201 ประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การแบ่งภูมิภาค ประชากรและการต้ังถิ่นฐาน กิจกรรมทาง เศรษฐกิจ ลักษณะทางวัฒนธรรม สถานการณ์ปัจจุบัน และปัญหาสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาเหนือ และ อเมริกาใต้ เพื่อให้เข้าใจถึงระบบธรรมชาติและลักษณะประชากรและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ ตลอดจนตระหนักถึงวิกฤตการณ์ทางสิ่งแวดล้อม ความเปลี่ยนแปลงของภาวะประชากรและ สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และเสนอแนวทางในการจัดการทรัพยากรและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์แก้ไข ปญั หาเพ่ือนาไปสู่การพฒั นาโลกอย่างยงั่ ยืน รหัสตวั ชี้วดั ส๑.๑ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ส๑.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม. ๓/๖ ส๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ส ๒.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๓ ส ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๓ ส ๓.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๔ ส ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ส ๕.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ รวม ๘ มาตรฐาน ๒๗ ตัวชีว้ ัด
202 คาอธิบายรายวิชา ส๒๓๒๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๕ กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชวั่ โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศกึ ษาขั้นตอนวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ การนาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศกึ ษาเรื่องราว ที่เกี่ยวข้องกับชุมชน วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญสมัยรัตนโกสินทร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ศึกษา และวิเคราะห์ พัฒนาการทางสังคมเศรษฐกิจและการเมืองของภูมิภาคต่าง ๆของโลก ที่นาไปสู่ความ ร่วมมือและความขดั แย้ง เพือ่ ให้มวี ิจารณญาณ รู้เท่าทันสถานการณ์และการเปลีย่ นแปลงทางสังคมวฒั นธรรม เศรษฐกิจ การเมอื ง ภูมใิ จในความเปน็ ไทย รกั ชาติ รกั ท้องถิ่น ศรัทธาและรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมขุ มีค่านิยมที่ดีงาม มจี ติ สานึกในการอนรุ กั ษ์และธารงไว้ซึง่ อธิปไตยของประเทศ รหัสตวั ชี้วัด ส ๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ รวม ๑ มาตรฐาน ๒ ตวั ชีว้ ัด
203 คาอธิบายรายวิชา ส๒๓๒๐๒ ประวัติศาสตร์ ๖ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ศึกษาและวิเคราะห์พัฒนาการประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ในด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพื่อให้ตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทาง วัฒนธรรมของไทยและความสาคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ที่มีต่อสังคมไทยและ ประเทศตา่ งๆ ในโลกปจั จบุ นั เพื่อให้ตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมของไทยและความสาคัญของวีรกรรมของ บรรพบุรุษไทยรวมท้ังผลงานสาคัญของบุคคลที่มีส่วนสร้างสรรค์ชาติไท ยให้เจริญรุ่งเรืองจนถึงปัจจุบัน รหัสตัวชีว้ ัด ส ๔.๑ ม.๓/๑ ส ๔.๓ ม.๓/๑ รวม ๒ มาตรฐาน ๒ ตัวชี้วดั
204 คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส21201 ท้องถน่ิ ศึกษา 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต ศึกษาประวัติตาบลหนองสนม และจังหวัดสกลนคร ทั้งในอดีตและปัจจุบันอธิบายลักษณะภูมิ ประเทศ ภมู ิอากาศ ทรัพยากร พืชพรรณธรรมชาติ ลักษณะสงั คม เศรษฐกิจ การปกครอง ของตาบลหนอง สนม อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร และภาคตะวันออกเฉียงเหนือนาระบบและวิธีการใช้แนวคิดตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์อิทธิพลของสภาพแวดล้อมตาม ธรรมชาติ สังคม วัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านประชากร เศรษฐกิจและวิถีชีวิตของ ชาวอาเภอเชียรใหญ่และชาวจังหวัดสกลนครเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเร่ืองพระพุทธศาสนา ศิลปิน บุคคลสาคัญของอาเภอวานรนิวาส ท้ังในอดีตและปัจจุบัน เห็นคุณค่าและสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปะพืน้ บ้าน วัฒนธรรม และภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ของอาเภอวานรนิวาสทั้งในอดีตและปจั จุบัน โดยใช้กระบวนการความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติกระบวนการสร้าง ความตระหนัก กระบวนการคิดวิจารณญาณ และกระบวนการสบื ค้น เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น อยู่อย่างพอเพียง รัก ความเป็นไทย ผูกพันบ้านเกิด ใช้แนวคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจาวัน สามารถปรบั ตวั เข้ากบั สภาพท้องถิน่ และอยู่ร่วมในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ผลการเรียนรู้ 1. เล่าประวตั ิตาบลหนองสนมทั้งในอดีตและปัจจบุ นั 2. เล่าประวตั ิของจังหวดั สกลนครท้ังในอดีตและปัจจบุ นั 2. อธิบายลักษณะภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ ทรพั ยากร พืชพรรณธรรมชาติ ลักษณะสังคม เศรษฐกิจ การ ปกครองของตาบลหนองสนม4. นาระบบและวิธีการใช้แนวคิดตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน 3. วิเคราะหอ์ ิทธิพลของสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ สงั คม วฒั นธรรมทีม่ อี ิทธิพลต่อกาเปลี่ยนแปลง ทางดา้ นประชากร เศรษฐกิจวิถีชีวติ ของชาวอาเภอวานรนวิ าสและชาวจังหวดั สกลนคร 4. เขียนรายงานการศกึ ษาค้นคว้า เรือ่ งพระพุทธศาสนา ศลิ ปิน บุคคลสาคัญของอาเภอวานรนวิ าสทั้งใน อดีตและปัจจุบัน 5. เหน็ คุณค่าและสืบสานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปะพืน้ บ้าน วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นของ
205 อาเภอวานรนวิ าสทั้งในอดีตและปจั จบุ นั รวมทงั้ หมด 5 ผลการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม
206 ส 22201 เศรษฐศาสตร์ครอบครวั กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศึกษา หลักการออม การบริโภค ประเภทของอาชีพและประเภทของภาษี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างรายได้ การออมและการบริโภคในชีวิตประจาวัน เลือกบริโภคสินค้าให้เหมาะสมกับรายได้ของ ตนเองและครอบครัว ความสาคัญของการเสียภาษีประเภทต่าง ๆ แนะนาและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี เกี่ยวกบั การบริโภค โดยใช้กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และกระบวนการ ปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการออม การเสียภาษี ประเภทต่าง ๆนาความรู้ที่ได้เป็นแบบอย่างในการปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว สังคมและ ประเทศชาติ ผลการเรียนรู้ 1. อธิบาย เกีย่ วกับหลกั การออม การบริโภค ประเภทของอาชีพ ประเภทของภาษีได้ถกู ต้อง 2. วิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ระหว่างรายได้ การออมและการบริโภคในชีวติ ประจาวันได 3. เลือกบริโภคสินคา้ ได้เหมาะสมกับรายได้ของตนเองและครอบครวั 4. ตระหนักถึงความสาคัญของการเสียภาษีประเภทต่าง ๆ 5. แนะนาและปฏิบัติตนเปน็ แบบอย่างที่ดีเกี่ยวกบั การบริโภคได้ รวมทง้ั หมด 5 ผลการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
207 ส23201 กฎหมายน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชัว่ โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต ศกึ ษา ที่มา ความหมาย ความสาคัญ ประเภทและประโยชน์ของกฎหมาย ในฐานะที่เป็นสมาชิกที่ดี ของสังคม ประเภทของโทษทางอาญา ทางแพ่งได้ วิเคราะห์ เกี่ยวกับกฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง และ ลกั ษณะความผิดทางแพ่งและอาญา โดยใช้กระบวนการเรียนความรคู้ วามเข้าใจ กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน เห็นความสาคัญของ กฎหมายในฐานะที่เป็นกติกาของสังคม และสามารถนาองค์ความรู้ไปใช้ปฏิบัติตนตามกฎหมายในชีวิต ประจาวัน และแนะนาผอู้ ืน่ ได้ถูกต้องเหมาะสม ในฐานะทีเ่ ป็นสมาชิกที่ดขี องสงั คม ผลการเรียนรู้ 1. อธิบาย ที่มา ความหมาย ความสาคญั ประเภทและประโยชน์ของกฎหมาย ในฐานะที่เปน็ สมาชิกที่ ดขี องสงั คม 2. วิเคราะห์ เกีย่ วกับกฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง เพื่อสามารถนาไปใช้และแนะนาผอู้ ืน่ ได้ถูกต้อง 3. วิเคราะหล์ กั ษณะความผิดทางแพ่งและอาญาเพื่อให้สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4. ระบปุ ระเภทของโทษทางอาญา ทางแพ่งได้ 5. เห็นความสาคัญของกฎหมายในฐานะเปน็ กติกาของสงั คม และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ รวมทงั้ หมด 5 ผลการเรียนรู้
208 คาอธบิ ายรายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา คาอธิบายรายวิชา
209 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ21101 สขุ ศึกษา 1 กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่วยกิต ศึกษา ความสาคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและ พัฒนาการของวัยรุ่น วิธีการดูแลรักษาระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อให้ทางานตามปกติ วิธีการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ วิเคราะห์ ภาวะการ เจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และแสดงทักษะการปฏิเสธ เพื่อป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศโดยใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิด วิเคราะห์ กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ยอมรับและ ปรบั ตวั ต่อการเปลี่ยนแปลง เกิดทักษะมีคณุ ลักษณะ และค่านิยม ที่เหมาะสม รหสั ตัวชี้วดั พ1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 พ2.1 ม.1/1 ม.1/2 รวมท้ังหมด 5 ตัวชี้วดั คาอธิบายรายวิชา
210 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ21102 วอลเลยบ์ อล กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต ศกึ ษาประวัติและความสาคญั ของกีฬาวอลเลย์บอล การออกกาลงั กายเสริมสร้างสมรรถภาพทาง กายเล่นกีฬาที่ถนัดและมีความสนใจ รวมทั้งกีฬาไทย กีฬาสากล การทดสอบสมรรถภาพจากกิจกรรม การเล่นวอลเลย์บอล การส่งลูก การรับลูก การต้ังลูก การตบลูก วิธีการเล่นในตาแหน่งต่างๆทั้งฝ่าย ส่งลูกและรับลูก การเล่นเป็นทีม การฝึกและเทคนิคเบื้องต้นของกีฬาวอลเลย์บอล มารยาท กฎ กติกา กลวิธีการแขง่ ขัน และความปลอดภยั ในการเล่นวอลเลย์บอล โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการลงมือทาจริง เพื่อให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจ ความคิด สามารถสือ่ สารสิ่งที่เรยี นรู้ ความสามารถในการตัดสินใจ เพือ่ ให้เหน็ คณุ ค่าของการนาความรู้ไปใช้สร้างเสริมสขุ ภาพและพัฒนาคุณภาพชีวติ อย่างมีความสุข ในชีวิตประจาวัน และรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ัน ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ รหัสตวั ชีว้ ัด พ3.1 ม.3/1,ม.3/2 พ3.2 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,ม.3/4 พ4.1 ม.3/5 พ5.1 ม.3/3 รวมทัง้ หมด 8 ตวั ชีว้ ัด คาอธิบายรายวิชา
211 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ21103 สขุ ศึกษา 2 กลุ่มสาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศึกษา อาหารที่เหมาะสมกับวัย ลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติดและการป้องกันการติด สารเสพติด ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจาก ภาวะโภชนาการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย และควบคุมน้าหนักตนเองให้ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และแสดงวิธีการปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างปลอดภัย และแสดง วิธีการใชท้ กั ษะต่าง ๆในการชกั ชวนผอู้ ื่นให้ลด ละ เลิก สารเสพติด โดยใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฎิบัติ และ กระบวนการกลุ่ม เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ แสวงหาแนวทางในการพฒั นาตนเองให้ เจริญเติบโตสมวยั สื่อสารสิง่ ทีเ่ รยี นรู้กบั บคุ คลอืน่ เกิดทักษะ มีคณุ ลักษณะ และค่านิยมทีเ่ หมาะสม รหสั ตัวชีว้ ดั พ1.1 ม.1/4 พ4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 พ5.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 รวมทัง้ หมด 8 ตวั ชี้วดั คาอธิบายรายวิชา
212 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ21104 กระบี่กระบอง กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษา ความสาคญั กฎ กติกา และข้อตกลง ของกีฬากระบี่กระบอง วิธีสร้างเสริมและปรบั ปรงุ สมรรถภาพทางกายโดยใช้กีฬากระบี่กระบอง เพิ่มพนู ความสามารถในการเคลือ่ นไหวที่ใช้ทักษะกลไก และ ทักษะพืน้ ฐานทีน่ าไปสู่การพัฒนาทักษะการเล่นกีฬากระบีก่ ระบอง สร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทาง กายตามผลการทดสอบโดยใช้กีฬากระบี่กระบอง วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่าง และประเมินการ เล่นกีฬากระบี่กระบอง ของตนเองกับผู้อื่น วางแผนการรุกและป้องกัน ความร่วมมือเป็นทีม ในการเล่น กีฬากระบีก่ ระบอง ใช้กิจกรรมนนั ทนาการเชือ่ มโยงกบั กีฬากระบีก่ ระบอง โดยใช้กระบวนการความรคู้ วามเข้าใจ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม และ กระบวนการปฏิบตั ิ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สนุกสนาน มีน้าใจนักกีฬา สามัคคี ปฏิบัติตามกฎ กติกา ข้อตกลง ให้ความร่วมมือกับผู้อื่น ยอมรับความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคลออกกาลังกาย เป็นปกติวสิ ัย เกิดทักษะ มีคณุ ลักษณะ และค่านิยม ทีเ่ หมาะสม รหสั ตัวชีว้ ัด พ3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 พ3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 พ4.1 ม.1/4 รวมทง้ั หมด 10 ตัวชี้วดั คาอธิบายรายวิชา
213 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ22101 สขุ ศึกษา 3 กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษาการเปลี่ยนแปลงและพฒั นาการทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาในวัยรุ่น และปัจจัยที่มีผลกระทบ วิธีป้องกันตนเองและหลีกเลีย่ งจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์และการ ต้ังครรภโ์ ดยไม่พงึ ประสงค์ ความสาคัญของความเสมอภาคทางเพศและการวางตวั ทีเ่ หมาะสม วิเคราะห์ ปัจจัยที่มอี ิทธิพลต่อเจตคติในเร่อื งเพศ ปัญหาและผลกระทบทีเ่ กิดจากการมเี พศสัมพันธ์ในวัยเรียน โดยใช้กระบวนการความรคู้ วามเข้าใจ กระบวนการคิดวิเคราะห์ และกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ นาความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจาวัน มีคุณลักษณะ เจตคติ และค่านิยมที่เหมาะสม รหสั ตัวชี้วัด พ1.1 ม.2/1 ม.2/2 พ2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วดั คาอธิบายรายวิชา
214 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ22102 ตะกรอ้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษาสาเหตกุ ารเปลี่ยนแปลงทางกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาทีเ่ กิดจากการเล่นกีฬา ตะกร้อหรือออกกาลังกายจนเปน็ วิถีชีวติ เล่นกีฬาตะกร้อตามกฎ กติกา ข้อตกลง และมีวนิ ยั ในการเล่น เปรียบเทียบประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลือ่ นไหวที่ส่งผลตอ่ การเล่นกีฬาตะกร้อและกิจกรรมใน ชีวติ ประจาวนั วิเคราะหค์ วามแตกต่างระหว่างบุคคลที่เปน็ แนวทางในการพัฒนาตนเองปฏิบัติตนเกีย่ วกบั ทักษะกลไกและทักษะการเคลือ่ นไหวในการเล่นกีฬาตะกร้อ และนาผลจากแหล่งข้อมลู ทีห่ ลากหลายมา สรปุ เปน็ วิธีทีเ่ หมาะสมในบริบทของตนเอง นาหลกั ความรแู้ ละวิธีการของกิจกรรมนนั ทนาการไปใช้ในกีฬา ตะกร้ออย่างเปน็ ระบบ วางแผนการรกุ และการป้องกันในการเล่นกีฬาตะกร้อ และสรุปผลการปฏิบัติทีด่ ี พฒั นาสมรรถภาพทางกายของตนเองโดยใช้กีฬาตะกร้อให้เป็นไปตามเกณฑท์ ีก่ าหนด โดยใช้กระบวนการความรคู้ วามเข้าใจ กระบวนการตระหนกั กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการปฎิบัติ เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา ข้อตกลง มีความมงุ่ มัน่ ในการ เล่นและแข่งขัน ออกกาลังกายสมา่ เสมอ นาความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจาวนั มีเจตคติที่ดี และคณุ ลกั ษณะที่ เหมาะสม รหัสตัวชีว้ ัด พ3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 พ3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 พ4.1 ม.2/7 รวมท้งั หมด 10 ตัวชีว้ ดั คาอธิบายรายวิชา
215 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ22103 สุขศกึ ษา 4 กล่มุ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษาลักษณะอาการเบือ้ งต้นของผู้มีปญั หาสขุ ภาพจติ วิธีการ ปัจจยั และแหลง่ ที่ช่วยเหลอื ฟื้นฟูผู้ ติดสารเสพติด วิธีการหลกี เลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณเ์ สีย่ ง วิเคราะห์ผลของการใช้เทคโนโลยี และความเจรญิ ก้าวหน้าทางการแพทย์ที่มผี ลต่อสุขภาพ ความสมั พันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุขภาพกาย และสุขภาพจิต เลือกใช้บริการสุขภาพอย่างมีเหตุผล ใช้ทกั ษะชีวติ ในการป้องกนั ตนเองและหลีกเลีย่ ง สถานการณค์ ับขันทีอ่ าจนา ไปสู่อันตราย และเสนอแนะวิธีปฏิบตั ิตนเพือ่ จดั การกบั อารมณ์และ ความเครียด โดยใช้กระบวนการความรคู้ วามเข้าใจ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฎิบตั ิกระบวนการ แก้ปัญหา และกระบวนการกลุ่ม เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจโดยใช้เหตุผล เกิดทกั ษะใน การป้องกันตนเอง มีคุณลักษณะ เจตคติ และค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตวั ชี้วัด พ4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 พ5.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 รวมทง้ั หมด 9 ตัวชี้วัด คาอธิบายรายวิชา
216 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ22104 เทเบิลเทนนิส กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษา ความสาคัญ กฎ กติกา และข้อตกลง ของกีฬาเทเบิลเทนนิส วิธีทดสอบสมรรถภาพทาง กาย วิธีสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายโดยใช้กีฬาเทเบิลเทนนิส เพิม่ พูนความสามารถในการ เคลือ่ นไหวที่ใชท้ กั ษะกลไก และทักษะพืน้ ฐานทีน่ าไปสู่การพฒั นาทกั ษะการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิส สร้าง เสริมและปรบั ปรงุ สมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบโดยใช้กีฬาเทเบิลเทนนิส วิเคราะห์เปรียบเทียบ ความแตกต่าง และประเมินการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิสของตนเองกับผอู้ ื่น วางแผนการรุกและป้องกัน ร่วมมือเปน็ ทีมอย่างเปน็ ระบบในการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิสใชก้ ิจกรรมนันทนาการเช่อื มโยงกับกีฬาเทเบิล เทนนิสโดยใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการ ปฏิบตั ิเพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สนกุ สนาน มีน้าใจนักกีฬา สามัคคี ปฏิบตั ิตามกฏกติกา ข้อตกลง ให้ความรว่ มมอื กับผอู้ ื่น ยอมรับความสามารถและความแตกต่างระหว่างบคุ คลออกกาลงั กาย เปน็ ปกติวสิ ัย เกิดทักษะ มีคุณลกั ษณะ และค่านิยม ที่เหมาะสม รหสั ตัวชี้วัด พ3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 พ3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 พ4.1 ม.1/4 รวมทัง้ หมด 10 ตวั ชีว้ ดั คาอธิบายรายวิชา
217 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ23101 สขุ ศึกษา 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต ศกึ ษา อนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัวและวิธีการปฏิบัติตนที่เหมาะสมเปรียบเทียบการ เปลี่ยนแปลงทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา แตล่ ะช่วงวัยของชีวติ วิเคราะหอ์ ิทธิพล และความคาดหวงั ของสงั คมต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น สื่อโฆษณาที่มอี ิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของวัยรุ่น ปจั จยั ที่มผี ลกระทบต่อการตงั้ ครรภ์ สาเหตแุ ละแนวทางป้องกันแก้ไขความขัดแย้งใน ครอบครวั โดยใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ กระบวนการตระหนกั กระบวนการคิดวิเคราะหแ์ ละ กระบวนการกลุ่มเพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ความตระหนัก นาความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั เกิดคุณลกั ษณะ และค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตวั ชีว้ ัด พ1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 พ2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 รวมท้ังหมด 6 ตัวชี้วดั คาอธิบายรายวิชา
218 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ22102 ฟุตบอล กล่มุ สาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษาสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาทีเ่ กิดจากการเล่นกีฬา ฟตุ บอลหรอื ออกกาลังกายจนเป็นวิถีชีวติ เล่นกีฬาฟตุ บอลตามกฎ กติกา ข้อตกลง และมีวนิ ัยในการเล่น เปรียบเทียบประสิทธิภาพของรปู แบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลตอ่ การเล่นกีฬาฟุตบอลและกิจกรรมใน ชีวติ ประจาวนั วิเคราะหค์ วามแตกต่างระหว่างบคุ คลที่เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง ปฏิบัติตนเกีย่ วกบั ทกั ษะกลไกและทักษะการเคลื่อนไหวในการเล่นกีฬาฟุตบอล และนาผลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายมา สรปุ เปน็ วิธีที่เหมาะสมในบริบทของตนเอง นาหลกั ความรแู้ ละวิธีการของกิจกรรมนันทนาการไปใช้ในกีฬา ฟตุ บอลอย่างเปน็ ระบบ วางแผนการรุกและการป้องกนั ในการเล่นกีฬาฟุตบอล และสรุปผลการปฏิบัติที่ดี พฒั นาสมรรถภาพทางกายของตนเองโดยใช้กีฬาฟตุ บอลใหเ้ ป็นไปตามเกณฑท์ ีก่ าหนด โดยใช้กระบวนการ ความรคู้ วามเข้าใจ กระบวนการตระหนกั กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการ ปฎิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีวนิ ัย ปฏิบัติตามกฎกติกา ข้อตกลง มีความมงุ่ ม่นั ในการ เล่นและแข่งขัน ออกกาลงั กายสมา่ เสมอ นาความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจาวัน มีเจตคติทีด่ ี และคณุ ลกั ษณะที่ เหมาะสม รหสั ตวั ชีว้ ดั พ3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 พ3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 พ4.1 ม.2/7 รวมทงั้ หมด 10 ตัวชีว้ ัด คาอธิบายรายวิชา
219 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ23103 สุขศึกษา 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต วิเคราะห์ ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพและแนวทางป้องกัน อิทธิพลของสื่อต่อ พฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง และความสัมพันธ์ของการดื่มเคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอล์ต่อสุขภาพและ การเกิดอุบัติเหตุ เสนอแนวทางป้องกันโรคที่เป็นสาเหตุสาคัญของการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย รวบรวมข้อมูลและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชนวางแผนและจัดเวลาในการออกกาลังกาย การพกั ผอ่ น การสร้างเสริมสมรรถภาพ และรายการอาหารที่เหมาะสมกบั วัยต่าง ๆ ประหยัด และมีคณุ ค่า ทางโภชนาการ ปฏิบัติตน และชักชวนเพื่อนในการหลีกเลี่ยงการแก้ปัญหาโดยใช้ความรุนแรง และแสดง วิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธีโดยใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ กระบวนการตระหนัก กระบวนการ กลุ่มกระบวนการคิดวิเคราะห์ และกระบวนการปฏิบัติเพื่อให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ความ ตระหนัก เกิดทักษะในการปฏิบัติตนและชักชวนผู้อื่นให้เป็นผู้มีสุขภาพดีและปลอดภัย มีคุณลักษณะ และ ค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด พ4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 พ5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 รวมทั้งหมด 9 ตวั ชีว้ ดั คาอธิบายรายวิชา
220 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ23104 บาสเกตบอล กลุม่ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หน่วยกิต วิเคราะห์กลวิธีการรุก การป้องกัน และตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมกับทีมไปใช้ตามสถานการณ์ ของการเล่นกีฬาบาสเกตบอล เล่นกีฬาบาสเกตบอลโดยใช้เทคนิคที่เหมาะสมกับตนเองและทีม ปฏิบัติตน ตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเล่น แสดงออกถึงการมีมารยาทในการเล่นและการดูกีฬา ออกกาลัง กายด้วยกีฬาบาสเกตบอลอย่างสม่าเสมอ นาแนวคิด หลักการ ความรู้ทักษะการเคลื่อนไหว กิจกรรมทาง กาย และกิจกรรมนันทนาการในกีฬาบาสเกตบอลไปใช้สร้างเสริมสุขภาพของตนเองและผู้อื่น และเสนอผล การพัฒนาสุขภาพ สร้างเสริมและปรบั ปรงุ สมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบโดยใช้กีฬาบาสเกตบอล โดยใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบัติกระบวนการแก้ปญั หา และกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ เกิดทักษะ เห็นคุณค่า มีความภาคภูมิใจ และมีเจตคติที่ดีต่อการนากีฬาบาสเกตบอลไปใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองอย่างสม่าเสมอและ ปลอดภัยมีนา้ ใจนกั กีฬา และมีคุณลกั ษณะที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั พ3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 พ3.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 พ4.1 ม.3/ 5 รวมท้ังหมด 9 ตัวชีว้ ดั
221 คาอธบิ ายรายวชิ า กลุม่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ คาอธิบายรายวิชา
222 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ21101 ศิลปะ 1 กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ช่วั โมง จานวน 1 หน่วยกิต ศึกษาและวิเคราะห์ ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกัน ของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดล้อมความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน ความสมดุลหลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพเอกภาพความ กลมกลืนของเร่ืองราวใน เครือ่ งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรีโน้ตบทเพลงไทย อัตราจังหวะสองชั้นโน้ตสากล ในกุญแจซอลและฟา ในบันไดเสียง C Major เสียงร้องและเสียงของเคร่ืองดนตรี ในบทเพลงจาก วัฒนธรรมต่าง ๆ วิธีการขับร้องเคร่ืองดนตรีที่ใช้ การร้องและการบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบการร้องบท เพลงพื้นบ้าน บทเพลงปลุกใจ บทเพลงไทยเดิม บทเพลงประสานเสียง ดนตรีพื้นเมืองวงดนตรีไทย วง ดนตรีสากล การปฏิบัติของผู้แสดงและผู้ชม ประวัตินักแสดงที่ชื่นชอบ การพัฒนารูปแบบของการแสดง อิทธิพลของนักแสดงที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ชมนาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละคร ในการแสดงภาษาท่า และการตบี ทท่าทางเคลื่อนไหวที่แสดงสือ่ ทางอารมณร์ ะบาเบ็ดเตล็ดราวงมาตรฐาน รปู แบบ โดยการบรรยาย อธิบายระบุ เปรียบเทียบรวบรวม ออกแบบงานทัศนศิลป์*** วาดภาพ ทศั นียภาพ*** แสดงให้เห็นระยะไกลใกล้ เป็น 3 มิติ งานปั้นหรือสื่อผสมมาสร้างเป็นเร่ืองราว 3 มิติโดยเน้น ความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและ สากล อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทย และโน้ตสากล เปรียบเทียบเสียงร้อง ร้องเพลงและใช้เคร่ืองดนตรีบรรเลง ประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลง ที่หลากหลายรูปแบบ จัดประเภทของวงดนตรีไทยและ วงดนตรีที่มา จากวัฒนธรรมต่างๆ แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะ และความดัง - เบา แตกต่างกัน เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึกในการ ฟังดนตรีแต่ละประเภท นาเสนอตัวอย่างเพลงที่ ตนเองชื่นชอบ และอภิปรายลักษณะเด่นที่ทาใหง้ านนั้นน่าชื่นชมใช้เกณฑ์สาหรับประเมินคุณภาพ อิทธิพล ของนักแสดงชื่อดัง ที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชมใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการ ละครในการแสดง แสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่าย ๆ ใช้ทักษะการทางานเป็นกลุ่ม ในกระบวนการ ผลติ การแสดง ใช้เกณฑง์ ่าย ๆ ที่กาหนดใหใ้ นการพิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชม โดยเน้นเร่อื งการใช้เสียง การแสดงท่า และการเคลือ่ นไหว ระบุปจั จัยที่มผี ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงของนาฏศลิ ป์ เห็นคุณค่าและชื่นชมการสร้างงานทัศนศิลป์ และภาคภูมิใจในการแสดงดนตรี นาฏศิลป์ของ ตนเอง รหัสตวั ชี้วัด/ มาตรฐานการเรียนรู้
223 ศ.1.1 ม.1/1,ม.1/2,ม1/3,ม1/4 ศ.2.1 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4,ม.1/5,ม.1/6,ม.1/7,ม.1/8,ม.1/9 ศ.3.1 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4,ม.1/5 รวม 18 ตวั ชีว้ ดั คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
224 ศ21102 ศลิ ปะ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชัว่ โมง จานวน 1 หนว่ ยกิต ศึกษาและวิเคราะห์ ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกัน งานป้ันหรืองานสื่อผสมการ ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรืองานกราฟิก การประเมินงานทัศนศิลป์ ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ ของชาติและท้องถิ่นงานทัศนศิลป์ภาคต่าง ๆ ในประเทศไทยความแตกต่างของ***การเขียนภาพลาย ไทย***งานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงจังหวะกับอารมณ์ เพลงความดัง-เบากับอารมณ์เพลงความแตกต่างของอารมณ์เพลง การนาเสนอบทเพลงที่ตนสนใจ การ ประเมินคุณภาพของบทเพลงคุณภาพด้านเนื้อหา คณุ ภาพด้านเสียง คุณภาพด้านองค์ประกอบดนตรี การ ใช้และบารุงรักษาเคร่ืองดนตรีของตนบทบาทและอิทธิพลของดนตรีบทบาทดนตรีในสังคม อิทธิพลของ ดนตรีในสังคม องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม การแสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ นาฏศิลป์ พื้นบ้าน นาฏศิลป์นานาชาติบทบาทและหน้าที่ของฝ่ายต่าง ๆ ในการจัดการแสดงการสร้างสรรค์กิจกรรม การแสดงที่สนใจโดยแบ่งฝ่ายและหน้าที่ให้ชัดเจนหลักในการชมการแสดงปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์พ้ืนบ้าน ละครไทย และละครพ้ืนบ้านประเภทของละครไทยในแตล่ ะยคุ สมยั โดยการบรรยาย ระบุ รวบรวมการสอ่ื ถึงเร่ืองราวของงาน ออกแบบรูปภาพ สญั ลกั ษณ์ หรอื กราฟิกอืน่ ๆ ในการนาเสนอความคิดและข้อมูล ประเมินงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงวิธีการปรบั ปรุงงาน ของตนเองและผอู้ ื่นโดยใช้เกณฑ์ทีก่ าหนดให้ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบงานทศั นศิลป์ของ ชาติและของท้องถิ่นตนเองจากอดีตจนถึงปจั จบุ ัน ระบุ และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ใน ประเทศ งานดนตรหี รือเพลงทีฟ่ งั ใช้และบารุงรักษาเครื่องดนตรี อย่างระมดั ระวงั และรบั ผดิ ชอบ อธิบาย บทบาทความสมั พันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มตี ่อสังคมไทย ระบคุ วามหลากหลายขององค์ประกอบดนตรี ในวฒั นธรรมต่างกนั นาฏศิลป์พ้ืนบ้านละครไทยและละครพืน้ บ้าน บรรยายประเภทของละครไทยในแตล่ ะ ยคุ สมยั เห็นคุณค่าและชื่นชมงานทัศนศิลป์ ละครไทย ละครพื้นบ้าน ใช้เคร่ืองดนตรีอย่างระมัดระวัง รับผิดชอบและบารงุ รกั ษาเครือ่ งดนตรี รหัสตวั ชี้วัด/ มาตรฐานการเรียนรู้ ศ.1.1 ม.1/5, ม.1/6 ศ.1.2 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3 ศ.2.2 ม.1/1,ม.1/2 ศ.3.2 ม.1/1,ม.1/2 รวม 9 ตัวชี้วัด
225 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ22101 ศิลปะ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต รูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ ของศิลปิน เทคนิคในการวาดภาพสื่อความหมาย การประเมิน และ***วิจารณ์และประเมินผลงานทัศนศิลป์*** องค์ประกอบของดนตรีจากแหล่งวัฒนธรรมต่าง ๆ เคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีโน้ตจากเพลงไทยอัตราจังหวะสองชั้นโน้ตสากล ปัจจัยในการ สร้างสรรค์บทเพลงจินตนาการในการสร้างสรรค์บทเพลงการถ่ายทอดเร่ืองราวความคิด ในบทเพลง เทคนิค การร้องและบรรเลงดนตรีการร้องและบรรเลงเดี่ยวการร้องและบรรเลงเป็นวง ศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการ แสดงแสง สี เสียงฉากเคร่ืองแต่งกายอุปกรณ์หลักและวิธีการสร้างสรรค์การแสดง โดยใช้องค์ประกอบ นาฏศิลป์และการละครหลกั และวิธีการวิเคราะหก์ ารแสดงวิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศลิ ป์ และ การละครราวงมาตรฐานความสัมพันธ์ของนาฏศลิ ป์หรอื การละครกับสาระ การเรียนรอู้ ืน่ ๆ โดยการอภิปราย บรรยาย อธิบาย การแสดง ระบุ และบรรยาย เกี่ยวกับความเหมือนและความ แตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุอุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปินวาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย ใน การสื่อความหมายและเร่ืองราวต่าง ๆ สร้างเกณฑ์ในการประเมิน และวิจารณ์งานทัศนศิลป์ นาผลการ วิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะ ของตัวละครบรรยายวิธีการใช้งาน ทัศนศิลป์ ในการโฆษณาเพื่อโน้มน้าวใจ และนาเสนอตัวอย่างประกอบ เกี่ยวกับวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่ สะท้อนถึงงานทศั นศิลป์ในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงของ เปรียบเทียบ เขียนร้องโน้ตไทย และโน้ตสากลที่มี เคร่ืองหมายแปลงเสียงระบุปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรีร้องเพลง และเล่นดนตรี เดี่ยวและรวมวงบรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟังประเมิน พัฒนาการทักษะทาง ดนตรีของตนเอง บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง สร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และ การละคร วิเคราะหก์ ารแสดงของตนเองและผู้อืน่ วิเคราะหก์ ารแสดงของตนเองและผู้อืน่ โดยใช้นาฏยศัพท์ หรอื ศพั ท์ทางการละคร ที่เหมาะสม เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุง การแสดง เช่อื มโยงการเรียนรู้ระหว่าง นาฏศลิ ป์และการละครกบั สาระการเรียนรอู้ ื่น ๆ เห็นคุณค่าและชื่นชมงานทัศนศิลป์ของศิลปิน เชื่อมโยงการเรียนรู้ รับฟังและเสนอข้อคิดเห็น ในการปรับปรงุ การแสดง รหัสตัวชี้วดั / มาตรฐานการเรียนรู้ ศ.1.1 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/3,ม.2/4,ม.2/5,ม.2/6,ม.2/7 ศ.2.1 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/3,ม.2/4, ม.2/5,ม.2/6,ม.2/7 ศ.3.1 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/3,ม.2/4,ม.2/5 รวม 19 ตัวชี้วัด
226 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ22102 ศิลปะ 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชัว่ โมง จานวน 1 หนว่ ยกิต การพัฒนางานทัศนศิลป์การจัดทาแฟ้มสะสมงานทัศนศิลป์ การวาดภาพถ่ายทอดบคุ ลิกลักษณะ ของตัวละคร งานทัศนศิลป์ในการโฆษณาวัฒนธรรมที่สะท้อนในงานทัศนศิลป์ปัจจุบัน***งานทัศนศิลป์ ของไทย***ในแต่ละยุคสมัย การออกแบบงานทัศนศิลป์ในวฒั นธรรมไทยและสากลการบรรยายอารมณ์และ ความรู้สึกในบทเพลง การประเมินความสามารถทางดนตรีความถูกต้องในการบรรเลงความแม่นยาในการ อ่านเคร่ืองหมายและสัญลักษณ์การควบคุมคุณภาพเสียงในการร้องและบรรเลง อาชีพทางด้านดนตรี บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง ดนตรีในวัฒนธรรมต่างประเทศบทบาทของดนตรีในวัฒนธรรมอิทธิพล ของดนตรีในวัฒนธรรม เหตุการณ์ประวัติศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลง ทางดนตรีในประเทศไทยการ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองกับงานดนตรีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีกับงานดนตรีนาฏศิลป์พื้นเมือง ความหมายที่มาวัฒนธรรมลักษณะเฉพาะรูปแบบการแสดงประเภทต่าง ๆ นาฏศิลป์นาฏศิลป์พื้นเมือง ละครไทยละครพืน้ บ้านการละครสมัยต่าง ๆ โดยการอภปิ ราย บรรยาย เปรียบเทียบ เขียนอธิบาย การแสดง เปรียบเทียบ งานทัศนศิลป์ของ ไทยในแต่ละยุคสมัยโดยเน้นถึงแนวคิดและเน้ือหาของงาน เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงาน ทัศนศิลป์ที่มาจาก วัฒนธรรมไทยและสากล เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลป์ที่มาจาก วัฒนธรรมไทยและสากล ร้องโน้ตไทย และโน้ตสากล บรรยายอิทธิพลของวัฒนธรรม และเหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ที่มีต่อรูปแบบของดนตรีในประเทศไทย ลักษณะเฉพาะของ การแสดงนาฏศิลป์จาก วฒั นธรรมต่างๆ ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้าน หรือมหรสพอื่นที่เคย นิยมกนั ในอดีต อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมทีม่ ีผลต่อเน้ือหาของละคร เห็นคุณค่าและชื่นชมงานทัศนศิลป์ของไทย เช่ือมโยงการเรียนรู้ รับฟังและเสนอข้อคิดเห็นใน การปรับปรุง การแสดง รหัสตัวชีว้ ัด/ มาตรฐานการเรียนรู้ ศ.1.1 ม.2/6,ม.2/7 ศ.1.2 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/3 ศ.2.2 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/3 ศ.3.2 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/3 รวม 10 ตัวชี้วัด
227 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ23101 ศิลปะ 5 กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จานวน 1 หน่วยกิต ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ เทคนิควิธีการของศิลปินในการ สร้างงานทัศนศิลป์ วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ ***การสร้างงาน ทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล *** การใช้หลักการออกแบบในการสร้างงานสื่อผสม การสร้างงานทัศนศิลป์ การเปรียบเทียบองค์ประกอบในงานศิลปะการใช้องค์ประกอบในการสร้างสรรค์งานดนตรีและศิลปะแขนง อื่นเทคนิคที่ใช้ในการสร้างสรรค์งานดนตรีและศิลปะแขนงอื่นเทคนิคและการแสดงออกในการขับร้องและ บรรเลงดนตรีเดี่ยวและรวมวง อัตราจังหวะ การเลือกใช้องค์ประกอบในการสร้างสรรค์บทเพลงการเลือก จังหวะเพื่อสร้างสรรค์ บทเพลงการเรียบเรียงทานองเพลง การเปรียบเทียบความแตกต่างของบทเพลง สาเนียง อัตราจังหวะ รูปแบบบทเพลงการประสานเสียง เคร่ืองดนตรีที่บรรเลง องค์ประกอบของ บทละครโครงเร่ือง ตัวละครและการวางลักษณะนิสัย ของตัวละคร ความคิดหรือแก่นของเร่ือง บท สนทนาภาษาท่าหรือภาษาทางนาฏศิลป์ภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติ ภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์ ราวง มาตรฐาน รูปแบบการแสดงการแสดงเป็นหมู่ การแสดงเดี่ยว การแสดงละคร การแสดงเป็นชุดเป็นตอน การประดิษฐ์ท่าราและท่าทางประกอบ ท่าทางที่ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารา องค์ประกอบนาฏศิลป์จังหวะ ทานอง การเคลื่อนไหว อารมณ์และความรู้สึก ภาษาท่า นาฎยศัพท์ รูปแบบของการแสดง การแต่ง กาย วิธีการเลือกการแสดงประเภทของงาน ข้ันตอน ประโยชน์และคณุ ค่า โดยการบรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เร่ืองทัศนธาตุ และหลักการ ออกแบบ ระบุ และบรรยายเทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ วิเคราะห์ และ บรรยายวิธีการใช้ ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเอง ให้มีคุณภาพ มี ทกั ษะในการสร้างงานทัศนศลิ ป์อย่างน้อย 3 ประเภท มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงาน ทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ หลักการออกแบบ วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น ร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออก และคุณภาพสียงแต่งเพลงสั้น ๆ อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์ งานดนตรีของตนเอง เปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่าง งานดนตรขี องตนเองและผู้อ่นื ระบุ โค รงส ร้างข อ งบ ท ล ะค รโด ย ใช้ศั พ ท์ ท างก ารล ะค ร ใช้น าฏ ย ศั พ ท์ ห รือ ศั พ ท์ ท างก ารล ะค ร ที่เหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผู้คนในชวี ิตประจาวันและในการแสดง มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง มีทักษะในการแปลความและ การสื่อสารผ่าน การแสดงวิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศลิ ป์ที่มคี วามแตกต่างกนั โดยใช้ความรเู้ ร่อื งองค์ประกอบนาฏศลิ ป์
228 เห็นคุณค่าและชื่นชมการสร้างงานทัศนศิลป์ ยอมรับความคิดเห็นผู้อื่นในการวิจารณ์ เปรียบเทียบผลงาน รหสั ตวั ชีว้ ดั / มาตรฐานการเรียนรู้ ศ.1.1 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,ม.3/4,ม.3/5,ม.3/6,ม.3/7,ม.3/8 ศ.2.1 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,ม.3/4,ม.3/5,ม.3/6,ม.3/7 ศ.3.1 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,ม.3/4,ม.3/5,ม.3/6,ม.3/7 รวม 22 ตัวชี้วดั
229 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ23102 ศลิ ปะ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จานวน 1 หน่วยกิต การประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบสร้างงานทัศนศลิ ป์ การวิเคราะห์รปู แบบ เน้ือหา และคุณค่า ในงานทัศนศิลป์ การใช้เทคนิค วิธีการที่หลากหลาย สร้างงานทัศนศิลป์เพื่อสื่อความหมาย การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์ การจัดนิทรรศการ ***สร้างงานทัศนศิลป์สะท้อนคุณค่าของ วัฒนธรรม*** ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล อิทธิพลของ ดนตรีอิทธิพลของดนตรีต่อบุคคล อิทธิพลของดนตรีต่อสังคม การจัดการแสดงดนตรีในวาระต่าง ๆการ เลือกวงดนตรีการเลือกบทเพลงการเลือกและจัดเตรียมสถานที่การเตรียมบุคลากรการเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมอื การจดั รายการแสดง ประวัติดนตรีไทยยุคสมัยต่าง ๆ ประวัติดนตรีตะวันตกยุคสมัยต่าง ๆ ปัจจัย ที่ทาให้งานดนตรีได้รับการยอมรับ องค์ประกอบนาฏศิลป์จังหวะทานอง การเคลื่อนไหว อารมณ์และ ความรู้สึก ภาษาท่า นาฎยศัพท์ รูปแบบของการแสดง การแต่งกาย วิธีการเลือกการแสดงประเภทของ งาน ขั้นตอน ประโยชน์และคุณค่าของการแสดง ละครกับชีวิต การออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์และ เคร่ืองแต่งกายเพื่อการแสดงนาฏศิลป์ ความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์ และการละครใน ชีวติ ประจาวันการอนรุ ักษ์นาฏศลิ ป์ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยาย เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิค ที่หลากหลาย ระบุ อาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์และทักษะที่จาเป็นในการประกอบอาชีพน้ัน ๆ เลือกงานทัศนศลิ ป์โดยใช้ เกณฑ์ที่กาหนดขึ้นอย่างเหมาะสม และนาไป จัดนิทรรศการ ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่ สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม เปรียบเทียบความแตกต่างของ งานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัย ของ วัฒนธรรมไทยและสากลอธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรี ที่มีต่อบุคคลและสังคมนาเสนอหรือจัดการ แสดงดนตรี ที่เหมาะสมโดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นในกลุ่มศิลปะบรรยายวิวัฒนาการของ ดนตรีแต่ละ ยุคสมยั อภปิ รายลักษณะเด่นทีท่ าให้งานดนตรนี ้ันได้รบั การยอมรับ ร่วมจัดงานการแสดงในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆนาเสนอแนวคิดจากเน้ือเร่ือง ของการแสดงที่สามารถนาไป ปรับใช้ ในชีวิตประจาวันออกแบบ และสร้างสรรค์อุปกรณ์ และเคร่ืองแต่งกาย เพื่อแสดงนาฏศิลป์และ ละครที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆอธิบายความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละคร ใน ชีวติ ประจาวนั แสดงความคิดเหน็ ในการอนรุ ักษ์ เห็นคุณค่าและชืน่ ชมการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ วัฒนธรรมไทย และอนรุ กั ษ์ดนตรนี าฏศลิ ป์ รหสั ตวั ชี้วัด/ มาตรฐานการเรียนรู้ ศ.1.1 ม.3/9,ม.3/10,ม.3/11 ศ.1.2 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3 ศ.2.2 ม.3/1,ม.3/2 ศ.3.2 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3 รวม 11 ตวั ชี้วัด
230 คาอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
231 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง21101 การงานอาชีพ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ศกึ ษาลักษณะงานและขั้นตอนในการปฏิบัติงาน วิเคราะห์ วางแผน และลงมอื ปฏิบตั ิงาน เกี่ยวกับงานบ้านในเร่ือง การรักษาความสะอาด และการจัดตกแต่งบ้านและบริเวณบ้าน การใช้และการ เก็บรักษาเคร่ืองอุปโภคบริโภคในบ้าน การซ่อมและดัดแปลงเคร่ืองนุ่งห่ม การดูแลช่วยเหลือและบริการ บุคคลในครอบครัว การประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของ ครอบครัวศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของดิน การเตรียมดิน การอนุรักษ์ดินและน้าที่ใช้ในการเกษตรการ คัดเลือกพันธ์ุพืช ชนิด ประเภท และการบารุงรักษาเคร่ืองมือการเกษตร วิเคราะห์ วางแผนและลงมือปลูก พืช การบารุงรักษาป้องกันโรค และใช้ผลประโยชน์จากผลผลิต การแปรรูป ผลผลิตทางการเกษตรให้ เห ม า ะ ส ม กั บ ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ เป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ เพื่ อ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว โ ด ย ใ ช้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ่ ม กระบวนการปฏิบตั ิ ทักษะกระบวนการทางาน ทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หา เพื่อให้มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับงานบ้านและงานเกษตรทีใ่ ช้ในการดารงชีวติ ประจาวนั มีความคิดสรา้ งสรรค์ มีคุณธรรม มีเจตคติที่ดีตอ่ อาชีพ เห็นความสาคญั ของการสร้างอาชีพ มี ลักษณะนิสยั ในการทางาน เพื่อการดารงชีวติ และครอบครัว รหสั ตวั ชีว้ ัด ง 1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ง 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 รวม 6 ตวั ชี้วัด
232 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง21102 คอมพิวเตอร์พ้นื ฐาน 1 กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ชัว่ โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ศกึ ษา หลกั การทางาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ลกั ษณะสาคัญ และผลกระทบของ เทคโนโลยีสารสนเทศ และประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศโดยใช้กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ และ กระบวนการกลุ่มเพื่อ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและความสาคัญของ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีและมีทกั ษะในการจดั การสารสนเทศ รหสั ตวั ชี้วัด ง 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 รวมทงั้ หมด 3 ตวั ชี้วัด
233 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง22101 การงานอาชีพ 2 กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ช่วั โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต ศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพของพันธ์ุสัตว์ ที่ท้องถิ่นนิยมเลี้ยง การคัดเลือกพันธุ์สัตว์ในท้องถิ่นการ ปรับปรุงพันธ์ุ ลักษณะอาหารและการให้อาหาร การเตรียมที่ การเลือกใช้ เก็บ และการบารุงรักษา เครื่องมืออุปกรณ์ในการเลี้ยงสัตว์ วิเคราะห์ วางแผน และการลงมือเลี้ยงสัตว์ การบารุงรักษา และป้องกัน โรค และใช้ผลประโยชน์จากผลผลติ คุ้มค่า ประหยัด ตามหลกั วิชาการเกษตร ศึกษางานช่างพื้นฐานที่จาเป็นในบ้าน วิเคราะห์วางแผนและลงมือปฏิบัติในเร่ืองการใช้การเก็บ การ บารุงรักษาเคร่ืองมือ และอุปกรณ์งานช่าง การอ่านแบบเบื้องต้น การซ่อมและดัดแปลงเคร่ืองใช้ในบ้าน การทางานอย่างมขี ั้นตอน การประดิษฐ์ของใชแ้ ละตกแต่ง เลือกใช้วัสดุในท้องถิ่นให้เกิดประโยชนค์ ุ้มค่าและ ประหยดั โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ ทักษะกระบวนการทางาน ทักษะกระบวนการ แก้ปัญหาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานเกษตรกรและงานช่าง ที่ใช้ในการดารงชีวิตประจาวัน มี ความคิดสร้างสรรค์ มีคุณธรรม มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีจิตสานึกและใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และ คุ้มค่า เห็นความสาคัญของการสร้างอาชีพและมีลักษณะนิสัยรักการทางานเพื่อการดารงชีวิตและ ครอบครัว รหัสตัวชีว้ ัด ง 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม. 2/5 ง 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม. 2/5 รวม 10 ตัวชีว้ ัด
234 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง22102 คอมพิวเตอร์พน้ื ฐาน 2 กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ความสาคัญ หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่าน เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ สามารถใช้ซอฟต์แวร์ในการทางาน โดยใช้กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ และ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจ มีทักษะ เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรคต์ ่อชีวติ สังคม สิง่ แวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใชท้ รัพยากรหรอื เลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มี ผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อม ใฝ่รใู้ ฝ่เรยี น มีคุณธรรมและจรยิ ธรรม รหสั ตวั ชีว้ ัด ง2.1 ม.2/4 ง3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 รวม 4 ตวั ชี้วดั
235 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง23101 การงานอาชีพ 3 กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ศกึ ษา ค้นคว้า วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปขั้นตอนการทางานประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุ ในโรงเรียนหรือท้องถิ่น การสร้างชิ้นงานหรือผลงานโดยการนาวัสดุในท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นของใช้และ ของประดับตกแต่ง การออกแบบและสร้างชิ้นงานบรรจุภัณฑ์จากวัสดุในท้องถิ่น การนางานประดิษฐ์ที่ สอดคล้องกับความถนัดไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพศึกษา อภิปราย เกี่ยวกับอาหารและเคร่ืองด่ืม ในชีวิตประจาวัน วิธีการเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มารยาทในการรับประทาน อาหารตามหลักสากล หลักการสุขาภบิ าลอาหาร เลือกซือ้ เลือกใช้ เกบ็ รักษาอาหารสด อาหารแห้ง ถนอม อาหาร ประกอบ อาหารจานเดียวและเครือ่ งดืม่ ที่มปี ระโยชน์ โดยใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทักษะการทางาน ทกั ษะ การจดั การ และ กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีประสบการณ์ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึก ในการใช้ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า สามารถแสวงหาความรู้พัฒนาการทางาน รู้จัก แก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีคุณลักษณะที่ดี เห็นแนวทางในงานอาชีพเพื่อพัฒนาอาชีพและเจต คติทีด่ ีตอ่ อาชีพ รหัสตวั ชี้วดั ง 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ง 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 รวมท้งั หมด 6 ตวั ชี้วดั
236 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง23102 คอมพิวเตอร์พน้ื ฐาน 3 กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต ศึกษา ระดับของเทคโนโลยีพื้นฐาน การสร้างชิ้นงานตามกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ และ จัดลาดับงานอย่างเป็นระบบ สามารถย้อนกลับมาแก้ไขได้ง่าย เพือ่ นาไปสร้างชิ้นงานและ การจัดการข้อมูล ข่าวสารสารสนเทศ และการจัดการ บุคคลากร ด้านคอมพิวเตอร์เครือข่ายด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี การสือ่ สารข้อมูลแบบ ต่างๆ เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ผลกระทบของ เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นภาพ ฉายแสดงรายละเอียดของชิน้ งาน ประกอบด้วยภาพด้านหนา้ ด้านข้างดา้ นบนแสดงขนาดและหนว่ ยวัด โดยใช้กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางานอย่างเป็น ระบบกระบวนการสืบค้นขอ้ มูลและการะบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ อธิบายระดบั ของเทคโนโลยี สร้างชนิ้ งานหรอื วิธีการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนอ งานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน ตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างปลอดภัย ออกแบบ โดย ถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉาย เพื่อนาไปสู่การถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจาลอง ความคิด ประยุกต์ใชง้ านด้านต่างๆได้อย่างเหมาะสม รหสั มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั ง2.1 ม.3/1 ม.3/2 ง3.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4 รวม 6 ตัวชีว้ ัด
237 คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง 21201 การใช้โปรแกรมประมวลผลคา กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชัว่ โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต ศกึ ษาคอมพิวเตอร์ หนว่ ยประมวลผลกลาง หนว่ ยความจาหนว่ ยแสดงผล อุปกรณ์รับข้อมูล และการแสดงผล แป้นพิมพ์ การใชแ้ ป้นพิมพ์ การแสดงผลบนจอภาพ เครื่องพมิ พ์ การเก็บข้อมูลบน แผ่นบนั ทึก การดแู ลรกั ษาเครือ่ งและขอ้ มูล การเปิดปิดเครือ่ ง การสาเนาแฟ้มขอ้ มลู การป้อนมลู การ อ่านข้อมูลจากแผน่ บนั ทึก การจัดรูปแบบการบันทึก ในงานเอกสารเบือ้ งตน้ ศกึ ษาโปรแกรมการประมวลคา (Microsoft Word) และสามารถค้นหาข้อมลู จาก อินเทอร์เนต็ (Internet) นามาประยกุ ต์ใชก้ บั โดยสามารถเรียกใช้โปรแกรม การเปิดโปรแกรม สร้าง สมุดงานใหม่ การพิมพข์ ้อความและแทรก,ปรบั ขนาดข้อความศลิ ป์ ภาพ ตารางลงในพืน้ ที่ต้องการ ได้ จัดรูปแบบอกั ษร คัดลอกข้อมูล ย้ายข้อมลู การตง้ั ชือ่ ย้ายและลบ และการสง่ั พมิ พ์ ตกแต่งชิน้ ให้ สวยงามโดยเลือกใช้งานเคร่ืองมือได้อย่างถูกต้อง การทาประวัติส่วนตัวนักเรียนและงานอื่นๆได้โดย สามารถเรียกใช้โปรแกรม จัดทาแผ่นพับแนะนาตนเอง จัดทาแผนภูมิและสร้างจดหมายและจ่าหน้าซอง อตั โนมตั ิได้ สามารถพิมพแ์ ละตกแต่งชิน้ งานให้สวยงามโดยเลือกใช้เครื่องมอื ได้อย่างถูกต้อง โดยใช้กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจ มีทักษะในการใชร้ ะบบปฏิบตั ิการ และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ ในงานพิมพ์เอกสารเบอื้ งตน้ ได้ ผลการเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายความหมายบทบาทความสาคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ 2. สามารถอธิบายการทางานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ได 3. สามารถเข้า - ออกจากระบบปฏิบัติการได้ 4. สามารถเปลี่ยนช่ือ ลบ ย้าย คดั ลอก แฟ้มขอ้ มลู ได้ 5. สามารถสร้างแฟ้มเอกสารจากโปรแกรมประมวลคาได้ 6. สามารถจัดรูปแบบข้อความ สี ขนาด ตวั อกั ษรได้ 7. สามารถปรบั แต่งค่าหนา้ กระดาษได้ 8. สามารถพิมพเ์ อกสารออกทางเครื่องพิมพ์ได้ 9. สามารถค้นหา และสืบค้นข้อมลู สารสนเทศ จากอินเทอร์เนต็ (Internet) ได้ 10. สามารถแบ่งคอลัมน์และการกาหนดสัญลกั ษณ์หัวข้อขอ้ ย่อยได 11. สามารถทาตัวอักษรตน้ ขนาดใหญ่และปรบั แต่งเส้นขอบและแรเงาได้ 12. สามารถแทรกเลขหน้า สญั ลักษณ์ และข้อความหวั ท้ายกระดาษได
238 13. สามารถสร้างตารางและจัดแต่งใหส้ วยงามได้ 14. สามารถสร้างแผนภูมแิ ละจดั แต่งให้สวยงามได้ 15. สามารถสร้างไดอะแกรมและจดั แต่งใหส้ วยงามได้ 16. สามารถสร้างจดหมายและจ่าหน้าซองได้ 17.สามารถแทรกข้อความศิลป์และจดั แต่งให้สวยงามได้ 18.สามารถทาแผน่ พบั แนะนาตัวเองได้ 19. สามารถบอกได้ถึงขน้ั ตอนในการทาชิน้ งานในแต่ละชิน้ ได้ 20. สามารถสร้างงานอย่างมีจิตสานึก มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม รวมท้ังหมด 20 ผลการเรียนรู้
239 คาอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม ง 22201 การใชโ้ ปรแกรมตารางการทางาน กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ชัว่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษาโปรแกรมตารางการทางาน (Microsoft Excel) และการเรียกใช้และการค้นหาข้อมลู จากอินเทอร์เน็ต (Internet) สามารถนามาประยุกต์ใช้กับ เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม การเปิด โปรแกรม สามารถสร้างสมดุ งานใหม่ สามารถใส่ขอ้ มูลลงในตาราง ปรบั ขนาดและช่องตาราง จัดรูปแบบเซลล์ การใส่สูตรคานวณ คัดลอกข้อมูล, สูตร, ย้าย, ลบ, การต้ังชื่อ ย้ายและลบ Worksheet สร้างกราฟ และการสั่งพิมพ์ การทาปฏิทินปฏิบัติงานประจาปีการศึกษารายเดือน การทาบัญชีรายรับ- รายจ่ายของตนเอง การออกแบบตารางบันทึกจานวนนักเรียนในแต่ละช้ันเรียน การเก็บบันทึกคะแนนและ รวมคะแนนของตนเอง การบันทึกส่วนสูงและน้าหนักของตนเองและเพื่อนๆการค้นหาข้อมูลรายการสินค้า จากอินเทอร์เนต็ และนามาจดั ทารายการสินค้า โดยใช้กระบวนการเรียนความรคู้ วามเข้าใจ กระบวนการสบื ค้นขอ้ มูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบตั ิ และกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อให้เกิดทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการทางาน ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักการค้นคว้า มุ่งม่ันในการทางาน เหน็ ความจาเป็นและประโยชน์ของการทางานอย่างเป็นระบบ มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ นาเทคโนโลยีมา ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้เป็นอย่างดี มีจิตสานึก มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ผลการเรียนรู้ 1. สามารถค้นหา และสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ จากอินเทอร์เน็ต (Internet) ได้ 2. สามารถนาข้อมลู มาประมวลผลเปน็ สารสนเทศได้ 3. สามารถเข้า – ออก โปรแกรม Microsoft Excel ได้อย่างถกู วิธี 4. เข้าใจและรู้ข้ันตอนโปรแกรมตารางการทางาน (Microsoft Excel) 5. สามารถคีย์ขอ้ มูลลงในเซลล์และปรบั แต่งข้อความได้อย่างสวยงาม 6. การเปลีย่ นชอ่ื แผ่นงาน (Sheet) ทาสาเนาซ้าและสร้างแผน่ งานใหม่ได้ 7. การจัดรูปแบบตารางให้สวยงาม 8. สามารถแทรกรูปวาดต่างๆ, ข้อความศลิ ป์และรูปภาพบนแผ่นงาน (Sheet)ได้ 9. แผนภมู ิและไดอะแกรมบนแผ่นงาน (Sheet)ได้ 10. สามารถจดั เกบ็ แฟ้มข้อมูลได้อย่างถูกต้อง 11. สามารถคีย์ขอ้ มลู ลงในเซลล์และปรบั แต่งข้อความได้อย่างสวยงาม 12. การทาลิงค์บนแผ่นงาน (Sheet)ได้
240 13. สามารถค้นหาคา, ซ่อน-แสดง (สดมภ์-แถว) และจัดรูปแบบตวั เลขได้ 14. สามารถใช้สตู รคานวณ Function และการประยกุ ต์ใช้งานได้ 15. สามารถส่ังพิมพ์ตารางงานได้ 16. สามารถสร้างงานอย่างมีจิตสานึก มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม รวมทั้งหมด 16 ผลการเรียนรู้
241 คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง 23201 การใชโ้ ปรแกรมนาเสนอ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษาและปฏิบัติเกี่ยวกบั โปรแกรมนาเสนอข้อมลู ด้วยคอมคอมพิวเตอร์ หลักการออกแบบ งานที่จะนาเสนอ การใชโ้ ปรแกรมการนาเสนอข้อมลู ปฏิบัติการสาเนาข้อมูล การป้อนข้อมลู การ ดูแลแฟ้มข้อมูล การจัดรูปแบบแผ่นบันทึก การบันทึกและอ่านข้อมูลจากแผ่นบันทึก การประยุกต์ใช้ โปรแกรมนาเสนอข้อมูลในการนาเสนอข้อมูลทางธรุ กิจ โดยใช้กระบวนการเรียนความรคู้ วามเข้าใจ กระบวนการปฏิบตั ิ และกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ สามารถประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมนาเสนอข้อมลู ในการ นาเสนอข้อมูลทางธรุ กิจ มีกิจนิสัยและคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมที่ดี ในการใชค้ อมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ 1. รู้และเข้าใจความหมายและความสาคญั ของการนาเสนอข้อมลู ในงานธุรกิจ 2. เข้าใจบทบาทและความสาคัญของการนาเสนอข้อมูล 3. รู้หลกั การ วิธีการนาเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรมการนาเสนอ 4. มีทกั ษะการใช้โปรแกรมการนาเสนอ 5. มีกิจนิสยั และคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมทีด่ ี ในการใชค้ อมพิวเตอร์ 6. ประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมนาเสนอข้อมูลในการนาเสนอข้อมลู ทางธุรกิจ รวมทงั้ หมด 6 ผลการเรียนรู้
242 คาอธบิ ายรายวชิ า กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ)
243 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ21101 ภาษาอังกฤษ 1 กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ศกึ ษาและปฏิบัติตามคาส่ัง คาขอร้อง คาแนะนา และคาชแี้ จงส้ันๆ อ่านออกเสียข้อความนทิ าน บท ร้อยกรองได้ถูกต้องตามหลกั การอ่าน เลือก ระบุประโยคหรือข้อความให้สัมพันธ์กับเรอ่ื งที่ไม่ใช่ความเรียง ที่อ่าน สามารถตีความ ถ่ายโอนข้อมูล จับใจความสาคัญ ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล เกี่ยวกับ ตนเอง กิจกรรม สถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน พูดและเขียน การขอและให้ข้อมูล และแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องทีฟ่ ังหรืออ่าน เขียนแสดงความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ตวั เขียนประโยค และข้อความที่ใช้ในการบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน สิ่งแวดล้อม บอกความเหมือน ความ แตกต่างระหว่างการออกเสียง ประโยคชนิดต่างๆของเจ้าของภาษากับภาษาไทย การใช้เคร่ืองหมายวรรค ตอนและการลาดบั คาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย พูด เขียนนาเสนอข้อมูล ข้อเทจ็ จริงที่เกีย่ วข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ืน่ โดยใช้ทักษะกระบวนการรู้ทางภาษาที่หลากหลาย การฝึกปฏิบัติตามสถานการณ์ต่างๆ กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ กระบวนการกลุ่ม การศึกษาค้นคว้าและกระบวนการปฏิบัติในการฝึก ทักษะการใชภ้ าษา ใช้กริยาท่าทาง น้าเสียง คาศพั ท์และประโยคในการส่อื สาร เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคณุ ค่าในการเรียน สามารถสือ่ สารโดยใช้ภาษาอังกฤษ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลต่างๆจากสื่อและ แหลง่ เรียนรตู้ ่างๆแล้วนามาสรปุ เปน็ ความรู้ และสามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รหัสตัวชีว้ ัด ต1.1 ม1/1 ม1/2 ม1/3 ม1/4 ต1.2 ม1/2 ม1/4 ม1/5 ต1.3 ม1/ 1ต2.1 ม1/2 ต.2.2 ม1/1ต3.1 ม1/1 รวมทัง้ หมด 11 ตัวชี้วดั
244 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ21102 ภาษาอังกฤษ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชวั่ โมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษาประโยค หรือข้อความ และความหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียนสิ่งแวดล้อม อาหาร เคร่ืองดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพ สัญลักษณ์ กราฟ การซื้อ-ขาย ลม ฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา และใช้คาชี้แจง ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ การจับใจความสาคญั / แก่นสาระ การวิเคราะห์ความ เร่ือง /เหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจ การแสดงความคิดเห็นและการให้ เหตุผลประกอบเกี่ยวกับกิจกรรมหรือเร่ืองต่างๆ ใกล้ตัวการใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางในการ สนทนา ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การแสดงความรู้สึกชอบ /ไม่ชอบ การกล่าว อวยพร การแสดงอาการตอบรับหรือปฏิเสธกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม ความเหมือนและความ แตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลอง วันสาคัญ และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษากับของไทยการ ค้นคว้า การรวบรวม การสรุป และการนาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา การใช้ ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/การค้นคว้าความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ใน การศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ กระบวนการกลุ่มการศึกษา ค้นคว้าและกระบวนการปฏิบัติ ในการฝึกทักษะการใช้ภาษา ใช้กริยาท่าทาง น้าเสียง คาศัพท์และประโยค ในการสอื่ สาร เพื่อให้สามารถใช้ภาษา น้าเสียงและกริยาท่าทาง ในการสื่อสาร ตามมารยาททางสังคมให้ เหมาะสมกับโอกาสและบุคคลและสามารถปฏิบตั ิตามคาขอร้อง คาแนะนา คาชีแ้ จง ภาษาที่ใชใ้ น การแสดงความตอ้ งการ อ่าน เขียน ประโยค หรอื ข้อความ และความหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครวั โรงเรียน สิง่ แวดล้อม สามารถถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพนั ธ์กบั สือ่ ที่ไม่ใช่ความเรียง สามารถบอก ความเหมอื น และความแตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลอง วันสาคัญ และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษากับของ ไทยการค้นคว้า การรวบรวม การสรุป และการนาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ เรียนรู้อื่นการใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง /สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/การค้นคว้าความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการ ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ อย่างมีเหตุผล ซือ่ สตั ย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่นั ในการทางานและ มีจิตสาธารณะ
245 รหสั ตัวชี้วดั ต1.1 ม1/3 ต1.2 ม1/2 ม1/3 ต1.3 ม1/2 ม1/3 ต2.1 ม1/1 ม1/3 ต.2.2ม1/2 ต3.1 ม1/1 ต.4.1ม1/1 ต.4.2ม1/1 รวมท้ังหมด 10 ตัวชีว้ ัด
246 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ22101 ภาษาอังกฤษ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชว่ั โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษาคาขอร้อง คาแนะนาคาชีแ้ จง และคาอธิบายง่ายๆ ที่ฟังและอ่าน ข้อความ ข่าว ประกาศ และ บทร้อยกรองสั้นๆ ประโยค และข้อความ ให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง รูปแบบต่างๆ ข้อมูลเกี่ยวกับ ตนเอง เรอ่ื งต่างๆ ใกล้ตัว และสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน คาศัพท์สานวน ประโยค และข้อความที่ ใช้ในการขอและให้ข้อมูล บรรยาย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังหรืออ่าน ภาษาที่ใช้ในการ แสดงความรู้สึก ความคิดเห็น และให้เหตุผลประกอบ การบรรยายข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ ข่าว /เหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจของสังคม การใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางในการ สนทนา การเปรียบเทียบและการอธิบายความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิด ต่างๆ ของเจ้าของภาษากับของไทยการใช้เคร่ืองหมายวรรคตอนและการลาดับคาตามโครงสร้างประโยค ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย การค้นคว้า การรวบรวม การสรุป และการนาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริง ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้น ในห้องเรียนสถานศึกษา และชุมชน การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/การค้นคว้าความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรตู้ ่างๆ โดยใช้กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ กระบวนการกลุ่มการศึกษา ค้นคว้าและกระบนการปฏิบัติ ในการฝึกทักษะการใช้ภาษา ใช้กริยาท่าทาง น้าเสียง คาศัพท์ และประโยค ในการสอ่ื สาร เพือ่ ให้สามารถใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยา ท่าทาง ในการสือ่ สาร ในการขอและให้ข้อมูล เหมาะกับโอกาสและบุคคล ตามมารยาทสังคม และปฏิบัติตาม คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และ คาอธิบายง่ายๆ อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ และบทร้อยกรองสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุใจความสาคัญ บอกรายละเอียด แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและอ่าน ใช้ภาษาสื่อสารใน สถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในโรงเรียนชุมชน และท้องถิ่น อย่างเหมาะสม สามารถ เปรียบเทียบ อธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากบั ของไทยอย่างมเี หตุผล ซื่อสตั ย์สจุ ริต มีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งม่นั ในการทางานและมีจิตสาธารณะ
247 รหสั ตัวชี้วดั ต1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ต1.2 ม.2/1 ม.2/4 ม.2/5 ต1.3 ม.2/1 ต2.1ม.2/1 ต2.2 ม2/1 ต3.1ม2/1 ต4.1 ม.2/1 ต4.2 ม.2/1 รวมทั้งหมด 12 ตัวชี้วดั
248 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ22104 ภาษาองั กฤษ 4 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกิต ศึกษาคาขอร้อง คาแนะนาคาชี้แจง และคาอธิบายง่ายๆ ที่ฟังและอ่าน บทสนทนา นิทานเร่ืองส้ัน และเร่ืองจากสื่อประเภทต่างๆ ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับ และปฏิเสธ การแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น และให้เหตุผลประกอบ การจับใจความสาคัญ การ วิเคราะห์เรือ่ ง /ข่าว/เหตกุ ารณ์ทีอ่ ยู่ในความสนใจ ความเป็นมาและความสาคัญของเทศกาล วนั สาคญั ชีวิต ความเป็นอยู่และประเพณีของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม การเปรียบเทียบและการ อธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของ ไทย การค้นคว้า การรวบรวม การสรุป และการนาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ เรียนรู้อื่น การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง /สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา และชมุ ชน การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น /การค้นคว้าความรู้ /ข้อมูลต่างๆ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ กระบวนการกลุ่ม การศึกษาค้นคว้าและกระบนการปฏิบัติ ในการฝึกทักษะการใช้ภาษา กริยาท่าทาง น้า เสียงพดู คาศพั ท์ และประโยค เพื่อให้สามารถใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยา ท่าทาง ในการส่ือสาร ในการขอและใหข้ ้อมูลเหมาะกับ โอกาสและบุคคล ตามมารยาทสังคม และปฏิบัติตาม คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจงและคาอธิบายง่ายๆ ระบุใจความสาคัญ บอกรายละเอียด แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและอ่านใช้ภาษาสื่อสารใน สถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในโรงเรียนชุมชน และท้องถิ่นอย่างเหมาะสม สามารถ เปรียบเทียบ อธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยู่ และวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับของไทย อย่างมเี หตุผล มีความซือ่ สตั ย์ รับผิดชอบมุ่งม่นั ในการทางาน และมีนิสยั ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน รหสั ตัวชีว้ ัด ต1.1 ม.2/1 ม2/4 ต1.2 ม.2/2 ม.2/3 ม2/5 ต1.3ม.2/2 ม2/3 ต2.1ม2/2 ม2/3 ต2.2ม.2/2 ต3..1ม.2/1 ต4.1ม2/1 ต4.2ม2/1 ม2/2 รวมท้ังหมด 14 ตัวชีว้ ัด
249 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษาคาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจงโฆษณา บทร้อยกรองคาอธิบาย ในการประดิษฐ์การบอก ทิศทาง ป้ายประกาศต่างๆ การใช้อุปกรณ์ และอ่านออกเสียง ข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรอง เขียนสื่อทีไ่ ม่ใช่ความเรียงรปู แบบต่างๆ ให้สัมพันธ์กับประโยคแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับเร่อื งที่ฟงั และอ่าน จากสื่อประเภทต่างๆ การอ่านจับใจความสาคัญ สนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับตนเองเรื่องใกล้ตัวสถานการณ์/ ข่าว เสนอและให้ความช่วยเหลือตอบรบั และปฏิเสธในสถานการณ์ตา่ งๆได้อย่างเหมาะสม เปรียบเทียบและ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและอ่าน พูดเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเองประสบการณ์ ข่าว/ เหตุการณ์ต่างๆ แล้วสรุปใจความสาคัญแก่นสาระจากการวิเคราะห์เร่ือง พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับกิจกรรมประสบการณ์และเหตุการณ์พรอ้ งท้ังให้เหตผุ ล โดยใช้กระบวนการและวิธีการเรียนรทู้ ี่หลากหลายบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนกบั วิชาต่างๆที่สัมพันธ์กัน การฝึกสนทนาโต้ตอบปฏิบัติตามคาส่ังคาขอร้องและตามสถานการณ์ต่างๆเรียนรู้ จากการปฏิบัติจริง อ่านออกเสียงได้ถูกต้องตามหลักการอ่านแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องทีฟ่ ังและอ่าน จากเร่ืองประเภทต่างๆแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและอ่านพร้อมท้ังให้เหตุผล มุ่งเน้นใช้สื่อและ แหล่งเรียนรู้ทกุ ประเภทตามความสอดคล้องของกิจกรรมการเรียนรู้จัดการเรียนการสอนตามสภาพจริงแล ประเมินตามสภาพจริง เพื่อให้ผู้เรยี นได้พัฒนาทกั ษะทางภาษาที่สาคญั ต่อการพัฒนาตนเอง เห็นคุณค่าของภาษา อังกฤษ สามารถติดต่อสื่อสารในสถานการณ์ปัจจุบันได้ตามความเหมาะ สมมีความเข้าใจในภาษาตาม สถานการณ์ต่างๆ และสามารถปฏิบัติจริงได้ มีจติ สาธารณะมีวินัยใฝร่ ู้ใฝเ่ รียนและการมีชีวิตอยู่ในสังคมได้ อย่างมคี วามสุข รหัสตวั ชีว้ ัด ต1.1 ม3/1 ม3/2 ม3/3 ม3/4 ต1.2 ม3/1 ม3/2 ม3/3 ม3/4 ม3/5 ต1.3 ม3/1 ม3/2 ม3/3 รวมท้ังหมด 12 ตัวชี้วัด
250 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ23102 ภาษาองั กฤษ 6 กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชวั่ โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษาภาษา น้าเสียงและกิริยาท่าทางเหมาะสมกับบุคคลและโอกาสตามมารยาทสงั คมและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เข้าร่วมจัดกิจกรรมทางภาษาและศกึ ษาชีวิตความเปน็ อยู่ และขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตามความสนใจ เช่นการเล่นเกม ร้องเพลงเล่านิทาน บทบาทสมมุติ วนั สาคญั ต่างๆ เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับเจ้าของภาษา นาไปใช้ได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ค้นคว้ารวบรวมและสรุปความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษา ต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน ชุมชนท้องถิ่น โดยใช้ กระบวนการและวิธีการเรียนรทู้ ีห่ ลากหลายบรู ณาการกิจกรรม การเรียนการสอนกับวิชาต่างๆที่สัมพันธ์กัน อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียมของเจ้าของ ภาษาเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของชีวิตความเป็นอยู่ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลข้อเท็จจ ริงที่ เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มุ่งเน้นใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ทกประเภทตามความสอดคล้องของ กิจกรรมการเรียนรู้ จัดการเรยี นการสอนตามสภาพจริงและประเมินตามสภาพจรงิ เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะทางภาษาที่สาคัญต่อการพัฒนาตนเอง เห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษ เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรม สามารถใช้ภาษา เป็นเคร่ืองมือแสวงหาความรู้เพิ่มเติม และ เช่ือมโยงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มีจิตสาธารณะมีวินัยใฝ่รู้ใฝ่เรียนและการมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสขุ รหัสตัวชีว้ ัด ต2.1 ม3/1 ม3/2 ม3/3 ต2.2 ม3/1 ม3/2 ต3.1 ม3/1 ต4.1 ม3/1 ต4.2 ม3/1 ม3/2 รวมท้ังหมด 9 ตัวชี้วดั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292