Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรวิทยาศาสตร์-โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์-ปีการศึกษา-2565 (1)

หลักสูตรวิทยาศาสตร์-โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์-ปีการศึกษา-2565 (1)

Published by นายมนตรี นาคีย์, 2022-05-21 03:35:43

Description: หลักสูตรวิทยาศาสตร์-โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์-ปีการศึกษา-2565 (1)

Search

Read the Text Version

ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ เนอ้ื หา จานวน น้าหนกั ตวั ช้ีวดั (ช่ัวโมง) คะแนน 7. วิทยาการคานวณ ว 4.2 ป3/1 -แสดงอลั กอริทมึ ในการทางานแกป้ ัญหา 20 10 ว 4.2 ป3/2, -เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย ว 4.2 ป3/3 -การใชอ้ ินเทอร์เนต็ ว 4.2 ป3/4 -การใชซ้ อฟต์แวรน์ าเสนอข้อมูล ว 4.2 ป3/5 -การใชเ้ ทคโนโลยีอย่างปลอดภยั รวม 25 80 60 คะแนนระหวา่ งเรียน 60 คะแนนสอบกลางปี 10 คะแนนสอบปลายปี 30 รวมคะแนนท้ังปี 100

ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ป.๔ โครงสร้างรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เวลา ๘๐ ช่ัวโมง ลาดับ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก ที่ /ตวั ชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน 1. ความหลากหลาย ว 1.2 ป.4/1 • พืชดอกมีส่วนต่าง ๆ ที่สาคัญ ได้แก่ 21 18 ของส่ิงมีชีวติ ว 1.3 ป.4/1 ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซ่ึงส่วน ว 1.3 ป.4/2 ตา่ ง ๆ เหล่านจ้ี ะทาหนา้ ทตี่ า่ งกันไป ว 1.3 ป.4/3 • ส่ิงมีชีวิตมีหลายชนิด โดยแต่ละชนิด ว 1.3 ป.4/4 จะมีลักษณะสาคัญบางอย่างเหมือนกัน หรอื แตกต่างกนั ไป ซง่ึ สามารถใช้เปน็ เกณฑ์ ในการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลมุ่ สัตว์ และกลมุ่ ท่ไี ม่ใช่พืชและสตั ว์ • ในการจาแนกพืชสามารถใช้ลักษณะ การมีดอกของพืชเป็นเกณฑ์ และในการ จาแนกสัตว์สามารถใช้การมีกระดูกสันหลัง ของสัตว์เป็นเกณฑ์ได้ สัตว์มีกระดูกสันหลัง แบ่งออกได้ 5 กลุ่ม ซ่ึงสัตว์มีกระดูกสันหลัง แต่ละกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ แตกต่างกนั 2. แรงโนม้ ถ่วงของโลก ว 2.2 ป.4/1 • แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดท่ี 10 9 และตวั กลางของ ว 2.2 ป.4/2 โลกกระทาต่อมวลของวัตถุทุกชนิดที่อยู่บน แสง ว 2.2 ป.4/3 โลกและท่ีอยู่ใกล้โลก ซ่ึงมีทิศทางเข้าสู่ ว 2.3 ป.4/1 ศูนย์กลางของโลก ทาให้วัตถุมีน้าหนักและ ตกลงสู่พ้ืนโลก เราสามารถวัดน้าหนักของ วัตถุได้โดยใช้เครือ่ งชง่ั สปริง • มวลของวัตถุมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง การเคล่ือนที่ของวัตถุ วัตถุท่ีมีมวลมากจะ เปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ได้ยากกวา่ วัตถุที่มี มวลนอ้ ย • เมื่อมองสิ่งต่าง ๆ โดยมีวัตถุต่างชนิด มาก้ันแสง จะทาให้มองเห็นสิ่งนั้น ๆ ชัดเจน แตกตา่ งกันไป จึงจาแนกวัตถุทีน่ ามากน้ั แสง ได้เป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวตั ถุทบึ แสง

ลาดบั ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก ท่ี /ตวั ช้ีวดั (ชวั่ โมง) คะแนน 3. วัสดุและสสาร ว 2.1 ป.4/1 • วัสดุต่าง ๆ มีสมบัติทางกายภาพท่ี 22 19 ว 2.1 ป.4/2 สามารถสังเกตและทดสอบได้แตกต่างกันไป ว 2.1 ป.4/3 เช่น มีความแข็ง มีสภาพยืดหยุ่น นาความ ว 2.1 ป.4/4 ร้อน นาไฟฟ้า เป็นต้น ซ่ึงเราสามารถนา วัสดุท่ีมีสมบัติทางกายภาพด้านต่าง ๆ มาใช้ ประโยชน์ไดต้ ่างกนั • สสารในชีวิตประจาวันมีหลายชนิด แต่ ละชนิดอาจอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ซ่ึงสสารแต่ละสถานะอาจมีสมบัติ บางประการเหมือนกันหรือต่างกัน โดย สังเกตได้จากการมีมวล การต้องการที่อยู่ การมีรูปร่างและปริมาตรของสสาร ซ่ึงเรา สามารถใช้เครื่องมือในการวัดมวลและ ปรมิ าตรของสสารได้

ลาดับ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั ท่ี /ตวั ชีว้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน 4. ระบบสุริยะ แล ะ ว 3.1 ป.4/1 • ดวงจันทร์โคจรรอบโลกพร้อมกับ 10 9 การปรากฏของดวง ว 3.1 ป.4/2 หมุนรอบตัวเอง ในขณะที่โลกหมุนรอบ จันทร์ระบบสุริยะ ว 3.1 ป.4/3 ตัวเองจะทาให้เรามองเห็นดวงจันทร์ และการปรากฏ ปรากฏข้ึนทางด้านทิศตะวันออกและตก ของดวงจันทร์ ทางดา้ นทิศตะวันตก ซ่ึงหมนุ เวียนเป็นแบบ รูปซ้า ๆ • ดวงจันทร์เป็นทรงกลม แต่รูปร่างของ ดวงจันทร์ที่ปรากฏในแต่ละวันจะแตกต่าง กัน ดวงจันทร์จะมีรูปร่างปรากฏเป็นเสี้ยว โดยจะมีขนาดเพิ่มข้ึนในแต่ละวันจนเต็ม ดวง และมีขนาดลดลงจนมองไม่เห็นดวง จันทร์ จากน้ันรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ จะเป็นเสี้ยวใหญ่ขึ้นจนสว่างเต็มดวงอีกคร้ัง และเกิดการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้เป็นแบบรูป ซ้า ๆ ทุกเดอื น • ระบบสุริยะนั้นเป็นระบบที่มีดวง อาทิตย์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวบริวาร โคจรอยู่โดยรอบ ประกอบด้วยดาวเคราะห์ 8 ดวง รวมท้ังดวงจันทร์บริวารของดาว เคราะห์ต่าง ๆ ดาวเคราะห์แคระ ดาว เคราะห์น้อย ดาวหาง และวัตถุขนาดเล็ก อน่ื ๆ โคจรอยู่รอบดวงอาทิตย์ • ดาวเคราะห์ทโ่ี คจรรอบดวงอาทิตย์แต่ ละดวงจะมีขนาดของดาว ระยะห่างจาก ดวงอาทิตย์ และคาบการโคจรรอบดวง อาทิตยแ์ ตกต่างกันไป ๕. ขน้ั ตอนวิธีในการ ว 4.2 ป. 4/1 • ขั้นตอนวธิ หี รืออัลกอรทิ มึ คือ 22 แก้ปญั หา กระบวนการแก้ ปญั หาทีม่ ีลาดับชดั เจน สามารถคาดคะเน ผลลัพธ์ได้ • การอธิบายอัลกอริทึมแบ่งได้เป็นการ แสดงอัลกอริทึมด้วยข้อความ การแสดง อัลกอริทึมด้วยรหัสจาลอง และการแสดง อัลกอริทมึ ดว้ ยผังงาน

ลาดับ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก ท่ี /ตวั ช้ีวดั (ชวั่ โมง) คะแนน ๖. การเขยี นโปรแกรม ว 4.2 ป. 4/2 • โปรแกรม Scratch สามารถนามาใช้ 5 4 อย่างงา่ ยดว้ ย พัฒนาซอฟต์แวร์เชิงสร้างสรรค์ เช่น การ Scratch สร้างนทิ าน การสรา้ งเกม เป็นต้น • การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้าง ลาดับของคาส่ังให้คอมพิวเตอร์ทางาน เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการ หาก มีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบ การทางานที ละคาส่ัง เม่ือพบจุดท่ีทาให้ผลลัพธ์ ไม่ ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไขจนกว่าจะได้ ผลลพั ธ์ท่ีถกู ตอ้ ง • ตัวอย่างโปรแกรมท่ีมีเร่ืองราว เช่น นิทานท่ีมีการตอบโต้กับผู้ใช้การ์ตูนส้ัน เลา่ กิจวตั รประจาวัน ภาพเคล่อื นไหว • การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจาก โปรแกรมของผู้อื่นจะช่วยพัฒนาทักษะ การหาสาเหตขุ องปัญหาไดด้ ียง่ิ ขึ้น

ลาดับ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก ท่ี /ตวั ชีว้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน 7. การใชง้ าน ว 4.2 ป. 4/3 • อินเตอร์เน็ต คือ ระบบเครือข่าย 3 3 อินเตอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมต่อกันจานวนมากและ ครอบคลมุ ไปท่ัวโลก • การค้นหาหรือสืบค้นข้อมูลความรู้ จากอินเตอร์เน็ต ควรใช้คาค้นที่ตรง ประเด็น กระชับ จะทาให้ได้ผลลัพธ์ท่ี รวดเรว็ และตรงตามความต้องการ • การประเมนิ ความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น พิจารณาประเภทของเว็บไซต์ (หน่วยงานราชการ สานักข่าว องค์กร) ผเู้ ขียน วนั ทเ่ี ผยแพร่ขอ้ มลู การอา้ งองิ • เม่ือได้ข้อมูลที่ต้องการจากเว็บไซต์ ต่าง ๆ จะต้องนาเน้ือหามาพิจารณา เปรียบเทียบ แล้วเลือกข้อมูล ท่ีมีความ สอดคล้องและสมั พันธ์กัน • การทารายงานหรือการนาเสนอข้อมูล จะต้อง นาข้อมูลมาเรียบเรียง สรุป เป็น ภ า ษ า ข อ ง ต น เ อ ง ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ กลุม่ เปา้ หมายและวิธีการนาเสนอ 8. การนาเสนอข้อมูล ว 4.2 ป. 4/4 • การรวบรวมข้อมูลที่ต้องการจากแหล่ง 5 4 ด้วยซอฟต์แวร์ ต่าง ๆ ทาได้โดยกาหนดหัวข้อท่ีต้องการ เตรยี มอุปกรณ์ในการจดบันทึก • การประมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ จัดกลุ่ม เรียงลาดับ การหา ผลรวม • การวิเคราะห์ผล การสร้างทางเลือกที่ เป็นไปได้ และการประเมินทางเลอื ก • การนาเสนอข้อมูลโดยใช้โปรแกรม ต่ า ง ๆ เ ช่ น ไ ม โ ค ร ซ อ ฟ ต์ เ วิ ร์ ด ไมโครซอฟต์เอ็กเซล ไมโครซอฟต์เพาเวอร์ พอยด์ • การใช้ซอฟต์แวร์ในการทางาน เช่น ใช้พิมพ์เอกสาร ใช้คานวณ ใช้สร้างกราฟ ใชอ้ อกแบบ และนาเสนองาน

ลาดบั ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั ท่ี /ตวั ชีว้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน ๙. การใช้เทคโนโลยี ว 4.2 ป. 4/5 • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในยุค 2 2 อยา่ งปลอดภยั ดจิ ทิ ัลอย่างปลอดภัย เขา้ ใจสทิ ธิและหน้าที่ ของตน เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน เช่น ไม่ สร้างข้อความเท็จและส่งให้ผู้อ่ืน ไม่สร้าง ความเดือดร้อนต่อผู้อื่นโดยการส่งสแปม ข้อความลูกโซ่ ส่งต่อโพสต์ท่ีมีข้อมูล ส่วนตัวของผู้อื่น ส่งคาเชิญเล่นเกม ไม่ เข้าถงึ ขอ้ มลู ส่วนตัวหรือการบ้านของบุคคล อ่ืนโดยไม่ได้รับอนุญาต ไม่ใช้เคร่ือง คอมพิวเตอร์/ช่ือบัญชีของผู้อ่ืน • การปกป้องข้อมูลส่วนตัว เชน่ 22 การออกจากระบบเมื่อเลิกใชง้ าน ไม่บอก รหัสผา่ น ไม่บอกเลขประจาตวั ประชาชน รวมเวลาเรยี นตลอดปี ๘๐ คะแนนระหว่างเรยี น ๗๐ คะแนนวัดผลปลายปี ๓๐ รวม ๑๐๐

โครงสรา้ งรายวิชา รายวชิ า วิทยาศาสตร์ 5 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว15101 เวลา 120 ช่วั โมง / ปี ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน/ จานวน น้าหนัก เรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด เนอื้ หา (ช่ัวโมง) คะแนน 1. สง่ิ มชี ีวติ และ ว 1.1 ป.5/1 -โครงสร้างและลกั ษณะของส่ิงมีชวี ิต 11 5 สิ่งไม่มีชีวิต ว 1.1 ป.5/2 -ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวติ กับสิ่งมีชวี ติ / สง่ิ ไม่มีชวี ติ ว 1.1 ป.5/3 -โซอ่ าหาร ว 1.1 ป.5/4 -สง่ิ แวดล้อมทม่ี ีผลต่อการดารงชวี ติ ว 1.3 ป.5/1 2. พนั ธกุ รรมของ ว 1.3 ป 5/2 -ลักษณะทางพนั ธกุ รรม 84 พชื และสัตว์ -ลักษณะทีค่ ล้ายคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่ 3. สถานะของสาร ว 2.1 ป.5/1 -การเปล่ียนสถานะของสสาร 11 4 ว 2.1 ป.5/2 -การละลายของสารในน้า ว 2.1 ป.5/3 -การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ว 2.1 ป 5/4 -การเปล่ยี นแปลงทผี่ ันกลับได้/ผนั กลบั ไม่ได้ 4. แรง ว 2.2 ป.5/1 -การหาแรงลพั ธ์ 15 10 5. เสียง ว 2.2 ป.5/2 -แรงท่ีกระทาต่อวตั ถุที่อยู่ในแนวเดียวกัน 11 6 6. ดาว ว 2.2 ป.5/3 -การวัดแรงท่กี ระทาตอ่ วัตถุ 9 5 ว 2.2 ป.5/4 แรงเสยี ดทานที่มตี ่อการเปลยี่ นแปลงการ เคล่ือนที่ของวัตถุ ว 2.2 ป.5/5 -แรงเสยี ดทานและแรงท่ีอยใู่ นแนวเดยี วกนั ที่ กระทาต่อวตั ถุ ว 2.3 ป.5/1 ว 2.3 ป 5/2 -การได้ยนิ เสยี งผา่ นตวั กลาง ว 2.3 ป 5/3 -ลักษณะและการเกิดเสยี งสูงเสยี งต่า ว 2.3 ป 5/4 -ลกั ษณะและการเกดิ เสียงดงั เสียงคอ่ ย ว 2.3 5/5 -การใช้เครื่องมือวัดระดับเสยี ง ว 3.1 ป.5/1 แนวทางในการหลีกเลีย่ งและลดมลพษิ ทางเสียง ว 3.1 ป 5/2 -ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ -ตาแหนง่ และเส้นทางการข้นึ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์

ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ เนอ้ื หา จานวน นา้ หนกั 7. น้าและการเปลย่ี นแปลง ตวั ช้ีวดั (ชั่วโมง) คะแนน 8. วทิ ยาการคานวณ ว 3.2 ป.5/1 -ปรมิ าณน้าในแตล่ ะแหล่ง 15 10 รวม ว 3.2 ป.5/2 -คณุ คา่ ของน้า/แนวทางการใช้น้า 40 16 อยา่ งประหยดั /การอนุรักษ์น้า 120 60 60 ว 3.2 ป.5/3 -การหมุนเวยี นของนา้ ในวฏั จกั รน้า 10 30 ว 3.2 ป.5/4 -กระบวนการเกดิ เมฆ หมอก นา้ ค้าง 100 และน้าค้างแขง็ ว 3.2 ป.5/5 -กระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ ว 4.2 ป.4/1 -เหตุผลเชงิ ตรรกะ ว 4.2 ป.4/2 -เหตผุ ลเชงิ ตรรกะอยา่ งง่าย ว 4.2 ป4/3 -การใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ต ว 4.2 ป4/4 -ขอ้ มูลและสารสนเทศตามวตั ถุประสงค์ ว 4.2 ป4/5 -เทคโนโลยีสารสนเทศ/สิทธแิ ละหน้าท่ีของตน และผอู้ ่ืน 32 คะแนนระหวา่ งเรียน คะแนนสอบกลางปี คะแนนสอบปลายปี รวมคะแนนท้ังปี

โครงสร้างรายวิชา รายวิชา วิทยาศาสตร์ 6 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 รหสั วิชา ว16101 เวลา 120 ชว่ั โมง / ปี ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ เนอ้ื หา จานวน นา้ หนกั เรยี นรู้ ตัวช้ีวัด (ชวั่ โมง) คะแนน -สารอาหาร 1. สารอาหารและ ว 1.2 ป6/1 -การเลอื กรบั ประทานอาหาร 13 5 ระบบยอ่ ยอาหาร ว 1.2 ป6/2 -ความสาคัญของสารอาหาร ว 1.2 ป6/3 -ระบบย่อยอาหาร 74 2. การแยกสาร ว 1.2 ป6/4 -การดแู ลรักษาอวัยวะในระบบยอ่ ยอาหาร ว 1.2 ป6/5 -การแยกสาร ว 2.1 ป6/1 3. แรงไฟฟ้า ว 2.2 ป6/1 -การเกดิ และผลของแรงไฟฟา้ 7 4 4. วงจรไฟฟ้า 22 15 ว 2.3 ป6/1 -วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย 5. สุริยปุ ราคา ว 2.3 ป6/2 -การต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย 9 5 จนั ทรปุ ราคาและ ว 2.3 ป6/3 -การตอ่ เซลล์ไฟฟา้ แบบอนกุ รม 22 15 เทคโนโลยอี วกาศ ว 2.3 ป6/4 -การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวัน 6. โลกและการ ว 2.3 ป6/5 -การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน เปล่ยี นแปลง ว 2.3 ป6/6 -การประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวัน ว 2.3 ป6/7 -การเกิดเงามืดเงามัว ว 2.3 ป6/8 -รงั สีของแสงแสดงการเกดิ เงามืดเงามวั ว 3.1 ป6/1 -ปรากฏการณส์ รุ ิยปุ ราคาและจนั ทรปุ ราคา ว 3.1 ป6/2 เทคโนโลยอี วกาศ ว 3.2 ป6/1 -การเกดิ หินอัคนี หนิ ตะกอน และหินแปร ว 3.2 ป6/2 -การใช้ประโยชนข์ องหนิ และแรใ่ น ชวี ิตประจาวัน ว 3.2 ป6/3 -การเกิดซากดึกดาบรรพ์ ว 3.2 ป6/4 -การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม ว 3.2 ป6/5 -ผลของมรสมุ ต่อการเกดิ ฤดขู องประเทศไทย ว 3.2 ป6/6 -ลักษณะและผลกระทบของน้าทว่ ม ว 3.2 ป6/7 -ผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย ว 3.2 ป6/8 -การเกิดปรากฏการณเ์ รือนกระจก ว 3.2 ป6/9 -ผลกระทบของปรากฏการณ์เรอื นกระจก

ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ เนือ้ หา จานวน นา้ หนกั 7. วทิ ยาการคานวณ ตวั ชี้วัด (ชว่ั โมง) คะแนน รวม ว 4.2 ป6/1, -การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 40 12 ว 4.2 ป6/2, -การเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย 120 60 60 ว 4.2 ป6/3, -การค้นหาข้อมูล 10 30 ว 4.2 ป6/4 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 100 30 คะแนนระหว่างเรียน คะแนนสอบกลางปี คะแนนสอบปลายปี รวมคะแนนท้ังปี

โครงสร้างรายวชิ าวิทยาศาสตร์ ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง ลาดบั ช่ือหนว่ ย มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ /ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน 1. สารรอบตวั ว 2.1 ม.1/1 • สารรอบตัวประกอบไปด้วยธาตุและ 26 15 2. หนว่ ยของ ว 2.1 ม.1/2 สง่ิ มชี วี ิต ว 2.1 ม.1/3 สารประกอบ สารแต่ละชนิดมีสมบัติทาง ว 2.1 ม.1/4 ว 2.1 ม.1/5 กายภาพและสมบัติทางเคมีท่ีเหมือนและ ว 2.1 ม.1/6 ว 2.1 ม.1/7 แตกต่างกนั ว 2.1 ม.1/8 ว 2.1 ม.1/9 • ความร้อนเป็นปัจจัยหน่ึงที่ทาให้ ว 2.1 ม.1/10 สถานะของสาร ซ่ึงเป็นสมบัติทางกายภาพ ว 1.2 ม.1/1 ว 1.2 ม.1/2 เปลี่ยนแปลงไป ว 1.2 ม.1/3 ว 1.2 ม.1/4 • สารบริสุทธ์ิ คือ สารท่ีมีองค์ประกอบ ว 1.2 ม.1/5 เพียงชนิดเดียว ประกอบไปด้วยธาตุและ สารประกอบ โดยธาตุแบ่งออกเป็นธาตุ โลหะ ธาตุก่ึงโลหะ และธาตุอโลหะ ซึ่งธาตุ บางชนิดสามารถแผ่รังสีได้ เรียกว่า ธาตุ กมั มนั ตรงั สี • เม่ือธาตุมากกว่าหนึ่งชนิดมารวมกัน ทางเคมีกลายเป็นสารประกอบที่มีสมบัติ แตกต่างไปจากธาตุเดิมท่ีเป็นองค์ประกอบ สารมากกว่าหน่ึงชนิดมาผสมกันเรียกว่า สารผสม บางชนิดผสมเป็นเน้ือเดียวกัน เรียกว่า สารละลาย บางชนิดผสมไมเ่ ป็น เน้ือเดียวกัน เชน่ สารแขวนลอย คอลลอยด์ เปน็ ตน้ • สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นหน่วยที่ 12 7 เล็กท่ีสุดเป็นองค์ประกอบ ซ่ึงส่ิงมีชีวิตบาง ชนิดสามารถดารงชีวิตอยู่ได้เพียงเซลลเ์ ดยี ว บางชนิดจาเป็นต้องมีหลายเซลล์มารวมกัน เป็นเน้ือเยื่อ ซึ่งมีรูปร่างและหน้าท่ีแตกต่าง กัน ซึ่งองค์ประกอบพ้ืนฐานของเซลล์ ได้แก่ นวิ เคลยี ส ไซโตพลาซมึ และเยือ่ หุ้มเซลล์ • กระบวนการแพร่และออสโมซิสเป็น กระบวน การที่สิ่งมีชีวิตใช้ลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์

ลาดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก ที่ การเรยี นรู้ /ตวั ชีว้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน 3. การดารงชีวติ ว 1.2 ม.1/6 • พืชดารงชีวิตอยู่ได้ด้วยส่วนประกอบ 22 13 ของพืช ว 1.2 ม.1/7 ต่าง ๆ ดังนี้ ใบไม้ มีคลอโรพลาสต์ท่ีมีสาร ว 1.2 ม.1/8 คลอโรฟิลล์ซ่ึงเก่ียวข้องกับกระบวนการ ว 1.2 ม.1/9 สั ง เ ค ร า ะ ห์ ด้ ว ย แ ส ง โ ด ย มี แ ก๊ ส ว 1.2 ม.1/10 คาร์บอนไดออกไซด์และน้าเป็นสารต้ังต้น ว 1.2 ม.1/11 และได้น้าตาลกลูโคส และแก๊สออกซิเจน ว 1.2 ม.1/12 เป็นผลิตภัณฑ์ ซ่ึงจาเป็นต่อ การดารงชีวิต ว 1.2 ม.1/13 ของสิ่งมีชวี ติ ว 1.2 ม.1/14 • รากและลาต้น ประกอบไปด้วยเน้ือเย่ือ ว 1.2 ม.1/15 ลาเลียงไซเล็ม ทาหน้าท่ีดูดน้าและแร่ธาตุ ว 1.2 ม.1/16 โดยอาศัยกระบวนการแพร่และออสโมซิส เน้ือเยื่อลาเลียงโฟลเอ็ม ทาหน้าท่ีลาเลียง อาหาร โดยอาศัยกระบวนการทรานสโล- เคช่นั

ลาดบั ชื่อหนว่ ยการ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก ที่ เรียนรู้ /ตวั ชี้วดั (ชวั่ โมง) คะแนน ว 1.2 ม.1/17 • ดอกไม้ เป็นอวัยวะสบื พันธ์ขุ องพืช เม่ือ ว 1.2 ม.1/18 ถูกผสมเกสร ดอกจะเจริญกลายเป็นผลซ่ึง ภายในมีเมล็ด ทาหน้าที่กระจายพันธ์ุพืช โดยพชื ตน้ ใหม่จะมีลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งไปจาก ตน้ พอ่ แม่ • พืชสามารถขยายพันธ์ุ โดยใช้ส่วน โครงสร้างพิเศษต่าง ๆ ของพืช เช่น ราก ลา ตน้ ใบ และมนษุ ย์สามารถนาสว่ นต่าง ๆ ของ พืชมาขยายพันธุไ์ ด้ เช่น การปกั ชา การติดตา การตอนก่ิง เป็นต้น ซ่ึงพืชต้นใหม่จะมี ลกั ษณะไมแ่ ตกต่างไปจากตน้ พอ่ แม่ • มนุษย์นาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา ประยุกต์ใช้กับพืช เช่น การเพาะเล้ียง เนื้อเยื่อพืช การดัดแปรพันธุกรรมพืช เป็น ต้น เพ่ือให้เพียงพอต่อความต้องการของ มนษุ ย์

ลาดบั ชือ่ หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก ท่ี การเรยี นรู้ /ตวั ชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน 4. พลังงานความ ว 2.3 ม.1/1 • อุณหภูมิ คือ ระดับความร้อนของสาร 21 12 ร้อน ว 2.3 ม.1/2 สามารถวัดได้โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า ว 2.3 ม.1/3 เทอร์มอมิเตอร์ เทอร์มอมิเตอร์มีอยู่หลาย ว 2.3 ม.1/4 แบบ เช่น เทอร์มอมิเตอร์แบบกระเปาะ ว 2.3 ม.1/5 เทอร์มอมเิ ตอร์แบบดจิ ทิ ัล เปน็ ต้น ว 2.3 ม.1/6 • ขั้นตอนการใช้เทอร์มอมิเตอร์ แบบ ว 2.3 ม.1/7 กระเปาะ คือ จุ่มเทอร์มอมิเตอร์ด้าน กระเปาะลงในสารที่ต้องการวัด โดยให้ เทอร์มอมิเตอร์ อยู่ในแนวดิ่ง แล้วอ่านค่า อุณหภูมิโดยให้สายตาอยู่ระดับเดียวกับ ระดบั ของเหลวในเทอร์มอมิเตอร์ • หน่วยวัดอุณหภูมิมีอยู่หลายหน่วย ซ่ึง แต่ละหน่วยจะมีจุดเยือกแข็งและจุดเดือด แตกต่างกัน หากต้องการเปรียบเทียบค่า อุณหภูมิระหว่างหน่วยวัดอุณหภูมิ จะได้ สมการ ดงั น้ี C/5 = (K-273)/5 = (F-32)/9 = R/4 • สารเม่ือได้รับความร้อนอาจมีการ เปล่ียนแปลงอุณหภูมิสถานะ หรือรูปร่าง ของสาร - ความร้อนท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิของสารขึ้นอยู่กับมวล ความร้อน จาเพาะ และอุณหภูมิที่เปล่ียนแปลงไป โดยสถานะของสารไม่เปล่ียนแปลง • ความร้อนท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง สถานะของสารขึ้นอยู่กับมวล และความ ร้อนแฝงจาเพาะ โดยท่ีอุณหภูมิของสารไม่ เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ค ว า ม ร้ อ น ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เปลี่ยนแปลงรูปร่างของสาร เมื่อสารได้รับ ความร้อนจะทาให้อนุภาคเคล่ือนที่เร็วขึ้น ทาให้เกิดการขยายตัว ส่งผลให้ขนาดและ รูปร่าง

ลาดบั ชื่อหนว่ ยการ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก (ชว่ั โมง) คะแนน ที่ เรียนรู้ /ตัวชี้วัด เปลี่ยนแปลงไปสารที่มีอุณหภูมิแตกต่าง กัน จะมกี ารถา่ ยโอนความร้อนระหว่างกนั • การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนา ความร้อน การพาความร้อน และ การแผ่รังสีความร้อน การนาความร้อน เป็นการถ่ายโอนความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยตัวกลางไม่เคลื่อนท่ี การพาความร้อน เปน็ การถ่ายโอนความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยตัวกลางมี การเคล่ือนที่ ส่วนการแผ่ รงั สีความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนที่ ไมอ่ าศยั ตัวกลง • วัตถุเม่ือได้รับความร้อนจะดูดกลืน พลังงานความร้อนและแผ่รังสีความร้อน ออกมา วัตถุชนิดต่าง ๆ จะมีการดูดกลืน และคายความร้อนได้แตกต่างกัน ซึง่ ปัจจัย ที่มีผลต่อ การดูดกลืนและคายรังสีความ ร้อน มดี งั น้ี 1. สี วตั ถทุ ี่มสี ีเขม้ จะดูดกลนื และคาย ความรอ้ นได้ดีกว่าวตั ถุท่ีมีสีอ่อน 2. อุณหภูมิ วัตถุที่มีอุณหภูมิแตกต่าง กับสิ่งแวดล้อมมาก จะดูดกลืนและคาย ความร้ อนได้ เร็ วกว่ าวั ตถุ ที่ มี อุ ณหภู มิ แตกตา่ งกบั สิง่ แวดลอ้ มนอ้ ย 3. ผิวของวัตถุ วัตถุท่ีมีผิวหยาบและ ด้าน จะดูดกลืนและคายความร้อนได้ ดกี ว่าวัตถุทมี่ ผี วิ เรยี บและมนั 4. พ้ืนท่ีผิว วัตถุที่มีพ้ืนที่ผิวมาก จะ ดดู กลืนและคาย ความร้อนได้ดีกวา่ วัตถุท่ี มีพน้ื ท่ีผวิ นอ้ ย • สารที่มีอุณหภูมิแตกต่างกันเกิดการ ถ่ายโอนความร้อนระหว่างกันจนกระท่ัง อุณหภูมิของสารเท่ากัน เรียกสภาพนี้ว่า สมดุลความร้อน โดยความร้อนที่เพ่ิมขึ้น ของสารหนึ่ง จะเท่ากับความร้อนท่ีลดลง ของอีกสารหนึ่งซ่ึงเป็นไปตามกฎการ

ลาดับ ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก (ช่วั โมง) คะแนน ท่ี เรยี นรู้ /ตัวชวี้ ดั 5. บรรยากาศ ว. 2.2 ม.1/1 อนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนความร้อน 23 13 ว. 3.2 ม.1/1 จนเกิดสมดุลความร้อนเปน็ ไปตามสมการ ว. 3.2 ม.1/2 Qสญู เสยี = Qได้รับ • บรรยากาศ คือ ช้ันแก๊สชนิดต่าง ๆ หรืออากาศท่ีห่อหุ้มดาวเคราะห์ทั้งหมด ซ่ึงประกอบไปด้วยอากาศแห้งที่ไม่มีน้า เป็นองค์ประกอบ ไอน้า และอนุภาคฝุ่น ตา่ ง ๆ • บรรยากาศแบ่งออกเป็น 5 ชั้น ตาม สภาวะของอณุ หภูมิ ดงั นี้ 1. ช้ันโทรโพสเฟียร์ (troposphere) มี ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ อุณหภูมิ ลดลงตามระดบั ความสงู 2. สตราโทสเฟียร์ (stratosphere) มี ชั้นโอโซนช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ อุณหภูมิเพ่ิมขึ้นตาม ระดับความสงู 3. มีโซสเฟียร์ (mesosphere) ช่วยให้ เกิดการเผาไหม้ ของวัตถุนอกโลก อุณหภมู ิลดลงตามระดับความสูง 4. เทอร์โมสเฟียร์ (thermosphere) มีโมเลกุลท่ีแตกตัวเป็นไอออนช่วยสะท้อน คล่ืนวิทยุ อุณหภูมิเพ่ิมขึ้นตามระดับความ สูง 5. เอกโซสเฟียร์ (exosphere) เหมาะ สาหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกใน ระดับต่า อุณหภูมิเพ่ิมข้ึนตามระดับความ สงู • ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศ ณ พ้ืนท่ีหนึ่งในเวลาหน่ึง ซึ่งลมฟ้าอากาศมี การเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ข้ึนอยู่กับ องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความดันอากาศ ความชื้น อากาศ ลม เมฆ และฝน

ลาดบั ชื่อหนว่ ยการ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก (ชว่ั โมง) คะแนน ที่ เรียนรู้ /ตัวช้วี ัด • อุณหภูมิอากาศ หมายถึง ระดับความ ร้อน-เย็นของอากาศ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ อุณหภูมิอากาศ คือ แสงจากดวงอาทิตย์ ปริมาณเมฆ ลักษณะพ้ืนท่ี และความสูง จากระดับน้าทะเล • ความชื้นอากาศ คือ ปริมาณไอน้าที่มี อยู่ในอากาศ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความช้ืน อากาศ คือ ไอน้าในอากาศและอุณหภูมิ อากาศ • ความดันอากาศ คือ แรงที่อากาศ กระทาต่อหนึ่งหน่วยพืน้ ที่ ปจั จยั ท่ีสง่ ผล ต่อความดันอากาศ คือ จานวนโมเลกุล ของอากาศ อุณหภูมิอากาศ และความสูง จากระดับน้าทะเล • ลม คอื การเคลือ่ นทข่ี องอากาศ ปจั จัย ที่ส่งผลต่อการเกิดลม คือ ความดันอากาศ หรืออณุ หภมู อิ ากาศ • เมฆ คือ ละอองน้าหรือน้าแข็งใน อากาศที่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน ปัจจัยท่ี ส่งผล คือ ความดันอากาศและความชื้น อากาศ • ฝน คือ ละอองน้าขนาดใหญ่ที่ตกลงสู่ พื้นดิน ปัจจัยท่ีส่งผล คือ ความดันอากาศ และความชื้นอากาศ

ลาดบั ชอื่ หนว่ ยการ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก ท่ี เรียนรู้ /ตวั ช้ีวดั (ชวั่ โมง) คะแนน 6. บรรยากาศ 2 ว 3.2 ม.1/3 • องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศท่ี 16 10 ว 3.2 ม.1/4 เปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดปรากฏการณ์ต่าง ว 3.2 ม.1/5 ๆ ได้แก่ มรสุม พายุฟ้าคะนอง พายุหมุน ว 3.2 ม.1/6 เขตร้อน เปน็ ต้น ว 3.2 ม.1/7 • มรสุม เป็นการหมุนเวียนของลมตาม ฤดูกาล แบ่งออกเป็นมรสุมฤดูร้อนและ มรสุมฤดูหนาว มรสุมฤดูร้อนเกิดจากพื้น ทวปี รอ้ นกว่า พื้นมหาสมุทร มรสมุ ฤดหู นาว เกิดจากพ้ืนทวีปเย็นกว่าพื้นมหาสมุทร ลม จึงพดั จากพนื้ ทวปี ไปยังพื้นมหาสมทุ ร • พายุฟ้าคะนอง เกิดข้ึนในวันที่อากาศ ร้อนจัด ทาให้เกิดการระเหยของน้า ปริมาณมาก เกิดเป็นเมฆคิวมูโลนิมบัส แล้วเกดิ การกล่ันตัวเปน็ ฝน เกิดลมกรรโชก ฟ้าแลบ ฟา้ ร้องและฟ้าผา่ • พายุหมุนเขตร้อน เกิดขึ้นเหนือ มหาสมทุ ร โดยอากาศบริเวณท่ีเกิดพายุจะ มีความดันอากาศต่า อากาศลอยตัวสูงขึ้น อ า ก า ศ บ ริ เ ว ณ ร อ บ ข้ า ง เ ข้ า ม า แ ท น ท่ี ประกอบกับการหมุนรอบตัวเองของโลก ทาให้เกดิ เป็น พายหุ มนุ • การพยากรณ์ อากาศ เป็นการ คาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศ และ ปรากฏการณ์ท่ีจะเกิดขึ้นในช่วงเวลา ข้างหน้า โดยตรวจวัดองค์ประกอบของลม ฟ้าอากาศ การส่อื สารแลกเปลยี่ นข้อมูลลม ฟ้าอากาศระหว่างพื้นที่ การวิเคราะห์ ข้อมูล และสร้างคาพยากรณ์อากาศ ซึ่ง เกณฑ์ในการพยากรณ์อากาศของกรม อุตุนิยมวิทยา ได้แก่ เกณฑ์อากาศร้อน เกณฑ์อากาศเย็น เกณฑ์การกระจายของ ฝน เกณฑ์ปริมาณฝน เกณฑ์ปริมาณเมฆ ในท้องฟ้า เกณฑ์สถานะของทะเล ร่อง มรสุม ลมพัดรอบบริเวณความกดอากาศ สงู บริเวณความกดอากาศต่า เป็นตน้

ลาดับ ชื่อหนว่ ยการ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั (ชว่ั โมง) คะแนน ที่ เรียนรู้ /ตัวชี้วดั • แผนท่ีอากาศ เป็นแผนที่แสดงสภาพลม ฟ้าอากาศในช่วงเวลาหนึ่ง ข้อมูลในแผนที่ อากาศจะนาไปใช้ในการพยากรณ์อากาศ • การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกส่ง ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต และสิง่ แวดล้อม ซง่ึ ปั จ จุ บั น ภู มิ อ า ก า ศ โ ล ก เ กิ ด ก า ร เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น การ หลอมเหลวของน้าแข็งข้ัวโลก การเพิ่มข้ึน ของระดับน้าทะเล การเปล่ียนแปลงวัฏ จักรน้า การเกิดโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้า แ ล ะก า ร เ กิ ด ภั ย พิ บั ติ ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ ท่ี รุนแรงข้ึน เป็นผลมาจากการกระทาของ มนุษย์ท่ีทาให้เกิดภาวะโลกร้อน ซ่ึงมี สาเหตุมาจากภาวะเรือนกระจกและรูโหว่ โอโซน มนุษย์ จึงควรเรียนรู้แนวทาง ปฏิบัติตนภายในสถานการณ์ดังกล่าว ท้ัง แนวทางปฏิบัติตนให้เหมาะสม และ แ น ว ท า ง ล ด กิ จ ก ร ร ม ท่ี ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร เปลย่ี นแปลงภูมิอากาศโลก รวมเวลาเรียนตลอดปี ๑๒๐ คะแนนระหว่างเรียน ๗๐ คะแนนวัดผลปลายปี ๓๐ รวม ๑๐๐

โครงสรา้ งรายวชิ าวิทยาศาสตร์ ว ๒๑๑๐๒ วิทยาการคานวณ 1 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง ลาดบั ชื่อหนว่ ยการ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั (ชวั่ โมง) คะแนน ท่ี เรยี นรู้ /ตวั ช้ีวดั 1. การออกแบบและ ว 4.2 ม. 1/1 • แนวคดิ เชงิ นามธรรมเปน็ การ 6 21 การเขียน ว 4.2 ม. 1/2 ประเมนิ ความ อัลกอริทึม สาคญั ของรายละเอียดของปัญหา แยกแยะสว่ น ที่เป็นสาระสาคัญออกจากส่วนที่ไมใ่ ช่ สาระสาคญั • คอมพิวเตอร์อัลกอริทึม เป็นแก่นของ วทิ ยาการ คอมพิวเตอร์ เป็นศาสตร์ที่ทาให้สามารถ ประมวลผล แบบทีละขั้นตอน ซึ่งทาให้คอมพิวเตอร์ สามารถประมวลผลเพื่อแก้ไขปัญหาด้วย เครื่องคอมพวิ เตอร์ • การออกแบบอัลกอริทึม เพ่ือแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย อาจใช้แนวคิดเชงิ นามธรรมในการออกแบบ เพอ่ื ใหก้ ารแก้ปญั หามปี ระสิทธิภาพ 2. การออกแบบและ ว 4.2 ม.1/2 • การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มี 8 28 การเขียน โปรแกรม การใช้ตัวแปร เงื่อนไข วนซ้า เบ้อื งต้น • การออกแบบอลั กอริทึม เพือ่ แก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย อาจใชแ้ นวคิดเชิงนามธรรมในการออกแบบ เพ่ือให้การแก้ปัญหามีประสิทธิภาพ • การแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอนจะช่วย ให้แกป้ ญั หาได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่ Scratch, python, java, c • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรม สมการการเคล่ือนท่ี โปรแกรมคานวณหา พนื้ ท่ี โปรแกรมคานวณดัชนีมวลกาย

ลาดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก ท่ี เรยี นรู้ /ตวั ช้วี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน 3. การจดั การข้อมูล ว 4.2 ม.1/3 • การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูล 4 14 สารสนเทศ ปฐมภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล จะทาให้ได้สารสนเทศเพ่ือใช้ใน การแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจ ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ • การประมวลผลเป็นการกระทากับ ข้อมูลเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ท่ีมีความหมายและ มีประโยชน์ต่อการนาไปใช้งานสามารถทา ไดห้ ลายวธิ ี เช่น คานวณอัตราสว่ น คานวณ ค่าเฉลีย่ • การใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบน อินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล นาเสนอ จะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่าง รวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยา

ลาดับ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก ท่ี /ตวั ช้วี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน 4. การใชเ้ ทคโนโลยี ว 4.2 / • ความปลอดภั ยของเทคโนโลยี 2 7 สารสนเทศ ม. 1/4 สารสนเทศ คอื นโยบาย ขั้นตอนการปฏิบัติ อยา่ งปลอดภัย และมาตรการทางเทคนิคที่นามาใช้ป้องกัน การใช้งานจากบุคคลภายนอก การ เปลี่ยนแปลง การขโมย หรือการทาความ เสียหายต่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ • วิธีการป้องกันและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศจากภัยคุกคามต่าง ๆ มีหลายวธิ ี เ ช่ น ห มั่ น ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ อั พ เ ด ต ระบบปฏิบัติการให้เป็นเวอร์ชันปัจจุบัน และควรใช้ระบบปฏิบัติการและซอฟต์แวร์ ท่ีมีลิขสิทธ์ิ ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวผ่านสอ่ื สังคมออนไลน์ เช่น เลขที่บัตรประชาชน ประวตั กิ ารทางาน เบอร์โทรศัพท์ หมายเลข บัตรเครดติ • จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ คือ หลักศีลธรรมจรรยาท่ี กาหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือ ควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และ สารสนเทศ รวมเวลาเรยี นตลอดปี ๒๐ คะแนนระหว่างเรียน ๗๐ คะแนนวดั ผลปลายปี ๓๐ รวม ๑๐๐

โครงสร้างรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ว ๒๑๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง ลาดับ ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั ที่ เรยี นรู้ /ตวั ชี้วดั (ชวั่ โมง) คะแนน 1 สสารรอบตวั ว ๒.๑ ม.๑/๙ • สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค 14 7 ว ๒.๑ ม.๑/๑๐ โดยสารชนิดเดียวกันที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมีการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ เคลือ่ นท่ีของอนุภาคแตกตา่ งกนั ซง่ึ มีผลต่อ รูปร่างและปรมิ าตรของสสาร • อนุภาคของของแข็งเรียงชิดกัน มีแรง ยึ ด เ ห นี่ ย ว ร ะ ห ว่ า ง อ นุ ภ า ค ม า ก ที่ สุ ด อนุภาคส่ันอยู่กับท่ี ทาให้มีรูปร่างและ ปรมิ าตรคงท่ี • อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มแี รง ยดึ เหนีย่ วระหว่างอนภุ าคน้อยกว่าของแข็ง แต่มากกว่าแก๊ส อนุภาคเคลื่อนที่ได้แต่ไม่ เป็นอิสระเท่าแก๊ส ทาให้มีรูปร่างไม่คงท่ี แตป่ รมิ าตรคงท่ี • อนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีแรง ยึ ด เ ห นี่ ย ว ร ะ ห ว่ า ง อ นุ ภ า ค น้ อ ย ที่ สุ ด อนุภาคเคล่ือนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทาง ทาให้มีรปู รา่ งและปริมาตรไม่คงท่ี • ความร้อนมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ ของสสาร เม่ือให้ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็ง จะมีพลังงานและ อุณหภูมิเพิ่มข้ึนจนถึงระดับหนึ่ง ซึ่ง ของแข็งจะใช้ความร้อนในการเปลี่ยน สถานะเป็นของเหลว เรียกความร้อนที่ใช้ ในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็น ของเหลวว่า ความร้อนแฝงของการ หลอมเหลว และอุณหภูมิขณะเปลี่ยน สถานะจะคงท่ี เรียกอุณหภูมินี้ว่า จุด หลอมเหลว

ลาดบั ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั ที่ เรียนรู้ /ตวั ช้ีวดั (ชวั่ โมง) คะแนน 2 แรงดนั อากาศ ว ๒.๒ ม.๑/๑ • เมื่อวัตถุอยู่ในอากาศจะมีแรงท่ี 8 5 อากาศกระทาต่อวัตถุในทุกทศิ ทาง แรงท่ี อากาศกระทาต่อวัตถุข้ึนอยู่กับขนาด พ้ืนท่ีของวัตถุนั้น แรงท่ีอากาศกระทาตั้ง ฉากกับผิววัตถุต่อหน่ึงหน่วยพื้นท่ีเรยี กว่า ความดันอากาศ • ความดันอากาศมีความสัมพันธ์กับ ความสูงจากพื้นโลก โดยบริเวณที่สูงจาก พื้นโลกข้ึนไป อากาศเบาบางลง มวล อากาศน้อยลง ความดนั อากาศกจ็ ะลดลง

ลาดบั ชือ่ หนว่ ยการ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั ที่ เรยี นรู้ /ตัวชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน 3 สมดลุ ความรอ้ น ว ๒.๓ ม.๑/๑ • เม่อื สสารไดร้ บั หรอื สญู เสียความรอ้ น 49 29 ว ๒.๓ ม.๑/๒ อาจทาให้สสารเปล่ียนอุณหภูมิ เปล่ียน ว ๒.๓ ม.๑/๓ สถานะ หรอื เปล่ยี นรปู ร่าง ว ๒.๓ ม.๑/๔ • ปริมาณความร้อนท่ีทาให้สสาร ว ๒.๓ ม.๑/๕ เปลี่ยนอุณหภูมิข้ึนกับมวล ความร้อน ว ๒.๓ ม.๑/๖ จาเพาะ และอณุ หภูมิทเี่ ปลย่ี นไป ว ๒.๓ ม.๑/๗ • ปริมาณความร้อนท่ีทาให้สสาร เปลี่ยนสถานะข้ึนกับมวลและความร้อน แฝงจาเพาะ โดยขณะท่ีสสารเปล่ียน สถานะ อณุ หภูมจิ ะไมเ่ ปลีย่ นแปลง • ความร้อนทาให้สสารขยายตัวหรือ หดตัวได้ เน่ืองจากเมื่อสสารได้รับความ ร้อนจะทาให้อนุภาคเคลื่อนที่เร็วข้ึน ทา ให้เกิดการขยายตวั แต่เมื่อสสารคายความ รอ้ นจะทาให้อนภุ าคเคลื่อนท่ชี ้าลง ทาให้ เกดิ การหดตัว • ความรู้เร่ืองการหดและขยายตัวของ ส ส า ร เ นื่ อ ง จ า ก ค ว า ม ร้ อ น น า ไ ป ใ ช้ ประโยชน์ได้ด้านต่าง ๆ เช่น การสร้าง ถนน การสร้างรางรถไฟ การทาเทอร์มอ มเิ ตอร์ • ความร้อนถ่ายโอนจากสสารที่มี อุณหภูมิสูงกว่า ไปยังสสารท่ีมีอุณหภูมิ ต่ากว่าจนกระทั่งอุณหภูมิของสสารทั้ง สองเท่ากัน สภาพท่ีสสารท้ังสองมี อณุ หภูมเิ ท่ากนั เรยี กวา่ สมดลุ ความร้อน • เม่ือมีการถ่ายโอนความร้อนจาก สสารท่ีมีอุณหภูมิต่างกันจนเกิดสมดุล ความร้อนความร้อนท่ีเพิ่มขึ้นของสสาร หนึ่งจะเท่ากับความร้อนที่ลดลงของอีก สสารหนึ่ง ซ่ึงเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์ พลังงาน • การถ่ายโอนความร้อนมี ๓ แบบ คือ การนาความร้อน การพาความร้อน และ การแผร่ ังสคี วามร้อน การนาความร้อน

ลาดบั ช่อื หนว่ ยการ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก ที่ เรยี นรู้ /ตวั ช้ีวดั (ชว่ั โมง) คะแนน เ ป็ น ก า ร ถ่ า ย โ อ น ค ว า ม ร้ อ น ท่ี อ า ศั ย ตัวกลาง โดยที่ตัวกลางไม่เคล่ือนที่ การ พาความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อน ที่อาศัยตัวกลาง โดยท่ีตัวกลางเคลื่อนท่ี ไปด้วย ส่วนการแผ่รังสีความร้อนเป็น การถ่ายโอนความร้อนท่ีไม่ต้องอาศัย ตัวกลาง • ความรู้เก่ียวกับการถ่ายโอนความ ร้ อ น ส า ม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ชีวิตประจาวันได้ เช่นการเลือกใช้วัสดุ เพื่อนามาทาภาชนะบรรจุอาหาร เพ่ือ เก็บความร้อน หรือการออกแบบระบบ ระบายความร้อนในอาคาร

ลาดบั ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก ที่ การเรียนรู้ /ตวั ชี้วัด (ชวั่ โมง) คะแนน 4 บรรยากาศและ ว ๓.๒ ม.๑/๑ • โ ล ก มี บ ร ร ย า ก า ศ ห่ อ หุ้ ม 49 29 ลมฟ้าอากาศ ว ๓.๒ ม.๑/๒ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ ช้ ส ม บั ติ แ ล ะ ว ๓.๒ ม.๑/๓ องค์ประกอบของบรรยากาศในการแบง่ ว ๓.๒ ม.๑/๔ บรรยากาศของโลกออกเป็นชั้น ซึ่งแบ่ง ว ๓.๒ ม.๑/๕ ได้หลายรูปแบบตามเกณฑ์ที่แตกต่าง ว ๓.๒ ม.๑/๖ กัน โดยท่ัวไปนักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์ ว ๓.๒ ม.๑/๗ การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิตามความสูง แบ่งบรรยากาศได้เป็น ๕ ชั้น ได้แก่ ช้ัน โทรโพสเฟียร์ ชั้นสตราโตสเฟียร์ ชั้นมี โซสเฟียร์ชั้นเทอร์โมสเฟียร์ และช้ันเอก โซสเฟยี ร์ • บรรยากาศแต่ละชั้นมีประโยชน์ต่อ ส่ิงมีชีวิตแตกต่างกัน โดยชั้นโทรโพส เฟียร์มีปรากฏการณ์ ลมฟ้าอากาศที่ สาคัญต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ชั้นสตราโตสเฟียร์ช่วยดูดกลืนรังสี อัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ไม่ให้ มายังโลกมากเกินไปชั้นมีโซสเฟียร์ช่วย ชะลอวัตถุนอกโลกที่ผ่านเข้ามา ให้เกิด การเผาไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเล็กลด โอกาสทจี่ ะทาความเสยี หายแกส่ ง่ิ มีชีวิต บนโลก ช้ันเทอร์โมสเฟียร์สามารถ สะท้อนคล่ืนวิทยุ และช้ันเอกโซสเฟียร์ เหมาะสาหรับการโคจรของดาวเทียม รอบโลกในระดับต่า • ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของ อากาศในเวลาหน่ึงของพื้นท่ีหนึ่งที่มี การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาข้ึนอยู่กับ องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชื้น เมฆ และหยาดน้าฟ้า โดย หยาดน้าฟ้าที่พบบ่อยในประเทศไทย ได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาข้ึนอยู่กับปัจจยั ต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสจี ากดวงอาทิตย์

และลักษณะพ้ืนผิวโลกส่งผลต่ อ ๑๒๐ อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิอากาศและ ๗๐ ปริมาณไอน้าส่งผลต่อความช้ืน ความ ๓๐ กดอากาศส่งผลต่อลม ความช้ืนและลม ๑๐๐ สง่ ผลตอ่ เมฆ รวมเวลาเรียนตลอดปี คะแนนระหวา่ งเรียน คะแนนวดั ผลปลายปี รวม

โครงสร้างรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ว ๒๑๑๐๔ การออกแบบและเทคโนโลยี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง ลาดบั ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก ที่ /ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน 1. เทคโนโลยกี ับมนุษย์ ว 4.1 ม.1/1 • เทคโนโลยี เปน็ สิ่งท่ีมนุษย์สรา้ ง หรอื 5 18 ว 4.1 ม.1/2 พัฒนาข้ึน ซ่ึงอาจเป็นได้ทั้งชิ้นงาน หรือ วิธีการ เพื่อใช้แก้ปัญหา สนองความ ต้องการ หรือเพิ่มความสามารถ ในการ ทางานของมนษุ ย์ • เทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลง ตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมี สาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของ ศาสตรต์ า่ ง ๆ เศรษฐกิจ สังคม • ระบบทางเทคโนโลยี เป็นระบบท่ี ประกอบ ด้วยการทางานร่วมกันของ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ซึ่ ง องค์ประกอบทางเทคโนโลยีท่ีทาให้เกิด ระบบทางเทคโนโลยีมี 4 องคป์ ระกอบหลัก ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย ตั ว ป้ อ น ( input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ท่ีสัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี อ า จ มี ข้ อ มู ล ย้ อ น ก ลั บ (feedback) • ผลกระทบของการพัฒนาเทคโนโลยี เช่น ด้านส่ิงแวดล้อม เทคโนโลยีทาให้ การคมนาคมมีความสะดวกสบายและใช้ เ ช้ื อ เ พ ลิ ง ม า ก ขึ้ น ท า ใ ห้ เ กิ ด แ ก๊ ส คารบ์ อนไดออกไซด์มากข้ึน จนกลายเป็น ภาวะโลกรอ้ น

2. กระบวนการ ว 4.1 ม.1/2 • กระบวนการเทคโนโลยี เปน็ ขั้นตอน 5 18 เทคโนโลยี ว 4.1 ม.1/3 การทางานเพ่ือสร้างส่ิงของเครื่องใช้หรือ ว 4.1 ม.1/4 วิธีการอย่างใดอย่างหน่ึงขึ้นมาเพื่อ แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของ ม นุ ษ ย์ ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ท ค โ น โ ล ยี ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน คือ ระบุปัญหา หรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล เลือก วิธีการแก้ปัญหา ออกแบ บวิธีการ แก้ปัญหา ทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข ประเมนิ ผล และนาเสนอผลงาน • กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม มี 2 ส่วน คือ ส่วนที่นาวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ มาใช้ให้เป็นประโยชน์กับ สว่ นท่อี อกแบบให้ไดผ้ ลงานทีต่ ้องการ

ลาดบั ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก ที่ /ตวั ช้ีวดั (ชว่ั โมง) คะแนน 3. ผลงานออกแบบ ว 4.1 ม.1/5 • การเลือกใช้วัสดุ เคร่ืองมือ และ 10 34 และเทคโนโลยี อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์เทคโนโลยีโดย วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติข้อจากัดใน การใช้ที่แตกต่างกัน เช่น ไม้ โลหะ พลาสติก จึงต้องมีการวิเคราะห์สมบัติ ของวัสดุ เพ่ือเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ ลักษณะของงานและเกิดประโยชน์กับ ผูใ้ ช้งานอยา่ งแทจ้ รงิ • การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เร่ือง กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LED บซั เซอร์ มอเตอร์ วงจรไฟฟ้า • การสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการ มีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมท้ังรู้จักเก็บ รกั ษา รวมเวลาเรยี นตลอดปี ๒๐ คะแนนระหว่างเรียน ๗๐ คะแนนวดั ผลปลายปี ๓๐ รวม ๑๐๐

ส่วนท่ี ๔ การจดั การเรยี นร้แู ละการวัดและประเมนิ ผล

การจดั การเรยี นรู้และการวัดและประเมินผล แนวทางการจดั การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเรยี นรู้ท่ผี ูเ้ รียนมีความสาคัญท่สี ดุ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๒ ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการ จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ในมาตรา ๒๒ (๒) เน้น การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ให้ความสาคัญของการบูรณาการความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา ในสว่ นของการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์น้ัน ตอ้ งให้ เกดิ ท้งั ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติด้านวทิ ยาศาสตร์ รวมท้ังความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษา และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งสมดุลย่ังยนื ในส่วนของการจัดกระบวนการเรยี นรู้ มาตรา ๒๔ ของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ได้ระบุให้สถานศึกษา และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ งดาเนนิ การดังน้ี ๑. จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผูเ้ รียน โดยคานึงถึง ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ๒. ฝึกทกั ษะ กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา ๓. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอา่ น และเกิดการใฝ่รอู้ ย่างต่อเนอ่ื ง ๔. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้ง ปลกู ฝังคุณธรรม คา่ นยิ มทด่ี งี าม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ไว้ในทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๕. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวย ความสะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ ทั้งน้ีผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอนและแหล่ง วทิ ยาการประเภทตา่ ง ๆ ๖. จัดการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลาทุกสถานท่ีมีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผ้ปู กครอง และบคุ คลในชมุ ชนทุกฝา่ ย เพ่ือร่วมกนั พฒั นาผูเ้ รียนตามศกั ยภาพ การจัดการเรียนรู้ตามแนวดังกล่าว จาเป็นต้องเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการสอนของผู้สอน และการเรียนของผ้เู รยี น กล่าวคอื ลดบทบาทของผสู้ อนจากการเปน็ ผบู้ อกเลา่ และบรรยาย เปน็ การวางแผน จัดกจิ กรรมให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรูโ้ ดยผ่านกระบวนการทส่ี าคัญ คือ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซง่ึ เปน็ กระบวนการท่ีจะนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้โดยผ่านกิจกรรมการสังเกต การต้ังคาถาม การวางแผน เพื่อการทดลอง การสารวจตรวจสอบ (investigation) ซ่ึงเป็นวิธีการหาข้อมูลโดยตรงด้วยวิธีการท่ี หลากหลายทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ กระบวนการแก้ปัญหา การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย และการ สอ่ื สารความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจ กิจกรรมตา่ ง ๆ จะต้องเนน้ ทบี่ ทบาทของผเู้ รยี นตัง้ แตเ่ ร่ิม คอื ร่วมวางแผนการเรียน การวัดผลและประเมินผล และต้องคานึงว่ากิจกรรมการเรียนน้ันเน้นการพัฒนา กระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติ สืบค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้ หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล การแก้ปัญหา การมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน การสร้างคาอธิบาย

เกย่ี วกับขอ้ มูลท่ีสืบคน้ ได้ เพอ่ื นาไปสู่คาตอบของปัญหาหรือคาถามต่าง ๆ ในท่สี ุดเปน็ การสร้างองค์ความรู้ ทง้ั นกี้ ิจกรรมการเรียนรู้ดังกลา่ วต้องพฒั นาผูเ้ รียนให้เจรญิ พัฒนาท้งั รา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เน้นกระบวนการที่นักเรียนเป็นผู้คิด ลงมือปฏิบัติ ศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมรี ะบบดว้ ยกิจกรรมทห่ี ลากหลาย ทัง้ การทากิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การสารวจตรวจสอบ การทดลองในห้องปฏิบัติการ การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การทาโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษาจากแหล่งการเรยี นรู้ในท้องถิ่น โดยคานงึ ถึงวฒุ ิภาวะ ประสบการณ์เดิม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมต่างกันท่ีนักเรียนได้รบั รู้มาแล้วก่อนเข้าสู่หอ้ งเรียน การเรียนรู้ ของนักเรียนจะเกิดขึ้นระหว่างท่ีนักเรียนมีส่วนร่วมโดยตรงในการทากิจกรรมการเรียนเหล่านั้นจึงจะมี ความสามารถในการสืบเสาะหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง และคาดหวังว่ากระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวจะทาให้นักเรียนได้รับ การพัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้วิทยาศาสต ร์และเทคโนโลยี รวมทั้งสามารถสอื่ สารและทางานร่วมกับผอู้ ืน่ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ หรือจิตวิทยาศาสตร์ทคี่ าดหวงั วา่ จะได้รบั การพฒั นาข้นึ ในตวั นกั เรียนโดย ผา่ นกระบวนการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ มดี งั นี้ - ความสนใจใฝ่รู้ - ความซอื่ สตั ย์ - ความอดทนมุ่งมน่ั - การมีใจกว้างยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ - ความคดิ สร้างสรรค์ - มคี วามสงสัยและกระตือรือรน้ ที่จะหาคาตอบ - ยอมรบั เมอื่ มปี ระจกั ษ์พยานหรือเหตุผลทีเ่ พยี งพอ ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนต้องศึกษาเป้าหมายและปรัชญาของการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจ อย่างถอ่ งแท้ ทาความเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลักการ ทฤษฎกี ารเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอน ทเ่ี นน้ กระบวนการและผู้เรยี นมคี วามสาคัญที่สดุ แลว้ พจิ ารณาเลอื กนาไปใช้ออกแบบกิจกรรมท่หี ลากหลาย ให้เหมาะสมกับเน้ือหาสาระ เหมาะกับสภาพแวดล้อมของโรงเรียน แหล่งความรู้ของท้องถิ่น และที่สาคัญ คือศักยภาพของผู้เรียนด้วย ดังน้ัน ในเน้ือหาสาระเดียวกัน ผู้สอนแต่ละโรงเรียนย่อมจัดการเรียนการสอน และใช้สอื่ การเรียนการสอนท่แี ตกต่างกันได้ การจักการเรียนการสอนวิทยาศาสตรช์ ว่ ยใหม้ ีการพัฒนาในทุก ๆ ด้าน และครอบคลุมถงึ เร่ืองของ ความตระหนักและผลของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอีกด้วย การจัดการเรียนการสอนกลุ่มวิทยาศาสตร์ ในทุกระดบั จึงต้องดาเนนิ การทีจ่ ะส่งเสริมให้ผู้เรยี นได้รับการพฒั นาท่สี มบูรณ์เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายทีว่ างไว้ โดยจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนกลุ่มวิทยาศาสตรท์ ่ีเนน้ กระบวนการทีผ่ ู้เรียนเป็นผู้คิด ลงมือปฏิบัติ ศึกษา ค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยกิจกรรมหลากหลาย กิจกรรมท่ีจะจัดให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไดม้ หี ลากหลาย เช่น - กจิ กรรมภาคสนาม - กิจกรรมแกป้ ัญหา - กิจกรรมการสงั เกต - กิจกรรมสารวจตรวจสอบ

- กิจกรรมการทดลอง - กิจกรรมสืบค้นข้อมูล ท้ังจากแหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคล เอกสารในห้องสมุดหรือ หน่วยงานใน ท้องถ่นิ จนถึงการสบื ค้นทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต - กิจกรรมศกึ ษาคน้ คว้าจากสือ่ ต่าง ๆ และแหลง่ เรียนรู้ในท้องถน่ิ - กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์ - กจิ กรรมอภิปราย ฯลฯ กระบวนการเรยี นการสอนท่ีใช้การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การพัฒนาความคิดและความสามารถโดยอาศัย ประสบการณ์และปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและส่ิงแวดล้อม ทาให้บุคคลดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขใน สังคม ดังนั้นก่อนที่ครูผู้สอนจะจัดการเรียนการสอน จะต้องตระหนักว่าการเรียนรู้เกิดข้ึนด้วยตัวของ ผู้เรยี นเอง การเรยี นร้เู รอ่ื งใหม่จะมีพนื้ ฐานมาจากความร้เู ดิม ฉะน้นั ประสบการณ์ของนักเรียนจึงเป็นปัจจัย สาคัญต่อการเรยี นรู้เป็นอย่างยิ่ง กระบวนการเรียนรู้ท่แี ท้จริงของนักเรียนไม่ไดเ้ กิดจากการบอกเล่าของครู หรือนกั เรยี นเพียงแตจ่ ดจาแนวคิดตา่ ง ๆ ท่ีมีผู้บอกใหเ้ ท่านน้ั กระบวนการทนี่ ักเรียนจะตอ้ งสืบค้นเสาะหา สารวจตรวจสอบ และค้นคว้าด้วยวิธีการต่าง ๆ จะทาให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและเกิดการรับรู้ความรู้นั้น อย่างยาวนาน สามารถนามาใช้ได้เมื่อมีสถานการณ์ใด ๆ มาเผชิญหน้า ดังนั้นการท่ีนักเรียนจะสร้างองค์ ความรู้ได้จึงต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry process) กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ กระบวนการเรียนการสอนเน้นการสืบเสาะหาความรู้จะเป็นการพัฒนาให้ผู้เรียนได้รับความรู้ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ปลูกฝังให้ผู้เรียนรู้จักใช้ความคิดของตนเอง สามารถเสาะหา ความรหู้ รือวเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้ การจัดการให้นักเรียนเรียนแบบสบื เสาะหาความรู้ อาจทาเปน็ ข้นั ตอนดังน้ี ๑) ขั้นสร้างความสนใจ (engagement) เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนหรือเร่ืองที่สนใจ ซึ่งอาจ เกิดขน้ึ เองจากความสงสัย หรืออาจเริม่ จากความสนใจของตัวนักเรียนเอง หรอื เกดิ จากการอภิปรายภายใน กลุ่ม เรื่องที่น่าสนใจอาจมาจากเหตุการณ์ที่กาลังเกิดข้ึนอยู่ในช่วงเวลานั้น หรือเป็นเรื่องที่เชื่อมโยงกับ ความรู้เดมิ ทเี่ พิ่งเรียนรมู้ าแลว้ เปน็ ตวั กระตุ้นใหน้ ักเรียนสร้างคาถาม กาหนดประเด็นที่จะศึกษา ในกรณี ท่ียังไม่มีประเด็นใดน่าสนใจ ครูอาจให้ศึกษาจากส่ือต่าง ๆ หรือเป็นผู้กระตุ้นด้วยการเสนอประเด็นขึ้นมา ก่อน แตไ่ ม่ควรบังคบั ให้นักเรียนยอมรบั ประเด็นหรือคาถามที่ครกู าลงั สนใจเปน็ เรื่องท่จี ะใชศ้ ึกษา เมื่อมีคาถามท่ีน่าสนใจ และนักเรียนส่วนใหญ่ยอมรับให้เป็นประเด็นที่ต้องการศึกษาจึงร่วมกัน กาหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของเร่ืองท่ีจะศึกษาให้มีความชัดเจนย่ิงขึ้น อาจรวมท้ัง การรวบรวมความรปู้ ระสบการณ์เดมิ หรือความรูจ้ ากแหล่งต่าง ๆ ทจ่ี ะนาไปสูค่ วามเข้าใจเร่ืองหรือประเด็น ทีจ่ ะศึกษามากขน้ึ และมแี นวทางทีใ่ ช้ในการตรวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย ๒) ข้ันสารวจและค้นหา (exploration) เม่ือทาความเข้าใจในประเด็นหรือคาถามท่ีสนใจ จะศกึ ษาอยา่ งถ่องแท้แลว้ ก็มีการวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจตรวจสอบ ต้ังสมมตุ ฐิ าน กาหนด

ทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ วิธีการ ตรวจสอบอาจทาได้หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง ทากิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยสร้าง สถานการณจ์ าลอง (simulation) การศึกษาหาขอ้ มลู จากเอกสารอา้ งองิ หรอื จากแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ เพอ่ื ใหไ้ ด้มาซ่ึงขอ้ มูลอยา่ งเพยี งพอที่จะใช้ในขั้นต่อไป ๓) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation) เมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการสารวจ ตรวจสอบแล้ว จึงนาข้อมูล ข้อสนเทศที่ได้มาวิเคราะห์ แปรผล สรุปผล และนาเสนอผลท่ีได้ในรูปแบ บ ต่าง ๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ หรือวาดรูป สร้างตาราง การค้นพบในข้ันน้ี อาจเป็นไปได้หลายทาง เช่น สนับสนุนสมมุติฐานที่ตั้งไว้ โต้แย้งกับสมมุติฐานท่ีต้ังไว้ หรือไม่เกี่ยวข้องกับ ประเดน็ ท่ีไดก้ าหนดไว้ แต่ผลท่ีไดจ้ ะอยู่ในรูปใด ก็สามารถสร้างความรูแ้ ละชว่ ยใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้ ๔) ขั้นขยายผลความรู้ (elaboration) เป็นการนาความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิม หรือแนวคดิ ทไ่ี ด้ค้นคว้าเพิม่ เติม หรือนาแบบจาลองหรอื ข้อสรุปท่ีได้ไปอธิบายสถานการณห์ รือเหตุการณ์อื่น ๆ ถ้าใช้อธิบายเรื่องต่าง ๆ ได้มากก็แสดงว่าข้อจากัดน้อย ซ่ึงก็จะช่วยให้เช่ือมโยงกับเร่ืองต่าง ๆ และทาให้ เกดิ ความรู้กวา้ งขวางขึ้น ๕) ขั้นประเมิน (evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียน มีความรู้อะไรบา้ ง อยา่ งไร และมากนอ้ ยเพียงใดจากขั้นนจ้ี ะนาไปสู่การนาความรู้ไปประยกุ ต์ในเรอ่ื งอ่นื ๆ การนาความรู้หรือแบบจาลองไปใช้อธิบายหรือประยุกต์ใช้กับเหตุการณ์หรือเร่ืองอ่ืน ๆ จะนาไปสู่ ข้อโต้แย้งหรือข้อจากัดซ่ึงจะก่อให้เป็นประเด็นหรือคาถาม หรือปัญหาท่ีจะต้องสารวจตรวจสอบต่อไป ทาให้เกิดเป้นกระบวนการที่ต่อเนื่องกันไปเร่ือย ๆ จึงเรียกว่า inquiry cycle กระบวนการสืบเสาะหา ความรู้จึงช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ท้ังเนื้อหาหลักและหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนการลงมือปฏิบัติ เพอ่ื ให้ได้ความร้ซู งึ่ จะเปน็ พ้ืนฐานในการเรียนรตู้ ่อไป การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ นอกจากจะใช้กระบวนการดังกล่าวแล้ว อาจใช้วิธีในการ สบื เสาะหาความรดู้ ว้ ยรูปแบบอ่นื ๆ อีก ดงั น้ี การคน้ หารูปแบบ (pattern seeking) โดยท่ีนักเรียนเร่ิมด้วยการสังเกตและบันทึกปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ หรือทาการสารวจ ตรวจสอบโดยท่ีไม่สามารถควบคุมตัวแปรได้ แล้วคิดหารูปแบบจากข้อมูล เช่น จากการสังเกตผลฝร่ังใน สวนจากหลายแหล่ง พบว่าฝรั่งที่ได้รับแสงจะมีขนาดโตกว่าผลฝรั่งที่ไม่ได้รับแสง นักเรียนก็สร้างรูปแบบ และสร้างความรู้ได้ การจาแนกประเภทและการระบุชื่อ (classification and identification) เป็นการจัดประเภทของวัตถุหรือเหตุการณ์เป็นกลุ่ม หรือการระบุช่ือวัตถุหรือเหตุการณ์ที่เป็น สมาชิกของกลุ่ม เช่น เราจะแบ่งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลงั เหล่าน้ีได้อย่างไร วัสดุใดนาไฟฟ้าได้ดีหรือไม่ดี สาร ตา่ ง ๆ เหล่านจ้ี าแนกอยู่ในกลมุ่ ใด การสารวจและค้นหา (exploring) เป็นการสังเกตวัตถุหรือเหตุการณ์ในรายละเอียด หรือทาการสังเกตต่อเน่ืองเป็นเวลานาน เช่น ไข่กบมีการพัฒนาการอย่างไร เมอ่ื ผสมของเหลวตา่ งชนดิ กันเข้าดว้ ยกนั จะเกิดอะไรขน้ึ

การพัฒนาระบบ (developing system) เป็นการออกแบบ ทดสอบและปรบั ปรงุ สิง่ ประดิษฐ์หรอื ระบบ - ท่านสามารถออกแบบสวิตช์ความดนั สาหรับวงจรเตอื นภยั ไดอ้ ย่างไร - ท่านสามารถสร้างเทคนิคหรอื หามวลแหง้ ของแอปเปิลไดอ้ ย่างไร การสรา้ งแบบจาลองเพื่อการสารวจตรวจสอบ (investigate models) เปน็ การสร้างแบบจาลองเพ่ืออธบิ าย เพอ่ื ใหเ้ หน็ ถึงการทางาน เช่น สรา้ งแบบจาลองระบบนิเวศ กระบวนการแกป้ ญั หา (problem solving process) การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มจี ดุ ม่งุ หมายประการหนง่ึ คือ เน้นใหน้ กั เรียนไดฝ้ ึกแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติอย่างมีระบบ ผลที่ได้จากการฝึกจะช่วยให้นักเรียนสามารถตัดสินใจ แกป้ ญั หาต่าง ๆ ด้วยวธิ ีการคิดอย่างสมเหตสุ มผล โดยใช้กระบวนการหรอื วิธีการ ความรู้ ทกั ษะตา่ ง ๆ และ ความเขา้ ใจในปญั หานน้ั มาประกอบกันเพื่อเปน็ ข้อมลู ในการแกป้ ญั หา เพื่อใหเ้ ขา้ ใจไดต้ รงกนั ถึงความหมายทแี่ ทจ้ ริงของปัญหา ไดม้ ีผู้ใหค้ วามหมายไว้ดังนี้ “ปัญหา” หมายถึง สถานการณ์ เหตุการณ์ หรือส่ิงท่ีพบแล้วไม่สามารถจะใช้วธิ ีการใดวิธกี ารหนึง่ แก้ปญั หาได้ทนั ที หรือเม่ือมปี ญั หาเกดิ ข้นึ แลว้ ไม่สามารถมองเหน็ แนวทางแก้ไขไดท้ นั ที “แบบฝึกหัด” หมายถึง สถานการณ์ เหตุการณ์ หรือสิ่งท่ีพบแล้วสามารถแก้ไขหรือเลือกวิธีแก้ไข ไดท้ นั ที หรอื มองเหน็ ไดช้ ัดเจนว่ามวี ิธแี กไ้ ขท่แี นน่ อน การแกไ้ ขปัญหาอาจทาได้หลายวิธี ทั้งนข้ี ้ึนอย่กู บั ลักษณะของปัญหา ความรแู้ ละประสบการณ์ของ ผ้แู ก้ปญั หานั้น กิจกรรมการคดิ และปฏิบตั ิ (Hands-on Mind-on Activities) นักการศึกษาวิทยาศาสตร์แนะนาให้ครูจัดกิจกรรมใหน้ ักเรียนได้คิดและลงมือปฏบิ ัติ เมื่อนักเรยี น ได้ลงมือปฏบิ ตั จิ ริง หรอื ได้ทาการทดลองต่าง ๆ ทางวทิ ยาศาสตร์ก็จะเกิดความคิดและคาถามที่หลากหลาย ตัวอย่างกิจกรรม ได้แก่ - นาแม่เหลก็ เขา้ ใกล้วสั ดุต่าง ๆ แลว้ สังเกตผลทเ่ี กดิ ขน้ึ - ใช้วัตถุต่าง ๆ ถูกับผ้าชนิดต่าง ๆ แล้วนามาแขวนไว้ใกล้กัน หรือนามาแตะชิ้นกระดาษ แล้วสงั เกตการเปลย่ี นแปลง - ต่อหลอดไฟฟ้าหลายหลอดกับถ่านไฟฉาย สังเกตและเปรียบเทียบผลที่เกิดข้ึนใช้กล้อง จลุ ทรรศนส์ อ่ งดเู นอ้ื เย่ือของส่งิ มชี ีวิต สงั เกตและเปรียบเทยี บเนอ้ื เยอ่ื ของสง่ิ มีชีวิตตา่ ง ๆ - เป่าลมหายใจลงไปในน้าปูนใส สงั เกตการเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ขึ้น เมื่อนักเรียนได้ทากิจกรรมลักษณะน้ีแล้ว จะทาให้สังเกตผลที่เกิดข้ึนด้วยตนเอง ซ่ึงเป็นข้อมูล ท่ีจะนาไปสู่การถามคาถาม การอธิบาย การอภิปราย หาข้อสรุปและการศึกษาต่อไป กิจกรรมลักษณะนี้ จึงส่งเสริมให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติและฝึกคิด นามาสู่การสร้างความรู้ด้วยตนเองด้วยความเข้าใจ และเปน็ การเรยี นร้อู ย่างมคี วามหมาย

การเรียนร้แู บบรว่ มมือร่วมใจ (Cooperative Learning) การเรียนร้แู บบรว่ มใจ เปน็ กระบวนการเรยี นรทู้ ส่ี ามารถนามาใช้ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ได้อย่างเหมาะสมวิธีหนึ่ง เน่ืองจากขณะน้ีนักเรียนทากิจกรรมร่วมกันในกลุ่ม นักเรียนจะได้มีโอกาส แลกเปล่ียนความรู้กับสมาชิกของกลุ่ม และการที่แต่ละคนมวี ัยใกล้เคียงกัน ทาให้สามารถสื่อสารกันได้เป็น อย่างดี แต่การเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจท่ีมีประสิทธิภาพน้ันต้องมีรูปแบบหรือมีการจัดระบบอย่างดี นักการศึกษาหลายท่านได้ทาการศึกษาค้นคว้าอย่างกว้างขวาง เพ่ือจะนามาใช้ในการเรียนการสอนวิชา ต่าง ๆ รวมทัง้ วิชาวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ดว้ ย

การพัฒนาความสามารถและทกั ษะที่สาคญั ของผูเ้ รยี นในการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับต่าง ๆ นั้น นอกจากมุ่งหวังให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้ ความเข้าใจในแนวความคิดหลักที่เกี่ยวข้องกับเน้ือหาในบทเรียนแล้ว ยังมุ่งหวังให้นักเรียนได้พัฒนา ความสามารถในการตัดสนิ ใจ พฒั นาความคดิ ช้นั สูงและพฒั นาทักษะการส่ือสารดว้ ย ความสามารถในการตัดสนิ ใจ (Decision Making) การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ครูควรจัดสถานการณ์ท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียนฝึกตัดสินใจ เช่น กิจกรรม การแก้ปัญหา การศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบ การสืบเสาะหาความรู้ หรืออาจจัดกิจกรรมการแสดงบทบาท สมมุติ โดยสร้างสถานการณ์ข้ึนเอง และเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมุติโดยเป็นผู้ท่ีเกี่ยวข้อง กับการตัดสินใจในเร่ืองที่สาคัญของบ้านเมือง เช่น การสร้างเขื่อน การสร้างโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ การแก้ปัญหาต่าง ๆท่ีเกิดข้ึนในโรงเรียนหรือชุมชน การตัดสินใจเก่ียวกับปัญหาบ้านเมืองนั้นจะต้อง อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลท่ีเช่ือถือได้อย่างมีเหตุผลและส่งผลดีต่อส่วนรวม เพื่อให้เกิดความปลอดภัย และการพัฒนาที่ย่ังยืน ท้ังนี้จะต้องพิจารณาทางเลือกท่ีดีที่สุด ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมน้อยที่สุด กอ่ ให้เกิดการพัฒนาท่ีย่ังยืนและคุณภาพชวี ติ ที่ดี การพฒั นาความคดิ ขัน้ สงู ( Higher- ordered Thinking ) การคิดข้ันสูงเปน็ ความสามารถทางสติปัญญาประการหนึ่งที่ต้องพัฒนาให้เกิดในขณะที่นักเรียนเข้ามา อยู่ในโรงเรียน เพ่ือเรียนรู้เน้ือหาและหลักการ รวมท้ังแนวคิดในวิชาต่าง ๆ ความคิดข้ันสูงประกอบด้วย ความคดิ ในด้านต่าง ๆ คือ ๑. ความคิดวิเคราะห์ คือความคิดท่ีเก่ียวข้องกับการจาแนก รวบรวมเป็นหมวดหมู่ รวมทั้ง การจัดประเด็นต่าง ๆ เช่น การจาแนกชนิดของหิน โดยพิจารณาลักษณะภายนอกเป็นเกณฑ์ การจาแนก ใบไมโ้ ดยพิจารณารปู ร่างของใบ ขอบใบ และเส้นใบเป็นเกณฑ์ ๒. ความคิดวิพากษ์วิจารณ์ คือความคิดเห็นต่อเรื่องใดเร่ืองหน่ึงท้ังในด้านบวกหรือลบอย่างมีเหตุผล โดยการใช้ข้อมลู ทม่ี ีอยู่อย่างเพยี งพอ เช่น ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีชีวภาพ ซึง่ เปน็ ประเดน็ ที่คนท่ัวโลกให้ ความสนใจ คือเรื่อง GMOs ผลการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวมีผลให้ส่ิงมีชีวิตไม่ว่าพืชหรือสัตว์ มีคุณสมบัติ เปลี่ยนแปลงไปจากพันธ์เุ ดิมและการเปล่ียนแปลงดงั กล่าวย่อมมผี ลต่อมนุษย์และส่งิ แวดล้อม ๓. ความคิดสร้างสรรค์ คือความคิดที่แปลกใหม่ ยืดหยุ่นและแตกต่างจากผู้อ่ืน เช่น ให้นักเรียนทา กิจกรรมคิดออกแบบประดิษฐ์อุปกรณ์กาเนิดเสียงแทนการใช้กระดิ่งไฟฟ้าหรือออดไฟฟ้า หรือออกแบบวงจร เตอื นภยั โดยใช้เซนเซอร์ความร้อน ๔. ความคิดอย่างมีเหตุมีผล คือความสามรถที่จะคิดในเชิงเหตุผลของเรื่องราวต่าง ๆ เช่น กิจกรรม การเรียนเรื่องการสร้างเขื่อน หรือการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมต่าง ๆ ซึ่งเป็นประเด็นโต้แย้งทางสังคมท่ีไม่อยู่ บนขอ้ มลู หรือประจักษ์พยานที่เปน็ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จึงควรให้นักเรียนได้ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา เป็นเหตุผลในการโต้แย้งหรือสนับสนุน ไม่ใช่ใช้ความรู้สึกหรือใช้อารมณ์ในการตัดสินว่าควรดาเนินการพัฒนา หรือไม่อย่างไร ๕. ความคิดเชิงวิทยาศาสตร์ คือความคิดที่ใช้ในการพิสูจน์และสารวจตรวจสอบหาข้อเท็จจริง เช่น ภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีเป็นเทคโนโลยีชาวบ้าน การดองผักด้วยน้าซาวข้าวหรือน้ามะพร้าว หรือการใส่พริกสดลง ในนา้ กะทเิ พอื่ กนั บูดได้ โดยท่วั ไปแล้วความคิดขน้ั สูงด้านต่าง ๆ เหล่านีจ้ ะไม่สามารถแยกออกจากกันไดช้ ัดเจน ต้องพฒั นาไป พร้อม ๆ กันและอาจรวมท้ังพัฒนาไปพร้อมกับความสามารถด้านอ่ืน ๆ ด้วยโดยไม่จาเป็นต้องเน้นว่าจะต้อง พัฒนาเร่ืองใดก่อนหรือหลัง การพัฒนาความคิดขั้นสูงน้ีจะทาได้มากในกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสืบ เสาะหาความรูแ้ ละกระบวนการแก้ปญั หา

การพัฒนาทักษะการสอ่ื สาร (Communication Skills) กระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ทักษะในการสื่อสาร หมายถึงการแสดความคิด หรือแลกเปลี่ยนความรู้ และแนวความคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ท่ีได้จากการทากิจกรรมหลากหลาย การสังเกต การทดลอง การอ่านหรืออ่ืน ๆ ซ่ึงแสดงออกในรูปแบบท่ีชัดเจนและมีเหตุผลด้วยการพูดหรือ การเขียน การพัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารความรู้และแนวความคิดทางวิทยาศาสตร์ เ ป็ น เ ป้ า ห ม า ย ส า คั ญ ป ร ะ ก า ร ห น่ึ ง ข อ ง ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ทุ ก ร ะ ดั บ ความสามารถในการส่อื สารเปน็ คณุ ลักษณะท่ตี ้องฝกึ ซ้า เพ่อื ใหเ้ กิดทักษะ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์ สามารถฝกึ ทกั ษะการส่ือสารได้ ดงั ต่อไปนี้ ๑. การเลา่ หรอื การเขยี นสรุปเร่ืองราวทางวิทยาศาสตร์ที่อา่ นจากหนังสือพิมพ์ วารสาร หนังสือ ต่าง ๆ จากการดูโทรทัศน์หรือการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต โดยมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้า แลว้ นามาเลา่ หรอื เขยี นใหผ้ ู้อนื่ รับรู้ เปน็ การฝึกทกั ษะในการส่อื สารทดี่ ีวิธหี นึ่ง กิจกรรมนีอ้ าจใช้เวลาคร้ังละ ๑๐ นาที กอ่ นท่ีจะมีการสอนตามปกติกไ็ ด้ ๒. การเขยี นบันทึกสรปุ การไปทศั นศึกษา หรือการศึกษาภาคสนาม ในโอกาสทน่ี ักเรียนกลับมา จากทัศนศึกษาหรือการศึกษาภาคสนามแล้วให้เขยี นรายงานสรุปถึงความรู้ ความคิดในบางเร่ืองท่ไี ด้รับจาก การไปทศั นศึกษาแตล่ ะครัง้ ๓. การจัดแสดงผลงาน ในกรณีที่นักเรียนทาโครงงานวิทยาศาสตร์หรือโครงการอื่น ๆ ควรกาหนดให้มีวนั ทีแ่ น่นอนเพือ่ จดั แสดงผลงานให้เพ่ือน ๆ ในชั้นหรอื ทัง้ โรงเรียนไดช้ มและถ้าเปน็ ไปได้ควร เชิญบุคคลในชมุ ชนมาชมดว้ ย ๔. การสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอรเ์ ป็นอปุ กรณ์ท่จี ะชว่ ยมนุษย์ในการทางาน ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยา วิทยาการคอมพิวเตอร์จึงเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่เป็นรากฐานสาคัญต่อ การพัฒนาความคิดและจิตนาการ อันจะนาไปสู่การแปลงรูปจากจินตนาการมาเป็นชิ้นงานสร้างสรรค์ท่ีมี ประโยชน์ปัจจุบันสิ่งประดิษฐ์มากมายล้วนแล้วแต่มีส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์เข้าไปร่วมด้วย ทาใหร้ ะบบการทางานตา่ ง ๆ ไดร้ บั การพฒั นาเข้าส่คู วามเปน็ อัตโนมตั มิ ากขน้ึ

ปัจจัยความสาเร็จในการจัดการเรยี นรู้ ๑. ผู้บริหาร เป็นผู้ที่มีความสาคัญท่ีสุดในการสนับสนุนให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุ เป้าหมาย ผู้บริหารต้องมีความรู้ความเข้าใจในปรัชญา กระบวนการเรียนรู้และธรรมชาติของการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพือ่ จะได้สนบั สนุน - งบประมาณในการจดั ซือ้ ส่อื ตา่ ง ๆ - อานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมทีต่ อ้ งใช้แหล่งเรียนรใู้ นท้องถน่ิ ภายนอกโรงเรียน - ชว่ ยเสนอแนะแหลง่ วิทยาการและแหล่งเรยี นรู้ - นเิ ทศ ติดตามผลการจัดการเรียนร้อู ยา่ งสม่าเสมอ - ให้กาลงั ใจทั้งครแู ละนักเรยี น ๒. ครูผู้สอน เป็นผู้ที่มีความสาคัญในการท่ีจะแปลมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ที่เป็นตัวหนังสือให้เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม น่าสนใจ และมีกระบวนการเรียนรู้หลากหลายวิธี อย่างอสิ ระ ครูผสู้ อนจาเปน็ ตอ้ ง - มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเป้าหมายของการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี - มคี วามเข้าใจเกย่ี วกับธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างดี รวมถึงรู้วิธีการ เรยี นรู้ มคี วามสามรถในการสบื เสาะหาความร้แู ละแกป้ ัญหา - มีความเข้าใจเกย่ี วกบั ตวั นกั เรยี น พร้อมท่จี ะเรยี นรู้เร่ืองราวใหม่ ๆ พรอ้ ม ๆ กบั นกั เรยี น - เปน็ ผู้ทม่ี คี วามสนใจใฝ่หาความร้อู ย่างสม่าเสมอและต่อเนอื่ ง เพือ่ นามาปรับปรุงพฒั นาตนเอง - มีความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ มีการใช้ส่ือการเรียน การสอนหลากหลายและสามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศได้ - มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มในอาชีพครใู นฐานะครวู ิชาชีพ - มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีท้ังกับเพ่ือนครูในโรงเรียนและชุมชน เพื่อจะหาความร่วมมือในการจัดการ เรยี นการสอน ๓. ผู้เรียน เป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งท่ีมีความสาคัญต่อการเรียนการสอน ผู้เรียนแต่ละคนมีความ แตกต่างกันทั้งบุคลิกภาพ สติปัญญา ความถนัด ความสนใจและความสมบูรณ์ของร่างกาย ผู้เรียนควรมี โอกาสรว่ มคิด ร่วมวางแผนในการจดั การเรยี นการสอน และมีโอกาสเลอื กวิธีเรียนได้อยา่ งหลากหลาย ตาม ความเหมาะสมภายใตก้ ารแนะนาของครผู สู้ อน ๔. สภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนการสอน ครูผู้สอนต้องมีวิธีการที่จะจัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศท่ีเอ้ืออานวยต่อการพัฒนาทางวิชาการ เช่น จัดห้องชวนคิด ห้องกิจกรรมวิทยาศาสตร์ จัดระบบนิเวศจาลอง จัดบริเวณโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยา ธรณีวิทยา ฯลฯ มีการดัดแปลง หอ้ งเรียนให้นักเรียนทากิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่สามารถมีปฏสิ มั พันธก์ นั ไดด้ ี และจดั กิจกรรมทีเ่ อื้อให้ผปู้ กครอง และชุมชนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการเรียนการสอนด้วย

การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะทราบว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่เพียงใด จาเป็นต้องมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ในอดีตการวัดและประเมินผลส่วนใหญ่ ให้ความสาคัญกับการใช้ข้อสอบซ่ึงไม่สามารถสนองเจตนารมณ์การ เรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียน คิด ลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการหลากหลาย เพ่ือสร้างองค์ความรู้ ดังน้ัน ผู้สอนต้องตระหนักวา่ การเรยี นการ สอนและการวดั ผลประเมินผลเปน็ กระบวนการเดียวกนั และจะตอ้ งวางแผนไปพรอ้ ม ๆ กนั แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผล การวัดและประเมินผลการเรียนรู้จะบรรลุผลตามเป้าหมายของการเรียนการสอนท่ีวางไว้ได้ ควรมแี นวดังต่อไปนี้ ๑. ต้องวัดและประเมินผลทั้งความรู้ความคิด ความสามรถ ทักษะและกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมในวทิ ยาศาสตร์ รวมท้งั โอกาสในการเรียนของผู้เรียน ๒. วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลต้องสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรทู้ ่กี าหนดไว้ ๓. ต้องเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินผลอย่างตรงไปตรงมา และต้องประเมินผลภายใต้ ขอ้ มูลทม่ี อี ยู่ ๔. ผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องนาไปสู่การแปลผลและลงข้อสรุป ท่สี มเหตสุ มผล ๕. การวัดและประเมินผลต้องมีความเท่ียงตรงและเป็นธรรม ทั้งในด้านของวิธีการวัดโอกาสของ การประเมิน จดุ มุ่งหมายของการวดั ผลและประเมินผล ๑. เพื่อวินิจฉัยความรู้ความสามารถ ทักษะและกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมของผู้เรียน และเพ่ือซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะได้เต็ม ตามศกั ยภาพ ๒. เพือ่ ใช้เปน็ ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั ใหแ้ กต่ วั ผ้เู รียนเองว่าบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรเู้ พียงใด ๓. เพอ่ื ใช้ขอ้ มูลในการสรุปผลการเรยี นรู้และเปรยี บเทียบถงึ ระดบั พัฒนาการของการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อกระบวนการเรียนการสอน วิธีการวัด และประเมินผลท่ีสามารถสะท้อนผลการเรียนรู้อย่างแท้จริงของผู้เรียนและครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้และ ผลการเรียนรทู้ งั้ ๓ ดา้ นตามท่ีกล่าวมาแลว้ จงึ ต้องวดั และประเมินผลจากสภาพจริง (Authentic assessment)

การวดั และประเมินผลจากสภาพจรงิ กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสารวจภาคสนาม กิจกรรมการสารวจ ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาค้นคว้า กิจกรรมศึกษาปัญหาพิเศษหรือโครงงานวิทยาศาสตร์ ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ในการทากิจกรรมเหล่านต้ี ้องคานึงว่าผู้เรียนแต่ละคนมีศักยภาพแตกต่างกัน ผูเ้ รียนแต่ละคน จึงอาจทางานชิ้นเดียวกันได้เสร็จในเวลาท่ีแตกต่างกัน และผลงานที่ได้ก็อาจแตกต่างกัน เม่ือผู้เรียนทา กิจกรรมเหลา่ น้ีแลว้ กจ็ ะต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ชนิ้ งาน บันทกึ และรวบถงึ ทักษะปฏบิ ตั ิต่าง ๆ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมท่ีผู้เรียนได้ทาและผลงาน เหล่าน้ีต้องใช้วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกัน เพ่ือช่วยให้สามารถประเมิ นความรู้ ความสามารถและความรู้สึกนึกคิดท่ีแท้จริงของผู้เรียนได้ การวัดและประเมินผลจากสภาพจริงจะมี ประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อมีการประเมินหลาย ๆ ด้าน หลากหลายวิธี ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีสอดคล้อง กับชีวิตจริง และต้องประเมินอย่างต่อเน่ือง เพ่ือจะได้ข้อมูลที่มากพอท่ีจะสะท้อนความสามารถที่แท้จริง ของผเู้ รียนได้ ลกั ษณะสาคัญของการวดั และประเมนิ ผลจากสภาพจรงิ ๑. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริง มีลักษณะท่ีสาคัญคือ ใช้วิธีการประเมินกระบวนการ ที่ซับซอ้ น ความสามารถในการปฏบิ ัติงาน ศักยภาพของเรยี นในด้านของผูผ้ ลติ และกระบวนการที่ได้ผลผลิต มากกว่าทจ่ี ะประเมินวา่ ผ้เู รียนสามารถจดจาความรอู้ ะไรไดบ้ า้ ง ๒. เป็นการประเมินความสามารถของผู้เรียน เพื่อวินิจฉัยผู้เรียนในส่วนท่ีควรส่งเสริมและส่วนที่ ควรจะแก้ไขปรับปรุง เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพตามความสามารถ ความสนใจ และความต้องการของแตล่ ะบคุ คล ๓. เป็นการประเมินที่เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนได้มีส่วนร่วมประเมินผลงานของทั้งตนเองและของเพื่อน รว่ มห้อง เพ่ือส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รียนรจู้ กั ตัวเอง เช่อื มน่ั ในตนเอง สามารถพัฒนาตนเองได้ ๔. ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินจะสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการเรียนการสอนและการวางแผน การสอนของผู้สอนว่าสามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจและความต้องการของผู้เรียน แต่ละบุคคลได้หรือไม่ ๕. ประเมินความสามารถของผเู้ รียนในการถา่ ยโอนการเรียนรูไ้ ปสูช่ วี ติ จรงิ ได้ ๖. ประเมนิ ดา้ นต่าง ๆ ด้วยวธิ ีทีห่ ลากหลายในสถานการณต์ ่าง ๆ อยา่ งต่อเนอ่ื ง วธิ ีการและแหลง่ ข้อมูลทใี่ ช้ เพื่อให้การวัดและประเมินผลได้สะท้อนความสามารถท่ีแท้จริงของผู้เรียน ผลการประเมิน อาจจะได้มาจากแหลง่ ขอ้ มูลและวธิ กี ารต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. สังเกตการแสดงออกเปน็ รายบคุ คลหรือรายกล่มุ ๒. ชนิ้ งาน ผลงาน รายงาน ๓. การสมั ภาษณ์ ๔. บันทกึ ของผู้เรยี น ๕. การประชุมปรึกษาหารือรว่ มกันระหว่างผเู้ รียนและครู ๖. การวัดและประเมนิ ผลภาคปฏิบัติ ๗. การวดั และประเมนิ ผลดา้ นความสามารถ ๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรโู้ ดยแฟ้มผลงาน

การวัดและประเมินผลด้านความสามารถ (Performance Assessment) ความสามารถของผู้เรียนประเมินได้จากการแสดงออกโดยตรงจากการทางานต่าง ๆ เป็นสถานการณ์ ท่กี าหนดให้ ซึ่งเป็นของจริงหรือใกล้เคียงกับสภาพจริง และเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้แกป้ ัญหาหรือปฏิบัติงานได้ จริง โดยประเมนิ จากกระบวนการทางาน กระบวนการคดิ โดยเฉพาะความคดิ ขน้ั สงู และผลงานท่ีได้ ลักษณะสาคัญของการประเมินความสามารถ คือ กาหนดวัตถุประสงค์ของงาน วิธีการทางาน ผลสาเร็จของงาน มีคาสั่งควบคุมสถานการณ์ในการปฏิบัติงาน และมีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน การประเมินความสามารถท่ีแสดงออกของผู้เรียนทาได้หลายแนวทางต่าง ๆ กัน ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม สภาวการณ์ และความสนใจของผู้เรยี น ดังตวั อย่างต่อไปนี้ ๑. มอบหมายงานให้ทา งานท่ีมอบใหท้ าต้องมีความหมาย มีความสาคัญ มีความสมั พันธ์กับ หลักสูตร เนือ้ หาวชิ า และชีวิตจรงิ ของผู้เรยี น ผู้เรียนต้องใช้ความรหู้ ลายดา้ นในการปฏิบตั ิงานที่สามารถ สะทอ้ นให้เหน็ ถึงกระบวนการทางาน และการใช้ความคิดอย่างลึกซึ้ง ๒. การกาหนดช้ินงาน หรืออุปกรณ์ หรือสงิ่ ประดิษฐ์ใหผ้ ูเ้ รียนวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบและ กระบวนการทางาน และเสนอแนวทางเพื่อพฒั นาให้มีประสทิ ธภิ าพดขี ้ึน ๓. กาหนดตวั อย่างชิน้ งานให้ แล้วใหผ้ เู้ รยี นศึกษาชิน้ งานนนั้ และสรา้ งช้ินงานทม่ี ลี ักษณะของการ ทางานได้เหมอื นหรือดีกวา่ เดิม ๔. สร้างสถานการณจ์ าลองท่ีสัมพนั ธก์ บั ชีวติ จริงของผเู้ รยี น โดยกาหนดสถานการณ์แล้วใหผ้ ู้เรียน ลงมอื ปฏบิ ตั เิ พอื่ แก้ปญั หา การประเมินผลการเรียนรโู้ ดยใช้แฟ้มผลงาน (Portfolio Assessment) แฟ้มผลงาน คืออะไร เมื่อผู้เรียนทากิจกรรมต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ทั้งในห้องเรียน หรอื นอกห้องเรยี นก็ตาม กจ็ ะมีผลงานท่ีไดจ้ ากการทากิจกรรมเหล่าน้ันปรากฏอยู่เสมอ ซ่ึงสามารถจาแนก ผลงานออกตามกจิ กรรมต่าง ๆ ดงั นี้ ๑. การฟงั บรรยาย เมอ่ื ผ้เู รยี นฟังการบรรยายกจ็ ะมีสมุดจดคาบรรยาย ซงึ่ อาจอยู่ในรูปของบันทึก อย่างละเอียดหรือบันทึกแบบย่อ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับลักษณะของความชอบและความเคยชินของผู้เรียน ในการบนั ทึกคาบรรยาย ๒. การทาการทดลอง ผลงานของผู้เรียนที่เก่ียวข้องกับการทดลอง อาจประกอบด้วย การวางแผนการทดลองทั้งในรูปของบันทึกอย่างเป็นระบบหรือบันทึกอย่างย่อ การบันทึกวิธีการทดลอง ผลการทดลองและปัญหาท่ีพบขณะทาการทดลอง การแปรผล สรุปผลและอภิปรายผลการทดลอง และผลงานสุดท้ายที่เก่ียวข้องกับการทดลอง คือ การรายงานผลการทดลองที่ผู้เรียนอาจทาเป็นกลุ่ม หรอื เดยี่ วกไ็ ด้ ๓. การอภิปราย ผลงานของผู้เรียนท่ีเก่ียวข้องกับการอภิปราย คือ วางหัวข้อและข้อมูล ทีจ่ ะนามาใชใ้ นการอภิปราย ผลที่ไดจ้ ากการอภปิ รายรวมท้งั ขอ้ สรปุ ตา่ ง ๆ ๔. การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม จัดเป็นผลงานที่สาคัญประการหนึ่งของผู้เรียนที่เกิดจากการได้รับ มอบหมายจากครูผู้สอนให้ไปค้นควา้ หาความรู้ในเร่ืองตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ งกับหัวข้อหรือประเด็นท่ีกาลังศึกษา ผลงานที่ได้จากการค้นคว้าเพ่ิมเติมอาจอยู่ในรูปของรายงาน การทาวิจัยเชิงเอกสารหรือบันทึกประเด็น สาคญั ซึง่ อาจนามาใช้ประกอบการอภปิ รายในช่วั โมงเรียนกไ็ ด้

๕. การศึกษานอกสถานที่ การศึกษานอกสถานท่จี ัดเป็นวธิ กี ารทเี่ ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ ตรงกับเรื่องท่ีกาลังศึกษา ผลงานที่ได้อาจประกอบด้วยการบันทึกการสังเกต การตอบคาถามหรือปัญหา จากใบงาน การเขยี นรายงานสิ่งท่ีค้นพบ ๖. การบันทึกรายวัน เป็นผลงานประการหน่ึงของผู้เรียนท่ีอยู่นอกเหนือจากผลงานท่ีแสดงถึง การเรียนรู้โดยตรง แต่จะช่วยให้ผู้เรียนหรือผู้ประเมินได้เข้าใจในประเด็นหรือส่ิงท่ีผู้เรียนนึกคิดเกี่ยวกับ การเรยี นการสอนวิทยาศาสตรด์ ้วย นอกจากกิจกรรมที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังอาจมีกิจกรรมอื่น ๆ ที่เก่ียวข้องกับการเรียนการสอน ซ่ึงผู้เรียนสามารถแสดงออกถึงความสามรถอ่ืน ๆ อีกด้วย เช่น การส่ือสาร ผลงานเหล่านี้ถ้าได้รับการเกบ็ รวบรวมอย่างมีระบบด้วยตัวผู้เรียนเองตามช่วงเวลา ทั้งก่อนและหลังทากิจกรรมเหล่านี้ โดยได้รับ คาแนะนาจากครูผู้สอน และผู้เรียนฝึกทาจนเคยชินแล้ว จะถือเป็นผลงานท่ีสาคัญยิ่งที่ใช้ในการประเมินผล การเรยี นรใู้ นกลมุ่ วทิ ยาศาสตร์ของผู้เรยี นตอ่ ไป

การพัฒนาสือ่ การเรียนรู้ ๑. บทบาทสาคญั ของส่ือต่อการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เน้นให้เกิดการเรียนรู้ ได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ีและต้องจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนตลอดเวลา ส่ือการเรียนการสอน จึงมีบทบาทสาคญั ยิง่ อีกประการหน่ึงต่อการจัดการเรียนการสอนให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้โดยเน้นให้ใชจ้ ากสื่อ ใกล้ตัวที่มีอยู่ในท้องถิ่นเป็นสาคัญ และสังคมโลกปัจจุบันเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ท่ีโลกไร้พรมแดน การใช้ส่ือประเภทเทคโนโลยสี ารสนเทศจึงมบี ทบาทขนึ้ ดว้ ย ๒. ประเภทของสื่อการเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอนมีความหลากหลายประเภท ทั้งท่ีเป็นสื่อของจริง ส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และส่ือมัลติมีเดีย สื่อการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพจะช่วยส่งเสริมกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด ความสนใจ ติดตามบทเรียนและสร้างความรู้ความเข้าใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่ือการเรียนการสอนวิชา วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ส่ี าคัญ ประกอบดว้ ย ๑. อุปกรณ์การทดลอง ซ่ึงมีท้ังอุปกรณ์วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เช่น กล้องจุลทรรศน์ เครื่องช่ัง มัลติมเิ ตอร์ เครื่องแก้วและอปุ กรณ์เฉพาะท่ีใช้ประกอบการทดลองบางการทดลอง ๒. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือเรียน หนังสืออ่านประกอบ แผ่นภาพ แผนภาพ โปสเตอร์ วารสาร จลุ สาร นิตยสาร หนังสือพมิ พ์รายวนั รายสัปดาห์ สงิ่ เหล่านี้จะมเี ร่ืองราวท่ีน่าสนใจท้ังที่เกย่ี วกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทั้งทางตรงและทางออ้ ม ๓. ส่อื โสตทัศนูปกรณ์ ไดแ้ ก่ แผน่ ภาพโปรง่ ใส วีดที ศั น์ สไลด์ เทป ๔. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ส่ือประเภท CAI CD- ROM โครงข่ายอินเทอร์เน็ต รวมท้ังอุปกรณ์ ทดลองที่ใช้รว่ มกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ๕. สารเคมีและวัสดสุ ้นิ เปลือง ๖. อปุ กรณ์ของจรงิ ไดแ้ ก่ ตัวอยา่ งสง่ิ มชี วี ิต ตัวอย่างหนิ แร่และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เน่ืองจากมีส่ืออยู่หลากหลายดังได้กล่าวแล้ว ครูผู้สอนจาเป็นต้องมีความรู้และสามารถ ในการวิเคราะห์ วินิจฉัยและตัดสินใจเลือกใช้ส่ือได้อย่างเหมาะสม คุ้มค่า และประหยัด ท้ังน้ีครูผู้สอน อาจจัดทาหรือจัดหาวัสดุทดแทนในท้องถิ่นเพ่ือใช้แทนสื่อราคาแพง หรือใช้ส่ือเพ่ือช่วยประหยัดเวลา ในการศึกษา หรือใช้ส่ือแทนกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีอาจเกิดอันตราย เช่น การทดลองที่มีการระเบิด อย่างรนุ แรง ๓. การพัฒนาสอื่ การเรียนรู้ หน้าท่หี ลักประการหน่ึงของครูผ้สู อน คอื การพัฒนาและการใชส้ ่อื การเรียนการสอน ซงึ่ จะตอ้ งวางแผน จัดทาและจดั หาสื่อพร้อม ๆ กับการเตรยี มแผนการเรียนรู้ แนวทางในการพัฒนาสื่อควรคานงึ ถึงสิ่งต่อไปน้ี ๑. วิเคราะหเ์ นอื้ หาและกิจกรรมภายใต้กรอบมาตรฐานการเรยี นร้แู ละสาระการเรียนรู้ ๒. วิเคราะห์กิจกรรมการเรียนรู้ว่าแต่ละกิจกรรมควรใช้สื่อประกอบหรือไม่ และควรเป็นส่ือ ประเภทใด ถ้าเปน็ ไปไดต้ ้องให้ใชส้ อื่ ที่เป็นของจริงหรือมอี ยตู่ ามธรรมชาตใิ ห้มากทีส่ ดุ ๓. เมื่อเลือกชนิดของสื่อที่จะใช้แล้ว ก็พิจารณาคุณภาพของส่ือที่จะนามาใช้เพื่อให้สอ่ื นั้นทาหน้าที่ ได้อย่างคุ้มค่า กล่าวคือ เป็นสิ่งที่ดึงดูดความสนใจของนักเรียน สอนให้เข้าในเน้ือหาท่ีจะเรียนได้อย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว ถ้าเป็นอุปกรณ์การทดลองก็ต้องตรวจสอบว่าอุปกรณ์ดังกล่าวทางานได้ตรงตาม วตั ถุประสงค์

๔. ในกรณีของส่ือประเภทเอกสาร อาจพฒั นาในรปู ของชุดกิจกรรม โดย - กาหนดวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ให้ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการเจตคติ คา่ นยิ มและคุณธรรม ทงั้ นภี้ ายใตก้ รอบมาตรฐานทก่ี าหนดไว้ - ออกแบบกิจกรรม โดยศึกษาค้นคว้าจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งเอกสารภายในประเทศ และต่างประเทศ (ถ้ามี) เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนากิจกรรม โดยต้องคานึงส่ิงสาคัญ คือ นักเรียนต้อง เปน็ ผ้ลู งมือปฏิบตั ิเอง หรือเป็นกจิ กรรมท่สี ะทอ้ นให้เห็นว่าผู้เรียนสาคญั ทีส่ ุด - การสอนท่ีเป็นเน้ือหาสาระ ครูจะต้องศึกษาค้นคว้าจากส่ืออื่น ๆ โดยไม่ยึดตาราหรือหนังสือ เล่มใดเล่มหนึ่งเพียงเล่มเดียว แล้วแนะนาให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้าบันทึกสรุป หรือในกรณีท่ีนักเรียน มีความพร้อมกอ็ าจแนะนาใหค้ ้นหาทางอินเทอรเ์ น็ต - กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีนักเรียนต้องปฏิบัติ ควรออกแบบเป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียน มีอสิ ระในการคดิ แก้ปัญหา หรือคดิ พัฒนาช้นิ งานหรือผลติ ภณั ฑ์ต่าง ๆ ดว้ ยความคิดของนกั เรียนเอง - การออกแบบกิจกรรม ต้องคานึงถึงการให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่มแบบ Cooperative อยา่ งแท้จริง กล่าวคอื ทุกคนมีบทบาทสาคัญเท่าเทยี มกันในกลุ่มและต้องเป็นกจิ กรรมที่นักเรียนทุกคนในกลุ่ม ได้แสดงออกถึงความสามารถตนเองอย่างเต็มที่ ไมใ่ ห้คนใดคนหน่ึงมีอิทธพิ ลต่อกลุ่มหรือไม่รว่ มมือกับกลุ่ม - กิจกรรมการเรียน ควรบูรณาการวชิ าอ่ืน ๆ ด้วย เช่น ภาษา ศลิ ปะ สงั คม และอน่ื ๆ ๕. ในกรณีของอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบการทากิจกรรมซึ่งไม่ใช่เป็นอุปกรณ์สาเร็จรูป แต่จาเป็นต้องพัฒนาข้ึนใช้เอง ก็ควรขอความร่วมมือกับครูฝ่ายอื่น ๆ โดยเฉพาะครูช่าง เพื่อช่วยในการพัฒนา อุปกรณ์ได้สาเร็จตามต้องการ หรืออาจให้นักเรียนได้มีส่วนช่วยกันสร้างอุปกรณ์ด้วยก็จะเป็นการดีมาก ทั้งนคี้ วรเลอื กใช้วสั ดทุ ี่หาง่ายในท้องถิ่น ราคาไม่แพง ๖. ควรมีการร่วมมือกันเป็นเครือข่ายระหว่างครูในท้องถิ่น เพ่ือแลกเปลี่ยนส่ือการเรียนการสอนกัน กจ็ ะเป็นการประหยัดเวลาและใชท้ รัพยากรอยา่ งคุ้มค่า ๗. ควรสารวจแหล่งส่ือในท้องถ่ินอย่างสม่าเสมอ ทั้งนี้ไม่จาเป็นต้องเป็นแหล่งอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ อาจเป็นร้านของเล่นในตลาดหรือในห้างสรรพสินค้าก็ได้ ถ้าครูสามารถพิจารณา วิเคราะห์และเลือกใช้ อย่างเหมาะสม กจ็ ะเกดิ คุณค่าต่อการเรยี นรู้ได้ ๘. การพัฒนาหรือการใช้สื่อการเรียนรู้ จะต้องวิเคราะห์ไปกับการประเมินผลการใช้งาน เพื่อนามา เป็นข้อมูลในการแก้ไขปรับปรุงหรอื เปลีย่ นไปใช้สอื่ ประเภทอ่ืนแทน

แหล่งการเรยี นรู้ แหล่งการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ต้องส่งเสริมและสนับสนุนผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ ได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี และเรียนรู้ต่อเน่ืองตลอดชีวิตจากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย แหล่งเรียนรู้สาหรับ วิชาวิทยาศาสตร์ไมไ่ ดจ้ ากัดอยู่เฉพาะในห้องเรียน ห้องปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน หรอื จากหนังสือ เรยี นเทา่ น้ัน แตจ่ ะรวมถึงแหลง่ เรียนรูห้ ลากหลาย ท้ังในโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น ดังน้ี - ส่อื สง่ิ พิมพ์ เช่น หนงั สอื เรยี น หนังสืออา้ งอิง หนังสืออ่านประกอบ หนงั สอื พมิ พ์ วารสาร ฯลฯ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ มัลตมิ ีเดีย CAI วดี ิทศั น์ และรายการวทิ ยาศาสตรท์ ี่ผา่ นสื่อวิทยโุ ทรทศั น์ CD- ROM อินเทอรเ์ นต็ - แหลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรียน เชน่ ห้องกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ สวนพฤกษศาสตร์ สวนธรณีในโรงเรียน หอ้ งสมุด - แหล่งเรยี นรูใ้ นทอ้ งถ่นิ เช่น อุทยานแห่งชาติ สวนพฤกษศาสตร์ สวนสตั ว์ พิพธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตร์ โรงงานอตุ สาหกรรม หน่วยงานวจิ ัยในท้องถ่นิ - แหล่งเรยี นรูท้ ี่เป็นบุคคล เชน่ ปราชญ์ทอ้ งถิน่ ผ้นู าชุมชน ครู อาจารย์นักวทิ ยาศาสตร์ นักวิจัย ท้ังนี้ ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนควรจะพิจารณาใช้แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ใหส้ อดคล้องกับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ และคานงึ ถงึ ประโยชนส์ ูงสุดที่ผู้เรียนจะไดร้ ับการพัฒนาท้ังด้าน ความรู้ ความคิด ทักษะ กระบวนการ เจตคติ คุณธรรมและค่านิยม จากแหล่งเรียนรู้เหล่าน้ัน อันจะส่งผลให้ ผูเ้ รียนได้รับการพฒั นาเต็มตามศักยภาพ

อภธิ านศพั ท์