4.3 ผ้ใู ห้บรกิ ารเสริมอื่นๆ HP.4.9 84122 HP.6 5 หน่วยงานท่ีจัดทาโครงการสาธารณสุข เพ่ือบริการ 8412 ควบคุมโรคและบริการสร้างเสริมสุขภาพของ 84122 HP.7.1 ประชาชน 84300 HP.7.2 6 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการด้าน HP.7.9 สาธารณสุข (ยกเว้นประกันสขุ ภาพ) 65120 HP.7.3 คานวณเฉพาะประกันสุขภาพ เท่านั้น (ตรงกับ CPA 65120.12) 6.1 หน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวข้องในการบริหารจัดการ 8412 HP.8 กาหนดนโยบาย มาตรการ และกิจกรรมด้าน 98200 HP.8.1 - ตามรหัส TSIC ข้างต้นต้องคานวณ สาธารณสุข เฉพาะบริการดา้ นสขุ ภาพเทา่ น้ัน 6.2 ประกนั สงั คมภาคบังคบั 8430 HP.8.2 6.3 หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารด้านสุขภาพ (ท่ี 88101 HP.8.9 ตามรหสั TSIC ขา้ งต้นแต่ไม่รวมการ 88102 ดแู ลสขุ ภาพทบี่ า้ น (ตรงกบั CPA นอกเหนือจากการประกันสังคม และการประกัน 88101.02 และ 88102.02) สุขภาพเอกชน) เช่น สวัสดิการที่จัดโดยนายจ้าง ตาม พ.ร.บ. สถานประกอบการสขุ ภาพ พ.ศ. 2559 (ลกู จา้ งเบิกคา่ รักษาพยาบาลจากนายจา้ ง) 96101 - ไมร่ วมการให้บริการของโรงแรม รี สอร์ท หรือท่พี ักระยะสนั้ อื่นๆ และสปา 7 ประกนั สุขภาพเอกชน 6512 ท่บี าบดั สขุ ภาพ (สปาทีบ่ าบัดสขุ ภาพ ถอื วา่ รวมอยู่ใน 3.4) 8 หน่วยงานอ่ืนๆ ที่ให้การบริการดา้ นสุขภาพเสมือน 96101 - การนวดที่ไม่ใช่การบาบัดโรค (บาบัด โรครวมอย่ใู น 3.4) เป็นผู้ใหบ้ ริการรอง 93112 - อาจเข้าข่ายอยู่ในสถานประกอบการ สขุ ภาพ 8.1 ครัวเรือนส่วนบุคคลที่จัดหาบริการเก่ียวกับการดูแล 9820 สุขภาพใหผ้ รู้ บั บรกิ ารท่ีบ้าน 21001 - - ตรงกับ CPA 21001.7 - คานวณเฉพาะทีใ่ ช้กับคน 8.2 หน่วยงานท่ีจัดหาบริการเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพใน 21001 - - ยกเว้น CPA 21001.7 การประกอบอาชีพโดยไม่แยกสถานที่ให้บริการ - คานวณเฉพาะทใี่ ชก้ ับคน ออกมาต่างหาก เช่น การจัดบริการด้านสุขภาพใน 21002 - 20232 - คานวณเฉพาะการผลติ เวชสาอาง สถานท่ีทางาน โรงเรยี น เรอื นจา หน่วยทหาร เทา่ นนั้ 8.3 กิจกรรมสังคมสงเคราะห์ท่ไี ม่ให้ที่พักแกผ่ ู้สงู อายแุ ละ 8810 ผ้พู ิการ 9 สถานประกอบการเพ่ือสขุ ภาพ 9602 9.1 สปาเพ่อื สุขภาพ 9609 9.2 นวดเพื่อสขุ ภาพหรือเพ่ือเสริมความงาม 9602 9609 9.3 ศูนย์ฟิตเนสและการออกกาลังกายเพื่อฝึกความ 9311 ยดื หยุน่ ของรา่ งกาย 10 การผลิตผลิตภัณฑท์ ่ีใช้รักษาโรค 10.1 การผลิตยารกั ษาและป้องกนั โรค 2100 10.2 การผลิตเภสัชภัณฑ์และเคมีภัณฑ์ที่ใช้รักษาโรคอื่นๆ 2100 (ยกเว้นยารักษาและป้องกันโรค) เช่น สารเคมี ผ้า กอชหรือผ้าพนั แผลที่อาบซึมดว้ ยสารเภสัชภัณฑ์ เปน็ ต้น 10.3 การผลติ ผลติ ภณั ฑจ์ ากพชื และสตั ว์ท่ใี ช้รักษาโรค 2100 10.4 การผลิตเวชสาอาง (Cosmeceuticals) 2023 รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ท่ี 3-13 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
11 การผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีใช้สาหรับสถานประกอบการ เพือ่ สขุ ภาพ 11.1 การผลิตผลติ ภณั ฑส์ าหรับ สปา และการนวด เชน่ น้า 2023 20232 - คานวณเฉพาะการผลิตผลติ ภณั ฑ์ที่ใช้ มนั สปา น้ามนั นวดตัว นา้ มันนวดเท้า น้ามันอโรมา่ ในสปาและการนวดเทา่ นั้น 11.2 การผลติ เครอ่ื งออกกาลังกาย 3230 32309 - คานวณเฉพาะเคร่ืองออกกาลงั กายท่ี ใช้ในฟติ เนสเท่านนั้ 12 กา ร ผลิต เ ครื่อง มือและอุปกรณ์ที่ ใช้ในทาง การแพทย์ 12.1 การผลติ ชุดทีใ่ ชใ้ นการแพทย์ 1410 14111 - คานวณเฉพาะชุดที่ใช้ในการแพทย์ เทา่ นน้ั 12.2 การผลิตส่ิงของเครื่องใช้ด้านสุขอนามัยหรือเภสัช 2219 22193 - กรรมท่ีทาจากยาง 12.3 การผลิตเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าทางการแพทย์และทาง 2660 26600 - กายภาพบาบัด 12.4 การผลติ เลนส์ทีใ่ ชใ้ นเชงิ ทศั นศาสตร์ 2670 26701 - 12.5 การผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์ในทางการแพทย์และ 3250 32501 - คานวณเฉพาะทใี่ ช้กับคน ทางทันตกรรม 32502 13 การขายสง่ และขายปลีกผลิตภณั ฑด์ า้ นสขุ ภาพ 13.1 การขายสง่ สินคา้ ทางเภสชั กรรมและทางการแพทย์ 4649 46441 - 13.2 การขายส่งเคร่ืองมือและอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ในทาง 4659 46599 - คานวณเฉพาะที่ใช้ในทางการแพทย์ การแพทย์ เท่าน้ัน (ที่ใช้ในการแพทย์อยู่ภายใต้ CPA 46599.09) 13.3 ร้านขายปลีกสินค้าทางเภสัชกรรมและเวชภัณฑ์ 4772 47721 HP.5.1 TSIC 47723 คานวณเฉพาะการผลิต รวมถงึ เวชสาอาง 47723 HP.5.9 เวชสาอางเท่านนั้ 13.4 ร้านขายปลีกสินคา้ อ่ืนๆ ด้านสุขภาพ 4773 47731 HP.5.2 คานวณเฉพาะแว่นสายตา และเลนส์ HP.5.9 หรืออปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในทางทศั นศาสตร์ 13.5 รา้ นขายอปุ กรณส์ ปา 4659 46599 - คานวณเฉพาะอุปกรณ์สปา เท่าน้ัน (อุ ป ก รณ์ ดังก ล่า ว อยู่ภาย ใต้ CPA 46599.09) 13.6 ขายส่งและขายปลีกอุปกรณ์ออกกาลังกายและฟิต 4649 46433 - คานวณเฉพาะอุปกรณ์ออกกาลังกาย เนส 4763 47630 และฟิตเนสเท่านั้น 14 การก่อสร้างโรงพยาบาล 4100 41002 - คานวณเฉพาะทกี่ อ่ สร้างโรงพยาบาล 15 การวจิ ยั และพัฒนาดา้ นสุขภาพ 7210 72101 - คานวณเฉพาะท่ีเก่ียวกับด้านสขุ ภาพ 72102 16 การศึกษาด้านสขุ ภาพ คานวณเฉพาะการศึกษาดา้ นสขุ ภาพ 16.1 การศึกษาทางการแพทย์ 8530 85302 - ค า น ว ณ เ ฉ พ า ะ ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง 85303 การแพทย์ 16.2 การฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 8549 85499 - คานวณเฉพาะการฝึกอบรมบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข 16.3 การศึกษาด้านสุขภาพอ่ืนๆ เช่น การสอนอบรมสปา 8549 85495 - คานวณเฉพาะการศกึ ษาด้านสขุ ภาพ และการนวด 85496 หมายเหตุ: ทางคณะผวู้ ิจยั จะองิ รหัส TSIC ในการจัดทาเปน็ หลกั เนอื่ งดว้ ยเหตผุ ลเรอ่ื งความละเอียดของรหสั ทม่ี ากกว่า ISIC และความสมบรู ณ์และความเช่อื มโยงกับฐานขอ้ มูลของไทยในปัจจุบนั 3.2.2 กลมุ่ เปา้ หมาย การดาเนินการเพื่อรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิโดยการสัมภาษณ์เชงิ ลกึ และ/หรือการประชมุ กลมุ่ ย่อย กับ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเกี่ยวกับบัญชบี ริวารด้านสขุ ภาพ เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางและ ประสบการณ์ในการพัฒนาขอบเขตของระบบบัญชี/เก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือใช้ในการจัดทาบัญชี และ รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 3-14 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ความพร้อมของข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการพัฒนาขอบเขต ของระบบบัญชีบรวิ ารด้านสขุ ภาพ มกี ลุม่ เปา้ หมายในการรวบรวม 3 กล่มุ ไดแ้ ก่ กลุ่มเป้าหมายที่ 1 ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะเกีย่ วกับขอบเขตของบัญชบี ริวารด้านสขุ ภาพ ศ.ดร.วรเวศม์ สวุ รรณระดา คณะเศรษฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั นพ.ภษู ิต ประคองสาย (รก.) นายแพทย์ทรงคณุ วฒุ ิ (ดา้ นสง่ เสรมิ สุขภาพ) สานักวิชาการสาธารณสุข สานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ดร. นพ.วโิ รจน์ ตง้ั เจริญเสถยี ร สานกั งานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสขุ นพ.จเด็จ ธรรมธชั อารี รองเลขาธิการสานักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ กลุ่มเป้าหมายท่ี 2 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการสารวจข้อมูลและเก็บรวบรวมข้อมูล สาหรบั ประมวลผลตามขอบเขตของบญั ชีบริวารด้านสุขภาพ สานักงานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม กรมพัฒนาธรุ กจิ การค้า กระทรวงพาณิชย์ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย คณะทางานจดั ทาบญั ชรี ายจ่ายสขุ ภาพแหง่ ชาติ สานกั งานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวา่ งประเทศ กระทรวงสาธารณสุข สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสขุ กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมายที่ 3 ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกบั การจัดทาตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต ภายใต้ขอบเขตของบัญชีบริวารดา้ นสขุ ภาพ ศ.ดร.เออ้ื มพร พชิ ัยสนิธ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ สานกั งานปลดั กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 3.2.3 ผลการรวบรวมขอ้ มูล 3.2.3.1 ความคืบหน้าการสมั ภาษณ์เชิงลกึ มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลังได้ดาเนินการสัมภาษณ์เชิงลึก รวมท้ังการตอบ แบบสอบถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ และหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ และการจัด ประชุมสื่อสารทางไกล รวมทง้ั การสง่ เอกสารแสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะในรปู แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ไฟล์ ทางอีเมลล์ จานวน 7 หน่วยงาน ได้แก่ รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 3-15 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ตารางที่ 3.3 การสัมภาษณ์เชิงลึกเกีย่ วกบั การพฒั นาขอบเขตของระบบบญั ชีบรวิ ารดา้ นสุขภาพ กลุ่มท่ี 1 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับขอบเขตของบญั ชีบริวารด้านสุขภาพ สานักวิชาการสาธารณสุข สานักงานปลัดกระทรวง นพ.ภษู ติ ประคองสาย สาธารณสุข (รก.) นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ (ด้านส่งเสริมสุขภาพ) สานักวิชาการสาธารณสุข สานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสขุ สานกั งานพฒั นานโยบายสุขภาพระหวา่ งประเทศ ดร. นพ.วิโรจน์ ต้งั เจรญิ เสถยี ร ท่ีปรึกษาสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขด้าน ต่างประเทศ และสานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวา่ งประเทศ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.จเดจ็ ธรรมธัชอารี รองเลขาธิการสานักงานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ กลมุ่ ท่ี 2 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะเก่ียวกับการสารวจข้อมูลและเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรบั ประมวลผลตามขอบเขตของบัญชีบรวิ ารด้านสขุ ภาพ คณะทางานจดั ทาบญั ชรี ายจา่ ยสุขภาพแห่งชาติ กอง คณุ ชาฮีดา วิรยิ าทร ยทุ ธศาสตร์และแผนงาน สานักงานพัฒนานโยบาย สุขภาพระหวา่ งประเทศ สานักงานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม กรมพฒั นาธรุ กจิ การค้า ธนาคารแห่งประเทศไทย คุณอังสุปาลี วัชราเกียรติ สว่ นสถิตภิ าคต่างประเทษ ฝา่ ยเศรษฐกจิ มหภาค หมายเหตุ: สถานะเมื่อวันที่ 30 ตลุ าคม 2563 สาระสาคัญทีส่ รปุ ไดจ้ ากการสัมภาษณเ์ ชิงลึก เพือ่ ประกอบการวิเคราะห์เก่ยี วกับการพัฒนาขอบเขต ของระบบบญั ชบี รวิ ารด้านสขุ ภาพ จากผู้ทรงคุณวุฒิและผ้เู ช่ยี วชาญ สามารถสรุปได้ดงั นี้ ประเด็นที่ 1 ขอบเขตของบัญชีบริวารดา้ นสขุ ภาพ - การกาหนดขอบเขตของบัญชีบริวารให้ชัดเจน จะเป็นการกาหนดการเก็บข้อมูลได้อย่างครบถ้วน ต่อไป ซ่ึงอาจจะจาแนกหมวดที่มีความคลุมเครือ (gray zone) โดยพิจารณาจากการใช้จ่ายของหมวดหรือ รายการน้ันเกี่ยวข้องกับด้านสุขภาพโดยตรงหรือไม่ กรณีที่ไม่สามารถจัดหมวดหมู่ในบางรายการได้ ผู้วิจัย สามารถใส่ในหมวดท่ีไม่แน่ใจ โดยกาหนดใหเ้ ปน็ หมวด Health related activities เพิ่มอกี หนึง่ หมวดได้ - หมวดที่ 5 Preventive care ค่อนข้างมีขอบเขตที่กว้าง ควรจะต้องคานึงถึงอัตาความเก่ียวข้อง ทางด้านสุขภาพด้วย (Ratio of health related) โดยการให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องสุขภาพจิต การสวด มนต์ข้ามปีเพ่ือลดการเมาแล้วขับในช่วงปีใหม่ เป็นต้น นอกจากนี้ หมวด Preventive care มีรายการที่เป็น ประเด็นปัญหาอยู่จานวนหนึ่ง ซ่ึงหน่วยงานท่ีจะเก็บข้อมูลนอกจากกระทรวงสาธารณสุข ควรเพิ่มหน่วยงาน เชน่ กระทรวงแรงงาน สานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส.) เปน็ ต้น - หมวดท่ี 1 – 3 ซึ่งปัจจุบันมี wellness center สถานบริบาล/บริการผู้สูงอายุ โดยสถานพยาบาลที่ ไม่ได้ประกาศว่ามีบริการดูแลสุขภาพในกลุ่มผู้มีภาวะพึ่งพิง (Long term care: LTC) การดูแลผู้ป่วยระยะ รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ท่ี 3-16 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
กลาง (Intermediate care) รวมทั้งบริการให้เจ้าหน้าท่ีเย่ียมบ้าน 3 - 4 ชม. หรือการไปเช้าเย็นกลับท่ี ครัวเรือนต้องจา่ ยแก่ผ้บู รกิ ารจะมแี นวโน้มของบรกิ ารในลักษณะนเ้ี พ่ิมข้นึ ในอนาคตสาหรับเขตเมอื ง - บริการสถานสงเคราะห์ ประเภทสถานสงเคราะห์คนชรา และคนไร้ที่พ่ึง ท่อี ยู่ในสงั กดั ของกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ภม.) และภาคเอกชน อาจจะไม่เก่ียวข้องกับด้านสุขภาพโดยตรง แต่บริการของสถานบริการดังกล่าว มีบริการเกี่ยวกับท่ีพักอาศัย อาหาร และการดูแลเม่ือเกิดการเจ็บป่วย รวมท้ังสถานสงเคราะห์เหล่านี้จะดูแลผู้พิการและคนไร้ท่ีพ่ึงไปด้วย หากพิจารณาในเรื่องของสุขภาพวะ หรือ ความเปน็ อยทู่ ีด่ ี (Well-being) กเ็ ป็นประเดน็ ด้านสุขภาพได้เช่นเดยี วกัน - หมวด Health promotion น้ัน ที่มีการรวมกิจกรรม Health promotion และ Disease prevention ไว้ด้วยกัน ที่ยึดตามหลักการทาของบัญชี NHA อย่างไรก็ตาม หมวดหมู่ท่ีมีวัตถุประสงค์ที่ตา่ งกนั และมกี ิจกรรมท่ีตา่ งกัน โดยหน่วยงานที่ทาเก่ียวกับ Health promotion มจี านวนเพ่ิมมากข้ึน และหนว่ ยงาน ท่ีทาเก่ียวกับ disease prevention ก็มีจานวนมากขึ้นเช่นกัน และจะต้องมาทบทวนการเก็บข้อมูลตาม หมวดหมู่และรายการอีกครั้งหน่ึงว่ามีความสอดคล้องต่อสภาพสังคม และบริบทของประเทศไทยท่ี เปล่ียนแปลงไปหรือไม่ เนื่องจากปัจจุบันสภาพสังคมเปล่ียนไปเร็วมาก เช่น การใช้จ่ายผ่านออนไลน์ท่ีเพ่ิมข้ึน อย่างมาก หรอื บรกิ ารสถานบรบิ าลผสู้ งู อายุ/โรคเรื้อรัง ท่ีเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ เช่นเดยี วกัน - หมวด 6 หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการบริหารจัดการดา้ นสาธารณสุข (ยกเวน้ ประกันสขุ ภาพ) สปสช. มีงบสาหรับการบริหารจัดการบุคลากร ประมาณปีละ 1,300 -1,500 ล้านบาท ท่ีเกี่ยวข้องกับงบที่แจกจ่าย ให้กับโรงพยาบาล โดยงบ Administration ควรแจกแจงให้มีรายการของ สปสช. ด้วย เพราะในรายการที่ จัดทามีเฉพาะของ สปส. และสวัสดกิ ารข้าราชการ - หมวด สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ (Fitness) เห็นด้วยหากมีการรวมกิจกรรมการออกกาลงั กาย เน่ืองจาก การดูแลสุขภาพในปัจจุบันไม่ได้มีเฉพาะมิติการเป็นผู้ป่วย แต่เป็นเร่ืองของสุขภาพของคนท่ีแข็งแรง ตามแต่ละกลุ่มวัยต่าง ๆ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพยายามที่จะทาให้ประชาชน healthy/well-being เพื่อ ป้องกันการเจ็บป่วยก่อนวัยอันควร แม้ว่า จะยังไม่มีกฎหมายรองรับ แต่ทางผู้วิจัย ควรจะกาหนดรายการนี้ไว้ ก่อน เพ่ือรองรับแนวโน้มที่จะเพ่ิมขึ้นในอนาคต นอกจากน้ี การนับกิจกรรมการออกกาลังกายที่เป็นการส่งผล ต่อสุขภาพโดยตรง เช่น การเต้นแอโรบิกของท้องถ่ิน และการออกกาลังกายของผู้สูงอายุในตอนเย็นท่ีท้องถ่ิน ต้องจ้างผนู้ าเป็นรายเดือน เป็นตน้ - สาหรับการกาหนดขอบเขตของการลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐาน ในส่วนของสนามออกกาลังกาย เช่น สนามฟตุ บอล สนามบาส เปน็ ต้น เปน็ การกอ่ สรา้ งท่ีไมม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับด้านสุขภาพโดยตรง ซ่งึ ผู้วิจัยสามารถ หมายเหตุ ประกอบการจดั ทาว่าไมร่ วมกจิ กรรมดงั กลา่ วไว้ได้ - หมวด การวจิ ัยและพฒั นาด้านสุขภาพ และการศกึ ษาด้านสุขภาพ คอ่ นข้างมีผู้ท่เี ก่ยี วข้องหลายส่วน โดยเฉพาะในหมวดของการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ นอกจากหน่วยงานหลักของกระทรวงสาธารณสุขท่ี ดูแลด้านวิจัยโดยตรงแล้ว ยังมีหน่วยงานอื่น ๆ เช่น วช. สกสว. และ สสส. เป็นต้น รวมท้ัง สปสช. ที่ได้จัดสรร งบประมาณเพื่อการวิจัยและพัฒนา นอกจากนี้ หน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น World Bank WHO และ ADB มกี ารจัดสรรทันวิจัยด้านสุขภาพใหแ้ ก่ประเทศไทยเชน่ เดยี วกนั - หมวด การส่งและการขายปลีกของผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ หากสามารถพัฒนาการเก็บข้อมูลได้จะเป็น การดีตอ่ การติดตามสภาวะของการใชจ้ ่ายด้านสุขภาพ เน่ืองจาก การเพม่ิ ขึ้นอย่างรวดเรว็ ของการซื้อขายออนไลน์ ที่อาจจะมีมูลค่าสูง หากประสานกับทางสักงานสถิติแห่งชาติในส่วนนี้ จะเป็นประโยชน์ในการติดตามการซื้อขาย ออนไลน์ของผลิตภณั ฑด์ า้ นสุขภาพ รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 3-17 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
- หมวด Pharmaceuticals, medicinal chemical, botanical products and cosmeceuticals มีความเห็นว่า การผลิตวัคซีน จะเป็นการผลิตท่ีสาคัญของด้านยาของไทย ดังน้ัน ควรแยกเป็นรายการเฉพาะ ในการผลิตวคั ซีน และการผลติ เวชสาอาง มกี ิจกรรมอ่ืน ๆ ดว้ ย เชน่ การพฒั นาเทคโนโลยีด้านเวชสาอาง และ การใหบ้ ริการทางการแพทย์ทีเ่ กีย่ วกบั เวชสาอาง เป็นตน้ - กิจกรรมแพทย์แผนไทย จากการส่งเสริมของรัฐบาลท่ีมีการส่งเสริมอุตสาหกรรมยาแพทย์แผนไทย จะมแี นวโนม้ การใชจ้ า่ ยทสี่ งู ขึ้นอยา่ งรวดเร็วและจะเปน็ กิจกรรมทส่ี าคัญดา้ นการแพทย์ของไทยในอนาคต - การนาเข้าบุคลากรทางการแพทย์จะมีแนวโน้มที่เพ่ิมขึ้น เนื่องจาก ความต้องการบริการทาง การแพทยข์ องชาวตา่ งชาตทิ ี่เข้ามารับบริการในประเทศไทยท่สี ูงขึ้น จึงมคี วามจาเปน็ ในความต้องการบุคลากร ที่มีทักษะการส่อื สารกับชาวตา่ งชาติ และทกั ษะอื่นๆ ตามแตค่ วามเชี่ยวชาญของแตล่ ะสถานบรกิ าร - กิจกรรม Health Promotion มแี นวโนท้ ีเ่ พิ่มขึน้ ในอนาคต เน่อื งจาก มิติของดา้ นสขุ ภาพทเ่ี นน้ เรื่อง การดูแลสุขภาพเพ่ิมมากข้ึน และการเพิ่มข้ึนของการใช้อุปกรณ์ติดตามสภาวะร่างกายต่าง ๆ (Medical device) - ในการกาหนดกรอบการจัดทาระบบบัญชีบริวารด้านสุขภาพ เห็นด้วยกับการกาหนดกรอบที่ ครอบคลุมท้ัง 3 มิติ ทั้งด้านการผลิต การบริโภค และรายได้ โดยการจัดทาหมวดหมู่ ควรศึกษาเก่ียวกับการ disruption เพิ่มเตมิ ประกอบการกาหนดขอบเขต หรอื การปรับปรุงในระยะถัดไป ทัง้ ในตลาดของประเทศไทย และตลาดของต่างประเทศ ซึ่งอุตสาหกรรมสุขภาพมีหลายมิติ และมีมิติด้านธุรกิจสุขภาพด้วย ซึ่งบัญชีบริวาร จะมปี ระโยชน์ต่อภาคธรุ กิจดว้ ย ในการประเมินมูลคา่ การลงทุนในอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ ดา้ นสุขภาพ ประเดน็ ที่ 2 การสารวจข้อมลู และเกบ็ รวบรวมข้อมลู สาหรับประมวลผลตามขอบเขตของบัญชีบริวาร ด้านสขุ ภาพ คณะทางานจัดทาบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานพัฒนา นโยบายสุขภาพระหวา่ งประเทศ การจัดทาบัญชีควรอ้างอิงตามกรอบที่กาหนดโดยคู่มือ SHA เป็นหลัก แล้วจึงเพ่ิมเติมในประเด็นท่ี สนใจ เพ่ือความสามารถในการเทียบเคียงกับบญั ชีบรวิ ารดา้ นสุขภาพกบั ต่างประเทศได้ สานักงานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม - การจัดเก็บข้อมูลการผลิต และปัจจัยการผลิตด้านสุขภาพท่ีกระทรวงอุตสาหกรรมจัดเก็บมี รายละเอียดจาแนกตาม TSIC ดงั นี้ ตารางท่ี 3.4 ปัจจัยการผลิตดา้ นสุขภาพท่ีกระทรวงอตุ สาหกรรมจดั เก็บจาแนกตาม TSIC TSIC ผลติ ภัณฑ์ สนิ ค้า/ผลติ ภัณฑ์ ทไ่ี ด้มกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูล 20232 การผลติ นา้ หอม เคร่ืองสาอาง และเครื่องประทนิ โฉม สบแู่ ละเครื่องบารุงผิว ยาสระผม และแปง้ ฝนุ่ 21001 การผลิตเภสชั ภณั ฑแ์ ละเคมภี ณั ฑท์ ี่ใช้รกั ษาโรค ยาเม็ด ยานา้ ยาแคปซูล ยาฉดี ยาครีม และยาผง 22193 การผลติ สง่ิ ของเครื่องใชด้ า้ นสุขอนามยั หรือเภสัชกรรม ถุงมือยางถุงมือตรวจ 32501 การผลติ เคร่ืองมือและอุปกรณใ์ นทางการแพทย์ ชดุ ถา่ ยเลอื ดและให้นา้ เกลือ เข็มฉดี ยา อุปกรณ์ เคร่อื งมอื แพทยอ์ นื่ ๆ และเลนสส์ ายตา ทมี่ า: สานักงานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าที่ 3-18 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
- ข้อมลู การผลติ ด้านสุขภาพท่ีกระทรวงอุตสาหกรรมจดั เก็บในปัจจบุ ัน ไมค่ รอบคลุมทุกโรงงาน เป็นเพียงกลุ่มตวั อย่างท่ี สศอ. ทาการสารวจเพื่อใช้จัดทาดัชนีอุตสาหกรรม โดยมีจานวนโรงงานท่ไี ดจ้ ัดเกบ็ จาแนกตาม TSIC ดงั น้ี ตารางท่ี 3.5 การสารวจเพื่อใช้จัดทาดัชนีอุตสาหกรรมจาแนกตามจานวนโรงงานท่ไี ด้จัดเกบ็ TSIC ผลติ ภัณฑ์ สินค้า/ผลิตภณั ฑ์ ทไ่ี ดม้ กี ารจดั เก็บข้อมูล จานวนบรษิ ทั ท่ีได้ จัดเก็บข้อมลู (โรง) 20232 การผลิตนา้ หอม เครื่องสาอาง สบแู่ ละเคร่ืองบารงุ ผวิ ยาสระผม และแป้งฝนุ่ และเคร่ืองประทนิ โฉม 35 21001 การผลติ เภสัชภัณฑแ์ ละ ยาเม็ด ยานา้ ยาแคปซลู ยาฉีด ยาครีม และยาผง 69 เคมภี ัณฑท์ ่ใี ช้รักษาโรค 17 22193 การผลติ สิ่งของเครอ่ื งใชด้ า้ น ถงุ มือยางถุงมอื ตรวจ สุขอนามยั หรือเภสชั กรรม 30 32501 การผลติ เครื่องมือและ ชุดถ่ายเลอื ดและใหน้ า้ เกลอื เข็มฉีดยา อุปกรณ์ อุปกรณใ์ นทางการแพทย์ เครือ่ งมือแพทย์อ่นื ๆ และเลนสส์ ายตา ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม - จากเอกสารแนบท้ังภาพตาราง การผลิตสินคา้ ท่ีทางมูลนิธิ สวค. ได้จาแนกประเภทไว้ ตั้งแต่ 10-12 ฐานข้อมูลของกระทรวงอุตสาหกรรมในปัจจุบัน สศอ. มีรายละเอียดข้อมูลตามการจาแนกประเภท ของ สวค. ตัง้ แต่ 10-12 ดงั ช่องหมายเหตุ ตารางที่ 3.6 รายละเอียดข้อมลู ตามการจาแนกประเภทของบัญชีบริวารด้านสุขภาพตาม ฐานข้อมูลของกระทรวงอุตสาหกรรมในปัจจบุ ัน หมายเหตุ No. Description ISIC TSIC ข้อมลู ท่ี สศอ. มกี ารจัดเกบ็ 10 การผลิตผลติ ภณั ฑ์ท่ใี ชร้ กั ษาโรค 10.1 การผลิตยารกั ษาและป้องกนั โรค 2100 21001 ยาเม็ด ยานา้ ยาแคปซลู ยาฉีด ยาครีม และยาผง 10.2 การผลติ เภสชั ภณั ฑแ์ ละเคมีภัณฑท์ ใ่ี ช้รกั ษาโรคอื่นๆ 2100 21001 - (ยกเว้น ยารักษาและป้องกนั โรค) เชน่ สารเคมี ผ้า กอชหรอื ผา้ พันแผลทอ่ี าบซึมดว้ ยสารเภสชั ภัณฑ์ เปน็ ตน้ 10.3 การผลิตผลติ ภัณฑ์จากพชื และสตั วท์ ี่ใชร้ กั ษาโรค 2100 21002 - 10.4 การผลิตเวชสาอาง 2023 20232 สบู่และเคร่ืองบารงุ ผวิ ยาสระผม และแปง้ ฝนุ่ 11 การผลติ ผลิตภณั ฑท์ ใ่ี ชส้ าหรบั สถานประกอบการเพอื่ สขุ ภาพ 11.1 การผลิตผลิตภัณฑส์ าหรับสปา และการนวด เชน่ นา้ 2023 20232 - มันสปา นา้ มนั นวดตัว นา้ มันนวดเท้า นา้ มนั อโรมา่ รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 3-19 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
No. Description ISIC หมายเหตุ TSIC ข้อมลู ที่ สศอ. 11.2 การผลิตเครือ่ งออกกาลงั กาย 3230 มีการจัดเกบ็ 12 การผลติ เครื่องมือและอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในทางการแพทย์ 32309 - 12.1 การผลิตชุดทใ่ี ชใ้ นการแพทย์ 1410 14111 - 22193 ถงุ มือยาง ถงุ มือตรวจ 12.2 การผลติ ส่ิงของเครอื่ งใชด้ ้านสุขอนมัยหรือเภสัชกรรม 2219 26600 - ทีท่ าจากยาง 26701 - 12.3 การผลติ อปุ กรณ์ไฟฟา้ ทางการแพทยแ์ ละ 2660 32501 ชุดถ่ายเลอื ดและ 32502 ให้น้าเกลอื เข็มฉีดยา กายภาพบาบดั อปุ กรณ์เครื่องมือแพทย์ 12.4 การผลติ เลนสท์ ี่ใชเ้ ชงิ ทัศนศาสตร์ 2670 อ่ืน ๆ และเลนส์สายตา 12.5 การผลิตเครื่องมอื และอปุ กรณใ์ นทางการแพทย์และ 3250 ทางทนั ตกรรม ท่ีมา: สานักงานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม กรมพฒั นาธุรกิจการคา้ - ข้อมูลการผลิตหรือยอดขายด้านสุขภาพของไทยท่ีกรมพัฒนาธุรกิจการค้าจัดเก็บในปัจจุบัน มี การบริหารจัดการข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ในด้านที่เกี่ยวข้องกับยอดขายของกรม พัฒนาธุรกิจการค้า ในด้านที่เก่ียวข้องกับยอดขายลักษณะข้อมูลของกรมท่ีเก่ียวข้องจะอยู่ใน รปู แบบขอ้ มลู “รายได”้ ของนิติบุคคลทม่ี ีการจัดทาและท่ีมกี ารนาสง่ งบการเงนิ ประจาปกี บั กรมฯ ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 โดยนิติบุคคลเลือกประเภทธุรกิจจากรหัสธรุ กิจ (TSIC) (5 หลัก) ที่กรมกาหนดไว้ในระบบการนาส่งงบการเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (DBD e-Filing) ซ่ึง บริษัทท่ีอยู่ในรูปแบบนิติบุคคลท่ีจดทะเบียนกับกรมจะสามารถค้นหาข้อมูลนิติบุคคลผ่านระบบ DBD Data Warehouse ท่ีเวปไซต์กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ในส่วนข้อมูลการผลิตกรมพัฒนา ธรุ กิจการคา้ ไมม่ กี ารเก็บขอ้ มลู ในสว่ นดังกล่าว - การบริการจัดการฐานข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าในทุกประเภทของสินค้าและบริการ กรม จัดเก็บฐานข้อมูลภายใต้หลักการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม (TSIC) ของกรมจัดหางาน กระทรวงแรงงาน เป็นเกณฑ์ในการกาหนดรหัสธุรกิจ ซ่ึงการจาแนกสาขาได้แบ่งตามโครงสร้างและ รายละเอียดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในรายละเอียดหมวดใหญ่ A - U ตามรหัสประเภทธุรกิจของ นิติบุคคลในส่วนของการจดทะเบียนนิติบุคคลและการนาส่งงบการเงิน ซ่ึงให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน สามารถเปรียบเทียบข้อมลู ระหว่างหนว่ ยงานต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ทั้งน้ี การใช้รหัสธรุ กจิ ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าในขอบเขตกจิ กรรมภายใต้บัญชีบรวิ ารด้าน สุขภาพมขี อ้ สงั เกต ดงั น้ี รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 3-20 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ตารางที่ 3.7 รายละเอียดข้อมลู ตามการจาแนกประเภทของบัญชีบริวารดา้ นสุขภาพตามการบริหาร จดั การขอ้ มลู กรมพัฒนาธุรกจิ การค้า ลาดับตาม รายละเอียด TSIC การบริหารจัดการขอ้ มูล ลาดับ บญั ชีบริวาร กรมพัฒนาธรุ กจิ การคา้ ดา้ นสขุ ภาพ 1 5 ห น่ ว ย ง า น ท่ี จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร 84122 ไม่มีรหัสธุรกิจในฐานข้อมูล สาธารณสุข เพ่ือบริการควบคุมโรค ตัง้ แต่ ม.ค. 62 และบริการสร้างเสริมสุขภาพของ ประชาชน 2 6.2 ประกันสงั คมภาคบงั คบั 84300 ไม่มีรหัสธุรกิจในฐานข้อมูล ต้ังแต่ ม.ค. 62 3 8.1 ค รัว เ รือ น ส่ว น บุค ค ล ที่จัด ห า 98200 ไม่มีรหัสธุรกิจในฐานข้อมูล บริการเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ตง้ั แต่ ม.ค. 62 ให้ผู้รับบริการที่บ้าน 4 13.5 รา้ นขายอุปกรณส์ ปา 46599 ผลิตภณั ฑ์เกยี่ วกบั สปา 46443 ขายสง่ 47723 ขายปลีก 5 16.2 การฝึกอบรมบุคลากรทางการ 85499 82301 การประชมุ และสมั มนา แพทยแ์ ละสาธารณสุข ทีม่ า: กองข้อมูลธรุ กิจ กรมพัฒนาธรุ กจิ การค้า - การจัดเก็บข้อมูลเพิ่มเติมตามการรายละเอียดจาแนกประเภทของบัญชีบริวารด้านสุขภาพ มี ขอ้ จากัดหรือมอี ุปสรรค เนอ่ื งจาก ข้อมลู การจดทะเบยี นนิติบคุ คลและข้อมูลงบการเงินของบุคคล ในฐานขอ้ มูล ที่ทางกรมไดร้ บั ขอ้ มูลจากทางนิติบุคคล โดยนติ ิบุคคลเปน็ ผู้ให้ข้อมูลกก่ รมไม่ว่าจะเป็นประเภทธรุ กิจตอนจัดต้ัง และตอนส่งงบการเงิน ซ่ึงกิจกรรมทางธุรกิจและบริการในลักษณะเดียวกัน หรือคล้ายกันอาจมีการใส่ รายละเอียดรหัสธุรกิจท่ีไม่เหมือนกัน ทาให้เป็นข้อจากัดในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยควรระวังและให้ ความสาคัญกับการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐาน เพ่ือการนาไปใช้ประโยชน์และสามารถเชื่อมโยง แลกเปล่ียนขอ้ มูลระหว่างหน่วยงานใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป ธนาคารแห่งประเทศไทย - ข้อมูลนาเข้าและส่งออกบริการที่ทางธนาคารแห่งประเทศไทยมีการจัดเก็บ มีลักษณะเป็นข้อมูล รายรับ และรายจ่าย ดังนี้ o ด้านรายรับ: ใชข้ ้อมลู ที่ ธปท. สารวจคา่ บริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยตา่ งประเทศ ซงึ่ ธปท. สารวจจากรพ. 47 แห่งท่ัวประเทศเป็นรายปี (แบบสารวจ 22 : การให้บริการ รกั ษาพยาบาลผู้ป่วยที่มีถ่นิ ท่ีอยู่ในตา่ งประเทศ) โดยรพ. จาแนกข้อมลู เปน็ รายไตรมาส รายละเอียดดังนี้ 1) รายรับค่าบริการฯ และจานวนผู้ป่วย จาแนกเป็นผู้ป่วยเป็นผู้ป่วยใน (In- patient) และผูป้ ว่ ยนอก (Out-patient) (ตารางที่ 3.8) รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 3-21 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
2) รายรับค่าบริการฯ จาแนกตามประเทศถิ่นที่อยู่ (Residency) กรณีท่ีรพ. จาแนกตามประเทศถน่ิ ทอ่ี ยู่ไม่ได้ จงึ ให้จาแนกตามสัญชาติ (Nationality) แทน (ตารางท่ี 3.9) เน่ืองจากข้อมูลจากการสารวจ จะมีความล่าช้าประมาณ 8-9 เดือน ธปท. จึงมีการประมาณการข้อมูลในส่วนนี้เพื่อใช้งานในเบื้องต้นก่อน (preliminary data) โดยอาศัยข้อมูลจากระบบการรายงานข้อมูลธุรกรรม ต่างประเทศ (ระบบ International Transaction Reporting System: ITRS ซ่ึงรายงานโดยธนาคารพาณิชย์) และรายงานการใช้บัตรเครดิตของชาวต่างชาติ ในวัตถปุ ระสงคเ์ ก่ียวกบั การรักษาพยาบาล o ดา้ นรายจ่าย: ใช้ข้อมลู จาก 1) ระบบ ITRS 2) ธุรกรรมการใช้บัตรเครดิตของผู้ป่วยไทยในต่างประเทศ ในวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ การรักษาพยาบาล ตารางท่ี 3.8 รายรับค่าบริการฯ และจานวนผปู้ ว่ ยตามแบบสารวจการให้บรกิ ารรักษาพยาบาลผปู้ ่วยที่มี ถิ่นท่อี ย่ใู นต่างประเทศของธนาคารแหง่ ประเทศไทย ที่มา: ส่วนสถติ ิภาคต่างประเทศ ฝา่ ยเศรษฐกิจมหภาค ธนาคารแห่งประเทศไทย ตารางท่ี 3.9 รายรับคา่ บริการฯ ตามแบบสารวจการใหบ้ ริการรกั ษาพยาบาลผ้ปู ่วยที่มถี ่นิ ทอ่ี ยใู่ น ตา่ งประเทศของธนาคารแห่งประเทศไทย ทม่ี า: ส่วนสถิตภิ าคตา่ งประเทศ ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค ธนาคารแหง่ ประเทศไทย หมายเหตุ: ธปท. อิงเกณฑ์การจัดทาสถิติตามมาตรฐานสากลในการจัดทาสถิติดุลการชาระเงิน ดังน้ัน สาหรับ ด้านรายรับ ธปท. จึงจัดเก็บเฉพาะการรับบริการของผู้ป่วยต่างชาติท่ีเดินทางเข้ามายังประเทศไทยโดยมี รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 3-22 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
วัตถุประสงค์หลักเพื่อรับการรักษาพยาบาลเท่าน้ัน ไม่นับรวมต่างชาติที่อยู่อาศัยในประเทศไทยตั้งแต่ 1 ปีข้ึนไป (เชน่ ชาวตา่ งชาติที่บรษิ ัทแมส่ ง่ เข้ามาประจาการในสาขาในประเทศไทย โดยมีวาระตัง้ แต่ 1 ปขี ึน้ ไป เป็นต้น) - ขอ้ มลู นาเข้าและส่งออกบริการของไทยด้านสุขภาพในปัจจุบนั o ด้านรายรับ: การสารวจครอบคลุมรพ. ท่ีมีผู้ป่วยต่างชาติเดินทางเข้ามารับบริการจานวน มาก 47 แห่งทั่วประเทศ แม้จะครอบคลุมผู้ให้บริการหลัก แต่ยังสามารถปรับปรุงคุ้มรวม ได้อีกในอนาคต หากขยายผู้รายงานให้ครอบคลุมรพ. อ่ืนๆ / คลินิก หรือสถานท่ีให้บริการ เกีย่ วกับสุขภาพอื่นๆ ด้วย o ด้านรายจ่าย: ไม่ทราบ Population ท่ีแท้จริงของจานวนผู้ป่วยไทยท่ีไปรักษาใน ต่างประเทศทั้งหมด ในเบื้องต้นประเมินว่ามีความเป็นไปได้ท่ียัง underestimate มูลค่า การรับบริการทแี่ ทจ้ ริงอยู่ - การจาแนกประเภทบริการของบัญชีบริวารด้านสุขภาพ มีขอบเขตท่ีกว้างกว่าข้อมูลที่ ธปท. จัดทา ภายใตบ้ ริบทของดุลการชาระเงิน โดยสว่ นของบรกิ ารสาธารณสุขภายในประเทศน่าจะมีมลู ค่าสูงมากกว่า บริการระหว่างประเทศอยู่มาก และมีความเก่ียวโยงกับหลายภาคส่วน ธปท. เห็นว่าจะเป็นประโยชน์ อย่างยิ่งหากสวค. หารือกับสศช. (ในฐานะผู้จัดทาข้อมูล GDP ของประเทศ) และสสช. (ในฐานะ ผู้เช่ียวชาญด้านการออกแบบ/จัดทาสามะโนและการสารวจข้อมูลสถิติ) เพ่ือบูรณาการการดาเนินงาน ลด ความซา้ ซอ้ น และลดภาระการรายงานข้อมูลของรพ./ผใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณสุข นอกจากนี้ สานักงานสถิติแห่งชาติ และกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ ได้ให้ความเห็น เก่ียวกับแนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลด้านเศรษฐกิจสุขภาพเพิ่มเติม เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดทาบัญชี บริวารดา้ นสขุ ภาพ โดยมปี ระเด็นสาคัญ ดงั น้ี แนวทางในการสารวจข้อมลู ในปัจจุบนั ของสานักงานสถติ ิแห่งชาติ มีเป้าหมายในการสารวจข้อมลู ท่ี ไม่มีในระบบข้อมลู ทะเบียนของหนว่ ยงานต่าง ๆ เพ่ือลดความซ้าซ้อนในการจัดทาข้อมลู และ จาแนกตามรหัส TSIC 5 หลัก ประสบการณ์การสารวจและสามะโนข้อมลู เกีย่ วกบั ด้านสาธารณสุข o การทางานร่วมกันกับหน่วยงานท่ีต้องการใช้ข้อมูล (user) เช่น สานักงานพัฒนานโยบาย สขุ ภาพระหวา่ งประเทศ (IHPP) เป็นตน้ o สานักงานสถิติแห่งชาติจะมีรายงานการนับจด (Listing) สถานพยาบาล จานวน 300 แห่ง ซึ่งจาแนกตามขนาดเตยี ง o การสามะโนขอ้ มูลของแต่ละอุตสาหกรรมจะจดั ทาทุก 5 ปี o การสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (SES) หมวด คา่ เวชภณั ฑ์และค่าตรวจรักษาพยาบาล โดยมรี หสั ในการบันทึก สูงสุด 4 หลัก เช่น ค่าซ้ือยาและเวชภัณฑ์ ยาสมุนไพรหรือยาแผนโบราณ และค่า รักษาพยาบาล เปน็ ต้น รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 3-23 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงสรา้ งบัญชีบรวิ าร ดา้ นสขุ ภาพของประเทศไทย
4 ข้อเสนอโครงสร้างบญั ชบี รวิ าร ดา้ นสขุ ภาพของประเทศไทย เนื้อหาในส่วนนี้เป็นการนาเสนอข้อเสนอในการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพของประเทศไทย โดยแบ่งการนาเสนอออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) โครงสร้างบัญชีบริวารด้านสุขภาพของประเทศไทย และ 2) กรอบข้อมูลท่ีจาเป็นในการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ โดยเน้ือหาจะเน้นไปท่ีการนาเข้า และการส่งออกดา้ นสุขภาพทเ่ี ป็นวตั ถุประสงค์ของการศึกษาระยะน้ีเป็นสาคญั ซ่ึงมรี ายละเอยี ดดังนี้ 4.1 แผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพ บัญชีประชาชาติสากลกาหนดให้สามารถจัดทาบัญชีบริวาร (Satellite Accounts) เพ่ือแสดง รายละเอยี ดกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ตามประเภทกจิ กรรมเศรษฐกจิ (Economic Functions) ซ่ึงเกดิ ข้นึ ในหน่วย ทางเศรษฐกิจ (Institute) เพ่ือให้กาหนดนโยบายและการวางแผนพัฒนาในสาขาที่สาคัญและได้รับ ความสนใจสาหรบั ประเทศนั้น ๆ บัญชบี ริวารจึงชว่ ยเสริมประสทิ ธิภาพการใชข้ ้อมูลบัญชีประชาชาตใิ หส้ ะท้อน ภาพที่ครอบคลุมมากขึ้น โดยบัญชีบริวารด้านสุขภาพ (Health Satellite Accounts) เป็นบัญชีประชาชาติ แบบบัญชีบริวารท่ีมีการลงบันทึกบัญชีตามภารกิจด้านสุขภาพในหลายอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวข้อง ครอบคลุมทั้ง การผลิต การบริโภคสินค้าและบริการสุขภาพทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ (ถาวร สกุลพาณิชย์ et al., 2559) ทั้งน้ี บัญชีบริวารด้านสุขภาพจะครอบคลุมภาคเศรษฐกิจอื่นที่มีผลผลิตทางสุขภาพซ่ึงในบัญชี ประชาชาติหลักจะกาหนดให้อยู่ในภาคเศรษฐกิจอ่ืน ทาให้สามารถเป็นกรอบข้อมูลสถิติท่ีสอดคล้องกับการ รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ 4-1 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
สร้างแบบจาลองทางการคลังและแบบจาลองทางเศรษฐศาสตร์สาหรับคาดการณ์ผลกระทบทางการคลัง สขุ ภาพและเศรษฐศาสตรส์ ขุ ภาพได้ กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขมีภารกิจในการเสนอนโยบาย พัฒนาเคร่ืองมือ กลไก วางแผน หรือแก้ไขปัญหาด้านการคลังสุขภาพและเศรษฐกิจสุขภาพ รวมทั้งการจัดทา และให้บริการข้อมูลข่าวสารสารสนเทศเพื่อการบริหารเชิงนโยบายในระบบการคลังสุขภาพและเศรษฐกิจ สุขภาพ ซ่ึงจาเป็นต้องมีแผนแม่บทการพัฒนาระบบเศรษฐกิจสุขภาพเพ่ือช่วยผลักดันให้เกิดการพัฒนาข้อมูล และสถิติจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งการผลิตและค่าใช้จ่ายในภาคสุขภาพ (Health Sector) สร้างบัญชีบริวารด้าน สุขภาพ (Health Satellite Account) วิเคราะห์สถานการณ์ แนวโน้ม การเปล่ียนแปลง เพ่ือคาดการณ์ ผลกระทบในอนาคตที่เชื่อมโยงกบั บญั ชีประชาชาชาติ และระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ ที่ผ่านมา ประเทศไทยได้มีการพัฒนาบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติข้ึนโดยประยุกต์หลักการจัดทา ระบบบัญชีสุขภาพของประเทศในกลุ่มองค์การเพ่ือความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Cooperation and Development – OECD ซ่ึงจัดเก็บข้อมูลเพียงค่าใช้จ่ายสุขภาพสาหรับ การบริโภคภายในประเทศและการนาเข้า อย่างไรก็ตาม ในการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ (Health Satellite Accounts) จาเป็นจะต้องมีความครอบคลุมถึง 3 กลุ่มบัญชีหลั ก ได้แก่ บัญชีค่าใช้จ่าย (Expenditure Account) บัญชีการผลิต (Production Account) และบัญชีรายได้ (Income Account) รวมถงึ 2 บัญชเี สรมิ ไดแ้ ก่ บญั ชสี ะสม (Accumulation Account) และขอ้ มลู ไม่ใช่การเงิน (Non-Monetary Data) ดังน้ัน กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพจึงได้ร่วมกับมูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจ การคลัง (มูลนิธิ สวค.) ในการจัดทาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสุขภาพ เพ่ือพัฒนาระบบข้อมูล และสถิติดา้ นเศรษฐกิจสุขภาพอยา่ งบูรณาการ และเปน็ ระบบ อันจะเป็นฐานสาคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์และการบริการสุขภาพ ซ่ึงส่งผลต่อมูลค่าระบบเศรษฐกิจสุขภาพของประเทศโดยรวม โดย ภายใต้แผนแมบ่ ทดงั กล่าว ไดก้ าหนดแผนการดาเนนิ งานออกเปน็ 3 ระยะ ดังนี้ ระยะท่ี 1 การพัฒนาระบบข้อมูล สถิติด้านเศรษฐกิจสุขภาพ และการกาหนดโครงสร้างของบัญชี บริวารด้านสุขภาพ (Health Satellite Accounts): โดยมีระยะเวลาดาเนินการอย่างน้อย 1 - 2 ปี การดาเนินการในระยะนี้มีความครอบคลุมการจัดทาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสุขภาพ เพ่ือ กาหนดกิจกรรม และผลท่ีคาดว่าจะได้รับจากการดาเนินการในแต่ละช่วงเวลา ก่อนที่จะบรรลุตามเป้าหมาย ของการพัฒนาระบบบัญชีบริวารด้านสาธารณสุขเพ่ือสนับสนุนการทางานของกระทรวงสาธารณสุขอย่างมี ประสิทธิภาพ เพ่ือใช้เป็นกรอบอ้างอิงในการทางาน ศึกษาสถานการณ์และออกแบบระบบให้ข้อมูล ภาคอุตสาหกรรมสุขภาพที่เป็นไปตามสภาวการณ์ปัจจุบัน และสามารถสนับสนุนทิศทางการทางานเชิง นโยบายด้านอุตสาหกรรมสุขภาพและการพัฒนาระบบสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข รวมท้ังเป็น เครอ่ื งมอื และแนวทางในการพัฒนาระบบเศรษฐกจิ สุขภาพ การดาเนินการในระยะที่ 1 นี้ มีความครอบคุลมการพัฒนาโครงสร้าง รูปแบบมาตรฐานของระบบ ฐานข้อมูลสถิติด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพ (โครงสร้างของระบบบัญชบี ริวารด้านสุขภาพ) การกาหนดรูปแบบข้อมูล ที่พงึ ประสงค์ รวมท้งั การรวบรวมข้อมูลที่เก่ยี วข้อง และหนว่ ยงานที่มีการดาเนนิ การที่เกีย่ วข้องในปัจจบุ ัน เพ่ือ ระบุข้อมูลที่จะต้องมีการจัดทาเพิ่มเติม รวมท้ังหน่วยงานท่ีมีความจาเป็นในการดาเนินการสนับสนุนการสร้าง ฐานข้อมูลให้เกิดขึ้น นอกจากน้ี ยงั ครอบคลมุ การการสารวจและจัดเกบ็ ข้อมลู สาหรบั เตรยี มพร้อมในการจัดทา บญั ชบี รวิ ารด้านสุขภาพในระยะต่อไป รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าท่ี 4-2 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ระยะที่ 2 การจัดทาบัญชีบรวิ ารด้านสุขภาพ และพัฒนาแบบจาลองเศรษฐกิจสุขภาพ: ระยะเวลา ดาเนินการอย่างน้อย 1 - 2 ปี โดยการดาเนินการในระยะน้ีมีความครอบคลุมการดาเนินการศึกษาประเมิน ข้อมูลท่ีสามารถรวบรวมได้ในปัจจุบัน รวมทั้งดาเนินการรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมท้ังโดยการประสานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ (Health Satellite Accounts) และการพัฒนา ศักยภาพในการประมาณการท่ีเก่ียวกับด้านการใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศ โดยการขยายขอบเขตการ ประมาณการเกี่ยวกับการใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศที่มีอยใู่ นปัจจุบันไปสกู่ ารพิจารณาเก่ียวกับการนาเข้า และส่งออกทีเกีย่ วกบั สขุ ภาพของประเทศ (การจัดทาแบบจาลองเศรษฐศาสตร์ทเี่ กยี่ วกบั การนาเขา้ และส่งออก ของเศรษฐกิจสุขภาพ) เพ่ือทาให้สามารถสะท้อนภาพรวมของการใช้จ่ายเพ่ือสุขภาพของประเทศได้มากขึ้น รวมท้ังเพ่ือยกระดับ/ ศักยภาพในการประมาณการด้านการใช้จ่ายด้านสุขภาพที่มีอยู่เพ่ือให้เชื่อมโยงไปสู่การ วเิ คราะห์ และดาเนินการสนับสนุนด้านนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และของประเทศได้มากขึน้ ระยะท่ี 3 การจัดทารายงาน และการวิเคราะห์เปรียบเทียบและพิจารณาผลกระทบเชิงนโยบาย ด้านเศรษฐกิจสุขภาพ: ระยะเวลาดาเนินการอย่างน้อย 1 - 2 ปี โดยการดาเนินการในระยะนี้มีความ ครอบคลุมการใช้ข้อมลู ที่ได้จากการดาเนินงานในระยะที่ 1 และ 2 เพอ่ื ดาเนนิ การดงั นี้ (1) การปรับปรุงบัญชีบริวารด้านสุขภาพที่ได้จัดทาขึ้นในระยะท่ี 1-2 ทั้งในด้านคุณภาพของข้อมูล (เช่น ความละเอียด และความถูกต้อง) และความสม่าเสมอของการจัดทาข้อมูลที่เป็นส่วนประกอบของบัญชี บริวารฯ ท้ังท่ีมีการดาเนินการรวบรวมโดยหน่วยงานภาคีต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องในการจัดทาบัญชีบริวาร และที่ ตอ้ งมกี ารดาเนินการเองโดยกองเศรษฐกจิ สขุ ภาพและหลักประกนั สุขภาพ (เชน่ การสารวจภาคสนาม และการ ใชแ้ บบสอบถามรวบรวมขอ้ มูลเปน็ รายปี เป็นตน้ ) (2) การจัดทาระบบการรายงานท่ีมีความต่อเนื่องที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจการคลังสุขภาพ และ อุตสาหกรรมสุขภาพ ท้ังเพ่ือเผยแพร่แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและผู้ท่ีสนใจตามพันธกิจของกองเศรษฐกิจสุขภาพ และหลักประกนั สขุ ภาพ (3) การพัฒนาศักยภาพของเคร่ืองมือแบบจาลองที่ใช้ในการสนับสนุนการวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจ สขุ ภาพ และอุตสาหกรรมสขุ ภาพ ทัง้ ในเชงิ เปรียบเทยี บ การประมาณการตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง และวเิ คราะห์เชิง นโยบาย เพื่อสนบั สนนุ การจัดทาขอ้ เสนอด้านนโยบายสาธารณสขุ และด้านสขุ ภาพทเ่ี ก่ยี วข้อง ภาพรวมของแผนการดาเนนิ การแผนแมบ่ ทด้านเศรษฐกิจสุขภาพ ปรากฏในแผนภาพท่ี 4.1 รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 4-3 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
แผนภาพที่ 4.1 แผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สุขภาพ (แผนการดาเนนิ การพฒั นาบญั ชีบรวิ ารด้านสขุ ภาพ) ทม่ี า: มูลนธิ ิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกจิ การคลัง (2561) รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 4-4 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ตารางที่ 4.1 แผนการดาเนนิ การแ การดาเนินงาน เปา้ หมาย กิจกรรม ระยะท่ี 1 - ระบบขอ้ มลู สถติ ดิ ้านเศรษฐกจิ สุขภาพ และ - จัดทาแผนแม่บทดา้ น การพัฒนาระบบ ข้อมูล สถิตดิ า้ น โครงสร้างของบัญชีบริวารดา้ นสุขภาพ เศรษฐกิจสุขภาพ เศรษฐกิจสขุ ภาพ และการกาหนด - พฒั นาโครงสร้าง รูปแ โครงสร้างของบัญชี บริวารดา้ นสขุ ภาพ มาตรฐานของระบบ (Health Satellite Account) ฐานขอ้ มูลสถติ ดิ ้านเศรษ ระยะที่ 2 สุขภาพ การจัดทาบญั ชี บรวิ ารดา้ นสขุ ภาพ - กาหนดรูปแบบขอ้ มลู ท และพัฒนา แบบจาลอง ประสงค์ รวมท้งั รวบรว เศรษฐกจิ สุขภาพ ขอ้ มูลทเ่ี กยี่ วข้อง - บญั ชีบริวารดา้ นสุขภาพ และแบบจาลองเศรษฐกิจ - พัฒนาบญั ชีบริวารดา้ น สขุ ภาพ สุขภาพและพฒั นาศกั ย ในการประมาณการที่ เกย่ี วกับด้านการใชจ้ ่าย สขุ ภาพของประเทศไทย พจิ ารณาถึงการนาเข้าแ ส่งออก รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษา
แผนแม่บทด้านเศรษฐกิจสุขภาพ ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 - พฒั นาระบบข้อมลู สถติ ดิ ้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพ - โครงบัญชีบรวิ ารดา้ นสุขภาพ แบบ ษฐกจิ ทพ่ี งึ วม น - บัญชีบริวารด้าน - บัญชบี ริวารด้าน ยภาพ สุขภาพ สุขภาพ - แบบจาลองนาเขา้ / - I-O table ยดา้ น ส่งออก - GDP Health ยโดย - แบบจาลอง และ วเิ คราะหร์ ะบบ เศรษฐกิจ : I-O Model าสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะที่ 1 หนา้ ท่ี 4-5
การดาเนินงาน เปา้ หมาย กิจกรรม ระยะที่ 3 - รายงานการวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบผลกระทบเชิง - ปรับปรงุ บญั ชีบรวิ ารทจ่ี การจดั ทารายงาน นโยบายเดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพ ข้ึนท้ังในระยะที่ 1 และ 2 และการวเิ คราะห์ - จัดทาระบบการรายงา เปรยี บเทยี บและ ความตอ่ เนอื่ งทเี่ กี่ยวกบั พิจารณาผลกระทบ เศรษฐกิจการคลงั สขุ ภา เชงิ นโยบายด้าน และอตุ สาหกรรมสุขภา เศรษฐกิจสขุ ภาพ - พฒั นาศกั ยภาพของ เครอ่ื งมอื แบบจาลองทใี่ การสนับสนุนการวเิ ครา ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพแล อตุ สาหกรรมสขุ ภาพท้งั เชิงเปรียบเทยี บ การ ประมาณการตา่ ง ๆ แล วิเคราะหเ์ ชงิ นโยบายเพ สนับสนนุ การจัดทาข้อเ ดา้ นนโยบายสาธารณสขุ ดา้ นสุขภาพทเ่ี กยี่ วขอ้ ง รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษา
ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 จดั ทา - บัญชีบริวาร - บัญชีบรวิ าร - บญั ชบี ริวาร - รายงาน และ 2 ด้านสุขภาพ I-O ด้านสุขภาพ I-O ดา้ นสุขภาพ I-O วิเคราะห์ านทม่ี ี table GDP table GDP table GDP เปรียบเทยี บและ บ Health Health Health พจิ ารณา าพ - แบบจาลอง - แบบจาลอง - แบบจาลอง ผลกระทบเชิง าพ วเิ คราะหร์ ะบบ วเิ คราะหร์ ะบบ วเิ คราะหร์ ะบบ นโยบายดา้ น เศรษฐกจิ : เศรษฐกิจ : CGE เศรษฐกิจ : เศรษฐกจิ สุขภาพ ใช้ใน Partial Model CGE Model าะห์ Equilibrium - รายงาน และ - รายงาน และ และ Model วิเคราะห์ วเิ คราะห์ งใน - รายงาน และ เปรียบเทยี บและ เปรยี บเทยี บ วิเคราะห์ พิจารณา และพิจารณา ละ เปรียบเทยี บ ผลกระทบเชงิ ผลกระทบเชิง พื่อ และพิจารณา นโยบายดา้ น นโยบายดา้ น เสนอ ผลกระทบเชงิ เศรษฐกจิ สุขภาพ เศรษฐกจิ ขและ นโยบายดา้ น สุขภาพ เศรษฐกิจ สขุ ภาพ าสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 หนา้ ท่ี 4-6
4.2 การจัดทาบัญชบี รวิ ารดา้ นสขุ ภาพของประเทศไทย 4.2.1 แนวคิดและหลักการในการจดั ทา บญั ชบี รวิ ารด้านสขุ ภาพ (Health Satellite Account) หมายถงึ การบนั ทกึ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจที่มี วัตถุประสงค์หลักเพ่ือสุขภาพ ท่ีไหลเวียนในหน่ึงรอบระยะเวลาท่ีกาหนดระหว่างหน่วยเศรษฐกิจต่าง ๆ ของประเทศ อันประกอบด้วย การผลิตสินค้าและบริการดา้ นสุขภาพ การได้มาของรายได้นั่นคือ ผลตอบแทน ปัจจัยการผลิตท่ีเกิดขึ้นจากการผลิตสินค้าและบริการดังกล่าว การใช้จ่ายซื้อสินค้าและบริการด้านสุขภาพ ของครวั เรอื นและรฐั บาล และการใชจ้ า่ ยลงทุนหรอื สะสมทุนท่ีเกดิ ขึน้ ไดแ้ ก่ รายจา่ ยหมวดครุภณั ฑ์ คา่ ซือ้ ทีด่ ิน คา่ ก่อสร้างส่ิงปลกู สรา้ ง สถานพยาบาล ในภาคสาธารณสขุ รวมถึงธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างภาคเศรษฐกิจ ในประเทศและตา่ งประเทศ การประมวลผลภายใต้บัญชีบริวารด้านสุขภาพจะมีท้ังหมด 3 ด้าน ตามการจัดทาบัญชีประชาชาติ (National Account) ได้แก่ ด้านการผลิต (Production) ด้านรายจ่าย (Expenditure) และด้านรายได้ (Income) ซ่ึงทง้ั 3 ดา้ นจะตอ้ งประมวลผลมลู คา่ ท่ีเปน็ ตัวเงิน (Money term) และจะต้องเทา่ กันหรือใกล้เคียง กัน กรณีที่ใกล้เคียงกันการท่ีจะเลือกด้านใดด้านหนึ่งเป็นหลักจะข้ึนอยู่กับความถูกต้องและสมบูรณ์ของข้อมูล ในแต่ละดา้ น บัญชีบริวารด้านสุขภาพจะพิจารณาบนพื้นฐาน 3 แกนหลักตามการจัดทาบัญชีรายจ่ายสุขภาพ (A System of Health Account: SHA2011) ได้แก่ การบรโิ ภค (Consumption) การให้บริการ (Provision) และการจัดหาแหล่งเงิน (Financing) เพื่อให้สามารถตอบคาถามที่สาคัญ 3 ประเด็น ได้แก่ 1) ใครเป็นผู้จ่าย 2) ใครเปน็ ผผู้ ลติ และผลติ อะไร และ 3) ผลจากการใช้จา่ ยนนั้ เปน็ อย่างไรและใครเป็นผู้รบั ผลประโยชน์ หลกั การในการจดั ทาบัญชบี ริวารดา้ นสุขภาพ มีดงั น้ี 1. การจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพรายปี ข้อมูลจะต้องมีความสอดคล้องและเป็นไปในทิศทาง เดยี วกนั กับข้อมูลบญั ชีประชาชาติของประเทศ 2. การจัดทาบญั ชีบรวิ ารดา้ นสุขภาพจะต้องได้รบั ข้อมลู ที่มรี ายละเอียดและมีความครบถ้วนสมบูรณ์ เ พี ย ง พ อ ที่ ส า ม า ร ถ น า ไ ป ศึ ก ษ า แ ล ะ วิ เ ค ร า ะ ห์ เ พ่ื อ ส า ม า ร ถ ต อ บ โ จ ท ย์ ต า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ของกระทรวงสาธารณสุขและหนว่ ยงานทีเก่ยี วข้องได้ตรงตามจดุ มุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 3. วิธีการจาแนกประเภทที่เป็นลักษณะเฉพาะของบัญชีบริวารด้านสุขภาพที่จัดทาขึ้นจะต้อง เชอ่ื มโยงกับวิธีการจาแนกประเภทของกรอบแนวคิดของระบบบัญชีประชาชาติ 4. การจัดทาบญั ชบี รวิ ารดา้ นสขุ ภาพสามารถแสดงข้อมูลที่ไมใ่ ช่ตัวเงนิ ทเ่ี ชื่อมโยงกบั ข้อมลู ตวั เงนิ 5. การบันทึกข้อมูลในบัญชีบริวารด้านสุขภาพ ต้องยึดหลักการการลงบัญชี Double Entry Accounting หรือ Quadruple Entry Accounting เพ่ือให้เกิดความสมดุลในผลรวมของฝ่ัง ทรัพยากร (resource) เทา่ กับผลรวมของฝั่งการใช้ (use) 6. การจดั ทาบญั ชบี รวิ ารดา้ นสขุ ภาพในแต่ละปี จะจัดทาเป็นปปี ฏิทิน เพ่อื ใหส้ อดคล้องกบั การจัดทา บัญชีประชาชาติและความเหมาะสมสาหรับการวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างประเทศ (ปัจจุบัน บญั ชรี ายจา่ ยสขุ ภาพแห่งชาตขิ องประเทศไทยใช้ปงี บประมาณเฉพาะข้อมลู ท่ีมาจากภาครฐั ) รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 4-7 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
7. การบันทึกบัญชีจะเป็นในลักษณะคงค้าง (Accrual Basis) น่ันคือ การบันทึกบัญชีโดยคานึงถึง รายได้ที่พึงรับและค่าใช้จ่ายที่พึงจ่าย เพื่อให้แสดงผลการดาเนนิ งานของแต่ละรอบระยะบญั ชนี ้ัน อยา่ งเหมาะสม โดยไมค่ านงึ ว่าจะไดร้ ับหรอื จา่ ยในรูปแบบของเงินสด 8. การประเมินมูลค่าในรายการต่าง ๆ จะใช้วิธีเดียวกันกับบัญชีประชาชาติ และบัญชี ดลุ การชาระเงิน กล่าวคือด้านรายจ่ายให้ใช้ราคาผซู้ อื้ (purchasers’ price) เปน็ ตัววัดมลู คา่ ส่วน ดา้ นการผลิตให้ใชร้ าคาพืน้ ฐาน (basic price) เป็นตวั วดั มลู คา่ ในกรณีการวดั ค่าสนิ คา้ และบรกิ าร ท่ีเป็นการผลิตเพื่อไว้ใช้บริโภคเอง หรือสินค้าที่ไม่มีการซื้อขายกันในตลาด หรือไม่มีราคาตลาด การประเมนิ มลู ค่าดังกล่าวให้ใชร้ าคาทุนหรือต้นทุนที่ได้ใช้ไปในการผลติ สนิ ค้าและบริการดังกล่าว นั้นขึ้นมาหรืออิงกับราคาตลาดของสินค้าหรือบริการท่ีคล้ายคลึงกัน โดยการประเมินขึ้นอยู่กับ ความสมบรู ณข์ องขอ้ มลู 4.2.2 โครงสร้างบัญชีบริวารด้านสุขภาพ จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ ในบทที่ 2 และการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิที่เก่ียวข้องในบทที่ 3 ทางมูลนิธิ สวค. ได้จัดทาโครงสร้างของระบบ บญั ชบี ริวารดา้ นสขุ ภาพโดยมีรายละเอียดดงั แผนภาพท่ี 4.2 แผนภาพท่ี 4.2 โครงสรา้ งของระบบบัญชีบริวารด้านสุขภาพ Expenditure Account Production Account Income Account Financing Health Provision Wage & Salary Operation Surplus Public Agencies Finance Intermediate Value Added Private Agencies (Profit + Rent + Interest) Rest of the World (Domestic + Import) Consumption of Fixed Capital Consumption Domestic Health Supply (User/Beneficiaries) Taxes and Subsidies + Import Net Mixed Income Intermediate Consumption Household Consumption Health Supply Non Monetary Data Capital Formation Accumulation Account Employment Other Factors Government Consumption Capital Financial (Ex. #beds, #establishments, Export Other Changes in Assets #equipment, etc. Health Demand Supply ท่ีมา: จดั ทาโดยคณะผวู้ ิจยั หมายเหตุ: แผนภาพน้ีได้มกี ารปรบั ปรุงจากแผนภาพที่ 3.1 จากการท่ีไดร้ วบรวมขอ้ มลู ปฐมภมู ิทเ่ี กย่ี วขอ้ งในบทที่ 3 รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 4-8 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
จากแผนภาพข้างต้น โครงสร้างระบบบัญชีบริวารด้านสุขภาพท่ีเป็นข้อเสนอจะมี 3 กลุ่มบัญชีหลักให้ มีความสอดคล้องกับบัญชีประชาชาติของประเทศไทย ได้แก่ บัญชีค่าใช้จ่าย (Expenditure Account) บัญชีการผลิต (Production Account) และบัญชีรายได้ (Income Account) รวมถึง 2 บัญชีเสริม ได้แก่ บัญชีสะสม (Accumulation Account) และข้อมูลไม่ใช่การเงิน (Non-Monetary Data) โดยจุดเริ่มต้น ของกระ แส มูล ค่ าจ ะ เร่ิ มจ า ก กา รใช้ จ่า ย ข อ งหน่ วยจ่ าย แ ทน ไ ปสู่ ผู้ผลิ ตสิน ค้ า /ผู้ ให้ บริ ก าร ด้า นสุ ข ภ า พ จากน้ันผู้ผลิต/ผู้ให้บริการจะทาการผลิตสินค้าและบริการด้านสุขภาพ และนาไปกระจายให้กับผู้ใช้หรือผู้รับ ผลประโยชน์ ซงึ่ แต่ละบญั ชีมีรายละเอียดดงั น้ี บัญชีค่าใช้จ่าย (Expenditure Account) แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก คือ บัญชีค่าใช้จ่าย จาแนกตามหน่วยจ่ายแทน (Financing Agents) ที่มีทั้งภาครัฐ (เช่น กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการคลัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) และภาคเอกชน (เช่น ครัวเรือน ผู้ให้บริการประกันภัย องค์กรเอกชนไม่แสวงหา กาไร) รวมถึงภาคตา่ งประเทศ ไปให้กับผู้ผลิตสินค้า/ผู้ให้บริการด้านสขุ ภาพที่จาแนกตามกิจกรรมดา้ นสขุ ภาพ ส่วนท่ีสอง คือ บัญชีค่าใช้จ่ายจาแนกตามผู้รับผลประโยชน์หรือผู้บริโภค (Users/Beneficiaries) ซึ่งสะท้อน อุปสงค์ด้านสุขภาพ (Health Demand) โดยจะมีการใช้จ่ายเพ่ือการบริโภคข้ันกลางของผู้ให้บริการ ด้านสุขภาพ (Intermediate Consumption) การใช้จ่ายเพ่ือการบริโภคข้ันสุดท้ายของรัฐบาลและครัวเรือน (Government and Household Consumption) และการใช้จ่ายเพ่ือการสะสมทุนด้านสุขภาพ (Capital Formation) รวมถงึ การใช้จา่ ยด้านสขุ ภาพของภาคต่างประเทศผ่านการส่งออก (Export) บัญชีการผลิต (Production Account) เป็นบัญชีท่ีมาจากฝ่ังอุปทานด้านสุขภาพ ซึ่งจะแสดง รายละเอียดของการผลิตสินค้าและบริการด้านสุขภาพของแต่ละกิจกรรมการผลิตภายในประเทศ (Domestic Supply) โดยใช้ปัจจัยการผลิตทั้งข้ันต้น (Primary Inputs) และขั้นกลาง (Intermediate Inputs) ซ่ึงการ คานวณอุปทานด้านสุขภาพทั้งหมด (Total Supply) ต้องรวมการนาเข้า (Import) สินค้าและบริการด้าน สขุ ภาพดว้ ย บัญชีรายได้ (Income Account) เป็นบัญชีท่ีอยู่ในส่วนหนึ่งของบัญชีการผลิต ท่ีสะท้อนถึง มูลค่าเพ่ิมหรือแหล่งท่ีมาของรายได้ เช่น ค่าตอบแทนแรงงาน (Employee Compensation) ภาษีทางอ้อม สทุ ธิ (ภาษีหักเงนิ อดุ หนนุ ) ค่าส่วนเกนิ ของผปู้ ระกอบการ (Operating Surplus) เป็นต้น บัญชีสะสม (Accumulation Account) เป็นบัญชีที่แสดงถึงการเปล่ียนแปลงใน stock ของสินทรัพย์โดยแบง่ การเปล่ียนแปลงออกเป็น 1) การเปลยี่ นแปลงในปริมาณสนิ ทรัพย์ซึง่ แบ่งไดเ้ ป็นสองส่วน คือ ส่วนของสินทรัพย์ท่ีไม่ใช่เงิน (Capital) เช่น ท่ีดิน เคร่ืองจักร เป็นต้น และส่วนของสินทรัพย์ทางการเงิน หรือมีลักษณะคล้ายเงิน (Financial) เช่น เงินฝากธนาคาร เป็นต้น และ 2) การเปล่ียนแปลงในสินทรัพย์จาก เหตุอ่ืนท่ีไม่ใช่จากการลงทุน ได้แก่ ราคาสินทรัพย์ (Revaluation) ซ่ึงทาให้มูลค่าสินทรัพย์เปลี่ยนแปลงไป และการเปลีย่ นแปลงจากเหตุการณ์ทม่ี ีผลทาให้มลู ค่าสินทรัพย์มีการเปลีย่ นแปลงอย่างผิดปกติ นอกจากนี้บัญชีบรวิ ารทดี่ คี วรมกี ารเพมิ่ เตมิ ข้อมลู ท่ไี มใ่ ชก่ ารเงิน (Non-Monetary Data) ท่ีมีความ เชื่อมโยงกับข้อมูลการเงินภายในบัญชีบริวาร ยกตัวอย่างเช่น ในส่วนของตลาดแรงงาน ที่ให้ข้อมูลจานวน แรงงานตามประเภทแรงงาน ซ่งึ จะเปน็ ประโยชน์ต่อการวเิ คราะห์กาลังคนด้านสุขภาพ และจดั สรรงบประมาณ ให้แก่บุคลากร รวมถึงข้อมูลปัจจัยการผลิตอื่นๆ ในเชิงจานวน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ เช่น จานวนเตียง จานวนสถานพยาบาล อปุ กรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ท่ี 4-9 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
การดลุ (Balance) ภายใตโ้ ครงสร้างดงั กล่าวสามารถแสดงไดด้ ังตารางตอ่ ไปนี้ ตารางที่ 4.2 การดุลกันระหว่างการใชจ้ า่ ยของหน่วยจ่ายแทนกบั การผลิต ของผู้ผลิตสนิ คา้ และบรกิ ารด้านสุขภาพ Resources Uses from Public Agencies Intermediate Input (Domestic + Import) from Private Agencies from Rest of the World Value Added Import Total Finance Total Supply ตารางท่ี 4.3 การดลุ กนั ระหว่างการผลติ ของผู้ผลิตสินคา้ และบริการด้านสุขภาพกบั การใชจ้ ่าย หรือการไดร้ บั ผลประโยชน์ของผู้ทไี่ ด้รับสนิ คา้ และบรกิ ารด้านสุขภาพ Resources Uses Intermediate Input (Domestic + Import) Intermediate Consumption Final Consumption of Households Value Added Final Consumption of Government Import Gross Capital Formation Total Supply Export Total Demand ตารางท่ี 4.4 การดลุ กันระหวา่ งมูลค่าเพ่ิมกับแหล่งท่ีมาของรายได้ Resources Uses Value Added Employee Compensation Taxes on Production and Imports Subsidies (-) Consumption of Fixed Capital Operating Surplus Net Mixed Income รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ 4-10 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
4.2.3 นิยาม ขอบเขตและการจาแนกประเภท 1) การผลิต (Production) 1.1) นิยาม (Definition) ผลผลิตด้านสุขภาพ หมายถึง ผลผลิตที่ได้จากกิจกรรมการผลิตสินค้าและการให้บริการด้านสุขภาพ แก่มนุษย์ท่ีมีความเก่ียวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟู สมรรถภาพ และการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค ของหน่วยงานทางเศรษฐกจิ ท้งั หมด ผู้ผลิตสินค้าและบริการด้านสุขภาพ หมายถึง ผู้ให้บริการด้านสุขภาพและผู้ผลิตและจัดจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ เช่น โรงพยาบาล สถานพักฟ้ืน สถานพยาบาล สานักงานทางการแพทย์และศัลยกรรม และสถาบนั ท่ีคลา้ ยคลึงกนั ตวั แทนจัดจาหน่ายสินคา้ โรงงานผลิตสินคา้ เป็นตน้ 1.2) การจาแนกประเภท (Classification) การกาหนดขอบเขตภายใต้บัญชีบริวารด้านสุขภาพเป็นสิ่งสาคัญสาหรับการจัดทาบัญชีบริวารด้าน สุขภาพ เน่ืองจากการกาหนดดังกล่าวสามารถส่งผลต่อมูลค่าและการนาเสนอข้อมูลภายในบัญชีบริวาร โดยงานศึกษาน้ีได้กาหนดขอบเขตของกิจกรรมด้านสขุ ภาพท่ีอยู่ภายใต้บัญชีบริวารด้านสุขภาพไว้คือ กิจกรรม การผลิตสินค้าและการให้บริการด้านสุขภาพแก่มนุษย์ท่ีมีความเก่ียวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุม ป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค ของหน่วยงานทางเศรษฐกิจ ท้ังหมด จากขอบเขตดังกล่าว และการทบทวนงานศึกษาอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ ระบบบัญชีสุขภาพแห่งชาติ (A System of Health Account) ของ OECD, บัญชีบริวารสุขภาพ (Satellite Health Account) ของ Pan American Health Organization (2005) และนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ และกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับด้าน สขุ ภาพของไทย ปร ะเ ภ ทผู้ ผ ลิ ต ภ า ยใ ต้ บัญ ชีบริ วา ร ด้ า น สุ ขภ า พ ที่กา ห น ด จ ะป ร ะกอบ ด้ ว ย ผู้ ผ ลิ ต ใน กิจ กร ร ม ดั ง แผนภาพที่ 4.3 รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 4-11 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
แผนภาพท่ี 4.3 ขอบเขตและการจาแนกประ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษา
ะเภทกจิ กรรมภายใต้บญั ชีบริวารดา้ นสุขภาพ าสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 หนา้ ท่ี 4-12
รายละเอยี ดแต่ละหมวดมีดงั นี้ หมวด 1 โรงพยาบาล (Hospitals) ประกอบด้วย โรงพยาบาลท่ัวไป ท่ีให้บริการตรวจวินิจฉัยและ รักษาโรคทว่ั ไป ไมเ่ ฉพาะเจาะจงโรคใดโรคหนึ่งแก่ผ้ปู ว่ ยในเปน็ หลัก โรงพยาบาลจติ เวชและบาบัดรกั ษาผูต้ ิดสิ่ง เสพติด โรคพยาบาลเฉพาะทาง ที่ให้บริการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคเฉพาะแก่ผู้ป่วยในเป็นหลัก เช่น โรงพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเช้ือ โรงพยาบาลแม่และเด็ก โรงพยาบาลผู้เป็นโรคเร้ือรัง โรงพยาบาลโรคทรวงอก รวมถึงโรงพยาบาลทันตกรรม หมวด 2 สถานพยาบาล บ้านพัก หรือสถานพักฟ้ืน (Residential long-term care facilities) ประกอบด้วย สถานบริการด้านการพยาบาลที่ให้ที่พักแก่ผู้ป่วย คนชรา และบุคคลอื่นๆ โดยให้การดูแล รักษาพยาบาลเป็นหลัก เช่น บ้านพักคนชราท่ีให้บริการพยาบาล สถานพักฟื้นสาหรับผู้ป่วย สถานบริการดูแล ผู้ป่วย เป็นต้น สถานบริการท่ีให้การรักษาผู้ติดสุราเร้ือรังและผู้ติดยาเสพติด และบ้านพักหรือสถานพักฟ้ืน เฉพาะผูส้ ูงอายุและผพู้ ิการ หมวด 3 คลนิ ิกและศูนย์บรกิ ารทางการแพทย์ (Ambulatory health care) ประกอบด้วย คลนิ กิ โรคท่ัวไป คลินิกหรือศูนย์ทันตกรรม คลินิกแพทย์แผนโบราณที่รักษาด้วยสมุนไพร คลินิกโรคเฉพาะทาง เช่น คลินิกจิตวิทยา คลินิกรักษาเพ่ือการสืบพันธุ์ คลินิกศัลยกรรมตกแต่ง คลินิกเสริมความงาม การให้คาปรึกษา เกยี่ วกับศลั ยกรรม ศนู ยว์ างแผนครอบครัว คลนิ กิ หรือศนู ยบ์ ริการที่ใหบ้ ริการดูแลสุขภาพโดยตรงแก่คนไข้นอก อื่นๆ เช่น พยาบาลและผดุงครรภ์ กายภาพบาบัดการให้บริการดูแลสุขภาพคนไข้ที่บ้าน (Home Care) และ กจิ กรรมสังคมสงเคราะห์ท่ไี มใ่ หท้ ีพ่ ักแก่ผสู้ ูงอายุ และผพู้ ิการ หมวด 4 ผู้ให้บริการเสริม (Ancillary services) ประกอบด้วย ผู้ให้บริการขนส่งผู้ป่วยและความ ช่วยเหลือฉุกเฉิน ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ได้แก่ กิจกรรมของห้องปฏิบัติการวิเคราะห์เลือด กิจกรรมท่ี เกยี่ วข้องกับรงั สวี ินิจฉัย ทีไ่ มม่ ีการวเิ คราะห์และแปลผลทางการแพทย์ เชน่ การตรวจด้วยเคร่อื งสนามแม่เหล็ก แรงสูง (MRI) เอก็ ซเรย์ อัลตราซาวนด์ ฯลฯ ท่ีดาเนินการโดยบุคคลท่ีไดร้ บั อนุญาตที่นอกเหนือจากแพทย์ หมวด 5 หน่วยงานที่จัดทาโครงการสาธารณสุข เพื่อบริการควบคุมโรคและบริการสร้างเสริม สุขภาพของประชาชน (Preventive care) ประกอบด้วย สถาบนั ด้านสาธารณสุข และอาชวี เวชศาสตร์หรือ หน่วยงานสุขาภิบาลท่ีมีกิจกรรมหลักเก่ียวกับบริการป้องกันสุขภาพประเภทต่าง ๆ (ควบคุม สร้างเสริม สุขภาพ) หมวด 6 หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการบริหารจัดการด้านสาธารณสุข (Health care system administration and financing) ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้องในการบริหารจัดการ สาธารณสุข การประกันสังคมภาคบังคับ สวัสดิการที่จัดโดยนายจ้าง การบริหารราชการสาหรับการบริการ สุขภาพ การบริหารจัดการ การดาเนินการ การตรวจตรา และการสนับสนุนโรงพยาบาลและคลินิกทางการ แพทยห์ รือทนั ตกรรมทง้ั ท่ัวไปและเฉพาะทาง รวมถงึ สถานพยาบาลและสถานพกั ฟ้นื หมวด 7 ประกันภัยภาคเอกชนท่ีเก่ียวกับสุขภาพ (Private insurance) ประกอบด้วย บริษัท ประกันสขุ ภาพเอกชน และบรษิ ัทประกนั ภยั ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผ้ปู ระสบภยั จากรถยนต์ หมวด 8 หน่วยงานอ่ืนๆ ที่ให้การบริการด้านสุขภาพเสมือนเป็นผู้ให้บริการรอง (Other health care providers) ประกอบด้วย ครัวเรือนส่วนบุคคลท่ีจัดหาบริการเก่ียวกับการดูแลสุขภาพให้ผู้รับบริการที่ บ้าน หน่วยท่ีทาหน้าที่จัดหาบริการเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในการประกอบอาชีพโดยไม่แยกสถานที่ให้บรกิ าร รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 4-13 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ออกมาต่างหาก เช่น การจัดบริการด้านสุขภาพในสถานที่ทางาน โรงเรียน เรือนจา หน่วยทหาร และกิจกรรม สงั คมสงเคราะหท์ ไี่ ม่ให้ทพี่ ักแก่ผู้สงู อายแุ ละผู้พิการ หมวด 9 การผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีใช้รักษาโรค (Pharmaceuticals, Medical Chemical, Botanical Products) ประกอบด้วย การผลิตยารักษาหรือป้องกันโรค ได้แก่ แอนติซีราและส่วนประกอบอ่ืนๆ ของเลือด วัคซีน และยารักษาหรือป้องกันโรคชนิดต่าง ๆ รวมถึงสิ่งปรุงแตง่ เพ่ือการรักษา วิตามิน อาหารเสริม การผลิต สาลีท่ีมียารักษา ผ้ากอซ ผ้าพันแผล ของท่ีใช้แต่งแผล เป็นต้น ผลิตภัณฑ์จากพืชและสัตว์เพ่ือใช้ในทางเภสัช กรรม เช่น ยาสมนุ ไพร (ยาพื้นเมือง ยานา้ สมนุ ไพร ยาสมุนไพรไทย ฯลฯ) และยาทท่ี าจากอวัยวะสัตว์ หมวด 10 การผลิตผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ (Other Medical Products) ประกอบด้วย การผลิตเสื้อคลุมที่ใช้ในทางการแพทย์ การผลิตส่ิงของเคร่ืองใช้ดา้ นสุขอนามัยหรอื เภสัชกรรมท่ี ทาจากยาง เชน่ ถงุ ยางอนามยั ถุงน้ารอ้ น ถุงมือแพทย์ (ยาง) จกุ นม ฯลฯ การผลิตเครื่องฉายรังสี เครอื่ งไฟฟ้า ทางการแพทย์และทางกายภาพบาบัด การผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์ในทางการแพทย์ และการผลิตเคร่ืองมอื และอุปกรณใ์ นทางทนั ตกรรม หมวด 11 ธุรกจิ สปาและนวดเพื่อสุขภาพ (Spa & Massage) ประกอบดว้ ย สปาและการนวด ตาม พ.ร.บ. สถานประกอบการสุขภาพ พ.ศ. 2559 สปาและการนวดเพ่ือสร้างความผ่อนคลายท้ังร่างกายและจิตใจ ไม่รวมการให้บริการของโรงแรม รีสอรท์ หรือทพ่ี ักระยะสั้นอื่นๆ สปาท่ีบาบัดสุขภาพ และการนวดทบ่ี าบัดโรค (สปาที่บาบัดสุขภาพ และการนวดที่บาบัดโรค ถือว่ารวมอยู่ใน หมวด 3) และศูนย์ฟิตเนสและการออกกาลัง กายเพือ่ ฝกึ ความยืดหยุ่นของรา่ งกาย ยกเว้น การสอนดา้ นการกีฬาโดยครูหรอื ผ้ฝู ึกสอนอิสระ หมวด 12 ศูนย์ฟิตเนส (Fitness Center) ประกอบด้วย การดาเนินงานของศูนย์ฟิตเนสและการ ออกกาลงั กายและเพอ่ื ฝกึ การยืดหย่นุ ของรา่ งกาย หมวด 13 การผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับสุขภาพ (Other Health Product) ประกอบด้วย การผลิตน้าหอม เครื่องสาอาง และเคร่ืองประทินโฉม (เฉพาะผลิตภัณฑ์ดูแลผิว เครื่องสาอาง) การผลิตผลิตภัณฑ์สาหรบั สปา และการนวด เช่น น้ามันสปา น้ามันนวดตัว น้ามันนวดเท้า น้ามันอโรมา การ ผลิตอุปกรณ์กีฬากลางแจ้งและในร่ม อุปกรณ์สาหรับโรงยิม และการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้านสุขภาพ เช่น นาฬกิ าสุขภาพเป็นต้น หมวด 14 การขายส่งและขายปลีกผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ (Retail & Wholesale of health products) ประกอบด้วย การขายส่งสินค้าทางเภสัชกรรมและทางการแพทย์ ขายส่งเครื่องมือและอุปกรณ์ ไฟฟ้าท่ีใช้ในทางการแพทย์ ร้านขายปลีกสินค้าทางเภสัชกรรมและเวชภัณฑ์ ร้านขายปลีกเครื่องสาอางและ เคร่อื งประทินโฉม รา้ นขายอปุ กรณ์สปา และรา้ นขายอปุ กรณ์กฬี า หมวด 15 การวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ (Research and development in health) ประกอบด้วย การวิจัยและการพัฒนาเชิงทดลองด้านวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ เช่น การรักษาโรค สุขอนามัยใน การป้องกันโรค เภสัชศาสตร์ ฯลฯ และการวิจัยและพัฒนาเชิงทดลองด้านเทคโนโลยีชีวภาพที่เก่ียวกับด้าน สขุ ภาพ หมวด 16 การศึกษาด้านสุขภาพ (Education in health) ประกอบด้วยการศึกษาทางการแพทย์ การฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสขุ และการศึกษาด้านสุขภาพอื่นๆ เช่น การสอนอบรมสปา และการนวด รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าท่ี 4-14 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
สาหรบั ในแง่ผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการท่ีผู้ผลติ ผลิตได้จะมีการจาแนกท่ลี ะเอียดลึกกว่าการจาแนกประเภท ของผู้ผลิต เพ่ือแสดงข้อมูลมูลค่าตลาดแต่ละผลิตภัณฑ์และบริการของประเทศไทย โดยการจาแนก มรี ายละเอียดดังตารางท่ี 4.5 ตารางท่ี 4.5 การจาแนกประเภทผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารภายใต้บัญชีบริวารสุขภาพ No. หมวด 1 โรงพยาบาล (Hospitals) 1.1 โรงพยาบาลทว่ั ไป (General hospitals) 1.2 โรงพยาบาลจติ เวชและบาบดั รักษาผูต้ ดิ สิง่ เสพตดิ (Mental health hospitals) 1.3 โรงพยาบาลเฉพาะทาง (Specialised hospitals) 2 สถานพยาบาล บ้านพกั หรือสถานพักฟน้ื (Residential long-term care facilities) 2.1 สถานพยาบาล ซึ่งอานวยความสะดวกและพยาบาลแก่คนไข้ในระยะยาวประกอบด้วยการให้บริการพยาบาลการ ดูแลและเฝ้าระวงั และบริการอน่ื ๆที่คนไข้ตอ้ งการ 2.2 สถานพกั ฟื้นผู้ปว่ ยจติ เวชและผู้ติดสิง่ เสพติด (Mental health and substance abuse facilities) 2.3 สถานพยาบาล บ้านพักหรือสถานพักฟื้นอ่ืนๆ (Other residential long-term care facilities) เฉพาะผู้สูงอายุ และผูพ้ กิ าร 3 คลินิก, ศูนย์บริการท่ีให้บริการดูแลสุขภาพโดยตรงแก่คนไข้นอกโรงพยาบาล และการดูแลฟ้ืนฟูคนไข้และ บริการดูแลผ้ปู ว่ ยท่บี า้ น (Ambulatory health care) 3.1 คลินกิ หรือศูนย์บรกิ ารโรคทว่ั ไป 3.2 คลินกิ แพทย์แผนโบราณท่รี กั ษาด้วยสมนุ ไพร 3.3 คลนิ ิกจติ วิทยา 3.4 คลนิ กิ ศลั ยกรรมตกแตง่ และคลินกิ เสรมิ ความงาม 3.5 คลนิ ิกหรือศนู ยบ์ รกิ ารโรคเฉพาะทางอ่นื ๆ 3.6 คลนิ ิกหรือศนู ย์ทนั ตกรรม (Dental practices) 3.7 คลนิ กิ หรือศูนยบ์ ริการทใี่ ห้บริการดูแลสขุ ภาพโดยตรงแก่คนไข้นอกอื่นๆ 3.8 คลนิ ิกหรอื ศนู ย์บรกิ ารให้บริการดแู ลสขุ ภาพคนไข้ทบ่ี ้าน (Home Care) 4 ผู้ใหบ้ ริการเสริม (Ancillary services) 4.1 ผู้ใหบ้ รกิ ารขนสง่ ผปู้ ว่ ยและความช่วยเหลือฉกุ เฉนิ 4.2 คลนิ ิกหรือศูนย์บริการตรวจวินจิ ฉยั โรคโดยห้องทดลองหรอื ห้องแลป 4.3 ผใู้ หบ้ ริการเสริมอน่ื ๆ 5 หน่วยงานที่จัดทาโครงการสาธารณสุข เพ่อื บริการควบคุมโรคและบริการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน 6 หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องกบั การบรหิ ารจดั การดา้ นสาธารณสุข (ยกเวน้ ประกนั สขุ ภาพ) 6.1 หน่วยงานภาครัฐท่เี กี่ยวข้องในการบริหารจัดการกาหนดนโยบาย มาตรการ และกจิ กรรมด้านสาธารณสุข 6.2 ประกนั สังคมภาคบงั คบั 6.3 หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การบรหิ ารดา้ นสุขภาพ (ทีน่ อกเหนือจากการประกนั สังคม และการประกนั สขุ ภาพเอกชน) เช่น สวัสดกิ ารทีจ่ ดั โดยนายจา้ ง (ลูกจ้างเบิกค่ารกั ษาพยาบาลจากนายจ้าง) 7 ประกันภยั ภาคเอกชนทเ่ี กี่ยวกบั สขุ ภาพ 8 หนว่ ยงานอน่ื ๆ ทีใ่ หก้ ารบริการด้านสขุ ภาพเสมือนเปน็ ผใู้ ห้บริการรอง 8.1 ครวั เรือนสว่ นบคุ คลที่จดั หาบรกิ ารเกย่ี วกับการดูแลสขุ ภาพให้ผู้รับบรกิ ารทบ่ี ้าน 8.2 หน่วยงานทจี่ ัดหาบรกิ ารเก่ยี วกับการดแู ลสุขภาพในการประกอบอาชีพโดยไม่แยกสถานท่ีให้บรกิ ารออกมาตา่ งหาก เช่น การจัดบริการดา้ นสุขภาพในสถานทท่ี างาน โรงเรยี น เรือนจา หนว่ ยทหาร 8.3 กจิ กรรมสงั คมสงเคราะหท์ ไ่ี มใ่ หท้ พ่ี ักแกผ่ สู้ งู อายุและผู้พิการ รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าที่ 4-15 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
No. หมวด 9 การผลิตผลิตภณั ฑท์ ใ่ี ช้รักษาโรค 9.1 ยารักษาโรค 9.2 วิตามิน อาหารเสรมิ 9.3 วัคซีน 9.4 ผลติ ภัณฑจ์ ากพชื และสตั ว์ท่ใี ชร้ กั ษาโรค (ยาสมนุ ไพร) 9.5 ผลติ เภสชั ภณั ฑแ์ ละเคมภี ัณฑอ์ นื่ ๆ ท่ใี ชร้ ักษาโรค 10 การผลติ ผลติ ภัณฑ์อื่นๆ ท่ีเกยี่ วข้องกบั การแพทย์ 10.1 การผลิตเสื้อคลุมที่ใช้ในทางการแพทย์ 10.2 การผลติ ส่งิ ของเครื่องใช้ดา้ นสุขอนามยั หรอื เภสชั กรรมที่ทาจากยาง 10.3 การผลิตเครอื่ งฉายรังสี เครอื่ งไฟฟา้ ทางการแพทยแ์ ละทางกายภาพบาบัด 10.4 การผลิตเครอ่ื งมอื และอปุ กรณใ์ นทางการแพทย์ 10.5 การผลติ เครือ่ งมือและอปุ กรณใ์ นทางทันตกรรม 11 ธุรกจิ สปาและนวดเพอ่ื สขุ ภาพ (Spa & Massage) 12 ศนู ยฟ์ ติ เนส 13 การผลิตผลติ ภัณฑ์อืน่ ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งกับสุขภาพ 13.1 การผลติ ผลิตภัณฑเ์ สรมิ ความงาม 13.2 การผลิตผลติ ภัณฑ์สาหรบั สปา และการนวด เช่น น้ามนั สปา นา้ มนั นวดตัว น้ามันนวดเทา้ นา้ มันอโรมา่ 13.3 การผลติ อุปกรณ์กีฬา 13.4 การผลิตอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสด์ า้ นสุขภาพ เช่น นาฬกิ าสขุ ภาพ 14 การขายส่งและขายปลีกผลิตภณั ฑด์ ้านสุขภาพ 14.1 การขายส่งสินค้าทางเภสัชกรรมและทางการแพทย์ 14.2 การขายส่งเครื่องมอื และอุปกรณ์ไฟฟา้ ทใ่ี ชใ้ นทางการแพทย์ 14.3 ร้านขายปลีกสนิ ค้าทางเภสัชกรรมและเวชภณั ฑ์ 14.4 รา้ นขายปลีกสนิ คา้ อนื่ ๆ ดา้ นสุขภาพ 14.5 รา้ นขายอปุ กรณ์สปา 14.6 ขายสง่ และขายปลีกอปุ กรณ์กฬี า 15 การวจิ ยั และพัฒนาดา้ นสุขภาพ 16 การศกึ ษาดา้ นสขุ ภาพ 16.1 การศึกษาทางการแพทย์ 16.2 การฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 16.3 การศึกษาด้านสุขภาพอ่ืนๆ เชน่ การสอนอบรมสปาและการนวด การจาแนกประเภทข้างต้นจะเช่ือมโยงกับรหัสต่าง ๆ ได้แก่ มาตรฐานอุตสาหกรรมสากล (ISIC) มาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทย (TSIC) และรหัส ICHA ในระบบบัญชสี ุขภาพแหง่ ชาตขิ อง OECD ซ่งึ แสดง อยู่ในภาคผนวก ค รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 4-16 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
2) การใช้จ่าย (Expenditure) 2.1) นยิ าม (Definition) รายจ่ายสุขภาพ กาหนดตามนิยามของบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย และระบบ บญั ชดี ้านสขุ ภาพ (A System of Health Account: SHA2011) ของ WHO ซ่ึงหมายถึง รายจา่ ยสาหรับสินค้า และบริการทั้งหมดที่มีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือสุขภาพ รวมถึง รายจ่ายเพื่อการสะสมทุน ได้แก่ รายจ่ายหมวด ครุภณั ฑ์ คา่ ซ้อื ทีด่ นิ คา่ กอ่ สร้างสง่ิ ปลกู สรา้ ง สถานพยาบาล ในภาคสาธารณสุข ดงั นัน้ รายจ่ายรวมด้านสขุ ภาพ (Total Health Expenditure: THE) จึงมาจากผลรวมของรายจ่ายดาเนินการด้านสุขภาพ (Current Expenditure on Health: CHE) และรายจ่ายในด้านการสะสมทุน (Gross Capital Formation: GCF) นอกจากน้เี พ่ือให้ระบบบัญชบี ริวารสุขภาพมีความครบถ้วนสมบูรณม์ ากยิ่งข้นึ และสามารถอธิบายอปุ สงค์ด้าน สุขภาพ (Health Demand) ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ จาเปน็ ตอ้ งเพม่ิ รายจ่ายจากตา่ งประเทศ (Expenditure by Rest of the World) ซึ่งในท่ีนี้คือ การส่งออก (Export) เน่ืองจากเดิมรายจ่ายรวมด้านสุขภาพจะคานวณรายจ่าย เฉพาะหน่วยท่ีมีถ่ินฐานภายในประเทศ (resident units) เท่านั้น รายจ่ายดาเนินการด้านสุขภาพ หมายถึง การใช้จ่ายของหน่วยท่ีมีถ่ินที่อยู่ในประเทศ (resident units) สาหรับสินค้าและบริการด้านสุขภาพ ท้ังสินค้าและบริการด้านสุขภาพที่ให้โดยตรงแก่บุคคล (individual persons) และบริการส่วนรวม (collective health care services) โดยการนาเข้าสินค้าและ บริการดา้ นสุขภาพเพื่อการบริโภคขั้นสดุ ทา้ ยก็นับเป็นรายจ่ายดาเนินการด้านสุขภาพ (การไดร้ ับบริการของผู้ท่ี มีถนิ่ ทีอ่ ยใู่ นประเทศขณะอยู่ท่ตี า่ งประเทศก็รวมอยดู่ ้วย) รายจ่ายในด้านการสะสมทุน หมายถึง การใช้จ่ายจากสินทรัพย์ท่ีสามารถสร้างข้ึนมาใหม่ได (produced assets) ที่ผู้ผลิตและผู้ให้บริการด้านสุขภาพใช้ในการดาเนินงานในรอบระยะเวลาตามบัญชี โดยสินทรัพย์น้ันมีไว้เพื่อใช้สาหรับการผลิตสินค้าและบริการโดยมีอายุการใช้งานต้ังแต่หนึ่งปีขึ้นไป โดยการบันทึกการสะสมทุนจะบันทึกเฉพาะการสะสมทุนของผู้ผลิตและผู้ให้บริการท่ีมีถ่ินท่ีอยู่ในประเทศ แตจ่ ะไม่บนั ทกึ การสะสมทนุ ในสว่ นท่เี ปน็ ของ rest of the world รายจ่ายจากต่างประเทศ หมายถึง การใช้จ่ายของหน่วยท่ีมิได้พานักอยู่ภายในประเทศ (non-resident units) ซ่ึงในบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย ระบุไว้เป็น การได้รับความ ช่วยเหลอื จากต่างประเทศ การใช้จ่ายของบัญชีบริวารด้านสุขภาพมีลักษณะการแสดงข้อมูลที่แตกต่างจากบัญชีบริวารอ่ืน เน่ืองจากผู้จ่ายกับผู้บริโภคไม่ได้เป็นหน่วยเดียวกัน ดังนั้นบัญชีรายจ่ายภายใต้บัญชีบริวารด้านสุขภาพ จึงสามารถแสดงได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ จาแนกตามหน่วยจ่ายแทน (Financing Agents) และจาแนกตาม ผู้บริโภคหรือผู้รับผลประโยชน์ (Users/Beneficiaries) โดยหน่วยจ่ายแทนจะเป็นแหล่งเงินทุนในการผลิต ของผู้ใหบ้ รกิ าร จากนนั้ ผใู้ หบ้ ริการจะผลติ สนิ คา้ และบริการแก่ผบู้ ริโภคหรือผูร้ ับผลประโยชน์ หน่วยจ่ายแทน หมายถึง หน่วยทรี่ ับภาระค่าใช้จ่ายในลกั ษณะคา่ ใช้จา่ ยข้ันสุดท้ายในการซื้อและหรือ จดั สินคา้ และบรกิ ารดา้ นสุขภาพ โดยหนว่ ยจา่ ยแทนจะมีท้งั จากฝ่งั ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคตา่ งประเทศ ผู้บริโภคหรือผู้รับผลประโยชน์ หมายถึง ผู้บริโภคสินค้าและบริการด้านสุขภาพที่ได้รับจากฝั่ง ผู้ให้บริการ โดยจะแบ่งเป็นผู้บริโภคขั้นกลาง ผู้บริโภคขั้นสุดท้าย ผู้ใช้จ่ายเพื่อการสะสมทุน และผู้บริโภค จากต่างประเทศ ผใู้ หบ้ รกิ ารจะถือว่าเป็นผู้บรโิ ภคขั้นกลาง (การใชจ้ า่ ยสินค้าและบริการเพื่อนามาใช้เป็นปัจจัย รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 4-17 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
การผลิต) และผใู้ ชจ้ า่ ยเพ่ือการสะสมทนุ สว่ นผู้บริโภคข้นั สดุ ทา้ ยจะมที ั้งผบู้ รโิ ภคจากฝงั่ เอกชนน่นั คือ ครวั เรอื น และผู้บริโภคจากฝั่งภาครัฐ (ภาครัฐจะบริโภคข้ันสุดท้ายเฉพาะบริการส่วนรวม (collective health care services) เท่านัน้ ) การนาเข้าส่งออกด้านสุขภาพ สาหรับการนาเข้าส่งออกสินค้าด้านสุขภาพไม่ได้มีประเด็นที่ซับซ้อน มากนัก โดยการนาเข้าส่งออกสินค้าด้านสุขภาพ หมายถึง การซื้อขายผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพกับต่างประเทศ ในลักษณะข้ามพรมแดน แต่กรณกี ารนาเขา้ สง่ ออกบริการดา้ นสุขภาพมีลักษณะท่ีแตกต่างออกกนั ไป เนอ่ื งจาก มีความเก่ียวข้องกับประเด็นด้านการลงทุนในต่างประเทศและการเคลื่อนย้ายแรงงาน โดยงานศึกษานี้อ้างอิง นิยามการค้าระหว่างประเทศของภาคบริการตามความตกลงท่ัวไปว่าด้วยการค้าบริการ ( General Agreement on Trade in Services: GATS) ในการคานวณมูลค่าการนาเข้าและส่งออกบริการด้านสุขภาพ ซงึ่ มกี ารจาแนกลักษณะของการนาเขา้ ส่งออกไวเ้ ป็น 4 รูปแบบ (Mode) ได้แก่ รูปแบบท่ี 1 การบรกิ ารขา้ มพรมแดน (cross - border supply): การให้บรกิ ารข้ามพรมแดน ผ่านสื่อ จากพรมแดนของประเทศหน่ึงไปสู่พรมแดนของอีกประเทศที่เป็นลูกค้า โดยผู้ให้บริการ ไม่ต้องปรากฏตัวอยู่ในประเทศลูกค้า สามารถให้บริการโดยติดต่อสื่อสารผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือติดต่อผ่านทางระบบ teleconferencing เช่น คนไข้ชาวไทยขอคาปรึกษาจากแพทย์ ผเู้ ชย่ี วชาญจากยโุ รป รูปแบบท่ี 2 การบรโิ ภคในตา่ งประเทศ (consumption abroad): การให้บรกิ ารท่ีเกิดขึ้นจาก ผู้รับบริการไปใช้บริการท่ีต่างประเทศ โดยอาศัยการเคลื่อนย้ายของผู้บริโภคเป็นเงื่อนไขสาคัญ เชน่ ผ้ปู ่วยชาวไทยเดนิ ทางออกนอกประเทศเพื่อไปรบั การรกั ษาในสถานพยาบาลในต่างประเทศ รูปแบบท่ี 3 การจัดตั้งธุรกิจเพ่ือให้บริการ (commercial presence): การให้บริการใน ลกั ษณะการเข้าไปลงทุนจัดตั้งหน่วยธุรกิจเพื่อใหบ้ ริการลูกค้าในตา่ งประเทศ เชน่ การจดั ตง้ั สาขา สานักงานตวั แทน หรอื บรษิ ัท รูปแบบที่ 4 การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา (presence of natural persons): การเข้าไป ทางานประกอบอาชีพในต่างประเทศของบุคคลธรรมดาเป็นการชั่วคราว เช่น แพทย์หรือ ผเู้ ชย่ี วชาญจากต่างประเทศ เดนิ ทางมาไทยเพ่อื ให้คาปรึกษาหรือบรกิ ารแกผ่ ปู้ ว่ ยชาวไทย 2.2) การจาแนกรายการ (Classification) หนว่ ยจ่ายแทน จาแนกตามบัญชีรายจ่ายสุขภาพแหง่ ชาติของประเทศไทย ซึง่ ประกอบด้วยหนว่ ยจ่าย แทนภาครฐั หนว่ ยจา่ ยแทนภาคเอกชน และหนว่ ยจ่ายจากภาคต่างประเทศ ทง้ั หมด 15 แหล่ง ประกอบดว้ ย หน่วยจา่ ยแทนภาครฐั 1. กระทรวงสาธารณสขุ 2. กระทรวงอ่ืน ๆ 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. กระทรวงการคลัง 5. รัฐวสิ าหกิจ 6. องค์กรอิสระ (หนว่ ยงานภาครัฐ) 7. สานักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ 8. สานกั งานประกนั สงั คม รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 4-18 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
9. สานักงานกองทุนเงนิ ทดแทน หน่วยจา่ ยแทนภาคเอกชน 10. บรษิ ทั ประกนั สขุ ภาพเอกชน 11. บรษิ ัทประกนั ภัยตาม พ.ร.บ. 12. นายจา้ ง 13. ครัวเรอื น 14. องค์กรไม่แสวงหากาไรให้บริการครวั เรอื น หน่วยจา่ ยจากภาคตา่ งประเทศ 15. ความชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศท่ีให้แก่ประเทศไทย ผู้บรโิ ภคหรือผ้รู บั ผลประโยชน์ จาแนกตามหลักการจัดทาบัญชบี รวิ าร SNA1993 ประกอบไปด้วย 4 หนว่ ยหลัก ได้แก่ 1. ผู้ผลิตสินค้าและบริการ 2. รัฐบาล 3. ครวั เรือน 4. ผบู้ รโิ ภคจากตา่ งประเทศ (ส่งออก) ผู้ผลิตสินค้าและบริการจะจาแนกตามการแบ่งประเภทผู้ผลิตที่ได้กล่าวถึงในส่วนของการผลิต (Production) ส่วนครัวเรือนในระยะนี้จะไม่มีการจาแนกประเภท1 3) รายได้ (Income) 3.1) นิยาม (Definition) ค่าตอบแทนแรงงาน (employee compensation) หมายถึง ค่าตอบแทนทั้งหมดท้ังท่ีเป็นเงิน และไม่ใช่เงิน (in kind) ที่องค์กรจ่ายให้กับพนักงานเพื่อตอบแทนสาหรับงานที่ทาในช่วงระยะเวลาบัญชี ค่าตอบแทนแรงงานประกอบด้วยค่าจ้าง (wages) เงินเดือน (salaries) สวัสดิการ (social benefits) ทุก รูปแบบ ค่าจ้างสาหรับการทางานล่วงเวลาและกะกลางคืน (payments for overtime or night work) เงิน พิเศษ (bonuses) เบี้ยเล้ียง (allowances) และมูลค่าของค่าตอบแทนที่ไม่ใช่เงิน เช่น การให้เครื่องแบบ สาหรบั เจา้ หนา้ ทท่ี างการแพทย์ เปน็ ต้น ภาษีทางอ้อมหักด้วยเงินอุดหนุน (Taxes less subsidies on products) ภาษีทางอ้อม ได้แก่ ภาษีการค้า ภาษีส่งออก ภาษีใบอนุญาต ภาษีค่าบริการในโรงแรมและภัตตาคาร แสตมป์ และภาษีการขาย พิเศษอ่ืน ๆ เช่น รถยนต์ เคร่ืองทางไฟฟ้า เคร่ืองด่ืม ชนิดมีแอลกอฮอล์ บุหรี่ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ภาษี ทางอ้อมสุทธเิ ท่ากบั ภาษีทางออ้ ม ท้งั หมดหกั ดว้ ยเงนิ อุดหนนุ การผลติ 1 ครวั เรือนสามารถจาแนกตามความสนใจของผใู้ ชข้ อ้ มลู เช่น อายุ เพศ กลุม่ โรค รายได้ ภมู ภิ าค สถานะทางสังคมตา่ งๆ เปน็ ตน้ ซง่ึ ถ้าหากต้องการ วิเคราะห์ความยากจนและความเหลอื่ มล้า การจาแนกตามรายไดค้ รวั เรอื น จะทาใหบ้ ัญชบี รวิ ารสามารถวิเคราะหใ์ นประเด็นดังกลา่ วได้ รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าท่ี 4-19 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ค่าตอบแทนจากการใช้สินค้าทุน (consumption of fixed capital) หมายถึง มูลค่าที่ลดลงของ สินทรัพยป์ ระเภททนุ หรือค่าสึกหรอของสินทรัพยป์ ระเภททุนในรอบระยะเวลาบัญชี เช่น ค่าเส่อื มของอาคารท่ี ทาการของสถานประกอบการ และเครอ่ื งมือ เคร่อื งจกั รต่าง ๆ เปน็ ตน้ ส่วนเกินของการประกอบการ (Operating Surplus) หมายถงึ ดอกเบยี้ จา่ ย คา่ เชา่ ท่ดี ิน กาไร และ เงนิ ปนั ผลของผู้ผลติ ค่าแรงของผู้ประกอบการที่ดาเนินธุรกิจด้วยตนเอง (mixed income) หมายถึง ค่าตอบแทนของ งานส่วนตัว2 (self-employment) และค่าตอบแทนของผู้ประกอบธุรกิจของตนเอง3 (own-account worker) โดยค่าแรงของผู้ประกอบการท่ีดาเนินธุรกิจด้วยตนเองสามารถท่ีนากลับไปรวมอยู่ในค่าตอบแทน แรงงานและค่าตอบแทนของทนุ หรอื แยกตามลกั ษณะเดิมได้ 3.2) การจาแนกรายการ (Classification) ในส่วนของรายได้น้ีสามารถจาแนกรายการดังตารางที่ 4.6 ซ่ึงสามารถเชื่อมโยงกับ ICHA-FP ของ บญั ชรี ายจา่ ยด้านสุขภาพแหง่ ชาติของประเทศไทย ในส่วนของปจั จยั การผลิตเฉพาะส่วนท่ีนอกเหนือจาก FP.3 วัสดแุ ละบรกิ ารที่ใช้ (Materials and services used) ตารางที่ 4.6 การจาแนกรายการรายได้ รายการภายใต้บัญชีบรวิ าร ICHA-FP Compensation of employees FP.1 Compensation of employees Taxes less subsidies on products FP.1.1 Wages and salaries Consumption of fixed capital FP.1.2 Social contributions Operating Surplus FP.1.3 All other costs related to employees Mixed income FP.5.1 Taxes FP.4 Consumption of fixed capital FP.2 Self-employed professional remuneration FP.5.2 Other items of spending 4) การสะสม (Accumulation) การสะสมในท่ีน้ีเป็นการแสดงการเปล่ียนแปลงของสินทรัพย์ภายใต้ผู้ให้บริการด้านสุขภาพ ทั้ง สินทรัพย์ที่เป็นการลงทุนถาวร (Fixed capital formation) เช่น สถานพยาบาล เคร่ืองมืออุปกรณ์ทาง การแพทย์ การก่อสร้าง เคร่ืองจักร การวิจัยและพัฒนา การฝึกอบรมและการศึกษา เป็นต้น การเปลี่ยนแปลง ของสินค้าคงเหลือ และการเปล่ียนแปลงของสินทรัพย์ท่ีไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการผลิตและทางการเงิน การ สะสมแสดงรายการจาแนกดังตารางท่ี 4.7 ซง่ึ สามารถเชอื่ มโยงกับ ICHA-HK ของบญั ชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ ของประเทศไทยได้ 2 งานท่ีค่าตอบแทนขึน้ กับผลกาไรหรอื ศกั ยภาพ ทีก่ ่อใหเ้ กดิ ผลกาไรจากสนิ ค้าและบริการที่ผลิตได้ (การบรโิ ภคของตนเองถอื เปน็ ส่วนหนึง่ ของกาไร) ผปู้ ฏบิ ัติงานเปน็ ผ้ทู าการตดั สนิ ใจหรือเป็นตวั แทนในการตัดสนิ ใจในการดาเนนิ งาน และรบั ผิดชอบเก่ยี วกับ สวสั ดกิ ารของวสิ าหกจิ 3 ผ้ปู ระกอบธุรกิจของตนเองหรือ ประกอบธุรกจิ ร่วมกับหนุ้ สว่ นตั้งแต่ 1 คนขนึ้ ไป โดยมปี ระเภทของงานเป็น งานสว่ นตัว และไมม่ กี ารจา้ ง ลกู จ้าง ที่เป็นการจ้างงานบนพ้นื ฐานของความตอ่ เน่อื งเพ่ือมาทางานใหใ้ นระหวา่ งคาบเวลาอา้ งอิง แต่สามารถจ้างลูกจ้างทีไ่ ม่ใช่การจา้ งงานอย่างต่อเนือ่ งได้ (หนุ้ สว่ นอาจเป็นหรอื ไมเ่ ป็นสมาชิกของครอบครัวหรอื ครัวเรือนกไ็ ด้) รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 4-20 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ตารางท่ี 4.7 การจาแนกรายการการสะสม No. ชื่อรายการ ICHA-HK 1. ท่ีอยู่อาศยั HK.1.1.1.1 2. โครงสร้างพ้ืนฐานอนื่ ๆ HK.1.1.1.2 3. เครือ่ งมือทางการแพทย์ HK.1.1.2.1 4. อปุ กรณ์ขนสง่ HK.1.1.2.2 5. อปุ กรณ์ ICT HK.1.1.2.3 6. เครื่องจกั รและอปุ กรณ์อ่ืนๆ HK.1.1.2.4 7. ซอฟตแ์ วร์และการลงทุนด้านฐานขอ้ มูล HK.1.1.3.1 8. ทรัพย์สนิ ทางปญั ญาอน่ื ๆ HK.1.1.3.2 9. การเปลย่ี นแปลงสนิ ค้างคงคลงั HK.1.2 10. Non-produced non-financial assets 11. การวิจัยด้านสขุ ภาพ HK.2 12. การศึกษาและการอบรม (ด้านสุขภาพ) HKR.4 HKR.5 5) ข้อมลู ที่ไม่ใช่การเงนิ (Non-Monetary Data) ข้อมูลที่ไม่ใช่การเงินในท่ีนี้จะเป็นการรวบรวมข้อมูลด้านปริมาณที่ไม่ใช่มูลค่าทางการเงินท่ีมีส่วน เกี่ยวข้องกับด้านสุขภาพ เช่น จานวนผู้เข้ารับการรักษาพยาบาล จานวนบุคลากรด้านการแพทย์ จานวน เคร่ืองมือ จานวนสถานพยาบาล เป็นต้น ซ่ึงในเบ้ืองต้นจะจาแนกประเภทโดยอิงจากคู่มือจัดทาบัญชีบริวาร สขุ ภาพของตา่ งประเทศ และตวั แปรทผ่ี วู้ จิ ยั เห็นวา่ มคี วามสาคญั ตอ่ การวิเคราะหด์ า้ นสุขภาพ ประกอบดว้ ย จานวนผ้เู ข้ารบั การรักษาพยาบาล o ผูป้ ่วยใน o ผปู้ ว่ ยนอก o ผเู้ ขา้ รับการรกั ษาจาแนกตามโรค จานวนบุคลากรดา้ นการแพทย์ o แพทย์ o พยาบาล o บุคลากรอืน่ ๆ จานวนสถานพยาบาล o รฐั o เอกชน จานวนอปุ กรณ์และเครอ่ื งมือแพทย์ o เตียง o เคร่อื งมือแพทย์ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าท่ี 4-21 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
4.2.4 รูปแบบบญั ชี/ตารางในบัญชบี รวิ ารสุขภาพ 1) การผลิต (Production) การจัดทาบัญชกี ารผลิตจะแบง่ ออกเปน็ 2 ตาราง (Tables) ประกอบดว้ ย Table 1 ผลผลิต หรือ อุปทาน (Supply) ด้านสุขภาพ แสดงผลผลิตและบริการด้านสุขภาพท่ีผลติ ได้ โดยแสดงทั้งผู้ผลิตในประเทศ (Domestic) และผู้ผลิตจากต่างประเทศ (Import) เพื่อสะท้อนถึงมูลค่าทาง เศรษฐกิจหรือมูลค่าตลาดท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพในประเทศไทย โดยวัดเป็นมูลค่าหน่วยล้านบาทไทย (ราคาปี ปัจจบุ นั ) Table 2 โครงสร้างการผลิต (Cost Structure) ของการผลิตสินค้าและบริการด้านสุขภาพ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตกับปัจจัยการผลิตที่ใช้ในการผลิต ปัจจัยการผลิตจะแสดงทั้งปัจจัยการผลิต ข้ันตน้ ปจั จัยการผลติ ข้นั กลาง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ในการผลิต ไดแ้ ก่ ค่าเส่ือมราคา และภาษที างอ้อม ซึ่งปจั จัย การผลิตข้นั ต้น และคา่ ใช้จ่ายอ่ืนๆ จะอยู่ในรูปของมูลค่าเพิ่ม (Value Added) โดยวดั เป็นมูลค่าหน่วยล้านบาท ไทย (ราคาปีปัจจบุ นั ) Output of domestic producers หรือผลผลิตที่ผลิตได้จากผู้ผลิตและผู้ให้บริการภายในประเทศ ใน Table 1 และ Table 2 จะมีคา่ เท่ากันในทกุ ๆ หมวด 1-16 รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ 4-22 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ตารางที่ 4.8 Table 1: ผลผลิตหร Industries/Products 1 โรงพยาบาล 1.1 โรงพยาบาลทว่ั ไป 1.2 โรงพยาบาลจิตเวชและบาบัดรักษาผตู้ ดิ สงิ่ เสพตดิ 1.3 โรงพยาบาลเฉพาะทาง 2 สถานพยาบาล บา้ นพักหรอื สถานพักฟ้ืน 2.1 สถานพยาบาล ซ่ึงอานวยความสะดวกและพยาบาลแก่คนไขใ้ นระยะยาวประกอบดว้ ยการใหบ้ รกิ ารพยาบาล 2.2 สถานพักฟื้นผปู้ ว่ ยจิตเวชและผู้ติดสงิ่ เสพตดิ 2.3 สถานพยาบาล บา้ นพกั หรอื สถานพกั ฟน้ื อนื่ ๆ เฉพาะผู้สงู อายแุ ละผพู้ กิ าร 3 คลินิก, ศูนยบ์ ริการทใี่ หบ้ ริการดูแลสขุ ภาพโดยตรงแกค่ นไข้นอกโรงพยาบาล และการดแู ลฟน้ื ฟคู นไขแ้ ละบ 3.1 คลินิกหรือศนู ยบ์ รกิ ารโรคทวั่ ไป 3.2 คลนิ ิกแพทยแ์ ผนโบราณท่ีรักษาดว้ ยสมุนไพร 3.3 คลินิกจติ วิทยา 3.4 คลนิ กิ ศัลยกรรมตกแตง่ และคลนิ ิกเสริมความงาม 3.5 คลนิ ิกหรอื ศูนย์บริการโรคเฉพาะทางอ่นื ๆ 3.6 คลนิ ิกหรอื ศนู ย์ทนั ตกรรม 3.7 คลนิ ิกหรือศนู ย์บรกิ ารทีใ่ ห้บรกิ ารดแู ลสขุ ภาพโดยตรงแก่คนไข้นอกอื่นๆ 3.8 คลินกิ หรือศูนย์บรกิ ารให้บริการดูแลสุขภาพคนไขท้ ีบ่ ้าน 4 ผใู้ หบ้ รกิ ารเสรมิ 4.1 ผู้ให้บริการขนสง่ ผู้ปว่ ยและความชว่ ยเหลอื ฉกุ เฉิน 4.2 คลินกิ หรอื ศูนยบ์ รกิ ารตรวจวินิจฉัยโรคโดยห้องทดลองหรือหอ้ งแลป 4.3 ผใู้ หบ้ ริการเสริมอ่นื ๆ 5 หน่วยงานท่จี ดั ทาโครงการสาธารณสุข เพอื่ บรกิ ารควบคมุ โรคและบรกิ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของประชาชน 6 หน่วยงานท่เี ก่ียวข้องกับการบรหิ ารจดั การดา้ นสาธารณสขุ (ยกเว้นประกนั สขุ ภาพ) 6.1 หนว่ ยงานภาครฐั ท่ีเกีย่ วขอ้ งในการบรหิ ารจดั การกาหนดนโยบาย มาตรการ และกิจกรรมดา้ นสาธารณสขุ 6.2 ประกันสงั คมภาคบังคับ 6.3 หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การบรหิ ารดา้ นสุขภาพ (ทนี่ อกเหนอื จากการประกนั สงั คม และการประกันสขุ ภาพเอ รักษาพยาบาลจากนายจา้ ง) รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษา
รอื อปุ ทาน (Supply) ด้านสขุ ภาพ Output of Total domestic Imports Supply on producers Health ลการดแู ลและเฝา้ ระวงั และบริการอ่ืนๆที่คนไขต้ ้องการ บริการดแู ลผ้ปู ่วยที่บา้ น (Ambulatory health care) น หนา้ ท่ี 4-23 อกชน) เชน่ สวัสดกิ ารทจ่ี ดั โดยนายจา้ ง (ลกู จา้ งเบกิ ค่า าสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
Industries/Products 7 ประกนั ภยั ภาคเอกชนทเี่ ก่ียวกบั สขุ ภาพ 8 หน่วยงานอนื่ ๆ ท่ีใหก้ ารบริการดา้ นสขุ ภาพเสมอื นเป็นผู้ใหบ้ ริการรอง 8.1 ครัวเรอื นสว่ นบุคคลทีจ่ ดั หาบรกิ ารเกยี่ วกับการดแู ลสุขภาพให้ผรู้ ับบรกิ ารทบ่ี ้าน 8.2 หนว่ ยงานทจี่ ัดหาบริการเก่ียวกับการดูแลสขุ ภาพในการประกอบอาชพี โดยไม่แยกสถานท่ีใหบ้ ริการออกมาต่า โรงเรียน เรือนจา หนว่ ยทหาร 8.3 กิจกรรมสังคมสงเคราะห์ท่ีไม่ใหท้ ี่พกั แก่ผู้สูงอายแุ ละผู้พกิ าร 9 การผลิตผลติ ภณั ฑ์ทีใ่ ช้รกั ษาโรค 9.1 ยารักษาโรค 9.2 วิตามนิ อาหารเสริม 9.3 วคั ซนี 9.4 ผลิตภณั ฑจ์ ากพชื และสตั วท์ ี่ใช้รกั ษาโรค (ยาสมุนไพร) 9.5 ผลติ เภสชั ภณั ฑ์และเคมภี ัณฑ์อน่ื ๆ ท่ีใช้รักษาโรค 10 การผลติ เครอ่ื งมือและอุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นทางการแพทย์ 10.1 การผลิตชุดทใี่ ชใ้ นการแพทย์ 10.2 การผลิตหนา้ กากอนามยั 10.3 การผลติ สงิ่ ของเคร่อื งใช้ด้านสขุ อนามัยหรอื เภสชั กรรมท่ที าจากยาง 10.4 การผลิตเครือ่ งอปุ กรณไ์ ฟฟ้าทางการแพทยแ์ ละทางกายภาพบาบัด 10.5 การผลิตเครือ่ งมือและอปุ กรณ์ในทางการแพทยแ์ ละทางทนั ตกรรม 11 ธุรกิจสปาและนวดเพอ่ื สขุ ภาพ 12 ศูนย์ฟิตเนส 13 การผลติ ผลติ ภัณฑอ์ นื่ ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับสุขภาพ 13.1 การผลติ ผลติ ภัณฑ์เสริมความงาม 13.2 การผลิตผลติ ภณั ฑ์สาหรับ สปา และการนวด เช่น น้ามันสปา น้ามันนวดตัว นา้ มันนวดเทา้ น้ามันอโรมา่ 13.3 การผลติ อุปกรณก์ ีฬา 13.4 การผลติ อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์ด้านสุขภาพ เช่น นาฬกิ าสขุ ภาพ 14 การขายสง่ และขายปลกี ผลิตภณั ฑด์ ้านสขุ ภาพ 14.1 การขายส่งสนิ ค้าทางเภสัชกรรมและทางการแพทย์ 14.2 การขายสง่ เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ไฟฟา้ ทใี่ ชใ้ นทางการแพทย์ รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษา
Output of Total domestic Imports Supply on producers Health างหาก เช่น การจดั บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพในสถานทท่ี างาน าสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะที่ 1 หนา้ ท่ี 4-24
Industries/Products 14.3 รา้ นขายปลกี สินค้าทางเภสัชกรรมและเวชภัณฑ์ 14.4 ร้านขายปลกี สินค้าอ่นื ๆ ดา้ นสขุ ภาพ 14.5 รา้ นขายอปุ กรณส์ ปา 14.6 ขายส่งและขายปลีกอุปกรณ์กฬี า 15 การวจิ ยั และพัฒนาดา้ นสขุ ภาพ 16 การศกึ ษาดา้ นสขุ ภาพ 16.1 การศึกษาทางการแพทย์ 16.2 การฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข 16.3 การศกึ ษาด้านสุขภาพอนื่ ๆ เชน่ การสอนอบรมสปาและการนวด Other Product รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษา
Output of Total domestic Imports Supply on producers Health าสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะที่ 1 หน้าที่ 4-25
ตารางท่ี 4.9 Table 2: โครงสรา้ งการผลติ (Cost St Products 123 1 โรงพยาบาล 2 สถานพยาบาล บา้ นพกั หรอื สถานพักฟน้ื 3 คลินิก, ศนู ย์บรกิ ารทใ่ี หบ้ ริการดแู ลสขุ ภาพโดยตรงแกค่ นไข้นอกโรงพยาบาล และการ ดูแลฟื้นฟูคนไขแ้ ละบรกิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยท่บี ้าน (Ambulatory health care) 4 ผูใ้ หบ้ รกิ ารเสริม 5 หนว่ ยงานทีจ่ ดั ทาโครงการสาธารณสขุ เพื่อบริการควบคุมโรคและบริการสร้างเสริม สุขภาพของประชาชน 6 หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการบริหารจดั การดา้ นสาธารณสขุ (ยกเว้นประกันสขุ ภาพ) 7 ประกันภยั ภาคเอกชนทเ่ี ก่ียวกับสขุ ภาพ 8 หน่วยงานอ่ืนๆ ทีใ่ ห้การบรกิ ารดา้ นสุขภาพเสมือนเป็นผู้ให้บริการรอง 9 การผลติ ผลติ ภัณฑท์ ใ่ี ชร้ ักษาโรค 10 การผลติ ผลติ ภณั ฑ์อนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการแพทย์ 11 ธรุ กิจสปาและนวดเพ่ือสขุ ภาพ 12 ศนู ยฟ์ ติ เนส 13 การผลิตผลติ ภัณฑอ์ น่ื ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับสขุ ภาพ 14 การขายส่งและขายปลกี ผลติ ภณั ฑด์ ้านสขุ ภาพ 15 การวจิ ยั และพัฒนาด้านสุขภาพ 16 การศกึ ษาด้านสุขภาพ Other products Total Intermediate Consumption (at purchasers' prices) (1+16) Total Gross Value Added (at basic prices) Output of domestic producers (Intermediate + Value Added) หมายเหตุ : Output of domestic producers ใน Table 1 และ Table 2 ของแตล่ ะสาขาการผ รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษา
tructure) ของการผลติ สินคา้ และบริการด้านสุขภาพ Industries Intermediate 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 Other Consumption รผลติ มีคา่ เทา่ กัน หน้าที่ 4-26 าสถานการณ์และออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
2) การใชจ้ ่าย (Expenditure) การจดั ทาบญั ชีค่าใช้จ่ายจะแบง่ ออกเป็น 2 Tables ประกอบด้วย Table 3 บัญชีการใช้จ่ายด้านสุขภาพของหน่วยจ่ายแทน ท้ังภาครัฐ (Public) และภาคเอกขน (Private) โดยรายจ่ายจะเป็นรายจ่ายดาเนินการด้านสุขภาพ (Current Expenditure on Health: CHE) ที่วัดเป็นมูลค่าหน่วยล้านบาทไทย (ราคาปีปัจจุบัน) และแสดงหมวดหมู่เฉพาะท่ีอยู่ภายใต้บัญชีราย จ่าย ด้านสุขภาพของประเทศไทยเท่าน้ัน จึงทาให้ตารางน้ีจะมีลักษณะคล้ายกับตารางที่ 3 ของบัญชีรายจ่ายด้าน สุขภาพแห่งชาติ แต่จะมีการจัดหมวดหมู่ที่แตกต่างกัน เพ่ือให้ตรงกับการจาแนกประเภทกิจกรรมด้านสุขภาพ ของบญั ชีบริวารด้านสขุ ภาพทีไ่ ดก้ ล่าวถงึ ในส่วน 4.2.3 (การผลติ (Production)) Table 4 บัญชีที่แสดงอุปสงค์ด้านสุขภาพ (Health Demand) โดยจาแนกตามประเภทผู้จ่ายหรือ ผู้รับผลประโยชน์จากการใช้จ่ายด้านสุขภาพ จะมีการใช้จ่ายเพ่ือการบริโภคขั้นกลางของผู้ให้บริการด้าน สุขภาพ (Intermediate Consumption) การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคข้ันสุดท้ายของรัฐบาลและครัวเรือน (Government and Household Consumption) และการใช้จ่ายเพ่ือการสะสมทุนด้านสุขภาพ (Capital Formation) รวมถึงการใช้จ่ายด้านสุขภาพของภาคต่างประเทศผ่านการส่งออก (Export) และจาแนกตาม ประเภทกิจกรรมด้านสุขภาพของบัญชีบริวารด้านสุขภาพในส่วน 4.2.3 (การผลิต (Production)) โดยวัดเป็น มลู คา่ หนว่ ยลา้ นบาทไทย (ราคาปปี จั จบุ นั ) Total Residence Current expenditure หรอื รายจา่ ยดาเนินการดา้ นสุขภาพ ใน Table 3 และ Table 4 จะมีคา่ เทา่ กนั ในแต่ละหมวด Total Demand on Health ใน Table 4 จะเท่ากบั Total Supply on Health ใน Table 1 ใน ทุกๆ หมวด 1-16 รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ 4-27 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ตารางท่ี 4.10 Table 3: รายจา่ ยดาเนนิ การด้านสขุ ภาพ (Current Expenditu (Priv Public Financing Agencies Industries/ MOPH Other Local CSMBS State Public UC s Product mins Gov. enterprise Independence Agency 1 2 3 4 5 6 7 8 10 11 หมายเหตุ : เฉพาะหมวดท่ีตรงกับบัญชีรายจา่ ยด้านสขุ ภาพแห่งชาติ รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษา
ure on Health: CHE) ของหน่วยจา่ ยแทน ท้งั ภาครัฐ (Public) และภาคเอกขน vate) Private Financing Agencies Rest of the Total world Residence Social Private Traffic Employer House Non - Foreign Current security WCF insurance funds insurance benefit hold profit Assistance expenditure าสถานการณ์และออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 หนา้ ท่ี 4-28
ตารางท่ี 4.11 Table 4: การใช้จ่ายหรืออ Industries/Product Intermediate Consumption 1 โรงพยาบาล 2 สถานพยาบาล บา้ นพักหรอื สถานพกั ฟ้ืน 3 คลนิ กิ , ศูนย์บรกิ ารที่ใหบ้ ริการดแู ลสุขภาพโดยตรงแก่คนไข้นอกโรงพยาบาล และการ ดูแลฟื้นฟูคนไข้และบริการดแู ลผ้ปู ว่ ยท่ีบา้ น (Ambulatory health care) 4 ผใู้ ห้บริการเสรมิ 5 หน่วยงานทจ่ี ัดทาโครงการสาธารณสุข เพ่อื บริการควบคมุ โรคและบริการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของประชาชน 6 หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารจดั การดา้ นสาธารณสขุ (ยกเว้นประกนั สุขภาพ) 7 ประกันภยั ภาคเอกชนที่เก่ยี วกับสขุ ภาพ 8 หน่วยงานอ่ืนๆ ท่ใี หก้ ารบรกิ ารด้านสขุ ภาพเสมือนเปน็ ผใู้ ห้บริการรอง 9 สถานประกอบการเพือ่ สขุ ภาพ 10 การผลติ ผลติ ภณั ฑ์ทใี่ ช้รักษาโรค 11 การผลิตเครื่องมอื และอุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นทางการแพทย์ 12 การผลติ ผลติ ภัณฑ์อ่นื ๆ ทเี่ กีย่ วข้องกับสุขภาพ 13 การขายส่งและขายปลกี ผลติ ภัณฑด์ า้ นสขุ ภาพ 14 การกอ่ สรา้ งโรงพยาบาล 15 การวิจยั และพัฒนาด้านสขุ ภาพ 16 การศกึ ษาดา้ นสขุ ภาพ Health Expenditure Other products หมายเหตุ : Total Residence Current expenditure ใน Table 3 และ Table 4 จะมีคา่ เทา่ กัน รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษา
อปุ สงคด์ ้านสขุ ภาพ (Health Demand) e Government Household Total Capital Total Demand n Expenditure Consumption Formation on Health Residence Export Current expenditure น หนา้ ท่ี 4-29 าสถานการณ์และออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338