Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรวิทยาศาสตร์-โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์-ปีการศึกษา-2565 (1)

หลักสูตรวิทยาศาสตร์-โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์-ปีการศึกษา-2565 (1)

Published by นายมนตรี นาคีย์, 2022-05-21 03:35:43

Description: หลักสูตรวิทยาศาสตร์-โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์-ปีการศึกษา-2565 (1)

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทงุ่ โพธ์ิ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ประกาศโรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ เรือ่ ง ใหใ้ ช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรบั ปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ************************************* เพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ของโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ สนองนโยบาย คุณธรรมนาความรู้ ตอบสนองความต้องการ ของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่นและสังคม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ -๒๕๗๙ นโยบายรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ และหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ได้ดาเนินการเพื่อให้เป็นไปตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เร่ือง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรือ่ ง ให้ใช้มาตรฐาน การเรียนรู้ และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ เร่ือง ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียน บา้ นทุ่งโพธ์ิ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) เง่ือนไขและระยะเวลาการใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ัด กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ให้เปน็ ไป ดังนี้ ๑. ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ให้ใช้ในช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔ ๒. ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ใหใ้ ชใ้ นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑,๒,๔ และ ๕ ๓. ตงั้ แต่ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ เปน็ ตน้ ไป ให้ใชใ้ นทกุ ชั้นเรยี น ท้ังน้ี หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ ในคราวประชุมคร้ังที่ 3 เม่ือวันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงประกาศให้ใช้ ตัง้ แตบ่ ัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (ลงชื่อ) (ลงชอื่ ) (นายวรสิทธ์ิ พรหมพนิ จิ ) (นายสัญญา วฒั นาเนตร) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ โรงเรยี นบา้ นทุ่งโพธิ์

คานา จากการที่กระทรวงศึกษาธิการมีคาส่ัง ที่ สพฐ. 1239/๒๕60 เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสอดคล้องกับสภาพความเปล่ียนแปลง ทางเศรษฐกิจสังคม และเสริมสร้างศักยภาพคนของชาติให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้อง กบั ประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษท่ี 21 และทดั เทียมกบั นานาชาติ ผ้เู รียนมีศักยภาพในการแข่งขันและ ดารงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และอาศัยอานาจตาม ความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แทนมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ จึงได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเอกสารประกอบหลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ข้ึน เพ่ือใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน และเพ่ือให้ กระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังร่วมกันรับผิดชอบและทางานงาน ร่วมกนั อย่างเปน็ ระบบ โดยจัดทาและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดในหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้งเจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษา ต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ฉบับนีส้ าเร็จลงไดด้ ้วยคาแนะนาเปน็ อย่างดี ยิ่งจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ ผู้อานวยการ สถานศึกษา และวิทยากรจากสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ คณะครูและ บุคลากรทางการศึกษา ตลอดทั้งชุมชนผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ที่ได้อานวยความสะดวกตลอดทั้งให้ ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการจัดทาหลักสูตรจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี โรงเรียนขอขอบคุณทุกท่าน เปน็ อยา่ งสงู มา ณ โอกาสนี้ โรงเรียนบา้ นทุ่งโพธิ์ 1 มถิ นุ ายน ๒๕64

สารบญั หนา้ เรอ่ื ง สว่ นที่ ๑ บทนา วสิ ยั ทศั น์ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สว่ นท่ี ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ คณุ ภาพผู้เรียน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ส่วนท่ี ๓ คาอธบิ ายรายวิชา รายวชิ าพืน้ ฐาน ระดบั ประถมศึกษา รายวิชาพื้นฐาน ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น สว่ นท่ี ๔ โครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ าพื้นฐาน ระดบั ประถมศึกษา รายวิชาพ้นื ฐาน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ส่วนท่ี ๕ การจดั การเรยี นรู้ และการวัดและประเมินผล แนวทางการจดั การเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ การพฒั นาสื่อและแหลง่ การเรียนรู้ อภธิ านศัพท์ คณะทางาน

ส่วนท่ี ๑ บทนา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕6๓) เป็นแผนหรือแนวทาง หรือข้อกาหนดของ การจัดการศึกษาของโรงเรียนที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานที่กาหนด มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และ ประกอบอาชีพโดยมุ่งหวงั ให้มีความสมบรู ณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกท้ังมีความรู้และทักษะ ที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิต และมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล เพื่อการแข่งขันในยุคปัจจุบัน ดังนั้ น หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕6๓) จึงประกอบด้วย สาระสาคัญของหลักสูตร แกนกลาง สาระความรูท้ ่เี กย่ี วขอ้ งกับชมุ ชนท้องถน่ิ และสาระสาคญั ทีส่ ถานศกึ ษาพัฒนาเพ่มิ เติม โดยจัดเป็น สาระการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้รายวิชาเพ่ิมเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายปีในระดับประถมศึกษา เป็นรายภาคในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ กาห น ดคุณลั กษณะอัน พึงปร ะส งค์ของส ถาน ศึกษาตามคุณลักษ ณะอัน พึงประส งค์ของหลั กสูตรแกน การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านทุง่ โพธ์ิ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕6๓) มีความสาคัญในการพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้เป็นแนวทางให้ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในการจัดมวล ประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้พัฒนาให้บรรลุถึงคุณภาพตามมาตรฐานในการพัฒนาเยาวชนของชาติ นอกเหนอื จากการใช้เปน็ แนวทาง หรอื ขอ้ กาหนดในการจดั การศึกษาของสถานศึกษาให้บรรลุตามจุดหมาย ของการจัดการศึกษาแล้วหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕6๓) ท่ีพัฒนาข้ึนยังเป็น หลักสูตรท่ีมีจุดมุ่งหมายให้ครอบครัวชุมชน องค์กรในท้องถิ่น ท้ังภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมจัดการศึกษา ของสถานศกึ ษา โดยมแี นวทางสาคญั ทสี่ ถานศกึ ษากาหนด ในการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ คือ มุ่งเนน้ ให้ผเู้ รียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากทส่ี ุด เพอ่ื ให้ ได้ทั้งกระบวนการและความรู้ จากวิธีการสังเกต การสารวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนาผลท่ีได้มา จดั ระบบเป็นหลักการ แนวคิด และองค์ความรู้ วิสยั ทัศน์ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓) มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลท่ีหลากหลายและมีประจักษ์ พยานทตี่ รวจสอบได้ นาความรูไ้ ปใชอ้ ย่างมเี หตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซึ่งการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดน้ันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็น ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอ่ รองเพ่อื ขจัดและลดปญั หาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลกั เหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสอื่ สาร ท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบท่มี ตี อ่ ตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมี วิจารณญาณ การคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจเก่ียวกับ ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม บน พ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการ ตดั สนิ ใจท่ีมปี ระสิทธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและส่งิ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ ด้วยตนเอง การเรยี นรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพันธ์ อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันต่อการ เปลีย่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลยี่ งพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ทสี่ ่งผลกระทบต่อ ตนเองและผ้อู ืน่ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยีตา่ ง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสมและมีคุณธรรม

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้ สามารถอยรู่ ่วมกับบคุ คลอน่ื ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซอ่ื สัตย์สุจริต ๓. มวี นิ ยั ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อย่อู ย่างพอเพยี ง ๖. มุ่งมนั่ ในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจติ สาธารณะ

โครงสรา้ งเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนไว้ ดังน้ี กล่มุ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 200 200 200 160 160 160 60 60 60 120 120 120 - วทิ ยาศาสตร์ 40 40 40 80 80 80 - วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี 20 20 20 40 40 40 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (80) (80) (80) (120) (120) (120) ประวตั ศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม หนา้ ท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และ การดาเนินชีวติ ในสังคม 40 40 40 80 80 80 เศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80 ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80 การงานอาชีพ 40 40 40 80 80 80 ภาษาตา่ งประเทศ 200 200 200 80 80 80 รวมเวลาเรยี น(พน้ื ฐาน) 860 860 860 880 880 880 รายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเตมิ 80 80 80 80 80 80 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 กจิ กรรมนกั เรียน - ลูกเสือ ยุวกาชาด 40 40 40 40 40 40 - ชมรม ชมุ นมุ 30 30 30 30 30 30 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและ 10 10 10 10 10 10 สาธารณประโยชน์ 120 120 120 120 120 120 รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น 1,060 ชวั่ โมง 1,080 ชวั่ โมง รวมเวลาเรยี น

หมายเหตุ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ปลี ะ ๑๒๐ ชว่ั โมง แบ่งเป็น ๓ ลักษณะ ดงั นี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว ปีละ ๔๐ ชว่ั โมง ๒. กิจกรรมนักเรียน ๒.๑ กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ปีละ ๔๐ ชวั่ โมง ๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม ชมรม ปลี ะ ๔๐ ช่วั โมง ๓. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชนจ์ ัดโดยใช้เวลานอกชนั้ เรยี น หรือบูรณาการกบั กจิ กรรมชมรม/ชุมนุมในช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑- ๖ ปลี ะ ๑๐ ชว่ั โมง (ครทู ี่รบั ผดิ ชอบชมรม/ชมุ นมุ นา นักเรียนไปทากจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์)

โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นบ้านทุ่งโพธ์ิ (ฉบับปรบั ปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ช.ม./ป)ี 860 รายวชิ าพน้ื ฐาน 200 200 ท11101 ภาษาไทย 60 40 ค11101 คณิตศาสตร์ 40 40 ว11101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40 40 ส11101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 200 ส11102 ประวัติศาสตร์ 40 พ11101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 120 ศ11101 ศิลปะ 40 ง11101 การงานอาชีพ 40 30 อ11101 ภาษาองั กฤษ 10 1,060 รายวชิ า/กิจกรรมเพ่ิมเตมิ ส 11231 หน้าที่พลเมอื ง ส 11232 การป้องกันการทุจรติ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน  กิจกรรมแนะแนว  กิจกรรมนกั เรยี น - ลกู เสอื เนตรนารี - ชุมนุม ชมรม  กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทงั้ สิ้น

โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นบ้านทุ่งโพธ์ิ (ฉบับปรบั ปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๒ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ช.ม./ป)ี 860 รายวชิ าพน้ื ฐาน 200 200 ท12101 ภาษาไทย 60 40 ค12101 คณิตศาสตร์ 40 40 ว12101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40 40 ส12101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 200 ส12102 ประวัติศาสตร์ 40 พ12101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 120 ศ12101 ศิลปะ 40 ง12101 การงานอาชีพ 40 30 อ12101 ภาษาองั กฤษ 10 1,060 รายวชิ า/กิจกรรมเพ่ิมเตมิ ส 12231 หน้าที่พลเมอื ง ส 12232 การป้องกันการทุจรติ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน  กิจกรรมแนะแนว  กิจกรรมนกั เรยี น - ลกู เสอื เนตรนารี - ชุมนุม ชมรม  กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทงั้ สิ้น

โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นบ้านทุ่งโพธ์ิ (ฉบับปรบั ปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ช.ม./ป)ี 860 รายวชิ าพน้ื ฐาน 200 200 ท13101 ภาษาไทย 60 40 ค13101 คณิตศาสตร์ 40 40 ว13101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40 40 ส13101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 200 ส13102 ประวัติศาสตร์ 40 พ13101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 120 ศ13101 ศิลปะ 40 ง13101 การงานอาชีพ 40 30 อ13101 ภาษาองั กฤษ 10 1,060 รายวชิ า/กิจกรรมเพ่ิมเตมิ ส 13231 หน้าที่พลเมอื ง ส 13232 การป้องกันการทุจรติ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน  กิจกรรมแนะแนว  กิจกรรมนกั เรยี น - ลกู เสอื เนตรนารี - ชุมนุม ชมรม  กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทงั้ สิ้น

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นบ้านทงุ่ โพธิ์ (ฉบบั ปรบั ปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ช.ม./ปี) 880 รายวิชาพื้นฐาน 160 160 ท14101 ภาษาไทย 120 80 ค14101 คณติ ศาสตร์ 40 80 ว14101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 80 ส14101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ส14102 ประวัติศาสตร์ 40 พ14101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 120 ศ14101 ศิลปะ 40 ง14101 การงานอาชีพ 40 30 อ14101 ภาษาอังกฤษ 10 1,080 รายวิชา/กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ ส 14231 หน้าท่ีพลเมือง ส 14232 การป้องกนั การทุจรติ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น  กจิ กรรมแนะแนว  กจิ กรรมนักเรยี น - ลกู เสือ เนตรนารี - ชุมนุม ชมรม  กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนท้งั สิ้น

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นบ้านทงุ่ โพธิ์ (ฉบบั ปรบั ปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ช.ม./ปี) 880 รายวิชาพื้นฐาน 160 160 ท15101 ภาษาไทย 120 80 ค15101 คณติ ศาสตร์ 40 80 ว15101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 80 ส15101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ส15102 ประวัติศาสตร์ 40 พ15101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 120 ศ15101 ศิลปะ 40 ง15101 การงานอาชีพ 40 30 อ15101 ภาษาอังกฤษ 10 1,080 รายวิชา/กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ ส 15231 หน้าท่ีพลเมือง ส 15232 การป้องกนั การทุจรติ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น  กจิ กรรมแนะแนว  กจิ กรรมนักเรยี น - ลกู เสือ เนตรนารี - ชุมนุม ชมรม  กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนท้งั สิ้น

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนบา้ นทุ่งโพธิ์ (ฉบับปรบั ปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน (ช.ม./ป)ี 880 รายวชิ าพนื้ ฐาน 160 160 ท16101 ภาษาไทย 80 80 ค16101 คณิตศาสตร์ 40 80 ว16101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 80 80 ส16101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ส16102 ประวัติศาสตร์ 40 พ16101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 120 ศ16101 ศลิ ปะ 40 ง16101 การงานอาชีพ 40 30 อ16101 ภาษาอังกฤษ 10 1,080 รายวิชา/กจิ กรรมเพิ่มเติม ส 16231 หน้าท่ีพลเมอื ง ส 16232 การปอ้ งกนั การทุจรติ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น  กิจกรรมแนะแนว  กจิ กรรมนกั เรยี น - ลูกเสอื เนตรนารี - ชมุ นมุ ชมรม  กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นทัง้ สน้ิ

ส่วนท่ี ๒ สาระ/มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชีว้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาไมต้องเรียนวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญย่ิงในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เก่ียวข้องกับ ทุกคนทั้งในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เคร่ืองมือเครื่องใช้ และผลผลิตต่าง ๆ ท่ีมนุษย์ได้ใช้เพ่ืออานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน เหล่าน้ีล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละศาสตร์อ่ืน ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พฒั นาวิธคี ิด ท้งั ความคิดเป็น เหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วจิ ารณ์ มที กั ษะสาคญั ในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลท่ีหลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่ึงเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (K knowledge-based society) ดังน้ันทุกคนจึงจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อท่ีจะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและ เทคโนโลยีทีม่ นษุ ยส์ รา้ งสรรคข์ นึ้ สามารถนาความรูไ้ ปใชอ้ ยา่ งมเี หตุผล สรา้ งสรรค์ และมีคณุ ธรรม เรียนรู้อะไรในวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท่ีเน้นการเชื่อมโยงความรู้ กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหา ความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกข้ันตอน มีการทากิจกรรมด้วย การลงมอื ปฏิบัตจิ ริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชน้ั โดยกาหนดสาระสาคัญ ดงั น้ี  วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรเู้ กยี่ วกับ ชวี ิตในสิง่ แวดล้อม องค์ประกอบของส่ิงมชี ีวติ การดารงชีวิต ของมนุษย์และสัตว์ การดารงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของ สง่ิ มชี ีวติ  วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เรยี นรู้เกี่ยวกบั ธรรมชาตขิ องสาร การเปลยี่ นแปลงของสาร การเคลื่อนท่ี พลงั งาน และคลื่น  วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนร้เู ก่ยี วกบั องคป์ ระกอบของเอกภพ ปฏสิ มั พนั ธ์ ภายในระบบ สรุ ิยะ เทคโนโลยอี วกาศ ระบบโลก การเปล่ียนแปลงทางธรณวี ิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อสิง่ มชี ีวิตและสิง่ แวดล้อม  เทคโนโลยี  การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมท่ีมี การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และสิ่งแวดล้อม  วิทยาการคานวณ เรียนรู้เก่ียวกับการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็น ข้ันตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ในการแกป้ ญั หาท่พี บในชวี ติ จรงิ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มชี ีวิต กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา สิ่งแวดล้อม รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวติ หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวติ การลาเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ัง นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธุกรรมที่มีผลต่อส่งิ มีชวี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและวิวัฒนาการ ของส่ิงมชี ีวิต รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง สมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลง สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลอ่ื นที่แบบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทั้งนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ิตประจาวนั ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ท่ีเกีย่ วข้อง กบั เสยี ง แสง และคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของ เอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะท่ีส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ เปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ โลก รวมทัง้ ผลต่อสง่ิ มชี วี ติ และสิ่งแวดล้อม สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมที่มี การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ัญหาที่พบในชวี ติ จรงิ อย่างเป็น ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทนั และมีจรยิ ธรรม

คณุ ภาพผู้เรยี น จบชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓  เขา้ ใจลกั ษณะทัว่ ไปของสิ่งมชี วี ติ และการดารงชวี ิตของส่ิงมีชีวติ รอบตวั  เข้าใจลักษณะท่ีปรากฏ ชนิดและสมบัติบางประการของวัสดุที่ใช้ทาวัตถุและการเปลี่ยนแปลง ของวสั ดุรอบตวั  เขา้ ใจการดงึ การผลกั แรงแมเ่ หล็ก และผลของแรงที่มตี ่อการเปลยี่ นแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ พลงั งานไฟฟ้า และการผลิตไฟฟ้า การเกิดเสยี ง แสงและการมองเหน็  เข้าใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ปรากฏการณ์ข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกาหนดทิศ ลักษณะของหิน การจาแนกชนิดดินและการใช้ประโยชน์ ลักษณะ และความสาคัญของอากาศ การเกิดลม ประโยชนแ์ ละโทษของลม  ต้ังคาถามหรือกาหนดปัญหาเก่ียวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามท่ีกาหนดให้หรือตามความสนใจสังเกต สารวจตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบด้วย การเขียนหรอื วาดภาพ และส่อื สารสิ่งที่เรยี นร้ดู ว้ ยการเลา่ เรื่อง หรือดว้ ยการแสดงท่าทางเพ่ือให้ผู้อ่นื เข้าใจ  แกป้ ญั หาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มีทกั ษะในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการ ส่ือสารเบ้อื งต้น รกั ษาข้อมูลส่วนตวั  แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่ กาหนดให้หรือตามความสนใจ มสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ และยอมรับฟงั ความคิดเห็นผอู้ ่ืน  แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ จนงานลลุ ่วงเปน็ ผลสาเรจ็ และทางานรว่ มกบั ผู้อื่นอย่างมีความสขุ  ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการใช้ความรแู้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการดารงชีวติ ศึกษา หาความรเู้ พ่ิมเตมิ ทาโครงงานหรอื ชน้ิ งานตามทก่ี าหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ จบช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖  เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ในแหล่งท่อี ยู่ การทาหน้าท่ีของสว่ นต่าง ๆ ของพชื และการทางานของระบบย่อยอาหารของมนุษย์  เข้าใจสมบัติและการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสารการละลาย การเปล่ียนแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงที่ผันกลับไดแ้ ละผนั กลับไมไ่ ด้ และการแยกสารอย่างง่าย  เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงต่าง ๆ ผลที่เกิดจากแรงกระทาต่อวัตถุ ความดัน หลักการท่ีมีต่อวัตถุ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ปรากฏการณ์เบื้องต้น ของเสยี ง และแสง  เข้าใจปรากฏการณ์การข้ึนและตก รวมถึงการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ องค์ประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การขนึ้ และตกของกล่มุ ดาวฤกษ์ การใชแ้ ผนทดี่ าว การเกิดอุปราคา พฒั นาการและประโยชนข์ องเทคโนโลยี อวกาศ  เข้าใจลกั ษณะของแหล่งนา้ วฏั จักรนา้ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง นา้ คา้ งแขง็ หยาดน้า ฟ้า กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิดซากดึกดาบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ ปรากฏการณ์เรอื นกระจก

 ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผล เชิงตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทางานร่วมกัน เข้าใจสิทธิและ หนา้ ท่ีของตน เคารพสิทธิของผอู้ น่ื  ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามท่ีกาหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคาถามหรือปัญหาที่จะสารวจตรวจสอบ วางแผนและสารวจตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม ในการเก็บ รวบรวมข้อมลู ทั้งเชิงปรมิ าณและคุณภาพ  วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีมาจากการสารวจตรวจสอบ ในรปู แบบท่เี หมาะสม เพ่อื สือ่ สารความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ลและหลกั ฐานอ้างอิง  แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในส่ิงที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตาม ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ คดิ เหน็ ผอู้ ่ืน  แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จนงานลุล่วงเป็นผลสาเร็จ และทางานรว่ มกับผอู้ ืน่ อย่างสรา้ งสรรค์  ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรู้และกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต แสดงความช่ืนชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้นและ ศกึ ษาหาความรูเ้ พ่ิมเติม ทาโครงงานหรอื ชนิ้ งานตามทกี่ าหนดให้หรือตามความสนใจ  แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งรคู้ ณุ ค่า จบช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓  เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สาคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทางานของ ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ การดารงชีวิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลง ของยีนหรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบ ของส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศ และการถ่ายทอดพลงั งานในส่งิ มีชวี ติ  เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธ์ิ สารผสม หลักการแยกสาร การเปล่ียนแปลงของสารในรูปแบบของการเปล่ียนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมบตั ทิ างกายภาพ และการใชป้ ระโยชนข์ องวสั ดปุ ระเภทพอลเิ มอร์ เซรามิค และวสั ดผุ สม  เข้าใจการเคล่ือนท่ี แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทาต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรงแรงที่ปรากฏใน ชีวิตประจาวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์ พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้า ในบา้ น พลังงานไฟฟ้า และหลักการเบอื้ งตน้ ของวงจรอิเล็กทรอนิกส์  เข้าใจสมบัติของคล่ืน และลักษณะของคล่ืนแบบต่าง ๆ แสง การสะท้อน การหักเหของแสง และทศั นอปุ กรณ์  เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคล่ือนที่ปรากฏของดวงอาทติ ย์ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้าข้ึนน้าลง ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ และความกา้ วหนา้ ของโครงการสารวจอวกาศ

 เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ ผลกระทบของพายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลก กระบวนการเกิดเช้ือเพลิงซากดึกดาบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ ประโยชน์ ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะช้ัน หน้าตัดดิน กระบวนการเกิดดิน แหล่งน้าผิวดิน แหล่งน้าใต้ดิน กระบวนการเกิดและผลกระทบของภัย ธรรมชาติ และธรณพี บิ ตั ภิ ัย  เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้างผลงานสาหรับการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวันหรือการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และเครือ่ งมือได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภยั รวมท้ังคานงึ ถงึ ทรพั ย์สินทางปญั ญา  นาข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศได้ ตามวตั ถุประสงค์ ใช้ทกั ษะการคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชวี ิตจริง และเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อช่วยในการแกป้ ัญหา ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารอยา่ งรเู้ ท่าทันและรับผดิ ชอบต่อสังคม  ต้ังคาถามหรือกาหนดปัญหาที่เช่อื มโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวทิ ยาศาสตร์ทมี่ ีการ กาหนดและควบคมุ ตวั แปร คดิ คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สรา้ งสมมติฐานที่สามารถนาไปสู่การสารวจ ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสารวจตรวจสอบโดยใชว้ ัสดุและเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม เลือกใช้เคร่ืองมือและ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพท่ีได้ผลเท่ียงตรง และปลอดภยั  วิเคราะห์และประเมนิ ความสอดคล้องของข้อมูลท่ีไดจ้ ากการสารวจตรวจสอบจากพยานหลักฐาน โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุปและ ส่ือสารความคิด ความรู้ จากผลการสารวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจได้ อยา่ งเหมาะสม  แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซ่ือสัตย์ ในส่ิงท่ีจะเรียนรู้ มีความคิด สร้างสรรค์เกี่ยวกับเร่ืองท่ีจะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการท่ีให้ได้ผลถูกต้อง เช่ือถือได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเอง รับฟังความคิดเห็น ผู้อื่น และยอมรับการเปล่ียนแปลงความรู้ท่ีค้นพบ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพ่ิมขึ้นหรือโต้แย้ง จากเดิม  ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของการพัฒนา ทางวิทยาศาสตร์ต่อสิ่งแวดล้อมและต่อบริบทอ่ืน ๆ และศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทาโครงงานหรือสร้าง ชนิ้ งานตามความสนใจ  แสดงถึงความซาบซงึ้ ห่วงใย มพี ฤติกรรมเกี่ยวกบั การดแู ลรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ และ ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ ส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษท์ รัพยากร ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบุช่ือพืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่ • บริเวณต่าง ๆ ในท้องถ่ิน เช่น สนามหญ้า บรเิ วณตา่ ง ๆจากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ ใต้ต้นไม้ สวนหย่อม แหล่งน้า อาจพบพืชและสัตว์ ๒. บอกสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม หลายชนดิ อาศยั อยู่ กับการดารงชีวิตของสัตว์ในบริเวณท่ี • บรเิ วณที่แตกตา่ งกันอาจพบพชื และสตั วแ์ ตกต่าง อาศัยอยู่ กัน เพราะสภาพแวดล้อมของแต่ละบริเวณจะมีความ เหมาะสมต่อการดารงชีวิตของพืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่ ในแต่ละบริเวณ เช่น สระน้า มีน้าเป็นที่อยู่อาศัยของ หอย ปลา สาหร่าย เป็นท่ีหลบภัยและมีแหล่งอาหาร ของหอยและปลา บริเวณต้นมะม่วงมีต้นมะม่วงเป็น แหล่งที่อยู่ และมีอาหารสาหรับกระรอกและมด • ถ้าสภาพแวดล้อมในบริเวณที่พืชและสัตว์อาศัย อยู่มีการเปลี่ยนแปลง จะมีผลต่อการดารงชวี ิตของพืช และสตั ว์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและ ออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพนั ธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ังนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์

ชนั้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและ • มนุษย์มีส่วนต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะและหน้าท่ี บอกหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของ แตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสมในการดารงชีวิต เช่น ตา ร่างกายมนุษย์ สัตว์ และพืช รวมทั้ง มีหน้าท่ีไว้มองดู โดยมีหนังตาและขนตา เพื่อป้องกัน บรรยายการทาหน้าที่ร่วมกันของส่วน อันตรายให้กับตา หูมีหน้าท่ีรับฟังเสียง โดยมีใบหูและ ต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ในการทา รูหู เพื่อเป็นทางผ่านของเสียงปากมีหน้าท่ีพูด กิน กิจกรรมต่าง ๆจากข้อมลู ท่รี วบรวมได้ อาหาร มีช่องปากและมรี ิมฝีปากบนล่าง แขนและมือมี หน้าที่ยก หยิบ จับ มีท่อนแขนและนิ้วมือท่ีขยับได้ สมองมีหน้าที่ควบคุมการทางานของส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย อยู่ในกะโหลกศีรษะ โดยส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายจะทาหน้าที่ร่วมกันในการทากิจกรรมใน ชวี ติ ประจาวนั • สตั วม์ หี ลายชนิด แต่ละชนิดมีสว่ นต่าง ๆ ที่มี ลกั ษณะและหน้าท่ีแตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสม ใน การดารงชวี ิต เช่น ปลามีครบี เปน็ แผน่ สว่ นกบ เต่า แมว มีขา ๔ ขา และมีเทา้ สาหรับใชใ้ นการเคลื่อนที่ • พืชมีส่วนต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะและหน้าที่แตกต่าง กัน เพ่ือให้เหมาะสมในการดารงชีวิต โดยท่ัวไป รากมี ลักษณะเรียวยาว และแตกแขนงเป็นรากเล็ก ๆ ทา หน้าท่ีดูดน้า ลาต้นมีลักษณะเป็นทรงกระบอกต้ังตรง และมีกิ่งก้าน ทาหน้าที่ชูกิ่งก้าน ใบและดอก ใบมี ลักษณะเป็นแผ่นแบน ทาหน้ าที่สร้างอาหาร นอกจากนี้พืชหลายชนิด อาจมีดอกท่ีมีสี รูปร่างต่าง ๆ ทาหน้าท่ีสืบพันธ์ุ รวมทั้งมีผลที่มีเปลือก มีเนื้อห่อหุ้ม เมล็ด และมีเมลด็ ซ่งึ สามารถงอกเปน็ ต้นใหม่ได้ ๒. ตระหนกั ถึงความสาคัญของส่วน • มนุษย์ใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการทา ต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแล กิจกรรมต่าง ๆเพื่อการดารงชีวิต มนุษย์จึงควรใช้ส่วน ส่วนต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ให้ปลอดภัย ต่าง ๆ ของร่างกายอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และรักษา และรกั ษาความสะอาดอยู่เสมอ ความสะอาดอยู่เสมอ เช่น ใช้ตามองตัวหนังสือในที่ท่ีมี แสงสว่างเพียงพอ ดูแลตาให้ปลอดภัยจากอันตราย และรักษาความสะอาดตาอยู่เสมอ

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.๑ ๑. อธิบายสมบตั ิที่สังเกตไดข้ องวัสดุท่ีใช้ • วัสดุท่ีใช้ทาวัตถุที่เป็นของเล่น ของใช้ มีหลายชนิด เช่น ผ้า ทาวัตถุซ่ึงทาจากวัสดุชนิดเดียวหรือหลาย แก้ว พลาสติก ยาง ไม้ อิฐ หิน กระดาษ โลหะ วัสดุแต่ละชนิดมี ชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิง สมบตั ทิ ี่สังเกตไดต้ ่าง ๆ เช่น สี นุม่ แข็ง ขรุขระ เรยี บ ใส ขุน่ ยืดหด ประจักษ์ ไดบ้ ิดงอได้ ๒. ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุ • สมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุแต่ละชนิดอาจเหมือนกัน ซึ่ง ตามสมบัตทิ สี่ งั เกตได้ สามารถนามาใชเ้ ป็นเกณฑใ์ นการจัดกลุ่มวสั ดไุ ด้ • วัสดุบางอย่างสามารถนามาประกอบกัน เพื่อทาเป็น วัตถุตา่ ง ๆ เช่น ผ้าและกระดมุ ใชท้ าเสือ้ ไม้และโลหะ ใชท้ า กระทะ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่ เกยี่ วขอ้ งกับเสยี ง แสง และคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ารวมท้งั นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการ • เสียงเกิดจากการส่ันของวัตถุ วัตถุที่ทาให้เกิดเสียงเป็น เคล่ือนทข่ี องเสยี งจากหลักฐานเชิงประจักษ์ แหล่งกาเนิดเสียง ซ่ึงมีท้ังแหล่งกาเนิดเสียงตามธรรมชาติและ แหล่งกาเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น เสียงเคล่ือนท่ีออกจาก แหล่งกาเนดิ เสียงทุกทศิ ทาง สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการ ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบุดาวทปี่ รากฏบนทอ้ งฟา้ ในเวลา • บนท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวซึ่งในเวลา กลางวัน และกลางคนื จากข้อมลู ทร่ี วบรวม กลางวันจะมองเห็นดวงอาทิตยแ์ ละอาจมองเห็นดวงจันทรบ์ าง ได้ เวลาในบางวนั แต่ไมส่ ามารถมองเห็นดาว ๒. อธิบายสาเหตทุ ม่ี องไมเ่ ห็นดาวสว่ น • ในเวลากลางวันมองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ เนื่องจาก ใหญ่ในเวลากลางวนั จากหลักฐานเชิง แสงอาทิตย์สว่างกว่าจึงกลบแสงของดาว ส่วนในเวลากลางคืน ประจกั ษ์ จะมองเหน็ ดาวและมองเหน็ ดวงจนั ทร์เกอื บทกุ คืน

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ัง ผลต่อส่งิ มชี วี ติ และสิ่งแวดล้อม ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. อธบิ ายลกั ษณะภายนอกของ • หินท่ีอยู่ในธรรมชาติมีลักษณะภายนอก หิน จากลักษณะเฉพาะตวั ท่ีสังเกตได้ เฉพาะตัว ท่ีสังเกตได้ เช่น สี ลวดลาย น้าหนัก ความ แข็ง และเนอ้ื หนิ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขัน้ ตอนและเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหา ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมีจริยธรรม ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การ • การแก้ปัญหาให้ประสบความสาเร็จทาได้โดยใช้ ลองผดิ ลองถูก การเปรียบเทียบ ขนั้ ตอนการแก้ปญั หา • ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุด แตกต่างของภาพ การจดั หนังสอื ใสก่ ระเปา๋ ๒. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน • การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา ทาได้โดยการ หรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ เขียน บอกเลา่ วาดภาพ หรอื ใชส้ ญั ลกั ษณ์ ภาพ สัญลักษณ์ หรอื ข้อความ • ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุด แตกตา่ งของภาพ การจัดหนังสือใสก่ ระเปา๋ ๓. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ • การเขยี นโปรแกรมเปน็ การสร้างลาดับของคาส่ัง ซอฟตแ์ วรห์ รอื สื่อ ใหค้ อมพวิ เตอร์ทางาน • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสั่งให้ตัว ละครยา้ ยตาแหน่ง ย่อขยายขนาด เปลี่ยนรูปรา่ ง • ซอฟต์แวรห์ รือส่ือท่ใี ช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่ ใช้บัตรคาสั่งแสดงการเขยี นโปรแกรม, Code.org

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๕. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น ปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้ รู้จักข้อมูลส่วนตัว อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมูล คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์ ส่วนตัว และไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอ่ืนยกเว้น เบื้องต้น ใชง้ านอย่างเหมาะสม ผู้ปกครองหรือครู แจ้งผู้เก่ียวข้องเม่ือต้องการความ ชว่ ยเหลอื เก่ยี วกบั การใชง้ าน • ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์ เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทาความสะอาดใช้อุปกรณ์ อยา่ งถูกวธิ ี • การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านั่งให้ถูกต้อง การพักสายตาเม่ือใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน ระมัดระวัง อบุ ัตเิ หตุจากการใช้งาน

ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและ ออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพนั ธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ังนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๒ ๑. ระบุว่าพืชต้องการแสงและน้า • พืชตอ้ งการนา้ แสง เพื่อการเจริญเติบโต เพ่ือการเจริญเติบโต โดยใช้ข้อมูลจาก หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ๒. ตระหนักถึงความจาเป็นท่ีพืช ต้ อ ง ไ ด้ รั บ น้ า แ ล ะ แ ส ง เ พื่ อ ก า ร เจริญเติบโต โดยดูแลพืชให้ได้รับส่ิง ดงั กลา่ วอย่างเหมาะสม ๓. สร้างแบบจาลองที่บรรยายวัฏ • พืชดอกเม่ือเจริญเตบิ โตและมดี อก ดอกจะมีการ จักรชีวติ ของพชื ดอก สบื พันธ์ุเปล่ียนแปลงไปเป็นผล ภายในผลมีเมลด็ เมื่อ เมล็ดงอก ต้นอ่อนท่ีอยู่ภายในเมล็ดจะเจริญเติบโต เป็นพืชต้นใหม่ พืชต้นใหม่จะเจริญเติบโต ออกดอก เพ่ือสบื พันธุม์ ผี ลตอ่ ไปได้อีกหมนุ เวียนตอ่ เนือ่ งเป็นวัฏ จักรชวี ิตของพชื ดอก มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมสาร พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมผี ลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ ของส่งิ มชี วี ติ รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชนั้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๒ ๑. เปรียบเทียบลักษณะของ • สิ่งท่ีอยู่รอบตัวเรามีทั้งที่เป็นส่ิงมีชีวิตและ สง่ิ มชี วี ติ และสงิ่ ไม่มีชีวติ จากข้อมูลที่ สิ่งไม่มีชีวิต ส่ิงมีชีวิตต้องการอาหาร มีการหายใจ รวบรวมได้ เจริญเติบโต ขับถ่าย เคล่ือนไหว ตอบสนองต่อสิ่งเร้า และสืบพนั ธไ์ุ ด้ลูกทม่ี ีลักษณะคล้ายคลงึ กับพ่อแม่ส่วน สิ่งไมม่ ีชวี ิตจะไม่มีลักษณะดังกล่าว

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัตขิ อง สสารกบั โครงสรา้ งและแรงยึดเหนย่ี วระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของ สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๒ ๑. เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับ • วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติการดูดซับน้าแตกต่างกนั น้าของวัสดุโ ดยใช้หลักฐ านเ ชิ ง จึงนาไปทาวัตถุเพ่ือใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน เช่น ประจักษ์ และระบุการนาสมบัติการ ใช้ผ้าที่ดูดซับน้าได้มากทาผ้าเช็ดตัว ใช้พลาสติก ซ่ึง ดดู ซับนา้ ของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการ ไมด่ ูดซับน้าทาร่ม ทาวัตถุในชวี ิตประจาวนั ๒. อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของ • วัสดุบางอย่างสามารถนามาผสมกันซ่ึงทาให้ได้ วัสดุท่ีเกิดจากการนาวัสดุมาผสมกัน สมบตั ทิ ่เี หมาะสม เพื่อนาไปใช้ประโยชนต์ ามต้องการ โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ เช่น แป้งผสมน้าตาลและกะทิ ใช้ทาขนมไทย ปูน ปลาสเตอร์ผสมเย่ือกระดาษใชท้ ากระปุกออมสิน ปูน ผสมหิน ทราย และน้าใช้ทาคอนกรตี ๓. เปรียบเทียบสมบัติที่สังเกตได้ • การนาวัสดุมาทาเป็นวัตถุในการใช้งานตาม ของวัสดุ เพ่ือนามาทาเป็นวัตถุในการ วัตถุประสงค์ข้ึนอยู่กับสมบัติของวัสดุ วัสดุท่ีใช้แล้ว ใช้งานตามวัตถุประสงค์ และอธิบาย อาจนากลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น กระดาษใช้แล้ว อาจ การนาวัสดุท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่โดย นามาทาเป็นจรวดกระดาษ ดอกไม้ประดิษฐ์ ถุงใส่ ใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ของ ๔. ตระหนักถึงประโยชน์ของการ นาวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ โดย การนาวัสดุทีใ่ ชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่ มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลงั งานในชวี ติ ประจาวนั ธรรมชาตขิ องคลืน่ ปรากฏการณท์ ี่ เก่ยี วข้องกับเสียง แสง และคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้ารวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๒ ๑. บรรยายแนวการเคล่ือนที่ของ • แสงเคล่ือนที่จากแหล่งกาเนิดแสงทุกทิศทางเป็น แสงจากแหล่งกาเนิดแสง และอธิบาย แนวตรง เมื่อมีแสงจากวัตถุมาเข้าตาจะทาให้มองเห็น การมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิง วัตถุนั้น การมองเห็นวัตถุท่ีเป็นแหล่งกาเนิดแสง แสง ประจักษ์ จากวัตถุนั้นจะเข้าสู่ตาโดยตรงส่วนการมองเห็นวัตถุที่ ๒. ตระหนักในคุณค่าของความรู้ ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง ต้องมีแสงจากแหล่งกาเนิดแสง ของการมองเห็นโดยเสนอแนะแนว ไปกระทบวัตถุแล้วสะท้อนเข้าตา ถ้ามีแสงท่ีสว่างมาก ทางการป้องกันอันตรายจากการมอง ๆ เข้าสู่ตาอาจเกิดอันตรายต่อตาได้ จึงต้องหลีกเลี่ยง วัตถุท่ีอยู่ในบริเวณที่มีแสงสว่างไม่ การมองหรือใช้แผ่นกรองแสงท่ีมีคุณภาพเมื่อจาเป็น เหมาะสม และต้องจัดความสว่างให้เหมาะสมกับการทากิจกรรม ต่าง ๆ เช่น การอ่านหนังสือการดูจอโทรทัศน์ การใช้ โทรศพั ทเ์ คลื่อนที่และแท็บเลต็ สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ัง ผลตอ่ สงิ่ มชี ีวิตและสงิ่ แวดล้อม ชั้น ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๒ ๑. ระบสุ ่วนประกอบของดนิ และ • ดินประกอบด้วยเศษหิน ซากพชื ซากสัตว์ผสมอยู่ จาแนกชนิดของดนิ โดยใชล้ กั ษณะเน้ือ ในเน้ือดิน มีอากาศและน้าแทรกอยู่ตามช่องว่างในเน้ือ ดินและการจบั ตัวเป็นเกณฑ์ ดิน ดินจาแนกเป็น ดินร่วน ดินเหนียว และดินทราย ๒. อธิบายการใชป้ ระโยชนจ์ ากดิน ตามลักษณะเน้ือดินและการจับตัวของดินซ่ึงมีผลต่อ จากข้อมูลท่รี วบรวมได้ การอุ้มนา้ ที่แตกตา่ งกนั • ดินแต่ละชนิดนาไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตามลักษณะและสมบตั ิของดนิ

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ข้ันตอนและเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจรยิ ธรรม ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.๒ ๑. แสดงลาดับข้ันตอนการทางาน • การแสดงข้ันตอนการแก้ปัญหา ทาได้โดยการ หรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ เขียน บอกเลา่ วาดภาพ หรือใชส้ ัญลกั ษณ์ สัญลกั ษณ์ หรอื ขอ้ ความ • ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมตัวต่อ ๖-๑๒ ช้ินการ แตง่ ตวั มาโรงเรยี น ๒. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมส่ังให้ตัว ซอฟต์แวร์หรือส่ือ และตรวจหา ละครทางานตามทตี่ ้องการ และตรวจสอบข้อผิดพลาด ข้อผดิ พลาดของโปรแกรม ปรับแกไ้ ขให้ได้ผลลัพธต์ ามที่กาหนด • การตรวจหาข้อผิดพลาด ทาได้โดยตรวจสอบ คาส่ังท่ีแจ้งข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่เป็นไป ตามทีต่ อ้ งการให้ตรวจสอบการทางานทลี ะคาส่งั • ซอฟต์แวร์หรือสื่อท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ใชบ้ ัตรคาสงั่ แสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org ๓. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัด • การใชง้ านซอฟตแ์ วรเ์ บอ้ื งตน้ เชน่ การเขา้ และออก หมวดหมู่ ค้นหา จดั เกบ็ เรียกใช้ขอ้ มูล จากโปรแกรม การสรา้ งไฟล์ การจดั เกบ็ การเรียกใชไ้ ฟล์ ตามวตั ถุประสงค์ การแก้ไขตกแต่งเอกสาร ทาได้ ในโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคา โปรแกรมกราฟิก โปรแกรม นาเสนอ • การสร้าง คัดลอก ย้าย ลบ เปลี่ยนช่ือ จัด หมวดหมู่ไฟล์ และโฟลเดอร์อย่างเป็นระบบจะทาให้ เรียกใช้ ค้นหาขอ้ มูลได้งา่ ยและรวดเร็ว

ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๒ ๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น ปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้ รู้จักข้อมูลส่วนตัว อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมูล คอมพิวเตอร์รว่ มกนั ดแู ลรกั ษาอุปกรณ์ ส่วนตัว และไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอื่นยกเว้น เบอ้ื งต้น ใช้งานอยา่ งเหมาะสม ผู้ปกครองหรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเม่ือต้องการความ ชว่ ยเหลือเกีย่ วกบั การใช้งาน • ข้อปฏิบัตใิ นการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์ เช่น ไมข่ ีดเขียนบนอุปกรณ์ ทาความสะอาดใช้อุปกรณ์ อย่างถกู วธิ ี • การใชง้ านอยา่ งเหมาะสม เชน่ จัดทา่ น่งั ให้ถูกต้อง การพักสายตาเมื่อใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน ระมัดระวัง อุบตั ิเหตจุ ากการใช้งาน

ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและ ออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๓ ๑. บรรยายสิ่งท่ีจาเป็นต่อการ • มนุษย์และสัตว์ต้องการอาหาร น้า และอากาศ ดารงชีวิต และการเจริญเติบโตของ เพือ่ การดารงชีวิตและการเจริญเติบโต ม นุ ษ ย์ แ ล ะ สั ต ว์ โ ด ย ใ ช้ ข้ อ มู ล ที่ • อาหารช่วยให้ร่างกายแข็งแรงและเจริญเติบโต รวบรวมได้ น้าช่วยให้ร่างกายทางานได้อย่างปกติ อากาศใช้ ใน ๒. ตระหนักถึงประโยชน์ของ การหายใจ อาหาร น้า และอากาศ โดยการดูแล ตนเองและสัตว์ให้ได้รับสิ่งเหล่านี้ อย่างเหมาะสม ๓. สร้างแบบจาลองที่บรรยายวัฏ • สัตว์เมื่อเป็นตัวเต็มวัยจะสืบพันธุ์มีลูก เม่ือลูก จักรชีวิตของสัตว์ และเปรียบเทียบวฏั เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยก็สืบพันธุ์มีลูกต่อไปได้อีก จักรชีวติ ของสัตว์บางชนดิ หมุนเวียนต่อเนื่องเป็นวัฏจักรชวี ติ ของสัตว์ซ่ึงสตั ว์แต่ ๔. ตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ ละชนิด เช่น ผีเส้ือ กบ ไก่ มนุษย์จะมีวัฏจักรชีวิตที่ โดยไม่ทาให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์ เฉพาะและแตกต่างกัน เปล่ยี นแปลง

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๓ ๑. อธิบายว่าวัตถุประกอบขึ้นจาก • วัตถุอาจทาจากช้ินส่วนย่อย ๆ ซ่ึงแต่ละช้ินมี ช้ินส่วนย่อย ๆ ซ่ึงสามารถแยกออก ลักษณะเหมือนกันมาประกอบเข้าด้วยกัน เมื่อแยกช้ิน จากกันได้และประกอบกนั เป็นวัตถุชิ้น ส่วนย่อย ๆ แต่ละชิ้นของวัตถุออกจากกัน สามารถนา ใหมไ่ ด้ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ชิ้นส่วนเหล่าน้ันมาประกอบเป็นวัตถุช้ินใหม่ได้ เช่น กาแพงบ้านมกี ้อนอฐิ หลาย ๆ ก้อนประกอบเข้าด้วยกัน และสามารถนาก้อนอิฐจากกาแพงบ้านมาประกอบ เปน็ พื้นทางเดนิ ได้ ๒. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของ • เม่ือให้ความร้อนหรือทาให้วสั ดุร้อนข้ึน และเมื่อ วัสดเุ มื่อทาให้ร้อนข้นึ หรือทาให้เย็นลง ลดความร้อนหรือทาให้วัสดุเย็นลง วัสดุจะเกิด การ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ เปลี่ยนแปลงได้ เชน่ สเี ปลี่ยน รูปรา่ งเปลี่ยน มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลักษณะ การเคล่อื นท่ีแบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทัง้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๓ ๑ . ผ ล ข อ ง แ ร ง ท่ี มี ต่ อ ก า ร • การดึงหรือการผลักเป็นการออกแรงกระทาต่อ เปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ วัตถุ แรงมีผลต่อการเคลื่อนท่ีของวัตถุ แรงอาจทาให้ จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ วัตถุเกิดการเคลื่อนที่โดยเปลี่ยนตาแหน่งจากท่ีหน่ึง ไปยงั อีกท่หี น่งึ • การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้แก่ วัตถุท่ีอยู่น่ิงเปลี่ยนเป็นเคล่ือนที่ วัตถุท่ีกาลังเคลื่อนที่ เปลี่ยนเป็นเคลื่อนท่ีเร็วขึ้นหรือช้าลงหรือหยุดน่ิง หรือเปลย่ี นทิศทางการเคล่ือนท่ี ๒. เปรียบเทียบและยกตัวอย่าง • การดึงหรือการผลักเป็นการออกแรงท่ีเกิดจาก แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสท่ีมีผลต่อ วัตถุหน่ึงกระทากับอีกวัตถุหน่ึง โดยวัตถุทั้งสองอาจ การเคลื่อนท่ีของวัตถุโดยใช้หลักฐาน สัมผัสหรือไม่ต้องสัมผัสกัน เช่น การออกแรงโดยใช้ เชิงประจกั ษ์ มือดึงหรือการผลักโต๊ะให้เคล่ือนท่ีเป็นการออกแรงท่ี วัตถุต้องสัมผัสกัน แรงน้ีจึงเป็นแรงสัมผัส ส่วนการท่ี แม่เหล็กดึงดูดหรือผลักระหว่างแม่เหล็กเป็นแรงท่ี เกิดข้ึนโดยแม่เหล็กไม่จาเป็นต้องสัมผัสกัน แรง แม่เหลก็ นีจ้ ึงเป็นแรงไม่สมั ผัส

ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. จาแนกวัตถุโดยใช้การดึงดูดกับ • แม่เหลก็ สามารถดึงดดู สารแม่เหลก็ ได้ แม่เหล็กเป็นเกณฑ์จากหลักฐานเชิง • แรงแม่เหล็กเป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่างแม่เหล็ก ประจกั ษ์ กับสารแม่เหล็ก หรือแม่เหล็กกับแม่เหล็กแม่เหล็ก มี ๔. ระบุขั้วแม่เหล็กและพยากรณ์ ๒ ขั้ว คือ ข้ัวเหนือและข้ัวใต้ขั้วแม่เหล็กชนิดเดียวกัน ผลท่ีเกิดข้ึนระหว่างขั้วแม่เหล็กเม่ือ จะผลกั กัน ตา่ งชนดิ กนั จะดึงดูดกัน นามาเข้าใกล้กันจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ท่ี เก่ยี วข้องกบั เสยี ง แสง และคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ รวมทัง้ นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๓ ๑. ยกตัวอย่างการเปลี่ยนพลังงาน • พลังงานเป็นปริมาณท่ีแสดงถึงความสามารถใน หน่ึงไปเป็นอีกพลังงานหนึ่งจาก การทางาน พลังงานมีหลายแบบ เช่น พลังงานกล หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ พลังงานไฟฟ้า พลังงานแสง พลังงานเสียง และ พลังงานความร้อน โดยพลังงานสามารถเปล่ียนจาก พลังงานหน่ึงไปเป็นอีกพลังงานหนึ่งได้ เช่น การถูมือ จนรู้สึกร้อน เป็นการเปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงาน ความร้อน แผงเซลล์สุริยะเปลี่ยนพลังงานแสงเป็น พลังงานไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าเปลี่ยนพลังงาน ไฟฟา้ เป็นพลงั งานอน่ื ๒. บรรยายการทางานของเคร่ือง • ไฟฟ้าผลิตจากเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าซ่ึงใช้พลังงาน กาเนิดไฟฟา้ และระบุแหล่งพลังงานใน จากแหล่งพลังงานธรรมชาติหลายแหล่ง เช่น การผลิตไฟฟา้ จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ พลังงานจากลม พลังงานจากน้า พลังงานจากแก๊ส ๓. ตระหนักในประโยชน์และโทษ ธรรมชาติ ของไฟฟ้า โดยนาเสนอวธิ ีการใช้ไฟฟ้า • พลังงานไฟฟ้ามีความสาคัญต่อชีวิตประจาวัน อย่างประหยดั และปลอดภยั การใช้ไฟฟ้านอกจากต้องใช้อย่างถูกวิธี ประหยัด และคุม้ ค่าแลว้ ยงั ต้องคานึงถึงความปลอดภัยดว้ ย

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการ ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ ชัน้ ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๓ ๑. อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้น • คนบนโลกมองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้น และตก ของดว งอาทิตย์โ ดยใช้ ทางด้านหน่ึงและตกท างอีกด้านหนึ่ง ทุ ก วั น หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ หมนุ เวยี นเป็นแบบรูปซ้า ๆ ๒ . อ ธิ บ า ย ส า เ ห ตุ ก า ร เ กิ ด • โลกกลมและหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบดวง ปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวง อาทิตย์ ทาให้บริเวณของโลกได้รับแสงอาทิตย์ไม่ อาทิตย์ การเกดิ กลางวนั กลางคืน และ พร้อมกัน โลกด้านท่ีได้รับแสงจากดวงอาทิตย์จะเป็น การกาหนดทิศ โดยใชแ้ บบจาลอง กลางวันส่วนด้านตรงข้ามท่ีไม่ได้รับแสงจะเป็น ๓. ตระหนักถึงความสาคัญของ กลางคนื นอกจากนีค้ นบนโลกจะมองเหน็ ดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ โดยบรรยายประโยชน์ ปรากฏข้ึนทางด้านหน่ึง ซ่ึงกาหนดให้เป็นทิศ ของดวงอาทติ ย์ต่อส่ิงมชี ีวติ ตะวันออก และมองเห็นดวงอาทิตย์ตกทางอีกด้าน หน่ึง ซึ่งกาหนดให้เป็นทิศตะวันตก และเม่ือให้ด้าน ขวามืออยู่ทางทิศตะวันออกด้านซ้ายมืออยู่ทางทิศ ตะวันตก ด้านหน้าจะเป็นทิศเหนือ และด้านหลังจะ เปน็ ทิศใต้ • ในเวลากลางวันโลกจะได้รับพลังงานแสงและ พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ ทาให้ส่ิงมีชีวิต ดารงชวี ติ อยู่ได้ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ัง ผลตอ่ ส่ิงมชี ีวติ และสงิ่ แวดล้อม ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป.๓ ๑. ระบุส่วนประกอบของอากาศ • อากาศโดยท่ัวไปไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ประกอบด้วย บรรยายความสาคัญของอากาศ และ แ ก๊ ส ไ น โ ต ร เ จ น แ ก๊ ส อ อ ก ซิ เ จ น แ ก๊ ส ผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อ คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สอื่น ๆ รวมทั้งไอน้า และฝุ่น ส่งิ มชี วี ิต จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ ละออง อากาศมีความสาคัญต่อส่ิงมีชีวิต หาก ๒. ตระหนักถึงความสาคัญของ สว่ นประกอบของอากาศไม่เหมาะสม เน่ืองจากมีแก๊ส อากาศ โดยนาเสนอแนวทางการ บางชนิดหรือฝุ่นละอองในปริมาณมาก อาจเป็น ปฏิบัตติ นในการลดการเกดิ มลพิษทาง อันตรายต่อสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ จัดเป็นมลพิษทาง อากาศ อากาศ

ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง • แนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลดการปล่อยมลพิษ ทางอากาศ เช่น ใช้พาหนะร่วมกัน หรือเลือกใช้ เทคโนโลยที ่ีลดมลพิษทางอากาศ ๓. อธบิ ายการเกิดลมจากหลักฐาน • ลม คอื อากาศทเี่ คลอื่ นท่ี เกดิ จากความแตกต่าง เชงิ ประจักษ์ กันของอุณหภูมิอากาศบริเวณที่อยู่ใกล้กัน โดย อากาศบริเวณท่ีมีอุณหภูมิสูงจะลอยตัวสูงข้ึน และ อากาศบริเวณท่ีมีอุณหภูมิต่ากว่าจะเคลื่อนเข้าไป แทนท่ี ๔. บรรยายประโยชน์และโทษของ • ลมสามารถนามาใช้เป็นแหล่งพลงั งานทดแทนใน ลม จากขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้ การผลิตไฟฟ้า และนาไปใช้ประโยชน์ในการทา กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ หากลมเคลื่อนท่ีด้วย ความเร็วสูงอาจทาให้เกิดอันตรายและความเสียหาย ต่อชีวติ และทรพั ยส์ ินได้

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหา ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รู้เทา่ ทนั และมจี ริยธรรม ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๓ ๑. แสดงอัลกอริทึมในการทางาน • อลั กอรทิ มึ เป็นขัน้ ตอนทใ่ี ชใ้ นการแก้ปัญหา หรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ • การแสดงอัลกอริทึม ทาได้โดยการเขียน บอกเล่า สัญลักษณ์ หรอื ขอ้ ความ วาดภาพ หรอื ใชส้ ัญลักษณ์ • ตัวอย่างปัญหา เช่น เกมเศรษฐี เกมบันไดงูเกม Tetris เกม OX การเดินไปโรงอาหารการทาความสะอาด ห้องเรยี น ๒. เขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใช้ • การเขียนโปรแกรมเป็นการสรา้ งลาดับของคาสั่ง ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา ให้คอมพิวเตอรท์ างาน ขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมที่ส่ังให้ ตัวละครทางานซ้าไมส่ ้นิ สดุ • การตรวจหาข้อผิดพลาด ทาได้โดยตรวจสอบ คาสั่งที่แจ้งข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่เป็นไป ตามท่ีต้องการใหต้ รวจสอบการทางานทลี ะคาสัง่ • ซอฟต์แวร์หรือส่ือท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ใช้บัตรคาสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม , Code.org ๓. ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ค้นหาความรู้ • อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ช่วยให้การ ติ ด ต่ อ ส่ื อ ส า ร ท า ไ ด้ ส ะ ด ว ก แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว แ ล ะ เ ป็ น แหล่งข้อมูลความรู้ที่ช่วยในการเรียน และการดาเนิน ชวี ิต • เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสาหรับอ่านเอกสาร บนเวบ็ เพจ • การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ทาได้โดยใช้ เว็บไซต์สาหรับสืบค้น และต้องกาหนดคาค้นท่ี เหมาะสมจงึ จะได้ข้อมลู ตามต้องการ • ข้อมูลความรู้ เช่น วิธีทาอาหาร วิธีพับกระดาษ เป็นรูปต่าง ๆ ข้อมูลประวัติศาสตร์ชาติไทย(อาจเป็น ความรู้ในวิชาอื่น ๆ หรือเร่ืองที่เป็นประเด็นท่ีสนใจใน ชว่ งเวลานัน้ ) • การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ในการ ดูแลของครู หรอื ผปู้ กครอง

ชนั้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๔. รวบรวม ประมวลผล และ • การรวบรวมข้อมูล ทาได้โดยกาหนดหัวข้อที่ นาเสนอข้อมูล โดยใช้ซอฟต์แวร์ตาม ต้องการ เตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก วตั ถปุ ระสงค์ • การประมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบจัดกลุ่ม เรยี งลาดับ • การนาเสนอข้อมูลทาได้หลายลักษณะตามความ เหมาะสม เช่น การบอกเล่า การทาเอกสารรายงาน การ จัดทาป้ายประกาศ • การใช้ซอฟต์แวร์ทางานตามวัตถุประสงค์ เช่นใช้ ซอฟต์แวร์นาเสนอ หรือซอฟต์แวร์กราฟิกสร้างแผนภูมิ รูปภาพ ใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคาทาป้ายประกาศหรือ เอกสารรายงาน ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางานในการ ประมวลผลขอ้ มูล ป.๓ ๕. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น ปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้ ปกป้องขอ้ มลู ส่วนตัว อินเทอรเ์ น็ต • ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครอง เม่ือ เกิดปัญหาจากการใช้งาน เม่ือพบข้อมูลหรือบุคคลที่ ทาให้ไมส่ บายใจ • การปฏิบัตติ ามข้อตกลงในการใช้อนิ เทอร์เน็ตจะ ทาให้ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผอู้ ่ืน เช่น ไม่ ใช้คาหยาบ ล้อเลียน ด่าทอ ทาให้ผู้อ่ืนเสียหายหรือ เสยี ใจ • ข้อดีและข้อเสียในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและ ออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพนั ธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป.๔ ๑. บรรยายหน้าที่ของราก ลาต้น • สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ดอกทาหน้าที่แตกต่างกนั ใบ และดอกของพืชดอก โดยใช้ข้อมลู - รากทาหน้าที่ดูดน้าและธาตุอาหารข้ึนไปยัง ที่รวบรวมได้ ลาต้น - ลาต้นทาหน้าที่ลาเลียงน้าต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของพชื - ใบทาหน้าที่สร้างอาหาร อาหารท่ีพืชสร้างข้ึน คอื น้าตาลซง่ึ จะเปลย่ี นเป็นแป้ง - ดอกท าหน้ าท่ี สื บพั นธ์ุ ประกอบด้ ว ย ส่วนประกอบต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสร เพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซึ่งส่วนประกอบแต่ละส่วน ของดอกทาหน้าทีแ่ ตกต่างกัน มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสาร พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมผี ลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและววิ ัฒนาการ ของสงิ่ มีชวี ิต รวมทง้ั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๔ ๑. จาแนกส่ิงมีชีวิตโดยใช้ความ • ส่ิงมีชีวิตมีหลายชนิด สามารถจัดกลุ่มได้ โดยใช้ เหมือน และความแตกต่างข อง ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะต่าง ๆ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช เช่น กลุ่มพืชสร้างอาหารเองได้ และเคล่ือนท่ีด้วย กลุ่มสัตว์ และกล่มุ ทไี่ มใ่ ช่พืชและสัตว์ ตนเองไม่ได้ กลุ่มสัตว์กินสิ่งมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหารและ เคลื่อนท่ีได้ กลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ เช่น เห็ด รา จลุ นิ ทรีย์ ๒. จาแนกพืชออกเปน็ พชื ดอกและ • การจาแนกพืช สามารถใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ พืชไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเป็น ในการจาแนก ไดเ้ ป็นพืชดอกและพชื ไม่มดี อก เกณฑ์ โดยใชข้ ้อมูลที่รวบรวมได้

ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๓. จาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มี • การจาแนกสัตว์ สามารถใช้การมีกระดูกสนั หลัง กระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสัน เป็นเกณฑ์ในการจาแนก ได้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง หลัง โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็น และสัตวไ์ มม่ กี ระดูกสนั หลัง เกณฑ์ โดยใชข้ ้อมูลทรี่ วบรวมได้ • สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุม่ ได้แก่ กลุ่มปลา ๔. บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกต กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน ไดข้ องสัตว์มีกระดูกสนั หลังในกลุ่มปลา กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม ซ่ึงแต่ละ กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก กลุ่ม กลุ่มจะมลี กั ษณะเฉพาะทส่ี ังเกตได้ สัตว์เล้ือยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยน้านม และยกตัวอย่าง สงิ่ มชี ีวิตในแต่ละกลุ่ม สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของ สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๔ ๑. เปรียบเทยี บสมบตั ทิ างกายภาพ • วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน ด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนา วัสดุท่ีมีความแข็งจะทนต่อแรงขูดขีด วัสดุที่มีสภาพ ความร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดุ ยืดหยุ่นจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างเม่ือมีแรงมากระทา โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการ และกลับสภาพเดิมได้ วัสดุท่ีนาความร้อนจะร้อนได้ ทดลองและระบุการนาสมบัติเร่ือง เร็วเมื่อได้รับความร้อนและวัสดุที่นาไฟฟ้าได้ จะให้ ความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความ กระแสไฟฟ้าผ่านได้ดังน้ันจึงอาจนาสมบัติต่าง ๆ มา ร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ พิจารณาเพ่ือใช้ในกระบวนการออกแบบช้ินงานเพื่อ ในชีวิตประจาวันผ่านกระบวนการ ใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน ออกแบบชน้ิ งาน ๒. แลกเปลี่ยนความคิดกับผู้อ่ืน โดยการอภิปรายเก่ียวกับสมบัติทาง กายภาพของวัสดุอย่างมีเหตุผลจาก การทดลอง ๓. เปรียบเทยี บสมบัติของสสารทั้ง • วัสดุเป็นสสารเพราะมีมวลและต้องการที่อยู่ ๓ สถานะ จากข้อมูลท่ีได้จากการ สสารมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส สังเกตมวล การต้องการที่อยู่ รูปร่าง ของแข็ง มีปริมาตรและรูปร่างคงที่ ของเหลวมี และปริมาตรของสสาร ปรมิ าตรคงที่ แตม่ รี ูปร่างเปล่ยี นไปตามภาชนะเฉพาะ

ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๔. ใช้เคร่ืองมือเพื่อวัดมวล และ ส่วนที่บรรจุของเหลว ส่วนแก๊สมีปริมาตรและรูปร่าง ปริมาตรของสสารทัง้ ๓ สถานะ เปลี่ยนไปตามภาชนะทบี่ รรจุ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลอ่ื นท่ีแบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๔ ๑. ระบุผลของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อ • แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดที่โลกกระทา วตั ถจุ ากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ต่อวัตถุ มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางโลก และเป็นแรงไม่ ๒. ใช้เครื่องช่ังสปริงในการวัด สัมผัส แรงดึงดูดท่ีโลกกระทากับวัตถุหน่ึง ๆ ทาให้ น้าหนักของวัตถุ วัตถุตกลงสู่พื้นโลก และทาให้วัตถุมีน้าหนัก วัด น้าหนักของวัตถุได้จากเครื่องช่ังสปริง น้าหนักของ วัตถุข้ึนกับมวลของวัตถุ โดยวัตถุที่มีมวลมากจะมี น้าหนกั มาก วตั ถุทม่ี มี วลนอ้ ยจะมีนา้ หนักนอ้ ย ๓. บรรยายมวลของวัตถุที่มีผลต่อ • มวล คือ ปรมิ าณเนอ้ื ของสสารทั้งหมดที่ประกอบ การเปลย่ี นแปลงการเคล่อื นท่ีของวัตถุ กันเป็นวัตถุ ซ่ึงมีผลต่อความยากง่ายในการ จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ วัตถุท่ีมีมวลมาก จะเปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ได้ยากกว่าวัตถุท่ีมีมวล น้อย ดังน้ันมวลของวัตถุนอกจากจะหมายถึงเน้ือ ท้ั งห มดของวั ตถุ นั้ นแล้ ว ยั งห มายถึ งกา รต้ า น ก า ร เปลยี่ นแปลงการเคลอื่ นทีข่ องวัตถนุ ้นั ด้วย มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่ เก่ียวขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๔ ๑. จาแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส • เม่ือมองสิ่งต่าง ๆ โดยมีวัตถุต่างชนิดกันมาก้ัน ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง จาก แสง จะทาให้ลักษณะการมองเห็นสิ่งน้ัน ๆ ชัดเจน ลักษณะการมองเห็นส่ิงต่าง ๆ ผ่านวัตถุ ต่างกัน จึงจาแนกวัตถุท่ีมาก้ันออกเป็นตัวกลาง น้ันเป็นเกณฑ์โดยใช้หลักฐานเชิง โปร่งใส ซ่งึ ทาใหม้ องเห็นส่ิงต่าง ๆ ไดช้ ดั เจน ตัวกลาง ประจักษ์ โปร่งแสงทาให้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ไม่ชัดเจน และ วตั ถทุ บึ แสงทาใหม้ องไมเ่ หน็ สิ่งตา่ ง ๆ น้ัน

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ท่ีส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ ชัน้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๔ ๑. อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้น • ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก โดยดวงจันทร์ และตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐาน หมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบโลก ขณะที่โลกก็ เชงิ ประจักษ์ หมุนรอบตัวเองด้วยเช่นกัน การหมุนรอบตัวเองของ โลกจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออกในทิศทางทวน เข็มนาฬิกาเมื่อมองจากขั้วโลกเหนือ ทาให้มองเห็น ดวงจันทร์ปรากฏขึ้นทางด้านทิศตะวันออกและตก ทางดา้ นทศิ ตะวนั ตกหมุนเวียนเปน็ แบบรปู ซ้า ๆ ๒. สร้างแบบจาลองท่ีอธิบายแบบ • ดวงจันทร์เป็นวตั ถุที่เปน็ ทรงกลม แต่รูปร่างของ รปู การเปลยี่ นแปลงรปู ร่างปรากฏของ ดวงจันทร์ที่มองเห็นหรอื รูปรา่ งปรากฏของดวงจันทร์ ดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่าง บนท้องฟ้าแตกต่างกันไปในแต่ละวนั โดยในแต่ละวัน ปรากฏของดวงจันทร์ ดวงจันทร์จะมีรูปร่างปรากฏเป็นเส้ียวที่มีขนาด เพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ืองจนเต็มดวง จากน้ันรูปร่าง ปรากฏของดวงจันทรจ์ ะแหว่งและมีขนาดลดลงอย่าง ต่อเน่ืองจนมองไม่เห็นดวงจันทร์ จากน้ันรูปร่าง ปรากฏของดวงจันทร์จะเป็นเส้ียวใหญ่ข้ึนจนเต็มดวง อีกครั้งการเปล่ียนแปลงเช่นนี้เป็นแบบรูปซ้ากันทุก เดอื น ๓ . ส ร้ า ง แ บ บ จ า ล อ ง แ ส ด ง • ระบบสุริยะเป็นระบบท่ีมีดวงอาทิตย์เป็น องค์ประกอบของระบบสุริยะ และ ศูนย์กลางและมีบริวารประกอบด้วย ดาวเคราะห์ อธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของ แปดดวง และบริวาร ซ่ึงดาวเคราะห์แต่ละดวงมี ดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ จากแบบจาลอง ขนาดและระยะห่างจากดวงอาทิตย์แตกต่างกัน และ ยังประกอบด้วย ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ โคจรอยู่รอบดวง อาทิตย์ วัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ เม่ือเข้ามาในช้ัน บรรยากาศเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ทาให้เกิด เปน็ ดาวตกหรือผีพุ่งไต้และอกุ กาบาต

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขัน้ ตอนและเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รู้เทา่ ทัน และมีจรยิ ธรรม ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๔ ๑. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ • การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ แก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การ หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการ คาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่าง แก้ปัญหา การอธิบายการทางาน หรือการคาดการณ์ ง่าย ผลลพั ธ์ • สถานะเริ่มต้นของการทางานที่แตกต่างกันจะให้ ผลลพั ธ์ท่แี ตกต่างกนั • ตัวอย่างปัญหา เช่น เกม OX โปรแกรมที่มีการ คานวณ โปรแกรมที่มีตัวละครหลายตัวและมีการ ส่ั ง ง า น ท่ี แ ต ก ต่ า ง ห รื อ มี ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง กั น การเดนิ ทางไปโรงเรียน โดยวธิ กี ารต่าง ๆ ๒. ออกแบบ และเขียนโปรแกรม • การออกแบบโปรแกรมอย่างง่าย เช่น การ อย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ ออกแบบโดยใช้ storyboard หรือการออกแบบ และตรวจหาขอ้ ผิดพลาดและแก้ไข อัลกอริทึม • การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาส่ัง ให้คอมพิวเตอร์ทางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตาม ความ ตอ้ งการ หากมขี อ้ ผดิ พลาดให้ตรวจสอบ การทางานที ละคาส่ัง เม่ือพบจุดท่ีทาให้ผลลัพธ์ ไม่ถูกต้อง ให้ทา การแกไ้ ขจนกวา่ จะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง • ตัวอยา่ งโปรแกรมทีม่ ีเร่ืองราว เช่น นทิ านท่ีมีการ โต้ตอบกับผู้ใช้ การ์ตูนสั้น เล่ากิจวัตรประจาวัน ภาพเคลอ่ื นไหว • การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของ ผู้อื่นจะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาไดด้ ี ยิง่ ข้นึ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo

ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ • การใช้คาค้นท่ีตรงประเด็น กระชับ จะทาให้ได้ และประเมินความน่าเชื่อถือของ ผลลพั ธท์ ่รี วดเร็วและตรงตามความต้องการ ขอ้ มูล • การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น พิจารณาประเภทของเว็บไซต์ (หน่วยงานราชการ สานักข่าว องค์กร) ผู้เขียน วันที่เผยแพร่ข้อมูล การ อา้ งองิ • เมื่อได้ข้อมูลที่ต้องการจากเวบ็ ไซต์ต่าง ๆ จะต้อง นาเนื้อหามาพิจารณา เปรียบเทียบ แล้วเลือกข้อมูลท่ี มคี วามสอดคล้องและสัมพนั ธ์กัน • การทารายงานหรือการนาเสนอข้อมูลจะต้องนา ข้อมูลมาเรียบเรียง สรุป เป็นภาษาของตนเอง ท่ี เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวิธีการนาเสนอ (บูรณาการกบั วชิ าภาษาไทย) ป.๔ ๔. รวบรวม ประเมิน นาเสนอ • การรวบรวมข้อมลู ทาได้โดยกาหนดหัวขอ้ ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ โ ด ย ใ ช้ ทต่ี อ้ งการ เตรยี มอปุ กรณ์ในการจดบนั ทึก ซอฟต์แวร์ทหี่ ลากหลาย เพื่อแกป้ ญั หา • การประมวลผลอย่างงา่ ย เชน่ เปรยี บเทยี บ ในชวี ติ ประจาวัน จัดกลุม่ เรียงลาดบั การหาผลรวม • วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้ ประเมินทางเลอื ก (เปรียบเทียบ ตดั สิน) • การนาเสนอขอ้ มูลทาได้หลายลักษณะตามความ เหมาะสม เช่น การบอกเล่า เอกส ารรายงาน โปสเตอร์ โปรแกรมนาเสนอ • การใช้ซอฟต์แวร์เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน เช่น การสารวจเมนูอาหารกลางวันโดยใช้ซอฟต์แวร์ สร้างแบบสอบถามและเก็บข้อมูล ใช้ซอฟต์แวร์ตาราง ทางานเพ่ือประมวลผลข้อมูล รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ คุณค่าทางโภชนาการและสร้างรายการอาหารสาหรับ ๕ วัน ใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอผลการสารวจรายการ อาหารทีเ่ ป็นทางเลอื กและข้อมูลด้านโภชนาการ

ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๕. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปลอดภยั เข้าใจสทิ ธแิ ละหน้าท่ีของตน เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน แจ้งผู้เก่ียวข้อง เช่น ไม่สร้างข้อความเท็จและส่งให้ผู้อื่น ไม่สร้าง เมอ่ื พบข้อมูลหรอื บคุ คลที่ไม่เหมาะสม ความเดือดร้อนต่อผู้อื่นโดยการส่งสแปมข้อความ ลูกโซ่ ส่งต่อโพสต์ท่ีมีข้อมูลส่วนตัวของผู้อ่ืน ส่งคา เชิญเล่นเกม ไม่เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวหรือการบ้านของ บุ ค ค ล อื่ น โ ด ย ไ ม่ ไ ด้ รั บ อ นุ ญ า ต ไ ม่ ใ ช้ เ ค ร่ื อ ง คอมพิวเตอร์/ชื่อบัญชขี องผู้อ่ืน • การสือ่ สารอย่างมีมารยาทและรู้กาลเทศะ • การปกป้องข้อมูลส่วนตัว เช่น การออกจาก ระบบเม่ือเลิกใช้งาน ไม่บอกรหัสผ่าน ไม่บอกเลข ประจาตัวประชาชน

ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหวา่ งส่ิงไมม่ ชี ีวิตกับ สง่ิ มชี ีวิต และความสัมพันธร์ ะหว่างสง่ิ มชี วี ิตกบั ส่งิ มีชวี ิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลังงาน การ เปล่ยี นแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบทม่ี ีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากร ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๕ ๑. บรรยายโครงสร้างและลักษณะ • สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์มีโครงสร้างและลักษณะ ของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสมกั บการ ที่เหมาะสมในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ซ่ึงเป็นผลมาจาก ดารงชีวิต ซ่ึงเป็นผลมาจากการปรับตัว การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้ดารงชีวิตและอยู่รอด ของสิ่งมชี วี ติ ในแตล่ ะแหล่งท่ีอยู่ ได้ในแต่ละแหล่งที่อยู่ เช่น ผักตบชวามีช่องอากาศใน ก้านใบ ช่วยให้ลอยน้าได้ ต้นโกงกางท่ีข้ึนอยู่ในป่าชาย เลนมีรากค้าจุนทาให้ลาตน้ ไมล่ ้ม ปลามคี รีบช่วยในการ เคลอ่ื นทใี่ นนา้ ๒. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง • ในแหล่งท่ีอยู่หน่ึง ๆ ส่ิงมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์ สง่ิ มีชีวิตกบั สง่ิ มชี วี ิต และความสัมพันธ์ ซ่ึ ง กั น แ ล ะ กั น แ ล ะ สั ม พั น ธ์ กั บ ส่ิ ง ไ ม่ มี ชี วิ ต ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิต เพ่ือ เพื่อประโยชน์ต่อการดารงชีวิต เช่น ความสัมพันธ์กัน ประโยชนต์ ่อการดารงชีวติ ด้านการกินกันเป็นอาหาร เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ๓. เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาท หลบภัยและเลย้ี งดูลกู อ่อน ใช้อากาศในการหายใจ หน้าที่ของส่ิงมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิตและ • สิ่งมีชีวิตมีการกินกันเป็นอาหาร โดยกินต่อกัน ผูบ้ ริโภคในโซอ่ าหาร เป็นทอด ๆ ในรปู แบบของโซ่อาหาร ทาใหส้ ามารถระบุ ๔ . ต ร ะ ห นั ก ใ น คุ ณ ค่ า ข อ ง บทบาทหน้าทีข่ องสิ่งมีชวี ติ เป็นผผู้ ลิตและผบู้ ริโภค ส่ิงแวดล้อมที่มีต่อการดารงชีวิตของ สิ่งมีชีวิต โดยมีส่วนร่วมในการดูแล รักษาส่งิ แวดลอ้ ม มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสาร พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มผี ลต่อส่ิงมีชวี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการ ของสงิ่ มชี ีวติ รวมท้ังนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๕ ๑. อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมี • สิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ เมื่อโตเต็มท่ีจะมี การถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช การสืบพันธุ์เพื่อเพ่ิมจานวนและดารงพันธุ์ โดยลูก สัตว์ และมนุษย์ ท่ีเกิดมาจะได้รับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ๒. แสดงความอยากรู้อยากเหน็ โดย จากพ่อแม่ทาให้มีลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเฉพาะ การถามคาถามเก่ียวกับลักษณะที่ แตกตา่ งจากสิ่งมีชวี ิตชนิดอืน่ คล้ายคลงึ กนั ของตนเองกบั พ่อแม่ • พืชมีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม เชน่ ลักษณะของใบ สดี อก • สัตว์มีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เช่น สีขน ลกั ษณะของขน ลักษณะของหู • มนุษย์มีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เช่น เชิงผมท่ีหน้าผาก ลักย้ิม ลักษณะหนังตา การห่อล้ิน ลักษณะของต่ิงหู สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของ สสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๕ ๑. อธิบายการเปลี่ยนสถานะของ • การเปลี่ยนสถานะของสสารเป็นการเปลี่ยนแปลง สสาร เม่ือทาให้สสารร้อนข้ึนหรือเย็น ทางกายภาพ เม่ือเพิ่มความร้อนใหก้ ับสสารถงึ ระดับหนึ่ง ลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ จะทาให้สสารที่เป็นของแข็งเปล่ียนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลว และเม่ือเพิ่มความร้อนต่อไป จนถึงอีกระดับหนึ่งของเหลวจะเปล่ยี นเป็นแก๊ส เรียกวา่ การกลายเป็นไอ แต่เม่ือลดความร้อนลงถึงระดับหน่ึง แก๊สจะเปล่ียนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่าการ ควบแน่น และถ้าลดความร้อนต่อไปอีกจนถึงระดับหนึ่ง ของเหลวจะเปล่ียนสถานะเป็นของแข็ง เรียกว่า การแข็งตัว สสารบางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็งเป็นแก๊สโดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว เรียกว่า การระเหิด ส่วนแก๊สบางชนิดสามารถเปล่ยี นสถานะเป็น ของแข็งโดยไมผ่ า่ นการเปน็ ของเหลว เรียกวา่ การระเหดิ กลับ

ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๒. อธิบายการละลายของสารในน้า • เมื่อใส่สารลงในน้าแล้วสารนั้นรวมเป็นเน้ือ โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ เดียวกันกับน้าทั่วทุกส่วน แสดงว่าสารเกิดการละลาย เรยี กสารผสมทไี่ ด้ว่าสารละลาย ๓. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของ • เม่ือผสมสาร ๒ ชนิดขึ้นไปแล้วมีสารใหม่เกิดข้ึน สารเมื่อเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมี ซ่ึงมีสมบัติต่างจากสารเดิมหรือเมื่อสารชนิดเดียว โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงแล้ ว มี สารใหม่ เ กิ ด ข้ึ น การเปลี่ยนแปลงน้ีเรียกว่า การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งสังเกตได้จากมีสีหรือกลิ่นต่างจากสารเดิม หรือมี ฟองแก๊ส หรือมีตะกอนเกิดขึ้น หรือมีการเพิ่มข้ึนหรือ ลดลงของอุณหภูมิ ๔ . วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ร ะ บุ ก า ร • เมื่อสารเกิดการเปล่ียนแปลงแล้ว สารสามารถ เปล่ียนแปลงที่ผันกลับได้และการ เปลี่ยนกลับเป็นสารเดิมได้ เป็นการเปล่ียนแปลงท่ีผัน เปล่ียนแปลงท่ผี นั กลบั ไม่ได้ กลับได้ เช่น การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การละลาย แต่สารบางอย่างเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว ไม่สามารถเปล่ียนกลับเป็นสารเดิมได้ เป็นการ เปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับไม่ได้ เช่นการเผาไหม้ การเกิด สนมิ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลื่อนท่ีแบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ชัน้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๕ ๑. อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของ • แรงลัพธ์เป็นผลรวมของแรงที่กระทาต่อวัตถุ โดย แรงหลายแรงในแนวเดียวกันทกี่ ระทา แรงลัพธ์ของแรง ๒ แรงที่กระทาต่อวัตถุเดียวกันจะมี ต่อวัตถุในกรณีท่ีวัตถุอยู่น่ิ งจ าก ขนาดเท่ากับผลรวมของแรงท้ังสองเม่ือแรงท้ังสองอยู่ หลกั ฐานเชิงประจักษ์ ในแนวเดียวกันและมีทิศทางเดียวกัน แต่จะมีขนาด ๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงที่ เท่ากับผลต่างของแรงท้ังสองเมื่อแรงท้ังสองอยู่ในแนว กระทาต่อวัตถุท่ีอยู่ในแนวเดียวกัน เดียวกันแต่มีทิศทางตรงข้ามกัน สาหรับวัตถุที่อยู่นิ่ง และแรงลัพธท์ ีก่ ระทาต่อวัตถุ แรงลัพธท์ ่กี ระทาต่อวัตถุมคี ่าเป็นศูนย์ ๓. ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดแรง • การเขียนแผนภาพของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ทีก่ ระทาตอ่ วตั ถุ สามารถเขียนได้โดยใช้ลูกศร โดยหัวลูกศรแสดง ทิศทางของแรง และความยาวของลูกศรแสดงขนาด ของแรงทีก่ ระทาตอ่ วตั ถุ

ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๔. ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีต่อ • แรงเสียดทานเป็นแรงท่ีเกิดข้ึนระหว่างผิวสัมผสั การเปล่ยี นแปลงการเคลอื่ นท่ีของวัตถุ ของวัตถุ เพื่อต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุน้ัน โดยถ้า จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ออกแรงกระทาต่อวัตถุที่อยู่นิ่งบนพื้นผิวหนึ่งให้ ๕. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียด เคลื่อนที่ แรงเสียดทานจากพ้ืนผิวนั้นก็จะต้านการ ทานและแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันท่ี เคลื่อนที่ของวัตถุ แต่ถ้าวัตถุกาลังเคลื่อนที่ แรงเสียด กระทาตอ่ วัตถุ ทานก็จะทาใหว้ ตั ถุนั้นเคลอ่ื นท่ีชา้ ลงหรือหยดุ นงิ่ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี เกีย่ วข้องกับเสยี ง แสง และคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๕ ๑. อธิบายการได้ยินเสียงผ่าน • การได้ยินเสียงต้องอาศัยตัวกลาง โดยอาจเป็น ตัวกลางจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ของแข็ง ของเหลว หรืออากาศ เสียงจะส่งผ่าน ตวั กลางมายงั หู ๒. ระบุตัวแปร ทดลอง และ • เสียงที่ได้ยินมีระดับสูงต่าของเสียงต่างกันข้ึนกับ อธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง ความถ่ีของการส่ันของแหล่งกาเนิดเสียง โดยเมื่อ เสียงตา่ แหลง่ กาเนิดเสียงสัน่ ด้วยความถีต่ ่าจะเกิดเสยี งตา่ แต่ ๓. ออกแบบการทดลองและ ถ้าสั่นด้วยความถี่สูงจะเกิดเสียงสูง ส่วนเสียงดังค่อย อธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง ที่ได้ยินข้ึนกับพลังงานการสั่นของแหล่งกาเนิดเสียง เสยี งค่อย โดยเม่ือแหล่งกาเนิดเสียงส่ันด้วยพลังงานมากจะเกิด ๔. วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือ เสียงดัง แต่ถ้าแหล่งกาเนิดเสียงส่ันด้วยพลังงานน้อย วัดระดบั เสยี ง จะเกิดเสียงคอ่ ย ๕. ตระหนักในคุณค่าของความรู้ • เสียงดังมาก ๆ เป็นอันตรายต่อการได้ยินและ เรอ่ื งระดบั เสยี งโดยเสนอแนะแนวทาง เสียงที่ก่อให้เกิดความราคาญเป็นมลพิษทางเสียง เด ในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทาง ซิเบลเปน็ หน่วยทบ่ี อกถึงความดังของเสียง เสียง สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ท่ีส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการ ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๕ ๑. เปรียบเทียบความแตกต่างของ • ดาวท่ีมองเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซึ่งเป็น ด า ว เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ด า ว ฤ ก ษ์ จ า ก บริเวณท่ีอยู่นอกบรรยากาศของโลก มีท้ังดาวฤกษ์ แบบจาลอง และดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์เป็นแหล่งกาเนิดแสงจึง สามารถมอ งเ ห็น ไ ด้ ส่ว นดาว เคราะ ห์ ไ ม่ ใ ช่ แหลง่ กาเนดิ แสง แต่สามารถมองเห็นได้เน่ืองจากแสง จากดวงอาทิตย์ตกกระทบดาวเคราะห์แล้วสะท้อน เขา้ สู่ตา ป.๕ ๒. ใช้แผนท่ีดาวระบุตาแหน่งและ • การมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ เกิด เส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาว จากจินตนาการของผู้สังเกต กลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ ที่ ฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบายแบบรูป ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมดี าวฤกษ์แต่ละดวงเรียง เส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาว กันที่ตาแหน่งคงท่ี และมีเส้นทางการขึ้นและตกตาม ฤกษบ์ นท้องฟ้าในรอบปี เส้นทางเดิมทุกคืน ซ่ึงจะปรากฏตาแหน่งเดิม การ สังเกตตาแหน่งและการข้ึนและตกของดาวฤกษ์ และ กลุ่มดาวฤกษ์ สามารถทาได้โดยใช้แผนที่ดาว ซึ่งระบุ มุมทิศและมุมเงยท่ีกลุ่มดาวนั้นปรากฏ ผู้สังเกต สามารถใช้มือในการประมาณค่าของมุมเงยเมื่อ สงั เกตดาวในทอ้ งฟา้ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ัง ผลต่อสิ่งมชี ีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๕ ๑. เปรียบเทียบปริมาณน้าในแต่ • โลกมีท้ังน้าจืดและน้าเค็มซึ่งอยู่ในแหล่งน้าต่าง ๆ ละแหล่ง และระบุปริมาณน้าท่ีมนุษย์ ที่มีท้ังแหล่งน้าผิวดิน เช่น ทะเล มหาสมุทร บึง แม่น้า สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ จาก และแหล่งน้าใต้ดิน เช่น น้าในดิน และน้าบาดาล น้า ข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ ทั้งหมดของโลกแบ่งเป็นน้าเค็มประมาณร้อยละ ๙๗.๕ ซึ่งอยู่ในมหาสมุทรและแหล่งน้าอ่ืน ๆ และท่ีเหลืออีก ประมาณร้อยละ ๒.๕ เปน็ น้าจดื ถ้าเรียงลาดับปริมาณ น้าจืดจากมากไปน้อยจะอยู่ท่ี ธารน้าแข็ง และพืด น้าแข็ง น้าใต้ดิน ช้ันดินเยือกแข็งคงตัวและน้าแข็งใต้ ดิน ทะเลสาบ ความช้ืนในดิน ความช้ืนในบรรยากาศ บงึ แมน่ ้า และน้าในสง่ิ มีชีวิต ๒. ตระหนักถึงคุณค่าของน้าโดย • น้าจืดที่มนุษย์นามาใช้ได้มีปริมาณน้อยมากจึง นาเสนอแนวทางการใช้น้าอย่าง ควรใช้น้าอยา่ งประหยัดและร่วมกนั อนรุ ักษ์น้า ประหยดั และการอนุรักษน์ า้