จ ประเดน็ ในการสัมภาษณ์เชิงลึก (1) การสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ เกยี่ วกับ ร่าง บัญชีบริวารด้านสุขภาพ 1. จากโครงสร้างของ (ร่าง) บัญชีบริวารด้านสุขภาพ (Health satellite account) ดังแผนภาพที่ 1 ท่านเห็นว่า โครงสร้างดังกล่าวมีความครบถ้วนสมบูรณ์หรือไม่ ในกรณีท่ีท่านเห็นว่า ไม่ครบถ้วน ท่านเหน็ ว่าตอ้ งเพ่ิมเติมขอ้ มูลใดในสว่ นไหน 2. ทางมูลนิธิ สวค. ได้มีแนวคิดในการพัฒนาต่อยอดบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของไทย (National Health account – NHA) เพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ ท่านเห็นว่า ควรมี การเพมิ่ เติม ปรบั ปรงุ แก้ไข ในสว่ นใดบ้าง เพื่อให้บรรลุตาม (รา่ ง) โครงสร้างทก่ี าหนด 3. ทางมูลนิธิ สวค. เห็นว่า การดาเนินการต่อยอดบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของไทย (National Health account – NHA) ในสว่ นของขอ้ มลู การส่งออกและนาเข้าสนิ คา้ และบริการดา้ นสุขภาพ เปน็ เงื่อนไขการดาเนินงานที่สาคัญในการบรรลุตามเป้าหมายของงานศึกษาคร้ังน้ี ท่านเห็นว่า จาก (ร่าง) ตารางนาเข้าและส่งออกท่ีแสดงในแผนภาพที่ 7 และแผนภาพท่ี 8 สามารถรับข้อมูลดังกล่าวได้จาก แหล่งใด 4. ความเป็นไปได้ในการพัฒนาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ ท่านเห็นว่า มีอุปสรรค ปัญหา และข้อจากัดใด ในการพัฒนาหรือไม่ หากท่านเห็นว่า มีอุปสรรค ปัญหา และข้อจากัด ท่านมีข้อเสนอแนะในประเดน็ ดงั กลา่ วอยา่ งไร ในกรณีที่ท่านมีประสบการณ์ในการจัดทาบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของไทย (National Health account – NHA) ขอความอนุเคราะหใ์ นการตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 5. ในความคิดเห็นของทา่ น Rest of the world (HP9) ใน table 15.3 Expenditure on health care by health care providers and functions of care มีขอบเขตและคานยิ ามอย่างไร 6. ในการจัดทาบัญชีรายจา่ ยสุขภาพแห่งชาติของไทย (National Health account – NHA) ในปัจจุบนั ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับการส่งออกและนาเข้าสินค้าและบริการด้านสุขภาพ ถูกรวมอยู่ในส่วนไหนของ บญั ชบี ้าง รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-48 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
(2) การสมั ภาษณ์เชงิ ลกึ เกย่ี วกับขอบเขตของบัญชีบรวิ ารด้านสขุ ภาพ และการสารวจขอ้ มลู ประเด็นการสัมภาษณ์เชงิ ลึก ประเดน็ ท่ี 1: ขอบเขตของบัญชีบริวารด้านสขุ ภาพ ทางมลู นธิ ิ สวค. ไดก้ าหนดขอบเขตของกจิ กรรมภายใต้บัญชีบรวิ ารด้านสขุ ภาพไวค้ ือ “กจิ กรรมการผลิตสินคา้ และการใหบ้ ริการด้านสุขภาพแกม่ นษุ ย์ทมี่ คี วามเก่ยี วข้องกับการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การควบคมุ ป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟน้ื ฟูสมรรถภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค ของหน่วยงาน ทางเศรษฐกจิ ทั้งหมด” เมอ่ื นาขอบเขตดงั กล่าวพิจารณาร่วมกบั เอกสารแนบทงั้ ภาพและตาราง ทางมลู นธิ ิ สวค. ตอ้ งการสอบถามความคิดเหน็ ดงั น้ี 1. ทา่ นคิดเห็นอยา่ งไรกับ ขอบเขตและการจาแนกประเภทของกิจกรรมการผลติ ที่มูลนิธิ สวค. ได้นาเสนอกิจกรรมการผลติ ด้านสขุ ภาพโดยภาพรวม 2. ทา่ นคิดเห็นอย่างไรกบั กจิ กรรมการผลิตตง้ั แต่ 1-8 ในตาราง (เปน็ กจิ กรรมการผลิตภายใต้บญั ชี รายจา่ ยสุขภาพแห่งชาติท่ีมกี ารจดั ทาในปัจจบุ นั ) ควรมีการปรับปรุง แกไ้ ข และเพม่ิ เติมหรอื ไม่ อยา่ งไร 3. ทา่ นคิดเหน็ อย่างไรกับ กิจกรรมการผลิตภายใต้ 9. สถานประกอบการเพือ่ สุขภาพ (สปา นวด และฟิตเนส) ควรมีการปรับปรุง แกไ้ ข และเพม่ิ เติมหรือไม่ อยา่ งไร 4. ท่านคดิ เห็นอย่างไรกบั กจิ กรรมการผลิตสินค้าด้านสขุ ภาพภายใต้ 10-12 ควรมีการปรบั ปรงุ แก้ไข และเพิ่มเติมหรือไม่ อย่างไร 5. ท่านคิดเหน็ อย่างไรกับ กิจกรรมการใหบ้ รกิ ารท่เี กย่ี วกบั ดา้ นสุขภาพภายใต้ 13-16 ควรมีการ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข และเพ่มิ เติมหรอื ไม่ อย่างไร 6. แหล่งข้อมลู ในส่วนการผลติ การใชจ้ า่ ย ปัจจัยการผลติ การนาเขา้ ส่งออกและนาเขา้ ทั้งสินค้า และบริการ ที่ท่านเห็นวา่ มีประโยชน์ต่อการจดั ทาบญั ชบี ริวารดา้ นสุขภาพ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าท่ี ภ-49 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ประเด็นที่ 2: การสารวจข้อมูลและเก็บรวบรวมข้อมลู สาหรับประมวลผลตามขอบเขตของบญั ชี บรวิ ารดา้ นสขุ ภาพ จาแนกออกเป็นประเด็นคาถามเฉพาะของแต่ละหนว่ ยงานดังนี้ สานักงานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม 1. กระทรวงอตุ สาหกรรม มกี ารจัดเก็บข้อมูลการผลติ และปัจจยั การผลิต ดา้ นสขุ ภาพ หรอื ไม่ ตัว แปรทีไ่ ด้มีการจดั เกบ็ มีอะไรบ้าง 2. ข้อมลู การผลิตดา้ นสุขภาพทีก่ ระทรวงอุตสาหกรรมจัดเกบ็ ในปจั จุบันมีความครบถ้วนสมบูรณ์ ครอบคลุมทกุ บริษทั /โรงงานทที่ าการผลติ หรือไม่ 3. ข้อมูลของกระทรวงอตุ สาหกรรมท่ีได้มกี ารจดั เก็บ ไดจ้ าแนกตามรหัสมาตรฐานหรือไม่ เช่น จาแนกตามรหสั TSIC หรือ ISIC) 4. จากเอกสารแนบทั้งภาพและตาราง การผลติ สินค้าท่ีทางมูลนธิ ิ สวค. ไดจ้ าแนกประเภทไว้ ตง้ั แต่ 10-12 ฐานข้อมูลของกระทรวงอตุ สาหกรรมในปัจจุบนั มขี ้อมูลตามการจาแนกสาขาดังกลา่ ว หรอื ไม่ ถา้ ไม่มี มีละเอยี ดสุดมากนอ้ ยแค่ไหน 5. ท่านเหน็ วา่ มอี ุปสรรค ปญั หา และข้อจากัด ในการจดั เกบ็ ข้อมูลเพิ่มเติมตามรายละเอยี ดการ จาแนกประเภทของมูลนธิ ิ สวค. หรอื ไม่ หากทา่ นเห็นว่ามี ทา่ นมีข้อเสนอแนะในประเดน็ ดงั กล่าว อยา่ งไร กรมพฒั นาธุรกิจการคา้ กระทรวงพาณิชย์ 1. ข้อมูลการผลติ หรือยอดขายด้านสขุ ภาพของไทยที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าจัดเก็บในปัจจุบนั มี ความครบถ้วนสมบูรณห์ รอื ไม่ ครอบคลมุ ทุกบริษทั ที่ทาการผลิตและให้บริการหรือไม่ (เช่น โรงพยาบาล สถานพยาบาล สถานพกั ฟนื้ บรษิ ัทประกนั ผขู้ ายส่งและขายปลีก สปา ร้านนวด ศูนย์ฟิตเนส เปน็ ต้น) 2. จากเอกสารแนบทง้ั ภาพและตาราง การผลิตสินคา้ และการใหบ้ รกิ ารท่ีทางมลู นธิ ิ สวค. ได้จาแนก ประเภทไว้ ฐานข้อมลู ของกรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ ในปจั จุบัน มขี อ้ มูลตามการจาแนกสาขา ดังกลา่ วหรอื ไม่ ถ้าไม่มี มลี ะเอียดสุดมากน้อยแค่ไหน 3. ท่านเห็นวา่ มอี ุปสรรค ปัญหา และขอ้ จากดั ในการจัดเกบ็ ข้อมูลเพ่ิมเติมตามการรายละเอยี ด จาแนกประเภทของมูลนธิ ิ สวค. หรอื ไม่ หากท่านเห็นว่ามี ท่านมขี ้อเสนอแนะในประเด็นดังกลา่ ว อย่างไร ธนาคารแห่งประเทศไทย 1. ข้อมลู นาเข้าและสง่ ออกบริการท่ที างธนาคารแห่งประเทศไทยมีการจัดเก็บมีลักษณะอยา่ งไร เช่น ตัวแปรท่ีจดั เก็บคืออะไร มกี ารจัดเก็บจาแนกตามประเภทบรกิ ารหรอื ไม่ (หากมี ใช้รหสั มาตรฐาน ใดในการจาแนก) มีการจดั เก็บจาแนกตาม Mode ของบริการหรือไม่ เปน็ ตน้ 2. ข้อมูลนาเข้าและสง่ ออกบริการของไทยด้านสุขภาพในปัจจุบันมคี วามครบถ้วนสมบูรณห์ รือไม่ 3. จากเอกสารแนบทัง้ ภาพและตาราง บริการดา้ นสขุ ภาพท่ที างมลู นธิ ิ สวค. ได้จาแนกประเภทไว้ ตง้ั แต่ 1-9 และ 13-16 ฐานข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทยในปจั จบุ ัน มีขอ้ มลู ตาม การจาแนกสาขาดังกลา่ วหรือไม่ ถา้ ไมม่ ี มลี ะเอยี ดสุดมากน้อยแค่ไหน 4. ทา่ นเหน็ วา่ มอี ปุ สรรค ปัญหา และข้อจากัด ในการจัดเก็บข้อมลู เพ่ิมเตมิ ตามรายละเอยี ด รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าท่ี ภ-50 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
5. การจาแนกประเภทบริการของมลู นิธิ สวค. หรอื ไม่ หากทา่ นเห็นวา่ มี ทา่ นมขี ้อเสนอแนะใน ประเดน็ ดงั กล่าวอย่างไร คณะทางานจัดทาบญั ชรี ายจ่ายสุขภาพแหง่ ชาติ สานกั งานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวา่ ง ประเทศ กระทรวงสาธารณสุข 1. ฐานขอ้ มลู ท่ีใช้ในการจดั ทาบัญชรี ายจา่ ยสุขภาพแหง่ ชาติ ในแต่ละ Table มีทีม่ าของข้อมูล อยา่ งไร โดยเฉพาะข้อมูลการผลิต และปัจจยั การผลิต 2. การจดั ทาข้อมูลจาแนกตามประเภท เชน่ HC HP และ FP ทางคณะทางานจัดทาบัญชีรายจ่าย สุขภาพแหง่ ชาติ มแี นวทางในการจัดทาอยา่ งไร (เชน่ แนวทางการคดิ มลู ค่าการผลติ แนวทางการ ใชร้ หสั มาตรฐาน (TSIC ISIC CPC) ในการจดั ทาขอ้ มูลบัญชีรายจา่ ยสขุ ภาพแหง่ ชาต)ิ 3. ทา่ นคดิ เหน็ อย่างไรกบั ขอบเขตและการจาแนกประเภทของกจิ กรรมการผลิตทีม่ ลู นธิ ิ สวค. ได้ นาเสนอ ควรมีการปรับปรุง แก้ไข และเพ่มิ เตมิ หรือไม่ อย่างไร 4. ท่านเหน็ วา่ มอี ุปสรรค ปัญหา และข้อจากดั ในการจัดเก็บข้อมลู เพ่ิมเตมิ ตามรายละเอียด การจาแนกประเภทของมลู นธิ ิ สวค. หรอื ไม่ หากท่านเห็นว่ามี ทา่ นมขี ้อเสนอแนะในประเด็น ดังกลา่ วอย่างไร สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสขุ 1. สินค้าดา้ นสขุ ภาพภายใต้การดูแลของ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ประกอบด้วย อะไรบา้ ง 2. ทาง อย. มแี นวทางในการจาแนกมลู คา่ การผลิตยาทใ่ี ช้สาหรบั มนุษย์และสตั ว์ ทงั้ การผลิต ภายในประเทศและการนาเข้า อย่างไร 3. จากเอกสารแนบทง้ั ภาพและตาราง สนิ ค้าด้านสุขภาพทีท่ างมูลนิธิ สวค. ไดจ้ าแนกประเภทไว้ โดยเฉพาะ 10. การผลติ ผลิตภณั ฑท์ ใี่ ช้รกั ษาโรค ฐานข้อมูลของ อย. ในปจั จุบนั มีข้อมูลตามการ จาแนกสาขาดังกลา่ วหรอื ไม่ ถา้ ไม่มี มีละเอียดสดุ มากน้อยแคไ่ หน 4. ทา่ นเห็นว่า มอี ุปสรรค ปัญหา และข้อจากดั ในการจัดเก็บข้อมลู เพ่ิมเตมิ ตามรายละเอยี ด การจาแนกประเภทสนิ คา้ ของมูลนธิ ิ สวค. หรือไม่ หากท่านเหน็ ว่ามี ท่านมขี ้อเสนอแนะใน ประเดน็ ดงั กล่าวอยา่ งไร กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 1. สนิ คา้ และบริการดา้ นสขุ ภาพภายใต้การดูแลของ กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ (สบส.) ประกอบด้วยอะไรบ้าง 2. ทาง สบส. มแี นวทางในการจาแนกมูลค่าการผลติ สินค้าและบรกิ ารท่ีเก่ยี วข้อง ทั้งการผลิต ภายในประเทศและการนาเข้า อยา่ งไร 3. จากเอกสารแนบทัง้ ภาพและตาราง สินคา้ ดา้ นสขุ ภาพท่ที างมูลนธิ ิ สวค. ได้จาแนกประเภทไว้ มี ข้อมูลตามการจาแนกสาขาดังกลา่ วอย่ภู ายใตก้ ารดแู ลของ สบส. หรอื ไม่ ถา้ มีข้อมลู มีขอ้ มูลท่ี ละเอยี ดสุดมากน้อยแค่ไหน รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-51 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
4. ท่านเห็นวา่ มีอปุ สรรค ปัญหา และขอ้ จากดั ในการจัดเก็บข้อมูลเพิ่มเติมตามรายละเอยี ด การจาแนกประเภทสนิ ค้าของมลู นิธิ สวค. หรอื ไม่ หากทา่ นเห็นว่ามี ท่านมีข้อเสนอแนะใน ประเดน็ ดงั กลา่ วอยา่ งไร ประเดน็ ที่ 3: การจดั ทาตารางปัจจัยการผลติ และผลผลิตภายใตข้ อบเขตของบัญชบี รวิ ารดา้ นสขุ ภาพ ศ.ดร.เอื้อมพร พิชัยสนิธ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1. แนวทางและหลักการสาคัญในการจดั ทาตารางปจั จยั การผลิตและผลผลิต เฉพาะสาขา เช่น ขอ้ สมมตฐิ าน การกาหนดนิยาม และการจาแนกประเภท (Sector) การวิเคราะหโ์ ครงสรา้ งการผลิตและผลผลิตในระดับย่อยท่ีละเอยี ดกวา่ IO 180 Sectors ของ สภาพฒั น์ การประมวลผล เช่น o การคานวณ Purchasers’ Price, Producers’ price และ Basic Price o การคานวณ Margin Sector การดุลระหว่าง Demand และ Supply 2. แนวทางหรือการนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการวเิ คราะห์ของตารางปจั จัยการผลติ และผลผลิต 3. แหลง่ ข้อมลู ในสว่ นการผลิต การใชจ้ ่าย (รฐั เอกชน และการใช้จา่ ยสินค้าทนุ ) ปจั จยั การผลติ (ขนั้ ต้นและข้นั กลาง) การนาเขา้ ส่งออกและนาเขา้ ทัง้ สินค้าและบริการ ที่ท่านเหน็ ว่ามปี ระโยชน์ ตอ่ การจัดทาตารางปัจจยั การผลติ และผลผลติ 4. ทา่ นเห็นวา่ มอี ปุ สรรค ปัญหา และข้อจากัด ในการจัดทาตารางปจั จัยการผลิตและผลผลิตเฉพาะ สาขา (ดา้ นสขุ ภาพ) หรือไม่ หากท่านเห็นว่ามี ทา่ นมีข้อเสนอแนะในประเดน็ ดงั กล่าวอย่างไร สานกั งานปลัดกระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา 1. แนวทางและหลักการสาคัญในการจดั ทาตารางปจั จยั การผลติ และผลผลิต เฉพาะสาขา เช่น ข้อสมมติฐาน การกาหนดนยิ าม และการจาแนกประเภท (Sector) การวิเคราะหโ์ ครงสรา้ งการผลิตและผลผลติ ในระดบั ย่อยที่ละเอยี ดกวา่ IO 180 Sectors ของ สภาพัฒน์ การประมวลผล เชน่ o การคานวณ Purchasers’ Price, Producers’ price และ Basic Price o การคานวณ Margin Sector การดลุ ระหวา่ ง Demand และ Supply 2. แหลง่ ข้อมลู ในส่วนการผลิต การใช้จา่ ย (รัฐ เอกชน และการใชจ้ า่ ยสินคา้ ทุน) ปัจจัยการผลติ (ขน้ั ต้นและข้นั กลาง) การนาเข้าสง่ ออกและนาเข้า ทั้งสินค้าและบรกิ าร ท่ีทา่ นเห็นว่ามีประโยชน์ ต่อการจัดทาตารางปจั จัยการผลติ และผลผลิต ท่านเหน็ วา่ มีอุปสรรค ปญั หา และขอ้ จากดั ในการจดั ทาตารางปัจจัยการผลติ และผลผลติ เฉพาะสาขา (ด้าน สขุ ภาพ) หรอื ไม่ หากทา่ นเห็นว่ามี ทา่ นมีข้อเสนอแนะในประเดน็ ดงั กล่าวอย่างไร รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ ภ-52 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ภาคผนวก ฉ รายชือ่ ผเู้ ข้ารว่ มประชมุ นาเสนอ ผลการดาเนนิ งาน
ฉ รายช่อื ผู้เขา้ รว่ มประชุมนาเสนอผลการดาเนินงาน รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี ภ-53 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
หมายเหตุ: เฉพาะผ้เู ข้ารว่ มประชมุ ที่มูลนสิ ถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกจิ การคลัง โดยผู้เข้าร่วมประชุมออนไลน์ ได้ลงทะเบยี นผ่านทางอีเมลล์ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-54 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ภาคผนวก ช รายชอื่ ผู้เข้าร่วมการอบรมถ่ายทอดความรู้ แกบ่ คุ ลากรและหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง
ช รายชื่อผู้เขา้ ร่วมการอบรมถ่ายทอดความรแู้ กบ่ คุ ลากรและหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าที่ ภ-55 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-56 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-57 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-58 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ภาคผนวก ซ แบบฝึกหดั ประกอบการอบรมแกบ่ ุคลากร และหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง
ซ แบบฝกึ หัดประกอบการอบรมแก่บคุ ลากรและหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้อง แบบฝกึ หดั ประกอบการอบรม ครั้งที่ 2 : Part I บัญชปี ระชาชาติ (Accounts of Nation) Topic: Production account and goods and services account Exercises on GDP by Production and Final Expenditure 1. ประมาณการมลู คา่ เพมิ่ รวม สดั สว่ นมูลค่าเพ่ิม และสัดสว่ นผลผลิต ของอตุ สาหกรรมต่อไปนี้ ที่มกี ารจัด ประเภทอตุ สาหกรรมตามกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ (ISIC categories) A+B สาขาเกษตรกรรม การลา่ สัตว์ การปา่ ไม้ และการประมง C สาขาการทาเหมอื งแร่และเหมอื งหนิ D สาขาอุตสาหกรรม (การผลติ ) E สาขาไฟฟา้ ปะปา ก๊าซ F สาขาการก่อสร้าง G+H สาขาการขายสง่ และการขายปลกี การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ ของใชส้ ว่ นบุคคล และของใชใ้ นครัวเรือน และโรงแรมและภตั ตาคาร I สาขาการขนส่ง สถานท่เี ก็บสินคา้ และการคมนาคม J+K สาขาตวั กลางทางการเงนิ และสาขาบริการด้านอสงั หาริมทรพั ย์ การให้เช่า และบริการ ทางธุรกจิ L สาขาการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน การปอ้ งกันประเทศและการประกันสงั คมภาคบังคบั M+N+O สาขาการศึกษา สาขาบริการดา้ นสขุ ภาพและงานสังคมสงเคราะห์ และสาขาบริการ ชุมชน สังคม และสวนบุคคลอ่นื ๆ P สาขาลูกจางในครวั เรือนสวนบคุ คล 2. ประมาณการผลผลิต การอุปโภคขั้นกลาง และมูลค่าเพม่ิ รวม สาหรบั กจิ กรรมที่ไม่ใช่กิจกรรมตลาด 3. ประมาณการ GDP จากผลผลติ 4. ประมาณการการใช้จา่ ยขน้ั สดุ ทา้ ยของคา่ ใชจ้ ่ายประเภทตา่ ง ๆ o คา่ ใชจ้ ่ายเพื่อการบริโภคข้นึ สุดท้ายของรฐั บาล สถาบันไมแ่ สวงหากาไรให้บริการครัวเรือน (NPISHs) และครัวเรอื น o รายจ่ายเพือ่ การลงทนุ (I) o การสง่ ออกสทุ ธิ (X-M) 5. ประมาณการ GDP จากรายจา่ ยเปรียบเทยี บกับ GDP จากการผลิต รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าที่ ภ-59 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ขอ้ มลู ประกอบ (Information) ก. ผลผลิตตลาด (Market Output) อุตสาหกรรม ผลผลติ การอปุ โภคขนั้ กลาง (Industry) (ราคาพ้นื ฐาน) (ราคาผู้ซ้ือ) (Basic Prices) (Purchasers’ prices) การก่อสร้าง/ซ่อมแซม 300 250 80 การปศสุ ตั ว์ 150 96 40 การป่าไม้และการประมง 280 100 70 การกลัน่ นา้ มนั 100 15 86 เสอื้ ผ้า 250 140 90 การผลติ อนื่ ๆ 120 55 67 ไฟฟ้า และนา้ 40 40 23 การขนสง่ 145 34 30 การกสิกรรม 450 60 กาไรจากการคา้ 230 200 100 โรงแรมและร้านอาหาร 120 60 อสงั หาริมทรัพย์ 100 100 40 บริการทางธรุ กจิ 90 10 โรงเรยี นเอกชน 40 120 70 โรงพยาบาลเอกชน 60 20 กิจการสนั ทนาการ 50 40 การบริการส่วนบุคคล 100 ข. กิจกรรมระบบเศรษฐกิจท่ีมิใชระบบตลาด บริการของรัฐบาลกลางและท้องถิน่ ค่าตอบแทนพนักงาน การซอ้ื วสั ดแุ ละบรกิ าร (เฉพาะรายจา่ ยประจา) การใชท้ ุนถาวร โรงเรียนของรัฐ วิทยาลยั และมหาวทิ ยาลัยของรฐั (ฟรคี ่าบรกิ าร) ค่าตอบแทนพนักงาน การซ้อื วัสดุและบรกิ าร (เฉพาะรายจ่ายประจา) การใชท้ ุนถาวร โรงพยาบาลของรัฐ (ฟรคี ่าบริการ) คา่ ตอบแทนพนกั งาน การซื้อวสั ดแุ ละบรกิ าร (เฉพาะรายจา่ ยประจา) การใชท้ ุนถาวร องค์กรนอกภาครัฐ โบสถ์ วัด และอนื่ ๆ คา่ ตอบแทนพนักงาน รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าท่ี ภ-60 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
การซอื้ วัสดุและบรกิ าร (เฉพาะรายจ่ายประจา) 70 การใช้ทุนถาวร 5 ค. รายการโดยประมาณอ่นื ๆ มลู คา่ คาดการณ์ของที่อยู่อาศยั ท่ีมเี จ้าของ (เทียบกบั คา่ เช่าใน 150 ตลาด) 30 การซ้อื วัสดแุ ละบรกิ ารสาหรับการซอ่ มแซม 120 สว่ นที่เหลือ 70 การบริโภคพืชผลของตนเอง 250 ง. ภาษนี าเขา้ และภาษีสินค้าอ่ืน ๆ หักเงนิ อุดหนนุ 950 จ. การซอ้ื สนิ คา้ และบริการโดยครัวเรือนสาหรับการบริโภค 120 ฉ. การสะสมทนุ ถาวรเบ้ืองตน 20 ช. สวนเปลีย่ นสินคาคงเหลือ 750 ซ. การสงออกสนิ คาและบรกิ าร 600 ฌ. การนาเขาสนิ คาและบรกิ าร Guides สถาบันไม่แสวงหากาไรให้บริการครัวเรือน (NPISHs) รวมกิจกรรมระบบเศรษฐกิจที่มิใชระบบตลาด ทีไ่ ม่ไดถ้ กู สนบั สนนุ ทางการเงินโดยรัฐบาล กิจกรรมทีไ่ มใ่ ชร่ ะบบตลาดที่ถูกสนับสนนุ ทางการเงนิ หลักโดยรัฐบาลควรจดั อยใู่ นภาครัฐบาล ผลผลิตของภาครัฐบาลและสถาบันไม่แสวงหากาไรที่ให้บริการครัวเรือนถูกคานวณโดยรวม คา่ ตอบแทนพนักงาน การบริโภคข้นั กลาง และการใช้ทุนถาวร รายจายเพื่อการอุปโภคบรโิ ภคของรัฐบาลข้ันสุดท้าย ได้แก่ ผลผลิตของบริการภาครัฐหักรายรับ บวก ผลผลิตของกิจกรรมระบบเศรษฐกิจที่มิใช ระบบตลาดท่ีถูกให้การสนับสนุนทางการเงินโดยรัฐบาล (อาทิ โรงเรียนรัฐบาล หรือโรงพยาบาล เป็นต้น) หักรายรับ บวกการซื้อสินค้าและบริการโดยรัฐบาล เพ่ือแจกจ่ายฟรีให้ครัวเรือน รายจายเพ่ือการอุปโภคบริโภคของสถาบันไม่แสวงหากาไรให้บริการ ครัวเรือน (NPISHs) ข้ันสุดท้าย ได้แก่ ผลผลิตของสถาบันไม่แสวงหากาไรให้บริการครัวเรือนหัก รายรับ บวกการซื้อสินค้าและบริการเพ่ือแจกจ่ายฟรีให้ครัวเรือน โดยในกรณีท่ีการสะสมทุนเบ้ืองตน ในกรณีที่มีการลงทุนด้วยบัญชีตนเอง ให้หักการลงทุนนั้นออกจากผลผลิตก่อนนาไปคานวนรายจ่าย เพอื่ การบริโภคขน้ั สดุ ทา้ ย รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าที่ ภ-61 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
Topic: Income account of the nation Exercises on Gross National Income, Gross National Disposable Income and Gross Saving กาหนดให้ GDP การอุปโภคบรโิ ภคข้ันสดุ ทา้ ย (Final consumption) และขอ้ มลู ดลุ บัญชีเดินสะพัด (Current account) ของบญั ชดี ุลการชาระเงิน (Balance of payments) มีข้อมลู ดังท่กี าหนดไว้ จงระบุขอ้ มลู a) รายได้ ปฐมภมู ิ (Primary income) และ b) ดุลเงินโอนและบรจิ าค (Current transfers) และประมาณการ c) รายได้ ประชาชาติ (Gross national income: GNI) d) รายไดส้ ุทธสิ ว่ นบุคคลหรอื รายได้ที่ใชจ้ า่ ยได้จรงิ (Disposable income) และการออม (Saving) ขอ้ มูลประกอบ (Information) GDP = 2224 การอปุ โภคบรโิ ภคขนั้ สดุ ทา้ ย (Final การใชจ้ ่ายเพ่ือการอุปโภคข้นั สุดท้ายของรัฐบาล consumption) = (Final consumption expenditure of the government) + การใชจ้ า่ ยเพ่ือการอุปโภคขั้นสดุ ทา้ ยของสถาบนั ไม่ แสวงหากาไรให้บริการครัวเรือน (Final consumption expenditure of non-profit institutions serving households) + การใชจ้ ่ายเพอื่ การบริโภคข้ันสดุ ท้ายของครวั เรอื น (Final consumption expenditure of households) = 2145 รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าที่ ภ-62 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
Topic: Financial account of the nation Exercises on Classification of Transactions การหมนุ เวียนในระบบเศรษฐกจิ (Economic flows) สะทอ้ นการสรา้ ง การแปรรูป การแลกเปลย่ี น การ ถา่ ยโอน หรือการสูญเสียมลู ค่าทางเศรษฐกจิ โดยการหมนุ เวียนในระบบเศรษฐกจิ มี 2 รปู แบบ ไดแ้ ก่ การ ทาธรุ กรรม (transactions) และการหมนุ เวียนรปู แบบอ่นื ๆ การทาธุรกรรม คือ การหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจระหว่าง หนว่ ยเศรษฐกจิ ทเ่ี ป็น institutional units โดยการทาข้อตกลงรว่ มกัน หรือการกระทาภายในหนว่ ยเศรษฐกจิ ที่เป็น institutional units ท่ีสามารถ วิเคราะห์ไดว้ ่ามกี ารทาธรุ กรรม รูปแบบของการทาธรุ กรรม o สินค้าและบริการ (Goods and services) o การกระจายรายได้ (Income (distributive)) o เครอื่ งมือทางการเงนิ (Financial instruments) การหมุนเวยี นรูปแบบอื่น ๆ คอื การเปลีย่ นแปลงของมลู ค่าสนิ ทรพั ย์ (assets) และหนส้ี ิน (Liabilities) ท่ี ไมไ่ ดเ้ กดิ ขน้ึ จากการทาธรุ กรรม การรวบรวมบญั ชีท่แี ตกต่างกัน จาเปน็ ตอ้ งมกี ารจาแนกประเภทของการทาธรุ กรรมใหเ้ หมาะสม รวมท้งั การจาแนกประเภทของการหมนุ เวยี นรูปแบบอื่น ๆ ดังน้ันจงจาแนกประเภทข้อมูล (classification) ท่ี กาหนดให้ในตารางตามหมวดหมู่ (categories) ในแตล่ ะรายการ ดังนี้ (Output) (Intermediate consumption) (Primary income: compensation of employees, other taxes on production, property income) (Current transfers) (Gross capital formation) (Acquisition less disposal of non-produced assets) (Change in financial asset) (Change in financial liability) รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-63 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
หมายเหตุ: การจดจาประเภทของการทาธุรกรรม (classification of transactions) ให้ถกู ต้อง มคี วามสาคัญอย่างย่งิ ต่อการ จัดทาบญั ชีประชาชาติ การทาธรุ กรรมที่เปน็ การอปุ โภคบรโิ ภคข้ันกลางทีจ่ ัดประเภทผดิ พลาด เชน่ รายได้จากทรัพยส์ ิน (property income) จะส่งผลให้ GDP เพ่มิ ข้ึน (อย่างผดิ พลาด) เป็นต้น รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ ภ-64 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
Topic: SNA framework for the total economy Exercises on Setting up a Full System of Account of the Nation กาหนดใหข้ ้อมูลดงั ตอ่ ไปนเ้ี ป็นขอ้ มูลเศรษฐกจิ ในปี ค.ศ. 2000 จงเติมขอ้ มลู (ตัวเลข) ในบญั ชีท่ีแสดงดังตาราง 1. รายการในงบดลุ (balance sheet) ณ สนิ้ สุดปี ค.ศ. 1999 มดี งั น้ี o มลู คา่ รวมของสนิ ทรัพยท์ ่ีไมใ่ ชท่ างการเงิน เช่น อาคาร ถนน และเคร่อื งจกั ร เปน็ ต้น : 1000 o การกูย้ ืมจากภาคเศรษฐกจิ ของผ้มู ีถน่ิ ฐานในประเทศ (resident sectors) (สินทรัพย์รวม) : 100 o โดยเปน็ การก้ยู ืมจากผมู้ ถี น่ิ ฐานในตา่ งประเทศ (the rest of the world) : 10 o การกยู้ ืมที่รับผิดชอบโดยผู้มีถิ่นฐานในประเทศ (หน้ีสนิ รวม) : 240 o โดยเป็นการกู้ยืมทรี่ บั ผิดชอบโดยผมู้ ถี ่นิ ฐานในตา่ งประเทศ : 150 o เงนิ ตราภายในประเทศ (stock) : 200 2. ผลผลิต ณ ราคาพ้ืนฐาน (output at basic prices) ทีผ่ ลติ ภายในปี ค.ศ. 2000 : 450 3. ภาษีหักการอดุ หนุน (Taxes less subsidies) ในการผลิต : 20 4. การอุปโภคบริโภคขนั้ กลางท่ีใชใ้ นการผลิต (Intermediate consumption) : 300 5. การอปุ โภคบริโภคขัน้ สุดทา้ ย (Final consumption) : 190 6. การบรโิ ภคสนิ ค้าทนุ (Consumption of fixed capital) : 5 7. การซอื้ เครอ่ื งจกั ร : 50 8. การสง่ ออก : 30 9. การนาเขา้ : 100 10.เงนิ ช่วยเหลอื การลงทนุ จากต่างประเทศ : 2 11.การจ่ายดอกเบีย้ ใหแ้ ก่ต่างประเทศ : 10 12.การไดร้ ับดอกเบีย้ จากผู้มีถ่ินฐานในต่างประเทศ : 2 13.การกูย้ ืมทีอ่ อกโดยภาคเศรษฐกจิ ของผู้มีถ่นิ ฐานในประเทศแก่ภาคเศรษฐกิจอน่ื : 20 14.การกูย้ ืมจากผ้มู ีถิ่นฐานในต่างประเทศ : 76 15.การผลติ เงนิ ตราภายในประเทศ (New issue of currency) : 10 16.การเพ่ิมขึ้นของมูลค่าสินทรัพย์ทไี่ ม่ใชท่ างการเงิน เนือ่ งจากภาวะเงินเฟ้อ (inflation) : 30 หมายเหตุ: ข้อมูลที่กาหนดให้บางข้อมูลไม่ใช่ข้อมูลในเศรษฐกิจ เช่น รายได้จากทรัพย์สินของผู้มีถิ่นฐานใน ประเทศ เป็นตน้ บัญชีท่ีเก่ียวข้องกับภาคต่างประเทศ หรือผู้มีถิ่นฐานในต่างประเทศ (The rest of the world accounts) จะต้องเป็นมุมมองของภาคต่างประเทศ ควรตรวจสอบการกู้ยืมสุทธิ (net lending/ net borrowing) ท้ังบัญชีการเปล่ียนแปลงสินทรัพย์ทุน (Capital account) และบญั ชีการเปลีย่ นแปลงสินทรัพย์ทางการเงิน (Financial account) ควรตรวจสอบการกยู้ ืมสทุ ธิของเศรษฐกิจท้ังหมด (total economy) และภาคตา่ งประเทศ (the rest of the world) คอื ขอ้ มูลท่มี ีค่าเท่ากนั เพยี งแต่เป็นเครื่องหมายตรงขา้ ม รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าท่ี ภ-65 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-66 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
แบบฝกึ หัดประกอบการอบรม ครงั้ ที่ 2 : Part II การรวบรวมบัญชจี ากอตุ สาหกรรมและภาคสถาบนั ทาง เศรษฐกจิ (Integrated accounts by industries and institutional sectors) Topic: Industry and sector breakdown Exercises on Account of the Government Sector กาหนดใหส้ ถิติทางการเงินของรฐั บาลเป็นดงั ข้อมลู ตาราง A จงหาข้อมลู ดงั น้ี 1. ผลผลิต (Output) การอุปโภคบริโภคขั้นกลาง (intermediate consumption) การใช้จ่ายเพ่ือการอุปโภค บริโภคข้ันสุดท้ายของรัฐบาล (final consumption expenditures of government) การใช้จ่ายรัฐบาล สาหรับการอุปโภคบริโภคสินค้าและบริการของปัจเจกบุคคล (individual consumption expenditures of government) และการใช้จ่ายรัฐบาลเพ่ือการอุปโภคบริการโดยรวม (collective consumption expenditures of government) การสะสมทุนเบ้อื งต้น (gross capital formation) รายไดป้ ฐมภูมิ (primary income) และเงินโอน (current transfers) 2. บัญชีการผลิต (Production account) บญั ชรี ายได้ (Income account) และบัญชีการเปลี่ยนแปลง สินทรัพย์ทุน (Capital account) ของภาครัฐบาล โดยเตมิ ข้อมลู ในตาราง B รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี ภ-67 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
A. รายได้และค่าใช้จ่ายของรฐั บาล รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี ภ-68 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
B. บัญชภี าครัฐบาล หมายเหตุ: “Uses” คือ ด้านซ้ายของบัญชี ซึ่งเกี่ยวข้องกับธุรกรรม (transactions) ท่ีเป็นการลดมูลค่าทางเศรษฐกิจ ของหนว่ ยเศรษฐกจิ “Resources” คือ ด้านขวาของบัญชี ซ่ึงเกี่ยวข้องกับธุรกรรมท่ีเป็นการเพิ่มมูลคา่ ทางเศรษฐกิจของหนว่ ย เศรษฐกิจ การอุปโภคบริโภคข้ันกลาง (Intermediate consumption) และการทาธุรกรรมรูปแบบอ่นื ของคา่ ใช้จ่าย ภาครัฐบาลสามารถกาหนดหมวดหมู่ท่ีระบุไว้ดังตาราง C เพื่อการหาผลผลิต การอุปโภคบริโภคขั้นกลาง มูลค่าเพ่ิม (value added) และการอุปโภคบริโภคข้ันสุดท้ายของภาครัฐบาลจากสมการ (ที่ระบุไว้ใน ตาราง C) ผลผลติ ที่เป็นระบบตลาด (market output) ซึง่ เปน็ การขายหรือ และ/หรอื คา่ บริการท่ีรัฐบาล เรียกเก็บจากบริการของรัฐ โดยจัดเป็นรายได้ของรัฐบาล ในทานองเดียวกัน own-account capital formation ไมไ่ ดน้ ามาคานวณในการใชจ้ ่ายเพอื่ กการอุปโภคบรโิ ภคข้นั สุดทา้ ย รหัส 01 – 10 จัดหมวดหมู่โดยตามหน้าที่การให้บริการ (COFOG) ดังน้ี (01) General public service ( 0 2 ) Defence ( 0 3 ) Public order and safety ( 0 4 ) Economic affairs ( 0 5 ) Environmental protection (06) Housing and community amenities (07) Health (08) Recreation, culture and religion ( 0 9 ) Education ( 1 0 ) Social protection (United Nations publication, Sales No. E.00.XVII.6) รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ ภ-69 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
C: หมวดหมูต่ ามหนา้ ที่การให้บริการ (Classifications of government o รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพ
outlays according to functions: COFOG) พศกึ ษาสถานการณ์และออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 หน้าท่ี 70
Topic: Supply and use tables: integration of industry, products and sectors Exercises on Setting up the Use and Supply Tables การสร้างตารางอุปสงค์และอุปทาน (Use and Supply Tables) โดยข้อมูลท่ีไม่ทราบค่า (unknown data) หาได้จากผลรวมของอปุ สงคห์ รอื มูลค่าการบรโิ ภครวม (total use) และมลู คา่ การผลติ รวม (total supply) ใน แต่ละผลิตภัณฑ์ (product) โดยในแบบฝกึ หัดนี้ กาหนดให้ product 1 คือ สนิ ค้า และ product 2 คอื บริการ จงคานวณ GDP ทางด้านการผลิต (production approach) และทางด้านการใช้จ่าย (Final expenditure approach) ข้อมูลประกอบ (Information) ผลผลติ ของ industry 1 ณ ราคาพื้นฐาน (basic price): Product 1: 150; Product 2: 30 ผลผลติ ของ industry 2 ณ ราคาพื้นฐาน (basic price): Product 1: 0; Product 2: 100 ปจั จยั การผลิต ณ ราคาผซู้ อ้ื (purchasers’ prices) สู่ industry 1: Product 1: 40; Product 2: 30 ปัจจยั การผลิต ณ ราคาผู้ซอื้ (purchasers’ prices) สู่ industry 2: Product 1: 10; Product 2: 20 การนาเข้า (c.i.f.) : Product 1: 40; Product 2: 20 การประกนั ภัยและค่าระวางสนิ ค้าของสินคา้ นาเข้า: 3 การสง่ ออก (f.o.b.) : Product 1: 50; Product 2: 15 การสะสมทนุ เบื้องตน้ ณ ราคาผซู้ ้ือ (purchasers’ prices): Product 1: 50; Product 2: 7 ส่วนตา่ งทางการค้าและการขนส่ง (Trade and transport margins): Product 1: 70 ภาษีหักการอุดหนนุ ของผลิตภัณฑ์: Product 1: 20; Product 2: 10 รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ ภ-71 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
GDP by production approach = GDP by final expenditure approach = รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ ภ-72 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
Topic: Other important issues in sector accounts Exercises on Linking Business Account to National Accounts จงใช้ข้อมูลบญั ชีของหน่วยธรุ กจิ (ตาราง A และ B) ดังตอ่ ไปน้ี 1. คานวณผลผลติ (output) การอุปโภคบรโิ ภคข้ันกลาง (intermediate consumption) คา่ ตอบแทน แรงงาน (compensation of employees) รายได้จากทรัพย์สนิ ได้แก่ ดอกเบ้ยี เงนิ ปนั ผล และค่าเช่า (property income receivable) รายจา่ ยจากทรัพยส์ ิน (property income payable) รายจ่ายจากเงินโอน (current transfer payable) และการสะสมทนุ เบ้ืองต้น (gross capital formation) A. งบกาไร-ขาดทนุ ของโรงงานแห่งหนึ่ง ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม ค.ศ. 1991 รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-73 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
B. งบดุล (Balance sheets) หมายเหตุ: ในการคานวณควรมีสมมติฐาน ดงั นี้ o กาหนดให้การอุปโภคบริโภคสนิ ทรัพย์ถาวร (fixed capital) เป็น ค่าเส่ือมราคา (depreciation) โดยในทางปฎบิ ัติ การอปุ โภคบริโภคสินทรพั ยถ์ าวร จะรวมอยูใ่ นส่วนของ capital stocks o ในการคานวณผลผลิต กาหนดให้ไม่มีค่าบริการสาหรับตัวกลางทางการเงิน โดยในทางปฎิบัติ ค่าบริการสาหรับตัวกลางทางการเงิน (FISIM) เป็นส่วนหน่ึงของการอุปโภคบริโภคข้ันกลาง โดย เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการรับและการจ่ายดอกเบ้ีย o ราคา (prices) กาหนดให้เป็นค่าคงท่ี ดังนั้น จึงไม่คานวณมูลค่าสินทรัพย์ถาวร (fixed assets) และการเปลี่ยนแปลงสินค้าคงเหลอื ดงั น้ัน ไมเ่ กิดกาไร/ขาดทนุ จากการถอื ครองทรัพย์สนิ รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี ภ-74 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
2. จงเติมขอ้ มูลในตาราง C C. บญั ชภี าคธรุ กจิ (Accounts of corporations sectors) รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ ภ-75 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
Topic: Price and volume measures in national accounts Exercises on Volume indexes จงแสดงการทาดชั นีปริมาณ (volume indexes) โดยวธิ ีของ Laspeyres, Paasche and Fisher จากขอ้ มูล ราคา ณ ปัจจบุ นั (current prices) และแสดงดัชนรี าคา (price index) สาหรบั สนิ คา้ แต่ละประเภท จากน้นั แสดงดชั นปี ริมาณ (volume indexes) สาหรับสินคา้ แต่ละประเภท และรวมดชั นปี ระเภทตา่ ง ๆ จากข้อมลู ดงั น้ี รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี ภ-76 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
Topic: Price and volume measures in national accounts Exercises on Double Deflation Method – Shortcut กาหนดให้เศรษฐกิจ ประกอบด้วย 2 อุตสาหกรรม ทผ่ี ลติ ผลิตภัณฑ์ (product) 2 ผลิตภณั ฑ์ ดังนี้ สดั สว่ นของผลิตภณั ฑ์ ณ ราคาพืน้ ฐาน (basic prices) ของแตล่ ะกจิ กรรมเป็นสัดส่วนในปฐี าน (base year) สดั ส่วนของต้นทนุ การผลิตในแต่ละอุตสาหกรรมที่ผลติ (การอปุ โภคบริโภคข้ันกลาง สามารถจาแนก ออกเป็น ผลติ ภณั ฑ์ ณ ราคาพน้ื ฐาน ทเี่ ป็นการบรโิ ภคเพ่ือการผลิต กาไรจากการค้า (trade margins) และภาษี (taxes on products)) กาหนดใหก้ าไรจากการค้าเป็นสว่ นหน่งึ ของผลผลติ ในอตุ สาหกรรมที่ 2 (industry 2) กาหนดให้ ข้อมลู ณ ปปี จั จุบันเปน็ ดังนี้ Price index of product 1: 105 Price index of product 2: 103 Output of industry 1: 220 Output of industry 2: 120 รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ท่ี ภ-77 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
จงคานวณข้อมูลในปีปจั จบุ ัน ดงั น้ี Price index of industry 2 1. ดชั นรี าคา (Price indexes) ของผลผลิตในแตล่ ะอุตสาหกรรม Price index of industry 1 Product 1 Product 2 Industry output 2. ผลผลติ ของแตล่ ะอตุ สาหกรรม ณ ราคาคงที่ (constant prices) 3. การอปุ โภคบรโิ ภคขน้ั กลาง ณ ราคาคงที่ 4. การอปุ โภคบริโภคขนั้ กลาง ณ ราคาปจั จบุ ัน At base year prices At current prices Industry 1 Industry 2 Industry 1 Industry 2 Product 1 Product 2 Trade margin Taxes on products Value added Industry output 5. ผลรวมของมูลคา่ เพิม่ ณ ราคาคงที่ (total value added at constant prices) และ ณ ราคาปัจจุบนั (current price) 6. ดัชนีมูลค่าเพม่ิ ทางเศรษฐกิจ (Implicit price index for total value added) รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-78 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
Post Test การอบรม เร่ือง “ระบบข้อมูลสถติ ดิ า้ นสุขภาพท่ีใชใ้ นการจดั ทาบัญชีบรวิ ารด้านสุขภาพ” จงอธบิ ายเคร่อื งช้ีทางด้านบัญชปี ระชาชาติ (National Accounts) ต่อไปนี้ เครื่องชีท้ างด้านบญั ชปี ระชาชาติ คาอธิบาย 1. ผลติ ภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) 2. รายได้มวลรวมประชาชาติ (Gross National Income, GNI) 3. มลู ค่าเพิ่ม (Value Added) 4. ราคาผซู้ อ้ื (Purchasers’ Price) 5. การสะสมทนุ (Gross Capital Formation) และส่วนเปลี่ยนของสินค้า คงเหลือ (Change in Inventories) รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าท่ี ภ-79 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
จงอธิบายเคร่ืองชท้ี างดา้ นบัญชีบริวารด้านสุขภาพของประเทศไทย ตอ่ ไปนี้ เคร่ืองชีท้ างด้านบญั ชบี ริวารดา้ นสุขภาพ คาอธิบาย ของประเทศไทย 6. ผลผลติ หรอื อุปทาน (Supply) ดา้ น สขุ ภาพ 7. การใชจ้ ่ายหรอื อปุ สงคด์ า้ นสุขภาพ (Health Demand) รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ ภ-80 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338