250 คำอธิบาย รายวิชาเพ่ิมเตมิ ความเป็นเลิศด้านงานประดิษฐ์ 5 รหสั วชิ า ง20265 กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ จำนวน 1 หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง ศึกษาอธิบายความหมาย ความสำคัญ และคุณค่าของงานประดิษฐ์ หลักการเลือกใช้และวิธีการดูแล รักษาอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในงานประดิษฐ์ การใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เกี่ยวกับงานประดิษฐ์ การวางแผนจัดการผลงานการประดิษฐ์ รู้จักการนำผลงานประดิษฐ์มาใช้ประโยชน์ มี ทักษะในการดัดแปลงแบบและจำหน่ายผลงานประดิษฐ์ตลอดจนนำหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับงานประดิษฐ์ไป ใช้ในการสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ประเภทของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเล่น ซึ่งเป็นพื้นฐานของงาน ประดษิ ฐไ์ ด้ โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงานร่วมกัน ทักษะการจัดการในการทำงาน ทักษะการแก้ไขปัญหาใน การทำงาน ทักษะในการแสวงหาความรู้เพ่ือการดำรงชีวิต ทกั ษะการคิดอย่างสรา้ งสรรค์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจในวิธีการทำงาน และสรา้ งสรรคผ์ ลงาน สามารถนำความรูไ้ ปประยกุ ต์ใช้ ในชวี ติ ประจำวนั มีประสบการณ์ในอาชีพท่ีถนดั และสนใจ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม มี ลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงานและมีจิตสำนึกในการใช้พลงั งาน ใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าเพื่อการ อนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดล้อม ผลการเรียนรู้ 1. บอกความหมาย ความสำคญั และคณุ ค่าของงานประดิษฐ์ได้ 2. จำแนกประเภทของงานประดษิ ฐพ์ อสงั เขปได้ 3. อธิบายหลกั การการออกแบบ และดดั แปลงแบบงานประดิษฐ์ได้ 4. เลือกใช้อปุ กรณ์ เคร่ืองมอื เคร่ืองใช้ในงานประดษิ ฐไ์ ด้ถกู ต้อง 5. อธบิ ายความสำคัญและประโยชน์ของอุปกรณเ์ คร่ืองมือเคร่ืองใชใ้ นงานประดิษฐไ์ ด้ 6. ดแู ลรกั ษาอปุ กรณเ์ คร่ืองมือเคร่ืองใช้ในงานประดิษฐไ์ ดถ้ ูกต้อง 7. อธิบายหลกั การจัดการกับผลงานประดิษฐ์และหลกั การจดั จำหน่ายผลงานประดิษฐ์ 8. นำหลักการเบื้องต้นไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานประดิษฐ์ประเภทของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเล่นได้ถกู วธิ ีการ 9. มีเจตคตทิ ดี่ ีต่อการประดิษฐ์ของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเลน่ เพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรอื เพื่อการจำหนา่ ย รวม 9 ผลการเรียนรู้
251 คำอธิบาย รายวิชาเพิ่มเตมิ ความเป็นเลิศดา้ นงานประดิษฐ์ 6 รหัสวิชา ง20266 กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ จำนวน 1 หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ชว่ั โมง ศึกษาอธิบายความหมาย ความสำคัญ และคุณค่าของงานประดิษฐ์ หลักการเลือกใช้และวิธีการดูแล รักษาอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในงานประดิษฐ์ การใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เกี่ยวกับงานประดิษฐ์ การวางแผนจัดการผลงานการประดิษฐ์ รู้จักการนำผลงานประดิษฐ์มาใช้ประโยชน์ มี ทักษะในการดัดแปลงแบบและจำหน่ายผลงานประดิษฐ์ตลอดจนนำหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับงานประดิษฐ์ไป ใช้ในการสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ประเภทของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเล่น ซึ่งเป็นพื้นฐานของงาน ประดษิ ฐ์ได้ โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงานร่วมกัน ทักษะการจัดการในการทำงาน ทักษะการแก้ไขปัญหาใน การทำงาน ทกั ษะในการแสวงหาความรูเ้ พื่อการดำรงชีวิต ทกั ษะการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในวิธกี ารทำงาน และสรา้ งสรรคผ์ ลงาน สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจำวัน มปี ระสบการณ์ในอาชีพท่ีถนดั และสนใจ มีคุณธรรม จริยธรรม มคี วามรับผิดชอบต่อสังคม มี ลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงานและมีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าเพื่อการ อนุรักษ์สิง่ แวดลอ้ ม ผลการเรยี นรู้ 1. บอกความหมาย ความสำคญั และคุณค่าของงานประดิษฐไ์ ด้ 2. จำแนกประเภทของงานประดษิ ฐ์พอสงั เขปได้ 3. อธบิ ายหลักการการออกแบบ และดัดแปลงแบบงานประดษิ ฐไ์ ด้ 4. เลอื กใช้อปุ กรณ์ เคร่ืองมอื เครือ่ งใช้ในงานประดษิ ฐ์ได้ถูกต้อง 5. อธิบายความสำคญั และประโยชนข์ องอปุ กรณเ์ ครื่องมือเคร่ืองใช้ในงานประดิษฐไ์ ด้ 6. ดูแลรกั ษาอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมือเคร่ืองใชใ้ นงานประดิษฐไ์ ดถ้ ูกต้อง 7. อธิบายหลักการจัดการกบั ผลงานประดิษฐแ์ ละหลกั การจัดจำหน่ายผลงานประดิษฐ์ 8. นำหลักการเบื้องต้นไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานประดิษฐ์ประเภทของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเลน่ ไดถ้ กู วิธีการ 9. มเี จตคติที่ดีต่อการประดิษฐ์ของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเลน่ เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรอื เพอ่ื การจำหนา่ ย รวม 9 ผลการเรยี นรู้
252 คำอธิบายรายวชิ า วิชาความเปน็ เลศิ ดา้ นอาหารไทย ๑ รหสั ง20267 เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑ หน่วยกติ ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมาของอาหารไทย ขนมไทย ในแต่ละภาคตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน ประเภทของเครื่องใช้ในครัว ชนิดและประเภทของอาหารไทย ความปลอดภัยในการใช้ อุปกรณ์และเครื่องใช้ในครัว การจัดอาหารสำหรับครอบครัว รวมทั้งคำศัพท์ภาษาต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง เรียนรู้การจัดเตรียมและเลือกวัตถุดิบ เพื่อการประกอบอาหารแต่ละประเภท วิเคราะห์และเลือกใช้ภาชนะ เครอื่ งใช้ วสั ดุอปุ กรณ์ในการประกอบอาหารไทย การเกบ็ รกั ษาภาชนะ เคร่ืองใช้ และวัสดุอุปกรณ์ได้อย่าง เหมาะสมและปลอดภัย เพื่อให้เกิดสุขลักษณะในการประกอบอาหาร รวมทั้งแนวทางการวางแผนจัดการ อาหารทีม่ ปี ระโยชน์ โดยใชก้ ระบวนการฝึกปฏบิ ัติการเลือกและใช้วัสดุ อปุ กรณ์และเคร่ืองใช้แตล่ ะประเภทในการประกอบ อาหารได้ถูกต้องเหมาะสม ปลอดภัย ปฏิบัติการเตรียมและประกอบอาหารไทยแต่ละประเภทให้น่า รับประทาน มีรสชาติอร่อย ใช้ทักษะแสวงหาความรู้ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึน้ ในกระบวนการประกอบอาหารไทย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารไทยและประเภทของเครื่องใช้ในการประกอบ อาหารได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย มีความรู้เก่ียวกับศัพท์ภาษาตา่ งประเทศทีส่ ำคัญ สามารถวิเคราะห์ วาง แผนการจัดอาหาร แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเตรียมและการประกอบอาหารแต่ละประเภท การดูแล เครื่องใช้ได้อย่างถูกสุขลักษณะ เลือกวัตถุดิบในการประกอบอาหารได้อย่างถูกต้อง สามารถปฏิบัติจนเกิด ทักษะในการเตรียมและประกอบอาหาร ภูมิใจในอาหารประจำชาติ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความสามัคคี ผ่าน กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ มีคุณธรรม ทำงานด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ มุ่งมั่น อดทน ใช้ พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งค้มุ ค่าและถูกวธิ ี ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมาย ความสำคัญและวิธกี ารใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และเครื่องใช้แต่ละประเภทได้อยา่ ง ถกู ต้องปลอดภยั 2. อธบิ ายสขุ ลักษณะในการประกอบอาหารแบะวิธีการเกบ็ รักษาอุปกรณ์และเคร่ืองใช้ต่าง ๆ อยา่ ง ถกู ต้อง 3. อธิบายลกั ษณะสำคัญของอาหารไทยแต่ละชนิดและแต่ละประเภท พร้อมท้ังข้นั ตอนในการเตรยี ม และประกอบอาหารไทยแตล่ ะประเภทได้อยา่ งถูกต้อง ด้วยความภูมิใจในเอกลกั ษณ์อาหารประจำชาติ 4.มกั ทกั ษะในการเลอื กใช้วสั ดุ อุปกรณ์ ให้การประกอบอาหารไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสมและปลอดภยั รวมท้ังเตรยี มและดแู ลรกั ษาสถานที่ วัสดุ อุปกรณเ์ พื่อการประกอบอาหารได้อยา่ งถูกสขุ ลักษณะ 5. มที กั ษะในการเตรียมและประกอบอาหารแตล่ ะชนดิ แตล่ ะประเภทไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ นา่ รับประทาน มรี สชาติอร่อย 6. มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ ตดั สินใจ วางแผนเลือกและปฏิบตั ิการประกอบอาหารไทยที่มี ประโยชน์และสร้างความพึงพอใจให้แก่สมาชกิ ในครอบครัวอย่างเหมาะสม 7. มีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และจติ สำนึกแหง่ ความรับผิดชอบตอ่ ผ้บู รโิ ภค เห็นคุณค่า มีความ ภูมิใจในอาหารประจำชาติ รวม 7 ผลการเรียนรู้
253 คำอธิบายรายวชิ า วิชาความเปน็ เลศิ ด้านอาหารไทย 2 รหสั ง20268 เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ศกึ ษาเก่ยี วกับหลักและเทคนคิ การประกอบอาหารไทยแต่ละประเภท และจากวัตถุดิบที่แตกต่าง เช่น เนื้อสัตว์ สัตว์น้ำ ไข่ ผัก เป็นต้น ศึกษาเทคนิคการสงวนคุณค่าอาหารและสีสันของอาหาร การจัดโต๊ะอาหาร ศึกษาศัพท์ภาษาต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปฏิกิริยาทางเคมีที่มีผลต่อการประกอบอาหาร มี วิจารณญาณในการวิเคราะห์ สรุปสาเหตุ และแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการเตรียมและ การประกอบอาหารไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง โดยใชก้ ระบวนการฝกึ ปฏิบัติการเลือกวัตถุดบิ ไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม มีทักษะในการเตรยี มและประกอบ อาหารไทยแต่ละประเภทจากวัตถุดิบที่แตกต่างกันได้ เพื่อคงคุณค่าทางโภชนาการ และให้อาหารมีสีสันน่า รับประทาน มีรสชาติอร่อย ใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มเพื่อวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการ ประกอบอาหารไทยไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการประกอบอาหารจากวัตถุดิบที่แตกต่างกัน เทคนิคการสงวนคุณค่าและสีสันของอาหารให้สวยงามและน่ารับประทาน มีความรู้เกี่ยวกับศัพท์ภาษา ต่างประเทศที่สำคัญ สามารถวิเคราะห์ วางแผนการจัดอาหาร แสดงความคิดเห็น เปรียบเทียบผลที่เกิดข้ึน เกี่ยวกับการประกอบอาหารด้วยวัตถุดิบที่แตกต่างกัน ประยุกต์ใช้ความรู้และฝึกปฏิบัติจนเกิดทักษะในการ ประกอบอาหาร เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดดี ว้ ยจิตสำนึกรักศลิ ปวัฒนธรรมท้องถนิ่ และวัฒนธรรมไทย มคี วามใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีคุณธรรม ทำงานด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ มุ่งมั่น อดทน คิดวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และออกแบบแนวทางในการแก้ปัญหาท่เี กดิ ข้นึ ในการเตรยี มและประกอบอาหาร ผลการเรียนรู้ 1. อธบิ ายเก่ียวกบั เทคนิคการเลอื กซื้อวตั ถุดบิ ประเภทตา่ ง ๆ ได้อยา่ งถูกต้อง 2. อธิบายเทคนคิ การเตรียมและการประกอบอาหารจากวัตถุดิบท่แี ตกตา่ งกัน รวมท้งั วิเคราะหห์ า สาเหตุของปัญหาในกระบวนการประกอบอาหาร และนำเสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หาท่เี กิดข้ึนได้อย่าง สร้างสรรค์ 3. มที กั ษะในการประยุกต์ใชเ้ ทคนคิ การเลือกซื้อวัตถุดบิ ประเภทตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งมืออาชีพ 4. มีทักษะในการประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ การเตรียม และการประกอบอาหารไทยทีม่ ีวตั ถุดบิ แตกต่างกนั เพือ่ ให้ได้อาหารที่สวยงามน่ารบั ประทาน และมรี สชาตทิ ี่อร่อย 5. มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละมเี จตคติที่ดตี ่อการประกอบอาหารไทย ดว้ ยจิตสำนึกและ ภาคภมู ิใจในประเพณี ศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ และวฒั นธรรมไทย รวม 5 ผลการเรียนรู้
254 คำอธิบายรายวชิ า วชิ าความเปน็ เลิศดา้ นอาหารไทย 3 รหสั ง20269 เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต ศกึ ษาเกยี่ วกบั ความเปน็ มาของขนมไทย ความรู้เบ้อื งต้นในการประกอบขนมไทย เชน่ การชง่ั ตวง ประเภทของวัตถุดิบ การเลือกวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเตรยี มและประกอบขนมไทยแต่ละประเภท เป็น ตน้ เรยี นรเู้ ทคนิคในการประกอบขนมไทยจากวตั ถุดบิ ท่แี ตกต่างกันและศึกษาขนมไทยในงานพิธีต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการฝึกปฏบิ ัติการเลอื กและใชว้ ัสดุ อุปกรณแ์ ละเคร่ืองใชใ้ นการประกอบขนมไทยได้ อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม เลอื กใช้วัตถุดิบ เคร่ืองปรงุ รส สี และกล่ิน เพือ่ การประกอบขนมไทยแตล่ ะ ประเภท เพ่ือให้ขนมไทยมสี สี ันน่ารบั ประทาน และมีรสชาติอร่อย ประยุกต์ใช้เทคนิคในการประกอบขนมไทย เพือ่ พธิ มี งคลของไทยได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เพ่ือแสดงเอกลกั ษณ์ของขนมไทย มที ักษะแบะกระบวนการกลมุ่ ในการแสวงหาความรู้ วางแผน และดำเนินการทำขนมไทยได้อย่างสรา้ งสรรค์ ตลอดจนแก้ปัญหาทเี่ กดิ ขึ้นใน การทำงานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ใหผ้ ้เู รยี นมีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั ขนมไทย คดิ วิเคราะห์ และตดั สินใจเลอื กใช้วัตถุดิบและ อปุ กรณ์ในการประกอบขนมไทยแตล่ ะประเภท สามารถวางแผนและปฏบิ ตั ิการทำขนมไทยจนเกิดทักษะและ ความเช่ยี วชาญ เห็นคุณค่า และความสำคญั ของประเพณี วฒั นธรรมของไทยที่ต่อขนมไทย มีเจตคติที่ดี มี ความภาคภูมใิ จในภูมิปัญญาไทยในการประกอบขนมไทย มีความในใจใฝร่ ู้ใฝ่เรียน มคี วามสามัคคจี ากการ เรยี นรู้แบบร่วมมอื มคี ุณธรรม ทำงานด้วยความรบั ผดิ ชอบ ขยัน ซ่ือสัตย์ มุ่งม่นั อดทน นำความรู้ไปใชใ้ ห้ เกิดประโยชนต์ อ่ ตนเองและสังคม ผลการเรยี นรู้ 1. ผเู้ รยี นอธิบายความเปน็ มา หลักการและกระบวนการเลอื กและใชว้ ตั ถุดิบขนมไทยแตล่ ะประเภท และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการทำขนมไทยได้อยา่ งถูกต้อง 2. ผเู้ รยี นมีทักษะการเลอื กและใชว้ ตั ถดุ บิ สำคญั ในการประกอบขนมไทยแต่ละประเภท และการใช้ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการทำขนมไทยได้อยา่ งชำนาญ 3. ผเู้ รียนมีทกั ษะประยกุ ต์ใชค้ วามรเู้ กยี่ วกบั เทคนคิ การทำขนมไทยทมี วี ตั ถุดบิ ที่ต่างกันด้วยกรรมวธิ ี ทีห่ ลากหลาย เพ่ือใหม้ ีความโดดเดน่ ในรสชาติและลักษณะสำคญั ของขนมไทยแต่ละประเภท 4. ผู้เรียนสามารถปฏิบตั ิการประกอบขนมไทยแต่ละประเภท และขนมไทยในพิธมี งคลตา่ ง ๆ ได้ 5. ผ้เู รียนอธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเพณีและวฒั นธรรมไทยกับขนมไทย ดว้ ยจิตสำนึกและ ความภาคภูมใิ จในประเพณแี ละศลิ ปวฒั นธรรมไทย 6. ผู้เรยี นมีทกั ษะประยุกต์ใชค้ วามรู้เกย่ี วกับขนมไทยเพอื่ วางแผนและออกแบบขนมไทยไดอ้ ย่าง สร้างสรรค์ผา่ นกระบวนการกลมุ่ 7. ผ้เู รยี นมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และมเี จตคติทีด่ ีต่อการประกอบขนมไทย ด้วยจติ สำนกึ รกั และภมู ิใจในประเพณี ศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ และวัฒนธรรมไทย รวม 7 ผลการเรยี นรู้
255 คำอธิบายรายวิชา วชิ าความเป็นเลิศดา้ นอาหารไทย 4 รหัส ง20270 เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาเกย่ี วกับประวตั ิ ความเป็นมา และปัจจยั ทางวฒั นธรรมทส่ี ง่ ผลต่อเอกลกั ษณ์ของอาหารไทยใน แตล่ ะภาค อาหารไทยในวรรณคดี และประวตั ศิ าสตรค์ รวั ไทยต้ังแต่สมยั สุโขทัยจนถงึ สมัยรัตนโกสินทร์ หลักการเตรยี มและการประกอบอาหารไทยที่มีความโดดเด่นในแตล่ ะภาค ส่วนประกอบของอาหาร และการ ปรุงรสชาตทิ แี่ ตกตา่ งกันในแตล่ ะภาค ความรเู้ ก่ียวกับความสมั พนั ธ์ระหว่างอาหารไทยแต่ละภาคกบั สงั คม ประเพณแี ละวัฒนธรรม ความสมั พันธร์ ะหวา่ งวัฒนธรรมไทยกบั อาหารไทยตน้ ตารับในวรรณคดี คำศัพท์ ภาษาตา่ งประเทศทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื พฒั นาความสามารถในการประกอบอาหารไทยอย่างมืออาชพี โดยใช้กระบวนการกลมุ่ เพ่ือฝึกการวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บความเหมือนและความตา่ งระหว่างอาหาร ไทยแตล่ ะภาคและแตล่ ะสมยั ของชาตไิ ทย พรอ้ มทั้งรว่ มอภปิ รายความโดดเด่นและเอกลกั ษณข์ องอาหารไทย แต่ละภาคและแต่ละยุคสมยั ได้อย่างสรา้ งสรรค์ เพอ่ื นาความรปู้ ระยกุ ต์ใชใ้ นการฝกึ ปฏิบัตกิ ารประกอบอาหาร ไทยแต่ละภาคและแต่ละยคุ สมัยได้อย่างมืออาชีพ ใชก้ ระบวนการกลุม่ ในการแสวงหาความรู้ วางแผน ออกแบบ และดำเนนิ การทาโครงงานอาหารไทยในวรรณคดีได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ ตลอดจนตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาท่ี เกดิ ข้ึนในกระบวนการทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั อาหารไทยแต่ละภาคและแตล่ ะสมัยของชาติไทย มคี วามรู้ คำศัพท์ภาษาต่างประเทศทสี่ ำคญั ท่ีเกีย่ วข้องกบั การประกอบอาหารไทยท่โี ดดเด่นในแต่ละภาคและในแต่ละ ยคุ สมยั สามารถวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบและแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับอาหารไทยแต่ละภาคและแตล่ ะยุคสมยั สามารถคิดสร้างสรรค์ ออกแบบอาหารตามลกั ษณะความโดดเด่นของอาหารแต่ละภาคและแตล่ ะยุคสมัย ฝึก ปฏิบตั จิ นเกิดทกั ษะในการประกอบอาหารไทยแตล่ ะภาคและแตล่ ะยคุ สมัย เห็นคณุ คา่ และมีเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและของแต่ละภาค รู้ เข้าใจ และยอมรับในความแตกตา่ งระหว่างวฒั นธรรมในแต่ ละภาค มคี วามใฝ่รใู้ ฝ่เรียน มคี วามสามคั คีจากการเรียนรูแ้ บบรว่ มมอื มีคณุ ธรรม ทางานดว้ ยความรับผดิ ชอบ ขยัน ซ่อื สตั ย์ มงุ่ ม่นั อดทน นาความรไู้ ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง และตอ่ สังคม ผลการเรยี นรู้ 1. ผูเ้ รียนอธบิ ายปจั จัยทางภมู ศิ าสตร์ สังคม วัฒนธรรมและประเพณีท่มี ีต่ออาหารไทยแต่ละภาค ตลอดจนอภิปราย เปรยี บเทียบความแตกต่างของอาหารไทยแตล่ ะภาค ผา่ นกระบวนการกลมุ่ ในการแสวงหา ความรูไ้ ด้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2. ผู้เรียนมที ักษะปฏบิ ัติในการประกอบอาหารไทยใหม้ ีความโดดเดน่ ในเอกลกั ษณข์ องรสชาตแิ ละ รปู ลักษณข์ องอาหารไทยแตล่ ะภาคได้อย่างชำนาญ 3. ผู้เรียนอธิบายประวัติ ความเปน็ มาของอาหารไทยตั้งแต่สมยั สุโขทัย สมยั อยุธยา สมัยธนบุรี จนถงึ สมยั รตั นโกสินทร์ ตลอดจนอภปิ รายความโดดเดน่ ของอาหารไทยในแตล่ ะสมยั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 4. ผเู้ รียนอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอาหารไทยกบั ภมู ปิ ัญญาและประเพณดี ้ังเดิมของไทยได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ด้วยจิตสานึกและความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย 5. ผู้เรยี นมีทกั ษะปฏบิ ัติในการประกอบอาหารไทยทถี่ ูกกล่าวถงึ ในวรรณคดีได้อย่างมืออาชีพ มีความ โดดเดน่ ในเอกลักษณ์ความเป็นไทย มรี สชาติท่ีอร่อยและนา่ รับประทาน เพ่ือการประกอบอาชีพดา้ นอาหาร ไทยอย่างภาคภูมิใจ 6. ผเู้ รียนมที กั ษะคิดวเิ คราะห์ วางแผนออกแบบ และดาเนนิ การทาโครงงานอาหารไทยในวรรณคดีได้
256 อยา่ งสรา้ งสรรค์ ตลอดจนตัดสนิ ใจแก้ปญั หาท่ีเกดิ ขนึ้ ในกระบวนการทางานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 7. ผู้เรียนมีคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ และมเี จตคติท่ดี ตี ่อการประกอบอาหารไทย ดว้ ยจิตสานกึ รกั และ ภาคภูมิใจในประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถิน่ และวฒั นธรรมไทย รวม 7 ผลการเรยี นรู้
257 คำอธิบายรายวชิ า วิชาความเป็นเลศิ ด้านอาหารไทย 5 รหัส ง20271 เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑ หน่วยกติ ศกึ ษาและวเิ คราะหภ์ ูมิปญั ญาไทยในการใช้พืชผัก สมุนไพรและเคร่ืองเทศในการประกอบอาหาร หลกั การนาพชื ผักสมนุ ไพรและเครอ่ื งเทศมาใช้ในการปรุงอาหารไทย ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากพชื ผกั สมุนไพรและ เคร่อื งเทศ สรรพคุณทางยาของสมุนไพรไทย คำศัพท์ภาษาต่างประเทศที่เก่ยี วขอ้ ง การเตรียมและประกอบ อาหารไทยโดยการใชพ้ ืชผกั สมนุ ไพรไทยและเครือ่ งเทศเปน็ สว่ นประกอบ เรยี นรู้หลักโภชนาการของอาหาร วเิ คราะห์คณุ คา่ ทางโภชนาการของอาหารไทยท่ีมผี ลตอ่ การบาบดั และสง่ เสริมสขุ ภาพของผู้บรโิ ภค คดิ วเิ คราะห์ และสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื ออกแบบรายการอาหารเพ่อื สขุ ภาพ โดยใชก้ ระบวนการฝึกปฏบิ ัตกิ ารเลอื กและใชพ้ ชื ผกั สมุนไพรและเครอ่ื งเทศ และวัตถดุ ิบอื่นๆ ในการ ประกอบอาหารไทยให้คงคุณคา่ ทางโภชนาการ และมีรสชาตทิ ่อี รอ่ ย เพ่ือการบำบดั และสง่ เสรมิ สขุ ภาพของ ผู้บริโภค ใช้กระบวนการกลุ่มในการแสวงหาความรู้ วางแผนตลอดจนตัดสินใจแก้ปัญหาที่เกิดข้ึ นใน กระบวนการทำงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ เพื่อให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับพืชผกั สมนุ ไพรและเคร่ืองเทศ และคุณประโยชนข์ อง ภูมปิ ญั ญาไทยในการนาพชื ผกั สมุนไพรและเครื่องเทศมาใชใ้ นการประกอบอาหาร มีความรูค้ าศพั ท์ภาษา ตา่ งประเทศท่สี ำคัญ มที ักษะในการปฏิบตั กิ ารประกอบอาหารไทยที่มสี ว่ นประกอบของพืชผกั สมนุ ไพรและ เครอ่ื งเทศ และวัตถดุ บิ อนื่ ๆ ใหม้ คี ณุ ค่าทางโภชนาการเพ่ือการบำบดั และส่งเสรมิ สุขภาพได้อย่างมืออาชีพ มี ทกั ษะการวิเคราะหค์ ุณคา่ ของอาหารไทย มคี วามคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรคใ์ นการออกแบบอาหารไทยทีม่ ีคุณค่าทาง โภชนาการเพื่อการบำบัดและส่งเสริมสุขภาพ เกดิ ความภาคภมู ิใจและมเี จตคตทิ ดี่ ตี อ่ พชื ผักสมุนไพรและ เครือ่ งเทศในการประกอบอาหารไทยเพ่อื สุขภาพ มคี วามสนใจใฝ่รใู้ ฝ่เรียน มคี ณุ ธรรม ทำงานดว้ ยความ รบั ผดิ ชอบ ขยนั ซอื่ สตั ย์ มุ่งม่ัน อดทน สามารถเรยี นร้แู ละปฏิบัตงิ านรว่ มกบั ผ้อู น่ื ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ผลการเรียนรู้ 1. ผเู้ รียนอธิบายสรรพคณุ และประโยชนข์ องพชื ผักสมนุ ไพรไทยและเครอ่ื งเทศทนี่ ำมาประกอบ อาหารไทยได้อยา่ งถูกต้อง 2. ผ้เู รยี นมที กั ษะในการเลือกและใชพ้ ชื ผกั สมุนไพรและเคร่ืองเทศ ตลอดจนวัตถุดบิ อน่ื ๆ ในการ ประกอบอาหารได้อยา่ งเหมาะสม ให้คงคณุ คา่ ทางโภชนาการเพ่ือการบำบดั และสง่ เสรมิ สขุ ภาพ และมีรสชาติ ทอ่ี ร่อย 3. ผเู้ รยี นมที ักษะปฏบิ ัตใิ นการเตรยี มและประกอบอาหารไทยท่ีมีประโยชนใ์ นการบำบัดและสง่ เสรมิ สขุ ภาพของผูบ้ ริโภคได้อย่างมืออาชีพ 4. ผู้เรยี นมีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ วางแผนออกแบบ ตลอดจนตดั สินใจแก้ปญั หาทเ่ี กิดขนึ้ ใน กระบวนการทางานกล่มุ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 5. ผูเ้ รียนมคี ุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ และมเี จตคติที่ดีต่อการประกอบอาหารไทย ด้วยจติ สานึกรกั เหน็ คณุ ค่าและภาคภูมิใจในภูมปิ ญั ญาไทย รวม 5 ผลการเรยี นรู้
258 คำอธบิ ายรายวิชา วชิ าความเปน็ เลิศด้านอาหารไทย 6 รหัส ง20272 เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หน่วยกติ ศึกษาเก่ียวกบั หลกั การถนอมอาหาร คำศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศทีเ่ ก่ียวขอ้ ง วเิ คราะหส์ าเหตุของการ บูดเสยี ของอาหาร ศึกษาและออกแบบวธิ กี ารถนอมอาหารที่หลากหลาย เรียนรู้และออกแบบวธิ กี ารดัดแปลง อาหารคาวและหวานอยา่ งสร้างสรรค์ เพือ่ ใช้ในการบริโภคในครัวเรอื นและเปน็ อตุ สาหกรรมในครัวเรือน โดยใชก้ ระบวนการกลุม่ เพอ่ื ฝึกวิเคราะห์ และประยุกต์ใชค้ วามรแู้ ละเทคนิคในการปฏิบัติการถนอม อาหารดว้ ยกรรมวิธที ่ีหลากหลาย และดัดแปลงอาหารเหลอื ใชไ้ ด้อย่างมอื อาชีพ เพือ่ ใหเ้ ปน็ อาหารท่ีน่า รับประทาน มีรสชาติอรอ่ ย และคงคณุ คา่ ทางโภชนาการ ใช้กระบวนการกลุม่ ในการแสวงหาความรู้ วางแผน ออกแบบ ตลอดจนตัดสนิ ใจแก้ปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ ในกระบวนการทางานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เพื่อการประกอบ อาชีพด้านอาหารไทยอยา่ งมอื อาชีพ เพื่อให้ผ้เู รียนมีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คณุ คา่ และประโยชน์ของการถนอมอาหาร และการดดั แปลง อาหารเหลือใช้ มีความร้คู าศพั ท์ภาษาต่างประเทศท่ีสำคัญท่เี ก่ยี วข้องกับการถนอมอาหาร สามารถวเิ คราะห์ ปจั จัยทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ การบูดเสยี ของอาหารและแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับแนวทางป้องกันและแกไ้ ข มีความคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ในการออกแบบอาหารเหลือใช้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิจนเกิดทกั ษะ มีความสนใจใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน มคี ณุ ธรรม ทำงานด้วยความรับผิดชอบ ขยนั ซอ่ื สตั ย์ มงุ่ ม่ัน อดทน เรยี นรู้และปฏิบตั ิงานรว่ มกบั ผูอ้ นื่ ไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ ใชพ้ ลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มอย่างคมุ้ คา่ และถูกวิธี ผลการเรียนรู้ 1. ผู้เรียนอธิบายความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ และข้ันตอนของการถนอมอาหารด้วยกรรมวิธี ตา่ งๆ ตลอดจนปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อคุณภาพของอาหารได้อยา่ งถูกต้อง 2. ผูเ้ รยี นมที ักษะปฏบิ ตั ิในการถนอมอาหารด้วยกรรมวธิ ที ่หี ลากหลายไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. ผูเ้ รียนอธบิ ายแนวทางการนาอาหารเหลือใช้มาดดั แปลงเปน็ อาหารใหม่ท่ีสามารถรับประทานได้ มี รสชาติอรอ่ ย และคงคุณค่าทางโภชนาการ 4. ผู้เรียนสามารถประยกุ ต์ใช้ความรู้เกย่ี วกบั เทคนิคการดดั แปลงอาหารเหลือใชม้ าประกอบอาหารได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม 5. ผเู้ รียนมที ักษะการคดิ วเิ คราะห์ วางแผนออกแบบ ตลอดจนตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาที่เกดิ ข้นึ ใน กระบวนการทำงานกลุ่มได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 6. ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ และมเี จตคติทดี่ ตี ่อการประกอบอาหารไทย ด้วยจิตสานึกและ เหน็ คณุ คา่ ของทรัพยากรสิ่งแวดลอ้ ม รวม 6 ผลการเรยี นรู้
259 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
260 กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ ความสำคญั ของภาษาตา่ งประเทศ ในสงั คมโลกปจั จบุ นั การเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศมคี วามสำคัญและจำเป็นอย่างย่ิงในชีวติ ประจำวนั เน่อื งจากเปน็ เคร่ืองมือสำคัญในการติดต่อส่อื สารการศกึ ษา การแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ การ สร้างความเข้าใจเกีย่ วกับวฒั นธรรมและวสิ ัยทัศนข์ องชุมชนโลก และตระหนักถงึ ความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นำมาซึ่งมิตรไมตรีและความร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ ช่วยพฒั นาผู้เรยี น ให้มีความเข้าใจตนเองและผอู้ ่ืนดขี ้นึ เรยี นรแู้ ละเข้าใจความแตกตา่ งของภาษาและวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และ ใช้ภาษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสารได้ รวมท้ังเข้าถึงองค์ความร้ตู า่ ง ๆ ได้งา่ ยและกวา้ งขนึ้ และมวี ิสยั ทัศน์ ในการดำเนินชีวติ ภาษาตา่ งประเทศทเ่ี ป็นสาระการเรียนรพู้ ื้นฐานซึ่งกำหนดใหเ้ รยี นตลอดหลกั สตู รการศกึ ษา ขนั้ พ้นื ฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาตา่ งประเทศอืน่ เช่น ภาษาฝร่ังเศส เยอรมนั จีน ญปี่ ุ่น อาหรับ บาลี และภาษากลุ่มประเทศเพ่ือนบ้าน หรอื ภาษาอืน่ ๆ ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของสถานศึกษาที่จะจัดทำรายวชิ าและ จดั การเรียนรตู้ ามความเหมาะสม กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ มงุ่ หวังให้ผู้เรียนมเี จตคติทดี่ ตี ่อภาษาต่างประเทศ สามารถใช้ ภาษาตา่ งประเทศ สื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อ ในระดับที่สูงขึ้น รวมท้ังมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก และสามารถถา่ ยทอด ความคดิ และวัฒนธรรมไทยไปยงั สงั คมโลกไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ ประกอบดว้ ยสาระสำคญั ดงั น้ี - ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การใช้ภาษาตา่ งประเทศในการฟัง-พดู -อ่าน-เขียน แลกเปลย่ี นขอ้ มูล ขา่ วสาร แสดงความรสู้ ึกและความคิดเหน็ ตคี วาม นำเสนอข้อมูล ความคดิ รวบยอดและความคดิ เหน็ ในเร่ือง ต่างๆ และสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลอย่างเหมาะสม - ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษาความสมั พันธ์ ความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งภาษากบั วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและวฒั นธรรมของเจา้ ของ ภาษากบั วัฒนธรรมไทย และนำไปใชอ้ ย่างเหมาะสม - ภาษากบั ความสมั พนั ธก์ ับกล่มุ สาระการเรยี นรู้อ่ืน การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเชือ่ มโยง ความรกู้ บั กลุ่มสาระการเรียนรอู้ ่นื เป็นพ้ืนฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และ เปดิ โลกทศั น์ของตน - ภาษากับความสมั พนั ธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ตา่ งๆ ท้ังใน ห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เปน็ เคร่ืองมือพืน้ ฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้กับสังคมโลก
261 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี1 ภาษาเพ่อื การสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตคี วามเร่ืองที่ฟงั และอา่ นจากสือ่ ประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมี เหตผุ ล มาตรฐาน ต1 .2 มที ักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นข้อมูลขา่ วสาร แสดงความรสู้ ึก และความ คดิ เห็น อย่างมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ต1 .3 นำเสนอขอ้ มูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเหน็ ในเร่ืองต่างๆ โดยการพดู และ การเขยี น สาระที่2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต2 .1 เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา และนำไปใช้ ได้อยา่ ง เหมาะสมกบั กาลเทศะ มาตรฐาน ต2 .2 เข้าใจความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใชอ้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม สาระที่3 ภาษากบั ความสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อน่ื มาตรฐาน ต3 .1 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ื่น และเปน็ พ้ืนฐานใน การพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศนข์ องตน สาระท่ี4 ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต4 .1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทง้ั ในสถานศกึ ษา ชุมชน และสงั คม มาตรฐาน ต4 .2 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเป็นเครอื่ งมือพืน้ ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการ แลกเปลีย่ นเรียนรู้กบั สังคมโลก
262 รายวชิ าพน้ื ฐานกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับช้นั ประถมศึกษา จำนวน 160 ชัว่ โมง รายวชิ าพื้นฐาน จำนวน 200 ช่วั โมง จำนวน 200 ชั่วโมง อ11101 ภาษาอังกฤษ จำนวน 80 ช่ัวโมง อ12101 ภาษาอังกฤษ จำนวน 80 ชวั่ โมง อ13101 ภาษาอังกฤษ จำนวน 80 ชวั่ โมง อ14101 ภาษาองั กฤษ อ15101 ภาษาองั กฤษ อ16101 ภาษาอังกฤษ รายวชิ าเพิ่มเติม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จำนวน 40 ชวั่ โมง อ11201 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร จำนวน 40 ช่ัวโมง อ12201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จำนวน 40 ชั่วโมง อ13201 ระดับช้นั มัธยมศกึ ษา จำนวน 60 ชว่ั โมง รายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน 60 ชว่ั โมง จำนวน 60 ชวั่ โมง อ21201 ภาษาอังกฤษ จำนวน 60 ชว่ั โมง อ21202 ภาษาอังกฤษ จำนวน 60 ชว่ั โมง อ22201 ภาษาอังกฤษ จำนวน 60 ชว่ั โมง อ22202 ภาษาองั กฤษ อ23201 ภาษาอังกฤษ อ23202 ภาษาองั กฤษ
263 คำอธิบายรายวชิ า วิชาภาษาอังกฤษ รหสั วชิ า อ 11101 กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 กติ ภาคเรยี นที่ 1-2 เวลาเรียน 160 ชม./ปี จำนวน 4 หน่วย ศึกษาการปฏิบตั ิตามคำสั่งง่ายๆ ทีฟ่ งั ระบตุ ัวอักษรและเสียง อ่านออกเสียงคำศพั ทเ์ ก่ยี วกบั ผลไมใ้ น ท้องถิน่ และสะกดคำงา่ ยๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลอื กภาพตรงตามความหมายของคำ และกลุม่ คำท่ีฟงั ตอบคำถามจากการฟงั เรื่องใกล้ตวั พดู โต้ตอบด้วยคำสัน้ ๆ ง่ายๆ ในการสอ่ื สารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟงั ใช้ คำส่งั งา่ ยๆ ตามแบบที่ฟงั บอกความต้องการง่ายๆของตนเองตามแบบท่ีฟัง พูดขอและให้ข้อมลู ง่ายๆ เกีย่ วกับ ตนเองตามแบบที่ฟงั พดู ให้ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ตนเองและเรอื่ งใกลต้ ัว พูดและทำทา่ ประกอบตามวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา บอกชื่อและคำศัพท์เกีย่ วกับเทศกาลสำคัญของเจ้าของภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและ วัฒนธรรมท่ีเหมาะกับวัย ระบุตัวอกั ษรและเสยี งตวั อักษรของภาษาต่างประเทศ และภาษาไทยบอกคำศัพท์ท่ี เกยี่ วขอ้ งกบั กลุ่มสาระการเรียนรอู้ น่ื ฟังหรือพูดในสถานการณ์ง่ายๆที่เกิดขึน้ ในห้องเรียน ใช้ภาษาต่างประเทศ เพอ่ื รวบรวมคำศพั ท์ท่เี กีย่ วข้องใกลต้ ัว โดยใชท้ กั ษะกระบวนการสอ่ื สาร ฟงั พดู อา่ น เขยี น ผเู้ รียนเกิดความสามารถในการคดิ อย่างมเี หตผุ ล มีความมงุ่ มั่นในการทำงาน มีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต มคี วามสามารถในการแกป้ ญั หา และมี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เพื่อใหน้ กั เรยี นมเี จตคตทิ ีด่ ีต่อวิชาภาษาอังกฤษ ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน หมนั่ ศกึ ษาด้วยตนเอง มีวินยั มีความ รบั ผิดชอบ มีความมุ่งม่นั ในการทำงาน มีความซ่ือสัตยส์ ุจริต มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ รกั ความเป็นไทย ตลอดจนสามารถน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ รหสั ตวั ช้ีวดั ต 1.1 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4 ต 1.2 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4 ต 1.3 ป.1/1 ต 2.1 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 ต 2.2 ป.1/1 ต 3.1 ป.1/1 ต 4.1 ป.1/1 ต 4.2 ป.1/1 รวม 16 ตัวชวี้ ัด
264 คำอธิบายรายวชิ า วิชา ภาษาอังกฤษ รหสั วชิ า อ 12101 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1-2 เวลาเรยี น 160 ชม./ปี จำนวน 4 หนว่ ยกิต ศึกษาการปฏบิ ัติตามคำสัง่ และคำขอรอ้ งงา่ ยๆทีฟ่ ัง ระบตุ ัวอกั ษรและเสียง อา่ นออกเสียงคำศัพท์ เกี่ยวกบั ผลไมใ้ นท้องถน่ิ สะกดคำ และอ่านประโยคง่ายๆ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน เลอื กภาพตรงตาม ความหมายของคำ กลุ่มคำ และประโยคที่ฟัง ตอบคำถามจากการฟงั ประโยค บทสนทนา หรอื นิทานงา่ ยๆ ทม่ี ี ภาพประกอบ พูดโตต้ อบด้วยคำสัน้ ๆ งา่ ยๆ ในการส่อื สารระหวา่ งบุคคลตามแบบทฟี่ ัง ใช้คำส่งั และคำขอรอ้ ง งา่ ยๆตามแบบที่ฟัง บอกความตอ้ งการง่ายๆ ของตนเอง ตามแบบท่ีฟัง พูดขอและใหข้ ้อมลู ง่ายๆเกย่ี วกับ ตนเองตามแบบที่ฟงั พดู ใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกับตนเองและเรื่องใกลต้ ัวพูดและทำท่าประกอบ ตามวฒั นธรรมของ เจ้าของภาษา บอกชอื่ และคำศัพท์เกยี่ วกบั เทศกาลสำคัญของเจ้าของภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและ วัฒนธรรมท่เี หมาะกับวยั ระบุตัวอักษรและเสียงตัวอักษรของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย บอกคำศัพท์ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรูอ้ ่ืน ฟงั หรือพูดในสถานการณง์ ่ายๆ ท่เี กิดขึ้นในห้องเรยี นใช้ ภาษาตา่ งประเทศ เพอ่ื รวบรวมคำศัพท์ทีเ่ ก่ยี วข้องใกลต้ ัว โดยใชท้ กั ษะกระบวนการสอื่ สาร ฟงั พดู อ่าน เขียน ผูเ้ รยี นเกิดความสามารถในการคิดอยา่ งมเี หตผุ ล มคี วามมุ่งมั่นในการทำงาน มคี วามสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ มีความสามารถในการแกป้ ัญหา และมี ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเป็นผู้ ใฝ่รูใ้ ฝเ่ รยี น มวี ินยั มคี วามรับผิดชอบ มีความมงุ่ ม่นั ในการทำงาน มคี วาม พากเพียร รัก ศรัทธาและเทิดทนู ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ มคี วามซือ่ สัตย์ กตญั ญูกตเวทตี ่อผมู้ ี พระคุณ ดำเนนิ ชวี ติ ตามวถิ ีไทย ตลอดจนน้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวัน ได้ รหสั ตัวชี้วดั ต 1.1 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 ต 1.2 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 ต 1.3 ป.2/1 ต 2.1 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 ต 2.2 ป.2/1 ต 3.1 ป.2/1 ต 4.1 ป.2/1 ต 4.2 ป.2/1 รวม 16 ตัวชีว้ ัด
265 คำอธิบายรายวิชาภาษาองั กฤษ วิชา ภาษาองั กฤษ รหสั วชิ า อ 13101 กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 กติ ภาคเรียนท่ี 1-2 เวลาเรียน 160 ชม./ปี จำนวน 4 หน่วย ศึกษาความเข้าใจ คำสั่ง คำขอร้องที่ใชใ้ นห้องเรยี น อ่านออกเสยี งสะกดคำศัพท์เก่ียวกับผลไม้ในท้องถน่ิ กลุม่ คำ ประโยคและบทพดู เขา้ จังหวะ(chant)งา่ ยๆ ถูกตอ้ งตามหลักการอา่ น พฒั นาทักษะการใชพ้ จนานุกรม เลือก/ ระบุ ภาพหรือสญั ลักษณ์ตรงตามความหมายของกลุ่มคำและประโยคท่ีฟงั ตอบคำถามจากการฟงั /การอ่าน ประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่ายๆ โดยใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือส่ือความเก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น สง่ิ แวดล้อมใกลต้ วั อาหารเครื่องดมื่ และนันทนาการ ในวงคำศัพทส์ ะสมประมาณ 350-450คำ (คำศัพท์ที่เป็นรปู ธรรม) พดู โตต้ อบด้วยคำส้นั ๆ ง่ายๆในการแนะนำตนเอง ทักทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ ในการส่อื สารระหวา่ งบุคคล บอกความต้องการ ง่ายๆ พูดใหข้ ้อมลู เกีย่ วกบั ตนเองและเร่ืองใกลต้ วั ระบหุ มวดหมคู่ ำตามประเภทของบุคคล สตั ว์ และสิ่งของ ตามที่ฟังหรอื อา่ น ใช้กรยิ าท่าทางประกอบการพดู /สนทนาตามมรรยาทสังคม/วัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา บอกชื่อและคำศัพท์ง่ายๆเกี่ยวกับเทศกาล/วันสำคญั /งานฉลอง และชวี ติ ความเป็นอยขู่ องเจ้าของภาษาร่วม กจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย บอกความแตกต่างของเสยี ง ตวั อักษร คำ กลมุ่ คำ และ ประโยคง่ายๆของภาษาอังกฤษและภาษาไทย เขา้ ใจคำ กลุ่มคำท่ีเกี่ยวข้องกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้อน่ื ใช้ ภาษาอังกฤษในสถานการณง์ ่าย ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในห้องเรยี น รวบรวมคำศพั ทท์ เี่ ก่ียวข้องใกล้ตวั จากสื่อตา่ งๆ เพ่อื ให้นักเรียนแสวงหาความร้คู วามเพลิดเพลินจากภาษาอังกฤษ มเี จตคตทิ ี่ดี เหน็ ประโยชน์ และ คุณค่าในการ เรยี นร้ภู าษาอังกฤษ ตลอดจนสามารถนอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ รหสั ตัวช้ีวดั ต 1.1 ป.3/1, ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 ต 1.2 ป.3/1, ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 , ป.3/5 ต 1.3 ป.3/1, ป.3/2 ต 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ต 2.2 ป.3/1 ต 3.1 ป.3/1 ต 4.1 ป.3/1 ต 4.2 ป.3/1 รวม 18 ตัวช้ีวดั
266 คำอธิบายรายวิชา วชิ าภาษาองั กฤษ รหสั วิชา อ 14101 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1-2 เวลาเรยี น 80 ชม./ปี จำนวน 2 หนว่ ยกติ ศึกษาการปฏบิ ตั ิตามคำส่ัง คำขอร้อง และคำแนะนำ งา่ ยๆ ที่ฟงั หรืออา่ น อา่ นออกเสียงคำ สะกดคำ อ่านกลุ่มคำประโยค ขอ้ ความงา่ ยๆ และบทพดู เข้าจงั หวะ ถูกต้องตาม หลกั การอ่าน เลอื ก/ระบภุ าพ หรือ สัญลกั ษณ์ หรือเคร่ืองหมาย ตรงตามความหมายของประโยคและ ข้อความสนั้ ๆ ที่ฟงั หรืออ่านตอบคำถามจาก การฟงั และอา่ นประโยคบทสนทนา และนทิ านง่ายๆ พูด/เขียนโตต้ อบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใชค้ ำส่ัง คำ ขอร้อง และคำขออนุญาตง่ายๆ พูด/เขียนแสดงความตอ้ งการของตนเองและขอความช่วยเหลอื ในสถานการณ์ ง่ายๆ พูด/เขียนเพ่ือขอและให้ข้อมลู เกีย่ วกับตนเองเพอ่ื นและครอบครัว พูดแสดงความรู้สึกของตนเอง เก่ียวกบั เร่อื งตา่ งๆใกล้ตัว และกจิ กรรมต่างๆตามแบบทีฟ่ ัง พดู /เขียนให้ขอ้ มลู เก่ียวกบั ตนเองและเร่ืองใกล้ตวั พดู /วาดภาพแสดงความสัมพันธข์ องสงิ่ ตา่ งๆใกล้ตวั ตามทฟี่ ังหรืออ่านพูดแสดงความคิดเหน็ งา่ ยๆ เก่ยี วกบั เรื่อง ต่างๆ ใกลต้ ัว พดู และทำทา่ ประกอบ อยา่ งสภุ าพ ตามมารยาทสงั คม และวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ตอบ คำถามเก่ียวกับเทศกาล/วนั สำคัญ/งานฉลองและชวี ิตความเป็นอยู่ ง่ายๆ ของเจ้าของภาษา เข้ารว่ มกจิ กรรม ทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะกับวยั บอกความแตกตา่ งของเสียงตัวอกั ษร คำ กลุม่ คำ ประโยค และข้อความ ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทยบอกความเหมือน/ความแตกตา่ งระหวา่ งเทศกาลและงานฉลอง ตาม วฒั นธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้า รวบรวมคำศัพทท์ ่เี กย่ี วขอ้ งกับพืชเศรษฐกจิ ในท้องถิน่ และ เกี่ยวขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรยี นร้อู นื่ และนำเสนอดว้ ยการพูด/การเขยี น ฟงั และพูด/อ่าน ในสถานการณท์ ่ี เกดิ ขึ้นในห้องเรยี นและสถานศึกษา ใช้ภาษาต่างประเทศในการสบื ค้นและรวบรวมขอ้ มูลต่างๆ โดยกระบวนการใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรกู้ ับกล่มุ สาระการเรียนรู้อ่ืนและเป็น พืน้ ฐานในการพัฒนาแสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทัศน์ของตน ค้นคว้า รวบรวมคำศพั ท์ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อน่ื และนำเสนอด้วยการพดู เขยี น ฟงั และอ่าน เพื่อให้เกดิ ความรูค้ วามเขา้ ใจในสถานการณ์ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในห้องเรยี นและสถานศึกษาใชภ้ าษาตา่ งประเทศ ในการสืบค้น และรวบรวมข้อมลู ตา่ ง ๆ เห็นคุณคา่ ของการนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั มเี จต คติท่ีดตี ่อการใช้ภาษาต่างประเทศ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มท่ีเหมาะสม ตลอดจนสามารถนอ้ มนำหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ รหสั ตัวชี้วัด ต 1.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 ต 1.2 ป 4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ป.4/5 ต 1.3 ป.4/1 , ป 4/2 , ป.4/3 ต 2.1 ป.4/1 , ป 4/2 , ป.4/3 ต 2.2 ป.4/1 , ป.4/2 ต 3.1 ป.4/1 ต 4.1 ป.4/1 ต 4.2 ป.4/1 รวม 20 ตัวช้วี ัด
267 คำอธิบายรายวิชา วชิ าภาษาอังกฤษ รหัสวชิ า อ 15101 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1-2 เวลาเรยี น 80 ชม./ปี จำนวน 2 หนว่ ยกติ ศึกษาการปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้อง และคำแนะนำง่ายๆ ที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงประโยค ข้อความ และบทกลอนสั้นๆ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน ระบุ/วาดภาพสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายตรงตาม ความหมายของประโยคและข้อความสนั้ ๆ ท่ีฟงั หรอื อา่ น บอกใจความสำคัญ และตอบคำถามจากการฟัง และอ่านบทสนทนาและนิทานง่ายๆ หรอื เร่อื งสน้ั ๆ พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคลใช้คำสั่ง คำขอรอ้ ง คำขออนุญาต และใหค้ ำแนะนำงา่ ยๆ พูด/เขียนแสดงความต้องการขอความช่วยเหลือ ตอบรับ และปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองเพื่อน ครอบครวั และเรอ่ื งใกล้ตวั พูด/เขียนแสดความรู้สึก ของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัวและกิจกรรมต่างๆ พรอ้ มท้งั ให้เหตผุ ลสั้นๆประกอบ พดู /เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตวั เขยี นภาพ แผนผัง และ แผนภูมิแสดงข้อมูลต่างๆ ตามที่ฟังหรืออ่าน พูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียงและกิริยาท่าทางอย่างสภุ าพ ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตอบคำถาม/บอก ความสำคญั ของเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลองและชีวติ ความ เปน็ อยงู่ ่ายๆ ของเจา้ ของภาษา เขา้ ร่วมกจิ กรรม ทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยค ชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และ การลำดับคำตามโครงสร้างประโยค ของภาษาต่างประเทศและ ภาษาไทย บอกความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างเทศกาลและงานฉลองของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้า รวบรวมคำศัพทท์ ีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั พืชเศรษฐกิจในท้องถ่ินและที่เกีย่ วข้องกับกลุ่มสาระการเรยี นรู้ อื่น และนำเสนอด้วยการพูด/การเขียนฟัง พูด และอ่าน/เขียน ในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและ สถานศกึ ษา ใชภ้ าษา ต่างประเทศในการสบื คน้ และรวบรวมข้อมูลตา่ งๆ โดยใชท้ ักษะกระบวนการส่ือสาร ฟัง พูด อ่าน เขยี น ผเู้ รียนเกดิ ความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล มีความมุ่งมั่นในการทำงาน มีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต มีความสามารถในการแก้ปัญหา และมี ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เพื่อให้นักเรยี นมีเจตคติที่ดตี ่อภาษาอังกฤษ ใฝ่ร้ใู ฝเ่ รียน ศึกษาดว้ ยตนเอง มีวินยั มคี วามรับผิดชอบ มี ความมุ่งมั่นในการทำงาน มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และรักความเป็นไทย ตลอดจน น้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาปรับใช้ในชีวติ ประจำวันได้ รหสั ตัวชี้วัด ต 1.1 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 ต 1.2 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5 ต 1.3 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 ต 2.1 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 ต 2.2 ป.5/1 , ป.5/2 ต 3.1 ป.5/1 ต 4.1 ป.5/1 ต 4.2 ป.5/1 รวม 20 ตวั ชีว้ ดั
268 คำอธิบายรายวชิ า วชิ าภาษาอังกฤษ รหัสวชิ า อ 16101 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1-2 เวลาเรียน 80 ชม./ปี จำนวน 2 หนว่ ยกติ ศึกษาการปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้อง และคำแนะนำ ที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงข้อความ นิทาน และบทกลอนส้นั ๆถูกต้องตามหลกั การอ่าน เลอื ก/ระบปุ ระโยคหรอื ข้อความสั้นๆ ตรงตามภาพสัญลักษณ์หรือ เครื่องหมายที่อ่าน บอกใจความสำคัญ และตอบคำถามจากการฟังและอ่านบทสนทนานิทานง่ายๆและเรื่อง เลา่ พดู /เขยี นโต้ตอบในการส่ือสารระหวา่ งบุคคล ใชค้ ำสัง่ คำขอรอ้ ง และให้คำแนะนำ พูด/เขยี นแสดงความ ตอ้ งการขอความช่วยเหลือ ตอบรบั และปฏเิ สธการให้ ความช่วยเหลอื ในสถานการณง์ า่ ยๆ พดู และเขียนเพ่ือ ขอและใหข้ ้อมูลเกย่ี วกบั ตนเอง เพือ่ นครอบครวั และเรือ่ งใกล้ตวั พูด/เขียนแสดงความรสู้ ึกของตนเองเกี่ยวกับ เรือ่ งตา่ งๆ ใกล้ตวั กิจกรรมต่างๆพร้อมทง้ั ให้เหตุผลสั้นๆประกอบ พดู /เขยี นให้ข้อมูลเกีย่ วกับตนเองเพ่ือนและ สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เขียนภาพแผนผัง แผนภูมิและตารางแสดงข้อมูลต่างๆ ตามที่ฟังหรืออ่าน พูด /เขียน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ตัว ใช้ถ้อยคำน้ำเสียงและกิริยาท่าทางอย่างสุภาพ เหมาะสมตาม มารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความ เปน็ อยูข่ องเจา้ ของภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความเหมือน/ความ แตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลำดับคำ ตาม โครงสร้างประโยค ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทยเปรียบเทียบความเหมือน/ความแตกต่าง ระหว่าง เทศกาล งานฉลองและประเพณีของ เจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้า รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับพืช เศรษฐกิจในท้องถิ่นและที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้และนำเสนอด้วยการพูด/การ เขียน ใช้ภาษาสื่อสาร ในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา ใช้ภาษา ต่างประเทศใน การสบื ค้นและรวบรวมขอ้ มูลตา่ งๆ โดยใชท้ กั ษะกระบวนการสื่อสาร ฟัง พูด อา่ น เขยี น ผูเ้ รยี นเกิดความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล มีความมุ่งมั่นในการทำงาน มีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต มีความสามารถในการแก้ปัญหา และมี ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เพอื่ ให้นักเรยี นมเี จตคตทิ ีด่ ีต่อภาษาอังกฤษ ใฝ่ร้ใู ฝเ่ รยี น มีวนิ ัย มคี วามรับผดิ ชอบ มีความมุ่งม่ันในการ ทำงาน มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สามารถดำเนินชวี ิตประจำวัน ได้อย่างมีจริยธรรม คุณธรรมและมีค่านิยมที่เหมาะสม ตลอดจนสามารถน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ใน ชวี ิตประจำวนั ได้ รหัสตัวชี้วัด ต 1.1 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 ต 1.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 ต 1.3 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 ต 2.1 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 ต 2.2 ป.6/1 , ป.6/2 ต 3.1 ป.6/1 ต 4.1 ป.6/1 ต 4.2 ป.6/1 รวม 20 ตวั ช้วี ดั
269 วชิ าภาษาอังกฤษ คำอธิบายรายวชิ า ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 รหสั วชิ า อ 21101 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชม./ภาคเรียน จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้องคำแนะนำและคำชี้แจงง่ายๆ อ่านออก เสียงข้อความ ได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน อ่านนิทานที่มีในท้องถิ่นและบทร้อยกรองสั้นๆ เลือกระบุประโยค และขอ้ ความสัมพันธก์ ับสื่อที่ไม่ใชค่ วามเรียงจับใจความสำคัญจากเรอ่ื งท่ีฟังและอา่ นสนทนา แลกเปล่ียนข้อมูล เกี่ยวข้อมูลเกี่ยวกับตนเองกิจกรรมและสถานการณ์ต่างๆพูดและเขียน แสดงความต้องการขอความช่วยเหลือ ตอบรับและแสดงความปฏเิ สธกจิ กรรมต่างๆใกล้ตัวพูดบรรยาย เกีย่ วกบั ตนเองกจิ วัตรประจำวนั ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม ใกล้ตัว สรุป วิเคราะห์เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคม ใช้ ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางตาม มารยาททางสังคมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา เข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรมเกี่ยวกบั เทศกาลวันสำคัญชีวิตความเป็นอยู่ประเพณีของเจ้าของภาษา บอกความเหมือนและความแตกต่าง เรื่องการ ออกเสียง ประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน การลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของเจ้าของ ภาษา อังกฤษกับภาษาไทยและเปรียบเทียบเทศกาลวันสำคัญและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษากับของ ไทยค้นควา้ รวบรวม สรุปข้อมลู ข้อเท็จจรงิ ทเี่ กี่ยวข้องกบั กลุ่มสาระการเรียนร้อู ื่น จากแหล่งเรยี นรูใ้ นชุมชนและ เขตเมืองประจวบคีรีขันธ์และนำเสนอด้วยการพูด การเขียน ใช้ภาษา สื่อสารในสถานการณ์จริง สถานการณ์ จำลองทีเ่ กดิ ขึน้ ในหอ้ งเรยี นและสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการทางภาษา การสื่อสารการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูลการฝึกปฏิบัติตาม สถานการณ์ ต่างๆ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีความตระหนักและรัก ท้องถิ่น ประเทศ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เห็นคุณค่าของภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และมีการแลกเปล่ียนข้อมูลโดยใชภ้ าษาอยา่ งสร้างสรรค์ สามารถน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ รหัสตัวชี้วดั ต 1.1 ม.1/1, ม.1/2 ต 1.2 ม.1/1, ม.1/2 ต 1.3 ม.1/3 ต 2.1 ม.1/1 ต 2.2 ม.1/1 ต 3.1 ม.1/1 ต 4.2 ม.1/1 รวม 9 ตวั ชว้ี ัด
270 วิชา ภาษาองั กฤษ คำอธบิ ายรายวชิ า ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 รหัสวชิ า อ 12102 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชม./ภาคเรียน จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ศกึ ษาหลกั การอ่านออกเสยี งข้อความ นิทาน บทรอ้ ยกรอง ถูกต้องตามหลกั การอ่านออกเสียง บอก การลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประทศและภาษาไทย ปฏิบัติตามและใช้คำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ คำชี้แจง การขอและให้ความช่วยเหลือ พูดและเขียนบรรยาย สรุปใจความสำคัญที่ได้จากการ วิเคราะห์ แสดงความรู้สึกและความคิดเห็นเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ เทศกาล วันสำคัญ ชีวิตความเป็นอยู่ และประเพณีที่อยู่ในความสนใจพร้อมท้ังให้เหตุผลประกอบ ระบุและเลือกข้อมูล ประโยค ข้อความ บท สนทนา นิทาน เรื่องสั้นและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรืออ่าน ค้นคว้า รวบรวม สรุปข้อมูลจากสื่อและ แหล่งเรียนรู้ต่างๆในชุมชนและในเขตเมืองประจวบคีรีขันธ์ เพื่อใช้ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เปรียบเทียบประเพณี งานเทศกาล งานฉลอง วันสำคัญ ชีวิตความเป็นอยู่ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เข้าร่วมและจดั กจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม โดยใช้กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูด การบรรยาย การสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ สามารถสื่อสารด้วยภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพเหมาะสม ถูกต้องตามกาลเทศะ มีความใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และรกั ความเป็นไทย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีความตระหนักและรัก ท้องถิ่น ประเทศ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เห็นคุณค่าของภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และมกี ารแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยใชภ้ าษาอย่างสรา้ งสรรค์ สามารถนอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ รหสั ตวั ชี้วดั ต 1.1 ม.1/3, ม.1/4 ต 1.2 ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5 ต 1.3 ม.1/1, ม.1/2 ต 2.1 ม.1/2, ม.1/3 ต 2.2 ม.1/2 ต 4.1 ม.1/1 รวม 11 ตัวชวี้ ดั
271 คำอธิบายรายวชิ า วชิ า ภาษาองั กฤษ รหัสวชิ า อ 22101 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชม./ภาคเรียน จำนวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษาและปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำชี้แจง และคำอธิบายง่ายๆ ตามสถานการณ์ต่างๆ สรุปใจความสำคญั และรายละเอียดสนบั สนุน พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็น ให้เหตุผล และยกตวั อยา่ งประกอบ จากการอ่านเรื่อง ข่าว เหตุการณ์ ประกาศ กิจกรรม บทร้อยกรองสั้นๆ เรื่องใกล้ตัว ข้อมูลเกี่ยวกับกิจวัตร ประจำวันของตนเอง เหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจของสงั คม สภาพอากาศ การเฉลิมฉลอง เทศกาล อาหาร งานเทศกาล วนั สำคญั ชีวติ ความเปน็ อยู่ วฒั นธรรม ประเพณีของเจา้ ของภาษา ขอ้ มลู /ข้อเท็จจรงิ ทเ่ี ก่ียวข้อง กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ตำนานในท้องถิ่น เรื่องเล่า ภาพยนตร์ ระบุ เปรียบเทียบความเหมือนและความ แตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ และการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาอังกฤษ และภาษาไทย พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียนเป็นภาษาอังกฤษ ขอและให้ข้อมู ล ใช้ ทักษะในการสื่อสารเพื่อแสดงความต้องการ ความรู้สึก ความคิดเห็น ความช่วยเหลือเกี่ยวกับตัวเอง กิจวัตร ประจำวัน ประสบการณ์ สถานการณ์ตา่ งๆ ในชวี ิตประจำวัน เช่น ในห้องเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชน โดยการอ่านออกเสียง เขียน อธิบาย สืบค้น รวบรวม และสรุปข้อมูล หรือข้อเท็จจริง สรุป ใจความสำคัญ และนำเสนอ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ใช้ทักษะในการสื่อสาร ภาษา น้ำเสียงกิริยาท่าทางอย่างเหมาะสม ถูกต้องตามกาลเทศะ เข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรม ตามความสนใจใหเ้ หมาะสมกบั บุคคล โอกาส และมารยาทสงั คม และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ สามารถน้อมนำหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ รหัสตัวชี้วดั ต 1.1 ม.2/3, ม.2/4 ต 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ต 1.3 ม.2/1 ต 2.1 ม.2/1 ต 2.2 ม.2/2 ต 3.1 ม.2/1 ต 4.1 ม.2/1 ต 4.2 ม.2/2 รวม 11 ตัวชวี้ ดั
272 วชิ าภาษาองั กฤษ คำอธบิ ายรายวิชา ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 รหัสวิชา อ 22102 กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ชม./ภาคเรียน จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกบั การบรรยาย กจิ กรรม และสถานการณต์ า่ งๆ ในชีวิตประจำวนั ประสบการณ์ เช่น การไปพักผ่อนวันหยุด การเปรียบเทียบข่าวและเหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจของสังคม ข้อมูลข่าวสาร ส่อื ทไี่ มใ่ ชค่ วามเรียงรูปแบบต่างๆ และสถานการณ์ตา่ งๆ ในชวี ติ ประจำวนั ความเจ็บป่วย สขุ ภาพ และการ ออกกำลังกาย ส่วนต่างๆ ของร่างกาย การสนทนาในสถานการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าในท้องถ่ิน ข้อมูลส่วนตัว รายการโทรทัศน์ ความบันเทิงต่างๆ ประเภทของดนตรี เครื่องดนตรีพื้นเมอื ง การแสดงความ คิดเห็นกฎระเบียบของโรงเรียน ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เสียงและการได้ยิน ตลอดจนการจัดตารางนัดหมาย พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็น ให้เหตุผล และยกตัวอย่างประกอบจากการอ่านเรื่อง ข่าว เหตุการณ์ ประกาศ กจิ กรรม การลำดบั คำตามโครงสรา้ งประโยคของภาษาอังกฤษและภาษาไทย รวมทั้งขอและให้ข้อมูล ใช้ทักษะ ในการส่อื สารเพ่ือแสดงความตอ้ งการ ความรูส้ กึ ความคิดเหน็ ความชว่ ยเหลือเกีย่ วกบั ตวั เอง กจิ วัตรประจำวัน ประสบการณ์ สถานการณ์ตา่ งๆ โดยการอ่านออกเสียง เขียน อธิบาย สืบค้น รวบรวม และสรุปข้อมูล หรือข้อเท็จจริง สรุป ใจความสำคัญ และนำเสนอ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ใช้ทักษะในการสื่อสาร ภาษา น้ำเสียงกิริยาท่าทางอย่างเหมาะสม ถูกต้องตามกาลเทศะ เข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรม ตามความสนใจใหเ้ หมาะสมกับบคุ คล โอกาส และมารยาทสงั คม และวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ สามารถน้อมนำหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ รหสั ตวั ช้ีวดั ต 1.1 ม.2/1, ม.2/2 ต 1.2 ม.2/4, ม.2/5 ต 1.3 ม.2/2, ม.2/3 ต 2.1 ม.2/2, ม.2/3 ต 2.2 ม.2/1 ต 4.2 ม.2/1 รวม 10 ตวั ช้ีวดั
273 คำอธิบายรายวิชา วิชาภาษาอังกฤษ รหัสวชิ า อ 23101 กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชม./ภาคเรยี น จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ศึกษาการใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบายอย่างถูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ อ่านออกเสียงคำศัพท์ สำนวน ประโยค ข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรองสั้นๆ ได้ถูกต้องตามหลักการ อา่ น เลือกระบุและเขียนหวั ข้อเร่ือง ใจความสำคญั และสอื่ ท่ีไม่ใช่ความเรยี ง รปู แบบต่างๆ แสดงความคิดเห็น จากเรื่องที่ฟังและอ่าน พร้อมให้เหตุผลและยกตวั อย่างประกอบ พูดสนทนาและเขียนบรรยายข้อมูลเกี่ยวกับ ตนเอง เรื่องต่างๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคมได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตาม กาลเทศะ เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทาง อธิบายเปรียบเทียบเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมของไทย เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและ วฒั นธรรมตามความสนใจ ค้นควา้ รวบรวม และสรุปขอ้ มูล ขอ้ เทจ็ จรงิ แล้วนำเสนอดว้ ยการพูดและการเขียน ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อน่ื จากแหลง่ เรยี นรู้ในชมุ ชนและในเขตเมอื งประจวบครี ขี นั ธ์ และส่ือสารใน สถานการณ์ที่เกดิ ข้ึนในหอ้ งเรยี น สถานศกึ ษา ชมุ ชน และสังคม อย่างถูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ โดยการอ่านออกเสียง เขียน อธิบาย สืบค้น รวบรวม และสรุปข้อมูล หรือข้อเท็จจริง สรุป ใจความสำคัญ และนำเสนอ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ใช้ทักษะในการสื่อสาร ภาษา น้ำเสียงกิริยาท่าทางอย่างเหมาะสม ถูกต้องตามกาลเทศะ เข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรม ตามความสนใจใหเ้ หมาะสมกับบุคคล โอกาส และมารยาทสงั คม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ สามารถน้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ รหัสตัวช้ีวดั ต 1.1 ม.3/1, ม.3/2 ต 1.2 ม.3/1, ม.3/2 ต 1.3 ม.3/1, ม.3/2 ต 2.1 ม.3/1 ต 2.2 ม.3/2 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.1 ม.3/1 รวม 10 ตวั ชี้วดั
274 คำอธิบายรายวิชา วิชาภาษาองั กฤษ รหสั วิชา อ 23102 กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชม./ภาคเรยี น จำนวน 1.5 หน่วยกติ ศึกษาความรู้เกี่ยวกับคำขอร้อง คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบาย หลักการอ่านออกเสียงสื่อที่ไม่ใช่ ความเรียง การจับใจความสำคัญจากนิทานในท้องถิ่น การแสดงความคิดเห็น การให้เหตุผลและยกตัวอย่าง ประกอบ ข้อมูลเกยี่ วกบั ตนเอง เร่อื งต่างๆ ใกลต้ ัว ความต้องการ การเสนอการตอบรับและปฏิเสธการให้ความ ช่วยเหลือ การขอและให้ข้อมูล การอธิบาย เปรียบเทียบ การแสดงความรู้สึก การบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ การจับใจความสำคัญ การวิเคราะห์เรื่องเหตุการณ์และสถานที่อยู่ในความสนใจ ศึกษา เปรียบเทียบเกี่ยวกับภาษา นํ้าเสียง กิริยาท่าทาง ชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา ความเหมือนความแตกต่าง การออกเสียงประโยค ลำดับคำถามโครงสร้างประโยคของ ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย ศึกษาการใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง สถานการณ์จำลอง การค้นคว้า การเผยแพร่ประชาสมั พนั ธข์ า่ วสารของโรงเรียน ชมุ ชนและสงั คม โดยใช้กระบวนการทางภาษา คือ ฟัง พูด อ่านและเขียน การสื่อสาร การสืบเสาะความรู้ การสืบคน้ ขอ้ มูลการฝึกปฏบิ ตั ติ ามสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ สามารถน้อมนำหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ รหัสตัวชี้วัด ต 1.1 ม.3/3, ม.3/4 ต 1.2 ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5 ต 1.3 ม.3/3 ต 2.1 ม.3/2, ม.3/3 ต 2.2 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/1, ม.3/2 รวม 11 ตวั ชวี้ ัด
275 คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม วิชาภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร รหัสวชิ า อ 11201 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1-2 เวลาเรียน 40 ชม./ปี จำนวน 1 หนว่ ยกติ ศึกษาการฝกึ ทกั ษะการฟงั คำศพั ท์และบทสนทนาสัน้ ๆ งา่ ยๆ ฝึกการสนทนาโตต้ อบโดยเน้นการใช้ น้ำเสียง กริ ยิ าท่าทางท่ีเหมาะสมตามวฒั นธรรมเจ้าของภาษา ใช้เพลงที่มีทำนองสนกุ สนาน สอดแทรกความ เปน็ ทอ้ งถน่ิ ประกอบการเรียนการสอนเพ่ือฝกึ ความกลา้ แสดงออกในการใช้ภาษา โดยการสร้างสถานการณ์ สมมตุ ิท่ีพบเจอในชีวิตประจำวัน เช่น ต่ืนนอน (Getting up) อาบน้ำ (Taking a bath) แตง่ ตัว (Getting dressed) และไปโรงเรียน (going to school) โดยใช้กระบวนการทางภาษาทเ่ี นน้ การฟงั การสาธติ การเลยี นแบบ การพดู และทำซำ้ จนเกดิ ทักษะ โดยเน้นแนวคิด “พ่อแมส่ อนลูกพดู องั กฤษในชวี ติ ประจำวนั ” เพอื่ ให้เกิดความเป็นธรรมชาติในการใช้ภาษา เนน้ การฟังและพดู อนั จะเปน็ การสร้างพน้ื ฐานทีด่ ใี นการ สือ่ สารภาษาอังกฤษ ส่งผลให้เกิดความกล้าและมั่นใจในการใชภ้ าษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร โดยยดึ หลกั เศรษฐกิจพอเพยี งควบค่ไู ปกับความเป็นสากล Practice listening skills, vocabulary and short conversation. Emphasize the tone and acting. Create a situation that is found in everyday life, such as Getting up, Taking a bath, Getting dressed and going to school. The concept \"Parents teach English to children in everyday life\" To be natural for use second language. The result is courage and confidence in using English conversation. By the philosophy of sufficiency economy coupled with internationalization ผลการเรียนรู้ 1. ใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร (การฟงั / การพูด)โดยเน้นคำศัพทแ์ ละการสนทนาโต้ตอบเรือ่ งตืน่ นอน (Getting up) อาบนำ้ (Taking a bath) แตง่ ตวั (Getting dressed) และไปโรงเรียน (going to school) ได้ 2. เกดิ ทักษะเบือ้ งตน้ ในการส่อื สาร มคี วามมัน่ ใจ และกล้าใชภ้ าษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3. เหน็ คุณค่าและความสำคัญในการใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สารในชวี ิตประจำวัน รวม 3 ผลการเรียนรู้
276 คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ วิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร รหสั วชิ า อ 12201 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1-2 เวลา 40 ชม./ปี จำนวน 1 หนว่ ยกติ ฝึกทักษะการฟังคำศัพท์และบทสนทนาส้นั ๆ ง่ายๆ ฝกึ การสนทนาโต้ตอบโดยเน้นการใชน้ ำ้ เสยี ง กริ ิยาทา่ ทางท่เี หมาะสมตามวัฒนธรรมเจา้ ของภาษา ใชเ้ พลงท่ีมีทำนองสนกุ สนานประกอบการเรียนการสอน เพือ่ ฝึกความกลา้ แสดงออกในการใชภ้ าษา โดยการสร้างสถานการณส์ มมุตทิ ี่พบเจอในชีวิตประจำวนั สอดแทรกสถานที่ท่องเทยี่ วในท้องถิน่ เชน่ ไปซอ้ื ของ (Going Shopping) ไปทำบุญ (Making Merit) ไปเท่ียว ทะเล (Going to the sea) ไปเที่ยวสวนสตั ว์ (Going to the zoo) โดยใช้กระบวนการทางภาษาที่เนน้ การฟัง การสาธิต การเลียนแบบ การพดู และทำซำ้ จนเกิดทักษะ โดยเนน้ แนวคดิ “พ่อแมส่ อนลูกพดู องั กฤษในชีวิตประจำวัน” เพอื่ ใหเ้ กิดความเปน็ ธรรมชาติในการใช้ภาษา โดยเน้นการฟังและพูด อันจะเปน็ การสรา้ งพ้นื ฐานที่ดีใน การสื่อสารภาษาอังกฤษ ส่งผลใหเ้ กิดความกลา้ และมัน่ ใจในการใชภ้ าษาอังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร โดยยึดหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงควบคไู่ ปกบั ความเปน็ สากล Practice listening skills, vocabulary and short conversation. Emphasize the tone and acting. Create a situation that is found in everyday life, such as Going Shopping, Making Merit, Going to the sea ,Going to the zoo. The concept \"Parents teach English to children in everyday life\" To be natural for use second language. The result is courage and confidence in using English conversation. By the philosophy of sufficiency economy coupled with internationalization ผลการเรยี นรู้ 1. ใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (การฟัง / การพดู )โดยเน้นคำศัพท์และการสนทนาโต้ตอบเรอ่ื ง(Going Shopping) ไปทำบุญ (Making Merit) ไปเทยี่ วทะเล (Going to the sea) ไปเที่ยวสวนสัตว์ (Going to the zoo)ได้ 2. เกดิ ทักษะเบื้องตน้ ในการสื่อสาร มีความมน่ั ใจ และกลา้ ใชภ้ าษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3. เหน็ คุณค่าและความสำคัญในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารในชีวติ ประจำวนั รวม 3 ผลการเรยี นรู้
277 คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ วชิ าภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร รหัสวชิ า อ 13201 กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชม./ปี จำนวน 1 หนว่ ยกติ ฝึกทกั ษะการฟังคำศัพท์และบทสนทนาสั้นๆ ง่ายๆ ฝกึ การสนทนาโตต้ อบโดยเน้นการใชน้ ้ำเสยี ง กิริยาท่าทางท่เี หมาะสมตามวัฒนธรรมเจา้ ของภาษา ใช้เพลงท่มี ีทำนองสนกุ สนานประกอบการเรยี นการสอน เพือ่ ฝึกความกลา้ แสดงออกในการใช้ภาษา โดยการสรา้ งสถานการณส์ มมุติที่พบเจอในชีวติ ประจำวนั และใน ท้องถน่ิ เช่น สขุ สันตว์ นั เกดิ (Happy birthday) วนั สงกรานต์ (Songkran Day) วนั ลอยกระทง (Loy Krathong Day) วนั คริสตม์ าส (Christmas Day) โดยใช้กระบวนการทางภาษาทเ่ี น้นการฟงั การสาธติ การเลยี นแบบ การพูด และทำซ้ำจนเกิดทักษะ โดยเน้นแนวคิด “พ่อแมส่ อนลกู พูดองั กฤษในชีวิตประจำวัน” เพือ่ ใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมชาตใิ นการใชภ้ าษา โดยเน้นการฟังและพดู อนั จะเป็นการสร้างพ้ืนฐานที่ดีใน การสื่อสารภาษาอังกฤษ สง่ ผลให้เกิดความกล้าและมนั่ ใจในการใชภ้ าษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร โดยยึดหลกั เศรษฐกิจพอเพียงควบคไู่ ปกับความเป็นสากล Practice listening skills, vocabulary and short conversation. Emphasize the tone and acting. Create a situation that is found in everyday life, such as Happy birthday, Songkran Day, Loy Krathong Day and Christmas Day. The concept \"Parents teach English to children in everyday life\" To be natural for use second language.The result is courage and confidence in using English conversation. By the philosophy of sufficiency economy coupled with internationalization ผลการเรยี นรู้ 1. ใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร (การฟัง / การพดู )โดยเนน้ คำศัพท์และการสนทนาโต้ตอบเรือ่ งสุขสันต์วนั เกดิ (Happy birthday) วนั สงกรานต์ (Songkran Day) วนั ลอยกระทง (Loy Krathong Day) วนั คริสต์มาส (Christmas Day)ได้ 2. เกิดทักษะเบ้ืองตน้ ในการสอ่ื สาร มีความมนั่ ใจ และกล้าใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 3. เหน็ คณุ ค่าและความสำคัญในการใชภ้ าษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สารในชวี ิตประจำวนั รวม 3 ผลการเรียนรู้
278 กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
279 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัวจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน โดยม่งุ ให้ผูเ้ รียนพฒั นาตนเองตาม ศักยภาพ พัฒนาอยา่ งรอบด้านเพ่ือความเปน็ มนุษย์ทส่ี มบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ และ สงั คม เสรมิ สร้างให้เปน็ ผู้มีศลี ธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บวินัย ปลกู ฝังและสร้างจิตสำนกึ ของการทำ ประโยชนเ์ พอื่ สังคม สามารถจดั การตนเองได้ และอยู่รว่ มกับผูอ้ น่ื อยา่ งมคี วามสุข โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัว ได้จัดกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น โดยแบ่งออกเป็น 3 ลกั ษณะ ดังนี้ 1. กจิ กรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนานกั เรียนให้เรยี นรู้ รจู้ กั เข้าใจรักและ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น สามารถวางแผนการเรียน อาชีพ การดำเนินชวี ิตและปรับตวั ใหเ้ ขา้ กับ สังคมและอยูร่ ่วมกับผ้อู ่นื ไดอ้ ย่างมีความสุข จดั ให้มคี ณะกรรมการแนะแนว และครูประจำช้ันเป็นครใู ห้คำปรกึ ษา โรงเรยี นเทศบาลบา้ น หนองบวั ไดจ้ ดั กิจกรรมแนะแนวเพื่อช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรยี น โดยใช้กระบวนการจิตวทิ ยา การ จดั บรกิ ารสนเทศ จัดเอกสารสำรวจเพื่อใชส้ ำรวจข้อมูลเก่ียวกับตัวผู้เรียน ด้วยการสังเกต การสมั ภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การเขียนประวตั ิ การพบผ้ปู กครองระหว่างการเรยี น การเยยี่ มบา้ น การจดั ทำ ระเบียนสะสม สมดุ รายงานประจำตัวนกั เรียน การทำแบบทดสอบเพ่ือรู้จักและเข้าใจตนเอง มีทักษะใน การตดั สนิ ใจ การวางแผนเพ่ือเลือกศกึ ษาต่อ จดั หาทุนการศึกษาให้กับนักเรยี น ติดตามเกบ็ ขอ้ มลู ของ ผ้เู รียนทสี่ ำเร็จการศึกษา นกั เรียนทกุ คนตอ้ งเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว 40 ชวั่ โมงตอ่ ปีการศึกษาในระดบั ประถมศกึ ษา และ 20 ช่วั โมงตอ่ ภาคเรียนในระดับมธั ยมศึกษา แนวการจัดกิจกรรมแนะแนว 1. จดั สอนสปั ดาหล์ ะ 1 ช่วั โมงโดยมีครแู นะแนวเป็นผู้สอน 2. จัดกิจกรรมโฮมรมู เวลา 08.15 – 08.30 โดยครปู ระจำช้นั เปน็ ผ้จู ดั กจิ กรรม 3. กำหนดสัดส่วนสาระของกิจกรรมในแต่ละดา้ นใหเ้ หมาะสมกับวฒุ ิภาวะของผู้เรียน 4. จัดทำโครงสร้างของแต่ละกิจกรรม 5. ปฏบิ ตั ติ ามแผน วดั และประเมนิ ผล สรปุ รายงาน แนวทางการประเมินผลกจิ กรรมแนะแนว 1. เวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. การเขา้ รว่ มปฏิบตั กิ จิ กรรม 3. ผลงาน / ชน้ิ งาน /คุณลักษณะของผเู้ รยี น อยูใ่ นระดับ “ผา่ น” 2. กิจกรรมนกั เรยี น เปน็ กิจกรรมทส่ี ง่ เสริมและพัฒนานักเรียนให้ ผูเ้ รยี นได้เขา้ ร่วมกิจกรรม ตามความถนดั ความสนใจ โดยเนน้ เรอ่ื งคุณธรรมจรยิ ธรรม ไม่เห็นแกต่ ัว มรี ะเบียบวินัย มีความเปน็ ผู้นำ ผตู้ ามที่ดี มคี วามรับผดิ ชอบการทำงานร่วมกนั รูจ้ กั การแก้ปัญหา การตดั สนิ ใจ ความมีเหตุผล การชว่ ยเหลือแบง่ ปัน เอื้ออาทรและสมานฉันท์ กิจกรรมนกั เรยี นประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลกู เสอื – เนตรนารี นักเรยี นทุกคนต้องเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี 30 ชว่ั โมงต่อปีการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา 10 ชัว่ โมงต่อภาคเรียนระดับมธั ยมศึกษาปที ี่ 1- 2 และ 15 ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรียนในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ในภาคเรยี นท่ี 1 ผ้เู รยี นทกุ คนไดฝ้ กึ อบรมลกู เสือ
280 เนตรนารี เพอื่ สง่ เสรมิ หลกั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ส่งเสริมความสามคั คี มีวินยั และบำเพญ็ ประโยชนต์ ่อสังคม แนวการจัดกิจกรรม ลูกเสือ - เนตรนารี 1. จัดสอนสปั ดาหล์ ะ 1 ชัว่ โมง ในวันพฤหัสบดีพร้อมกนั ทง้ั โรงเรยี น 2. นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 เป็นลกู เสือ – เนตรนารี สำรอง นกั เรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เป็นลกู เสือ – เนตรนารี สามัญ และระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ เปน็ ลกู เสือ – เนตร นารี สามัญรุ่นใหญ่ 3. การจดั กจิ กรรมลกู เสอื – เนตรนารี จัดกิจกรรมตามพระราชบญั ญตั ิลูกเสอื พ.ศ. 2551 มาตรา 8 4. การสอบวชิ าชาวค่าย ลกู เสือสำรองเข้าคา่ ยกลางวนั เป็นเวลา 1 วัน ลกู เสือสามญั และลูกเสอื สามัญร่นุ ใหญ่เขา้ ค่ายแรมคนื เปน็ เวลา 3 วนั 2 คนื 2.2 กจิ กรรมชุมนุม นักเรียนทกุ คนต้องเข้าร่วมกิจกรรมชมุ นุม 40 ช่ัวโมงตอ่ ปีระดับ ประถมศกึ ษา 20 ชั่วโมงตอ่ ภาคเรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ผู้เรียนจะร่วมกิจกรรมอยา่ งหลากหลายประกอบด้วยกจิ กรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม การเข้าคา่ ยคุณธรรม กิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี การอนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ ม สง่ เสริมประชาธิปไตย สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ส่งเสริมด้านศิลปะ หัตถกรรม ค่ายวชิ าการ การศึกษาดงู าน การฝึกปฏบิ ตั ิ กิจกรรมแข่งขันกรีฑาสี แนวการจัดกิจกรรมชุมนุม 1. การจัดกจิ กรรมชมุ นมุ สัปดาหล์ ะ 1 ชัว่ โมง ท้ังในและนอกโรงเรยี น 2. การจดั ต้งั ชุมนมุ จากความสนใจของผูเ้ รยี นในการเขา้ เลอื กชมุ นมุ 3. ผเู้ รียนร่วมกนั จัดตง้ั ชมุ นมุ และเชิญครเู ปน็ ท่ีปรกึ ษา โดยรว่ มกันดำเนนิ กิจกรรมชุมนุม ตามระเบียบปฏบิ ตั ิท่ีโรงเรียนกำหนด 4. ถอดประสบการณ์แลกเปลย่ี นเรยี นรู้และเผยแพร่กิจกรรม 5. ครทู ป่ี รกึ ษากิจกรรมประเมนิ ตามหลักเกณฑก์ ารประเมินผล กิจกรรมชุมนมุ ที่สถานศกึ ษาดำเนินการ 1. พชื ผกั สวนครัว 2. สวยหลอ่ เลอื กได้ 3. งานประดษิ ฐส์ รา้ งสรรค์ 4. ปยุ๋ อินทรีย์ 5. อาหารท้องถน่ิ ไทย 6. การจัดการขยะ ฯ 7. เอกลักษณ์ดนตรีและนาฏศิลป์ไทย 8. ดุรยิ างค์ 9. เกษตรพอเพียง 10. กีฬา
281 แนวทางการประเมินผลกิจกรรมนกั เรียน 1.ทดสอบความสามารถและพฒั นาการดา้ นต่าง ๆ ประเมินตามสภาพจรงิ 2. กำหนดเกณฑ์การประเมิน “ผ่าน” และ “ไมผ่ ่าน” ผา่ น หมายถึง ผูเ้ รียนมเี วลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม และมีผลงาน / ช้นิ งาน/ คุณลักษณะตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากำหนด ไม่ผา่ น หมายถงึ ผูเ้ รียนมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมน้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ไม่ผ่านปฏิบตั ิ กจิ กรรม มผี ลงาน/ ชน้ิ งาน/ คุณลักษณะไม่เปน็ ตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด 3. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมที่สง่ เสรมิ และพัฒนานักเรียนให้ ผเู้ รียนได้ทำประโยชนต์ ามความสามารถ ความถนดั และความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพือ่ แสดงถึง ความรบั ผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสยี สละตอ่ สงั คม มจี ิตใจม่งุ ทำประโยชน์ตอ่ ครอบครวั ชุมชนและ สงั คม นกั เรียนทกุ คนตอ้ งเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ระดับประถมศึกษาปที ่ี 1-6 จำนวน 10 ชวั่ โมงต่อปกี ารศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 15 ช่ัวโมงต่อปีการศกึ ษา แนวการจดั กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 1.จดั กิจกรรมอย่างตอ่ เนื่องท้ังในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียนโดยการบูรณาการในกลมุ่ สาระ หรือกจิ กรรมแนะแนว ลูกเสอื – เนตรนารี ชมุ นุม ในลักษณะเพื่อสงั คมหรือสาธารณประโยชน์ 2. มคี รทู ปี่ รกึ ษากจิ กรรมทกุ กิจกรรม 3. เนน้ ผู้เรียนเป็นผจู้ ดั กิจกรรม / รายงานตนเอง / ชิ้นงาน 4. จดั กจิ กรรมเวลาใดก็ไดโ้ ดยไมจ่ ำกัดเวลา สถานที่ / รปู แบบ / กจิ กรรม ผู้เรียนจะรว่ มกิจกรรมตามวุฒภิ าวะอยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกบั เพศ วยั ประกอบด้วย 1. กิจกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทำความสะอาดวัดทอี่ ยใู่ นตำบล ร่วมกจิ กรรม งานวัดในวนั สำคญั ทางศาสนา 2. กจิ กรรมด้านส่ิงแวดล้อม อนุรักษล์ ำนำ้ แม่สา ลอกคคู ลองในระดับมัธยมศกึ ษา ปลูกต้นไม้ทางเข้าหมบู่ ้าน วัด โรงเรียน 3. กิจกรรมรณรงค์ การเผาขยะ การรณรงค์ไปใช้สิทธเิ ลือกต้งั การรว่ มกิจกรรม ในวันสำคัญต่างๆ การอนรุ กั ษศ์ ลิ ปวัฒนธรรม แนวทางการประเมินผลกจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ มี 2 ระดบั คอื “ผา่ น” หมายถึง ผเู้ รยี นมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมตั้งแต่ร้อยละ 80 ข้นึ ไป และผา่ นจุดประสงค์ ทสี่ ำคญั ของแต่ละกิจกรรม “ไม่ผ่าน” หมายถงึ ผ้เู รียนมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมต่ำกว่ารอ้ ยละ 80 หรือไมผ่ ่านจดุ ประสงค์ ทสี่ ำคญั ของแต่ละกิจกรรม ผู้เรียนตอ้ งไดร้ ับการตัดสินการเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนครบทุกกจิ กรรมตามโรงเรยี นกำหนด ในระดบั “ผา่ น” ในแตล่ ะชนั้
282 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการคือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสำเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพฒั นาและประเมินตามตัวชีว้ ัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี นซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวดั และ ประเมินผลการเรียนรู้ในทกุ ระดับไม่วา่ จะเปน็ ระดับชัน้ เรยี น ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพืน้ ท่ีการศึกษา และ ระดับชาติ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใชผ้ ลการประเมินเป็น ข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจน ขอ้ มูลทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการพฒั นาและเรยี นรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดบั เขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา และระดบั ชาติ มีรายละเอียด ดังนี้ ๑. การประเมนิ ระดับชัน้ เรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน ดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน แฟม้ สะสมงาน การใช้แบบทดสอบฯลฯ โดยผ้สู อนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาส ใหผ้ ู้เรยี นประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมนิ ในกรณีทไี่ มผ่ ่านตัวชว้ี ดั ใหม้ กี ารสอนซ่อมเสรมิ การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าใน การเรียนรู้ อนั เป็นผลมาจากการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงที่จะต้องได้รับ การพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุง การเรยี นการสอนของตนดว้ ย ทั้งนี้โดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ดั ๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียน ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศกึ ษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อ การเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของ ผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ สารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการ จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการ รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ผ้ปู กครองและชุมชน ๓. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนใน
283 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับ การประเมิน ผลจากการประเมนิ ใชเ้ ป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ ในการวางแผนยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษา ตลอดจนเปน็ ข้อมลู สนับสนนุ การตัดสนิ ใจในระดบั นโยบายของประเทศ เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียน ๑. การตดั สนิ การให้ระดบั และการรายงานผลการเรียน ๑.๑ การตัดสนิ ผลการเรียน ในการตดั สินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรยี นรู้การอา่ นคิดวิเคราะหแ์ ละเขียน คณุ ลักษณะ อนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้อง เกบ็ ข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ืองในแต่ละภาคเรียน รวมท้งั สอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนา จนเตม็ ตามศักยภาพ ระดับประถมศกึ ษา (๑) ผเู้ รยี นตอ้ งมีเวลาเรียนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้งั หมด (๒) ผู้เรยี นต้องได้รบั การประเมินทุกตวั ชี้วัดและผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด (๓) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ บั การตดั สินผลการเรียนทกุ รายวิชา (๔) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ และมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษา กำหนด ในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ระดับมัธยมศึกษา (๑) ตดั สนิ ผลการเรยี นเปน็ รายวิชา ผู้เรยี นต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อย กวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้งั หมดในรายวิชานน้ั ๆ (๒) ผเู้ รียนต้องไดร้ ับการประเมินทกุ ตวั ชว้ี ัด และผา่ นตามเกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษากำหนด (๓) ผเู้ รียนต้องไดร้ ับการตดั สนิ ผลการเรียนทกุ รายวิชา (๔) ผูเ้ รยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ และมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษา กำหนด ในการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน การพิจารณาเล่อื นชั้นท้งั ระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา ถ้าผูเ้ รียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศกึ ษาพจิ ารณาเห็นว่าสามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยใู่ นดุลพนิ จิ ของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผัน ใหเ้ ล่ือนช้นั ได้ แต่หากผเู้ รียนไมผ่ า่ นรายวชิ าจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเปน็ ปัญหาต่อการเรียนในระดับช้ัน ที่สูงขึ้นสถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความสามารถของผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
284 ๑.๒ การใหร้ ะดบั ผลการเรียน ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้ ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ และระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน เช่น ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น ๘ ระดับ ๐ , ๑ , ๑.๕ , ๒ , ๒.๕ , ๓ , ๓.๕ , ๔ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับ ผลการประเมนิ เปน็ ดีเย่ยี ม ดี และผา่ น การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไม่ผ่าน ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับ ผลการเรยี นเป็น ๘ ระดบั ๐ , ๑ , ๑.๕ , ๒ , ๒.๕ , ๓ , ๓.๕ , ๔ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผลการ ประเมนิ เปน็ ดเี ย่ียม ดี และผา่ น การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กจิ กรรมและผลงานของผเู้ รยี น ตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด และใหผ้ ลการเขา้ รว่ มกิจกรรมเปน็ ผ่าน และไมผ่ า่ น ๑.๓ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรยี นเปน็ การสอ่ื สารใหผ้ ปู้ กครองและผู้เรยี นทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ หรอื อย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ ๑ ครั้ง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน มาตรฐานการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒. เกณฑ์การจบการศกึ ษา โรงเรียน.เทศบาลบ้านหนองบัว กำหนดเกณฑส์ ำหรบั การจบการศกึ ษาเป็น 2 ระดับ คอื ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ๒.๑ เกณฑก์ ารจบระดบั ประถมศึกษา (๑) ผูเ้ รียนเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน และรายวชิ า/กิจกรรมเพิ่มเติม โดยเปน็ รายวิชาพ้ืนฐานตาม โครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติ มตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด (๒) ผเู้ รยี นต้องมผี ลการประเมินรายวชิ าพื้นฐาน ผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
285 (๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศกึ ษากำหนด (๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามที่ สถานศึกษากำหนด (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศกึ ษากำหนด ๒.๒ เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ (๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม (ไม่น้อยกว่า ๘๑ หน่วยกิต) โดยเป็นรายวิชา พืน้ ฐาน ๖๖ หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพิ่มเติมตามที่สถานศกึ ษากำหนด (๒) ผูเ้ รยี นต้องได้หนว่ ยกติ ตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ ๗๗ หน่วยกิต โดยเปน็ รายวชิ าพ้นื ฐาน ๖๖ หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า ๑๑ หนว่ ยกติ (๓) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมนิ ตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด (๔) ผ้เู รยี นมผี ลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษากำหนด (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด ๓. เอกสารหลักฐานการศึกษา โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัวได้กำหนดเอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญที่บันทึกผลการ เรยี น ขอ้ มูลและสารสนเทศ ที่เกย่ี วข้องกับพัฒนาการของผ้เู รียนในด้านตา่ ง ๆ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท ดงั น้ี ๑. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาท่กี ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด ๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ ผเู้ รยี นตามรายวชิ า ผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขยี น ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารน้ี ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖) จบการศึกษา ภาคบังคับ (ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓) จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖) หรือเมื่อลาออกจาก สถานศึกษาในทุกกรณี ๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศักดิ์และสิทธิ์ของผู้จบ การศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ และผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
286 ๑.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อ และข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖) ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ (ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๓) และผ้จู บการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖) ๒. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่สี ถานศกึ ษากำหนด เป็นเอกสารที่สำคัญของนักเรียนที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสำคัญ เกี่ยวกับผู้เรียน ซึ่งกำหนดเป้าหมายหรือคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนแต่ละคน สำหรบั เอกสารการวดั ผลและประเมินผลการเรยี นควรมี ดังนี้ ๑. เอกสารแสดงผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ๒. แบบบันทึกผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นในรายวชิ าต่าง ๆ ๓. แบบรายงานการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ระเบยี นสะสมแสดงพัฒนาการด้านตา่ ง ๆ ๕ แบบแสดงผลการพฒั นาคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ การเทยี บโอนผลการเรียน การเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียน ในกรณีต่างๆได้แก่ การย้ายโรงเรียน การเปลี่ยนรูปแบบ การศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคัน และการขอกลับเข้ารบั การศึกษาต่อการศึกษาจากต่างประเทศ และการขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ โรงเรยี นจะดำเนินการในชว่ งก่อนเปิดภาคเรยี นแรก หรือตน้ ภาคเรียนแรก ที่โรงเรียนรับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่อง ในโรงเรียนที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยโรงเรียนที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกำหนด รายวิชา/จำนวนหนว่ ยกติ ที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม การพจิ ารณาการเทยี บโอน มกี ระบวนการดังน้ี ๑. พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศึกษา และเอกสารอ่ืน ๆ ท่ใี หข้ ้อมลู แสดงความรู้ ความสามารถของผู้เรียน ๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้ง ภาคความรู้ และภาคปฏิบัติ ๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิในสภาพจริง การเทยี บโอนผลการเรยี นให้เปน็ ไปตามประกาศ หรือแนวปฏบิ ตั ิของกระทรวงศกึ ษาธิการ
287 แนวทางการวัดและประเมินผลในชั้นเรยี น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน จากแนวคิดที่ว่า “การเรียนรู้ของนักเรียนทุกคนจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและเท่าเทียมกัน เพราะ การ เรียนรู้นำการศึกษา โรงเรียนอาจหยุดได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้และการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุก เวลา การ เรยี นร้ขู องผเู้ รียนไมไ่ ด้จำกัดเฉพาะในชั้นเรยี นเทา่ นั้น” ประกอบ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีนโยบายใหส้ ถานศึกษาจัดการเรยี นการสอนท่ีหลากหลายรูปแบบ ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) โดยให้สถานศึกษาพิจารณารูปแบบการจัดการศึกษาที่ขึ้นอยู่กับสภาพ บรบิ ท ความเหมาะสม และความปลอดภัยของพน้ื ท่ีแต่ละแห่ง จากแนวคิดและแนวปฏบิ ัติเชงิ นโยบายดังกล่าว ข้างต้น จะเห็นได้ว่าเมื่อการเรียนรู้ของนักเรียน เกิดขึ้นอย่างต่อเนือ่ ง ไม่หยุดนิ่ง ทั้งสถานที่จดั การเรียนรู้ และ เวลาที่เรียนรู้ โดยที่การวัดและประเมินผล ผู้เรียนก็ควบคู่ไปพร้อมกับการจัดการเรียนรู้ของครูเช่นเดียวกัน ดังนั้น เพื่อให้การวัดและประเมินผล สามารถสะท้อนคุณภาพของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ.2551 2561 และ สามารถนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียนได้อย่างแท้จริง สอดคล้องกับบริบทแต่ละ พน้ื ฐาน สำนักทดสอบทาง การศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน จึงได้จัดทำแนวปฏิบัติการ วัดและประเมินผลใน ชน้ั เรียน ในสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) โดย ให้คำนึงถึง มาตรการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) สำหรับให้ สถานศึกษาและ ครผู ูส้ อนนำไปใชว้ างแผนและเป็นกรอบในการดำเนินงาน ดงั นี้ 1.การวัดและประเมินผลผู้เรียน แต่ละระดับการศึกษาเนื่องจากผู้เรียนแต่ละระดับการศึกษา มี ธรรมชาตแิ ละความซบั ซ้อนของพฤติกรรมการเรียนรู้ทแ่ี ตกต่างกนั ดังนัน้ การวัดและประเมินผลผู้เรยี น จงึ ต้อง กำหนดรูปแบบและวิธีการให้เหมาะสมกับธรรมชาติและระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียนในแต่ละระดับ การศึกษา ดังนี้ ระดบั ประถมศกึ ษา เป็นการประเมินที่มุ่งเน้นตรวจสอบความรู้ความสามารถ ทักษะ และ คุณลักษณะของผู้เรียน ตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนในระดับการศึกษานี้ จึงมุ่งเน้นให้มีความรู้ความสามารถทั้งด้าน ความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะ เพื่อให้ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถทั้งด้านการอ่าน การเขียน คดิ คำนวณ และการสือ่ สารดว้ ยวิธีการต่าง ๆ สรุป แนวปฏบิ ัติไดด้ ังนี้ 1) ใช้วิธีการและรปู แบบการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมและหลากหลายผสมผสานกนั ไป เช่น การ สงั เกต การสมั ภาษณ์ การตรวจผลงาน การประเมนิ ภาคปฏบิ ตั ิ การประเมินโดยใชแ้ ฟม้ สะสม ผลงาน และการ ทดสอบ เปน็ ตน้ 2) ครูผู้สอนจัดทำเครื่องมือวัดและประเมินผลให้ผู้เรียนเป็นผู้ส่งข้อมูลสารสนเทศผลการ ประเมิน ยอ้ นกลับใหค้ รูผสู้ อน 3) ประสานขอความรว่ มมอื จากผ้ปู กครองให้เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมนิ ผเู้ รียน 4) สามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของผู้เรียน เพื่อตรวจสอบและประเมินความสามารถของผู้เรียน โดย คำนึงสภาพและความพรอ้ มของแตล่ ะพืน้ ท่ี
288 5) มีการจัดทำตารางนัดหมายผู้เรียนเป็นกลุ่มเพื่อประเมินผลการทำกิจกรรมร่วมกัน 6) มีการใช้ แบบทดสอบรปู แบบต่าง ๆ ในการวดั และประเมินผ้เู รียนตามความเหมาะในแตล่ ะ ระดับช้ัน ระดับมธั ยมศกึ ษา เป็นการประเมินที่มุ่งเน้นตรวจสอบความรู้ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะของผู้เรียน ตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนในระดับการศึกษานี้ จึงมุ่งเน้นให้มีความรู้ความสามารถทั้งด้าน ความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถทั้งด้านการอ่าน การเขียน คิดคำนวณ และการสื่อสารด้วยวิธีการต่าง ๆ รวมทั้งผู้เรียนยังมีความสามารถในด้านการใช้ เทคโนโลยเี ป็นอย่างดี สรปุ แนวปฏิบตั ไิ ดด้ งั น้ี 1) ใช้การวัดและประเมินผลผู้เรยี นดว้ ยวธิ ีการและรูปแบบทห่ี ลากหลายผสมผสานกันไป เชน่ การ สงั เกต การสมั ภาษณ์ การตรวจผลงาน การประเมนิ ภาคปฏบิ ตั ิ การประเมนิ โดยใชแ้ ฟม้ สะสมผลงาน และ การทดสอบ เปน็ ตน้ 2) อาจมีทั้งการทดสอบ โดยใช้ข้อสอบและกระดาษคำตอบผ่านระบบการสอบออนไลน์ การทดสอบ โดยใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รูป เป็นต้น 3) มีการใช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์สำหรับการบรหิ ารจดั การทดสอบและประเมินผ้เู รียน ดังนัน้ ใน การวัดและประเมินผล ครูผู้สอนสามารถจัดระบบให้ผู้เรียนสามารถส่งข้อมูลสารสนเทศผลการประเมิน ย้อนกลับไดด้ ว้ ยตนเองไปใหค้ รผู สู้ อน โดยใชจ้ ดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Mail) หรอื ชอ่ งทางการสอ่ื สารอ่ืน ๆ 4) ประสานขอความร่วมมือจากผปู้ กครองให้เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการประเมนิ ผ้เู รียน 5) สามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของผู้เรียนเพื่อประเมินและตรวจสอบความรู้ความสามารถของผู้เรียน โดยคำนึงสภาพและความพรอ้ มของแตล่ ะพ้นื ท่ี 6) จัดทำตารางนัดหมายผ้เู รียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เพือ่ ทำกิจกรรมการเรียนการสอนควบคู่กบั การวัดและ ประเมนิ ผล ทง้ั ที่สถานศึกษาและท่ีบา้ นนักเรยี น 2. การวดั และประเมินผลตามพฤติกรรมของมาตรฐานและตัวชี้วดั เน่อื งจากมาตรฐานและตัวชวี้ ัดตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 แตล่ ะกล่มุ สาระการเรียนรู้ มีลกั ษณะพฤติกรรมท่ีแสดงออก 3 ด้าน คือ ดา้ นความรู้ (Knowledge) ดา้ นทักษะ กระบวนการ (Process skill) และด้านคุณลักษณะ (Attribute) ดังนั้น การวัดและประเมินคุณภาพผูเ้ รียน จึง จำเปน็ ต้องพิจารณาและกำหนดรูปแบบวิธีการใหเ้ หมาะสมกบั ลักษณะของพฤติกรรมทต่ี ้องการวัด ดงั น้ี 2.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) การวดั และประเมินผลใชก้ ารทดสอบเป็นหลัก ข้อสอบทใ่ี ช้ในการทดสอบมีทั้งขอ้ สอบแบบ เลือกตอบและข้อสอบแบบเขียนตอบ ควรใช้วิธีการทดสอบที่หลากหลาย ได้แก่ การใช้โปรแกรม สำเร็จรูปทั้งรูปแบบออนไลน์และรูปแบบที่ไม่ได้เชื่อมต่อในคอมพิวเตอร์เครือข่าย (ออฟไลน์) โดยให้ผู้เรียน สามารถสอบทีบ่ า้ นได้ยดื หยุน่ ตามสถานการณ์ที่เกดิ ข้นึ 2) มีการมอบหมายงาน นัดหมายเปน็ กล่มุ สำหรับการใชข้ อ้ สอบแบบเลือกตอบ ควรจัดทำ ชดุ ขอ้ สอบตามมาตรฐานและตัวชี้วดั และมกี ารนัดหมายชว่ งเวลาในการทดสอบกับผูเ้ รยี นล่วงหน้า 3) การทดสอบด้วยข้อสอบแบบเขียนตอบ ควรกำหนดให้ผู้เรียนเขียนคำตอบลงใน กระดาษคำตอบ แลว้ จัดส่งข้อมูลการทำข้อสอบมาให้ครูผสู้ อนผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศตา่ ง ๆ
289 4) สามารถวัดพฤติกรรมด้านความรู้ของผู้เรียน ผ่านการทำรายงานที่สะท้อนถึงพฤติกรรมตาม ตวั ช้วี ดั แล้วจดั สง่ รายงานย้อนกลับมายงั ครูผู้สอน ผา่ นระบบเทคโนโลยีต่าง ๆ 2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (Process skill) 1) การวดั และประเมินผลใชก้ ารประเมินภาคปฏิบัตเิ ปน็ หลัก เนน้ การประเมินตามสภาพจรงิ ที่บ้าน ใช้แบบประเมินการปฏิบัติงาน แบบตรวจสอบรายการ แบบบันทึกผลงาน และแบบบรรยากาศ ปฏิบัตงิ าน เปน็ ต้น 2) วิธีการจัดส่งงาน สามารถใชก้ ารถ่ายวดี ทิ ัศน์ การถ่ายรูปภาพผลงาน การบนั ทึกเสยี ง โดย ประสานขอความร่วมมอื จากผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินทักษะกระบวนการของผ้เู รียน 3) สามารถไปตรวจเย่ียมบ้านของผู้เรียน เพ่อื ประเมนิ และตรวจสอบความสามารถด้านทักษะ และการปฏิบตั งิ านของผู้เรียน โดยพจิ ารณาถงึ สภาพ ความปลอดภัย และมาตรการของแตล่ ะพื้นที 4) มีการมอบหมายงานเปน็ กลุ่มเลก็ ๆ ใหป้ ฏิบัติงานท้งั ทบ่ี า้ นหรอื สถานศึกษา เพ่ือจะได้ทำ การประเมนิ ทกั ษะการปฏบิ ัติงานของผู้เรยี น 2.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ (Attribute) 1) การวัดและประเมนิ ผล ใชก้ ารสงั เกตและตรวจสอบพฤตกิ รรมเป็นหลัก เครือ่ งมอื วัดและ ประเมินผู้เรยี นมีหลากหลายประเภท เช่น แบบสมั ภาษณ์ แบบสงั เกต แบบตรวจสอบรายการ และแบบ ประเมนิ ตนเอง เป็นต้น 2) ควรประสานขอความรว่ มมอื กับผปู้ กครองในการประเมินพฤติกรรมของผู้เรยี นผา่ นการ ดำเนินชวี ติ ประจำวนั การทำกิจกรรมที่บา้ น การมอบหมายให้ปฏิบัติงาน เป็นต้น 3) สามารถไปตรวจเยีย่ มบ้านของผู้เรยี นเพอื่ ประเมินและตรวจสอบคุณลักษณะของผเู้ รยี น โดยพจิ ารณาถึงสภาพ ความปลอดภยั และมาตรการของแต่ละพ้ืนที่ 4) มีการมอบหมายงานให้ผเู้ รยี นปฏิบัตงิ าน นดั หมายรว่ มกนั เป็นกลมุ่ เล็ก ๆ เพอ่ื สังเกต พฤติกรรมและตรวจสอบคุณลักษณะของผเู้ รยี น 3. การวดั และประเมินผลแต่ละจดุ มุ่งหมาย การวดั และประเมินผลผเู้ รียนมีจุดมุง่ หมายสำคญั คอื 1) การวดั และประเมนิ ผลเพ่ือปรับปรุงและพัฒนา (Formative Assessment/Assessment For Learning/ Assessment As Learning 2) การวัดและประเมินผลเพื่อสรุปผลการเรยี นรู้ (Summative Assessment/Assessment Of Learningดงั นั้น ครผู ้สู อนควรกำหนดรูปแบบและแนวทางการวดั และประเมนิ ผลในแตล่ ะจดุ มุ่งหมาย ดงั น้ี 3.1 การวัดและประเมนิ ผลเพ่อื ปรบั ปรงุ และพัฒนา เป็นการวัดและประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียนท่ี เกิดขน้ึ ระหวา่ งการเรยี นการสอนตลอดปีการศึกษา/ภาคเรียน สรปุ แนวปฏิบัติได้ดังน้ี 1) ยดึ หลกั การประเมนิ และการเรียนรูข้ องผเู้ รยี นเป็นเรอ่ื งเดียวกัน ไม่แยกสว่ น เน้นการ ประเมนิ เพอ่ื พัฒนา และตรวจสอบพฒั นาการเรยี นรู้ของผเู้ รียนอย่างตอ่ เนอื่ ง 2) ออกแบบและวางแผนเกยี่ วกบั วธิ ีการและเคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการวดั และประเมนิ ผลตาม มาตรฐานและตัวช้ีวดั ในแต่ละหน่วยการเรยี นรขู้ องแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ โดยใชว้ ธิ กี ารประเมินผลที่ หลากหลาย เช่น การทดสอบ การสงั เกตพฤติกรรม การสอบปากเปลา่ การสัมภาษณห์ รอื การซักถาม การ เขยี นสะท้อนการเรียนรู้ การประเมินภาคปฏิบตั ิ การประเมนิ ดว้ ยแฟ้มสะสมงาน การประเมนิ ตนเอง การ ประเมินตามสภาพจรงิ เป็นตน้ 3) วดั และประเมินผลผู้เรยี นในแตล่ ะชว่ งเวลาของการจดั การเรยี นรู้ พร้อมทงั้ บันทึกข้อมลู ผลการเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี นอยา่ งต่อเนื่อง และนำข้อมลู ท่ีได้ไปสู่การวิจยั และพัฒนาการเรียนรู้ของผ้เู รียน
290 4) มีการประสานขอความรว่ มมือจากผู้ปกครองให้เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการประเมินผลและ สะทอ้ นผลการเรียนรู้ (Feedback) กลับไปยงั ครผู ู้สอนอย่างตอ่ เนื่อง 5) นำและฝกึ การใช้คำถามประเภทตา่ ง ๆ เพ่อื กระตุ้นคิดให้กับผูเ้ รียน ให้มีการสามารถแสดง ความคิดเหน็ อภิปราย และวิพากษ์เชงิ สรา้ งสรรค์ ทั้งรายบคุ คลและรายกล่มุ
291 ภาคผนวก
1 แนวทางการวดั และประเมินผลในช้นั เรียน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ..................................................... สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน จากแนวคิดที่ว่า “การเรียนรู้ของนักเรียนทุกคนจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและเท่าเทียมกัน เพราะ การเรียนรู้นำการศึกษา โรงเรียนอาจหยุดได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้ และการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุก เวลา การเรียนรู้ของผู้เรียนไม่ได้จำกัดเฉพาะในชั้นเรียนเท่านั้น” ประกอบ สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีนโยบายให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบ ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) โดยให้สถานศึกษาพิจารณารูปแบบการจัด การศึกษาทขี่ น้ึ อยกู่ บั สภาพบริบท ความเหมาะสม และความปลอดภัยของพ้นื ท่แี ต่ละแหง่ จากแนวคิดและแนวปฏิบัติเชิงนโยบายดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าเมื่อการเรียนรู้ของนักเรียน เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดนิ่ง ทั้งสถานที่จัดการเรียนรู้ และเวลาที่เรียนรู้ โดยที่การวัดและประเมินผล ผู้เรียนก็ควบคู่ไปพร้อมกับการจัดการเรียนรู้ของครูเช่นเดียวกัน ดังนั้น เพื่อให้การวัดและประเมินผล สามารถสะท้อนคุณภาพของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 2561 และ สามารถนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียนได้อย่างแท้จริง สอดคล้องกับบริบทแต่ละพื้นฐาน สำนักทดสอบทาง การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้จัดทำแนวปฏบิ ัติการวัดและประเมินผลใน ชั้นเรียน ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) โดยให้คำนึงถึง มาตรการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) สำหรับให้สถานศึกษาและ ครผู ูส้ อนนำไปใช้วางแผนและเป็นกรอบในการดำเนินงาน ดังน้ี 1.การวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียน แตล่ ะระดับการศึกษา เนื่องจากผู้เรยี นแต่ละระดับการศึกษา มีธรรมชาติ และความซับซอ้ นของพฤตกิ รรมการเรียนรู้ท่ี แตกต่างกัน ดังนั้น การวัดและประเมินผลผู้เรียน จึงต้องกำหนดรูปแบบและวิธีการให้เหมาะสมกับ ธรรมชาติและระดบั ความรู้ความสามารถของผู้เรยี นในแตล่ ะระดับการศึกษา ดงั นี้ 1.1 ระดับปฐมวัย เป็นการประเมินที่มุ่งเน้นตรวจสอบพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ประกอบกับการจัดการเรียนให้กับเด็ก ในระดับการศึกษานี้ ยงั ไมม่ ุง่ เน้นการอา่ นและการเขียนเป็นหลกั สรปุ แนวปฏบิ ัตไิ ด้ดงั นี้ 1) ใช้วิธีการวัดและประเมินรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่น การสังเกตพฤติกรรม การพูดคุย การซักถาม การตรวจสอบชิ้นงาน เป็นต้น โดยครูผู้สอนจำเป็นต้องจัดทำแบบสังเกต แบบ สมั ภาษณ์ แบบตรวจสอบรายการ และแบบประเมินพฒั นาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรยี น 2) มกี ารประสานขอความรว่ มมือจากผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินพัฒนาการ ของผ้เู รียนอย่างต่อเนื่อง
2 3) ทำความเข้าใจกับผู้ปกครองในการจัดส่งข้อมูลสารสนเทศผลการประเมินพัฒนาการหรือ พฤติกรรมของผ้เู รยี นย้อนกลบั ให้ครผู สู้ อนผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ 4) สามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของเด็ก เพื่อประเมินและตรวจสอบพัฒนาการของเด็ก โดย คำนึงถึงสภาพและความพร้อมของแต่ละพื้นท่ี 5) เน้นการประเมินพัฒนาการของเด็ก เพื่อมุ่งการพัฒนาและเสริมสร้างพัฒนาการเด็กเป็น รายบคุ คล 1.2 ระดับประถมศึกษา เป็นการประเมินที่มุ่งเน้นตรวจสอบความรู้ความสามารถ ทักษะ และ คุณลักษณะของผู้เรียน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนในระดับการศึกษานี้ จึง มุ่งเน้นให้มีความรู้ความสามารถทั้งด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะ เพื่อให้ ผเู้ รยี นมีความรคู้ วามสามารถท้งั ดา้ นการอา่ น การเขยี น คดิ คำนวณ และการส่อื สารดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ สรุป แนวปฏิบตั ิได้ดังน้ี 1) ใช้วิธีการและรูปแบบการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมและหลากหลายผสมผสานกันไป เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การตรวจผลงาน การประเมินภาคปฏิบัติ การประเมินโดยใช้แฟ้มสะสม ผลงาน และการทดสอบ เปน็ ต้น 2) ครูผู้สอนจัดทำเครื่องมือวัดและประเมินผลให้ผู้เรียนเป็นผู้ส่งข้อมูลสารสนเทศผลการ ประเมินยอ้ นกลบั ให้ครูผู้สอน 3) ประสานขอความรว่ มมอื จากผู้ปกครองใหเ้ ขา้ มามสี ่วนรว่ มในการประเมนิ ผู้เรียน 4) สามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของผเู้ รียน เพ่อื ตรวจสอบและประเมินความสามารถของผู้เรียน โดยคำนึงสภาพและความพร้อมของแตล่ ะพ้ืนที่ 5) มกี ารจดั ทำตารางนัดหมายผเู้ รียนเปน็ กลุม่ เพ่อื ประเมนิ ผลการทำกจิ กรรมร่วมกนั 6) มกี ารใชแ้ บบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ ในการวดั และประเมนิ ผู้เรียนตามความเหมาะในแต่ละ ระดบั ช้ัน 1.3 ระดับมัธยมศึกษา เป็นการประเมินที่มุ่งเน้นตรวจสอบความรู้ความสามารถ ทักษะ และ คุณลักษณะของผู้เรียน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนในระดับการศึกษานี้ จึง มุ่งเน้นให้มีความรู้ความสามารถทั้งด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะ เพื่อให้ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถทั้งด้านการอ่าน การเขียน คิดคำนวณ และการสื่อสารด้วยวิธีการต่าง ๆ รวมทงั้ ผูเ้ รยี นยงั มีความสามารถในดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ อย่างดี สรปุ แนวปฏิบตั ิได้ดังน้ี 1) ใช้การวดั และประเมนิ ผลผู้เรียนดว้ ยวิธกี ารและรูปแบบที่หลากหลายผสมผสานกันไป เชน่ การ สังเกต การสัมภาษณ์ การตรวจผลงาน การประเมินภาคปฏิบัติ การประเมนิ โดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน และ การทดสอบ เปน็ ต้น 2) อาจมีทั้งการทดสอบ โดยใช้ข้อสอบและกระดาษคำตอบผ่านระบบการสอบออนไลน์ การ ทดสอบโดยใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูป เปน็ ตน้
3 3) มกี ารใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สำหรับการบริหารจัดการทดสอบและประเมินผเู้ รียน ดังนั้นใน การวัดและประเมินผล ครูผู้สอนสามารถจัดระบบให้ผู้เรียนสามารถส่งข้อมูลสารสนเทศผลการประเมิน ย้อนกลับได้ด้วยตนเองไปให้ครูผู้สอน โดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) หรือช่องทางการสื่อสาร อน่ื ๆ 4) ประสานขอความร่วมมือจากผปู้ กครองให้เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการประเมินผู้เรยี น 5) สามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของผู้เรียนเพื่อประเมินและตรวจสอบความรู้ความสามารถของ ผเู้ รยี น โดยคำนึงสภาพและความพรอ้ มของแตล่ ะพ้ืนที่ 6) จัดทำตารางนัดหมายผูเ้ รียนเป็นกลมุ่ เล็ก ๆ เพื่อทำกิจกรรมการเรยี นการสอนควบคู่กับการวัด และประเมนิ ผล ท้ังทส่ี ถานศกึ ษาและทบี่ า้ นนกั เรียน 2. การวัดและประเมินผลตามพฤตกิ รรมของมาตรฐานและตัวชี้วดั เน่อื งจากมาตรฐานและตวั ชีว้ ดั ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีลักษณะพฤติกรรมที่แสดงออก 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้าน ทักษะกระบวนการ (Process skill) และด้านคณุ ลักษณะ (Attribute) ดงั นั้น การวดั และประเมินคุณภาพ ผเู้ รียน จึงจำเปน็ ตอ้ งพิจารณาและกำหนดรปู แบบวธิ ีการให้เหมาะสมกับลักษณะของพฤติกรรมที่ต้องการ วดั ดงั น้ี 2.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) การวัดและประเมินผลใช้การทดสอบเปน็ หลกั ข้อสอบทีใ่ ช้ในการทดสอบมีทัง้ ข้อสอบแบบ เลือกตอบและข้อสอบแบบเขียนตอบ ควรใช้วิธีการทดสอบทห่ี ลากหลาย ได้แก่ การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ทั้งรปู แบบออนไลน์ และรูปแบบท่ไี มไ่ ดเ้ ช่อื มตอ่ ในคอมพิวเตอร์เครือข่าย (ออฟไลน)์ โดยใหผ้ ู้เรยี นสามารถ สอบที่บ้านได้ ยดื หยุน่ ตามสถานการณ์ท่เี กิดข้นึ 2) มีการมอบหมายงาน นัดหมายเป็นกลุ่ม สำหรับการใช้ข้อสอบแบบเลือกตอบ ควรจัดทำ ชุดขอ้ สอบตามมาตรฐานและตัวช้ีวดั และมกี ารนดั หมายชว่ งเวลาในการทดสอบกับผูเ้ รียนล่วงหน้า 3) การทดสอบด้วยข้อสอบแบบเขียนตอบ ควรกำหนดให้ผู้เรียนเขียนคำตอบลงใน กระดาษคำตอบ แล้วจดั ส่งขอ้ มลู การทำขอ้ สอบมาให้ครูผสู้ อนผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศตา่ ง ๆ 4) สามารถวัดพฤติกรรมด้านความรู้ของผู้เรียน ผ่านการทำรายงานที่สะท้อนถึงพฤติกรรม ตามตวั ช้ีวัด แลว้ จดั ส่งรายงานยอ้ นกลบั มายังครูผู้สอน ผา่ นระบบเทคโนโลยตี ่าง ๆ 2.2 ด้านทักษะกระบวนการ (Process skill) 1) การวัดและประเมินผลใช้การประเมินภาคปฏิบัติเป็นหลัก เน้นการประเมินตามสภาพจรงิ ที่บ้าน ใช้แบบประเมินการปฏิบัติงาน แบบตรวจสอบรายการ แบบบันทึกผลงาน และแบบบรรยายการ ปฏิบัตงิ าน เปน็ ต้น 2) วิธีการจัดส่งงาน สามารถใช้การถ่ายวีดิทัศน์ การถ่ายรูปภาพผลงาน การบันทึกเสียง โดย ประสานขอความรว่ มมือจากผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมนิ ทักษะกระบวนการของผู้เรยี น 3) สามารถไปตรวจเยย่ี มบ้านของผู้เรียน เพอ่ื ประเมนิ และตรวจสอบความสามารถด้านทักษะ และการปฏิบัติงานของผู้เรยี น โดยพจิ ารณาถึงสภาพ ความปลอดภยั และมาตรการของแต่ละพ้ืนที่
4 4) มีการมอบหมายงานเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ให้ปฏิบัติงานทั้งที่บ้านหรือสถานศึกษา เพื่อจะได้ทำ การประเมินทักษะการปฏบิ ตั งิ านของผเู้ รียน 2.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (Attribute) 1) การวัดและประเมินผล ใช้การสังเกตและตรวจสอบพฤติกรรมเป็นหลัก เคร่ืองมือวัดและ ประเมินผู้เรียนมีหลากหลายประเภท เช่น แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบตรวจสอบรายการ และแบบ ประเมินตนเอง เป็นตน้ 2) ควรประสานขอความร่วมมือกับผู้ปกครองในการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียนผ่านการ ดำเนนิ ชีวิตประจำวนั การทำกิจกรรมทบ่ี า้ น การมอบหมายให้ปฏิบตั ิงาน เป็นต้น 3) สามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของผู้เรียนเพื่อประเมินและตรวจสอบคุณลักษณะของผู้เรียน โดยพจิ ารณาถงึ สภาพ ความปลอดภัย และมาตรการของแต่ละพน้ื ที่ 4) มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนปฏิบัติงาน นัดหมายร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เพื่อสังเกต พฤตกิ รรมและตรวจสอบคุณลักษณะของผูเ้ รียน 3. การวดั และประเมนิ ผลแตล่ ะจุดมงุ่ หมาย การวดั และประเมินผลผ้เู รียนมีจดุ มุ่งหมายสำคัญ คอื 1) การวัดและประเมินผลเพ่ือปรับปรุง และพัฒนา (Formative Assessment/Assessment For Learning/ Assessment As Learning และ 2) การวัดและประเมินผลเพือ่ สรุปผลการเรยี นรู้ (Summative Assessment/Assessment Of Learning ดงั น้นั ครผู ู้สอนควรกำหนดรูปแบบและแนวทางการวัดและประเมนิ ผลในแตล่ ะจุดมุง่ หมาย ดงั นี้ 3.1 การวัดและประเมินผลเพื่อปรับปรุงและพัฒนา เป็นการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนที่ เกดิ ขึ้นระหว่างการเรียนการสอนตลอดปกี ารศกึ ษา/ภาคเรยี น สรุปแนวปฏิบัตไิ ด้ดังนี้ 1) ยึดหลักการประเมินและการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นเรื่องเดียวกัน ไม่แยกส่วน เน้นการ ประเมินเพ่อื พัฒนา และตรวจสอบพฒั นาการเรียนรขู้ องผเู้ รียนอยา่ งต่อเนื่อง 2) ออกแบบและวางแผนเกี่ยวกับวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลตาม มาตรฐานและตัวชี้วัด ในแตล่ ะหน่วยการเรียนรขู้ องแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ โดยใชว้ ิธีการประเมินผลท่ี หลากหลาย เช่น การทดสอบ การสังเกตพฤตกิ รรม การสอบปากเปลา่ การสัมภาษณ์หรือการซกั ถาม การ เขยี นสะท้อนการเรียนรู้ การประเมนิ ภาคปฏบิ ัติ การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน การประเมนิ ตนเอง การ ประเมินตามสภาพจริง เปน็ ตน้ 3) วัดและประเมินผลผู้เรียนในแต่ละช่วงเวลาของการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งบันทึกข้อมูล ผลการเรียนรูข้ องผู้เรยี นอยา่ งตอ่ เน่อื ง และนำขอ้ มลู ทีไ่ ด้ไปส่กู ารวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรยี น 4) มีการประสานขอความร่วมมือจากผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินผลและ สะทอ้ นผลการเรยี นรู้ (Feedback) กลับไปยงั ครูผู้สอนอยา่ งต่อเนือ่ ง 5) นำและฝกึ การใช้คำถามประเภทต่าง ๆ เพือ่ กระตุ้นคิดให้กับผเู้ รยี น ให้มีการสามารถแสดง ความคิดเหน็ อภิปราย และวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์ ทัง้ รายบุคคลและรายกล่มุ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301