3) รายได้ (Income) บัญชีรายได้ เป็น Table 5 ที่มาจากการต่อยอดจากบัญชีการผลิตใน Table 2 โครงสร้างการผลิตหรือ โครงสร้างต้นทุนของผู้ผลิตในการใช้ผลิตสินค้าและบริการด้านสุขภาพ เฉพาะในส่วนของมูลค่าเพ่ิม ที่สามารถจาแนกตามรายการค่าตอบแทนแรงงาน ทุน ที่ดิน และอ่ืนๆ ของในแต่ละหมวดที่จาแนกตามประเภท กิจกรรมด้านสุขภาพของบัญชีบริวารด้านสุขภาพในส่วน 4.2.3 (การผลิต (Production)) โดยวัดเป็นมูลค่า หนว่ ยล้านบาทไทย (ราคาปปี จั จบุ ัน) 4) การสะสม (Accumulation) บัญชีสะสมทุน หรือเป็นแบบ Table 6 โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์ และการลงทุน ท่ีแจกแจงรายละเอียดตามประเภทการสะสมทุนในส่วน 4.2.3 (การสะสม (Accumulation)) ของผู้ผลิต และผู้ให้บริการในแต่ละหมวดที่จาแนกตามประเภทกิจกรรมด้านสุขภาพของบัญชีบริวารด้านสุขภาพในส่วน 4.2.3 (การผลติ (Production)) โดยวดั เป็นมูลคา่ หน่วยล้านบาทไทย (ราคาปปี จั จุบัน) 5) ข้อมลู ท่ไี ม่ใชก่ ารเงนิ (Non-Monetary Data) การจัดทาบัญชีแสดงข้อมูลท่ีไม่ใช่การเงิน หรือ Table 7 เป็นตารางที่แสดงข้อมูลท่ีไม่ใช่การเงินที่มี ความเชื่อมโยงกับข้อมูลการเงินภายในบัญชีบริวาร ในเบื้องต้นข้อมูลที่ควรจัดเก็บจะอิงจากคู่มือจัดทาบัญชี บริวารสุขภาพของต่างประเทศ และตัวแปรท่ีผู้วิจัยเหน็ ว่า มีความสาคัญต่อการวเิ คราะห์ด้านสุขภาพ ตัวอย่าง ตารางเชน่ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 4-30 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
Value Added ตารางท่ี 4.12 Tab Compensation of employees 123 Taxes less subsidies on products Consumption of fixed capital Operating Surplus Mixed income Total Gross Value Added (at basic prices) รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษา
ble 5 บัญชรี ายได้ Industries 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 Other าสถานการณ์และออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 หนา้ ท่ี 4-31
รายการสะสมทนุ ตารางที่ 4.13 Table ทอ่ี ยู่อาศยั 123 โครงสร้างพน้ื ฐานอ่ืนๆ เคร่ืองมือทางการแพทย์ อุปกรณ์ขนสง่ อปุ กรณ์ ICT เครือ่ งจกั รและอุปกรณอ์ ่นื ๆ ซอฟแวร์และการลงทุนด้านฐานขอ้ มูล ทรพั ย์สินทางปญั ญาอ่นื ๆ การเปลย่ี นแปลงสินคา้ งคงคลัง Non-produced non-financial assets การวจิ ยั ดา้ นสขุ ภาพ การศึกษาและการอบรม (ด้านสขุ ภาพ) รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษา
6: Capital Account Industries 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 Other าสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 หนา้ ท่ี 4-32
ขอ้ มูลทีไ่ ม่ใชก่ ารเงนิ ตารางที่ 4.14 Table 7: (ตัวอย จานวนผปู้ ่วย ประเภทสถานพยาบาล ผู้ปว่ ยใน Public Hospitals Private Hospita ผปู้ ่วยนอก ผเู้ ข้ารบั การรบั การรกั ษาจาแนกตามโรค ……. จานวนบุคลากรดา้ นการแพทย์ แพทย์ พยาบาล บคุ ลากรอน่ื ๆ จานวนสถานพยาบาล รัฐ เอกชน จานวนยา อปุ กรณ์และเครื่องมือแพทย์ ยา เตยี ง เครื่องมือและอุปกรณอ์ น่ื ๆ ……. รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษา
ยา่ ง) Non – Monetary Data สทิ ธริ ักษาพยาบาลต่างๆ als UC CSMBS SOE SS Other าสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 หน้าที่ 4-33
4.2.5 การประมวลผล การจัดทาบัญชีรายจ่ายสุขภาพของไทยท่ีผ่านมาประมวลผลโดยการอิงมูลค่าจากฝั่งการใช้จ่าย เป็นสาคัญ และนาไปใช้ในการจัดทาฝั่งการผลิต การประมวลผลดังกล่าวอาศัยรายจ่ายจริงในแต่ละ ปีงบประมาณ โดยมีข้อกาหนดเบื้องต้นว่า กรณี ภาครัฐ รายจ่ายตามปีงบประมาณ (fiscal year) เท่ากับ รายจ่ายตามปีปฏิทิน (calendar year) เน่ืองจากข้อมูลส่วนใหญ่ในภาครัฐ เป็นรายจ่ายตามปีงบประมาณ ส่วนกรณีนอกภาครัฐเป็นรายจ่ายตามปีปฏิทิน โดยในส่วนที่ไม่สามารถแจกแจงได้ เน่ืองจากข้อจากัดจาก ฐานข้อมลู ได้ทาการแจกแจงโดยอา้ งองิ จากงานวจิ ัยอ่ืนๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง การศกึ ษาในคร้ังนี้มีความประสงค์ท่ีจะวเิ คราะห์ รายจา่ ยกรณภี าครฐั ตามปปี ฏิทนิ และประมวลผลฝ่ัง การผลิตจากมูลค่าการผลิตท่ีแท้จริง แต่อย่างไรก็ตามข้ึนอยู่กับความสมบูรณ์ของข้อมูลว่าจะสามารถ ประมวลผลไดห้ รอื ไม่ นอกจากนี้บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของไทยยังไม่ได้นาเอาการนาเข้า และการส่งออกของการ บริการรักษาพยาบาล เช่น คนไทยเดินทางไปรักษาพยาบาลยังต่างประเทศ หรือ ชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา รักษาพยาบาลในประเทศไทย มารวมในบญั ชี ซง่ึ งานศกึ ษานต้ี ้องปรับให้บญั ชีดังกลา่ วมคี วามสมบูรณเ์ ปน็ บัญชี บริวารดา้ นสุขภาพ จึงจาเปน็ ต้องนาการนาเขา้ และการส่งออกดังกลา่ วมาประมวลผลด้วย ดังนั้นการประมวลผลในการศึกษาคร้ังน้ี ในส่วนของการใช้จ่ายบางส่วนจะอิงตามการประมวลผล ของบัญชีรายจ่ายสุขภาพของไทย ส่วนอื่น ๆ ได้แก่ ฝ่ังการใช้จ่าย (เพ่ิมเติม) ฝั่งการผลิต และฝั่งรายได้ รวมถึง การสะสม และข้อมูลที่ไม่ใช่การเงิน จะอิงการประมวลผลตามแนวทางของบัญชีประชาชาติ และแนวทาง จากงานวิจยั อื่นๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง โดยรายละเอยี ดการประมวลผลมีดงั นี้ 1) การผลติ (Production) การประมวลผลด้านการผลิตมี 3 ตัวแปรท่ีจะต้องพิจารณา ได้แก่ มูลค่าการผลิต (Gross Output) ค่าใช้จ่ายขั้นกลางในการผลิต (Intermediate cost) และมูลค่าเพ่ิม (Value Added) โดยจะอิงตาม การประมวลผลของบญั ชปี ระชาชาติ มลู ค่าการผลิต (Output) มูลค่าการผลิตภายในประเทศ o สินค้าด้านสุขภาพ: มูลค่าผลผลิตด้านสุขภาพท่ีผลิตได้ในรอบระยะเวลาบัญชี ทั้งผลผลติ หลกั ผลผลิตรอง และผลพลอยได้ ให้นับรวมเป็นผลผลิตทั้งหมดท่ีสาขาการผลิตน้ันผลิตได้ สามารถหาได้ 3 แนวทาง คานวณจาก ปรมิ าณการผลติ คณู ด้วย ราคาผลผลิต คานวณจากรายไดข้ องกิจการ คานวณด้วยวิธีการทางอ้อม โดยให้มูลค่าการผลิตเท่ากับมูลค่ารวมของการใช้จ่ายใน รายการสินค้าที่ต้องการ ซ่ึงประกอบด้วยมูลค่าการบริโภค การสะสมทุน ส่วนเปลี่ยน สินค้าคงเหลือ และการสง่ ออกรวมกัน แล้วหักดว้ ยสนิ ค้านาเข้า แนวทางท่ีเป็นไปได้มากท่ีสุดจากความสมบูรณ์ของข้อมูล คือ คานวณจากรายได้ของ กิจการ ซ่ึงสามารถใช้ข้อมูลจาก กระทรวงอุตสาหกรรม, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า, กรมสรรพากร, สานักงานสถิติแหง่ ชาติ (สามะโนธรุ กิจและอุตสาหกรรม) หากเป็นกรณี รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ 4-34 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ที่สินค้ามีรายละเอียดลงลึกมากกว่ารหัส TSIC ที่เป็นรหัสมาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูล ในปจั จบุ ัน ตอ้ งมีการสารวจเพิม่ เติม o บริการด้านสุขภาพ: ประเมินจากรายรับจากการดาเนินงานบริการด้านสุขภาพ ในรอบ ระยะเวลาบัญชี 1 ปี ซ่ึงสามารถใช้ข้อมูลจาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า, กรมสรรพากร, สานักงานสถิติแห่งชาติ (สามะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม) หากเป็นกรณีท่ีบริการ มีรายละเอียดลงลึกมากกว่ารหัส TSIC ท่ีเป็นรหัสมาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูลในปัจจุบัน ต้องมีการสารวจเพ่มิ เติม มลู คา่ การผลติ จากต่างประเทศหรอื การนาเข้า o สินค้าด้านสุขภาพ: วิธีการประมวลผลตามบัญชีประชาชาติของไทย โดยใช้ข้อมูลจากกรม ศุลกากร สินค้านาเข้าคิดมูลค่าสินค้าตามราคา c.i.f. คือ มูลค่าสินค้าในตลาด ณ เขตแดน ศุลกากร (Custom Frontier) ของประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย มูลค่าสินค้า ณ เขตแดน ศุลกากรของประเทศท่ีส่งสินค้าเข้ามา ค่าขนส่ง ค่าประกันภัยสินค้า แต่ไม่รวมค่าขนของลง (Unloading) o บริการด้านสุขภาพ: ประมาณโดยตรงจากข้อมูลจากดุลการชาระเงิน (Balance of Payments) จากธนาคารแห่งประเทศไทย ท้ังน้ี ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลมูลค่าการผลิตภายในประเทศ และมูลค่าการผลิต จากต่างประเทศหรือการนาเข้า (Output) ท่ีแสดงใน Table 1: ผลผลิตหรืออุปทาน (Supply) ด้านสุขภาพ โดยลงข้อมูลมูลค่าตลาดท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพในประเทศไทย ซ่ึงวัดเป็นมูลค่า โดยมีหน่วย ล้านบาทไทย (ราคาปีปัจจบุ นั ) ค่าใชจ้ า่ ยขน้ั กลางในการผลติ (Intermediate cost) สินค้าด้านสุขภาพ: ต้นทุนการผลิตที่คิดจากค่าวัตถุดิบทุกชนิด ค่าไฟฟ้า ค่าน้ามันเชื้อเพลิง ค่าซ่อมแซม ค่าวัสดุอุปกรณ์ ค่าวัสดุบรรจุภัณฑ์ ค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายสานักงานต่าง ๆ โดยรวม ค่าใชจ้ ่ายวัตถดุ บิ ทง้ั ภายในประเทศและการนาเข้า บริการด้านสุขภาพ: ต้นทุนการผลิตที่คิดจากค่าวัตถุดิบทุกชนิด เช่น ค่ายาและเวชภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายห้องปฏิบัติการและรังสี ค่าใช้จ่ายห้องทันตกรรม ค่าอาหารและเคร่ืองดื่ม ค่าวัสดุ ส้ินเปลือง ค่าไฟฟ้าและน้าประปา ค่าซักรีด ค่าโฆษณา ค่าพาหนะและค่าใช้จ่ายรถยนต์ ค่า โทรศัพท์และไปรษณีย์ ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์ ค่าซ่อมแซมและบารุงรักษา ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายสานักงาน และค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ โดยรวมค่าใช้จ่ายวัตถุดิบทั้งภายในประเทศและการ นาเขา้ โครงสร้างต้นทุนในการผลิตสินค้าและบริการสามารถใช้ข้อมูลจากตารางปัจจยั ผลิตและผลผลิต (IO Table), สานักงานสถิติแห่งชาติ (สามะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม) บัญชีรายจ่ายสุขภาพ แห่งชาติของประเทศไทย และสานักงานสถิติแห่งชาติ (สามะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม และ สารวจโรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชน) ประกอบการประมวลผล มูลค่าเพิ่ม (Value Added) หมายถึง มูลค่าท่ีได้รับเกินจากต้นทุนการใช้วตั ถุดบิ หรือก็คือ ส่วนต่าง ระหว่างมูลคา่ การผลิตภายในประเทศ และคา่ ใชจ้ ่ายขั้นกลางในการผลิต โดยสามารถนามาใชเ้ ปน็ ผลตอบแทน ปัจจัยการผลิตข้ันต้น ค่าเสื่อมราคา และภาษีทางอ้อม หัก เงินอุดหนุน ซึ่งสามารถใช้โครงสร้างต้นทุน รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 4-35 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ในการผลิตสินค้าและบริการสามารถใช้ข้อมูลจากตารางปัจจัยผลิตและผลผลิต (IO Table), สานักงานสถิติ แห่งชาติ (สามะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม) บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย และสานักงานสถิติ แห่งชาติ (สามะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม และ สารวจโรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชน) ประกอบการ ประมวลผล ทั้งนี้ ข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวมข้อมูลมูลค่าเพ่ิม จะแสดงใน Table 2: โครงสร้างการผลิต (Cost Structure) ของการผลิตสนิ ค้าและบริการด้านสุขภาพ โดยลงข้อมลู ของมูลค่าเพิ่ม (Value Added) ซึง่ วดั เป็น มลู คา่ หนว่ ยล้านบาทไทย (ราคาปีปจั จุบนั ) 2) การใชจ้ ่าย (Expenditure) 2.1) รายจ่ายจากหนว่ ยจา่ ยแทน หน่วยจ่ายแทนมีท้ังจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคต่างประเทศ ซึ่งจะอิงการประมวลผลตามการ จดั ทาบญั ชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาตขิ องประเทศไทย ในส่วนของภาครัฐ รายจ่ายจากหน่วยแทน เช่น กระทรวงสาธารณสุข (กสธ.) กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) สานักงาน หลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ (สปสช.) และสานักงานประกันสังคม (สปส.) เปน็ ตน้ ประมาณมูลคา่ รายจา่ ยแบบ ทางตรง น่ันคือ ใช้ข้อมูลจริงท่ีได้รับรายงานจากหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ซึ่งต้องมีการรายงานโดยตรงต่อ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลงั แต่รายงานจากบางหนว่ ยงานไม่สามารถแบ่งตามการจาแนกประเภท ICHA ได้จึงตอ้ งมกี ารใช้การสารวจเพิ่มเตมิ ในส่วนของภาคเอกชน รายจ่ายจากหน่วยจ่ายแทน ได้แก่ บริษัทประกัน สวัสดิการที่นายจ้างจ่าย ให้กับลกู จ้าง ครวั เรอื น และองคก์ รเอกชนไมแ่ สวงกาไรฯ ประมาณมูลค่ารายจา่ ยแบบทางตรง โดยใช้ทัง้ ข้อมูล จริงจากรายงานประจาปีขององค์กรต่างๆ และการสารวจต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การสารวจภาวการณ์ทางาน ของประชากร สารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน เป็นต้น แต่ในส่วนของการลงทุนภาคเอกชน จะเป็นการคานวณทางอ้อม โดยอนุมานให้เป็นการลงทุนโดยครัวเรือน ท่ีประมาณจากข้อมูลการจดทะเบียน ใหม่ของผ้ปู ระกอบการสถานพยาบาลเอกชน และคลนิ ิกเอกชน และสถานพยาบาลทข่ี อขยายจานวนเตยี งท่ีขอ จดทะเบียนกับกองการประกอบโรคศิลปะกระทรวงสาธารณสุขการประมาณ กรณีโรงพยาบาลใช้จานวนเตยี ง คูณกับค่าเฉล่ียในการลงทุนต่อเตียง กรณีคลินิก คูณค่าเฉล่ียในการลงทุนต่อแห่ง โดยข้อมูลค่าเฉล่ียในการ ลงทนุ ประมาณการจากผูเ้ ชี่ยวชาญ สาหรับรายจ่ายจากหน่วยจ่ายแทนภาคต่างประเทศ ความช่วยเหลือจากต่างประเทศจะประมาณ โดยตรงจากข้อมูลของจากสานักงานความร่วมมือเพ่ือการพัฒนาระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ และธนาคารแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลรายจ่ายจากหน่วยจ่ายแทน จะแสดงใน Table 3: บัญชีการใช้ จ่ายด้านสุขภาพของหน่วยจ่ายแทน ทั้งภาครัฐ (Public) และภาคเอกชน (Private) โดยลงข้อมูลของรายจ่าย จากหนว่ ยจา่ ยแทน ซง่ึ วัดเปน็ มูลค่าหน่วยล้านบาทไทย (ราคาปปี ัจจุบนั ) รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 4-36 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
2.2) การบรโิ ภค มลู ค่าการบริโภคขัน้ กลาง การประมาณมูลค่าการบริโภคขั้นกลางหรือค่าใช้จ่ายข้ันกลาง (Intermediate Consumption) ใช้วิธีประมวลผลเดียวกันกับที่ได้ระบุไว้ในส่วนของการผลิต (Production) โดยมูลค่าของค่าใช้จ่ายข้ันกลางใน ทน่ี ้ีเป็นมูลคา่ ท่ีวัด ณ ราคาผ้ซู ้ือ (purchaser’s prices) มลู คา่ การบรโิ ภคขัน้ สุดทา้ ย มูลค่าการบริโภคขั้นสุดท้ายหรือมูลค่าผลประโยชนท์ ี่แท้จริงท่ีหนว่ ยเศรษฐกิจไดร้ ับ เป็นมูลค่าท่ีวัด ณ ราคาผู้ซ้ือ (purchaser’s prices) ซึ่งประมวลผลจากรายจ่ายท้ังหมดจากหน่วยจ่ายแทน โดยพิจารณาว่า รายจ่ายดังกล่าวเทียบเทา่ กับผลผลิตด้านสุขภาพท้ังหมดทเ่ี กิดข้ึนจากการผลิตและให้บรกิ ารภายในประเทศ ซึ่ง เม่อื นาไปหักด้วยรายจ่ายการบริโภคขัน้ กลาง (Intermediate Consumption) มลู ค่าทเ่ี หลอื จะเป็น มูลคา่ เพิ่ม (Value Added) สามารถนาไปกระจายเป็นการบรโิ ภคขั้นสุดท้ายของครวั เรือน (C) การบริโภคขั้นสุดท้ายของ ภาครัฐ (G) การใช้จ่ายเพื่อสะสมทุน (I) การส่งออก (X) และการนาเข้า (M) สูตรในการคานวณคล้ายกับการ คานวณผลติ ภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) นนั่ คอื มลู ค่าเพ่ิม = รายจ่ายท้งั หมดจากหน่วยจา่ ยแทน - คา่ ใชจ้ า่ ยข้นั กลาง มลู ค่าเพ่ิม = C + G + I + X -M การคานวณมูลค่าการบริโภคข้ันสุดท้ายท่ีแท้จริงของครัวเรือน หรือมูลค่าผลประโยชน์ที่ครัวเรือน ได้รับสามารถประเมินได้จากรายจ่ายของครัวเรือน ท่ีเรียกว่า out of pocket และรวมรายจ่ายของภาครัฐ และสถาบันไม่แสวงหากาไรให้บริการครัวเรอื น ในการจัดสวัสดิการใหแ้ ก่ครัวเรือนโดยไม่คิดมูลค่า ในลักษณะ ของการให้บริการสว่ นบุคคล รายจ่ายของครัวเรือน out of pocket จะคานวณเฉพาะผู้ท่ีพานักอยู่ในประเทศไทย ทั้งจากการ บริโภคสินค้าและบริการในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งสามารถใช้วิธีการคานวณทั้งทางตรงและทางอ้อม ทางตรง คือ การใช้มูลค่าการใช้จ่ายตามที่ปรากฏในผลการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ทางอ้อม คือ การใช้จานวนประชากรหรือจานวนครัวเรือนปัจจุบัน คานวณร่วมกับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อหัวปีฐาน เพ่อื ปรับเป็นคา่ ใชจ้ ่ายครวั เรือนในปีปจั จบุ นั หรือการใชร้ ายรับของธุรกิจมาคานวณค่าใชจ้ ่ายครัวเรือน โดยการ ใช้วิธีใดน้ันข้ึนอยู่กับแต่ละประเภทรายการค่าใช้จ่าย ส่วนรายจ่ายของภาครัฐ ท่ีจัดสวัสดิการให้แก่ครัวเรือน โดยไม่คิดมูลค่า ประเมินมูลค่าโดยตรงจากข้อมูลการใช้จ่ายของหน่วยงานภาครัฐโดยการใช้จ่ายของรัฐบาล ส่วนกลางใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลจากงบประมาณรายจ่ายตามที่ได้ใช้จ่ายจริงจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับ สุขภาพ ส่วนการใช้จ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรวบรวมข้อมูลจากการสอบถามโดยตรงจาก หนว่ ยงานดังกลา่ ว และสถาบันไม่แสวงหากาไรประเมินมลู ค่าจากการสารวจ การบริโภคข้ันสุดท้ายท่ีแท้จริงของภาครัฐ จะเป็นส่วนท่ีเหลือจากที่หักจากการคานวณมูลค่าการ บริโภคขั้นสุดท้ายท่ีแท้จริงของครัวเรือน น่ันคือ รายจ่ายเพ่ือการบริการด้านสุขภาพประเภทส่วนรวม (collective) โดยรายจ่ายบริโภคขั้นสุดท้ายของภาครัฐจะคิดเฉพาะรายจ่ายส้ินเปลืองหรือรายจ่ายประจา (Current Expenditure) เทา่ นั้น ไมรวมรายจ่ายเพ่ือการลงทนุ ในสินทรพั ย์ถาวร (Capital Expenditure) รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 4-37 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
มูลค่าการใชจ้ า่ ยเพอื่ การสะสมทุน วธิ ีการประมวลค่าการสะสมทุนของการจดั ทาบัญชีรายจ่ายสุขภาพของประเทศไทยท่ผี ่านมา เป็นการ เกบ็ รวบรวมข้อมูลจากแหล่งเจ้าของข้อมูล (ผ้ใู ห้บริการดา้ นสุขภาพทั้งภาครฐั และภาคเอกชน) โดยตรง ซง่ึ การ ใช้จ่ายเพื่อการสะสมทุนของภาคเอกชนอาจจาเป็นต้องประเมินมูลค่าจากการสารวจตัวอย่างผู้ให้บริการด้าน สุขภาพ แล้วทาการแปลงเป็นค่าประชากรจากสัดส่วนของการสะสมทุนต่อมูลค่าผลผลิต (สามารถใช้ตาราง ปัจจัยการผลิตและผลผลิตที่จัดทาโดย สศช.) โดยใช้มูลค่าผลผลิตในแต่ละสาขาเป็นตัวคุม เพื่อให้ได้ คา่ ประมาณทีล่ ะเอียดและถกู ต้อง สาหรับการเปล่ียนแปลงสินค้าคงเหลือ สามารถอิงวิธีการประมวลผลตามหลักการคานวณของบัญชี ประชาชาติของไทย คือ วิธีกระแสการไหลเวียนของสินค า (Commodity flow method) โดยคานวณ ทางดา้ นปริมาณการผลติ เป็นหลัก สวนเปลย่ี นแปลงสินค้าคงเหลือ (Change in inventories) = สนิ คาคงเหลอื ปลายปี - สินคาคงเหลือตนปี โดยท่ี สินคาคงเหลือปลายปีเท่ากับสินคาคงเหลือต้นปี บวก ผลผลิตระหว่างปี บวก สินค้านาเข้า หัก สินค้าท่ี ใชใ้ นระหว่างปี หัก สินค้าสง่ ออก มลู คา่ การนาเข้าและการสง่ ออก วิธีการประมวลผลตามบัญชีประชาชาติของไทย กรณีสินค้า สินค้าท่ีผ่านพิธีการศุลกากร จากกรม ศุลกากร สินค้านาเข้าคิดมูลค่าสินค้าตามราคา c.i.f. คือ มูลค่าสินค้าในตลาด ณ เขตแดนศุลกากร (Custom Frontier) ของประเทศไทย ซง่ึ ประกอบด้วย มูลคา่ สนิ คา ณ เขตแดนศลุ กากรของประเทศทีส่ ่งสินค้าเขา้ มา ค่า ขนส่ง ค่าประกันภัยสินค้า แต่ไม่รวมค่าขนของลง (Unloading) สินค้าส่งออกคิดมูลค่าสินคาตามราคา f.o.b. คือ มูลค่าสินค้าตามราคาตลาดในประเทศ บวกด้วย ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค่าไปยังท่าส่งออก ภาษีอากร สง่ ออก (Export Taxes & Export Duties) และค่าใชจ้ า่ ยในการขนของขึน้ เรอื (Loading) สาหรับการนาเข้าและส่งออกบริการ ประมาณโดยตรงจากข้อมูลจากดุลการชาระเงิน (Balance of Payments) ของธนาคารแหง่ ประเทศไทย ทั้งน้ี ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลรายจ่ายจากการบริโภค จะแสดงใน Table 4: บัญชีที่แสดง อุปสงค์ด้านสุขภาพ (Health Demand) โดยจาแนกตามประเภทผู้จ่าย หรือผู้ได้รับผลประโยชน์จากการใช้ จ่ายด้านสขุ ภาพ ซึง่ วัดเป็นมูลคา่ หนว่ ยลา้ นบาทไทย (ราคาปีปัจจุบัน) 3) รายได้ (Income) รายไดใ้ นที่น้ีเป็นสว่ นเกินจากต้นทุนการใชป้ ัจจยั ข้ันกลาง ซึ่งสามารถนามลู ค่าเพ่ิมของแต่ละผผู้ ลติ มา ประมวลผล และนามาจาแนกในแตล่ ะรายการของรายได้ โดยการประมวลผลอิงตามวิธีของบญั ชีประชาชาติ มลู คา่ เพ่ิม = มูลคา่ การผลิตทั้งหมด - ค่าใชจ้ ่ายขัน้ กลาง คา่ ตอบแทนแรงงาน ภาคเอกชน คานวณจากอตั ราคา่ ตอบแทนแรงงาน คูณดว้ ย จานวนลูกจ้าง ภาครัฐ ประมวลจากมูลค่าค่าตอบแทนแรงงานที่จ่ายให้แกขาราชการและลูกจ้างของรัฐบาล และ พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ ซงึ่ ประกอบด้วย รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ท่ี 4-38 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
เงินเดือน ค่าจ้าง (ยอดก่อนหัก กบข. กบท. กบต. กสจ. หรือหน่วยงานอื่นที่มีการจัดต้ังเพื่อการ บาเหน็จบานาญ และภาษเี งนิ ได) สวนท่ีรัฐจ่ายสมทบเขา กบข. กบท. กบต. กสจ. หรือหน่วยงานอื่นท่ีมีการจัดต้ังเพื่อการบาเหน็จ บานาญ เงนิ บาเหนจ็ และบานาญท้ังหมดที่ข้าราชการ ลูกจ้างประจา และลกู จ้างชั่วคราวไดรับ o กรณีเงินบาเหน็จบานาญของข้าราชการสวนกลางและส่วนภูมิภาค ประกอบด้วยรายจ่ายจาก รหัสรายจ่าย 922 (บานาญปกติ) และรหัสรายจ่าย 917 (เฉพาะส่วนท่ีเป็นเงินสมทบและเงิน ชดเชยของขา้ ราชการ) o กรณเี งนิ บาเหนจ็ บานาญของข้าราชการสวนท้องถิ่น ประกอบด้วย 3 สวน คอื (ไดรับจาก สวน ที่1.ร้อยละ 2 ของรายไดของท้องถ่ิน สวนที่ 2.จากส่วนกลางอุดหนุนให้และส่วนท่ี 3.จาก กองทนุ สมทบ) คาตอบแทน ไดแก ค่าล่วงเวลา ค่าครองชพี คา่ รักษาพยาบาล คา่ เลีย้ งดูบตุ ร ค่าเลา่ เรียนบุตร คา่ เชา่ บ้าน คา่ อาหาร ค่าเบี้ยประชมุ ค่าเบีย้ เล้ียง และค่าตอบแทนทเี่ ป็นส่งิ ของและบริการ ค่าตอบแทนจากการใช้สินค้าทุน ประมวลผลจากการคานวณค่าเสื่อมราคา (Depreciation) ของ สนิ ทรัพยถ์ าวรของผผู้ ลิตทีอ่ ยภู่ ายใตก้ ารจัดทาบัญชบี ริวารสุขภาพ ภาษที างออ้ มหกั ด้วยเงนิ อดุ หนนุ ตามระบบบัญชีประชาชาติ จะมี 2 ประเภท ภาษที ีเ่ รยี กเก็บอันเน่อื งมาจากการผลิต ภาษอี น่ื ๆ หรือ Other production taxes ท่ีเรียก เกบ็ โดยไมข่ น้ึ กบั การผลติ เชน่ ภาษีทเ่ี รียกเก็บ จากการจ้างแรงงาน ภาษีเครือ่ งจักร ภาษีโรงเรือน ภาษี ทรัพยส์ นิ ภาษปี า้ ย เป็นตน้ ค่าแรงของผู้ประกอบการที่ดาเนินธุรกิจด้วยตนเอง และส่วนเกินของการประกอบการ ตาม แนวทางการประมวลผลของบัญชีประชาชาติ โดยถือให้เป็นกาไรของผู้ประกอบการ น่ันคือ เท่ากับมูลค่าเพ่ิม ทั้งหมดหกั ด้วย ค่าตอบแทนแรงงาน ค่าตอบแทนจากการใช้สนิ ค้าทุน และภาษที างออ้ มสทุ ธิ ทั้งน้ี ข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวมข้อมูลรายได้ จะแสดงใน Table 5: บัญชีรายได้ ซ่ึงเป็นการต่อ ยอดจากบัญชีการผลิตใน Table 2 : โครงสร้างการผลิตหรือโครงสร้างต้นทุนของผู้ผลิตในการใช้ผลิตสินค้า และบริการด้านสุขภาพ เฉพาะในส่วนของมูลค่าเพิ่มท่ีสามารถจาแนกตามรายการค่าตอบแทนแรงงาน ทนุ ทด่ี ิน และอนื่ ๆ ของในแตล่ ะหมวดท่จี าแนกตามประเภทกิจกรรมด้านสุขภาพของบัญชีบรวิ ารดา้ นสุขภาพ วดั เป็นมูลค่าหน่วยล้านบาทไทย (ราคาปปี จั จบุ นั ) 4) การสะสม (Accumulation) การประมวลผลในส่วนนี้ใช้วิธีเดียวกันกับการคานวณมูลค่าการใช้จ่ายเพื่อการสะสมทุน น่ันคือ เป็น การเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากแหลง่ เจ้าของข้อมูล (ผใู้ ห้บริการด้านสุขภาพทั้งภาครฐั และภาคเอกชน) โดยตรง ซึง่ การสะสมของภาคเอกชน อาจจาเปน็ ตอ้ งใช้การสารวจมาชว่ ยในการประเมนิ ท้ังน้ี ข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวมข้อมูลการสะสม จะแสดงใน Table 6: Capital Account ซ่ึงแสดง การเปล่ียนแปลงของสินทรัพย์ และการลงทุนท่ีแจกแจงรายละเอียดตามประเภทการสะสมทุนในสว่ นที่ 4.2.3 (การสะสม (Accumulation) ของผู้ผลิตและผู้ให้บริการในแต่ละหมวดท่ีจาแนกตามประเภทกิจกรรมด้าน รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ 4-39 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
สุขภาพของบัญชีบริวารด้านสุขภาพในส่วน 4.2.3 (การผลิต (Production)) โดยวัดเป็นมูลค่าหน่วยล้านบาท ไทย (ราคาปีปัจจบุ นั ) 5) ข้อมลู ทไี่ ม่ใชก่ ารเงนิ (Non-Monetary Data) วิธีการประมวลผลข้อมูลที่ไม่ใช่การเงิน (Non-Monetary Data) สามารถดาเนินการโดยรวบรวมจาก หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น จานวนผู้ป่วยจากการรายงานของภายใต้สิทธิรักษาพยาบาลต่าง ๆ ของ ภาครฐั เป็นตน้ รวมท้ังใช้การสารวจมาชว่ ยในการประเมินโดยเฉพาะการเก็บข้อมูลจากภาคเอกชน ท้ังน้ี ข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวมข้อมูลที่ไม่ใช่เงิน จะแสดงใน Table 7: Non – Money Data โดย แสดงข้อมูลที่ไม่ใช่การเงินท่ีมีความเช่ือมโยงกับข้อมูลการเงินภายในบัญชีบริวารด้านสุขภาพ ซ่ึงในเบ้ืองต้น ข้อมูลขอ้ มลู ทค่ี วรจดั เก็บจะอิงจากคมู่ อื จัดทาบญั ชบี รวิ ารสขุ ภาพของต่างประเทศ 4.3 การตรวจสอบและบันทกึ ข้อมลู จากการสารวจข้อมูลภายในตารางต่าง ๆ ของบัญชีรายจ่ายสุขภาพของไทย ทาให้สามารถสรุปข้อมูล ที่มีและไมม่ ีอย่ใู นบัญชี ไดด้ งั ตารางที่ 4.15 ตารางที่ 4.15 ข้อมลู ท่มี ีอย่ใู นบญั ชีรายจา่ ยสุขภาพของไทย รายการ สถานะของขอ้ มลู การผลิต มี* ผลผลติ ทผ่ี ลิตได้ ม*ี โครงสรา้ งการผลิต (ปจั จัยขนั้ ต้น ขน้ั กลาง) รายจา่ ย มี จาแนกตามหนว่ ยจา่ ยแทน ไมม่ ี จาแนกตามผรู้ บั ประโยชน์ ไม่มี มลู ค่านาเขา้ ส่งออกสนิ ค้าและบรกิ าร ม*ี รายได้ มี การสะสมทนุ ไม่มี ขอ้ มลู ที่ไม่ใช่ตัวเงิน ดังตารางขา้ งต้นข้อมูลท่ี * เป็นข้อมลู ที่มีอยู่ในบัญชีรายจ่ายสุขภาพของไทย แตเ่ ปน็ ขอ้ มูลท่ีต้องศึกษา และปรับปรุงเพ่ิมเติม เนื่องจากข้อมูลจากบัญชีรายจ่ายสุขภาพของไทยที่สามารถใช้ในการจัดทาส่วนการผลิต และรายได้น้ันอิงจากการประมวลผลฝั่งค่าใช้จ่าย ไม่ได้ประมวลผลในแต่ละส่วนโดยตรง (ตามหลักบัญชี ประชาชาติ แต่ละดา้ นต้องประมวลผลข้ึนมาอย่างอิสระต่อกัน) และขอบเขตของข้อมลู ยังไมค่ รอบคลมุ กิจกรรม ท้ังหมดภายใต้บัญชีบริวารสุขภาพ ซึ่งจะต้องรวบรวมข้อมูลจากแหล่งอื่นเพิ่มเติม และจัดทาแนวทาง การรวบรวมข้อมูลในกรณีที่ไม่สามารถใช้ข้อมูลที่มีการจัดเก็บในปัจจุบันได้ สาหรับข้อมูลที่ไม่มีอยู่ในบัญชี รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 4-40 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
โดยเฉพาะมูลค่านาเข้าส่งออกสินค้าและบริการ และข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเงิน จาเป็นที่จะต้องตรวจสอบข้อมูลจาก แหลง่ อ่นื เพิ่มเติมเช่นเดียวกนั จากการสารวจขอ้ มลู เบ้ืองตน้ สามารถรวบรวมขอ้ มูลท่เี ก่ียวข้องกับบัญชีบริวารไดด้ งั นี้ มลู ค่าการผลิตของผผู้ ลิตและผใู้ หบ้ ริการด้านสุขภาพ มูลค่าการผลิตหรือยอดขายของผู้ให้บริการด้านสุขภาพ (ซ่ึงจะถูกแสดงใน Table 1) จากการ ตรวจสอบเบื้องต้น พบว่า ข้อมูลยอดขายท่ีรายงานต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ สามารถใช้ เป็นส่วนหนึ่งในการจัดทาข้อมูลภายในบัญชีบริวารได้ โดยข้อมูลรวบรวมจากผู้ให้บริการทุกรายท่ีจดทะเบียน ธุรกิจ และมีความละเอียดของข้อมูลท่ีสามารถสรุปผลในระดับ TSIC 5 หลัก มูลค่าการผลิตหรือยอดขายใน TSIC ท่ีเกี่ยวข้องกับการผลิตและบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ ดังแสดงในตารางท่ี 4.16 (ข้อมูลท่ีละเอียดมากกว่า TSIC 5 หลกั ตอ้ งมกี ารสารวจจดั เก็บเพิม่ เตมิ ซง่ึ ตารางทแี่ สดงมูลค่านี้ แสดงเฉพาะ TSIC ทสี่ ามารถแยกด้านสขุ ภาพ ออกไดอ้ ย่างชัดเจน) ตารางที่ 4.16 มูลคา่ การผลติ หรือยอดขายของผู้ผลิตและผู้ใหบ้ ริการด้านสุขภาพ ปี 2561 รหัส TSIC คาอธิบายรหสั มูลค่าการผลิตหรือยอดขาย ปี 2561 (ลา้ นบาท) 86101 กจิ กรรมโรงพยาบาล (ยกเว้นโรงพยาบาลเฉพาะทาง) 176,510.8 86102 กิจกรรมโรงพยาบาลเฉพาะทาง 3,744.0 87100 สถานบริการด้านการพยาบาลทใี่ ห้ทพ่ี กั 424.8 87201 กจิ กรรมการให้การดูแลที่ใหท้ ี่พกั แก่ผพู้ ิการทางสตปิ ญั ญา 0.2 87202 กจิ กรรมการให้การดแู ลท่ีให้ท่พี ักแกผ่ ู้มปี ญั หาสขุ ภาพจิต 22.4 87203 กจิ กรรมการใหก้ ารดแู ลที่ใหท้ พ่ี กั แกผ่ ตู้ ิดยาเสพติด 28.0 87301 กจิ กรรมการใหก้ ารดูแลทใ่ี ห้ที่พกั แก่ผสู้ ูงอายุ 302.1 87303 กิจกรรมการให้การดูแลท่ใี ห้ท่ีพกั แกผ่ ู้ใหญ่ทพี่ กิ าร 0.4 86201 กิจกรรมคลินกิ โรคทว่ั ไป 14,095.0 86202 กิจกรรมคลินิกโรคเฉพาะทาง 11,465.8 86203 กจิ กรรมทางทันตกรรม 3,443.4 86901 กิจกรรมด้านการพยาบาลและผดงุ ครรภ์ 414.3 86902 กิจกรรมด้านกายภาพบาบัด 167.1 86909 กจิ กรรมอื่นๆ ดา้ นสุขภาพมนุษย์ ซ่งึ มไิ ด้จดั ประเภทไว้ในท่อี ื่น 5,016.4 88101 กจิ กรรมสังคมสงเคราะหท์ ไ่ี ม่ให้ท่ีพักแกผ่ ู้สงู อายุ (เฉพาะท่บี ้าน) 49.2 86903 กิจกรรมของห้องปฏิบตั ิการทางการแพทย์ 21,734.3 96101 กจิ กรรมสปาและการนวด 10,685.9 93112 การดาเนนิ งานของศนู ยฟ์ ติ เนสและการออกกาลังกายเพ่อื ฝึกความ 7,459.6 ยดื หยุน่ ของร่างกาย 190,113.1 21001 การผลติ เภสชั ภณั ฑแ์ ละเคมีภณั ฑท์ ใ่ี ช้รักษาโรค 36,166.9 21002 การผลติ ผลิตภณั ฑจ์ ากพชื และสตั วท์ ี่ใชร้ กั ษาโรค 58,815.2 32501 การผลติ เคร่อื งมือและอปุ กรณ์ในทางการแพทย์ 39,584.9 22193 การผลติ สง่ิ ของเคร่อื งใชด้ า้ นสุขอนามยั หรือเภสัชกรรมทีท่ าจากยาง 26600 การผลิตเครื่องฉายรงั สี เครอ่ื งไฟฟา้ ทางการแพทยแ์ ละทาง 61.4 กายภาพบาบัด รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 4-41 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
รหสั TSIC คาอธบิ ายรหสั มลู ค่าการผลติ หรอื ยอดขาย ปี 2561 (ลา้ นบาท) 32502 การผลิตเครื่องมือและอุปกรณใ์ นทางทนั ตกรรม 2,148.5 20232 การผลติ นา้ หอม เคร่ืองสาอาง และเครอ่ื งประทนิ โฉม (เฉพาะผลิตภณั ฑ์ 73,457.5 ดูแลผิว เคร่ืองสาอาง) 8,977.0 32309 การผลิตเครือ่ งกีฬา 195,673.8 46441 การขายส่งสินค้าทางเภสชั กรรมและทางการแพทย์ 144,462.2 47721 ร้านขายปลกี สินคา้ ทางเภสชั กรรมและเวชภณั ฑ์ 78,364.1 47723 ร้านขายปลกี เคร่ืองสาอางและเครอื่ งประทนิ โฉม 21,216.0 47630 ร้านขายปลีกเครอื่ งกีฬา 85495 กิจกรรมการเรยี นการสอนสปาบาบัด 3.4 85496 กิจกรรมการเรียนการสอนนวด 8.4 ทีม่ า: กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ กระทรวงพาณชิ ย์ ข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้านั้นจะเน้นที่ภาคเอกชนเป็นสาคัญจึงทาให้ขาดข้อมูล ธุรกิจของ ภาครัฐ (เช่น โรงพยาบาลรัฐ) และในกิจกรรมการให้บริการสุขภาพท่ีดาเนินการโดยหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ การกาหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการให้บริการด้านสุขภาพ (TSIC84122) และการประกันสังคมภาคบังคับ (TSIC84300) ซ่ึงจาเป็นต้องใช้แหล่งข้อมูลอ่ืนเพ่ิมเติมในการประมวลผล โดยสามารถใชข้ ้อมูลในบัญชรี ายจ่าย สขุ ภาพแห่งชาติของไทยทดแทนได้ อย่างไรก็ตาม ฐานข้อมูลดังกล่าวอาจไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ หากผู้ประกอบการทุกคนในประเทศไม่ได้ ขึ้นทะเบยี นธรุ กจิ หรอื แจ้งยอดขายทกุ ๆ ปี ดงั น้นั การรวบรวมข้อมลู สามารถใชฐ้ านขอ้ มูลอื่นร่วมวเิ คราะห์ เชน่ รายไดจ้ ากยอดขายท่ีแจ้งเสยี ภาษมี ูลค่าเพ่ิมกับกรมสรรพสามิต การสารวจสามะโนอุตสาหกรรมของสานักงาน สถิตแิ หง่ ชาติ เป็นตน้ การนาเข้าสง่ ออกสนิ คา้ ส า ห รั บ มู ล ค่ า ก า ร น า เ ข้ า ส่ ง อ อ ก ใ น แ ต่ ล ะ สิ น ค้ า ข อ ง ไ ท ย ส า ม า ร ถ ใ ช้ ข้ อ มู ล จ า ก ก ร ม ศุ ล ก า ก ร หรือใช้ฐานข้อมูลจากต่างประเทศ เช่น WITS, Trade Map เป็นต้น สถิติการนาเข้าส่งออกสินค้าด้านสุขภาพ สามารถแสดงข้อมูลได้ดงั ตารางท่ี 4.17 รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าที่ 4-42 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ตารางท่ี 4.17 มูลคา่ การนาเขา้ สง่ ออกสินคา้ ของไทยตั้งแต่ปี 2012 ถึง 2019 หน่วย : ดอลลารส์ หรฐั สินคา้ สขุ ภาพ ปี ยารักษาโรค วสั ดุสนิ้ เปลอื ง ครุภัณฑ์ทาง นา้ ยาและชุด สินค้าด้าน สินค้าท้งั หมด /สินคา้ ทางการแพทย์ การแพทย์ ตรวจวินิจฉัย สุขภาพรวม ท้งั หมด (รอ้ ย ละ) นาเข้า 2012 58,308,805,670 18,740,590,733 16,811,126,112 6,658,550,669 100,519,073,184 7,695,845,844,250 1.31 2013 56,988,835,845 22,294,549,051 16,302,258,797 7,005,490,265 102,591,133,958 7,704,740,499,392 1.33 2014 62,411,766,298 22,475,488,917 13,749,739,912 7,676,480,092 106,313,475,219 7,404,149,866,539 1.44 2015 68,606,289,861 23,714,546,383 15,428,377,037 8,659,931,535 116,409,144,816 6,921,119,683,587 1.68 2016 71,360,695,872 25,249,082,976 17,613,772,596 9,839,705,778 124,063,257,222 6,907,901,444,406 1.80 2017 79,275,720,364 26,409,345,591 17,135,039,573 10,537,870,312 133,357,975,839 7,636,139,659,390 1.75 2018 85,218,324,586 28,540,777,942 18,555,668,858 11,649,999,376 143,964,770,762 8,113,115,559,370 1.77 2019 79,452,501,888 28,170,992,202 21,094,946,244 11,729,649,741 140,448,090,075 7,455,601,618,212 1.88 %2019 56.57 20.06 15.02 8.35 100.00 สง่ ออก 2012 14,455,768,646 72,058,016,813 7,870,857,869 337,953,946 94,722,597,274 7,135,345,277,702 1.33 2013 15,103,468,842 74,516,744,278 6,993,996,534 119,055,381 96,733,265,035 7,023,082,433,336 1.38 2014 15,603,152,721 80,907,108,379 7,217,219,886 135,783,538 103,863,264,524 7,392,496,423,052 1.40 2015 17,334,625,854 78,059,198,708 8,584,987,284 130,912,673 104,109,724,519 7,233,369,562,838 1.44 2016 18,405,153,756 81,089,389,440 8,877,552,894 232,119,648 108,604,215,738 7,538,203,711,206 1.44 2017 19,479,002,075 85,818,180,763 8,952,569,038 483,895,133 114,733,647,009 8,005,120,524,684 1.43 2018 20,051,640,378 89,670,406,912 9,096,993,120 1,249,927,824 120,068,968,234 8,075,057,623,866 1.49 2019 20,502,041,685 93,602,575,749 4,395,479,025 1,516,242,339 120,016,338,798 7,618,327,296,855 1.58 %2019 17.08 77.99 3.66 1.26 100.00 ทมี่ า: Trade Map การนาเขา้ สง่ ออกบรกิ าร งานศึกษาน้ีใช้ข้อมูลจาก WTO ท่ีได้จัดรวบรวมข้อมูลนาเข้าส่งออกบริการ TISMOS (Trade in Services data by Mode of Supply) แม้ข้อมูลล่าสุดคือ ปี 2017 แต่ข้อมูลดังกล่าวมีความละเอียดถึงระดับ การจาแนกรายโหมดหรือประเภทการนาเข้าส่งออกบริการ และมีข้อมูลย้อนหลังถึงปี 2005 ซ่ึงสามารถนาไป ประมาณการต่อจนถึงปปี ัจจุบนั ได้ สถติ ิการนาเขา้ ส่งออกบริการขา้ งตน้ สามารถแสดงข้อมูลได้ดังตารางที่ 4.18 และตารางท่ี 4.19 รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 4-43 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ตารางที่ 4.18 มูลคา่ การนาเข้าสง่ ออกบรกิ ารของไทยตงั้ แตป่ ี 2012 ถงึ 2017 หน่วย : บาท ปี บริการสุขภาพ บรกิ ารสขุ ภาพจาก บริการด้าน บรกิ ารทั้งหมด บริการสขุ ภาพ ส่วนบุคคล การทอ่ งเท่ียว สขุ ภาพรวม /บริการทงั้ หมด (รอ้ ยละ) นาเข้า 2012 141,018,029 250,426,547 391,444,576 2,732,603,983,010 0.014 2013 116,368,306 527,304,455 643,672,762 2,395,757,972,413 0.027 2014 182,383,506 445,867,888 628,251,395 2,432,228,830,415 0.026 2015 273,101,989 269,155,462 542,257,451 2,641,440,324,740 0.021 2016 274,711,309 203,183,901 477,895,210 2,685,019,523,874 0.018 2017 348,394,009 349,565,192 697,959,201 2,745,385,848,668 0.025 %2017 49.92 50.08 100.00 สง่ ออก 2012 388,870,848 8,921,337,600 9,310,208,448 1,787,344,915,200 0.521 2013 360,024,209 8,789,323,400 9,149,347,609 1,993,486,157,300 0.459 2014 302,686,844 9,647,777,700 9,950,464,544 2,023,467,073,100 0.492 2015 302,243,178 12,056,844,800 12,359,087,978 2,299,295,107,200 0.538 2016 325,906,434 14,154,498,000 14,480,404,434 2,529,136,998,000 0.573 2017 354,284,002 15,068,694,000 15,422,978,002 2,680,802,115,000 0.575 %2017 2.30 97.70 100.00 ท่มี า: TISMOS, WTO ตารางท่ี 4.19 มูลคา่ การนาเขา้ สง่ ออกบริการของไทยในปี 2017 จาแนกตามโหมดต่างๆ หนว่ ย : บาท โหมด บริการสุขภาพ บริการสุขภาพจาก บรกิ ารด้าน รอ้ ยละ ส่วนบุคคล การทอ่ งเที่ยว สุขภาพรวม ตามโหมด นาเข้า โหมด 1 การบริการข้ามพรมแดน 78,896,390 0 78,896,390 11.30 (cross - border supply) โหมด 2 การบรโิ ภคในต่างประเทศ 0 349,565,192 349,565,192 50.08 (consumption abroad) โหมด 3 การจดั ตงั้ ธุรกิจเพ่อื ให้บรกิ าร 243,198,811 0 243,198,811 34.84 (commercial presence) โหมด 4 การใหบ้ ริการโดยบคุ คลธรรมดา 26,298,808 0 26,298,808 3.77 (presence of natural persons) รวมมลู คา่ นาเข้า 348,394,009 349,565,192 697,959,201 100.00 สง่ ออก โหมด 1 การบริการขา้ มพรมแดน 264,720,300 0 264,720,300 1.72 (cross - border supply) โหมด 2 การบริโภคในตา่ งประเทศ 0 15,068,694,000 15,068,694,000 97.70 (consumption abroad) โหมด 3 การจดั ตง้ั ธรุ กจิ เพือ่ ให้บรกิ าร 1,323,602 0 1,323,602 0.01 (commercial presence) รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 4-44 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
โหมด บรกิ ารสุขภาพ บริการสขุ ภาพจาก บรกิ ารดา้ น ร้อยละ ส่วนบุคคล การทอ่ งเท่ียว สุขภาพรวม ตามโหมด โหมด 4 การให้บรกิ ารโดยบคุ คลธรรมดา 88,240,100 0 (presence of natural persons) 88,240,100 0.57 354,284,002 15,068,694,000 รวมมลู ค่าส่งออก 15,422,978,002 100.00 ทม่ี า: TISMOS, WTO จากการตรวจสอบขอ้ มลู เบื้องตน้ ขอ้ มูลที่ไม่ใชก่ ารเงนิ ทรี่ วบรวมไดม้ ีดงั น้ี (ซง่ึ จะถกู แสดงใน Table 7) จานวนผปู้ ว่ ยและจานวนการใช้สิทธิ ข้อมูลจานวนผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกและจานวนการใช้สิทธิจาแนกตามสิทธิรักษาพยาบาลต่าง ๆ ปี 2562 แสดงดงั ตารางท่ี 4.20 ตารางที่ 4.20 จานวนผู้ป่วยในและผ้ปู ว่ ยนอก และจานวนการใชส้ ทิ ธิ จาแนกตามสิทธิรกั ษาพยาบาลตา่ ง ๆ ปี 2562 ตวั แปร สทิ ธิ UC ข้าราชการและ ประกนั สังคม ตา่ งดา้ ว ไมส่ ามารถจัดลง รวม รัฐวิสาหกิจ สิทธอิ ืน่ ๆ ได้ ผู้ป่วยใน จานวนผปู้ ว่ ยใน 3,897,009 517,640 570,895 419,901 28,494 5,431,887 จานวนวนั นอนของผปู้ ว่ ยใน 16,219,488 2,579,502 2,279,623 1,724,814 164,086 22,967,513 อตั ราสว่ นวันนอนต่อผปู้ ่วย 4.16 4.98 3.99 4.11 5.76 4.23 ผู้ป่วยนอก จานวนผปู้ ่วยนอก 56,207,909 7,566,495 10,543,796 10,392,297 1,136,044 79,635,648 จานวนครั้งของผ้ปู ว่ ยนอก 225,561,831 34,336,756 30,035,266 20,525,221 3,259,922 313,717,778 อัตราสว่ นคร้งั ตอ่ ผู้ปว่ ย 4.01 4.54 2.85 1.98 2.87 3.94 ที่มา: HDC ของศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ขอ้ มูลท่ีไม่ใช่การเงนิ จาแนกตามประเภทสถานพยาบาล ข้อมูลท่ีไม่ใช่การเงิน ได้แก่ จานวนผู้ป่วย จานวนสถานพยาบาล จานวนเตียง และจานวนบุคลากร สามารถจาแนกตามประเภทสถานพยาบาลรัฐและเอกชน ไดด้ ังตารางที่ 4.21 - 4.23 โดยข้อมลู ทั้งหมดมาจาก สถิติสุขภาพ และการสารวจโรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชน พ.ศ. 2560 (แต่เป็นการสอบถามข้อ มูล ภายในปี 2559) ของสานักงานสถติ แิ ห่งชาติ รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าที่ 4-45 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ตารางท่ี 4.21 จานวนสถานพยาบาลและจานวนเตยี งจาแนกตามประเภทสถานพยาบาล ปี 2559 ขอ้ มลู ประเภทสถานพยาบาล สถานพยาบาล Public Hospitals Private Hospitals เตียง ทม่ี า : สานักงานสถติ ิแห่งชาติ 1,221 347 141,500 34,701 ตารางที่ 4.22 จานวนผปู้ ่วยในและผู้ป่วยนอกจาแนกตามประเภทสถานพยาบาล ปี 2559 ข้อมูล ประเภทสถานพยาบาล ผูป้ ว่ ยใน Public Hospitals Private Hospitals ผู้ป่วยนอก ทม่ี า : สานักงานสถติ แิ ห่งชาติ 19,740,850 2,803,899 221,786,620 58,838,046 ตารางท่ี 4.23 จานวนบุคลากรแพทยด์ ้านตา่ งๆ จาแนกตามประเภทสถานพยาบาล ปี 2559 ข้อมลู ประเภทสถานพยาบาล เจา้ หน้าทรี่ ักษาพยาบาล Public Hospitals Private Hospitals เจ้าหน้าที่บรกิ ารโรงพยาบาล เจ้าหน้าท่ีบรกิ ารทางการแพทย์ 109,920 198,170 เจ้าหนา้ ทบ่ี ริหาร ที่มา : สานักงานสถิติแหง่ ชาติ 41,033 18,450 12,655 10,563 รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 4-46 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
บทท่ี 5 การจัดประชมุ ทเ่ี กยี่ วข้องกับการ ดาเนนิ งานของโครงการ
5 การจัดประชุมทเี่ ก่ียวข้องกบั การ ดาเนนิ งานของโครงการ เน้ือหาในส่วนนี้เป็นการนาเสนอการจัดประชุมท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของโครงการ โดยการ นาเสนอแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1) การจัดประชุมรายงานความคืบหน้าต่อคณะอนุกรรมการและ คณะกรรมการเศรษฐกิจสุขภาพและการคลังสุขภาพ 2) การจัดประชุมนาเสนอผลการดาเนินงานพัฒนา โครงสรา้ ง และรูปแบบมาตรฐานของระบบฐานข้อมูลสถิติด้านเศรษฐกิจสุขภาพ สาหรบั การจดั ทาบัญชบี ริวาร ด้านสขุ ภาพ และ 3) การอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บคุ ลากรของกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ซึ่งมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 5.1 การจัดประชุมรายงานความคบื หนา้ ตอ่ คณะอนกุ รรมการและคณะกรรมการเศรษฐกจิ สขุ ภาพและการคลงั สุขภาพ 5.1.1 การนาเสนอแผนการดาเนินงานที่กาหนดไว้ในการศกึ ษา ร่วมกับกองเศรษฐกิจสุขภาพและ หลักประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันท่ี 8 มกราคม 2563 โดยมีสาระสาคัญของแผนการ ดาเนนิ งานดังน้ี หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ และผลที่คาดว่าจะได้รับจากการการดาเนินงานของ โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสุขภาพศึกษาสถานการณ์และ ออกแบบระบบ ระยะที่ 1 รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 5-1 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ความคืบหน้าของการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย การจัดทาบัญชีประชาชาติ (SNA) การจัดทาบัญชีบริวาร (Satellite Accounts) การจัดทาบัญชรี ายจา่ ยสขุ ภาพแห่งชาติ ของประเทศไทย (NHA) การกาหนดแนวทางการจัดทาบัญชีบริวารการนาเข้าและส่งออกของบริการสุขภาพของ ประเทศไทย โดยนาเสนอกรอบแนวคิด และหลักเกณฑ์ในการพจิ ารณาเพื่อจดั เก็บข้อมูลของ บัญชบี ริวาร การนาเขา้ และสง่ ออกของบรกิ ารสขุ ภาพ แผนการรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ การกาหนดกลุ่มเป้าหมายในการ สัมภาษณ์ และประเด็นในการสัมภาษณ์เชิงลึกเบ้ืองต้น โดยกาหนดระยะเวลาในการ ดาเนินการ 2 เดือน 5.1.2 การนาเสนอความก้าวหน้าของแผนการดาเนินงานและหารือเพ่ือเตรียมการประชุม คณะกรรมการเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกนั สขุ ภาพ คร้งั ท่ี 1/2563 รว่ มกบั กองเศรษฐกจิ สุขภาพและ หลกั ประกนั สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันท่ี 20 พฤษภาคม 2563 มีสาระสาคัญดงั นี้ ความคืบหน้าของการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง โดยการนาเสนอหลักการและแนวคิดที่ สาคัญจากการศึกษา ได้แก่ 1) ระบบบัญชีประชาชาติ 2) ระบบบัญชีบริวารด้านสุขภาพ 3) ระบบบัญชีด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น A System of health Accounts ของ OECD เป็นต้น รวมท้ังนาเสนอความก้าวหน้าของประสบการณ์ในการจัดทาบัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพแห่งชาติ ของประเทศไทย (NHA) ความคืบหน้าของการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิที่เกี่ยวข้อง โดยการนาเสนอผลการรวบรวม ข้อมูลเก่ียวกับการจัดทาโครงสร้างชอง ร่าง บัญชีบริวารด้านสุขภาพในภาพรวม และ ประสบการณก์ ารเก็บข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ข้อเสนอโครงสร้างบัญชีบริวารด้านสุขภาพของประเทศไทย ซ่ึงประกอบด้วย บัญชีค่าใช้จ่าย บัญชีการผลติ และบญั ชีรายได้ 5.1.3 การนาเสนอความก้าวหน้าในการดาเนินงานในการประชุมคณะกรรมการเศรษฐกิจสุขภาพ และการคลังสุขภาพ คร้ังที่ 1/2563 ร่วมกับกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวง สาธารณสขุ ณ วนั ที่ 5 สงิ หาคม 2563 มสี าระสาคัญ ดงั น้ี การนาเสนอหลักการและเหตุผบ วัตถุประสงค์ ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ และแผนการดาเนินงาน ในการพัฒนาระบบข้อมูล สถติ ิด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพ และต้ังโครงบญั ชี บริวารดา้ นสขุ ภาพ ความก้าวหน้าการดาเนินการพัฒนาการศึกษาและออกแบบระบบของบัญชีบริวารด้าน สุขภาพ o ระยะของการพัฒนาโครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจ สุขภาพ ศึกษาสถานการณ์และออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 o การทบทวนข้อมูลวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ ประกอบด้วย 6 ประเด็น ไดแ้ ก่ 1) นิยาม 2) แนวคดิ 3) หลักการทางบัญชี 4) วธิ ีการ คานวณและประมวลผล 5) การจาแนกประเภท และ 6) องค์ประกอบของบัญชี บริวาร จากการจัดทาระบบบัญชีที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ระบบบัญชีประชาชาติ (SNA) รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ท่ี 5-2 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ระบบบัญชีบริวารด้านสุขภาพ ของ Pan American Health Organization ปี 2558 ระบบบัญชีด้านสุขภาพของ OECD (SHA) ฉบับปรับปรุง ปี 2554 และระบบ บญั ชรี ายจ่ายสุขภาพแห่งชาตขิ องประเทศไทย o การจัดทาข้อเสนอตารางภายใต้บัญชีบริวารสุขภาพ ประกอบด้วย 9 ตารางย่อย ได้แก่ ตารางท่ี 1 รายจ่ายทง้ั หมด (Total Expenditure) ของหน่วยจา่ ยแทน (FA) ทจ่ี า่ ยให้กับผผู้ ลติ และผู้ให้บรกิ าร (HP) ตารางที่ 2 รายจา่ ยท้ังหมด (Total Expenditure) ของหนว่ ยจา่ ยแทน (FA) ทจี่ า่ ยตามกิจกรรมด้านสขุ ภาพ (HC) ตารางท่ี 3 รายจ่ายดาเนินการ (Current Expenditure) ของหน่วยจ่ายแทน (FA) ท่จี า่ ยใหก้ บั ผผู้ ลติ และผใู้ ห้บริการ (HP) หรอื กิจกรรมดา้ นสุขภาพ (HC) ตารางท่ี 4 รายจ่ายดาเนินการ (Current Expenditure) ของหน่วยจ่ายแทน (FA) โดยจาแนกตามประเภทผู้ให้บริการ (HP) ตารางท่ี 5 ผลผลิตหรืออุปทาน (Supply) ด้านสุขภาพในแต่ละกิจกรรมด้าน สุขภาพ (HC) ทผ่ี ลติ โดยผู้ผลิตและผใู้ หบ้ ริการดา้ นสขุ ภาพ (HP) ตารางท่ี 6 โครงสร้างต้นทนุ การผลติ (Cost Structure Structure) ของผู้ผลิต และผู้ใหบ้ รกิ ารดา้ นสุขภาพ (HP) โดยแสดงการใชป้ จั จยั ขั้นตน้ ตารางที่ 7 อุปสงค์ (Demand) ด้านสุขภาพจากผู้บริโภคหรือผู้รับ ผลประโยชน์ในแต่ละกิจกรรมด้านสุขภาพ (HC) ท่ีกระจายสินค้าและบริการ ไปยังผู้บริโภคในการบริโภคข้ันกลาง การบริโภคขั้นสุดท้าย การบริโภคเพื่อ การสะสมทนุ และการส่งออกด้านสุขภาพ ตารางที่ 8 การสะสมสินทรัพย์ในแต่ละประเภท (HK) ของผู้ผลิตและผู้ ใหบ้ รกิ ารด้านสขุ ภาพ (HP) ตารางที่ 9 ข้อมูลท่ีไม่ใช่ทางการเงิน (Non-Monetary Data) เช่น จานวน ผู้ป่วย จานวนบุคลากรด้านการแพทย์ และจานวนสถานพยาบาล เป็นต้น ท่ี จาแนกตามประเภทสถานพยาบาล และสิทธิการรักษาพยาบาลต่าง ๆ โดย เป็นตัวอย่างเบื้องต้นของข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงินในการจัดทาบัญชีบริวาร ด้านสุขภาพ o การออกแบบการนาเข้าข้อมูลการนาเข้าและส่งออกสินค้าและบริการด้านสุขภาพ ซึ่งจาแนกตามพิกัดศุลกากร และการจาแนกบริการด้านสุขภาพ จาแนกตามการค้า ภาคบริการ EBOPS (ภาคผนวก ข) 5.1.4 การนาเสนอความก้าวหน้าของแผนการดาเนนิ งานหลังจากปรบั ปรุงตามมตคิ ณะกรรมการ เศรษฐกิจสขุ ภาพและหลกั ประกนั สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2563 การเช่ือมโยง (mapping) รหัส ISIC และ TSIC ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ค) แผนการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับการกาหนดขอบเขตและการรวบรวมข้อมูลตามการการ เชื่อมโยง (mapping) รหัส ISIC และ TSIC ทเ่ี กีย่ วข้อง รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 5-3 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
5.1.5 การนาเสนอความคืบหน้าของการดาเนนิ งาน รว่ มกบั กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลกั ประกนั สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2563 การนาเสนอแผนการจัดทาบัญชบี รวิ ารดา้ นสขุ ภาพ ซง่ึ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ประกอบดว้ ย o ระยะท่ี 1 การจัดทากรอบขอ้ มูล และจดั ทาโครงสรา้ งบญั ชีบริวารดา้ นสขุ ภาพ o ระยะที่ 2 การรวบรวมข้อมูล จัดทาบัญชี และพัฒนารายละเอียก พัฒนาและ ทดสอบแบบจาลองสาหรบั วเิ คราะห์ o ระยะท่ี 3 การใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์เชิงนโยบายและผลติ รายงาน ข้อเสนอขอบเขตบัญชีบริวารด้านสุขภาพของประเทศไทย ท่ีพัฒนาต่อยอดจากบัญชีรายจา่ ย สุขภาพแห่งชาติ (NHA) และการพฒั นาจากนโยบายและแผนการพฒั นาเศรษฐกจิ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยมหี มวดภายใต้บัญชบี รวิ ารดา้ นสขุ ภาพทั้งสน้ิ 16 หมวด ความคบื หนา้ การรวบรวมขอ้ มูลเกีย่ วกับขอบเขตของบัญชีบรวิ ารด้านสขุ ภาพ และการสารวจ และรวบรวมข้อมลู การนาเสนอแผนการดาเนินงานในระยะถัดไป ได้แก่ การประชุมรายงานความคืบหน้าต่อ คณะอนุกรรมการและคณะกรรมการเศรษฐกิจสุขภาพและการคลังสุขภาพ คร้ังท่ี 2/2563 การจัดประชุมนาเสนอผลการดาเนินงาน และการอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของ กระทรวงสาธารณสุขและหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง 5.1.6 การนาเสนอความก้าวหน้าในการดาเนนิ งานในการประชุมคณะกรรมการเศรษฐกิจสุขภาพ และการคลังสุขภาพ ครั้งท่ี 2/2563 ร่วมกับกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข ณ วนั ท่ี 16 พฤศจิกายน 2563 ความคืบหน้าการจัดหมวดหมู่ของกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือให้เห็นภาพรวมของการจัดทาบัญชี บริวารด้านสุขภาพท่ีสามารถสะท้อนอุตสาหกรรมด้านสุขภาพ โดยการกาหนดขอบเขตของ ขอ้ มูลภายใต้กรอบกจิ กรรมออกเป็น 16 หมวด การนาเสนอมลู ค่าของกจิ กรรมภายใต้บัญชีบรวิ ารดา้ นสขุ ภาพ ซง่ึ คิดเปน็ รอ้ ยละ 5 ของ GDP 5.2 การจดั ประชมุ นาเสนอผลการดาเนินงาน การประชุมนาเสนอผลการดาเนินงาน เร่ือง แผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสุขภาพ ศึกษา สถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะที่ 1 ณ วนั พุธ ที่ 13 มกราคม 2564 มผี ู้เขา้ รวมประชมุ รวมทั้งส้ิน 28 คน ผ้เู ข้าร่วมการประชมุ กองเศรษฐกจิ สขุ ภาพและหลกั ประกันสขุ ภาพ สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ นพ.ถาวร สกุลพาณิชย์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนเช่ยี วชาญ รกั ษาการ นพ.ชมุ พล นุชผอ่ ง ในตาแหน่งผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นควบคุมป้องกนั โรค (นกั วชิ าการสาธารณสุขทรงคุณวุฒ)ิ (ดา้ นวจิ ยั ) นายแพทยช์ านาญการพเิ ศษ รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 5-4 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
นางนชุ นาจ วิริยะประสิทธิ์ ผ้อู านวยการโรงพยาบาลคีรีมาศ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการพเิ ศษ นางสาวณิรดา โพธยิ์ ิม้ หวั หน้ากลุ่มงานพัฒนาการจดั สรรทรพั ยากรด้าน นายศวิ ะ ฉิมพลี เศรษฐกิจสุขภาพและหลกั ประกนั สุขภาพ นางสาวสธุ ดิ า เมฆสุข นกั วเิ คราะหช์ านาญการพิเศษ นางสาวพัณณาภรณ์ สบู่หอม นักวชิ าการสถิติ นักวิชาการสถิติ เศรษฐกร สานักงานนโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารค้า กระทรวงพาณิชย์ นางสาวพชั รณฐั วุฒิวัย (ผู้แทน) ผู้อานวยการสานักงานนโยบายและ ยทุ ธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณชิ ย์ กองบัญชปี ระชาชาติ สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ นางสาวณฐั สุดา เพชรหนุน รกั ษาการในตาแหนง่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการพฒั นา บญั ชีงบดลุ แหง่ ชาติ นางสาวจารวุ รรณ พูลสุข นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ กองสถติ ิสังคม สานกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ รกั ษาการแทนผู้อานวยการกองสถิตสิ งั คม นางสาวพรรณี พัฒนประดิษฐ์ สานักงานสถติ แิ ห่งชาติ กองนโยบายอตุ สาหกรรมมหภาค สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม นางสาวพิมพ์ขวัญ ลิมปโสภา (ผูแ้ ทน) ผอู้ านวยการกองนโยบายอุตสาหกรรมมห ภาค สานกั งานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม กระทรวง อตุ สาหกรรม สานกั งานพัฒนานโยบายสขุ ภาพระหวา่ งประเทศ กระทรวงสาธารณสขุ นายวฒุ ิพันธ์ุ วงษม์ งคล (ผแู้ ทน) ผ้อู านวยการสานักงานพัฒนานโยบาย สุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสขุ สานกั งานเศรษฐกจิ การคลงั กระทรวงการคลัง เศรษฐกรปฏบิ ัติการ เศรษฐกรชานาญการ นางสาวพมิ พาภรณ์ สทุ ธหลวง นายกวนิ เอย่ี มตระกลู คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ นกั วจิ ัย รศ.ดร.ภญ.นุศราพร เกษสมบูรณ์ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ผศ.ดร.กลุ จิรา อุดมอักษร นกั วิจยั รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 5-5 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
กองยา สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หวั หนา้ กลมุ่ นโยบายแหง่ ชาติด้านยา ภญ.อัญชลี จิตรกั นที ธนาคารแห่งประเทศไทย ผ้วู ิเคราะหอ์ าวุโส ผู้วิเคราะห์ นางสาวพรสวรรค์ รักเป็นธรรม นางสาวณฏั ฐณชิ า ริมครี ี กองเศรษฐกจิ การทอ่ งเที่ยวและกีฬา สานกั งานปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา นายธนาธร จงกอ้ งเกียรติ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ นายสุกฤษฏ์ เฮงมี เศรษฐกร มลู นิธิสถาบนั วิจัยเศรษฐกจิ การคลงั รองผ้อู านวยการ นักวิจัยอาวุโส ดร.รพสี ุภา หวังเจริญรงุ่ นักวจิ ยั นายตอ้ งการ จิตเลิศขจร นักวจิ ัย นายนฤนาท เกตุอาไพ นักวจิ ยั นางสาวกษมา ปดั ทุม เลขานุการทีมวิจยั นายปวริศ ปิยะจิตเมตตา นางสาวศรณธร ศรีพารา เริ่มการประชมุ เวลา 10.00 น. นพ.ถาวร สกุลพาณิชย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ รักษาการในตาแหน่งผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านควบคุมป้องกันโรค (นักวิชาการสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ) (ด้านวิจัย) สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวเปิดการประชุม พร้อมช้ีแจงหลักการ เหตุผล และวัตถุประสงค์ของการประชมุ ต่อมา ดร.รพีสุภา หวังเจรญิ รุง่ รองผู้อานวยการมูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง นาเสนอในหัวข้อ “แผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสุขภาพ ศึกษาสถานการณ์และออกแบบระบบ ระยะท่ี 1” โดยกล่าวถึง หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์และผลท่ีคาดว่าจะได้รับ (ร่าง) แผนแม่บท (Master Plan) การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สุขภาพ กรอบแนวคิดในการดาเนินการในระยะที่ 1 และผลการดาเนินงาน ได้แก่ 1) การรวบรวมข้อมูลทุติย ภูมิและข้อมูลปฐมภูมิ 2) กรอบกิจกรรมภายใต้บัญชีบริวารด้านสุขภาพ 3) ขอบเขตของกิจกรรมรายหมวด ท้ังส้ิน 16 หมวด 4) ข้อเสนอโครงสร้างของระบบบัญชีบริวารด้านสุขภาพ และ 5) การออกแบบโครง สร้าง ตารางบัญชบี รวิ ารดา้ นสขุ ภาพ รวมทงั้ นาเสนอแผนการดาเนนิ งานระยะถดั ไป อันประกอบด้วย การสารวจและ รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือนามาประกอบการจัดทาบัญชีประชาชาติด้านสุขภาพปี 2561 หรือปีล่าสุดตามการเผยแพร่ตารางสถิติบัญชีประชาชาติของสานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การพัฒนาแบบจาลอง เพื่อวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจสุขภาพ และการจัดทาร่างรายงานบัญชีประชาชาติด้าน สุขภาพ และจดั ทาอนิ โฟกราฟฟิค เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ผู้เข้าร่วมการประชุมได้มีการอภิปรายและให้ความเห็นต่อแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจ สุขภาพ ศึกษาสถานการณ์และออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 รวมถึงคณะผู้วิจัยได้ดาเนินการตอบคาถามในแต่ละ ประเดน๋ ซึ่งสามารถสรุปเปน็ ประเดน็ ตา่ ง ๆ ไดด้ ังนี้ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 5-6 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
กองบัญชปี ระชาชาติ สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ โดยคุณณัฐสุดา เพชรหนนุ รกั ษาการในตาแหนง่ ผเู้ ช่ียวชาญด้านการพัฒนาบัญชงี บดลุ แห่งชาติ มีความคดิ เห็น ดงั น้ี ประเด็นที่ 1: รูปแบบตาราง Table 7: (ตัวอย่าง) Non – Monetary Data โดยคณะผู้วิจัยได้จัดทา คอลมั น์ประเภทสถานพยาบาล แบ่งออกเป็นโรงพยาบาลของรฐั และโรงพยาบาลเอกชน โดยมีความเห็นวา่ ควร แบ่งเป็นโรงพยาบาลท่ีรวมทั้งรัฐและเอกชน และคลินิก จะมีความครอบคลุมกลุ่มผู้ให้บริการของเศรษฐกิจ สุขภาพมากข้นึ หรอื ไม่ ประเด็นท่ี 2: Table 6 : บัญชีทุน (Capital) ในการเก็บข้อมูลของภาคเอกชนจะใช้วิธีการสารวจ หรือไม่ เน่ืองจาก การลงทุนของภาครัฐมีฐานข้อมูลอยู่แล้ว อย่างไรก็ตามการลงทุนของภาคเอกชนคาดว่า จะตอ้ งทาแบบสารวจ ประเด็นท่ี 3: การใช้จ่ายหรืออุปสงค์ด้านสุขภาพ (Health Demand) ในส่วนของสปาด้านสุขภาพ ครอบคลุมเฉพาะสปาท่ใี หบ้ รกิ ารในมนุษย์ โดยไมร่ วมสตั ว์ ใชห่ รือไม่ ประเด็นที่ 4: สาหรับหมวดการศีกษาด้านสุขภาพ (Education in health) นอกจากกิจกรรมท่ี ให้บริการดา้ นการศกึ ษาแลว้ ยงั มีกิจกรรมอ่ืน ๆ เช่น การจัดซอ้ื นมโรงเรยี น และการจัดซอ้ื อาหารกลางวัน เป็น ต้น ไม่ทราบว่าขอบเขตบัญชีบริวารด้านการศึกษาได้รวมข้อมูลส่วนดังกล่าวดว้ ยหรอื ไม่ ซึ่งคาดว่าจะเกิดความ ซา้ ซ้อนกนั กับข้อมูลของบัญชีบรวิ ารด้านการศึกษาหรือไม่ คณะผู้วิจัย ได้ช้ีแจงว่า การจัดทาบัญชีด้านสุขภาพของหมวดการศึกษาด้านสุขภาพน้ัน จะ พิจารณาเฉพาะขอบเขตท่ีเกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านบริการให้การศึกษาของการแพทย์ และด้านสุขภาพอ่ืน ๆ โดยกจิ กรรมการจัดซอ้ื อาหาร จะไม่นามารวมในของเขตดงั กล่าว ประเด็นที่ 5: กรณีเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุและเบ้ียความพิการให้คนพิการท่ีภาครัฐสนับสนุน จัดว่าเป็น กจิ กรรมการดูแลคนชรา และบุคคลอน่ื ๆ ตามขอบเขตของบญั ชีดา้ นสขุ ภาพหรอื ไม่ คณะผู้วิจัย ได้ช้ีแจงว่า กิจกรรมดังกล่าวอยู่ในหมวดท่ี 6 โดยเป็นกิจกรรมของหน่วยงานที่ เก่ียวข้องกับการบริหารจัดการด้านสาธารณสุข (Health care system administration and financing) ยกเว้น ประกันสุขภาพ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 5-7 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ประเด็นที่ 6: Table 5: บัญชีรายได้ มีการคานวณภาษี หักการอุดหนุนออก เป็นรายได้ที่เกิดข้ึน มี ความเหน็ ว่า ควรจะตอ้ งระวังในส่วนของการจาแนกการอุดหนนุ (subsidies) และการโอน (transfers) คณะผ้วู จิ ยั ได้ช้ีแจงว่า จะพจิ ารณาการจาแนกรายไดแ้ ละการอุดหนุนใหม้ คี วามถกู ตอ้ งยิ่งข้นึ ประเดน็ ท่ี 7: ประกันสังคมมหี ลายแผง ซึง่ มแี ผงเจ็บปว่ ยรวมอยูด่ ้วย ทง้ั น้ี ประกนั สังคมรวมอยูใ่ นบญั ชี ดา้ นสขุ ภาพหรอื ไม่ คณะผู้วิจัย ได้ช้ีแจงว่า ประกันสังคมถูกรวมอยู่ในบัญชีด้านสุขภาพในหมวด health care system administration and financing โดยจะคิดในสว่ นของสทิ ธิค่ารกั ษาพยาบาล ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยคุณณัฏฐณชิ า รมิ คีรี ผูว้ เิ คราะห์สายนโยบายการเงิน ธนาคารแหง่ ประเทศไทย มีความเหน็ ดงั นี้ ประเด็นท่ี 1: กรอบบัญชีด้านสขุ ภาพ โดยเห็นดว้ ยกบั หารจดั ทาในภาพรวมและการจาแนกผใู้ ห้บรกิ าร ในหมวดตา่ ง ๆ ประเด็นที่ 2: การจัดเก็บข้อมูล มีความเห็นว่า ควรจัดทาความเชื่อมโยงของผู้ให้บริการทั้ง 16 กลุ่ม โดยจัดทาลักษณะความสัมพันธ์ต้ังแต่ต้นน้า – ปลายน้า ซ่ึงอาจจะเป็นกลุ่มของผู้ให้บริการ หรือกลุ่มของธุรกิจ ทใี่ หบ้ ริการแกก่ ลุ่มแรก และกลมุ่ ตอ่ ไป คือ กลมุ่ ของผูบ้ รโิ ภครายสุดท้าย (End-consumer) โดยการจดั กลุ่มให้ ได้อย่างชัดเจน จะเกิดประโยชน์ในการจัดเก็บข้อมูล หรือการวางกรอบในการจัดทาแบบสารวจจะมีความ ชัดเจนในแต่ละกลุ่ม และเพ่ือให้มีอัตราการตอบกลับ (Respond rate) ท่ีเพ่ิมขึ้น เช่น กลุ่มโรงพยาบาล มี ความเห็นว่าโรงพยาบาล มีการให้บริการการรักษาบุคคลท้ังภายในประเทศและจากต่างประเทศ อีกท้ัง โรงพยาบาลเป็นผู้บริโภคเคร่ืองมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ซ่ึงโรงพยาบาลจะเป็นผู้บริโภคข้ันกลาง (intermediate consumer) เปน็ ตน้ ดงั นน้ั การจัดทาความสัมพันธ์ของผู้ให้บริการจะทาให้ออกแบบกลุ่มของ ผู้ให้บริการและกาหนดขอบเขตได้ชัดเจนย่ิงขึ้น ทั้งน้ี คณะผู้วิจัย ควรจะต้องศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับการเก็บ ข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ โดยทางธนาคารแห่งประเทศไทยได้มีการสารวจข้อมูลเก่ียวกับบริการด้านสุขภาพ แต่จะเน้นการให้บริการแก่ชาวต่างชาติ เพื่อประกอบข้อมูลสถิติดุลการชาระเงิน ซึ่งทางธนาคารแห่งประเทศ ไทย ได้มีการประสานงานกับกองบริการสุขภาพระหว่างประเทศ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข เพ่ือพัฒนาการออกแบบรายงานการจัดเก็บข้อมูลการบริการรักษาสุขภาพชาวต่างชาติท่ีเดิน ทางเข้ามาในประเทศไทย เพื่อลดความซ้าซ้อนในการรายงานข้อมูลของโรงพยาบาล คลินิก รวมทั้งหน่วยงาน รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ 5-8 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
อื่นท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งหากข้อมูลส่วนน้ีสามารถประกอบการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพได้ สามารถติดต่อ ประสานงานกบั ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ ประเด็นท่ี 3: กรณีข้อมูลที่มาจากการข้อมูลเก่ียวกับบริการด้านสุขภาพของธนาคารแห่งประเทศไทย อาจจะทาให้ได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน และเป็นเพียงกลุ่มตัวอย่าง หากกระทรวงสาธารณสุขสามารถปรับปรุง กฎหมาย หรือการออกระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อให้โรงพยาบาลหรือผู้ให้บริการอื่น ๆ ท่ีอยู่ภายใต้การดูแลของ กระทรวงสาธารณสุข ให้ดาเนินการรายงานข้อมูลแก่กระทรวงสาธารณสุขโดยตรง ซึ่งจะทาให้การจัดทาบัญชี บรวิ ารด้านสุขภาพมีความครอบคลมุ และชดั เจนย่ิงข้ึน ประเด็นท่ี 4: การเก็บข้อมูลจากภาคครัวเรือนซึ่งเป็นผ้บู รโิ ภครายสุดท้าย โดยสานักงานสถิติแหง่ ชาติ มีการเก็บข้อมูลจากครัวเรือน ซ่ึงเป็นผู้เช่ียวชาญด้านการเก็บข้อมูลภาคครัวเรือน ที่สามารถให้ความเห็น เพ่ิมเตมิ และใหค้ วามช่วยเหลือได้ คณะผู้วิจัย ได้ชี้แจงว่า กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ถือกฎหมายอยู่ 2 ฉบับคือ พรบ.สถานพยาบาล และพรบ.สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ทั้งน้ี กฎหมายท้ังสองฉบับให้ อานาจในการขอข้อมลู คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น โดยรศ.ดร.ภญ.นศุ ราพร เกษสมบูรณ์ นักวิจัย มคี วามเห็นดังน้ี ประเดน็ ท่ี 1: วัตถปุ ระสงค์ในการจดั ทาบญั ชดี ้านสขุ ภาพ จะครอบคลุมไปถงึ การทาเพ่ือทีจ่ ะมนี โยบาย ในการดูแลสุขภาพประชาชนด้วยหรือไม่ ยกตัวอย่าง เช่น ยาปฏิชีวนะซึ่งมีการใช้ในวงการปศุสัตว์ การเพราะ ปลูก ซ่ึงด้านหนึ่งเป็นการสรา้ งมูลทางเศรษฐกิจ แต่อีกด้านหนึ่งอาจจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บรโิ ภคไป ดว้ ย ทง้ั น้ี ทมี วิจยั มีความเหน็ วา่ อย่างไร คณะผวู้ จิ ัย ได้ชแี้ จงว่า การจดั ทาบัญชีสขุ ภาพจะครอบคลมุ รายการที่เกีย่ วข้องกับมนุษย์เปน็ หลัก ประเด็นท่ี 2: จากความเห็นของคณะผู้วิจัย ท่ีต้องการให้ ผู้ประกอบการดาเนินการรายงานประจาปี ของการผลิตและการนาเข้ามาท่ี อย. ท้ังนี้จากพิจารณาในบัญชีท่ีจัดทาข้ึน พบว่ามีส่วนของการกระจายของ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น การขายส่ง และการกระขายในช่องทางต่าง ๆ ในขณะที่การรายงานของ อย. ใน ปจั จบุ นั ยังเป็นการรายงานในภาพรวม โดยยังไมไ่ ด้ถูกบังคับให้รวยงานดา้ นการขายสง่ และอืน่ ๆ ตามกฎหมาย ท้ังน้ี รศ.ดร.ภญ.นุศราพร เกษสมบูรณ์ มีความเห็นว่าหากกระทรวงสาธารณสุขต้องการให้บัญชีสุภาพท่ีจัดทา ขึน้ มีความครอบคลุมมากข้นึ ควรมีระบบรายงานท่ีเปน็ ภาคบังคมตามกฎหมาย คณะผู้วจิ ยั ได้ช้แี จงว่า ปัจจบุ ัน อย. ได้มกี ารจัดทาการกระจายยาข้ึน ซ่งึ จะทาให้เห็นถึงการขนส่ง และการกระจายยาในช่องทางต่าง ๆ ไปจนถึงค้าปลีก สถานพยาบาล และร้านยา รวมถึง กอง เศรษฐกจิ สุขภาพได้มีการจัดทาดชั นีราคา ประเด็นที่ 3: การสอบทวน (Validation) ข้อมูลทางด้านบัญชีสุขภาพจะเกี่ยวข้องกับหลายภาคส่วน ดังน้นั ซงึ่ ในด้านยาอาจจะตรวจสอบกับทาง IMS ซ่งึ เป็นบรษิ ัทด้านเอกชนท่เี กบ็ ขอ้ มลู ดา้ นตลาดยา กองนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค สานักงานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยนางสาวพิมพ์ขวัญ ลมิ ปโสภา มคี วามเหน็ ดังนี้ รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 5-9 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ประเด็นท่ี 1: นางสาวพมิ พ์ขวัญ ลิมปโสภา เห็นดว้ ยกับการจดั ทากรอบกิจกรรม และรายละเอียดตา่ ง ๆ ตามประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทย (Thailand Standard Industrial Classification: TSIC) เศรษฐกจิ การท่องเทีย่ วและกีฬา สานกั งานปลัดกระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา โดยนายธนาธร จงก้องเกยี รติ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ัติการ มคี วามเห็นดงั น้ี ประเด็นท่ี 1: รูปแบบตาราง Table 7: (ตัวอย่าง) Non – Monetary Data ได้มีการรวบรวมจานวน ผู้ปว่ ย และจานวนแพทย์ ทง้ั นี้ ควรจะมีการวิเคราะห์ สัดสว่ นระหว่างแพทยต์ ่อผู้ป่วย สดั สว่ นอุปกรณ์ตอ่ ผู้ป่วย เพม่ิ ข้นึ 5.3 การอบรมถา่ ยทอดความร้แู ก่บคุ ลากรของกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง 5.3.1 การอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ครง้ั ท่ี 1 ณ วันท่ี 18 ธันวาคม 2563 โดยมีบุคลากรของกองเศรษฐกิจสุขภาพปละหลักประกันสขุ ภาพเข้าร่วม การประชมุ ทงั้ หมด 8 คน ดงั นี้ ผเู้ ขา้ รว่ มการอบรมฯ ครง้ั ท่ี 1 นพ.ถาวร สกลุ พาณชิ ย์ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนเชยี่ วชาญ รกั ษาการ ในตาแหน่งผทู้ รงคณุ วฒุ ิด้านควบคุมป้องกันโรค นพ.วลัญช์ชัย จงึ สาราญพงศ์ (นกั วิชาการสาธารณสขุ ทรงคุณวฒุ ิ) (ด้านวิจยั ) นางนุชนาจ วริ ยิ ะประสิทธิ์ นายแพทย์ชานาญการ กองเศรษฐกจิ สุขภาพและหลักประกันสขุ ภาพ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพเิ ศษ หัวหน้ากลมุ่ งานพัฒนาการจัดสรรทรัพยากรดา้ น เศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกนั สุขภาพ รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าที่ 5-10 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
นางสาวณิรดา โพธ์ยิ ิ้ม นักวิเคราะหช์ านาญการพิเศษ นางสาวดวงกลม ลมื จนั ทร์ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ นายศิวะ ฉมิ พลี นกั วชิ าการสถิติ นางสาวสธุ ดิ า เมฆสุข นกั วิชาการสถิติ นางสาวพัณณาภรณ์ สบหู่ อม เศรษฐกร มีสาระสาคญั ในการอบรมดังน้ี การถ่ายทอดความรรู้ ูปแบบของสถิติข้อมลู ได้แก่ เครอื่ งชท้ี างเศรษฐกิจ ประเภทของเครื่องช้ี และกลมุ่ เป้าหมายทไี่ ด้ประโยชน์ องค์ประกอบของข้อมูลท่ีมีคุณภาพ เพื่อประกอบการพิจารณาคัดเลือกข้อมูลนาเข้าข้อมูล บัญชีบริวารด้านสุขภาพ ได้แก่ 1) ความตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) 2) ความถ่ี ในการจัดทาข้อมูลและความรวดเร็วในการเผยแพร่ข้อมูล (Periodicity and Timeliness) 3) ความถูกต้องของข้อมูล (Accuracy) 4) ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล (Accessibility) 5) การตีความหมาย (Interpretability) และ 6) ความต่อเน่อื ง (Coherence) การนาสถิติข้อมูลไปใช้ประโยชน์ เช่น เคร่ืองช้ีผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศ พันล้านบาท) มี ความถ่ีเป็นรายไตรมาส โดยแสดงผล ณ เดือนที่ 2 ของไตรมาสถัดไป ซ่ึงมีแหล่งที่มา คือ สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ เป็นตน้ การถ่ายทอดความรู้บัญชีภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ระบบบัญชีประชาชาติ ระบบบัญชีบริวาร ด้านสุขภาพ ระบบบัญชีด้านสุขภาพ และประสบการณ์การจัดทาบัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพ แห่งชาตขิ องประเทศไทย 5.3.2 การอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 ณ วนั ที่ 29 มกราคม 2564 โดยมบี ุคลากรของกองเศรษฐกิจสขุ ภาพปละหลักประกันสุขภาพเข้าร่วม การประชุมทง้ั หมด 5 คน ดงั นี้ ผ้เู ขา้ ร่วมการอบรมฯ ครัง้ ท่ี 2 นางนุชนาจ วิรยิ ะประสทิ ธิ์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ หวั หนา้ กลุ่มงานพัฒนาการจัดสรรทรัพยากรดา้ น นางสาวดวงกลม ลมื จันทร์ เศรษฐกจิ สุขภาพและหลกั ประกนั สขุ ภาพ นายศิวะ ฉิมพลี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ นางสาวสุธิดา เมฆสุข นกั วิชาการสถิติ นางสาวพณั ณาภรณ์ สบหู่ อม นกั วิชาการสถิติ เศรษฐกร มสี าระสาคญั ในการอบรมดังน้ี การถ่ายทอดความรู้เก่ียวกับบัญชีประชาชาติ จากคู่มือ National Accounts: A Practical Introduction (United Nations, 2003) เชน่ แนวคดิ ของ Supply and Use ซงึ่ เป็นแนวคิด รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 5-11 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ที่สาคัญในการบันทึกบัญชีประชาชาติ การประมวลผลของ GDP ประกอบด้วย 3 วิธี ได้แก่ วิธีการประมวลผลด้านการผลิต วิธีการประมวลผลด้านรายจ่าย และวิธีการประมวลผลด้าน รายได้ การวิเคราะห์ปัจจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Output Analysis) โดยการศึกษาแนวคิด และการนาตารางปัจจยั การผลิตและผลผลิตไปใช้งาน การศึกษาแหล่งข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐ ในระดับรายสถานประกอบการ และการบูรณา การข้อมูล เพือ่ พิจารณาประกอบการประสานงานการนาเขา้ ขอ้ มลู จากหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 5-12 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
บรรณานกุ รม
บรรณานุกรม ภาษาไทย กรมอนามัย (2563). กฎหมายว่าดว้ ยการสาธารณสขุ กับธรุ กิจสปา. สืบคน้ จาก http://laws.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=342&filename=c_6 กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยว สานักงานปลัดกระทรวงการท่องที่ยวและกีฬา. (2561) รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการจดั ทาบญั ชีประชาชาตดิ ้านการท่องเที่ยว ประจาปีงบประมาณ 2561. ปริดา ธูปแก้ว และวริยา ลาเลิศ (2562). มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมสถานพยาบาลในการ ทาศลั ยกรรมความงาม. วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ์, 6(1), 26-40. สถาบันพลาสติก. (2561). โครงการพัฒนาศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกสาหรับอุตสาหกรรมวัสดุอุปกรณ์ทาง การแพทย์ตามเลขพิกัดศุลกากร. เข้าถึงได้จาก Medical Devices Intelligence Unit (MedIU): http://medicaldevices.oie.go.th/Myfiles/HSCODE.pdf สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). การวัดระดับการเติบทางเศรษฐกิจ จากการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศอันเป็นผลจากเทคโนโลยีดิจิทัล ( Digital Contribution to GDP). เข้าถึงได้จาก สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติ: https://www.onde.go.th/assets/portals/1/files/Final_violet17Mar2020.pdf สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. (2547). บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2537-2544. เข้าถึงได้จาก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.): https://kb.hsri.or.th/dspace/bitstream /handle/11228/1901/hs1102.pdf?sequence=2&isAllowed=y สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวา่ งประเทศ. (2555). บญั ชรี ายจ่ายด้านสุขภาพแห่งชาตขิ องประเทศไทย ตอนท่ี 1 รายจา่ ยดา้ นสขุ ภาพของประเทศไทย พ.ศ. 2537-2551. วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ปีที่ 21 ฉบบั ท่ี 6, 1073-1084. สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. (2555). บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย ตอนท่ี 2 การสร้างความเข้มแขง็ ในการตัดทาบีญชีรายจ่ายสุขภาพแหง่ ชาตใิ นประเทศไทยอยา่ งยั่งยืน. วารสารสาธารณสขุ ปที ่ี 21 ฉบับท่ี 6, 1240-1251. รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ บ-1 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. (กันยายน 2561). บัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพห่งชาติของ ประเทศไทย พ.ศ. 2558. เข้าถึงได้จาก สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ: http://ihppthaigov.net/DB/publication/attachresearch/423/chapter1.pdf สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). คู่มือการประมวลผลสถิติบัญชีประชาชาติ. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก สานกั บัญชีประชาชาติ: http://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid =352 สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552.). ตารางอุปทานอุปสงค์. จดหมายข่าวบัญชี ประชาชาติ ฉบับท่ี 14 ประจาไตรมาส 2 ปี 2552. เข้าถึงได้จาก บัญชีประชาชาติ: https://www. nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=5643&filename=newsletter ภาษาอังกฤษ International Health Policy Program, Ministry of Public Health. (n.d.). National Health Accounts (NHA), NHA Tables 2016. Retrieved from IHPP Thailand: http://www.ihppthaigov.net /wp-content/uploads/2017/02/23.xls Lemaire, M. (1987). Satellite Accounts: a relevant framework for Analysis in Social Fields. Review of Income and Wealth, 33(3), 305-325 Organisation for Economic Co-operation and Development. (2017, March 16). A System of Health Accounts 2011: Revised edition. Retrieved from OECD/ Eurostat/ WHO : https://doi.org/10.1787/9789264270985-en. Pan American Health Organization. (2005). Satellite Health Account (SHA) Manual Version 1. Research Department. (2012, May 27). Compilation of National Income Accounts. Retrieved from Bangkok Bank: https://www.bangkokbank.com/th-TH/-/media/AB32889421FC464 783FC51059DF66E51.ashx Teillet, P. (1988). A concept of satellite account in the revised SNA. Review of Income and Wealth, 34(4), 411-439 รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี บ-2 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ภาคผนวก ก รหัสและความหมายในการจดั ทาบญั ชี รายจ่ายสขุ ภาพแห่งชาตขิ องประเทศไทย
ภาคผนวก ก รหัสและความหมายในการจัดทาบัญชีรายจ่ายสขุ ภาพแหง่ ชาตขิ องประเทศไทย บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย จาแนกตามรหัส International Classification of Health Expenditure (ICHA) ซ่ึงเป็นรหัสมาตรฐานท่ีเปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของกลุ่มรายจ่ายประเภทต่าง ๆ โดยรหัส ข้างต้นจะแสดงรายละเอียดการไหลเวียนของรายจ่ายสุขภาพได้เป็น 3 มิติ คือ จากหน่วยจ่ายแทน ไปยังประเภท กิจกรรม และประเภทของผู้ใหบ้ ริการ พรอ้ มความหมายของรหัสได้ตามตารางแสดงรหสั ดังน้ี ตารางแสดงรหัส ICHA สาหรบั กลมุ่ หน่วยการคลงั และหน่วยจา่ ยแทน ICHA code Function of health care Description FA.1. General government กระทรวงสาธารณสขุ (Ministry of Public Health) กระทรวงอื่นๆ และหน่วยงานภาครัฐท่ีข้ึนกับ FA.1.1 Central government ส่วนกลาง (Other Ministries) และ การปกครองส่วน ทอ้ งถ่นิ (State/Regional/Local overnment) FA.1.1.1 Ministry of Health สวสั ดิการรักษาพยาบาลสาหรับขา้ ราชการ จัดโดยรฐั (National Health Service Agency) สวัสดิ การ FA.1.1.2 Other ministries and public units (belonging รั ก ษ า พ ย า บ า ล ส า ห รั บ พ นั ก ง า น รั ฐ วิ ส า ห กิ จ (National Health Service Agency) และสวัสดิการ to central government) รักษาพยาบาล สาหรับพนักงาน ในองค์กรอิสระ ภาครฐั (National Health Service FA.1.1.3 National Health Service Agency Agency) กองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (National FA.1.1.4 National Health Insurance Agency Health Insurance Agency) FA.1.2 State/Regional/Local government รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี ภ-1 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ICHA code Function of health care Description FA.1.3 Social security agency กองทนุ ประกนั สังคม (Health Insurance Agency) กองทนุ เงนิ ทดแทน (Other Social security agency) FA.1.3.1 Social Health Insurance Agency การประกนั สขุ ภาพเอกชน (Commercial insurance FA.1.3.2 Other social security agency companies) พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (Mutual and FA.1.9 All other general government units other non-profit insurance arganisations) FA.2 Insurance corporations สถานประกอบการเอกชน (ท่ีนอกเหนือจากที่ ใหบ้ รกิ ารด้านสุขภาพ) Corporations (other than FA.2.1 Commercial insurance companies providers of health services) องค์กรไม่แสวงกาไรให้บริการครัวเรือน (Non- FA.2.2 Mutual and other non-profit insurance profit institutions serving households) organisations ครัวเรอื น (Household) FA.3 Corporations (other than insurance ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ (Rest of the corporations) World) FA.3.1 Health management and provider corporations FA.3.2 Corporations (other than providers of health services) FA.4 Non-profit institutions serving households (NPISH) FA.5 Non-profit institutions serving households (NPISH) FA.6 Rest of the world FA.6.1 International organisations FA.6.2 Foreign governments FA.6.3 Other foreign entities ตารางแสดงรหสั ICHA สาหรบั กลมุ่ ผใู้ หบ้ ริการ ICHA code Function of health care Description HP.1 Hospitals โรงพยาบาล ซึ่งให้บริการทางการแพทย์ วินิจฉัยโรค ดูแลรักษา รวมท้ังแพทย์ พยาบาล บริการด้าน HP.1.1 General hospitals อนามัยอ่ืนๆ แกค่ นไขข้ องโรงพยาบาล โรงพยาบาลทวั่ ไป HP.1.2 Mental health hospitals โรงพยาบาลจิตเวชและบาบดั รักษาผตู้ ดิ สงิ่ เสพตดิ HP.1.3 Specialised hospitals (other than mental โรงพยาบาลเฉพาะทางอื่น ๆ นอกเหนือจาก HP.2 health hospitals) โรงพยาบาลจติ เวชและบาบดั รักษาผู้ตดิ สิง่ เสพตดิ Residential long-term care facilities สถานพยาบาล บา้ นพกั หรอื สถานพักฟน้ื ซ่ึงอานวยความสะดวกและพยาบาลแก่คนไข้ใน ระยะยาว ประกอบด้วยการให้บริการพยาบาล การ รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ท่ี ภ-2 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ICHA code Function of health care Description HP.2.1 Long-term nursing care facilities ดูแลและเฝ้าระวังและบริการอ่ืนๆ ที่คนไข้ต้องการ โดยผสมผสานระหว่างการให้บริการด้านสังคมและ HP.2.2 Mental health and substance abuse สุขภาพ HP.2.9 facilities สถานพยาบาล ซ่ึงอานวยความสะดวกและพยาบาล HP.3 Other residential long-term care facilities แก่คนไข้ในระยะยาวประกอบด้วยการให้บริการ พยาบาลการดูแลและเฝ้าระวัง และบริการอื่นๆที่ Providers of ambulatory health care คนไข้ต้องการ โดยผสมผสานระหว่างการให้บริการ ด้านสังคมและสุขภาพ (long-term) HP.3.1 Medical practices สถานพกั ฟ้ืนผู้ป่วยจิตเวชและผู้ติดสิง่ เสพตดิ สถานพยาบาล บ้านพักหรือสถานพักฟ้ืนอื่นๆ ประเภทเดียวกันน้ี คลินิกหรือศูนย์บริการท่ีให้บริการดูแลสุขภาพ โดยตรงแก่คนไข้นอกโรงพยาบาลซึ่งไม่ต้องการ บริการแบบคนไข้ในโรงพยาบาล รวมถึงการดูแล ฟน้ื ฟคู นไขแ้ ละบริการดูแลผูป้ ่วยท่บี า้ น คลินิกหรือศูนย์บรกิ ารทางการแพทย์ทวั่ ไป HP.3.1.1 Offices of general medical practitioners HP.3.1.2 Offices of mental medical specialists HP.3.1.3 Offices of medical specialists (other than mental medical specialists) HP.3.2 Dental practice คลินกิ หรอื ศนู ย์ทันตกรรม HP.3.3 Other health care practitioners คลินิกหรือศูนย์บริการที่ให้บริการดูแลสุขภาพ โดยตรงแก่คนไข้นอกที่นอกเหนือจากคลินิกหรือ HP.3.4 Ambulatory health care centres ศูนย์บริการทางการแพทย์ท่ัวไป และศูนย์ทนั ตกรรม HP.3.4.1 Family planning centres (HP3.1 และ HP3.2) เช่น คลินิกหรือศูนย์บริการท่ี ให้บริการด้านการตรวจวัดสายตา คลินิกจิตเวช คลนิ กิ บาบัดรกั ษาเกี่ยวกับการพดู การฟัง เป็นต้น คลินิกหรือศูนย์บริการผู้ป่วยนอกท่ีมีวัตถุประสงค์ เฉพาะอื่นๆ ศูนยบ์ รกิ ารวางแผนครอบครัว HP.3.4.2 Ambulatory mental health and substance ศูนย์สุขภาพจิต และศูนยบ์ าบดั ผู้ป่วยติดยาเสพติด abuse centres HP.3.4.3 Free-standing ambulatory surgery centres ศนู ยศ์ ัลยกรรมพเิ ศษ สาหรับผ้ปู ว่ ยนอก HP.3.4.4 Dialysis care centres ศูนย์ล้างไตผูป้ ่วยนอก HP.3.4.9 All other ambulatory centres คลินิกหรือศูนย์บริการทางการแพทย์ที่ให้บริการ HP.3.5 Providers of home health care services ผู้ป่วยนอกอื่นๆ นอกเหนือจากข้างต้น เช่น โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล คลินิกหรือศูนย์บริการให้บริการดูแลสุขภาพคนไข้ท่ี บา้ น รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ ภ-3 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ICHA code Function of health care Description HP.4 Providers of ancillary services HP.4.1 Providers of patient transportation and ผู้ใหบ้ ริการเสริม HP.4.2 emergency rescue HP.4.9 Medical and diagnostic laboratories ผ้ใู หบ้ ริการขนส่งผปู้ ว่ ยและความชว่ ยเหลือฉุกเฉิน HP.5 Other providers of ancillary services HP.5.1 Retailers and other providers of medical ค ลิ นิ ก ห รื อ ศู น ย์ บ ริ ก า ร ต ร ว จ วิ นิ จ ฉั ย โ ร ค โ ด ย HP.5.2 goods หอ้ งทดลองหรอื ห้องแลบ HP.5.9 Pharmacies ผูใ้ ห้บริการเสรมิ อื่นๆ HP.6 Retail sellers and other suppliers of durable medical goods and medical ผู้จัดจาหน่าย (เฉพาะขายปลีก) ผลิตภัณฑ์ทาง HP.7 appliances การแพทยใ์ ห้แก่ประชาชนทวั่ ไป All other miscellaneous sellers and other ผจู้ ัดจาหนา่ ยยาทัง้ ทม่ี แี ละไม่มีใบส่งั ของแพทย์ HP.7.1 suppliers of pharmaceuticals and medical goods ผู้ขายค้าปลีกและผู้ผลิตอ่ืนๆ ของสินค้าทาง HP.7.2 Providers of preventive care การแพทยค์ งทนและเคร่อื งใชท้ างการแพทย์ Providers of health care system ผู้จาหน่ายขายปลีกอุปกรณ์เบ็ดเตล็ดทางการแพทย์ administration and financing (รวมทั้งการขายโดยมีร้านจาหน่าย และโดยการส่ัง ทางไปรษณยี ์และทาง อเิ ล็คโทรนิก) Government health administration หนว่ ยงานท่ีจดั ทาโครงการสาธารณสุขทง้ั ภาครฐั และ agencies เอกชน ประกอบด้วย การบริหารและการจัดทา โครงการด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกัน Social health insurance agencies โรค หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนท่ีเกี่ยวข้องในการ บริหารจัดการด้านสาธารณสุข การกาหนดนโยบาย สาธารณสุขและการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ การ กาหนดกิจกรรมของหน่วยงานที่ให้บริการด้าน สาธารณสุข รวมถึงการจัดการนโยบายด้านการ ประกันสุขภาพ และการกาหนดกฎระเบียบหรือ ม า ต ร ฐ า น ส า ห รั บ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ พ ทย์ โรงพยาบาล คลินิก รวมท้ังผู้ให้บริการด้าน สาธารณสุข และการบริหารจัดการกองทุน ประกันสังคม ประกันสังคมอ่ืนๆ รวมถึงประกันภัย สว่ นบุคคลอื่นๆ หน่วยงานภาครัฐ (ไม่รวม สานกั งานประกนั สังคม) ท่ี เกี่ยวข้องกับการการบริหารจัดการ จัดทาและ กาหนดนโยบายด้านสุขภาพ จัดทามาตรฐาน กฎ ระเบียบ ข้อบังคับเพื่อกากับหรือ บังคับใช้สาหรับ บุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาล และคลินิก รวมถึงการให้ใบอนุญาตแกผ่ ใู้ หบ้ รกิ ารสขุ ภาพ หน่วยงานที่จัดการเกี่ยวกับเงินกองทุน และการ บริหารจัดการการประกันสังคมของรัฐ เพื่อทดแทน แก่ผู้ที่ต้องสูญเสียรายได้เน่ืองจากการเจ็บป่วย (ใน บริบทไทย คือ สานักงานประกันสังคม และ สานักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาต)ิ รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ ภ-4 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ICHA code Function of health care Description HP.7.3 Private health insurance administration หน่วยงานเอกชนที่จดั การการประกันสุขภาพเอกชน agencies (รวมหน่วยงานท่ีดาเนินการตาม พ.ร.บ. คุ้มครอง ผู้ประสบภัยจากรถ) HP.7.9 Other administration agencies หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการบริหารด้านสุขภาพ (ท่ี นอกเหนือจากการประกันสังคมเอกชน และการ ประกันสุขภาพเอกชน) เช่น สวัสดิการท่ีจัดโดย นายจ้าง (ลูกจ้างเบกิ คา่ รกั ษาพยาบาลจากนายจา้ ง) HP.8 Rest of economy หน่วยงานอื่นๆ ที่ให้การบริการด้านสุขภาพเสมือน เป็นผู้ให้บริการรองลงมาหรือผู้ให้การบริการอ่ืน รวมถึงผู้ให้การบริการเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพใน การประกอบอาชีพ โดยไม่แยกสถานที่ให้บริการ ออกมาต่างหาก เช่น การจัดบริการด้านสุขภาพใน สถานทีท่ างานโรงเรียน เรือนจา หนว่ ยทหาร เป็นตน้ รวมทั้งครัวเรือนส่วนบุคคลที่จัดบริการด้านสุขภาพ ให้ผรู้ ับบริการในบา้ น HP.8.1 Households as providers of home health ครัวเรือนส่วนบุคคลท่ีจัดหาบริการเก่ียวกับการดูแล care สขุ ภาพให้ผู้รบั บริการท่ีบา้ น HP.8.2 All other industries as secondary providers หน่วยงานที่ทาหน้าท่ีจัดหาบริการเก่ียวกับการดูแล of health care สุขภาพในการประกอบอาชีพโดยไม่แยกสถานที่ ให้บริการออกมาต่างหาก เช่น การจัดบริการด้าน สุขภาพในสถานที่ทางาน โรงเรียน เรือนจา หน่วย ทหาร HP.8.9 Other industries n.e.c. หน่วยงานอื่นๆ นอกเหนือจากข้างต้น ท่ีให้การ บริการด้านสุขภาพเสมือนเป็นผู้ให้บริการรองลงมา หรือผใู้ ห้การบรกิ ารอนื่ HP.9 Rest of the world ภาคต่างประเทศ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าที่ ภ-5 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ตารางแสดงรหสั ICHA สาหรับกล่มุ กิจกรรม ICHA code Function of health care Description การบริการรกั ษาพยาบาลผปู้ ่วย HC.1 Curative care HC.1.1 Inpatient curative care การบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในผู้ป่วยสังเกต HC 1.1.1 General inpatient curative care อาการ HC 1.1.2 Specialised inpatient curative care การบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในผู้ป่วยสังเกต HC.1.2 Day curative care อาการทั่วไป HC 1.2.1 General day curative care การบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในผู้ป่วยสังเกต HC 1.2.2 Specialised day curative care อาการ (เฉพาะทาง) HC.1.3 Outpatient curative care การบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยใน ท่ีให้กลับได้ใน วันเดียว เช่น การผ่าตัดซ่ึงกลับได้ในวันเดียว การ ฟอกเลือด การฉายแสงผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยให้เคมี บาบดั การบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในทใ่ี ห้กลับได้ในวัน เดียวทั่วไป การบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยใน (เฉพาะทาง) ท่ี ใหก้ ลับไดใ้ นวันเดยี ว การบรกิ ารรกั ษาพยาบาลผู้ป่วยนอก HC 1.3.1 General outpatient curative care บรกิ ารรักษาพยาบาลพนื้ ฐาน (basic) สาหรับผู้ป่วย นอก โดยแพทยเ์ ทา่ นัน้ รวม การสั่งใช้ยา การตรวจ HC 1.3.2 Dental outpatient curative care วินิจฉยั เวชระเบียน การให้วคั ซนี ทอี่ ยู่นอก public HC 1.3.3 Specialised outpatient curative care health program. HC 1.3.9 All other OP บริการทนั ตกรรมสาหรับผ้ปู ่วยนอก โดยแพทย์หรือ HC.1.4 Home-based curative care ทนั ตแพทย์ HC.2 Rehabilitative care บริการรักษาและตรวจวินิจฉัยโรค เฉพาะโรค (specialized care) รวมท้ัง สถานพยาบาลผู้ป่วย นอกสาหรับบาบดั ผตู้ ดิ ยา บริการผู้ป่วยนอกท่ีเหลือทั้งหมดท่ีจัดโดยแพทย์ และบุคลากรอื่น รวมท้ัง chiropractors, นักอาชีว บาบัดนักตรวจการได้ยิน ฯลฯ รวมทั้ง บริการโดย แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย ( paramedical traditional services) และแพทย์แผนโบราณท่ีมีใบอนุญาต บริการนวด Acupressure การเยยี่ มบ้าน เพื่อใหก้ ารรกั ษาพยาบาล โดยแพทย์ เวชปฏิบตั ิ เช่น home dialysis บรกิ ารฟน้ื ฟูสมรรถภาพสาหรับผปู้ ่วย HC.2.1 Inpatient rehabilitative care บริการฟื้นฟูสมรรถภาพสาหรับผู้ป่วยในส่วนใหญ่ HC.2.2 Day rehabilitative care เปน็ ผู้ป่วยศลั ยกรรมกระดกู HC.2.3 Outpatient rehabilitative care บริการฟื้นฟูสมรรถภาพสาหรับผู้ป่วยในท่ีได้รับ อนุญาตใหก้ ลบั ไดใ้ นวันเดียว (day case ) บรกิ ารฟืน้ ฟูสมรรถภาพสาหรบั ผู้ปว่ ยนอก รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ ภ-6 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ICHA code Function of health care Description HC.2.4 Home based rehabilitative care บรกิ ารฟ้ืนฟสู มรรถภาพผปู้ ่วยท่ีบา้ น HC.3 Long-term care (health) บริการระยะยาวต่อเน่ืองสาหรับผู้สู ญ เ สี ย ความสามารถในการช่วยเหลือตนเองในกิจวัตร HC.3.1 Inpatient long-term care (health) ประจาวัน ประกอบดว้ ย medical and nursing care HC.3.2 Day long-term care (health) บริการระยะยาวต่อเนื่องสาหรับผู้ป่วยในท่ีสูญเสีย ส ม ร ร ถ น ะ ใ น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ต น เ อ ง ท้ั ง ใ น HC.3.3 Outpatient long term care (health) สถานพยาบาล และในสถานพักฟ้ืนสาหรับคนชรา HC.3.4 Home-based long-term care (health) (home for the elderly patients) รวม Hospice หมายถึง สถานพกั สาหรับผู้ปว่ ยระยะสดุ ท้าย และ HC.4 Ancillary services (non specified by บริการ palliative care, long term nursing care function) for mental health and substance abuse patients. HC.4.1 Laboratory services การดูแลผู้ป่วย Day case ในสถานพยาบาลหรือ HC.4.2 Imaging services ส ถ า น บ ริ ก า ร ใ น ชุ ม ช น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ผู้ สู ง อ า ยุ ท่ี ชว่ ยเหลอื ตนเองไมไ่ ด้ HC.4.3 Patient transportation บรกิ ารระยะยาวตอ่ เนอ่ื งสาหรบั ผูป้ ่วยนอก HC.5 Medical goods (non specified by function) บริการที่ให้ที่บ้านสาหรับผู้ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ในกจิ วัตรประจาวัน HC.5.1 Pharmaceuticals and other medical non บริการโดย paramedical หรือ Medical technical durable goods personnel มีหรือไม่มี การกากับดูแลโดยแพทยก์ ไ็ ด้ ได้ แก่ laboratory, diagnostic imaging, patient transport บริการตรวจวนิ จิ ฉยั ทางห้องปฏิบัติการ บรกิ ารทีจ่ ดั ใหส้ าหรบั ผู้ปว่ ยนอกเพ่อื การ ต ร ว จ วิ นิ จ ฉั ย เ ช่ น ก า ร X-ray ก า ร ต ร ว จ Ultrasound บ ริ ก า ร ก า ร เ ค ลื่ อ น ย้ า ย ผู้ ป่ ว ย ไ ป ก ลั บ สถานพยาบาล รวมการขนส่งทางอากาศ และการ ช่วยเหลือฉุกเฉินของศูนย์นเรนทร พรบ.คุ้มครอง ผ้ปู ระสบภยั จากรถ ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ที่สั่งจ่ายให้ผู้ป่วยนอก รวมท้ังการบริการติดต้ังการเช่า การบารุง อุปกรณ์ การแพทย์ (appliances) รวมบรกิ ารของเภสัชกร รา้ นประกอบแวน่ รวมการสงั่ ซอื้ สนิ ค้าทางไปรษณยี ์ และการซือ้ ทางไกลเป็นการให้บริการแกผ่ ปู้ ่วย หรอื ครวั เรือนนอกสถานพยาบาล (a health facility or institution) ยาและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ทไ่ี ม่คงทนอ่ืนๆ เช่น วัคซีน เซรุ่ม วิตามิน เกลือแร่ และยาเม็ดคุมกาเนิด ชนิดกนิ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-7 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ICHA code Function of health care Description HC 5.1.1 Prescribed med ยาท่ีส่ังจ่ายตามใบส่ังแพทย์ เช่น ยา ควบคุมพิเศษ วตั ถอุ อกฤทธปิ์ ระเภท 2 และ 3, ยาเสพติด HC 5.1.2 Over-the-counter medicines ยาทไี่ ม่ตอ้ งใชใ้ บสงั่ แพทย์ เชน่ ยาแผนปัจจบุ นั บรรจุ เสร็จ HC 5.1.3 Other medical non-durables goods สินค้าการแพทย์อื่นๆ ที่ไม่คงทนถาวร เช่น ผ้าพันแผล ถุงยางอนามัย และอุปกรณ์สาหรับการ HC.5.2 Therapeutic appliances and other medical วางแผนครอบครัว (mechanical contraceptive durable goods device) อุปกรณ์เพ่ีอการบาบัดรักษาและอุปกรณ์การแพทย์ HC 5.2.1 Glasses & other vision products อื่นๆ ท่ีคงทนถาวร เช่น แว่นตา แก้วตาเทียมและ เลนส์ตา เครอื่ งชว่ ยในการฟัง ฯลฯ HC 5.2.2 Hearing aids เครื่องช่วยในการมองเห็น เช่น แว่นตา เลนซ์สัมผสั รวมอุปกรณท์ าความสะอาด HC 5.2.3 Other orthopaedic appliances and อุปกรณ์ช่วยฟัง รวมแบตเตอร่ี และอุปกรณ์ทา prosthetics (excluding glasses and hearing ความสะอาด aids) กายอุปกรณ์ เช่น แขนขาเทียม อวัยวะเทียมอื่นๆ และอุปกรณ์ HC 5.2.9 All other medical durables, including medical technical devices อุปกรณ์เทคนิคการแพทย์ อื่นๆ ท่ีคงทนถาวรเช่น เครื่องวัดความดัน เคร่ืองช่วยการเต้นของหัวใจ HC.6 Preventive care ฯลฯ บริการควบคุมโรค และบริการสร้างเสริมสุขภาพ HC.6.1 Information, education and counselling ของประชาชน programmes เปน็ กระบวนการของการเรียนรู้ ท่จี ะชว่ ยใหค้ นท่ีจะ ตัดสินใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเปลี่ยนแปลง HC.6.2 Immunisation programmes เงื่อนไขทางสังคมรวมทั้งผ่านการปรับปรุง ใน ความรู้ , ความเชื่อ ทัศนคติ การใช้งาน และ ปฏิสัมพันธ์กับระบบสุขภาพ รวมไปถึงการ หลีกเลี่ยง ความเสี่ยง การดูแลตนเอง การ รับประทานยาอย่างสม่าเสมอ การศึกษาก่อนการ ผ่าตัดรวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบด้านสุขภาพ จากการสูบบุหร่ี และการควบคุมอาหาร การออก กาลงั กาย การบรโิ ภคเกลือ ข้อแนะนาหญิงต้ังครรภ์ เกี่ยวกบั ยาเสพตดิ และเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ข้อมลู เก่ียวกับประสทิ ธิผลของการปอ้ งกันความเสย่ี งผ่าน การใช้หมวกกันน็อกความผิดพลาดและคาดเขม็ ขดั นิรภัย และข้อมูลเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนหรือการ ตรวจคดั กรอง การป้องกันการพัฒนาของโรค ผ่านผลิตภัณฑ์ยา ตา่ งๆ เช่น การฉดี วัคซีน ทง้ั กอ่ นและหลังการสมั ผสั กับโรคนั้นๆ ตัวอย่าง เช่น การสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อ คอตีบ, โรคตับ, โรคเริมงูสวัด, HPV, ไข้หวัดใหญ่, หัด, คางทูม, ไอกรน, การติดเชื้อปอดบวม, โรค รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ ภ-8 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ICHA code Function of health care Description HC.6.3 Early disease detection programmes โปลิโอโรคพิษสุนัขบ้า, โรคหัดเยอรมัน, บาดทะยัก และอีสุกอีใส เป็นต้น ท้ังนี้ ค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวข้องกบั HC.6.4 Healthy condition monitoring programmes วัคซีน ท้ังในแง่ของค่าใช้จ่ายในการให้คาปรึกษา รวมถงึ การซ้ือวคั ซีน จะถูกนับรวมด้วย HC.6.5 Surveillance of communicable and noncommunicable diseases, injuries and การสืบค้นโรคในช่วงต้นก่อนมีอาการ เช่น การ exposure to environmental health risks ตรวจคัดกรอง การทดสอบเพ่อื การวินิจฉัย และการ programmes ตรวจสอบทางการแพทย์ (specific disease : โรคมะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งปากมดลูก, มะเร็งลาไส้ HC.6.6 Preparing for disaster and emergency ใหญ่ เบาหวาน เอชไอวี/เอดส์ มาลาเรีย วัณโรค response programmes มะเร็งต่อมลูกหมาก และอ่ืนๆ) ดังกล่าวจะนับรวม เฉพาะการตรวจสอบโรคกอ่ นการวินิจฉยั เท่านนั้ ทั้งน้ีการตรวจสอบโรคด้วยตนเอง ถ้าไม่มีค่าใช้จ่าย จะไม่นับในกรณีน้ี และ ถ้าการตรวจสอบโรคด้วย ตนเอง มีค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ต่างๆ จะนับ คา่ ใช้จ่ายนอ้ี ยใู่ น HC5 การตรวจสอบโรคท่ัวๆ ไป หรือตรวจสอบภาวะ สุขภาพ ท่ีไม่ใช่เฉพาะโรค แต่นับรวมการตรวจของ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น หญิงต้ังครรภ์ (ตั้งครรภ์ และการดูแลหลังคลอด) หรือการเฉพาะเจาะจงบาง กลุ่มอายุ เช่น เด็ก (เช่น การเจริญเติบโตของเด็ก และการพัฒนา) คนสูงอายุ หรือ specific health domains เช่น ทันตกรรม และการตรวจสุขภาพ ทว่ั ไป การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาและโปรแกรมท่ีมี ความเสี่ยงและการควบคุมโรคครอบคลุมการ ดาเนินงานด้านเทคนิคในการจัดการความรู้และ ทรัพยากรในการป้องกัน และควบคุมโรค ผ่านการ วางแผนการตรวจสอบ และการประเมินผลรวมท้ัง มาตรการในการแจ้งผู้กาหนดนโยบาย การเข้าถึง ข้อมูลและบริการสนับสนุน นอกจากนี้ ยังนับรวม ระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ระบาดวิทยา และการ จัดการในการติดตามเคสต่างๆ และวิธีการการ สนับสนุนมาตรการดังกล่าว เช่น การปรับปรุง โปรแกรม (ฝึกอบรมและการวิจัยการดาเนินงาน) เป็นต้น นับรวมการศึกษาวิจัย และกิจกรมอ่ืนๆ เช่น การให้ข้อมูลข่าวสาร การฝึกอบรมท่ีเก่ียวข้อง กบั การการเผา้ ระวัง และระบาดวทิ ยา การเตรียมการเพื่อการตอบสนองท่ีเหมาะสมกรณีมี เหตุฉุกเฉินเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นภัยธรรมชาติหรือ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ที่ มี ส า เ ห ตุ ม า จ า ก ม นุ ษ ย์ โ ด ย มี วัตถุประสงค์ เพ่ือป้องกันสุขภาพ และลดการ เจบ็ ป่วยและการเสยี ชีวติ รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-9 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ICHA code Function of health care Description HC.7 Governance and health system and รายจ่ายเพ่ือการบริหารจัดการด้านสาธารณสุข HC.7.1 financing administration รวมถงึ การพัฒนาระบบและนวตั กรรม HC.7.2 Governance and health system HC.9 administration รายจ่ายในกิจกรรมสุขภาพอ่ืน ๆ ท่ีไม่สามารถแยก HC.RI.1 Administration of health financing ประเภทได้ HC.RI.2 Other health care services not elsewhere HC.RI.2.1 classified (n.e.c.) รายจา่ ยการสง่ เสรมิ สขุ ภาพปอ้ งกันโรค (SHA 1.0) HC.RI.2.2 Total pharmaceutical expenditure (TPE) HC.RI.2.3 Traditional, Complementary and ครอบคลุมบริการอนามัยหญิงวัยเจริญพันธุ์ต้ังแต่ HC.RI.3 Alternative Medicines (TCAM) การวางแผนครอบครัว การดูแลก่อนคลอด (รวม HC.RI.3.1 Inpatient TCAM การใหว้ คั ซีนป้องกนั บาดทะยกั ในหญงิ มีครรภ์) หลัง Outpatient and home-based TCAM คลอด และการดูแลเด็กวัยก่อนเรียน การตรวจคัด HC.RI.3.2 TCAM goods กรองโรคทางพนั ธุกรรมในแม่ และในเดก็ แรกคลอด Prevention and public health services (ไม่รวมการให้ยา ARV ในการป้องกันการติดเชื้อ HC.RI.3.3 (according to SHA1.0) จากแม่ไปส่ลู ูก และวคั ซีนในเดก็ ไปอยูใ่ น HC.6.3) Maternal and child health; family planning อนามัยเด็กวัยเรียน ครอบคลุมตั้งแต่การให้สุข HC.RI.3.4 and counseling ศึกษา ตรวจสุขภาพ รวมทันตสาธารณสุขใน โรงเรยี นและการรกั ษาเบอื้ งตน้ ในโรงเรยี น รวมการ HC.RI.3.5 School health services ต่อต้านการสูบบุหร่ีและแอลกอฮอล์ในโรงเรียนแต่ ไมร่ วมวคั ซีน Prevention of communicable diseases ครอบคลุมงานเฝ้าระวัง การรายงานโรคระบาด วิทยา การตรวจคัดกรองการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน Prevention of non-communicable diseases โรคและการให้วัคซีนกลุ่มเสี่ยง กิจกรรมในการ ป้องกันโรค การควบคมุ โรค Occupational health care รวมการใหส้ ุขศึกษา การปอ้ งกันโรคสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ให้มพี ฤติกรรมสุขภาพทีเ่ หมาะสม มีการดารงชีวติ ที่ ส่งเสริมการมีสุขภาพดี ลดความเส่ียงจากโรคไม่ ติดต่อท่ีสาคัญ ไม่นับรวมการใช้ยาเพื่อลดปัจจัย เสยี่ ง (เช่น ยาลดไขมัน) หมายรวม การเฝ้าระวังสุขภาพของพนักงาน (ตรวจสุขภาพ) และการดูแลรักษา (รวมถึงการ บริการการดูแลสุขภาพในกรณีฉุกเฉิน) การให้สุข ศึกษา การรักษาพยาบาลเบอื้ งต้นในโรงงาน ไมร่ วม รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี ภ-10 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ICHA code Function of health care Description ค่ า ต อ บ แ ท น ใ น รู ป สิ น ค้ า บ ริ ก า ร ขั้ น สุ ด ท้ า ย ท่ี HC.RI.3.9 All other miscellaneous preventive care ครัวเรอื นได้รบั services อน่ื ๆ HCR.1 Long-term care (social) การบรกิ ารทางสงั คม HCR.1.1 In-kind long-term social care การให้บริการทางสังคมท่ีมิใช่ทางการแพทย์ แก่ผู้ พิการ เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพและสังคม HCR.1.2 Long-term social care cash-benefits รวมถึง การศึกษาของเด็กป่วยที่ไม่สามารถ HCR.2 Health promotion with multisectoral ช่วยเหลอื ตนเองได้, โรงเรียนพเิ ศษสาหรบั คนพกิ าร, อาชีวบาบัด, การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ และ การจา้ งงานสาหรบั ผ้พู กิ าร การบริหารและการจัดเตรียมสิทธิประโยชน์ (เงิน) ให้ผู้ป่วยหรือครอบครัว เช่น การป่วย/ความพิการ, ผู้สูงอาย,ุ การหยดุ งานเพ่อื ดแู ลบตุ รหลังคลอด กจิ กรรมสง่ เสรมิ สุขภาพ (หลายภาคส่วน) HCR.2.1 Food and drinking water interventions กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานสาธารณสุข ซ่ึง HCR.2.2 HCR 2.3 เปน็ สว่ นหนึ่งของงานสาธารณะ เชน่ กา ร ต ร วจ แ ล ะ ค วบ คุ ม ด้ า นสุ ขอนา มั ย ของ อุตสาหกรรมต่างๆ การควบคุมอนามัยอาหารและ นา้ ดืม่ Environment interventions (excluding those กิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับการเฝ้าระวังอนามัย related to food and drinking water) ส่ิงแวดลอ้ ม และควบคุมส่ิงแวดลอ้ มเฉพาะกิจกรรม ที่เก่ียวข้องกับสาธารณสุข ได้แก่ การจัดการของ เสีย การจัดการนา้ เสยี การควบคมุ /การลดมลภาวะ การวจิ ัยและพัฒนาในการปกปอ้ งสิง่ แวดล้อม และกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับการปกป้อง สิ่งแวดล้อม Other multi-sectoral health promotion อืน่ ๆ รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ท่ี ภ-11 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ตารางแสดงรหสั ICHA สาหรบั กลมุ่ ปัจจัยการผลติ ICHA code Function of health care Description FP.1 Compensation of employees FP.1.1 Wages and salaries ค่าตอบแทนของพนักงาน (ทั้งท่ีเป็นตัวเงินและไม่ FP.1.2 Social contributions เป็นตวั เงิน) ค่าจ้างและเงินเดือนของพนักงาน (ทั้งที่เป็นตัวเงิน FP.1.3 All other costs related to employees และไมเ่ ปน็ ตัวเงนิ ) รวมค่าจา้ งลว่ งเวลา FP.2. Self-employed professional remuneration FP.3 Materials and services used การจ่ายเงินสมทบประกันสังคม รวมกองทุน บาเหน็จบชานาญข้าราชการ (กบข.) กองทุนสารอง เล้ียงชีพลูกจ้างประจา (กสจ.) และเงินชดเชย กบข. ทจี่ า่ ยให้แกพ่ นกั งาน ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องกับพนักงาน เช่น บาเหน็จ บานาญ รายได้ที่ไม่ใช่เงินเดือนจากการปฏิบัติงานด้าน สุขภาพอืน่ ๆ วสั ดุและบรกิ ารท่ีใช้ FP.3.1 Health care services บรกิ ารดูแลสขุ ภาพ FP.3.2 Health care goods สนิ คา้ ด้านสุขภาพ FP.3.2.1 Pharmaceuticals ยา FP.3.2.2 Other health care goods วสั ดุ/สนิ ค้าอนื่ ๆ ทีเ่ ป็นวสั ด/ุ สนิ คา้ ด้านสุขภาพ FP.3.3 Non-health care services บรกิ ารที่ไม่เก่ียวข้องกบั ด้านสขุ ภาพ FP.3.4 Non-health care goods วัสด/ุ สินค้าอน่ื ๆ ที่ไมใ่ ชว่ สั ด/ุ สนิ คา้ ดา้ นสขุ ภาพ FP.4 Consumption of fixed capital การบริโภค/การใช้สินค้าทุน (ปัจจัยคงท่ี) เช่น FP.5 Other items of spending on inputs เคร่ืองจักร ปจั จัยการผลิตอ่ืนๆ FP.5.1 Taxes ภาษี FP.5.2 Other items of spending ปจั จยั อ่นื ๆ รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี ภ-12 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ตารางแสดงรหัส ICHA สาหรับกลมุ่ การสะสมทุน ICHA code Function of health care Description HK.1 Gross capital formation รายจ่ายด้านการลงทนุ สุขภาพ (HK1+HK2+HK3) HK.1.1 Gross fixed capital formation การสะสมทุน (การลงทนุ ใหม่ในปนี นั้ ๆ) HK.1.1.1 Infrastructure โครงสร้างพื้นฐาน K.1.1.1.1 Residential and non-residential buildings ท่อี ยูอ่ าศัย Other structures โครงสรา้ งพืน้ ฐานอื่นๆ K.1.1.1.2 Machinery and equipment เครอื่ งจกั รอปุ กรณ์ HK.1.1.2 K.1.1.2.1 Medical equipment เครื่องมือทางการแพทย์ Transport equipment อปุ กรณ์ขนส่ง K.1.1.2.2 ICT equipment อปุ กรณ์ ICT Machinery and equipment n.e.c. เครื่องจกั รอุปกรณ์ท่จี าแนกไมไ่ ด้ K.1.1.2.3 Intellectual property products ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา K.1.1.2.4 HK.1.1.3 K.1.1.3.1 Computer software and databases ซอฟแวร์และการลงทนุ ด้านฐานขอ้ มลู Intellectual property products n.e.c. ทรัพย์สนิ ทางปญั ญาอน่ื ๆ K.1.1.3.2 Changes in inventories การเปลยี่ นแปลงสินคา้ งคงคลงั HK.1.2 HK.1.3 Acquisitions less disposals of valuables ของมคี ่า HK.1.1.c Consumption of fixed capital HK.1.1.n Net capital formation HK.2 Non-produced non-financial assets HK.2.1 Land HK.2.2 Other non-produced non-financial assets HKF.1 Saving, net HKF.2 Capital transfers HKF.2r Receivable HKF. 2.1 Investment grants from : FA.1 –FA.6 HKF.2.2 Other capital transfers HKF.2 p Payable รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ ภ-13 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338