แตยังประกอบดวยคําบรรยายลักษณะเดนของพืชแตละชนิด ตลอดจน สดั สว นของภาพโดยประมาณ พรอ มดวยขอ มลู ดา นการกระจายพันธุ การใชป ระโยชน ตลอดจนเรอ่ื งราวของพรรณไม ชนิดน้ันในดานตางๆ พอสังเขป โดยบุคคลทวั่ ไปสามารถรับรเู ร่ืองราวของพรรณไมต างๆ ท่ีลว นเปนพรรณไมพ้นื เมือง ของประเทศไทย พรอมอรรถรสดานความงามทางศิลปะ โดยเล็งเห็นวาการวาดภาพเปนศิลปะอีกประเภทท่ีพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงสนพระราชหฤทัย และไดทรงฝกฝนวาดภาพดวยพระองคเองมาต้ังแตทรงพระเยาว ภาพท่ี ทรงวาดสว นมากจะเปน พระสาทสิ ลกั ษณข องสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ สมเดจ็ พระเจา ลกู ยาเธอ และ สมเด็จพระเจาลูกเธอทุกพระองค ซ่ึงจิตรกรรมฝพระหัตถสามารถแบงออกเปน 3 ลักษณะคือ ภาพแบบเหมือนจริง (Realist) แนวเอ็กซเพรสชนั่ นิสต (Expressionist) และศิลปะแบบนามธรรม (Abstract) และเทคนคิ ทีท่ รงใชมากคอื เทคนคิ สนี าํ้ มนั บนผา ใบ ตอ มาในป พ.ศ. 2508 มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรจงึ ไดท ลู เกลา ฯ ถวายปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ด์ิ สาขาจิตรกรรม พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงเปนศิลปนโดยแท และโปรดในงานของศิลปน ผูอ นื่ เสมอ นอกจากนน้ั ยงั ทรงมพี ระราชดาํ รเิ กย่ี วเนอื่ งกบั การอนรุ กั ษพ นั ธไุ ม โดยเฉพาะตน ยางนาทท่ี รงพระกรณุ าโปรดเกลา ใหท ดลองปลกู ใน พระตําหนักจิตรลดารโหฐานต้ังแตป พ.ศ. 2504 และทรงเปนผูใฝศึกษาหาความรูดานวิทยาศาสตรอยางสมํ่าเสมอ หนงั สอื ภาพวาดทางพฤกษศาสตรเ ลม นจี้ งึ เปน การเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ในฐานะพระมหากษตั รยิ  ทท่ี รงเปน นกั วทิ ยาศาสตร เปน ตน แบบแหง การอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มและมผี ลงานศลิ ปะใหพ สกนกิ ร ชาวไทยไดช ืน่ ชมกนั อยางทว่ั ถึง กรมอุทยานแหง ชาติ สัตวปา และพนั ธพุ ืช โดย สํานกั งานหอพรรณไม สํานกั วจิ ยั การอนรุ ักษป าไมและพนั ธพุ ชื จึงหวังเปนอยางย่ิงวา หนังสือเลมน้ีจะบรรลุวัตถุประสงคดานศิลปะของพรรณไมไทยท่ีมีความสวยงาม ควรคูแกการ อนรุ ักษใหเ ปนสมบตั ิทางธรรมชาติท่มี คี า ของประเทศสืบไป เพ่ือเปนการเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห วั ทีท่ รงพระวริ ิยอตุ สาหะ ตรากตรําบาํ เพ็ญพระราชกรณียกจิ ดา นการอนรุ กั ษท รัพยากรธรรมชาติตลอดมา (นายสุนนั ต อรุณนพรัตน) อธบิ ดกี รมอุทยานแหง ชาติ สตั วปา และพันธุพืช





ภาพไมป รากฏชอ่ื เทคนิคสนี ํา้ มัน ทรงวาดเม่ือ ป พ.ศ. 2503 จากหนงั สอื อัครศลิ ปน



สารบญั หนา ประวตั คิ วามเปน มา 2 หลักการวาดภาพทางพฤกษศาสตร 15 เฟน บวั รศั มี 26 Matonia pectinata R. Br. เขากวาง 28 Platycerium ridleyi H. Christ. เฟนหิรัญ 30 Pteris blumeana J. Agardh สนสามใบ 32 Pinus kesiya Royle ex Gordon ขุนไม 34 Nageia wallichiana (C. Presl) Kuntze บอนเตา กนปด 36 Ariopsis protanthera N.E. Br. ปาลม เจาเมอื งตรงั 38 Licuala peltata Roxb. ex Buch.-Ham. var. sumawongii Saw มันเทยี น 40 Dioscorea brevipetiolata Prain & Burkill วา นแมยบั 42 Iris collettii Hook. f. ดอกแตรวง 44 Lilium primulinum Baker var. burmanicum Stearn กลวยบัว 46 Musa laterita Cheeseman สงิ โตขยุกขยุย 48 Bulbophyllum dayanum Rchb. f. กระตายหลู ู 50 Diploprora truncata Rolfe ex Downie เอ้ืองศรีอาคเนย 52 Sirindhornia monophylla (Collett & Hemsl.) H. A. Pedersen & Suksathan สามรอ ยตอใหญ 54 Vanilla pilifera Holttum เตยชะงด 56 Freycinetia javanica Blume หญา ลอยลม 58 Spinifex littoreus (Burm. f.) Merr. หนอนตายหยาก 60 Stemona phyllantha Gagnep. กระเจยี ว 62 Curcuma alismatifolia Gagnep. กลวยจะกา หลวง 64 Globba winitii C. H. Wright หงสเหิน 66 Hedychium khaomaenense Picheansoonthon & Mokkamul เปรียง 68 Swintonia floribunda Griff. กลาย 70 Mitrephora keithii Ridl. มหาพรหมราชนิ ี 72 Mitrephora sirikitiae Weeras., Chalermglin & R. M. K. Saunders ยานนมควาย 74 Uvaria grandiflora Roxb. ex Hornem var. grandiflora หยง่ั สมทุ ร 76 Amalocalyx microlobus Pierre ex Spire หญา พันเกลยี ว 78 Ceropegia thailandica Meve โมกราชินี 80 Wrightia sirikitiae D. J. Middleton & Santisuk นว้ิ มือพระนารายณใ บวน 82 Schefflera poomae Esser & Jebb นกกระจิบ 84 Aristolochia harmandiana Pierre ex Lecomte เทียนสวาง 86 Impatiens cardiophylla Craib ดาดนภา 88 Begonia soluta Craib สําเภาทอง 90 Radermachera boniana Dop หมนั ทะเล 92 Cordia subcordata Lam. สายนาํ้ ผ้งึ ใหญ 94 Lonicera hildebrandtiana Collett & Hemsl. กระทงลาย 96 Celastrus paniculatus Willd. กําแพงเจด็ ชัน้ 98 Salacia chinensis L. เถากระดงึ ชาง 100 Argyreia lanceolata Choisy เครือพุงหมู 102 Argyreia leucantha Traiperm & Staples จนั ทรกลา 104 Merremia mammosa (Lour.) Hallier. f. แตงขน 106 Cucumis hystrix Chakrav.

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า บวบขน 108 Sinobaijiania smitinandii W. J. de Wilde & Duyfjes ส้าน 110 Dillenia ovata Wall. ex Hook. f. & Thomson ยางกราด 112 Dipterocarpus intricatus Dyer ยางพลวง 114 Dipterocarpus tuberculatus Roxb. ชันหอย 116 Shorea macroptera Dyer มะพลบั ทะเล 118 Diospyros areolata King & Gamble ไคร้ยอ้ ย 120 Elaeocarpus grandiflorus Sm. เหงา้ นำ้�ทิพย์ 122 Agapetes saxicola Craib กหุ ลาบแดง 124 Rhododendron simsii Planch. ประกายแสด 126 Mallotus kongkandae Welzen & Phattar. หลมุ พอทะเล 128 Intsia bijuga (Colebr.) Kuntze มะค่าแต้ 130 Sindora siamensis Teijsm. & Miq. ใบสที อง 132 Bauhinia aureifolia K. Larsen & S. S. Larsen เสี้ยวพระวิหาร 134 Bauhinia saigonensis Pierre ex Gagnep. var. gagnepainiana K. Larsen & S. S. Larsen สร้อยสยาม 136 Bauhinia siamensis K. Larsen & S. S. Larsen สริ นิ ธรวัลลี 138 Bauhinia sirindhorniae K. Larsen & S. S. Larsen ขยนั 140 Bauhinia strychnifolia Craib อรพิม 142 Bauhinia winitii Craib กันภยั 144 Afgekia sericea Craib ก่อขา้ ว 146 Castanopsis inermis (Lindl. ex Wall.) Benth. & Hook. f. ก่อด�ำ 148 Lithocarpus lucidus (Roxb.) Rehder ก่อสามเหล่ียม 150 Trigonobalanus doichangensis (A. Camus) Forman เอือ้ งหงอนไก่ 152 Aeschynanthus fulgens Wall. ex R. Br. ค�ำ ปองแสด 154 Ridleyandra flammea (Ridl.) A. Weber ชามว่ ง 156 Trisepalum glanduliferum (Barnett) B. L. Burtt นวลชมพู 158 Rhodoleia championii Hook. f. บัวทอง 160 Hypericum hookerianum Wight & Arn. ดนั หมี 162 Gonocaryum lobbianum (Miers) Kurz ทองแมว 164 Gmelina elliptica Sm. ซ้อหิน 166 Gmelina racemosa (Lour.) Merr. จกิ ทะเล 168 Barringtonia asiatica (L.) Kurz กาฝากวงกลบี บวั 170 Tolypanthus pustulatus Barlow มณฑาปา่ 172 Magnolia garrettii (Craib) V. S. Kumar โสมชบา 174 Abelmoschus sagittifolius (Kurz) Merr. หม้อแกงค่าง 176 Nepenthes ampullaria Jack ตานเหลอื ง 178 Ochna integerrima (Lour.) Merr. มะลวิ ัลยเ์ ถา 180 Jasminum siamense Craib เสาวรสสยาม 182 Passiflora siamica Craib เข็มดอย 184 Duperrea pavettifolia Pit. ราชาวดหี ลวง 186 Buddleja macrostachya Wall. ex Blume เมย่ี งหลวง 188 Polyspora axillaris (Roxb. ex Ker Gawl.) Sweet ex G. Don เหด็ เบ้ยี 190 Chaetocalathus columellifer (Berk.) Singer เหด็ ถ้วยแชมเปญ 192 Cookeina sulcipes (Berk.) Kuntze

ภาพวาดทางพฤกษศาสตร Botanical Illustration ภาพวาดทางพฤกษศาสตรหรือภาพวาดพรรณไม คืองานจิตรกรรม หรือภาพเขียน ที่นําเสนอรูปทรง สี รายละเอียดของพืชแตละชนิด โดยสวนใหญเปนภาพลายเสนขาวดําหรือภาพสีน้ํา นิยมพิมพเผยแพร รวมกับการบรรยายลักษณะรูปพรรณของพรรณไมในหนังสือ วารสาร และสิ่งพิมพอื่น ๆ ซึ่งตองอาศัยความรูดานสัณฐานและกายวิภาคของ พืช ตัวอยางพรรณไมทั้งสดและอัดแหง พรอมเอกสารอางอิงตางๆ และ ความรวมมือของนักพฤกษศาสตร เพื่อแสดงลักษณะเดนสวนตางๆ ของ พืช จนสามารถระบุไดวาเปนพืชชนิดใด แตกตางจากพืชชนิดอื่นอยางไร และยังมีความสวยงามทางศิลปะสมจริงอีกดวย ภาพวาดสวนใหญมักมี ขนาดเทาของจริงหรือเปนภาพยอหรือขยายที่มีสัดสวนกํากับไว ดังนั้น ภาพวาดทางพฤกษศาสตรโดยทั่วไปจะมีองคประกอบเพียง 4 อยาง ไดแก ภาพพรรณไม ชื่อพรรณไม มาตราสวน และชื่อจิตรกร 1

ประวัติความเปนมา ยุคกรีกโบราณ ภาพวาดทางพฤกษศาสตร มีประวัติความเปนมาเชนเดียวกับการศึกษาดาน พฤกษศาสตร เริ่มตั้งแตมนุษยเริ่มเรียนรูการใชประโยชนพืช พืชสมุนไพร พืชกินได หรือพืชที่เปนพิษ โดยการบันทึกสวนตางๆ ของพืชเปนภาพวาดในรูปแบบตางๆ ตั้งแตสมัยอียิปตและกรีกโบราณ ตามผนังกําแพง เครื่องปนดินเผา กระดาษ หรือ หนังสัตวขัดมันที่เรียกวา vellum ผลงานภาพวาดทางพฤกษศาสตรชิ้นสําคัญที่มีอายุ เกาแกที่สุดที่ยังคงสภาพถึงปจจุบันคือ De Materia Medica หรือ Regarding Medical Matters เขียนโดย Pedanius Dioscorides นายแพทยและนักปรุงยา สมุนไพรในสมัยกรีกโบราณ ในราว 40–90 ปกอนคริสตกาลหรือคริสตศตวรรษที่ 1 ซึ่งมีความสําคัญไมเฉพาะดานพืชสมุนไพร แตยังใหประโยชนความรูเรื่องพืชและ การใชประโยชนดานอื่นๆ กวา 600 ชนิด พรอมภาพวาดประกอบจํานวนมาก ตอ มาภายหลังไดรับการคัดลอก และแปลเปนภาษาตางๆ หลายครั้งทั้งในอิตาลี สเปน และกลุมประเทศอาหรับ ตอเนื่องมาจนถึงในราวคริสตศตวรรษที่ 16 หนังสือ ผลงานภาพวาดทางพฤกษศาสตร ของ Crateuas 2

หนังสือ De Materia Medica ดงั กลา วยงั ไดก ลา วถงึ Crateuas (Krateuas) นกั พฤกษเภสชั ยคุ 120–63 ของ Pedanius Dioscorides ป กอ นครสิ ตกาล ในสมยั ของกษตั รยิ  Mithridates VI Eupator ผปู กครอง แผน ดนิ เอเชยี ไมเนอร และยกยองวาเปน ผวู าดภาพประกอบขอ มูลพชื สมุนไพรท่ีเปนภาษาลาตินและกรีกโบราณเปนคนแรก กลาวไดวา Crateuas เปน บดิ าของการวาดภาพทางพฤกษศาสตรโ ดยแท โดยไดร บั เกียรตินํามาต้ังเปน ช่ือพืชสกลุ Crateva ในเวลาตอมา สวน Pedanius Dioscorides ไดรับเกียรตนิ ํามาตงั้ เปน ช่ือพืชสกลุ Dioscorea ยุคฟนฟูศิลปวิทยา ในยุคตอมา โดยเฉพาะในราวกลางคริสตศตวรรษที่ 15–16 การ ศึกษาดานพฤกษศาสตรเปนระบบมากขึ้น แตในเบื้องตนยังใชศึกษา พืชสมุนไพรเพื่อใชเปนยารักษาโรคเปนหลัก บุคคลที่มีชื่อเสียงที่ ศึกษาดานพืชสมุนไพร เปนนายแพทย (physicians) มีหลายคน เชน Carolus Clusius (ค.ศ. 1526–1609) ชาวออสเตรีย ไดรับเกียรติตั้ง เปนชื่อพืชสกุล Clusia Matthias de L’Obel ชาวฝรั่งเศส ไดรับเกียรติ ตั้งเปนชื่อพืชสกุล Lobelia และ Willum Turner ชาวองั กฤษ ผรู เิ รม่ิ เขยี น ผลงานเปนภาษาอังกฤษ จนไดรับการยกยองวาเปนบิดาของวงการ พฤกษศาสตรที่เปนภาษาอังกฤษ หรือ Father of English Botany 3

ภาพพรรณไมในหนงั สือ Herbarum Vivae Eicones ในยุคนี้เปนยุคฟนฟูศิลปวิทยา หรือยุคเรอเนสซองซ (Renaissance) ของ Otto Brunfels อันเปนจุดเริ่มตนของการฟนฟูศิลปวัฒนธรรมรวมทั้งเทคโนโลยี และ วิทยาศาสตร โดยเฉพาะในอิตาลีที่มีจิตรกรวาดภาพผูยิ่งใหญหลาย คนเชน Leonardo da Vinci และ Michelangelo Buonarroti เปนตน แตสวนใหญเปนภาพสีน้ํามัน สวนผูบุกเบิกการใชสีน้ําเปนจิตรกรชาว เยอรมัน คือ Albrecht Durer ซึ่งมีลูกศิษยที่วาดภาพทางพฤกษศาสตร ที่มีชื่อเสียงคือ Hans Weiditz เปนผูวาดภาพพรรณไมประกอบใน หนังสือ Herbarum Vivae Eicones (Living Portraits of Plants) ของ Otto Brunfels ตีพิมพเมื่อป ค.ศ. 1530 นอกจากนี้ยังมีผลงานของ Leonard Fuchs ในหนังสือ De Historia Stirpum Commentarii Insignes (Notable Commentaries on the History of Plants) ที่มี จิตรกรชื่อ Albert Meyer เปนผูวาดภาพประกอบ ทําใหการวาดภาพ ทางพฤกษศาสตรเ ริม่ มคี ณุ คา และมคี วามสาํ คญั ในการจดั พมิ พห นงั สอื ดานพรรณพฤกษชาติมากยิ่งขึ้น การศึกษาดานพฤกษศาสตรในยุคฟนฟูศิลปวิทยามีความ กาวหนามาก ไดมีการเก็บตัวอยางพรรณไมอัดแหงไวในพิพิธภัณฑ รูปแบบหอพรรณไม ซึ่งเดิมเรียกกวา hortus hyemalis หมายถึง the winter garden หรือ hortus siccus ที่หมายถึง the dried garden แทนที่จะเปนการวาดภาพอยางเดียวหรือเก็บเปนตัวอยางพืชสดใน สวน อยางไรก็ตามการวาดภาพประกอบแสดงลักษณะตางๆ ของพืช แตละชนิดยังเปนที่นิยม เพราะสามารถรวบรวมตัวอยางจากหลาย ตัวอยางใหมาประกอบขึ้นเปนภาพเดียวกัน และยังแสดงสีสันและ ภาพขยายสวนที่สําคัญของพืชพรอมมาตราสวนไดอีกดวย นอกจาก การวาดภาพลายเสนและภาพสีน้ํา ภาพพิมพจากแมพิมพไม หรือ woodcut ก็เปนที่นิยมในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 16 จิตรกรภาพ วาดทางพฤกษศาสตรที่มีชื่อเสียงไดแก Nicolas Robert (ค.ศ. 1614– 1685) ชางเขียนชาวฝรั่งเศสของราชสํานักของพระเจาหลุยสที่ 14 นอกจากนี้ยังมีนักพฤกษศาสตรที่มีผลงานและมีภาพวาดพรรณไม ประกอบงานเขียน ซึ่งนักพฤกษศาสตรเหลานี้สวนใหญทํางานในสวน พฤกษชาติตางๆ ในยุโรป เชน John Gerrard (ค.ศ. 1545–1611) ชาว อังกฤษ เจาของผลงานหนังสือเรื่อง Gerrard’s Herball และ Basillus Besler (ค.ศ. 1561–1629) ชาวเยอรมัน เจาของผลงานหนังสือเรื่อง Hortus Eystettensis เปนตน 4

ระบบการจําแนกพืชของ Linnaeus ในป ค.ศ. 1753 Carl Linnaeus (ค.ศ. 1707–1778) นักพฤกษศาสตร และ นักสัตวศาสตร ชาวสวีเดน ไดตีพิมพหนังสือ Systema Naturae และ Species Plantarum เสนอการจําแนกพืชโดยใชระบบลักษณะของเพศ โดยเฉพาะลักษณะ ของเกสรเพศผู และไดรวบรวมชื่อพืชจํานวนมากไวเปนหมวดหมูอยางเปนระบบ นักวาดภาพทางพฤกษศาสตรที่ควรกลาวถึงในยุคนี้คือ Georg Dionysius Ehret (ค.ศ. 1707–1770) นักพฤกษศาสตรชาวเยอรมัน ไดรับเกียรติตั้งเปนชื่อพืชสกุล Ehretia ซึ่งอาจกลาวไดวาเปนปรมาจารยแหงการวาดภาพทางพฤกษศาสตร (the greatest of all botanical illustrators) ไดวาดภาพลักษณะของเกสรเพศผูตามระบบ ลักษณะของเพศของ Linnaeus ในป ค.ศ. 1736 ซึ่งภาพวาดทางพฤกษศาสตรใน ยุคตอมามีความสําคัญและแสดงรายละเอียดของลักษณะเพศตามระบบของ Lin- naeus รวมถึงระบบการใชตัวอยางตนแบบ (type) ดวย หนงั สือ Species Plantarum ของ Carl Linnaeus (ซา ย) และภาพลกั ษณะของเกสรเพศผตู ามระบบของ Linnaeus วาดโดย Georg Dionysius Ehret (ขวา) 5

ยุคลาอาณานิคม ในยุคลาอาณานิคม มีการพบพืชพรรณใหมมากมายในตางแดน สวนมากมี การนํากลับไปสูประเทศผูลาอาณานิคมในรูปแบบตัวอยางพรรณไมอัดแหงหรือ พรรณไมสด นอกจากนี้ยังมีการเก็บขอมูลพืชดวยการบันทึกเปนภาพวาดโดยนัก พฤกษศาสตรเองหรือใหจิตรกรเปนผูวาด การวาดภาพพรรณไมเหลานี้เปนแนวทาง หนึ่งที่แสดงใหชาวยุโรปทราบถึงลักษณะพืชแตละชนิด และดวยเหตุผลที่การจะนํา ตัวอยางพรรณไมกลับไปยังประเทศผูลาอาณานิคมเปนไปดวยความยากลําบาก และตัวอยางจํานวนมากถูกทําลายดวยความชื้นหรือแมลง หรือสูญหายในระหวาง การขนสงไดงาย จึงมีภาพวาดทางพฤกษศาสตรเกิดขึ้นเปนจํานวนมากสําหรับเปน หลักฐานอางอิง บุคคลที่ควรกลาวถึงคือ Sir Joseph Banks (ค.ศ. 1743–1820) นักพฤกษศาสตรและนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ (ไดรับเกียรติตั้งเปนชื่อสกุล Banksia สกุลพืชถิ่นเดียวของออสเตรเลีย) ที่รวมเดินทางไปทั่วโลกกับ Captain James Cook นักสํารวจที่มีชื่อเสียง พรอมดวยจิตรกรที่ชวยในการวาดภาพ พรรณไมระหวางการสํารวจ และนําตัวอยางพืชสดมาปลูกที่สวนพฤกษศาสตรคิว กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะพรรณไมพื้นเมืองของ ออสเตรเลียและแอฟริกา และยังไดจางจิตรกรอีกหลายคนวาดภาพประกอบพืช ตางๆ ที่ไมไดวาดระหวางการสํารวจ เชนจาง Sydney Parkinson จิตรกรชาวสกอต ตัวอยา งภาพวาดทางพฤกษศาสตรโ ดย Georg Dionysius Ehret ไดแ ก มะพรา ว สบั ปะรด และกลวย ตามลาํ ดับ 6

ภาพวาดสีน้ํา Banksia serrata โดย นักพฤกษศาสตรอีกคนหนึ่งที่สมควรกลาวถึงในดานการวาดภาพทางพฤกษศาสตร Sydney Parkinson (ซาย) และ กลวยผา คือ William Roxburgh (ค.ศ. 1751–1815) นักพฤกษศาสตรชาวสกอต บิดาแหง Ensete superbum จากหนังสือ Plants of วงการพฤกษศาสตรอินเดีย ไดใหจิตรกรโดยเฉพาะชาวพื้นเมืองในอินเดียเปนผู the Coast of Coromandel เลม 3 ในป วาดภาพประกอบพรรณไมจาํ นวนมาก ในชว งการสํารวจและศึกษาพรรณไมในสมยั ค.ศ. 1819 (ขวา) ที่อังกฤษปกครองอินเดีย โดยเฉพาะภาพสีน้ํา ซึ่งมีมากถึง 2,572 ภาพที่ไดสงกลับ ประเทศอังกฤษในชวงป ค.ศ. 1790–1814 และกวา 500 ภาพ ไดตีพิมพเปนภาพ ประกอบการบรรยายลักษณะพรรณไมในหนังสือ Plants of the Coast of Coro- mandel เลม 1–3 ในป ค.ศ. 1795, 1802 และ 1819 กลาวไดวาในยุคคริสตศตวรรษ ที่ 17 เปนยุคที่การวาดภาพทางพฤกษศาสตรเปนที่นิยมอยางกวางขวางจากการ คนพบพรรณไมใหมจํานวนมากในประเทศอาณานิคม ซึ่งนักสํารวจพรรณไมไดนํา กลับไปสูประเทศในยุโรป โดยเฉพาะมีการจัดสรางสวนรวมพรรณไมในรูปแบบสวน พฤกษศาสตรมากขึ้น มีพรรณไมใหมๆ ที่นํามาปลูกเปนไมดอกไมประดับ มีสีสัน สวยงาม และเปนที่นิยมของชาวยุโรปมากขึ้น เชนเดียวกับงานภาพวาดทาง พฤกษศาสตรที่ไดแพรหลายในยุโรป ตางจากในสมัยกอนที่ภาพวาดทาง พฤกษศาสตรเปนภาพประกอบในหนังสือพืชสมุนไพรเปนสวนใหญ 7

Curtis’s Botanical Magazine บุคคลอื่นๆ ที่สมควรไดรับการกลาวถึงในดานการวาดภาพทางพฤกษศาสตร ในยุคเดียวกันนี้ เชน Pierre-Joseph Redouté (ค.ศ. 1759–1840) นักพฤกษศาสตร และจิตรกรชาวเบลเยียม ไดวาดภาพพรรณไมกวา 2,100 ภาพ ประมาณ 1,800 ชนิด นอกจากนั้น Sir William Jackson Hooker (ค.ศ. 1785–1865) นักพฤกษศาสตร ชาวสกอต ซึ่งรวมมือกับจิตรกรชื่อ Walter Hood Fitch (ค.ศ. 1817–1892) ยังได ตีพิมพหนังสือพรรณไมที่มีชื่อเสียงพรอมภาพวาดทางพฤกษศาสตรประกอบอยาง ละเอียดหลายเลมเชน Exotica Flora, Icons Filicum และ Icons Plantarum ซึ่งได นําลงพิมพตอเนื่องในวารสารภาพวาดทางพฤกษศาสตรที่เกาแกและมีชื่อเสียง Curtis’s Botanical Magazine ที่เริ่มตีพิมพครั้งแรกในป ค.ศ. 1787 โดย William Curtis นักพฤกษศาสตรและกีฏวิทยาชาวอังกฤษ (ไดรับเกียรตินําไปตั้งเปนชื่อพืช สกุล Curtisia) นอกจากนี้ W. H. Fitch ยังไดขยายงานภาพวาดทางพฤกษศาสตร ของเขาอยางตอเนื่องในงานเขียนของนักพฤกษศาสตรอีกหลายคนในยุคนั้น รวมถึง Sir Joseph Hooker (ค.ศ. 1817–1911) บุตรชายของ W. J. Hooker เปนนักพฤกษศาสตรผูมีชื่อเสียงอีกผูหนึ่งที่ไดเดินทางสํารวจพรรณไมทั่วโลกและ เปนเพื่อนสนิทของ Charles Darwin เจาของหนังสือ Origin of Species อันโดงดัง Hooker ยงั ไดจ า งจติ รกรเพม่ิ เพอื่ วาดภาพพรรณไมท ไี่ ดจ าก การสาํ รวจจํานวนมาก ในจํานวนน้ีมหี ลายภาพที่ Hooker เปนผูรางภาพเอง และไดรวบรวมตีพิมพเปนหนังสือ หลายเลม เชน Rhododendrons of Sikkim-Himalaya ในป ค.ศ. 1849 และ ค.ศ. 1851 และ Illustration Himalayan Plants ในป ค.ศ. 1855 ซึ่งสวนใหญ W. H. Fitch เปนผแู ตง เตมิ ภาพของ Hooker ใหส มบรู ณกอนท่ีจะตีพิมพ ในชว ง คริสตศตวรรษท่ี 18 ซึ่งงานพมิ พมกี ารพฒั นามากขึน้ การ วาดภาพประกอบทางพฤกษศาสตรแ พรห ลายมากข้นึ โดย เฉพาะภาพวาดสีนํ้าท่ีนิยมพิมพประกอบในหนังสือผล งานการศึกษาดานพฤกษศาสตรตลอดมา แมเทคนิคดาน การถายภาพในสมัยน้ันจะไดรับการพัฒนามากขึ้น แต เน่ืองจากภาพวาดทางพฤกษศาสตรใหรายละเอียดท่ีดีกวา บางครั้งก็ตีพิมพเฉพาะภาพวาดทางพฤกษศาสตรของพืช ชนิดใหมข องโลก รวบรวมเปนเลม โดยเฉพาะในชว งครสิ ต ศตวรรษท่ี 18 และ 19 ภาพ Rhododendron argenteum โดย Walter Hood Fitch จาก หนงั สอื Rhododendrons of Sikkim-Himalaya 8

Jackson Hooker และ Walter Hood Fitch ประเทศอังกฤษผูนําดานภาพวาดสีนํา้ สําหรับนักวาดภาพทางพฤกษศาสตรในชวงคริสตศตวรรษที่ 19 จนถึงตน คริสตศตวรรษที่ 20 นี้มีจิตรกรหญิง 2 คนสมควรไดรับการกลาวถึง ไดแก Matilda Smith (ค.ศ. 1854–1926) ชาวอังกฤษ (ไดรับเกียรติตั้งเปนชื่อสกุล Smithiantha และ Smithiella) ผูวาดภาพลงใน Curtis’s Botanical Magazine ตอเนื่องกวา 40 ป และ Celia Rosser (เกิดในป ค.ศ. 1930) ชาวออสเตรเลีย ผูวาดภาพพืชในสกุล Banksia ทุกชนิด ในหนังสือ The Banksias จํานวน 3 เลม ตอเนื่องยาวนานถึง 25 ป โดยเริ่มวาดตั้งแตป ค.ศ. 1974 และตีพิมพเลมแรกในป ค.ศ. 1981 และยัง วาดตอเนื่องอีกเมื่อพืชในสกุลนี้ไดรับการตีพิมพเปนชนิดใหมของโลกเพิ่มเติม อยางไรก็ตามในยุคนี้และตอๆ มา กลาวไดวาอังกฤษเปนผูนําในดานการวาดภาพ ทางพฤกษศาสตรอยางแทจริง และเผยแพรผลงานภาพวาดทางพฤกษศาสตรให เปนที่รูจักไปทั่วโลก ประกอบกับการที่ประเทศอังกฤษไดรับการยกยองวาเปนผูนํา ดานภาพวาดสีน้ํา อีกทั้งยังเปนผูผลิตวัสดุอุปกรณที่ใชกับภาพวาดสีน้ําจําหนาย เปนที่รูจักกันไปทั่วโลก รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา 9

ภาพ type illustration ของ Lecanopteris pumila Blume จาก ภาพวาดทางพฤกษศาสตรของพรรณไมตนแบบ หนังสอื Flora Javae ในป ค.ศ. 1851 ตพี มิ พซาํ้ ในวารสาร Thai Forest Bulletin (Botany) เลม ท่ี 37 ป ค.ศ. 2009 อนึ่ง ในยุคคริสตศตวรรษที่ 16 และ 17 มีการตีพิมพพรรณไม ใหมของโลก (new taxa) จํานวนมาก โดยอางตัวอยางตนแบบ (type) ที่เปนภาพวาดทางพฤกษศาสตร และไดรับการยอมรับในการศึกษา ดานอนุกรมวิธานพืช เนื่องจากปญหาในการเก็บตัวอยางพรรณไม และการนํากลับไปยังประเทศของนักพฤกษศาสตรในอดีต ทําให พรรณไมเหลานี้มีปรากฏเฉพาะที่เปนภาพวาดตนแบบ นอกจากนี้ยัง รวมถึงพืชที่มีขนาดเล็กที่ตองใชกลองจุลทรรศนในการศึกษา การวาด ภาพพืชเหลานี้สามารถแสดงรายละเอียดไดดีกวาแผนสไลดที่มีขนาด เล็ก ซึ่งการยอมรับใหเปนตัวอยางตนแบบดังกลาวตองเปนไปตามกฎ ของ International Code of Botanical Nomenclature (Vienna Code, 2006) ดังตัวอยางในภาพเปนของภาพวาดทางพฤกษศาสตรตนแบบ หรือ type illustration ของเฟนชนิด Lecanopteris pumila Blume จาก หนังสือ Flora Javae ภาพท่ี 94B ตีพิมพซํ้าในวารสาร Thai Forest Bulletin (Botany) ของหอพรรณไม กรมอทุ ยานแหง ชาติ สตั วป า และพันธุพืช เลม 37 เมื่อป ค.ศ. 2009 วาเปนพืชพบใหม (new record) ของไทย และกลาวอางถึงภาพตัวอยางตนแบบดังกลาวที่ แสดงรายละเอียดครบถวนทั้งวิสัย (habit) ลักษณะของกลุมสปอร (sori) การเรียงเสนใบ (venation) และอับสปอร (sporangia) เปนไป ตามกฎ ICBN ในขอที่ 42.3 และ 42.4 ภาพวาดทางพฤกษศาสตร ในโลกตะวันออก ในซีกโลกตะวันออก กลาวกันวาการวาดภาพสีน้ําเฟองฟูใน ประเทศจีนสมัยราชวงศซุง (Sung Dynasty) โดยเฉพาะในสมัย จักรพรรดิ Hui-Tsung (ค.ศ. 1082–1135) ที่มีชื่อเสียงในดานการวาด ภาพเปนอยางมาก จิตรกรชาวจีนมักนิยมวาดภาพนก สัตวตางๆ หรือ แมลง ประกอบกับภูเขา พรรณไมหรือตนไม เนื่องจากชนชาติจีนเชื่อ วาธรรมชาติเปนมารดาของสรรพสิ่งทั้งหลายในโลก จิตรกรชาวจีนได ชื่อวาเปนผูบุกเบิกสําคัญในการวาดภาพสีน้ํา ทั้งการวาดภาพสีน้ําบน กระดาษและผาไหม กลาวไดวาสงอิทธิพลมาสูภาพสีน้ําในหลาย ประเทศของเอเชียรวมทั้งญี่ปุนและไทย สําหรับภาพวาดทาง พฤกษศาสตรที่เปนวิทยาศาสตรมากขึ้นตามแบบซีกโลกตะวันตก ปรากฏในสมัยราชวงศหมิง (Ming Dynasty) เปนหนังสือสมุนไพรชื่อ Bencao Gangmu หรือ Compendium of Meteria Medicain เขียน โดยหมอสมุนไพรจีนที่มีชื่อเสียง Li Shi-zhen (ค.ศ. 1688) รวบรวม สมุนไพรที่เปนทั้งพืช สัตว และแรธาตุ ถือวาเปนตําราสมุนไพรจีน 10

โบราณที่สมบูรณที่สุดเลมหนึ่งของจีน สําหรับจิตรกรรมภาพวาดที่ เปนงานทางดานพฤกษศาสตรโดยเฉพาะ เริ่มปรากฏในศตวรรษที่ 19 โดยนักพฤกษศาสตรเปนผูพิมพหนังสือพรรณไมประกอบภาพลาย เสน ตอมาในป ค.ศ. 1983 มีการจัดตั้งสมาคม Chinese Botanical Artist และมีกิจกรรมเผยแพรงานภาพวาดทางพฤกษศาสตรสู สาธารณชนมากขึ้น และในประเทศญี่ปุนก็มีการจัดตั้ง Japanese Society of Botanical Illustrations ขึ้นในป ค.ศ. 1991 บริษัท East India Company ในประเทศอินเดียและประเทศที่นับถือศาสนาอิสลามในแถบ เอเชียตะวันออก ภาพวาดสีน้ําสวนมากไดรับอิทธิพลมาจากประเทศ ตะวันตก โดยเฉพาะในอินเดียที่ไดวาจางจากนักวิทยาศาสตรชาว ตะวันตกเขามาสํารวจพรรณไมหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เพื่อนําไปเผยแพร ตอไปในซีกโลกตะวันตกในยุคอาณานิคมของอังกฤษ โดยไดรับการ สนับสนุนจากบริษัท East India Company นักพฤกษศาสตรที่มีความ สําคัญดานการวาดภาพทางพฤกษศาสตรในอินเดีย ไดแก Nathaniel Wallich (ค.ศ. 1786–1854) นักพฤกษศาสตรเชื้อสายเดนมารก ผูชวย ของ William Roxburgh นักพฤกษศาสตรชาวอังกฤษของบริษัท East India Company ไดสํารวจและเก็บตัวอยางพรรณไมกวา 20,000 ชิ้น แ ล ะ ไ ด ร ว บ ร ว ม ตี พิ ม พ เ ป น เ ล ม ที่ รู จั ก กั น ดี ใ น แ ว ด ว ง ข อ ง นั ก พฤกษศาสตร คือ “Wallich Catalog” นอกจากนี้ยังไดตีพิมพหนังสือ ที่มีภาพวาดทางพฤกษศาสตรที่ไดวาจางจิตรกรพื้นเมืองของอินเดีย หลายคนอีก 2 เลม คือ Tentamen Florae Nepalensis Illustratae (เลม 1–2 ป ค.ศ. 1824–26) และ Plantae Asiaticae Rariores (เลม 1–3 ป ค.ศ. 1830–32) รวมถึงภาพโสกระยา (orchid tree) หรือ Amherstia nobilis Wall. ที่พบครั้งแรกในประเทศพมาโดย Wallich เอง ภาพวาดสีนํ้า โสกระยา Amherstia nobilis Wall. จาก หนังสือ Plantae Asiaticae Rariores เลม 1 (ค.ศ. 1830), plate 1–2 11

ความงดงามทางศิลปะของพรรณไม กลาวโดยสรุปไดวา ภาพวาดทางพฤกษศาสตรเปนภาพประกอบแสดง ลักษณะโครงสรางสวนตางๆ ของพรรณไม ภาพวาดที่เปนภาพลายเสนขาวดํา สามารถแสดงรายละเอยี ดลกั ษณะโครงสรา งของพรรณไมไ ดอ ยา งชดั เจน โดยเฉพาะ สวนขยายของลักษณะที่มีขนาดเล็กมาก (microscopic character) ที่ตองใชเลนส ขยายหรือกลองจุลทรรศน การตีพิมพพรรณไมใหมของโลกในปจจุบันยังนิยมใช ภาพลายเสนขาวดําแสดงรายละเอียดของลักษณะพืชประกอบทั้งสิ้น สวนภาพวาด สีของพรรณไมเกิดขึ้นจากความตองการแสดงสีสันที่เดนชัดของพรรณไม โดยที่ภาพ วาดลายเสนไมสามารถแสดงได โดยเฉพาะในยุคตนของอนุกรมวิธานพืช ตั้งแตป ค.ศ. 1753 ที่ Carl Linnaeus ไดเสนอระบบการจําแนกพืชโดยใชลักษณะเพศและ การตั้งชื่อวิทยาศาสตรเปนตนมา ยังไมปรากฏภาพถายสี แมแตภาพถายขาวดําก็ ยังอยูในระดับหองถายภาพในสถานที่เทานั้น เมื่อนักพฤกษศาสตรตองการบันทึก และแสดงลักษณะเดนที่เปนสีสันของพรรณไม จึงตองอาศัยจิตรกรแนววิจิตรศิลป มาวาดภาพพรรณไม โดยแสดงสีของใบ ดอก และผล โดยเฉพาะลายใบ ลายดอก หรอื จดุ ประตา งๆ ภาพวาดสโี ดยเฉพาะสนี ้าํ ในยคุ ตอ มาจนถงึ ปจ จบุ ันตอ งการแสดง ความงดงามทางศิลปะของพรรณไมที่มีลักษณะเดนสะดุดตาแกผูพบเห็น จนเกิด ความประทับใจขึ้นในเบื้องตน นําไปสูความสนใจรายละเอียดลักษณะปลีกยอยสวน ตางๆ ของพรรณไม ภาพวาดทางพฤกษศาสตรจึงเปนการวาดภาพประกอบการ ศึกษาพรรณไมอยางมีระบบ ถายทอดรายละเอียดลักษณะพรรณไมใหเสมือนจริง ทั้งขนาดและมาตราสวน ที่ชวยระบุชนิดของพรรณไมไดในเบื้องตน ภาพวาดจึง เลือกแสดงรายละเอียดสวนตางๆ ของพืชที่สําคัญ เพื่อประกอบผลงานการศึกษา วิจัยพรรณพืชไดชัดเจนมากขึ้น ทั้งดานกายวิภาค สัณฐาน และอนุกรมวิธาน ซึ่ง สวนมากนักพฤกษศาสตรเปนผูแนะนําหรือกํากับการวาดใหแกจิตรกร และจิตรกร จะเปนผูถายทอดความสวยงาม ออนชอย เสมือนจริง เปนไปตามหลักองคประกอบ ศลิ ป จติ รกรตอ งรูจ กั เทคนคิ ทีเ่ หมาะสมตอ การนาํ เสนอ อกี ทัง้ ตอ งมกี ารศกึ ษาขอ มลู ดานตางๆ ของพืชอยางละเอียดเพื่อใหไดภาพที่สมจริงและบรรลุวัตถุประสงคใน การวาด ศาสตราจารยศิลป พีระศรี กับหลักวิชาศิลปะในประเทศไทย กอนที่จะกลาวถึงภาพวาดทางพฤกษศาสตรของประเทศไทย ขอกลาวถึงงาน จิตรกรรมที่เปนสีน้ําตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันพอสังเขป คือ จิตรกรรมภาพสีน้ําของ ไทยสมัยเริ่มตนไดรับอิทธิพลจากทางตะวันตกที่ไดเขามามีบทบาทในสังคมไทย อยางเดน ชัด โดยเริ่มตัง้ แตในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูห ัว รัชกาล ที่ 4 จิตรกรที่ไดรับอิทธิพลในการวาดภาพสีน้ําจากจิตรกรชาวอังกฤษที่เปนที่รูจัก กันดีในสมัยนี้ คือ ขรัวอินโขง ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว รัชกาลที่ 5 ที่ทรงชื่นชมศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะศิลปะสมัยฟนฟูศิลปวิทยา 12

โดยมีสมเด็จเจาฟากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ เปนนายชางประจําพระองค และเปน จิตรกรที่สามารถใชสีน้ําในการวาดภาพไดอยางดี และไดนําศิลปะตะวันตกมาปรับ รูปแบบใหเขากับสังคมแบบไทย ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ไดทรงสถาปนาโรงเรียนเพาะชางขึ้น อีกทั้งทรงสนพระทัย ในศิลปะภาพวาดสีน้ํา และยังไดทรงสงภาพฝพระหัตถในการประกวดภาพเขียน อีกดวย สวนโรงเรียนประณีตศิลปกรรมหรือมหาวิทยาลัยศิลปากรไดกอตั้งขึ้นใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 อันเปนชวงแหงการ เปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งสําคัญของไทย และยังเปนชวงที่ศิลปะเริ่มพัฒนาเขา สูหลักวิชาศิลปะ ไดเริ่มมีการเรียนการสอนการใชสีน้ําอยางจริงจัง โดยเฉพาะใน สมัยที่ศาสตราจารยศิลป พีระศรี หรือ Corrado Feroci (คศ. 1892–1962) ชาว อิตาลี เปนอาจารยและเปนผูวางรากฐานการศึกษาศิลปะในประเทศไทย สําหรับ จิตรกรรมสีน้ําสมัยใหมไดพัฒนามาสูระบบการสอนและการสรางสรรคมาจนถึงยุค ปจจุบัน เกิดกลุมศิลปนรุนใหมๆ มากขึ้นและสถาบันศิลปะใหความสนใจการสอน สีน้ํามากขึ้นเชนเดียวกัน แตยังไมปรากฏการสอนการวาดภาพทางพฤกษศาสตร ขึ้นโดยเฉพาะ ประวัติภาพวาดทางพฤกษศาสตรของไทย การวาดภาพทางพฤกษศาสตรของไทยคาดวาเริ่มพรอมๆ กับการสํารวจ พรรณไมในยุคแรกๆ โดยมี Englebert Kaempfer (ค.ศ. 1651–1716) นายแพทย ภาพวาดไมผ ลตาง ๆ ที่ปรากฏ ในหนังสอื Du Royaume de Siam ของ Simon de la Loubére: ตน ขนนุ (ซาย), ตน มะมวง (กลาง) และตนกลว ย (ขวา) ชาวเยอรมัน (ไดรับเกียรตินําไปตั้งเปนชื่อพืชสกุล Kaempferia) ที่เดินทางเขามา สาํ รวจพรรณไมแ ละพชื สมนุ ไพรกบั พอ คา ชาวดชั ท ในประเทศแถบเอเชยี โดยเฉพาะ ญี่ปุน เมื่อราวป ค.ศ. 1690 ตรงกับสมัยกรุงศรีอยุธยา ในระหวางการเดินทางได แวะที่ประเทศไทย และไดบันทึกเรื่องราวตางๆ ของไทยรวมถึงพรรณไมที่มีการใช ประโยชน นับวาเปนชาวยุโรปคนแรกที่เขามาสํารวจและบันทึกขอมูลพรรณไมใน 13

ประเทศไทย นอกจากนี้ยังไดวาดภาพพรรณไมประกอบดวย เชน ภาพเปราะหอม หรือวานหอม Kaempferia galanga L. ซึ่งในหนังสือ “ขอเพียงแตเห็น” ของลลิตา โรจนกร จิตรกรภาพวาดทางพฤกษศาสตรอีกคนหนึ่งของไทย ระบุวาเปนภาพวาด ทางพฤกษศาสตรที่บันทึกภาพพรรณไมของไทยเปนภาพแรก ในยุคสมัยเดียวกัน นั้น ยังมีจดหมายเหตุสําคัญอีกฉบับหนึ่ง ไดแก หนังสือจดหมายเหตุ ลา ลูแบร ราช อาณาจักรสยาม หรือ Du Royaume de Siam ของ Simon de la Loubére ตีพิมพ เมื่อป ค.ศ. 1691 และฉบับแปลเปนภาษาอังกฤษ หรือ A New Historical Relation of the Kingdom of Siam ที่ตีพิมพในป ค.ศ. 1963 บันทึกเรื่องราวตางๆ ของ กรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เชน การกสิกรรม ภูมิอากาศ ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทัง้ พรรณนาถงึ พรรณไมทีน่ ํามาใชป ระโยชนโดยเฉพาะ ไมผล เชน กลวย ฝรั่ง ขนุน ทุเรียน มะขาม และมะมวง เปนตน พรอมมีภาพวาด ไมผลเหลานี้ประกอบโดยใชหมึกสีดํา และมีคําบรรยายสั้นๆ ในเนื้อหาของ จดหมายเหตุ ภาพวาดทางพฤกษศาสตรของหอพรรณไม ภาพวาดทางพฤกษศาสตรของพรรณไมไทย สวนมากจะเปนภาพวาดลาย เสนขาวดําประกอบคําบรรยายลักษณะของพรรณไมตีพิมพลงในวารสารตางๆ ของ นักพฤกษศาสตรที่เดินทางเขามาสํารวจพรรณไมของไทยในอดีต หนังสือพรรณ พฤกษชาติที่เกาแกที่สุดของประเทศไทย ไดแก Flora of Koh Chang ตีพิมพในป ค.ศ. 1910–1916 โดย Johannes Schmidt (ค.ศ. 1877–1933) นักสมุทรศาสตร ชาวเดนมารก ซึ่งศึกษาครอบคลุมไปถึงกลุมพืช โดยไดรับความรวมมือจากนัก พฤกษศาสตรในประเทศทางตะวันตก แตภาพประกอบในหนังสือสวนใหญเปนภาพ สิ่งมีชีวิตในทะเลจําพวกพวกสาหรายและแพลงกตอนซึ่งมีขนาดเล็ก จึงตองใชภาพ ประกอบเพื่อแสดงรายละเอียดลักษณะตางๆ ตอมาไดมีการพิมพเผยแพรผลงาน ดานพฤกษศาสตรโดยเฉพาะอยางตอเนื่อง โดยมีภาพวาดทางพฤกษศาสตร ประกอบบาง แตสวนใหญเปนภาพลายเสนขาวดํา ในสวนของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช (กรมปาไม เดิม) มีผลงานการวิจัยดาน พรรณไมที่มีภาพวาดทางพฤกษศาสตรตีพิมพประกอบเปนภาพแรกในวารสาร Thai Forest Bulletin (Botany) เลม 1 หนา 7 เรื่อง Identification keys to genera and species of the Dipterocarpaceae of Thailand โดย ศ.ดร.เต็ม สมิตินันทน ผูอํานวยการหอพรรณไมคนแรก ไดแก ภาพเต็งควน Shorea rogersiana Raizada & Smitinand (ชื่อยุติปจจุบันคือ Shorea laevis Ridl.) วาดโดยนางพูนทรัพย สิงหัษฐิต ชางเขียนประจําหอพรรณไม กลาวไดวาเปนภาพวาดทางพฤกษศาสตรที่ เปนวิทยาศาสตรภาพแรกของหอพรรณไม ตอมาหอพรรณไมไดตีพิมพหนังสือ พรรณพฤกษชาติของประเทศไทยเลมแรก ไดแก Flora of Thailand เลม 2 ตอน 1 มีภาพวาดลายเสนของพรรณไมวงศกุหลาบ (Rosaceae) ประกอบ วาดโดยจิตรกร 14

ภาพ Shorea rogersiana Raizada & ชาวฝรั่งเศส ภาพวาดทางพฤกษศาสตรจึงปรากฏเรื่อยมาควบคูกับผลงานวิจัยดาน Smitinand (Shorea laevis Ridl.) ภาพวาด พรรณพฤกษชาติ ทั้งในหนังสือ Flora of Thailand และวารสาร Thai Forest ลายเสน ภาพแรกทีต่ พี ิมพใ นวารสาร Thai Bulletin (Botany) จนถึงปจจุบัน สําหรับงานภาพวาดทางพฤกษศาสตรที่เปนภาพ Forest Bulletin (Botany) เลม 1 หนา 7 สีน้ํา เริ่มตนจากการออกแบบปกหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย ตั้งแต วาดโดยนางพูนทรพั ย สิงหัษฐิต เลม 6 ตอน 4 เปนตนมา และยังไดจางจิตรกรภายนอกเปนผูวาดภาพเพื่อเผยแพร ออกสื่อทางเว็บไซตของหอพรรณไม และเปนการเผยแพรผลงานวิจัยดานอนุกรม วิธานพืชสูสาธารณชนมากขึ้น จิตรกรชาวไทย 6 ทานที่เกี่ยวของกับการวาดภาพทางพฤกษศาสตรของหอ พรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช บุคคลแรกไดแก นางพูนทรัพย สิงหัษฐิต ตําแหนงชางเขียนประจําหอพรรณไมรุนบุกเบิก ในชวงป พ.ศ. 2500– 2525 วาดภาพลายเสนขาวดําและภาพสีน้ําประกอบการศึกษาพรรณไมใหกับนัก 15

ภาพวาดสนี ้าํ สมอไทย Terminalia chebula Retz. และชมพพู วงหรอื หสั คณุ เทศ Kleinhovia hospita L. โดยนางพนู ทรพั ย สงิ หัษฐิต พฤกษศาสตรในสมัยของศาสตราจารย ดร. เต็ม สมิตินันทน เปนผูอํานวยการหอพรรณไม บุคคลที่สอง นางอวยพร อาภาพิพัฒนกุล ตําแหนง ลูกจางประจํา วาดภาพลายเสนประกอบการศึกษาวิจัยดาน พรรณไมโดยเฉพาะเพื่อประกอบหนังสือสมุนไพร บุคคลที่ สามนางอรทัย เกิดแกว ตําแหนงชางศิลปประจําหอพรรณไม ในปจ จบุ นั ถนดั การวาดภาพลายเสน ประกอบผลงานวจิ ยั ดา น อนุกรมวิธานพืช และวาดภาพสีน้ําบาง เพื่อประกอบปก หนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย บุคคลที่สี่นางสาว ปาจรีย อินทะชุบ อดีตผูชวยนักวิจัยของหอพรรณไม ปจจุบัน เปนขาราชการสังกัดกรมวิชาการเกษตร ถนัดวาดภาพลาย 16

ภาพวาดลายเสน Scaphium scaphigerum (Wall. ex G. Don) G. Planch. โดยนางอรทยั เกดิ แกว ตีพิมพในวารสาร Thai Forest Bulletin (Botany) เลม ท่ี 36 หนา ที่ 66 (ซาย) ภาพวาดลายเสน Mallotus brevipetiolatus Gage โดยนางอาทติ ย คาํ กําเนิด ตีพมิ พในหนังสือ Flora of Thailand เลม ท่ี 8 ตอนท่ี 2 หนา 392 (กลาง) และภาพวาดลายเสน Blinkworthia lycioides Choisy โดยนางสาวปาจรีย อินทะชบุ ตีพิมพในหนังสอื Flora of Thailand เลม ท่ี 10 ตอนที่ 3 หนา 242 (ขวา) ภาพปกหนงั สอื Flora of Thailand เลม 7 เสน แตไดเขารับการอบรมการวาดภาพทางพฤกษศาสตรโดยใชเทคนิคสีน้ํา ทําให ตอน 3 (ภาพ1) และเลม 8 ตอน 1 (ภาพ 2) มีภาพวาดสีน้ํามีรายละเอียดสูง และไดวาดภาพสีน้ําปกหนังสือพรรณพฤกษชาติ วาดโดยนางอรทยั เกิดแกว ภาพปกหนังสอื ของประเทศไทยหลายเลม บุคคลที่หานางอาทิตย คํากําเนิด ตําแหนงลูกจาง ของ Flora of Thailand เลม 10 ตอน 2 (ภาพ 3) หอพรรณไม วาดเฉพาะภาพลายเสนขาวดําประกอบงานวิจัย และบุคคลสุดทาย วาดโดยนางสาวปาจรยี  อนิ ทะชุบ และเลม 10 นางธัญลักษณ สุนทรมัฎฐ จิตรกรที่เคยทํางานใหเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง ตอน 3 (ภาพ 4) วาดโดยนางธญั ลักษณ สนใจวาดภาพนก ไดรับการติดตอจากหอพรรณไมใหวาดภาพพรรณไมโดยใชสีน้ํา สนุ ทรมัฎฐ เพื่อประกอบผลงานวิจัยและเผยแพรทางเว็บไซตของหอพรรณไมตั้งแตป พ.ศ. 2549 จนถึงปจจุบัน ผลงานลาสุดไดจัดพิมพในรูปแบบปฏิทินครบรอบ 80 ป หอพรรณไม ป พ.ศ. 2553 และเปนผูวาดภาพสวนใหญในหนังสือเลมนี้ โดยมี นักพฤกษศาสตรหอพรรณไมเปนผูคัดเลือกภาพ และกํากับดูแลการวาดภาพให เปนไปตามลักษณะทางพฤกษศาสตรที่ถูกตอง 17

ในประเทศไทย ผลงานทางดานภาพวาดทางพฤกษศาสตรยัง ไมเ ปน ทีร่ ูจ กั และแพรห ลายมากนกั เนือ่ งจากยงั ไมม กี ารเรยี นการสอน อยางเปนระบบ นอกจากบางคนที่มีความสนใจสวนตัวเปนพื้นฐาน และมีทักษะในงานศิลปะ ประกอบกับมีใจรักในการทํางานภาพวาด ทางพฤกษศาสตร นอกจากนี้ในการศึกษาวิจัยดานพฤกษศาสตร นัก พฤกษศาสตรบางคนจําเปนตองวาดภาพพรรณไมแสดงรายละเอียด ลักษณะตางๆ ขึ้นเอง โดยเฉพาะภาพลายเสนเพื่อแสดงสวนตางๆ ของพืชไดอยางละเอียด ซึ่งสวนมากไมมีทักษะดานงานศิลปะ ดังนั้น หอพรรณไมจึงไดพัฒนาแนวทางการวาดภาพทางพฤกษศาสตรขึ้น อยางจริงจัง โดยใหจิตรกรเปนผูวาด ภายใตการแนะนําของนัก พฤกษศาสตร ทําใหไดภาพที่มีความสวยงามและแสดงรายละเอียด ทางดานพฤกษศาสตรครบถวน นอกจากนี้การใชสีน้ําในการวาดทําให ภาพมีความสวยงามดูเปนธรรมชาติมากขึ้น ทําใหผลงานแพรหลาย ในวงกวาง โดยที่บุคคลทั่วไปสามารถชื่นชมความงามของพรรณไม โดยไมตองมีความรูดานพฤกษศาสตรแตอยางใด ปฏิทินครบรอบ 80 ป หอพรรณไม ป พ.ศ. 2553 แสดงภาพวาดทางพฤกษศาสตรโดยใชเ ทคนิคสีนํ้า โดยนางธญั ลกั ษณ สนุ ทรมัฎฐ 18

เครือขายวิทยสานศิลป สําหรับภาพวาดทางพฤกษศาสตรโดยใชเทคนิคสีน้ําในสวน อื่นๆ ในประเทศไทย ไดปรากฏสูสาธารณชนผานงานแสดงภาพ การ พิมพเผยแพรในรูปปฏิทิน โปสการด หนังสือ หรือแสตมป โดยจิตรกร ที่นิยมชมชอบในการมองดอกไมหรือตนไมผานองคประกอบรูปทรง และสีสัน แตสวนมากไมใชหรือเกี่ยวของกับนักพฤกษศาสตร จิตรกร ภาพวาดเหลานี้จะเนนความสวยงามสมจริง และมีบางคนที่ไดเรียนรู เพิ่มเติมในการวาดภาพพรรณไมในแนวพฤกษศาสตร เชน อาจารย พันธุศักดิ์ จักกะพาก ที่ใชความประณีตวาดภาพพรรณไมที่มีราย ละเอียดสูง ซึ่งอาจารยพันธุศักดิ์เคยกลาวไววา “ดอกไม” เปนแรง บันดาลใจในการวาดรูปตั้งแตเด็ก และมักจะวาดจากตนจริง คุณ เอกชัย ออดอําไพ คุณสมพล ศรีรอดบาง และคุณลลิตา โรจนกร ซึ่ง ลวนมีความเชี่ยวชาญวาดภาพกลวยไม เปนตน นอกจากนี้ยังมีจติ รกร นักธรรมชาติวิทยา และนักวิทยาศาสตร ที่รวมกลุมกันตั้งเปนเครือ ขายวิทยสานศิลป (Sci-Art Network) (ชื่อเดิมคือ Natural Scientific Illustrator Guild of Thailand) ในป พ.ศ. 2542 เพื่อเปนเครือขายของ ผูวาดภาพทางวิทยาศาสตรทั้งพืช สัตว และแมลง ในการสงเสริมและ พัฒนาบุคลากรดานนี้ ตลอดจนใหภาพวาดทางวิทยาศาสตรเปนสื่อ เพื่อเสริมสรางการอนุรักษธรรมชาติ โดยมีอาจารย ดร.ศศิวิมล แสวง ผล อาจารยประจําภาควิชาพฤกษศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล เปนประธานเครือขาย โดยเปนผูริเริ่มบุกเบิกการ เรียนการสอน การฝกอบรมการวาดภาพทางพฤกษศาสตรใน ประเทศไทย และยังมีกิจกรรมอยางตอเนื่องแพรหลายสูสาธารณชน ตั้งแตในระยะแรกเมื่อป พ.ศ. 2542 เปนตนมา โดยเฉพาะกับเยาวชน ตลอดมาจนถึงปจจุบัน กิจกรรมการวาดภาพพฤกษศาสตรไดรับการ สนับสนุนอยางดียิ่ง จากโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมา จากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีฯ ใหรวมสนองพระราชดําริ โดยจัดใหมีการอบรมการวาดภาพพรรณไม แกครูและนักเรียนในโครงการฯ อยางสม่ําเสมอ สมาชิกเครือขา ย (บน) การอบรมการวาดภาพ วิทยาศาสตรใหแกเยาวชนและบุคคลทว่ั ไป (ขวา) 19

หลักการวาดภาพทางพฤกษศาสตร ในการวาดภาพทางพฤกษศาสตร นักพฤกษศาสตรและจิตรกรผูวาดภาพทาง พฤกษศาสตรควรเรียนรูถึงลักษณะเดนๆ ของพืชในแตละกลุมที่จะวาด รวมถึง ลักษณะที่สําคัญทางพฤกษศาสตรตางๆ เชน ราก ลําตน เปลือก ชนิดของใบ ใบ ประดับ ดอก ชอดอก ผล ชอผล ตลอดจนเมล็ด เพื่อเลือกเทคนิคที่จะใชวาดภาพ ใหเหมาะสม ตามหลักวิทยาศาสตรซึ่งมีรายละเอียดและขั้นตอนโดยสังเขป คือ • เตรียมการวาดภาพลายเสนขาวดําหรือภาพสีแลวแตวัตถุประสงค ของการนําไปใช รวมถึงการกําหนดขนาดภาพ พรอมมาตราสวนที่จะใชใหถูกตอง พรรณไมที่วาดอาจเปนตัวอยางพรรณไมอัดแหง ตัวอยางสด หรือภาพถายสี • ศึกษาขอมูลตัวอยางพรรณไมหรือภาพพรรณไมที่จะวาด ภายใตคําแนะนํา ของนักพฤกษศาสตรผูเชี่ยวชาญพืชกลุมนั้นๆ เพื่อแสดงรายละเอียดสวนสําคัญ ของพรรณไมไดครบถวน พรอมชื่อพฤกษศาสตรที่ถูกตอง • รางภาพในมาตราสวนที่ถูกตอง ดวยการวัดขนาด แลววางตําแหนงของ ภาพทั้งภาพหลักและภาพยอยประกอบหรือสวนขยาย (ถามี) ตามวิสัยของ พรรณไมในธรรมชาติ • เพิ่มเติมรายละเอียดลักษณะพรรณไม สี และแสงเงา • ตรวจสอบความถูกตองของภาพวาดขั้นสุดทาย รวมกับนักพฤกษศาสตร วันที่วาดเสร็จสมบูรณ และลายมือชื่อของผูวาด ภาพวาดทางพฤกษศาสตรในหนังสือเลมนี้ มีคําบรรยายโดยยอลักษณะทาง พฤกษศาสตรที่สําคัญของสกุลและชนิดที่วาด ขอมูลการกระจายพันธุ บางชนิดมี การใชประโยชนและเรื่องราวตางๆ ที่นาสนใจประกอบ เพื่อใหบุคคลทั่วไปที่ไมใช นักพฤกษศาสตรสามารถเขาใจพืชกลุมตางๆ ไดในเบื้องตน และเพิ่มอรรถรสดาน ความงามทางศิลปะของภาพวาดทางพฤกษศาสตรใหมีคุณคามากขึ้น ขอมูลสวน ใหญไดมาจากหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย หรือ Flora of Thailand และหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศใกลเคียง เชน Flora Malesiana และ Flora of China เปนตน บางสวนไดจากขอมูลบนเว็บไซตที่มีอยูมากมาย สําหรับ การจําแนกพรรณไมออกเปนวงศตางๆ จะอางอิงโดยใชหลักการวิวัฒนาการที่ทัน สมัย โดยเฉพาะจากเว็บไซต Angiosperm Phylogeny หรือ APweb การบรรยาย ลักษณะทางพฤกษศาสตรแตละชนิด นอกจากมีวัตถุประสงคหลักเพื่อใหรูจักชนิด พรรณไมที่วาดในเบื้องตน ยังเปนการบอกสัดสวนคราวๆ ของภาพวาดทาง พฤกษศาสตรอีกดวย เนื่องจากภาพวาดในหนังสือเลมนี้สวนใหญเปนการวาดจาก ภาพถาย ไมใชจากตนจริงในธรรมชาติ การแสดงมาตราสวนจึงเปนเรื่องยาก ดังนั้น ขนาดตางๆ ของใบ ดอก ผล หรือสวนตางๆ ที่สําคัญที่ปรากฏในคําบรรยาย จึง เปนการแสดงสัดสวนของภาพแทนมาตราสวน 20

ตวั อยา งพชื ในกลุม magnolids มณฑาดอย Magnolia garrettii ภาพวาดพรรณไมมีจํานวนทั้งสิ้น 84 ภาพ ครอบคลุมสิ่งมีชีวิต (Craib) V. S. Kumar วงศ Magnoliaceae 2 อาณาจักร ไดแก อาณาจักรเห็ดรา หรือ Fungi kingdom และ ตัวอยา งเหด็ fungi เห็ดแชมเปญ Cookeina sulcipes (Berk.) Kuntze อาณาจักรพืช หรือ Plant kingdom สวนเห็ดจัดอยูในอาณาจักรแยก (ภาพซา ย) และตัวอยา งพชื ในกลมุ monocots บอนเตา กน ปด จากอาณาจักรพืช อาณาจักรสัตว และอาณาจักรแบคทีเรีย จาก Ariopsis protanthera N. E. Br. (ภาพขวา) ลักษณะสําคัญที่ผนังเซลลของพวกเห็ดรามีไคทิน (chitin) เปนสวน ประกอบ สวนอาณาจักรพืชผนังเซลลมีเซลลูโลส เปนสวนประกอบ อาณาจักรเห็ดราคาดวามีจํานวนมากกวา 1.5 ลาน ชนิด จํานวนนี้มี เพียงรอยละ 5 หรือประมาณ 100,000 ชนิด ที่ไดรับการระบุชื่อตาม หลักวิชาการแลว เห็ดราเปนสิ่งที่มีชีวิตที่มีประโยชนมากมาย ทั้งเปน อาหาร ยารกั ษาโรค ใชค วบคมุ และกําจัดศัตรูพืช และเปนสิ่งมชี วิ ติ ทมี่ ี ความสําคัญและจําเปนในระบบนิเวศ โดยเฉพาะการมีความสัมพันธ แบบพึ่งพาอาศัยกัน (symbiosis) กับพืชตา งๆ เชน เชอื้ ราไมคอรไ รซา เปนตน สําหรับ อาณาจักรพชื โดยท่ัวไปแลวหมายถงึ ส่งิ มีชวี ิตจาํ พวก ไมต น ไมพมุ ไมลม ลุก ไมเถา เฟน มอส ตลอดจนสาหรายสเี ขยี ว มี 2 กลุมใหญๆ คือ พชื ไรดอกและพืชดอก พชื ไรดอกมีพชื กลมุ เฟน (ferns) และพชื เมล็ดเปลอื ย (gymnosperms) สวนพชื ดอกหรอื angiosperms แบงเปน ประเภทใหญๆ ได 4 ประเภท คือ พืชใบเล้ยี งเด่ยี ว (mono- cotyledons) พชื พวกแมกโนเลยี (magnolids) พชื ใบเลย้ี งคแู ท (eudicots) และประเภทสดุ ทา ยคอื พชื ทจี่ ดั ในกลมุ บรรพบรุ ษุ ของพชื ดอกในแผนผงั การววิ ฒั นาการ หรอื กลมุ basal angiosperms เชน พชื วงศบ วั เผอื่ น หรอื บัวสาย Nymphaeaceae เปนตน อยางไรก็ตาม เพื่อไมใหเกิดความ สับสน หนังสือพฤกษศิลปเลมน้ีไดแยกกลุมพืชอยางกวางๆ ออกเปน เพยี งพืชใบเล้ียงเดีย่ วและพชื ใบเลย้ี งคู นอกจากน้ียงั ไดเ รยี งลําดบั ภาพ วาดตามระบบการจาํ แนกดังกลาว สวนพืชภายในกลมุ ตางๆ เรยี งตาม วงศ สกุล และชนดิ ตามลาํ ดับ ตวั อยา งพืชในกลมุ gymnosperms สนสามใบ ตวั อยา งพชื ในกลมุ eudicots สานใบเล็ก Dillenia ovata Wall. ex Pinus kesiya Royle ex Gordon Hook. f. & Thomson วงศ Dilleniaceae 21

บรรณานุกรม กรมศิลปากร. 2530. อัครศิลปน. หางหุนสวนจํากัด ป. สัมพันธพาณิชย กรุงเทพฯ 249 หนา นิสากร ปานประสงค. 2544. ภาพวาดทางพฤกษศาสตร: ศิลปะแหงเรื่องจริง นิตยสาร Update ปที่ 16 ฉบับที่ 169 กันยายน 2544 หนา 52–60. พันธุศักดิ์ จักกะพาก. 2545. บานมิรูโรย. โรงพิมพ ก. การพิมพเทียนกวง กรุงเทพฯ 239 หนา พิเชษฐ สุนทรโชติ. 2547. การศึกษาภาพจิตรกรรมสีน้ําของ สวัสดิ์ ตันติสุข. รายงาน วิจัย วจ ND2430 พ654 ก2547. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรุงเทพฯ ลลิตา โรจนกร. 2548. ขอเพียงแตเห็น. สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย บริษัท เพอรเฟคท พริ้นท แอนด แอ็ดเวอรไทซิ่ง จํากัด กรุงเทพฯ วรรณรัตน ตั้งเจริญ. 2546. สีน้ําสรางสรรค. สํานักพิมพอีแอนดไอคิว. กรุงเทพฯ 208 หนา วิรุณ ตั้งเจริญ. 2551. พระราชอัจฉริยภาพ อัครศิลปน ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ 256 หนา ศศิวิมล แสวงผล. 2549. เรียนวาดเพื่อเรียนรู. ภาควิชาพฤกษศาสตร คณะ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และเครือขายวิทยสานศิลป 120 หนา Blume, C. L. 1851. Flora Javae nec non insularum adjecentium, part 40, t. 94B. Desmond, R. 1999 (reprinted 2006). Sir Joseph Dalton Hooker: Traveller and plant collector. Antique Colletors’ Club Ltd., Woodbridge, Suffolk. Hemsley, W.B. 1906. A new and complete index to the Botanical Magazine. Lovell Reeve & Co. Ltd. London. Hulton, P. and L. Smith. 1979. Flowers in art from east and west. British Museum Publication. London. Lindsay, S. and D.J. Middleton. 2009. Lecanopteris pumila Blume (Polypo- diaceae), a new record for Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) no. 37: 59–63. Robinson, T. 2008. William Roxburgh. The founding father of Indian botany. Phillimore & Co.Ltd. Chichester, West Sussex, England. Saunder, G. 1995. Picturing Plants: An analytical history of botanical illustra- tion. University of California Press. Berkeley and Los Angeles, California. Schmidt, J. 1900–1916. Flora of Koh Chang. Contribution to the knowledge of the vegetation in the Gulf of Siam. B. Luno Publication, Copenhagen. 22

Sherwood, S. and M. Rix. 2008. Treasures of botanical art. Kew Publishing, Royal Botanic Gardens, Kew. London. Simblet, S. 2010. Botany for the artist. Dorling Kindersley Ltd. London. Smitinand, T. 1989. Thailand. In Campbell, D.G. and H.D. Hammond (ed 3.) Floristic Inventory of Tropical Countries. The New York Botanical Gar- dens. 1989: 63–82. Stern, W. 1990. Flower artists of Kew. The Herbert Press in association with the Royal Botanic Gardens, Kew. London. Stevens, P. F. (2001 onwards). Angiosperm Phylogeny Website. Version 9, June 2008 [and more or less continuously updated since].” will do. http://www.mobot.org/MOBOT/research/APweb/. 23



ภาพวาดทางพฤกษศาสตร Botanical Illustrations

เฟนบัวรัศมี Matonia pectinata R. Br. Matoniaceae เฟนสกุล Matonia สวนมากพบเจริญเติบโตบนพ้ืนดิน ใบขนาดใหญรูปพัด กลมุ อับสปอรเรยี งเปนวง เยื่อคลมุ รูปโล มีสมาชกิ เพียง 2 ชนิด เคยเปน สกลุ ท่ีมี การกระจายพันธุกวางในเขตรอน แตในปจจุบันพบเฉพาะในภูมิภาคมาเลเซีย และภาคใตของไทย ขึ้นตามที่โลงบนภูเขาสูงหรือเขาหินปูน ในประเทศไทยพบ เพียงชนิดเดียว ที่จังหวัดตรังและยะลา ขึ้นหนาแนนปนกับเฟนบัวแฉก Dipteris conjugata Reinw. และ เฟน แฉกคขู นนก Gleichenia microphylla R. Br. บนพนื้ ที่ ภูเขาท่ีสูงจากระดบั นํา้ ทะเล 1,200–1,500 เมตร เฟน เจรญิ เตบิ โตบนพื้นดนิ มเี หงา เกาะเลื้อย มขี นยาวสนี ํ้าตาล หนาแนน ใบขนาดใหญเรียงสลับหางๆ กานใบสีนํ้าตาลเขม ยาว 82–115 เซนตเิ มตร เกลย้ี ง ตง้ั ตรงชูแผน ใบสีเขียวเขมแผอ อกคลาย รูปรม กวาง 35–75 เซนตเิ มตร ยาว 42–80 เซนตเิ มตร แผนใบแบบ ตนี เปด มีใบยอ ย 22–30 ใบ ใบยอยกลางแผนใบ กวา ง 2.7–5.5 เซนตเิ มตร ยาว 35–75 เซนตเิ มตร ขอบใบมว นลง แฉกลกึ ปลาย มน เน้ือใบหนา ทองใบมีนวลและมีปมุ ขนาดเล็ก กลุมอับสปอรมี อับสปอร 5–10 อัน เรยี งเปน วงลอมรอบรเี ซปตาเคิล เยื่อคลมุ กลุม อับสปอรรปู โล เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 26



เขากวาง Platycerium ridleyi H. Christ. Polypodiaceae เฟนสกุล Platycerium หรือสกลุ ชายผาสดี า เปนเฟน อิงอาศยั ใบมีใบประกบ ตนและใบสรางสปอร กลุมอับสปอรเรียงชิดกันเปนผืนสีนํ้าตาลขนาดใหญ มี สมาชกิ ประมาณ 18 ชนดิ พบเฉพาะในเขตรอน ในไทยพบ 4 ชนดิ นิยมปลูกเปน ไมป ระดับ สว นรากนํามาใชเปน วัสดุปลูกกลว ยไมไดเ ปน อยา งดี บางชนิดใบสรา ง สปอรใชเปนสมุนไพรได เขากวางมีเขตการกระจายพันธุในคาบสมุทรมาเลเซีย บอรเนยี ว สุมาตรา และภาคใตข องไทย ข้นึ ตามคบไมใ นปาดบิ ช้นื ระดับตาํ่ และ ปา พรุ เฟน องิ อาศยั เหงา ขนาดใหญ มเี กลด็ สนี าํ้ ตาลปกคลมุ ใบประกบ ตน รปู คลา ยวงกลม กวา ง 20–40 เซนตเิ มตร ยาว 20–50 เซนตเิ มตร เสน ใบนนู เดน ชดั เจน ใบเรยี งชดิ กนั หมุ สว นของเหงา และประกบแนน ตดิ กบั คาคบไมอ งิ อาศยั ใบสรางสปอร ยาว 25–50 เซนติเมตร ตง้ั ขึ้นและแตกแขนงแบบแยกสองหลายคร้ังคลายเขากวาง สวยงาม แปลกตากวา เฟน ในสกุลชายผาสดี าชนดิ อนื่ ๆ แฉกใบสรา งสปอรมี กา นยาว 2–10 เซนติเมตร ปลายแผออกรูปรีคลายชอ น กวา ง 3–15 เซนตเิ มตร ยาว 5–17 เซนตเิ มตร ภายในมกี ลมุ อบั สปอรเ รยี งอดั กนั แนน เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 28



เฟน หิรญั Pteris blumeana J. Agardh Pteridaceae เฟนสกลุ Pteris สว นมากเจรญิ เตบิ โตบนพน้ื ดิน ใบประกอบแบบขนนก 2 ช้ัน ใบยอยสวนมากรูปแถบ ขอบพับงอ กลุมอับสปอรเทียมซึ่งเกิดจากขอบแผนใบ โปรง ใสพบั เขา หาตวั ใบ มสี มาชกิ ประมาณ 250 ชนดิ สว นใหญก ระจายพนั ธใุ นเขต รอ นและกงึ่ เขตรอ น ในประเทศไทยมีประมาณ 28 ชนดิ เปน เฟนทสี่ วยงาม หลาย ชนดิ นยิ มนาํ มาปลกู เปน ไมป ระดบั เฟน หริ ญั หรอื ชอื่ เรยี กตามตลาดตน ไมว า เฟน อะลาบา มเี ขตการกระจายพนั ธกุ วา ง พบตงั้ แตอ นิ เดยี ถงึ เวยี ดนามใต และภมู ภิ าค มาเลเซยี ในไทยพบทว่ั ทกุ ภาค ข้นึ ใตร มเงาในปา ดิบแลง และปาดบิ ชน้ื เฟนเจริญเติบโตบนพื้นดิน ลําตนสั้น ต้ังตรง มีเกล็ดสีนํ้าตาล หนาแนน ใบประกอบแบบขนนกสองช้ัน มีทั้งใบดางและไมดาง กา นใบยาวไดถ งึ 80 เซนตเิ มตร แผน ใบกวา ง 35–50 เซนตเิ มตร ยาว ไดถงึ 70 เซนติเมตร มีใบยอยประมาณ 10 คู เรยี งตรงขาม กวา ง 3–5.5 เซนติเมตร ยาวไดถึง 25 เซนติเมตร ปลายยาวคลายหาง แผนใบเวาเกือบจรดแกนกลางใบ ขอบใบยอยเรียบ แผนใบบาง ใบยอยคูสุดทายแตกแขนงอีกช้ันหนึ่งใกลโคนใบ มีเยื่อคลุมกลุม อบั สปอรเ ทียม เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 30



สนสามใบ Pinus kesiya Royle ex Gordon Pinaceae สกุล Pinus หรือสกุลสนเขา เปน พชื เมล็ดเปลือย สว นมากเปนไมตน ไมผลดั ใบ ใบเรียวยาว รูปเข็ม ออกเปนกระจุกติดกันที่โคนกาบหุมใบ ชอผลหรือโคน (cone) รูปเจดียมีเกล็ดแข็งคลายเน้ือไม เรียงซอนเหลื่อม แตละเกล็ดมีออวุล 2 เม็ด มีสมาชิกมากกวา 100 ชนิด พบทั้งในทวีปแอฟริกา เอเชีย ยุโรป และ อเมริกาเหนือ ขึ้นไดดีในดินที่เสื่อมโทรม ลําตนสูงชลูดหรือแคระแกร็น มีอายุ ยืนนาน ในประเทศไทยมเี พียง 2 ชนดิ อกี ชนิด ไดแก สนสองใบ Pinus merkusii Jungh. & de Vriese ซงึ่ แตกตางกันตามจํานวนใบในแตละกระจุก สนเขาทั้งสอง ชนิดมีชันและน้ํามันสนที่ใชในอุตสาหกรรมหลายประเภท โดยเฉพาะการผลิต สีและน้ํามันชักเงา สนสามใบ พบต้ังแตอนิ เดีย พมา จนี ตอนใต ภูมภิ าคอินโดจนี จนถงึ ฟล ปิ ปนส ในไทยพบแทบทกุ ภาคยกเวนภาคตะวันออกเฉยี งใตแ ละภาคใต บนพน้ื ที่สูงใกลร ะดบั นํ้าทะเลจนถงึ ระดบั ความสูงประมาณ 1,800 เมตร ไมต น ชันมกี ล่นิ หอม เปลือกลาํ ตน แตกเปน รองลึก สนี าํ้ ตาล ปนเทาลอกเปนแผนบางๆ ใบมี 3 ใบในแตละกระจุก ใบรูปเข็ม เรียวยาว หนาตัดขวางเปนรูปสามเหลี่ยม ยาว 10–22 เซนติเมตร กาบหุมกานใบยาว 1–2 เซนติเมตร ติดทน ชอเพศผูออกเปน กระจุก ชอเพศเมียออกเด่ียวๆ หรือเปนคู ยาว 5–8 เซนติเมตร ตดิ ทนหลายป เกลด็ หนาแนน ยาว 2.5–3 เซนตเิ มตร เมลด็ สนี า้ํ ตาล ดํา ยาว 5–6 มม. ปลายมีปก เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 32



ขุนไม Nageia wallichiana (C. Presl) Kuntze Podocarpaceae สกุล Nageia เปนพืชเมล็ดเปลือย แผนใบไมมีเสนกลางใบ และเมล็ดมีเยื่อ หุมที่เจริญหุมเมล็ด แยกจากสกุล Podocarpus หรือ พญาไมที่แผนใบมีเสน กลางใบ สว นทเี่ จรญิ หมุ เมลด็ เปน เกลด็ ประดบั มสี มาชกิ 5–7 ชนดิ ในประเทศไทย พบเพียง 2 ชนิด อีกชนดิ หน่ึงคอื ซางจีน Nageia motleyi (C. Presl) de Laub พบ เฉพาะท่เี ขากวบ จังหวดั ตราด ขุนไม เดิมชือ่ Podocarpus wallichianus C. Presl มเี ขตการกระจายพนั ธกุ วา ง พบตง้ั แตอ นิ เดยี บงั กลาเทศ จนี ตอนใต พมา ภมู ภิ าค อนิ โดจีนและมาเลเซยี จนถึงฟลปิ ปน สและปาปว นิวกนิ ี ในไทยพบกระจายหางๆ แทบทุกภาค ขนึ้ ตามทลี่ าดชนั บนสนั เขา ลักษณะภายนอกดคู ลายกบั พืชในสกุล Agathis โดยเฉพาะ สนขาวเมา Agathis dammara (Lamb.) Rich. หรอื damar minyak ซงึ่ เปน พรรณไมพ นื้ เมอื งของฟล ปิ ปน ส นาํ มาจาํ หนา ยเปน ไมป ลกู ประดบั ตามตลาดตนไมท ั่วไป ไมต น ไมผ ลดั ใบ สงู ไดถ งึ 50 เมตร ลาํ ตน เปลาตรง มชี อ แยกเพศ ตางตน เปลือกเรียบลอกเปนแผนขนาดใหญ ใบเรียงตรงขามสลับ ตง้ั ฉาก ใบมขี นาดและรปู ทรงผนั แปรมาก ยาว 10–18 เซนติเมตร ไมมีเสนกลางใบ เสนใบเรียงขนานกัน เห็นเปนเสนปากใบท้ังสอง ดา นของแผน ใบ โคนเพศผอู อกเปน กลมุ ตามซอกใบ ชอ เพศเมยี ออก ตามปลายก่งิ มเี กลด็ ประดับจํานวนมาก แตเจริญเพยี ง 1–2 เกล็ด ฐานรองเมล็ดอวบน้ํา เมล็ดมีเย่ือเปนเน้ือหุมเมล็ดจนมิด สุกสีดํา กลม เสน ผานศนู ยก ลางประมาณ 2 เซนตเิ มตร เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 34



บอนเตา กน ปด Ariopsis protanthera N. E. Br. Araceae สกลุ Ariopsis เปน ไมล ม ลกุ ขนาดเลก็ ขึ้นตามโขดหนิ มีน้าํ ยางสขี าว สวนมาก มีใบเดียว กานใบยาว ใบแบบกน ปด ชอดอกมี 1–3 ชอ อบั เรณู หรอื synandria เช่อื มตดิ กนั ที่ปลายตอเน่ืองกัน ดอกเพศเมยี อยูดา นลา ง ดอกเพศผเู รียงแนน ดา น บน รังไขมี 1 ชอง ยอดเกสรเพศเมยี มี 4–6 พู ติดทน มีสมาชิกเพียง 2 ชนดิ อีก ชนดิ หน่ึงคือ Ariopsis peltata J. Graham พบเฉพาะในอนิ เดีย บอนเตา กน ปด มี เขตการกระจายพันธุในอินเดีย พมา ในไทยพบท่ีจังหวัดตากใกลชายแดนพมา และหนองคายที่เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว ข้ึนหนาแนนเกาะตามโขดหินปูนหรือ หนิ ทราย ริมลาํ ธารใตรมเงาในปาเบญจพรรณและปา ดิบแลง พืชลมลุก ขนาดเลก็ ลาํ ตนกลมคลายหวั ใตด นิ ใบแบบกน ปด มี ใบเดยี ว รปู หวั ใจ ยาว 5–10 เซนตเิ มตร กา นใบยาว 6–14 เซนตเิ มตร แผนใบดานลางมีนวล ชอ ดอกมี 1–3 ชอ ออกกอ นแตกใบใหม กาบ หมุ ชอดอกรปู เรอื ยาว 2–2.5 เซนตเิ มตร ชอดอก หรือ spadix เปน แกนทรงกระบอกส้นั ๆ ยาวประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร ติดผลพรอม ใบ ผลขนาดเลก็ เปน เหล่ียม 4–6 เหล่ยี ม เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 36


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook