Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GEH2201 การพัฒนาตน

GEH2201 การพัฒนาตน

Published by fastbad, 2016-07-07 04:34:12

Description: GEH2201 การพัฒนาตน

Keywords: การพัฒนาตน

Search

Read the Text Version

การพัฒนาตนเปรียบเหมือนหนาตาง 4 บาน เรียกวา “หนา ตางหวั ใจ” 1.สวนทีเ่ ปดเผย พฤติกรรมภายนอกแสดงออก 2.สวนท่เี ปน จุดบอด ตนเองแสดงออกไมร ตู วั 3.สว นซอนเรน เปน ความลับสว นตัว ซอ นไวในใจ 4.สว นลึกลับ บุคคลแสดงออกโดยไมร ตู วั ความหมายของหนา ตา งท้งั 4 บาน สวนท่ี 1 บรเิ วณเปด เผย (Open Area) อตั ตาในสวนน้ีเปนสวนที่เปดเผย ตนเองตระหนักในความเปนตนเองอยางดี และบุคคลอ่ืนก็เห็นดวย และรูจักเราตรงตามท่ีเราเปนอยูวาเราเปนบคุ คลลกั ษณะไหน (public self ) และตรงกับทเ่ี รารูจกั ตนเองดว ย ท้ังดานความคิด ความรูสึก หรือการกระทาํ เชน เรารจู ักตนเองดีวาเราเปน คนใจรอ น โกรธงาย และคนอน่ื ๆ ใกลชิดเราก็รูจักเราตรงตามความเปนจรงิ ที่วา เราเปน คนใจรอ น และโกรธงาย เปน ตน สวนที่ 2 บริเวณจุดบอด (Blind Area) เปนอัตตาในสวนท่ีผูอื่นมองนั้นเห็นอยูวา เราเปนคนอยางไร แตเราเองไมรูหรือไมไดตระหนักวาเราเปนดังเชนที่ผูอื่นมอง ทั้งทางดานความคิด ดานความรูสกึ หรือในดานของการกระทํา บริเวณน้ีจึงเปนจุดบอด (semi public area) เชน เราเปนคนอคติเห็นแกตัว และเอาเปรียบผูอ่ืน แตเราไมเคยตระหนักในธรรมชาติสวนนี้ หากแตผูอื่นไดมองเห็นในส่ิงเหลาน้ีอยางชัดเจน เปนตน ความตระหนักในตนเองในสวนน้ีจะเกิดขึ้นไดตอเม่ือบุคคลไดร บั ทราบจากการบอกกลา วของบุคคลอื่นโดยทเ่ี จาตัวจะตอ งรับฟง พิจารณา และยอมรบั สวนที่ 3 บริเวณความลับ (Hidden Area) ธรรมชาติของความเปนตนเอง บางสวนของเรา เราซ่ึงเปนเจาของตระหนักเปนอยางดี หากแตบุคคลอ่ืนไมรู ไมเคยรับทราบ และเราเองก็พยายามปกปดสิ่งนั้นไมใหผูอื่นรู เพราะความคิด ความรูสึก หรือพฤติกรรมบางอยางไมเปนที่ยอมรบั ในสังคม เจา ตวั จงึ ตอ งปดไวเปน ความลับ (private self) เชน เจาตัวตระหนักดีวาเราเปนคนชอบอิจฉาริษยา แตก็เราพยายามปกปดความรูสึกเชนนั้นไวอยางมิดชิด ไมใหผูอื่นรู เพราะความรสู ึกดังกลาวเปนสิ่งท่ีสงั คมไมไดนิยมยกยอง เปนตน บุคคลท่ีมีอัตตาในสวนน้ีมากจะเปนคนที่เขาใจยากและลับลมคมใน มีสิ่งซอนเรนปกปด การสรางสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นๆก็เกิดขึ้นไดยาก อัตตาในสว นนจ้ี ะเปน ท่เี ปด เผยตอ ผูอนื่ ก็ตอเม่ือเจา ตัวบอกใหผ ูอน่ื ทราบ สวนท่ี 4 บริเวณอวิชา (Unknown Area) เปนอัตตาที่อยูในสวนลึกของบุคคล (innerself) เปนสว นประกอบของธรรมชาตสิ วนทเี่ ปน พื้นฐานเดิมซง่ึ ยังซอนเรนอยูในสวนลึก ซ่ึงเจาตัวเองก็ไมร ู และบคุ คลอืน่ ก็ไมรู อาจจะปรากฏออกมาใหเห็นไดโดยทีเ่ จา ตวั ไมไดต ระหนัก เชน พฤติกรรม 89

การพฒั นาตนหรือสัญชาตญาณดั้งเดิมท่ีบุคคลมีอยูในระดับจิตใตสํานึก เปนตน อัตตาในสวนนี้จะเปนท่ีเปดเผยไดอาจตองใชวิธีการทางจิตวิทยาในการวิเคราะหเพื่อดึงข้ึนมาสูระดับจิตสํานึก ความตระหนักในตนเองของมนุษยแตละคนนั้นมีไมเทากัน คนท่ีมีความตระหนักในตนเองนอย คือบุคคลท่ีไมรูจักตนเอง บริเวณเปดเผยในสวนที่ 1 จะแคบ บริเวณอ่ืน ๆ จะกวาง ในทางตรงกันขามกันบุคคลท่ีมีความตระหนักในตนเองเปนอยางดี บริเวณเปดเผยในสวนที่ 1 จะกวาง แตบริเวณอ่ืน ๆ จะแคบน่ันคือบุคคลนั้นเปนผูรูจักตนเองดี ไมมีอะไรท่ีตนเองไมรูเก่ียวกับธรรมชาติของตนและไมมีอะไรที่ตนจะตอ งปด บงั ซอนเรนไวเ ปนความลับ เปนตน(สิริรตั , 2553) เมอ่ื บุคคลใดก็ตามไดต ระหนักรบั รูภาพพจนต นเองจากทฤษฎีตนเองจากหนาตาง โจฮารีแลว จะทําใหบุคคลนั้นไดรับความรูเพื่อมาวิเคราะหและปรับปรุงตนเองไดอยางถูกตอง เพื่อใหมีพ้ืนท่ีของหนาตางชองท่ี 1ไดมากที่สุด (เปนชองที่เปดเผยบุคลิกภาพใหคนอื่นทราบ) นอกจากนี้แลวยังทําใหบุคคลไดเขาใจและวิเคราะหพฤติกรรมของบุคคลอื่นได เมื่อบุคคลเขาใจตนเองและเขา ใจบุคคลอืน่ แลวยอ มทําใหเกิดการสามารถประสานสัมพันธ หรือการเกิดมนุษยสัมพันธอันดีใหเกิดข้ึนได โดยมีการยอมรับขอดีและขอเสียของกันและกันและยังทําใหละเลยขอบกพรองของคนอ่ืนซึ่งจะทําใหสามารถคบหาสมาคมหรือรวมงานกับบุคคลอ่ืนไดเปนอยางดีและเกิดประสิทธิภาพในการดําเนนิ ชีวิตทีด่ ีและมคี วามสขุ (ภทั รวิทย ธรี ภคั สิริ,2557)ตอนท่ี 3.5 การสรา งความเขา ใจตนเอง เค ยัง (K. Young, 1940) กลาววา ตนคือ จิตสํานึก (consciousness) ตอการกระทําและตอ ความคดิ ของตนเองและการมีความสัมพันธกับบุคคลอ่ืน จิตสํานึกน้ันหมายความวา ตราบใดท่ีบุคคลยังสํานึกรูอยูวามีตัวตนอยู ตราบนั้นตัวตนก็ยังจะยังอยู ตัวตนไมไดมีโครงสรางหรือองคประกอบเดียว มีอยูหลายองคประกอบดวยกันซึ่งจะทําหนาท่ีสัมพันธกัน ทําใหตัวตนดํารงอยูได ตัวตนจะมกี ารพัฒนาตามสภาพขิงพื้นฐานครอบครวั สงั คม และองคประกอบทางสง่ิ แวดลอมวิลเลียม เจมส (James, 1890) กลาววา ตัวตนคือ ผลรวมของสวนยอยตาง ๆ ทุกสวนที่ประกอบกนั ขึ้นในตัวบุคคล หมายถึง คุณลักษณะหรือบุคลิกภาพทางดานรูปรางหนาตา กิริยาทาทาง นิสัยใจคอ สติปญ ญา และความสามารถท่มี อี ยูใ นตัวบุคคลนนั้90

การพฒั นาตนภาพที่ 3.14 ทางพุทธศาสนากลาวถึงตวั ตนวาตวั ตนก็คอื การประกอบเขาดวยกันของกลุม (ขนั ธ) 5กลมุ (กอง) ที่เมื่อประกอบกันเขาแลวกลายเปนสง่ิ มีชีวิต เปน สตั ว เปนบุคคล เปนตัวตน เปน เราเปน เขาทมี่ า : www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm#ixzz3nht2bnAj และ7www.tnews.co.th/html/content/134923 คําวา “ตัวตน” มีความหมายตรงกับคําวา อัตตา หรือในศาสนาฮินดูเรียกวา อาตมัน ในภาษาอังกฤษคําน้ีตรงกับคําวา “self” หรือ “ego” ในทางพุทธศาสนาก็กลาวถึงตัวตนวา ตัวตนก็คือการประกอบเขาดวยกันของกลุม (ขันธ) 5 กลุม (กอง) ที่เม่ือประกอบกันเขาแลวกลายเปนสิ่งมีชวี ิต เปนสัตว เปนบคุ คล เปนตวั ตน เปน เรา เปน เขา ดังน้ี (นพมาศ องุ พระ, 2555, หนา 23) กลุมที่ 1 กลุม ท่เี ปน รูป เปนรา งกาย เปน สวนทีท่ าํ ใหเกดิ พฤติกรรมและเกิดคุณสมบัติตางๆ ท่ีเปนบุคคลนั้น รวมถึง ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เน้ือ สวนตาง ๆ ของรางกายมีท้ังท่ีเปนอวัยวะภายนอกท่ีมองเหน็ ได และอวยั วะภายในที่ไมส ามารถมองเหน็ ได กลุมที่ 2 กลุมความรูสึก (เวทนา) คือ กลุมที่ทําใหคนเราเกิดความรูสึกตางๆ เม่ืออวัยวะไดไปสัมผัส คือ ตา หู จมูก กาย และใจ กระทบกับส่ิงเราที่อยูภายนอก ไดแก รูป รส กล่ิน เสียงสัมผัส และอารมณตาง ๆ แลว ทําใหบุคคลนั้นเกิดความรูสึกท่ีเปนทุกข เปนสุข หรือเฉย ๆ ตอส่ิงเราทเ่ี ขา มากระทบนน้ั กลมุ ที่ 3 กลุมจดจํา (สัญญา) คือ กลุมท่ีเปนสัญญา ทําใหบุคคลน้ันจําได นึกได รับรู สิ่งตาง ๆ ท่ีผานเขามาทางทวารก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ เชน จําไดวาเปนสีแดง เขียว ขาว สูงต่ํา ดํา ขาว อวน เต้ีย ผอม สูง ส่ิงน้ันคืออะไร มีรูปทรงสัณฐานเปนอยางไร สามารถบอกไดอยางถกู ตอ งชดั เจน 91

การพัฒนาตน กลุมท่ี 4 กลุมปรุงแตง (สังขาร) เปนกลุมท่ีคอยปรุงแตง หรือปรับปรุงจิตใหจิตไดคิดส่ิงท่ีพบเหน็ หรอื สงิ่ ทร่ี บั รูวาสิง่ นัน้ ๆ ดีหรือไมด ี มลี กั ษณะเปนอยางไร โดยมีเจตนาเปนตัวนําทางที่คอยบงช้ี ส่ิงท่ีคิดนั้นวาดี (กุศล) วาไมดี (อกุศล) คือ มีเจตนาท่ีดี หรือเจตนาท่ีราย หรือเจตนาท่ีเปนกลาง ๆ ตอ สง่ิ ทพ่ี บเหน็ แลวคดิ ในสิง่ นั้น กลุมที่ 5 กลุมความรูความเขาใจ (วิญญาณ) คือ กลุมที่ทําความรูแจง ความเขาใจ ที่ไดพบเห็นไดสัมผัสทาง ตา หู จมูก อยางเชน ส่ิงน้ันคืออะไร มีรูปราง มีลักษณะอยางไร สามารถเขาใจอยา งชดั เจน ดังนนั้ สว นนี้ก็คอื สวนท่เี ปนจติ เปน ความคดิ ของคนเรา ฮิกกิ้น, มารกัส และวุฟ (Higgins, Markus & weef, 1987) (http://www.novabizz.com)กลาววา ตัวตนคือการรูจักแยกแยะ หรือความรูสึกนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง ในดานภาพลักษณจินตนาการ คุณสมบัติ รูปสมบัติ ส่ิงแวดลอมตางๆ การคิดเกี่ยวกับสังคม วิธีการคิด กระบวนการเรียนรูขอมลู ขา วสาร เดวิส ฮุม (Davis Hume) (http://www.novabizz.com) กลาววา ตัวตนคือกอง หรือผลรวมของการรับรูแบบตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนตอ ๆ กันอยางรวดเร็ว การรับรูของตัวเราจะทําใหเกิดการผันแปรทางความคิด ระบบประสาท และสมรรถตาง ๆ ก็มีสวนตอการเปล่ียนแปลงของตัวตน ตัวตนน่ันประกอบดวยกลุม (ขันธ) ที่เปนรูปและกลุมท่ีเปนความรูสึก จดจํา ปรุงแตงรวมถึงความรูความเขาใจที่เปนนาม มีสถานภาพ และมีบทบาทประกอบกัน ทําใหเกิดเปนสิ่งมีชวี ิต มคี วามรูสกึ นึกคดิ มีการจดจํา และการรับรู ภาพที่ 3.15 การมีตัวตนอยู ที่มา : เพจ ออ.เอ https://www.facebook.com/#!/ออ-เอ-970062939702196/92

การพัฒนาตน ความสาํ คญั ของการรูจ กั ตนเอง การรูจักตนเองมีความสําคัญตอการกระทํา การประพฤติ และการแสดงออก ผูท่ีรูจักตนเองทีพอจะดํารงตนอยางเหมาะสมและพอเหมาะพอควร กอนที่จะทําอะไรอ่ืนบุคคลควรจะรูจักตนเองกอนและคนท่ีจะรูจักตนเองไดดีก็คือ ตัวของบุคคลน่ันเอง ดังคํากลาวที่วา ไมมีใครรูจักตัวเราเองไดด ีเทากับตวั เราเอง มีนกั ปราชญหลายคนที่ไดทําการศกึ ษาเก่ียวกับตนเอง ซึ่งจะกลา วดังน้ี โสคราติส (469-399 B.C.) (http://www.novabizz.com) เปนบุคคลแรกที่มองเห็นคุณคาและความสําคัญของการรูจักตนเอง โดยไดกลาววา “จงรูจักตนเอง (Knowyourself) และชีวิตที่ไมรูจักตนเองเปนชีวิตที่ไมมีคา (An unexamined life is not worth living)ชวี ิตของบุคคลนน้ั จะเปนชีวิตท่ีมคี ุณคา หรือไมนั้น ก็ข้ึนอยูกับการท่ีบุคคลน้ันรูจักหรือสํารวจตนเองไดตระหนักรวู า ชวี ิตคืออะไร กาํ ลงั ทาํ อะไรอยูแ ละมชี ีวิตอยูเพือ่ สิง่ ใด เพลโต (427-347 B.C.) (http://www.novabizz.com) ตัวตนของแตละคนน้ัน มีสวนสําคัญ 3 สวนดวยกันคือ 1.สวนที่เปนความอยาก ความตองการ 2.สวนท่ีเปนอารมณความรูสึกตา ง ๆ และ3.สว นท่ีเปน เหตุผล สติปญญา มอญเตญ (1533-1592) (http://www.novabizz.com) ไดเขียนหนังสือเลมหน่ึงชื่อ The Essays ไดเนนตัวตนในท่ีรูปแบบการดําเนินชีวิตวา จงยอมรับตนเอง หลังจากที่ไดรูจักตนเองในทุกสวนแลวท้ังในสวนที่ดีและสวนที่ไมดี เพื่อท่ีจะไดปรับปรุงตนเองตอไป จงยอมรับและเขาใจในผูอื่นที่เกิดจากการศึกษาตนเอง เพราะผลที่ไดจากการที่เราเขาใจตนเองจะชวยใหเรายอมรบั และเขาใจผอู ื่นได จงใชช วี ิตใหม ีความสุข โดยใหสอดคลอ งกบั ธรรมชาติของตนเอง ศาสตรแ หง ตนนเี้ ปน ศาสตรทแ่ี ปลกกวาศาสตรทเ่ี ปนวิทยาศาสตรอื่น ๆ ยิ่งศึกษาก็จะยิ่งมองลึกเขาไปในตนเอง โดยอาศัยปจจัยหรือส่ิงแวดลอมภายนอก เปนตัวเสริมเขามา ท่ีจะทําใหร จู ักตวั เองดยี ่งิ ขึ้น ลักษณะของตนท่ีมองเหน็ คุณคาของตนเอง พดู คดิ ทํา เชิงบวก รูจ กั ตนเองและผูอ ืน่ ในตามความเปนจรงิ มีสัมพนั ธภาพท่ีดกี บั บคุ คลอื่น มคี วามเชอ่ื ม่นั ในตนเองเพ่มิ ขน้ึ มคี วามพยายามในการทําใหเ กิดความสาํ เร็จในส่งิ ท่มี งุ หวังสงู ควรทจี่ ะรจู กั ตนเองในดานใดบาง ฐานะทางเศรษฐกิจ รจู กั การใชจ ายทเ่ี หมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกจิ ของตน 93

การพฒั นาตน มคี วามสามารถทางสมองและบุคลิกภาพ การเลือกทําบางส่ิงบางอยางที่เหมาะ กับความสามารถทางสมองและบุคลิกภาพของตนเอง ความรู ตองแสวงหาความรูอยูเสมอ โดยเฉพาะทางดานสาขาหรืองานท่ีตนเอง ทําอยู ความสามารถท่ัว ๆ ไป และความสามารถพิเศษ ควรที่จะตองรูวาตนเองขาด ความสามารถอะไร จะตอ งเปน คนรูกวาง รไู กล ทันตอ เหตุการณ ความสนใจและนิสยั สนใจในงานทที่ าํ อยางสมํา่ เสมอ และฝกจนเปน นิสัย สขุ ภาพกายและศกั ยภาพทางกาย (http://www.novabizz.com) จากท่ีไดกลาวมาท้ังหมดนั้น มีหลายอยางท่ีเปนศาสตรท่ีบุคคลน้ันจะตองเรียนรูเพ่ือใหเกดิ การรูจัก และเขาใจในตนเอง ซึง่ เราคงตอ งนาํ ความรูและความเขาใจในศาสตรหรือกฎท่ีมีอยูมาเปนเหมอื นกบั ไฟทคี่ อยสอ งนาํ ทางในการสํารวจตัวตนของเราเองทั้งภายในและภายนอก ทั้งสิ่งท่ีดีและไมดี ท้ังความทุกขและความสุข เพราะเม่ือเรามีความเขาใจในตัวตนของเรา มีความเขาใจในความเปนจริงของชีวิตและตัวตนของเราแลว เม่ือเราเจอกับส่ิงเราที่คอยมากระตุนภายนอกหรือผลักดันจากภายใน เราก็จะสามารถควบคุมตัวของเราไดเปนอยางดี ในอีกแงมุมหนึ่ง เมื่อเราเจอกับ ความทกุ ขเราก็จะสามารถแกไข ยบั ยั้งและนําเอาความทุกขนั้นมาสรางเปนมุมมองในดานบวกไดเ ม่อื เราไดเรียนรูและทําความเขาใจ คณุ คา ของการรูจกั ตนเอง การรูจักตนเองเปนส่ิงที่ทุกคนควรตระหนักรูเปนอยางย่ิง เพราะการรูจักตนเองนับเปน พ้ืนฐานที่สาํ คัญทค่ี วรเรียนรเู ปน อนั ดับแรกของชวี ิต แนวทางในการสง เสรมิ การรูจ กั ตนเอง -ฐานะทางเศรษฐกิจ -บุคลิกลกั ษณะ -ความสามารถท่วั ไปและความสามารถพิเศษ -คานิยมท่ียดึ ถอื -ความสนใจ -สขุ ภาพรา งกายและจิตใจ94

การพัฒนาตนภาพที่ 3.16 แนวทางในการศึกษาเพอื่ ตนเองแนวทางในการศกึ ษาเพ่ือตนเองภาพที่ 3.17 การฝกทักษะการรจู ักตนเอง 95

การพัฒนาตนภาพที่ 3.18 มคี วามสุขที่มา : http://i-styletravel.com/20%E0%B8%82%E0%B9%89%0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99/ 20 ขอชวยใหม ีความสุขทุกวนั 1.ตนื่ กอนเวลาสัก 30 นาทีในแตละวัน เพื่อรับอากาศที่สดชืน่ และหลกี เล่ียงการเรงรบี และรถติด 2.หลงั จากลืมตาตนื่ ข้ึนมาแลว ใหบอกกับตัวเองวาวันนจี้ ะเปนวันท่ีดีอีก 1 วันของเรา 3.ขณะน่ังอยูท่ีเตียงหลงั ต่ืนนอน ใหคิดถึงอนาคต คิดถงึ เปาหมายระยะยาวท่ีวางไวและบอกกับตัวเองวา วันนี้จะเปน อีกวันทีจ่ ะขยับเขาไปใกลเปาหมายที่ฝนเอาไว 4. ตรวจสอบตารางเวลางานของวนั วาตองทําอะไรบาง 5.ทานอาหารเชาแสนอรอย เพราะม้ือเชาเปนมื้อสําคัญ 6.กอนออกจากบานใหเช็คตัวเองท่ีหนากระจก และบอกตัวเองวาใครดูดเี ลิศในปฐพี 7.ย้ิมใหกับทุกคนทเี่ ราพบเจอ 8.ชว ยเหลือคนอื่นอยางนอย 3 คน/วัน โดยทีไ่ มหวงั ผลตอบแทน 9.ใหร างวัลแกคนรอบ ๆ ขาง เม่อื พวกเขาทําผลงานที่ยอดเย่ียม 10.โฟกัส และมีสมาธกิ ับส่ิงท่ีตองทําทีละอยาง 11.เลกิ งานใหตรงเวลา เพราะมนั ถงึ เวลาของตัวเอง และคนใกลช ิดแลว 12.เมอื่ เลิกงาน ควรทําตัวใหผ อนคลาย หมดเวลาแหงการเรงรบี แลว 13.ฟงเพลง และอานหนงั สือท่ีคุณชอบ 14.ใหเ วลากับตัวเอง น่ังตรึกตรองวาวันนี้เราทําอะไรไดด ี และอะไรท่ตี องปรับปรุง 15.เตรยี มตวั สาํ หรบั ตารางเวลาของวนั พรุงนี้วาจะตองทําอะไรบาง ?96

การพฒั นาตน 16.จดั เตรยี มสิ่งที่ตองใชในวันพรุงน้ีเพอื่ หลกี เลย่ี งความเรงรบี ในเชาวันรงุ ข้ึน 17. ใชเวลาเพลดิ เพลินไปกบั ชว งเวลาดี ๆ เชนเลา นทิ านกอนนอนใหลูกรัก พดู คุย ใชเ วลากับคนทค่ี ุณรกั 18.กอด และกลาวกูดไนท ราตรีสวัสดิ์ คนที่คณุ รกั กอนนอน 19.นอนนับเหตุการณดๆี ทเ่ี กดิ ขึ้นของวนั นี้ทก่ี ําลงั จะผานไป 20.นอนโดยไมตอ งคิด ไมตอ งกังวลวา พรงุ นีจ้ ะเปน อยา งไร พกั ผอ นใหเ ต็มที่ทม่ี า : http://i-styletravel.com/20%E0%B8%82%E0%B9%89%0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99 ทม่ี า : http://www.hdwallpapersact.com/be-happy/ 97

การพฒั นาตน เรือ่ งเลา ทายบทเรียน เร่อื งน้ําพริกกากหมู. น้าํ พริกกากหมู ทมี่ า : เพจ ออ.เอ https://www.facebook.com/#!/ออ-เอ-970062939702196/ วันกอนไดพาคุณแมไปตลาด แลวแมก็ซ้ือมันหมูกลับบานมา 1 กิโลกรัม ราคา 70 บาทพอกลับมาถึงบานแมใชเวลาไมถึง 10 นาทีในการนํามันหมูใสกะทะแลวเจียวมันหมูใหกลายเปนกากหมูกรอบ พรอ มกบั ไดน ํา้ มันหมู 1 หมอยอมๆทสี่ ามารถใชไ ดน านรวมเดอื น สมัยน้ีหารานที่ใชน้ํามันหมูนอยมาก อาจเพราะความเช่ือท่ีเขาใจกันผิดๆจากการตลาดในการขายน้ํามันพืช และความสะดวกสบายในการซื้อหา ไมตองมานั่งเจียวกากหมูใหเสียเวลาไปเกอื บ 10 นาที แตแมบอกวา นํ้ามันหมูมันหอมกวานํ้ามันพืชเวลาเอามาปรุงอ...าหาร แลวจากการอา นหนงั สอื และดูรายการทาํ อาหารของแมท ําใหรวู า นํ้ามนั หมูน้นั มีประโยชนก วาที่เราเคยเขาใจ การเจียวน้ํามันหมู ก็ใชวิธีแบบบานๆ ไมตองใชสารเคมี ไมตองผานขบวนการอุตสาหกรรม คืออีกเหตุผลหน่ึงที่ผมหันมาใชน้ํามันหมู และก็รวมถึงรับประทานของทอดนอยลงดวย เพราะเมื่อใชนํ้ามันหมูแลวทําใหใชน้ํามันนอยลง ขอสังเกตอยางเวลาที่เราทํากับขาว การใชนํ้ามันหมูจะใชนอยกวานํ้ามันพืชครึ่งหน่ึง แตก็ทําใหกับขาวดูนาทานมากกวาและนํ้ามันหมูทาํ กบั ขา วกห็ อม อรอ ย กวา ทาํ กบั ขา วจากนํา้ มนั พืชมากดว ย\"98

การพฒั นาตน ของแถมเม่อื ไดกากหมูมา คือ น้ําพริกกากหมูท่ีเอาเคร่ืองพริกแกงลงไปผัดใหหอมปรุงรสดวยนา้ํ ปลาและนาํ้ ตาลปบและเตมิ นา้ํ เปลา ลงไปนดิ หนอย อยา มากเกินไปเพราะเมื่อใสกากหมู จะทําใหก ากหมูไมกรอบและแขง็ ได เมอ่ื คลกุ เคลา จนทว่ั ถึงกันดแี ลว ก็ปด ไฟและตักขึ้น คลุกขาวรอนๆกินกับผักตางๆไดทุกชนิด อรอยอยาบอกใคร ถาทานไมหมดก็รอใหเย็นแลวเก็บใสกลองพลาสติกหรือขวดแกวเก็บไวในตูเย็นไดเปนเดือน แตเช่ือวาไมกี่วันก็หมดแลวละครับ ทีนี้ก็เฝารอวา เม่ือไหรน้ํามันหมจู ะหมด จะไดกินนํ้าพริกกากหมูอีกครัง้ การเจียวกากหมูเปนน้ํามันหมูน้ันเปนเร่ืองงายมาก แต จะมีก่ีคนที่คิดจะทํา และนํ้าพริกกากหมูก็เชนกนั แมจะงายแคไหนแตจะมกี ่ีคนท่ีทําไดอรอย ส่ิงเหลานม้ี ันไมไ ดเ ร่ิมตนทห่ี มู แตเร่มิ จากความคิดท่ีไดรบั สารมาจากสอื่ ตา งๆ แลวเอามาไตรตรอง เม่อื มองแลวคิดแลว วาเปน สง่ิ ท่ดี ที ค่ี วรจะทาํ ก็ตองเลือกวัถตดุ ิบทด่ี มี ีคุณภาพดวยเชน กัน นายแพทยว ีระชยั สทิ ธิปยะสกลุ ผูอํานวยการศนู ยอนามัยที่ 9 พิษณโุ ลก กลาววา \"ที่บานผมจึงเปลี่ยนกลับมาซ้ือมันหมูมาเจียวเปนน้ํามันหมู เพื่อทําอาหารเมื่อ 5 ป ที่ผานมา ก็สังเกตวาคนในบานไมเห็นมีใครเปนอะไรมากมาย อาการโรคผิดปกติทางกายท่ีหลายคนเคยเปน ก็ดูดีข้ึนจากการตรวจรางกายเปนระยะ การเจบ็ ปวยทมี่ เี ปนบาง นานๆ ครัง้ ก็สามารถหายไดอ ยา งรวดเร็ว ....ตอ งซอ้ื หมูรานนีเ้ พราะสด ....ตอ งซือ้ พรกิ แกงรานน้ีเพราะรสชาติดกี วา รานอนื่ แลวกไ็ มเหมน็ ....ตองใชน า้ํ ปลายห่ี อน้ีเทา นน้ั เพราะรสชาติดไี มเ ค็มเกนิ ไปมีกล่ินหอม ....ตองใชน ้ําตาลปบ ไมใ หใ ชน ้ําตาลทราย เพราะน้ําตาลปบจะใหรสหวานละมุนและมีสเี ขมสวยเมือ่ ผดั เสร็จ ....สงิ่ เหลา นีล้ วนแลว แตเ ปนประสบการณท ่เี กิดขึ้นกับคุณแมทงั้ ส้ินที่ถายทอดมาทาํ ใหเราไดวัตถดุ ิบท่ีดี เม่อื นํามาปรุงอาหาร อาหารก็ยอ มอรอ ย น่ันไงครับ...ไมวาจะเร่ิมทําอะไรก็ตาม ทุกๆขั้นตอนลวนสําคัญเสมอ และทุกข้ันตอนเราตองใสใ จกบั มนั จริงๆ เรียนรู แลว ผลลพั ธท ไ่ี ดม นั ยอมออกมาดไี ดอ ยา งไมย ากแนน อน เร่ืองเดียวกัน ไมใชทุกคนท่ีทําได และไมใชทุกคนที่ไดทํา แตใครจะทําไดหรือไดทํา อยูที่ตวั เราเองตดั สนิ ใจ ....................ออ เอ. 99

การพฒั นาตนกิจกรรมทา ยบทแบบทดสอบเพอื่ การรจู กั และเขา ใจตนเอง แบบทดสอบที่ 1 บอกทัศนคติ และจุดออนของคุณ ถาถามวาจุดออน และทัศนคติของคนเรา มีอะไรบาง เช่ือวาจะตองมีบางคนสามารถตอบไดท นั ที สวนบางคนกม็ อี าการลงั เลไมรูจะตอบอะไร งั้นลองทําแบบทดสอบทั้ง 4 ขอน้ีดู เพอ่ื วาจะทาํ ใหเ ราไดรูถงึ จุดออน และทศั นคติของคนเราอยา งแทจ ริง 1.มีเหตุการณฆาตกรรมเกิดขึ้นในหมูบานของคุณ ตํารวจควบคุมผูตองหาไว 4คน ตอนน้ียังไมมีหลักฐานและการอางท่ีอยูขณะเกิดเหตุ แตในความรูสึกของคุณแลว คุณคิดวาใครทนี่ า สงสยั ท่ีสดุ A. ศาสตราจารยใ นมหาวิทยาลัย B. นกั รอ งวัยรนุ ยอดนิยม C. นกั เขียนการต ูน D. คุณปา ท่ที ํางานพารท ไทม 2. วันหนึ่งในชวงปดเทอม คุณออกไปเที่ยวตางจังหวัด แตพอข้ึนรถไฟไปแลวคณุ เพง่ิ นกึ ไดว า ลืมหยบิ ของใสก ระเปาไปอยางหน่ึง คณุ คดิ วาของสิง่ นั้นเปน อะไร A. ขนม B. แปรงสฟี น C. รม D. เกม 3. ถา ไดรับพรวิเศษหนึง่ ขอ คุณจะเลือกอะไร A. ยาเปลย่ี นเพศ B. พรมวิเศษ C. ยาที่ทาํ ใหไมแก ไมต าย D. กระจกทีม่ องเหน็ อนาคต 4. สุดสัปดาหน้ีคุณวางแผนไปเที่ยวทะเล เพื่อไปเลน Sky Driving (เครื่องรอนแบบไมมีเคร่ืองจกั ร) ซงึ่ เมือ่ เครือ่ งลอยอยูบนฟา คุณคิดวา เคร่ืองจะพาไปลงทีไ่ หน A. ทงุ หญา B. ยอดเขา100

การพฒั นาตน C. ทะเล D. บนตึกสูงในเมอื ง เมื่อตอบคําถามจิตวิทยาครบทัง้ 4 ขอ แลว ลองมาดคู าํ เฉลยกนั คําถามขอที่ 1 บง บอกทศั นคตวิ า คุณมองคนอยางไร ถา ตอบ… ศาสตราจารยในมหาวิทยาลัย : คุณเปนคนที่เชื่อสนิทใจวาคนท่ีย่ิงใหญ มักเปนผูบริสุทธ์ิ ดังนั้น คุณจึงเช่ือขาวตางๆ ทั้งขาวดี ขาวลือ ท่ีเขียนลงในหนาหนังสือพิมพ เปนคนที่มุงมน่ั วาจะตอ งประสบความสําเร็จในดานการเรยี นและหนา ท่ีการงาน นักรองวัยรุนยอดนิยม : เปนสัญลักษณของจินตนาการและเพศตรงขามดังน้ัน ใจของคุณจึงมักไลตามจินตนาการ และคิดถึงเร่ืองความรัก รูสึกจริงจังท้ังเวลาที่อกหักและเวลาอยากมคี วามรัก เม่ือเหนอื่ ยก็จะหยุดพักแลว กลบั มามีความรักใหมอกี คร้ัง นักเขียนการตูน : คุณมักใหความสําคัญกับความรูสึก เปนคนที่มีเพ่ือนสนิทอยูมาก ซง่ึ สนใจในเรื่องเดยี วกันและมีความฝนเหมอื นกนั คุณปาท่ีทํางานพารทไทม : แสดงถึงชีวิตที่ราบเรียบ คุณคิดวาเม่ือแตงงานแลวกม็ ลี ูก สรา งครอบครวั มีชีวิตทีม่ คี วามสขุ คําถามขอที่ 2 บง บอกจดุ ออนในใจของคณุ ถา ตอบ… ขนม : แสดงถึงการรองขอ การอยากถูกตามใจ จริงๆ แลวคุณเปนคนละเอียดรอบคอบ เม่ือทําอะไรก็หมกมุนอยูกับสิ่งน้ัน จนทําใหคนอื่นคิดวาคุณเปนคนไมคอยสนใจเร่ืองคนรอบขางสักเทา ไหร เรียกวาเอาแตใจอยูเ หมือนกัน ดังนน้ั จงึ อยากลองใหเอาใจเขามาใสใจดูบา ง รม : แสดงถึงจิตใจที่ปกปด มีนิสัยขี้ตกใจกับเรื่องเล็กๆ นอยๆ ของคนอ่ืน ดูภายนอกเหมอื นเปน คนกลา แตความจรงิ แลวตองการปกปดความออนแอของตัวเอง แมวาคนรอบขางจะไมไดวาอะไร แตคุณก็ชอบพูดเรื่องที่ทําไปแลววามันไมดี หรือนาจะทําไดดีกวาน้ี ดังนั้น จึงอยากใหค ุณสงบจิตใจบาง แลว รจู ักคอยคิดคอยทาํ บา งสกั นิด แปรงสีฟน : แสดงถึงความเขาใจ แมคุณจะเขาใจในเร่ืองตางๆ แตมักจะพูดไมตรง ดงั นน้ั จึงอยากใหค ุณเขมแข็งกวาน้ใี หมาก เกม : แสดงถึงความรุนแรงในการแขงขัน เปนคนท่ีอยากจะเอาชนะคนอื่น แตสวนใหญจะเก็บความรูสึกไวไมกระทํา แตจะแสดงออกมาทางคําพูด เชน การพูดเหน็บแนม เปนตน 101

การพฒั นาตน คาํ ถามขอท่ี 3. บง บอกทัศนคตขิ องคุณตอเรอื่ งเงิน ถาตอบ… ยาเปลี่ยนเพศ : เปนคนขี้เหนียวกับเพศเดียวกัน แตใจกวางกับเพศตรงขาม ซ่ึงนอกจากปญหาความสัมพันธกับเพื่อนเพศเดียวกันแลว คุณตองระวังเรื่องการใชเงินเพื่อเช่ือมความสมั พนั ธระหวา งตวั เองกับเพศตรงขามดว ย พรมวิเศษ : คุณมักชอบท่ีจะลองทํานูน ทํานี่ไปเร่ือย เพ่ือเปนการตอบความตองการของตัวเอง แตสําหรับเรื่องการจายเงินซื้อสิ่งของตางๆ คุณจะคิดแลว คิดอีก ดังน้ัน จึงไมรูจกั คาํ วาฟุมเฟอยสักเทาไหรน ัก ยาท่ีทําใหไมแกไมตาย : เปนคนที่รูสึกช่ืนใจทุกครั้งท่ีเห็นตัวเลขในสมุดบัญชีธนาคารมีมากขึ้นไปเร่ือยๆ แตก็อยากใหคุณเอาเงินไปซ้ือสิ่งตางๆ เพื่อแลกกับความสุขของชีวิตดูบาง กระจกที่มองเห็นอนาคต : คุณเปนคนที่คิดกอนใชเงินกับเร่ืองท่ัวไป แตก็ยังเสียเงินใหก บั เรือ่ งไมเ ปน เร่อื งอยูเยอะ ดังนั้น จะใชเ งินซอื้ อะไร กอ็ ยากใหคิดหนา คดิ หลังใหดกี อนเสมอ คาํ ถามขอท่ี 4 บง บอกทศั นคติเร่ืองการแตงงาน และความรูสึกท่ีมตี อ อนาคต ถา ตอบ… ทุงหญา : เปนคนท่ีอยากติดตอกับเพศตรงขามอยางเทาเทียมกัน ชอบการแตงงานแบบเรียบงาย มองเห็นภาพตนเองและคนรักดูแลกัน น่ังจิบน้ําชาเปนเพื่อนกัน จนกระท่ังแกเฒา กลายเปนคุณตาคณุ ยาย ยอดเขา : เปนคนมีความทะเยอทะยาน ชอบคนที่มีการศึกษาสูง ฐานะดี การงานดี หนา ตาดี และแตง ตัวดี เรียกวา ชอบคนที่เพอรเฟกตน้ันเอง ทะเล : เปนคนทม่ี ีความอดทนสงู ไมคาดหวังในตัวคนรักมากจนเกินไป แตอยากใหเ ลอื กคนรกั ใหด ี อยาเลือกเพราะแรงยุ เพราะถา เลอื กผดิ ขึน้ มาตัวคณุ เองทจ่ี ะลําบาก บนตึกสูงในเมืองหลวง : เปนคนท่ีวาดฝนไวสูง ชอบทํางานมากกวาคิดเร่ืองการมีครอบครวั ถามคี นรกั ก็จะใหความสําคัญกับงานมากอน แตก็ยงั ใหความสําคัญกับชวี ิตแตงงานอยู (ทมี่ า : https://wan1966.wordpress.com)102

การพัฒนาตน แบบทดสอบที่ 2 จติ วิทยา 8 ขอ บอกความเปน คณุ วิธีทําแบบทดสอบจิตวิทยา อานคําถามแลวเขียนคําตอบเอาไว ไมตองคิดนานเพราะความคดิ แรกของคุณจะพาคณุ ไปพบคําตอบที่ตรงทสี่ ุด 1. ลองนึกถงึ ทะเล แลวเลอื กวา ทะเลในความคดิ ของคณุ เปนอยา งไร ก. สีน้าํ เงินเขม ข. ใส สะอาด ค. สเี ขยี ว ง. ขนุ 2. คุณอยากอยูตรงไหนของภูเขา 3. คุณชอบรปู ทรงใดมากทสี่ ุด ก. ทรงกลม ข. สเี่ หลย่ี มจตุรสั ค. สามเหลี่ยม 4. คุณอยากใหร ูปทรงดังกลาวมีขนาดเทา ไหร ก. เลก็ มาก ข. เล็ก ค. ปานกลาง ง. ใหญ จ. ใหญมาก 5. และมันถูกสรางขึน้ มาจาก ก. ไม ข. กระจก/แกว ค. เพชร ง. เหลก็ /โลหะ 6. จนิ ตนาการถงึ มา มา ในความคดิ ของคณุ จะมสี ี ก. นาํ้ ตาล ข. ดาํ ค. ขาว 103

การพฒั นาตน 7. คุณเดินอยบู นระเบยี งและเหน็ ประตสู องบาน เพยี งคณุ กา วตอ ไปทางซายอีกส่ีหา กาวกจ็ ะถึงประตบู านที่หน่ึง สว นประตูอีกบานนั้น คุณจะตองเดินไปจนสุดทางระเบียง ถาประตูท้ังสองบานถูกเปดท้งิ ไว และมกี ุญแจดอกหนง่ึ วางอยตู รงหนา คณุ จะเกบ็ กญุ แจขึน้ มาหรอื ไม ก. เก็บ ข. ไมเกบ็ 8. ถาหากวาพายกุ ําลงั เขา มาใกล คณุ จะเลอื ก ก. มา ข. บา น ผลการวิเคราะห แบบทดสอบจติ วทิ ยา 8 ขอ บอกความเปนคณุ 1. สขี องน้าํ ทะเล แสดงถึงบคุ ลกิ ภาพของคณุ ก. สีน้ําเงนิ เขม - คุณมบี คุ ลกิ ภาพทซี่ บั ซอ นเขาใจยาก ข. ใส สะอาด - คณุ เปน คนเปดเผย เขา ใจงา ย ค. สเี ขยี ว - คุณเปน คนงายๆ สบายๆ ไมคอยเครียด ง. ขนุ – คณุ เปนคนสับสนในตัวเอง 2. ความสงู ของภเู ขาเปนตัวแทนความทะเยอทะยานในชีวิตของคุณ 3. รูปทรง แสดงถงึ ลักษณะนสิ ัยของคณุ ก. ทรงกลม - คุณพยายามเอาอกเอาใจทกุ ๆ คน ข. ส่ีเหลยี่ มจัตุรสั - คุณเปน คนหวั แขง็ และเอาแตใ จตวั เอง ค. สามเหลย่ี ม – คณุ เปน คนหัวดอื้ 4. ขนาดของรูปทรง แสดงถึงขนาดทีค่ ุณมีลกั ษณะนิสัยดังกลา ว 5. วัสดุทใ่ี ชสรางรูปทรง แสดงถงึ บุคลิกของคณุ ก. ไม - รกั ความสงบ ข. กระจก/แกว - เปราะบาง ค. เพชร - ดื้อร้ัน ง. เหลก็ /โลหะ - เขมแข็ง แตไ มคอ ยยดื หยุน 6. สขี องมา แสดงถงึ บุคลิกของคณุ อีกเชนกัน ก. นํา้ ตาล - ตดิ ดนิ ข. ดํา - ไมแนนอน มีอารมณท่ีรุนแรง การอยูรวมกับคุณมักมีเร่ืองให นาต่ืนเตนอยูเสมอ ค. ขาว - หย่ิง แตน าประทับใจ104

การพัฒนาตน 7. การเกบ็ ลูกกุญแจ แสดงถงึ การฉวยโอกาส ก. เกบ็ - คณุ รูจกั ฉกฉวยโอกาสทเี่ ปนประโยชน ข. ไมเก็บ – คณุ ไมใ ชค นชอบฉวยโอกาส 8. ที่พึง่ ในยามท่ีมีพายุ แสดงถึง คนทคี่ ณุ มกั จะนึกถงึ เสมอเวลามีปญ หา ก. มา - สามีหรือภรรยาของคณุ ข. บาน – เพอ่ื นสนิทท่ีรูใ จ (ท่มี า : https://blog.eduzones.com/snowytest/8779) แบบทดสอบที่ 3 จติ วทิ ยาลึกลงไป ในใจคุณ แบบทดสอบจิตวิทยาเพียง 4 ขอ ที่สามารถเปดเผยใจส่ิงท่ีซอนอยูในใจของคุณไดตรงอยางไมนาเช่ือ วิธีทําแบบทดสอบ \"ลึกลงไปในใจคุณ\" อานขอความแลวตอบคําถามส้ันๆ ไมตองคิดนานมากนัก เริม่ กันเลย คุณอยูในตึกรางแหงหนึ่ง และกําลังยืนอยูหนาหองใตดิน ที่มีบันไดทอดยาวลงไป คุณคอยๆ เดินลงไปชาๆ ขณะเดยี วกนั ก็นบั ข้ันของบนั ได 1 ขน้ั … 2 ขน้ั … 3 ข้นั … 1.บันไดทีน่ ําคณุ ลงไปถึงขางลา งมีทัง้ หมดกข่ี น้ั ? 2.หลังจากน้ันคุณไดยินเสียงของใครบางคนดังออกมาจากความมืด คนผนู ั้นกาํ ลัง A. รองไหเ บาๆ B. รองครํ่าครวญจนฟงไมไ ดศพั ท C. หรือวากาํ ลังพูดกับคณุ ? 3. คุณทําอยา งไรเม่ือไดย นิ เสียงคนคนน้นั ? A. พยายามหาท่ีมาของเสียง? B. วิ่งหนีโดยสัญชาตญาณขึ้นมาขา งบนอยางไมเหลียวหลงั ? C. หรือวายืนตัวแขง็ ดวยความหวาดกลัว และไมข ยบั เขยือ้ นไปไหน? 4. คุณไดยินเสียงคนคนหนึ่งเรียกช่ือคุณ และเห็นเงาของเขาทอดตัวลงมาจากบันไดขน้ั บนสดุ ใครคือคนทก่ี ําลังเดินลงมาหาคณุ ? วิเคราะหคําตอบ แบบทดสอบจติ วทิ ยา ลึกลงไปในใจคุณ 105

การพฒั นาตน ตึกรางและหองใตดินเปนสัญลักษณท่ีชัดเจนของความทรงจําท่ีฝงลึก และรอยแผลในจิตใจเราทุกคนตางก็มีประสบการณที่ไมอยากจะระลึกถึง หรือความผิดหวังที่เราคิดวา เราลืมมนั ไปแลว แตความทรงจาํ นั้นไมอ าจลบเลือนไปไดง ายๆ สิ่งที่เราอยากลืม จะคงอยูกับเราเนิ่นนานเกินกวาที่เราคาดคิด การตอบสนองของคณุ ตอสถานการณน้ีแสดงใหเ ห็นวา คณุ จัดการกับความทรงจําในอดีตท่แี สนเจ็บปวดอยางไร 1. จํานวนข้ันบันไดท่ีทอดสูช้ันใตดิน บอกถึงอิทธิพลของรอยแผลในจิตใจท่ีมีตอคุณขณะน้ี หากคุณตอบวา ขั้นบันไดมีเพียงไมกี่ขั้น คุณไดรับอิทธิพลจากสิ่งที่เกิดข้ึนในอดีตเพียงเล็กนอย แตหากคุณคิดวาบันไดน้ันทอดยาวลึกลงไปสูหองใตดิน คุณเปนผูที่มีบาดแผลฝงลึก ในใจเฉกเชน ความลึกของบันได 2. เสียงทค่ี ุณไดยนิ มาจากความมดื บอกวาคุณผานพนประสบการณอันเลวรายในอดตี มาไดอ ยางไร A. ไดยินเสียงรองไหเ บาๆ คุณมกั จะไดรับการปลอบโยนจากผูอื่นเมื่อมีปญหา และหายจากความโศกเศราดว ยความชวยเหลือจากคนเหลา น้ัน B. ไดยินเสียงรองคร่ําครวญจนฟงไมไดศัพท คุณไดผานความทุกขครั้งนั้นมาดวยตนเองอยางยากลําบาก เสียงครวญครางท่ีคณุ ไดยินเปนเสียงของความเจ็บปวดท่ฝี งลึกของคุณเอง C. ไดยินเสียงนั้นกําลังพูดกับคุณ คุณมีรอยแผลเปนในใจซ่ึงเปนเสมือนเหรียญเกียรติยศ แตคุณไมยอมรับวานั่นเปนบาดแผล นักปรัชญาผูมีชื่อเสียงไดกลาววา “สิ่งน้ันไมไดทําใหเราตาย แตมันทําใหเราแข็งแกรงข้ึน” แตจงระวัง อยาใหส่ิงน้ีทําใหคุณแข็งกระดาง และไมแยแสความรูสึกของผอู ื่น 3.ปฏิกิริยาของคุณตอเสียงในความมืด บอกวาคุณจัดการกับความเจ็บปวดในอดีตอยางไร A. หากคุณคนหาที่มาของเสียง แสดงวา คุณมักจะทําอยางน้ันเชนกันในชีวิตจริงการเผชิญหนา กบั ปญหาอยางตรงไปตรงมาจะทําใหคุณพบกับทางออกอยางแนนอน B. หากคุณว่ิงหนีขึ้นมาชั้นบนโดยไมเผชิญหนากับเสียงนั้น คุณมักจะละเลยปญหาโดยหวังวาสักวันมันจะดีขึ้นเอง วิธีนี้อาจใชไดในบางกรณี แตอยาประหลาดใจหากคุณพบวาปญหานั้นวนเวียนอยูกับคุณนานกวาท่ีคิด บางคร้ังคุณก็ตองยืนหยัด และหันไปเผชิญหนากับความกลัวเสยี บาง106

การพัฒนาตน C.หากคุณยืนตัวแข็งดวยความกลัวอยูตรงน้ัน อาจหมายความวาคุณมีความขดั แยง ในอดีตทยี่ งั ไมไดแกไข มันยังตามหลอกหลอนคุณ และขัดขวางคุณไมใหคุณดําเนินชีวิตตอไปขางหนา อยางผาสุก 4.คนที่ปรากฏตัวที่บันไดขั้นบนสุด และเรียกชื่อคุณ คือ คนท่ีคุณคิดวาสามารถพึ่งพาไดเม่ือมีปญหา และคุณเช่ือวา คนคนนั้นสามารถปลอบโยน และชวยเยียวยาแผลในใจของคุณได (ทม่ี า : https://blog.eduzones.com/snowytest/12138) 107

การพฒั นาตน เอกสารอา งองิKreigh, H.Z., Perko, J.E.(1983).Psychiatric And Mental Health Nursing. 2nd ed., Verginia : Reston Publishing Co., Inc.Roger, C.R. (1970). Encoumnter Group. New York : Harper and Row.Staurt, G.W. & Larsia, M.T. (1998). Principle and Pratice of Psychiatric Nursing (6th ed). St. Louis : Mosby Comp.Varcorolis, E.M. (1998). Foundations of Psychiatric Mental Health Nursing. (3th ed). Philadelphia : W.B. Saunders Comp.เตชิต เฉยพวง. สืบคนเม่ือ 15 ธันวาคม 2558, จาก https://www.facebook.com/#!/ออ-เอ- 970062939702196/นพมาศ อุงพระ. (2555). จิตวทิ ยาสังคม. กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.นยั นา นาควชั ระ. (2556).มองตนใหถอ งแท. กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพมลู นธิ โิ กมลคีมทอง.แบบทดสอบจิตวิทยา 8 ขอ บอกความเปนคุณ. สืบคนเม่ือ10ธันวาคม2558, จาก https://blog.eduzones.com/snowytest/8779แบบทดสอบ จิตวิทยาลึกลงไป ในใจคุณ.สืบคนเมื่อ10ธันวาคม2558, จาก https://wan1966.wordpress.comแบบทดสอบบอกทัศนะคติ และจุดออนของคุณ. สืบคนเมื่อ10ธันวาคม2558, จาก https://blog.eduzones.com/snowytest/12138ประพันธศ ริ ิ สเุ สารัจ. (2556). การพฒั นาการคดิ .พรรณทิพย ศิริวรรณบุศย. (2556). ทฤษฏีจิตวิทยาพัฒนาการ. กรุงเทพฯ : บริษัทแอคทีฟ พริ้นท จํากัด.ภัทรวิทย ธีรภัคสิริ.(2557).สัมพันธภาพที่ดีในองคกร. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพห างหุนสวนจาํ กดั 9119เทคนิคพริน้ ติง้ .วาจาสิทธ์ิ ลอเรีวานิช.(2553). มองคนดวยมุมใหมเปลี่ยนใจใหเปนสุข. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มูลนธิ โิ กมลคีมทอง.วนิ ัย เพชรชว ย. สืบคนเม่ือ10ธนั วาคม2558, จากhttp://std.eng.src.ku.ac.th/?q=node/354ศักดศิ์ ริ ิ แสนเสรีศริ ิ. (2555).พลงั ใจสรางไดด วยตวั เราเอง. กรงุ เทพฯ : รุงเรอื งสาสนการพิมพ.108

การพัฒนาตนศิริรัตน จําปเรือง.(2553).การเขาใจตนเอง.นครสวรรค. คนเม่ือ 3 ธันวาคม 2558, จาก http://sirirut2003.blogspot.com/2010/05/blog-post_7022.htmlศรีเรือน แกววังวาล. (2554).ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ. (พิมพครั้งท่ี 16). กรุงเทพฯ : หมอ ชาวบาน.สุทธิชัย ปญญโรจน. (2557).44วิธีเปล่ียนความลมเหลวเปนความสําเร็จ. สมุทรปราการ : มาย เบสทบุคส.สุวนีย เกี่ยวกิ่งแกว. (2544).แนวคิดพ้ืนฐานทางการพยาบาลจิตเวช. (พิมพครั้งที่ 3). เชียงใหม : โรงพมิ พปอง.อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย. (2545). การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหง จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย 109

การพัฒนาตน110

การพฒั นาตน บทที่ 4 แนวคิดและทฤษฎีทีเ่ กีย่ วขอ งกบั การพัฒนาตน ชลลดา ชวู ณชิ ชานนทหัวขอเนื้อหาตอนท่ี 4.1 แนวคิดท่ีเก่ียวกับการพฒั นาตน เร่อื งที่ 4.1.1 ความหมายของการพฒั นาตน เรอื่ งที่ 4.1.2 ตน (Self)ตอนท่ี 4.2 ทฤษฎีทีเ่ กยี่ วของกบั การพฒั นาตน เรื่องที่ 4.2.1 แนวคิดพนื้ ฐานในการพฒั นาตน เรอ่ื งท่ี 4.2.2 แนวคดิ และทฤษฎใี นการพฒั นาตนตอนท่ี 4.3 กระบวนการและแนวทางในการพฒั นาตน เรือ่ งท่ี 4.3.1 กระบวนการพัฒนาตน เรื่องที่ 4.3.2 ประโยชนใ นการพฒั นาตนแนวคิด 1. ความหมายของการพัฒนาตน 2. ตน (Self) 3. แนวคิดและทฤษฎใี นการพัฒนาตน 4. กระบวนการในการพฒั นาตน 5. ประโยชนในการพัฒนาตนวตั ถปุ ระสงค เม่ือศกึ ษาเนื้อหาในหนวยนี้แลว ผูเ รยี นสามารถ 1. อธิบายหลักการและแนวคิดทเี่ กย่ี วของกับการพัฒนาตนไดอยา งถูกตอง 2. วิเคราะหตน ตามแนวคิดและทฤษฎที างจติ วิทยาได 3. เขา ใจกระบวนการพัฒนาตนไดชัดเจน 4. กําหนดแผนการพัฒนาตนเองไดอยางเหมาะสมกับสภาพจริง 111

การพัฒนาตนบทนําโลกในปจจุบัน เปนโลกที่อยูทามกลางการเปลี่ยนแปลง เมื่อเขาสูโลกในยุคของขอมูลขาวสารสารสนเทศ โลกออนไลน ในสภาวะที่ไรพรมแดนน้ี มนุษยสามารถรับรูขอมูลท่ีมากมาย และสามารถเรียนรูสิ่งท่ีสนใจในอีกซีกโลกไดอยางงายดาย ความรู ขอมูลตางๆ อยูใกลกับเราเพียงปลายน้ิวสัมผัส ผูที่ปลอยใหกลไกของการเปล่ียนแปลงน้ีดําเนินไป โดยไมเรียนรูเพ่ิมเติม และขาดความพยายามทีจ่ ะพัฒนาตนใหร เู ทา ทันความเปล่ยี นแปลงที่เกิดข้ึนน้ี จะกลายเปนผูที่ลาหลังและกลายเปน ผูเสียประโยชนใ นท่สี ดุการพัฒนาตนน้ัน ตองเริ่มตนจากความรูความเขาใจในตนเองอยางลึกซ้ึง เพ่ือสามารถทําการวเิ คราะหตนเองได โดยตองสามารถสํารวจตนเองเพื่อใหเกิดความเขาใจในตนเองกอนจะวิเคราะหขอบกพรอ งของตนเอง แลวนํามาปรับปรุง เปลย่ี นแปลง แกไข หรือพัฒนาตอนท่ี 4.1 แนวคิดท่เี กย่ี วกับการพัฒนาตน เร่อื งที่ 4.1.1 ความหมายของการพฒั นาตน การพัฒนาตน เปนกระบวนการที่ไดรับความสนใจท้ังในโลกฝงตะวันออกและโลกฝงตะวันตก จากการศึกษาพบวาในโลกฝงตะวันออก พระพุทธศาสนามีการพูดถึง การพัฒนาไววา เปนการทําสิ่งท่ีมีอยูแลวใหเจริญงอกงาม พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตโต, 2532) โดยแบงการพัฒนาออกเปน 2 ระดับ คือ การพัฒนาในระดับสวนรวม และ การพัฒนาในระดับสวนตัวดวยหัวขอน้ีเกี่ยวของกับการพัฒนาตน จึงขอกลาวถึง การพัฒนาในระดับสวนตัว ท่ีเนนการพ่งึ ตนเองทั้ง 4 ดา น ดงั นี้ 4.1.1.1 การพัฒนากาย เปนการพัฒนาความสัมพันธกับส่ิงแวดลอมทางกายภาพอยางถูกตอง ดีงาม ส่ิงแวดลอมในที่นี้หมายถึง ปจจัย 4 ไดแก อาหาร ที่อยูอาศัยเครื่องนงุ หม และยารกั ษาโรค 4.1.1.2. การพัฒนาศีล เปนการพัฒนาเพ่ือการอยูรวมกันในสังคม โดยใชวิธีศีลภาวนา คอื 1) สัมมาวาจา หมายถึง การกลาวชอบ เปนการงดเวนการพูดเท็จ การพูดสอ เสยี ด การพดู คําหยาบ การพดู เพอเจอ 2) สมั มากมั มนั ตะ หมายถึง การกระทําชอบ เปน การกระทาํทัง้ ดานกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ท่ไี มผดิ ศลี ธรรม112

การพฒั นาตน 3) สัมมาอาชวี ะ หมายถึง การประกอบอาชีพชอบ เปน การทํามาหากนิ เล้ยี งปากเลี้ยงทองที่สุจริต ไมเ บยี ดเบยี นผูอ่ืน 4.1.1.3 การพัฒนาจิต หมายถงึ การพัฒนา 3 ประการ คอื 1) คณุ ภาพจติ เปนการสรางจิตใจใหดงี าม เปน จิตใจท่ีมคี วามละเอยี ดออน 2) สมรรถภาพ เปนความสามารถของจิต เชน เปนผมู สี ติ มีวริ ิยะ มีขันติ มสี มาธิ 3) สุขภาพจติ เปนการมจี ติ ท่ีมีสุขภาพดี สงบ 4.1.1.4. การพฒั นาปญญา เปนกระบวนการท่ที ําใหมนุษยเ กิดความรู ความคิดความเหน็ ความดําริทีถ่ ูกทช่ี อบอันเปน แกน สาร และพลังหนนุ ใหบ ุคคลประพฤตติ นดีถูกตองตามทํานองครองธรรมตอไป ซง่ึ พระธรรมปฎ ก (ป.อ. ปยตุ โต, 2546) ไดอ ธบิ ายถึง วธิ กี ารท่ีสัมพันธก ับการพัฒนาปญญาของบคุ คล สรปุ ได 3 วิธี คือ 1) สุตมยปญ ญา ปญ ญาที่เกิดจากการเลาเรียน หรือถายทอดกันมา 2) จินตามยปญ ญา ปญ ญาทเ่ี กดิ จากการคิดพจิ ารณาหาเหตุผล ดว ยตนเอง 3) ภาวนามยปญญา ปญ ญาทีเ่ กดิ จากการปฏิบัติฝก อบรม การพฒั นาตนตามแนวคดิ ของพระพุทธศาสนามีการแจกแจงการพัฒนาในแตละดา นตามทกี่ ลาวไวข า งตน อยางไรก็ดี มีผูศึกษาเร่อื ง การพฒั นาตน ในประเทศไทยที่ไดใหความหมายเกี่ยวกบั การพฒั นาตนไว ดงั น้ี วรรณดี หนูหลง (2539) ไดกลาววา “การพัฒนา” (Development) หมายถึง ทําใหเจรญิ ทาํ ใหย่งั ยืนถาวร ดังน้ัน “การพฒั นา” ก็คือการทําใหเจริญ “ตนเอง” คือตัวของบุคคลแตละคน การพัฒนาตนเองจงึ หมายถึงการที่บุคคลหนึ่งทาํ ใหตนเองเจรญิ ขึ้น หรอื การเปล่ียนแปลงตัวเองไปในทางท่เี จริญขึ้น ไพศาล ไกรสิทธิ์ (2541) กลาววา การพัฒนาตน หมายถึง การที่บุคคลพยายามท่ีจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตนเองใหดีข้ึนกวาเดิม เหมาะสมกวาเดิมทําใหสามารถดําเนินกิจกรรมแสดงพฤติกรรมเพื่อสนองความตองการตามเปาหมายที่ตั้งไว การพัฒนาตนดวยตนเองตามศักยภาพของตนใหดีข้ึนท้ังรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม เพ่ือใหตนเองเปนสมาชิกท่ีมีประสทิ ธภิ าพของสังคมเปนประโยชนต อผอู ืน่ ตลอดจนเพ่ือการดํารงชีวิตอยา งสันติสุขของตนเอง สําหรับโลกฝงตะวันตกไดใหความหมายคําวาการพัฒนาตน ตรงกับภาษาอังกฤษคําวา self-development โดยที่มีคําที่มีความหมายใกลเคียงกัน เชน การปรับปรุงตน (self-improvement) การบริหารตน (self-management) และการปรับตน (self-modification) 113

การพัฒนาตนซ่ึงหมายถึง การปรับเปล่ียนตนเองมีความเหมาะสม สามารถสนองความตองการและเปาหมายของตนเอง หรอื เพ่อื ใหสอดคลองกับความคาดหวังของสังคม นอกจากนี้ มีผูศึกษาเร่ือง การพัฒนาตน ในโลกฝง ตะวันตกไดใ หค วามหมายเก่ียวกับการพฒั นาตนไว ดงั น้ี Gelleman (1976) กลาววาการพัฒนาตนเปนการเรียนรู ซ่ึงเกิดข้ึนเองอยางอิสระปราศจากการชี้บอก เชน การเรียนรูจากการกระทํา การสังเกตและคิดจากประสบการณของตนเอง Boydell (1985) ใหความหมายของการพัฒนาตนวา เปนความพยายามทําส่ิงตาง ๆ ใหสําเร็จดวยตนเอง ซ่ึงเกี่ยวของกับการเปล่ียนแปลงตนเอง การมีคุณสมบัติใหม ๆ เกิดขึ้นมามีความสามารถใหม ๆ มีความเห็นแตกตางไปจากเดิม มีความรูใหมเกิดข้ึนทําใหรูสึกวาตนเปนคนดีข้ึน จากการศึกษา การพัฒนาตน ขางตน ผเู ขยี นใหนิยามการพัฒนาตน ไว ดงั น้ี การพัฒนาตนคือการที่บุคคลพยายามที่จะปรับปรุง เปล่ียนแปลง พัฒนา ตนดว ยตนเองใหด ขี ึ้นกวาเดิม เหมาะสมกวา เดมิ ท้ังรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม ทําใหสามารถดําเนินกิจกรรม แสดงพฤติกรรม เพ่ือสนองความตองการ แรงจูงใจ หรือเปาหมายท่ีตนต้ังไว และเปน สมาชิกที่มปี ระสทิ ธภิ าพของสังคม เปน ประโยชนต อ ผอู ่ืน ตลอดจนเพื่อการดํารงชีวิตอยางสันติสขุ ของตน เร่อื งท่ี 4.1.2 ตน (Self)พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ไดใหความหมายของคําวา ตน ไววา หมายถึง ตัวคน สวนตนในทางพุทธศาสนาเรียกวา อัตตา หรือ ตัวตน มีความหมายถึง ตัวบุคคลหนึ่ง จากการศึกษาพบวามีผูใหนิยามคําวา ตน ไวอยางหลากหลาย ซึ่งสามารถสรุปไดวา ตน เปนการรับรูความเปนตัวเองอยางมีสติ การรับรูตัวตนถือเปนสวนยอยหนึ่งของบุคลิกภาพ ตัวตน เกิดข้ึนภายใตก ารอบรมเลี้ยงดู การหลอหลอมทางสงั คม ในการพฒั นาตน บคุ คลจาํ เปน จะตองเรียนรู ตนของตนเองอยางลกึ ซ้ึง เพ่อื ใหเ กดิ ความเขา ใจในตนเองกอ นจะพฒั นาตนเองไดอยางถกู จุด คารล โรเจอร (Carl Roger) นักจิตวิทยากลุมมนุษยนิยม มีความเชื่อวา ตน ของแตละบุคคลมีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา เน่ืองจากทุกคนอยูบนโลกแหงประสบการณที่มีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา คารล โรเจอร (Carl Roger) ไดจําแนก รูปแบบตัวตนของบุคคลโดยจําแนกออกเปน 3 รปู แบบ (Roger,1952)ดังนี้114

การพฒั นาตน Perceived Self หมายถึง ตัวตน ที่บุคคลเกิดความรับรูวา ตนเองเปน คือ ตัวตนท่ีบุคคลคดิ วาเปนสงิ่ ท่ตี วั เองเปน ซึ่งการรบั รูนีอ้ าจไมต รงกบั ความเปน จริง หรือ ตรงกับความรับรูของบุคคลอ่นื ยกตัวอยางเชน เด็กชาย กอไก มีการรับรูตัวตนของตนเองวา เปนคนเรียนไมเกง จึงมักกลา วกบั เพอื่ นวา ตนเองเรยี นไมดเี รียนไมเ กง ทั้งๆทีเ่ ด็กชาย กอไก เรยี นไดเกรดเฉลยี่ 3.89 Ideal Self หมายถึง ตัวตน ที่บุคคลตองการจะเปน คือ ตัวตนในอุดมคติ ตัวตนท่ีเปนความฝน ของบคุ คล หรือเปนตัวตนทีบ่ ุคคลอยากจะเปน ตามตนแบบทพ่ี บเห็นจากบคุ คลอ่ืน ๆ ยกตัวอยางเชน เด็กชาย กอไก มีตัวตนท่ีตองการจะเปนคือ เปนนักเรียนที่เรียนไดเกรดเฉลี่ย 4.00 เหมอื นกบั รุนพ่ีทช่ี อบ Real Self หมายถึง ตัวตนตามความเปนจริง คือ ตัวตนที่แทจริงของบุคคลซ่ึงบุคคลอาจจะรูหรือไมร เู กี่ยวกับตนเอง แตเปน ขอ เท็จของบุคคลนั้นๆ ที่เปน จรงิ ยกตัวอยางเชน เด็กชาย กอไก ไดเกรดเฉล่ีย 3.89 นั่นคือ Real Self ไมวา เด็กชาย กอไกจะรับรูวาตนเกงหรือไม หรือตองการจะเรียนใหเกงแคไหนก็ตาม ขอเท็จริงก็คือ ตัวเขาไดเกรดเฉล่ยี 3.89 การจําแนกรูปแบบตัวตนของบุคคลของ คารล โรเจอร (Carl Roger) ทําใหเกิดความเขาใจ คําวา ตัวตน มากขึ้น โดย โรเจอร (Roger) ใหความสําคัญ กับความสอดคลองของ ตน ท่ีบุคคลเปน (Real Self) กับ ตน ที่บุคคลตองการจะเปน (Ideal Self) เนื่องจากความสอดคลองของตนจะสงผลตอ การปรบั ตวั ของบุคคล เรื่องท่ี 4.1.3 ตน ตามแนวคดิ ของนักจติ วิทยา เรื่องของ ตน (Self) เปนเรื่องราวที่ นักจิตวิทยาใหความสนใจมาโดยตลอดเนื่องจาก เปนจุดเร่ิมตนในพฤติกรรมของมนุษย การท่ีบุคคลกระทําสิ่งตางๆ สัมพันธอยางยิ่งกับตัวตน และการรับรูของบุคคล จากการศึกษาสามารถแบงประเภทของ แนวคิดที่เก่ียวของกับการศกึ ษาและทาํ ความเขาใจ ตน ของมนุษยออกเปน 3 แนวคดิ ใหญ ๆ คอื 1) แนวคิดของนกั จิตวเิ คราะห 2) แนวคิดของนกั จิตวิทยาสังคม 3) แนวคิดของนักจิตวทิ ยากลมุ มนษุ ยนิยม 1) แนวคิดของนกั จิตวเิ คราะห 115

การพัฒนาตน ซิกมันด ฟรอยด (Sigmund Freud, 1856 -1939) ซ่ึงเรียกไดวาเปนบิดาแหงแนวคิดจิตวิเคราะห (Psychoanalysis) ชาวออสเตรีย เปนนักจิตวิทยาที่มีอิทธิพลตอวงการจติ วิทยาอยางย่ิง ทฤษฎีจิตวิเคราะห ไดรับความสนใจอยางแพรหลาย และเปนพ้ืนฐานของทฤษฎีจิตวิทยาตางๆ แนวคิดนี้ มีความเชื่อวาพฤติกรรมของมนุษยไดรับอิทธิพลมาจากพลังแหงสญั ชาตญาณภายในของบุคคล ทีส่ ามารถ แบง ออกไดเ ปน สญั ชาตญาณแหง การมีชวี ติ (Life Instinct) หมายถงึ พลงั แหง การมีชีวิตอยูรอด สัญชาตญาณแหงความตาย (Dead Instinct) หมายถึง พลังแหงการตองการทําลายความกาวราว ฯลฯ โครงสรางของจติ (Structuere of Personality) ฟรอยเช่ือวา แบงโครงสรางทางจิตของมนษุ ยออกไดเปน ๓ ลกั ษณะ คือ ID เปนสิ่งท่ีติดตัวมนุษยมาตั้งแตกําเนิด เปนศูนยรวมของความตอ งการพ้นื ฐานของมนุษยในการมีชีวิตรอด เปนสวนของบุคลิกภาพที่ติดตัวมาตั้งแตเกิด เปนสวนที่เปนจิตไรสํานึกมีหลักการที่จะตอบสนองความตองการของตนเทานั้น (Pleasure Principle) อิดเปน สว นท่ีจะกระตุน ใหเกิดความตอ งการ และผลักดันใหอ ีโกก ระทําสงิ่ ตาง ๆ ตามทีอ่ ิดตองการ Ego เปนสวนของจิตท่ีไดรับการพัฒนาข้ึน โดยมีหนาท่ีสําคึญในการควบคุมและปรับระดับความตองการของ ID ใหเหมาะสมกับสภาพความเปนจริง และชวยใหมนษุ ยแ สดงพฤติกรรมที่เหมาะสม เปน สว นของบคุ ลกิ ภาพทพ่ี ฒั นามาจากการทท่ี ารกไดติดตอหรือมปี ฏสิ มั พนั ธก ับโลกภายนอก อีโกเริ่มพัฒนาเม่ืออายุ 6 เดือน เปนสวนของพฤติกรรมการเผชิญกับสิ่งตางๆ ตามความเปนจริง เปนการเลือกตอบสนองความตองการของตน โดยตระหนักถึงสภาพความเปนจริงเปนเกณฑ (Reality Principle) อีโกใชความทรงจํา เหตุผล และการตัดสินใจ เพื่อลดความขัดแยงภายในระหวางความตองการซ่ึงเกิดจากอิด กับความเปนจริงภายนอกวา ควรทําหรอื ไมควรทาํ Superego เปนโครงสรางของจิตที่ไดรับการพัฒนาอยางสูงคือ เปนสวนของคุณธรรมและจริยธรรม ท่ีจะควบคุมการแสดงพฤติกรรมของมนุษย เปนสวนของมโนธรรมและศีลธรรม ซึ่งเร่ิมพัฒนาในชวงวัยเด็กตอนตน เปนการเรียนรูจากคานิยมของพอแม กฎเกณฑตาง ๆ และความคาดหวังของสังคมวา ควรมีลักษณะอยางไรจึงจะเหมาะสมกับความเปนมนุษย(Hoffman, Paris and Hall, 1994, p. 31) ซุปเปอรอีโกจึงเปนสวนของบุคลิกภาพท่ีต้ังมาตรฐานของพฤติกรรมใหแ ตละบคุ คล โดยรบั เอาคานิยมและมาตรฐานจริยธรรมของพอแมเปนของตน เปนเสียงแทนพอแมคอยบอกวา อะไรควรทํา อะไรไมควรทํา ฟรอยดเชื่อวา ในขั้นพัฒนาการทางเพศ116

การพัฒนาตนข้ันท่ี 3 นอกจากเด็กชายจะเลียนแบบพฤติกรรมของ“ผูชาย” จากพอ และเด็กหญิงจะเลียนแบบพฤติกรรมของ “ผูหญิง” จากแมแลว ยังยึดถือหลักจริยธรรม คานิยมของพอแม เปนมาตรฐานของพฤติกรรมดว ย ซุปเปอรอีโก แบงออกเปน 2 อยาง คือ สติรูสึกผิดชอบ (Conscience)ซึ่งคอยบอกใหหลีกเล่ียงพฤติกรรมท่ีไมพึงปรารถนา และตัวตนตามอุดมคติ (Ego Ideal) ซ่ึงสนบั สนนุ ใหม คี วามประพฤติดี ซ่ึงสติรูสึกผิดชอบ มักเกิดจากการถูกขูวาจะทําโทษ สวนตัวตนตามอดุ มคติ มักเกดิ จากการเสริมแรงทางบวก หรอื การยอมรับ (สุรางค โคว ตระกลู , 2541, หนา 36) ระดบั การทาํ งานของจติ (Level of Consciousuess) ฟรอยดเปรียบจิตใจของมนุษยเปนภูเขานํ้าแข็ง ท่ีมีทั้งสวนท่ีจมอยูใตนํ้า สวนท่ีปร่ิมน้ํา และสวนท่ีโผลพนน้ํา โดยแบงออกเปน 3 ระดับ คือ ระดับจิตสํานึก (Conscious) เปนระดับของจิต ท่ีบุคคลรับรูวากําลังทําอะไร ถือวาเปนภาวะท่ีบุคคลแสดงพฤติกรรม และกระทําส่ิงตางๆอยางรูตัวเต็มท่ีซึ่ง เปรียบเหมือนสว นของภูเขานาํ้ แข็งที่โผลพ นนํา้ ระดับจิตกึ่งรูสํานึก (Preconscious) เปนระดับของจิตที่บุคคลเก็บความคิดความรูสึกตางๆ เปนภาวะท่ีบุคคลแสดงพฤติกรรมที่เกิดข้ึนบอยๆ จนกลายเปนความเคยชิน โดยเปนภาวะที่บุคคลกระทําโดยรูตัวบางไมรูตัวบาง เปนสิ่งท่ีบุคคลกระทําซ้ําๆทุกวัน อาจกลาวไดวา จิตในสวนนี้ เปนสวนของภูเขาน้ําแข็งท่ีปริ่มน้ํา บางคร้ังอาจจมนํ้า บางครั้งอาจขึ้นมาเหนือน้ํา เปน ไปตามแรงลมและคลืน่ ในมหาสมทุ ร ระดับจิตใตสํานึก (Unconscious) เปนระดับของจิตท่ีเก็บกดความรูสึกความทรงจํา อารมณ เปนสวนของความไมรูตัวของบุคคล เปรียบไดกับสวนท่ีจมอยู ใตน้ําของภูเขานํ้าแข็ง เปนระดับท่ีมี แรงขับพื้นฐานของมนุษย นั้นคือแรงขับเพ่ือการดํารงชีวิตอยู(Survival Drive) แรงขับแหงการทําลาย (Aggressive Drive) และแรงขับทางเพศ (Sex Drive)(พรรณทพิ ย ศริ ิวรรณบศุ ย, 2547, หนา 83) ฟรอยดเปนนักจิตวิทยาคนแรกใหความสําคัญกับจิตไรสํานึกโดยถือวาเปนสาเหตุสําคัญของพฤติกรรมและมีอิทธิพลอยางมากตอบุคลิกภาพของมนุษย ท่ีจะกลายเปนตัวตน ของบุคคล จิตในระดับน้ี เปนสวนท่ีตัวกระตุนใหเกิดแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล และเปนที่ท่ีบุคคลเก็บประสบการณทางความรูสึกและอารมณที่ไมสมหวังหรือไมพอใจ ซึ่งจะ 117

การพฒั นาตนสงผลกระตุนเตือนใหบุคคลแสดงพฤติกรรมท่ีผิดปกติออกมาในภายหลัง โดยเฉพาะอยางย่ิงประสบการณค วามไมพอใจหรือประสบการณรุนแรงทางอารมณ และความรสู กึ ทเี่ กิดข้นึ ในชวงวัยเดก็ ตัวตน ของบุคคลจะเปนอยางไร ขึ้นกับความสอดคลองของโครงสรางทั้ง 3 สวน จะเห็นไดวา เด็กแรกเกิดมีความตองการท่ีตองไดรับการตอบสนอง ยึดความตองการของตนเปนเกณฑ ไมคํานึงถึงผูอ่ืน เม่ือเติบโตข้ึนสวนของอีโกเริ่มพัฒนา เด็กจะรูจักรอมากขึ้นยิ่งเติบโตยิ่งตองปรับตัวเพื่ออยูในสังคมมากขึ้น ขณะเดียวกัน การอบรมสั่งสอนจากพอแม และการเรียนรูก ฎเกณฑค วามคาดหวังในสงั คม จะชวยพัฒนาสว นทีเ่ ปนซปุ เปอรอีโกมากขึ้นตามลําดับฟรอยดกลาววา พัฒนาการทางบุคลิกภาพเปนปฏิสัมพันธระหวางอิด อีโก และซุปเปอรอีโกพัฒนาการจึงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยเฉพาะวัยทารก วัยเด็ก และวัยรุน โครงสรางบุคลิกภาพท้ัง 3 สวน จะทํางานประสานกันดีขึ้น เน่ืองจากมีปฏิสัมพันธกับส่ิงแวดลอมหรือโลกภายนอกมากขนึ้ ยง่ิ โตขน้ึ อีโกย่งิ แข็งแกรง และสามารถควบคุมอดิ ไดม ากขึ้น ขัน้ พฒั นาการทางเพศ ฟรอยดอธิบายวา พัฒนาการทางเพศแตละขั้นเกี่ยวของกับพลังจิต(Psychic energy) ซ่ึงเปน พลังทต่ี ดิ ตัวมาต้ังแตเกิด ไมสามารถสรางใหมหรือทําลายได พลังจิตน้ีมีอํานาจเหนือสภาพอารมณและจิตใจของบุคคล พลังจิตจะเปนตัวกระตุนการรับรู ความคิด และความทรงจํา พลังจิตจะคงอยูเสมอแมวารางกายจะผานพัฒนาการในแตละข้ันไปแลวก็ตาม(Hoffman Paris & Hall, 1994, p. 32) พลังจิตบางตําราเรียกวาเปนพลังลิบิโด (Libido) เปนพลังงานที่ทําใหคนอยากมีชีวิตอยู อยากสรางสรรค อยากมีความรัก มีแรงขับทางเพศ หรือกามารมณ เพื่อจุดมุงหมาย คือความสุขและความพึงพอใจ โดยมีสวนของรางกายที่ไวตอความรูสึกเรียกวา อีโรจีเนียสโซน (Erogenous Zone) ซึ่งพลังลิบิโดจะยายไปอยูตามสวนของรางกายเหลานี้ตามชวงวัยหากลิบิโดอยูที่สวนใดของรางกาย สวนน้ันจะเกิดความเครียด (Tension) บุคคลจะใชสวนนั้นเพ่ือแสวงหาความสุขความพอใจ หากสามารถตอบสนองความตองการไดอยางเหมาะสมก็จะลดความเครียดได กาวผานพัฒนาการไปตามขั้นตอนปกติ แตถาไมสามารถใชสวนของรางกายนั้นตอบสนองความตองการ หรือหาความสุขไมไดเพียงพอ ก็จะเกิดการชะงักหรือการติดตัน118

การพัฒนาตน(Fixation) อันจะสงผลตอบุคลิกภาพเม่ือเติบโตเปนผูใหญ ข้ันพัฒนาการทางเพศ แบงออกเปน 5ขั้น ดังนี้ ขั้นแสวงหาความสุขจากการใชปาก (Oral Stage) อายุ 0-1 ประยะนี้พลังลิบิโดจะไปรวมอยูท่ีบริเวณปาก ทําใหเกิดความเครียดท่ีบริเวณนั้น เด็กจึงตองไดรับกระตุนเราและตอบสนองที่เหมาะสมท่ีบริเวณปาก จึงจะผอนควายความตึงเครียดได เด็กจึงมีความสุขโดยทาํ กจิ กรรมตา ง ๆ ดวยปาก เชน การดูด เค้ียว กัด เลน ดวยเสียง เปนตน หากไมไดรับการกระตุนหรือตอบสนองจนพอใจ ก็จะทําใหเกิดการชะงักหรือติดตัน สงผลใหอยากตอบสนองทางปากอยูเสมอในภายหลัง เชน ชอบกนิ ชอบดื่มตลอดเวลา ชอบพดู คยุ นินทา เปนตน ข้ันแสวงหาความสุขจากทวารหนัก (Anal Stage) อายุ 2-3 ป ชวงนี้พลังลิบิโด จะเคล่ือนไปอยูท่ีทวารหนัก เด็กจะมีความสุข ความพอใจโดยการทํากิจกรรมท่ีใชทวารหนัก เชน การขับถายหรือการกล้ันเอาไว หากพัฒนาการในขั้นนี้ไมสมบูรณ เชน การฝกขับถายเปนไปอยางไมเหมาะสมและไมผอนคลาย ก็จะทําใหเกิดการชะงัก ซ่ึงจะสงผลตอนโตเปนผใู หญ เชน เปนผทู ่มี บี ุคลิกภาพเปนคนเจาระเบยี บ จจู พี้ ิถีพถิ นั รักความสะอาดอยา งมาก เปนตน ขั้นแสวงหาความสุขจากอวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุ 3-5 ปเปนชว งสําคัญของพัฒนาการเพราะเดก็ จะไดเ รยี นรูบ ทบาทตามเพศของตนเอง โดยเลียนแบบจากพอแมท่ีเพศเดียวกันกับตนเอง ชวงนี้พลังลิบิโด จะเคล่ือนยายไปอยูท่ีบริเวณอวัยวะเพศ (GenitalArea) เด็กวัยน้ีจะมีความสุข ความพอใจจากการทํากิจกรรมเนื่องดวยอวัยวะเพศ เชน เลนกับอวัยวะเพศของตน ซึ่งสงผลตอพัฒนาการอยางอื่นดวย เชน การสํานึกรูถึงเพศของตน เด็กวัยน้ีจะไดเรียนรูบทบาททางเพศของตนเองโดยการเลียนแบบจากบทบาทพอ แม ที่เปนเพศเดียวกับตนฟรอยดอธิบายวา เด็กจะมีความรูสึกลักษณะตางๆ ภายในลึกๆ เชน ลักษณะของปมออดิปุส(Oedipus Complex) เด็กชายจะรักแมพรอมกับอิจฉาพอ จึงเลียนแบบพอเพื่อใหตนเองเปนท่ีรักของแม สวนเด็กหญิงเปนลักษณะของปมอิเลคตรา (Electra Complex) เด็กหญิงรักพอและอิจฉาแม จึงเลียนแบบแมเพ่ือใหตนเองเปนที่รักของพอ ในลักษณะทั้งสองอยางดังกลาว เด็กจะไดเลยี นแบบ (Identification) พอ และแมข องตนเองจนกระทั่งเด็กมีบทบาทเหมาะสมกับเพศ และเด็กจะไดส วนของซุปเปอรอ ีโกจ ากตวั แบบ (Figure) หรือจากพอแมข องตนเอง 119

การพัฒนาตน ในชวงนี้ถาเด็กปรับตัวไมได เด็กก็ยังเลียนแบบพอหรือแมจนโต และถายังปรับตัวไมไดอีกเด็กชายก็จะเร่ิมคลอเคลียอยูกับแม ประทับใจในบทบาทของแมมากกวาพอในที่สุดก็มีบทบาทคลายเพศหญิง และอาจเปนสาเหตุของรักรวมเพศ (Homosexual) ได ในทางตรงกันขาม เพศหญิงก็อาจเกิดไดในลักษณะเดียวกันน้ี ฉะนั้นในชวงน้ี ถาเด็กขาดพอหรือแมและไมมีตัวแบบอื่นๆ เขามาทดแทน เด็กอาจจะสับสนในบทบาทของตนเอง จนกระทั่งไมทราบวาควรมีบทบาทอยางไร ฟรอยดใ หความสําคัญอยางยงิ่ กับพัฒนาการในขัน้ นี้ ข้นั แสวงหาความสุขจากสังคม สภาพแวดลอมรอบตน (LatencyStage) อายุ 6-11 ป ฟรอยดไมคอยใหความสําคัญกับชวงวัยน้ีนัก เปนชวงท่ีพลังลิบิโด ไมไดรวมอยูท่ีใดท่ีหนึ่งแตจะอยูท่ัวๆ ไป เปนระยะของการพัฒนาทักษะใหม เด็กเริ่มพัฒนาชีวิตสังคมนอกครอบครัวจึงแสวงหาความพึงพอใจในการติดตอกับผูคนรอบตัวและเพ่ือนรวมวัย เพ่ือนสนิทเปนคนเพศเดียวกนั มากกวาตา งเพศ เปน ระยะท่ีเด็กเตรียมตัวเขาสูวัยแตกเน้ือหนุมสาวพัฒนาการทางกายเปน ไปอยางเชอ่ื งชาเมอื่ เทียบกบั ชว งทีผ่ านมา ขั้นแสวงหาความสุขจากการมีสัมพันธภาพทางเพศ (GenitalStage) ชวงวัยรุน พลังลิบิโด จะกลับมารวมอยูท่ีอวัยวะเพศอีกคร้ัง คนจะสนใจตอการตอบสนองทางเพศ โดยเฉพาะอยางย่ิงเพศตรงขาม วัยน้ีเด็กท้ังสองเพศมีความพอใจ คบหาสมาคม รักใครผูกพันกับเพื่อนตางเพศ ขณะเดียวกันก็พยายามประพฤติตนใหเหมาะสมกับบทบาททางเพศ โดยเลียนแบบคนเพศเดียวกันท่ีตนนิยม ระยะนี้มักเห็นแจมแจงวาเด็กคนใดแสดงบทบาททางเพศผิดปกติ หรือเลียนแบบบทบาททางเพศจากตนแบบที่ผิด หากพัฒนาการเปนไปตามปกติก็จะนําไปสกู ารเตรียมตัวแตงงาน มีคูครอง แตถาการกระตุนและการตอบสนองไมเหมาะสมก็จะทําใหเกดิ อาการผิดปกติทางเพศลักษณะตาง ๆ เชน การรักรวมเพศ การชอบรวมเพศกับคนไมเลือกหนาเปน ตน 2)แนวคดิ ของนักจิตวิทยาสงั คม อีริคสัน (Erik Erickson, 1902 – 1994) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันพัฒนาทฤษฎีจิตสังคม (Psycho-social) บนพ้ืนฐานความเช่ือวา ความสําคัญของสังคมและวัฒนธรรมท่ีอยูรอบๆตัวบุคคล จะสงผลโดยตรงตอการแสดงพฤติกรรมของมนุษยประกอบดวยลักษณะที่ตรงขามกันเปนคู ในรูปแบบของการมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่น ๆ ท่ีเขา มาเกี่ยวของดวย120

การพฒั นาตนในแตละข้ัน โดยกลาวไดวา ขึ้นกับลักษณะของสัมพันธภาพท่ีบุคคลมีกับกลุมบุคคลท่ีเปนศูนยกลางความผูกพัน เชน พอ แม เพ่ือน สามี-ภรรยา เปนตน และขอขัดแยงทางสังคมจิตวิทยา(Psychosocial Crises) ท่ีเกดิ จากความสมั พนั ธน ั้น ๆ ดังภาพท่ี 4.1สมั พนั ธภาพกบั กลุม บุคคลที่ อารมณแ ละจิตใจเปน ศนู ยกลางความผูกพนั ความขัดแยง ทางสงั คมและจติ ใจแกไขภาวะขัดแยงไมไดใ นแตละข้นั ตอน แกไ ขภาวะขัดแยง ไดในแตละขน้ั ตอนบคุ ลกิ ภาพทไ่ี มมัน่ คงตามวัย หรอื บุคลิกภาพทีม่ ัน่ คงตามวัย หรอืลักษณะพัฒนาการท่ไี มพงึ ประสงค ลักษณะพฒั นาการทพ่ี งึ ประสงคอีโกท่ีไมเขม แข็ง อโี กท เ่ี ขม แข็งภาพท่ี 4.1: ภาพแสดงความขดั แยงทางสงั คม-จิตใจทม่ี ผี ลตอ การพัฒนาบุคลิกภาพทม่ี า : ศรเี รอื น แกว กังวาล, 2538, หนา. 40. ความขัดแยงทางสังคมและจิตใจ เกิดจากความสัมพันธของบุคคลกับกลุมบุคคลท่ีเปนศูนยกลางความผูกพันซึ่งจะเปลี่ยนไปตามชวงวัย หากบุคคลสามารถแกไขภาวะวิกฤติและขอขัดแยงไดดวยดี ก็จะทําใหเกิดลักษณะพัฒนาการ และบุคลิกภาพท่ีพึงประสงคเรื่อยไปตามลําดับสงผลตอโครงสรางบุคลิกภาพท่ีม่ันคง หากไมสามารถแกไขขอขัดแยงไดดวยดีจะกอใหเกิดพัฒนาการและบุคลิกภาพท่ีเปนปญหาอยางหนึ่งอยางใด หรือหลายอยาง มากนอยตามความรุนแรงของขอขัดแยง ทแี่ กไมต ก 121

การพัฒนาตน ข้ันพัฒนาการ อีริคสนั แบง พฒั นาการออกเปน 8 ข้ัน ตั้งแตแรกเกดิ ถึงวัยชรา ซงึ่ ในแตละข้ันมีขอขัดแยงทางสังคม-จิตใจ เปนคทู ัง้ 8 ขัน้ ตอน รายละเอียดของพฒั นาการแตล ะขั้นมีดงั นี้ (พรรณีชทู ยั เจนจติ , 2545, หนา 51-53) ความไววางใจ-ไมไววางใจ (Trust vs. Mistrust) อายุ 0-1 ป ชวงน้ีเปนชวงของการพัฒนาความไววางใจท้ังตอตนเองและผูอื่น ซ่ึงความรูสึกนี้จะพัฒนาขึ้นมาได เนื่องจากความคงเสนคงวาของพอแมในการตอบสนองความตองการพ้ืนฐานของเด็ก เพราะเด็กยังไมสามารถชวยตนเองได จงึ ตองคอยพึง่ พาผูอืน่ โดยเฉพาะพอแม เนื่องจากทารกมีความรูสึกไวท่ีปากเมอื่ ไดดูดนม ไดอาหาร ไดรับการสัมผัสอันออนโยนอบอุน เด็กยอมรูสึกไววางใจในสิ่งแวดลอม แตถา ไมไ ดรบั ความสุขจากการเล้ียงดูบอย ๆ เด็กจะเกิดความไมไววางใจ ในชวงน้ีจึงเปนชวงของการพัฒนาการมองโลกในแงดี หรือมองโลกในแงราย ทั้งน้ีสิ่งสําคัญในการพัฒนาความไววางใจ คือสัมพันธภาพระหวางพอแมลูกมากกวาปริมาณอาหารหรือการแสดงความรักโดยผิวเผิน อีริคสันกลาววา พัฒนาการของความไววางใจจะเปนรากฐานของความเปนเอกลักษณในการท่ีจะรูสึกวาตนเองเปนผมู คี วามสามารถ เปน ตัวของตัวเอง พงึ่ ตนเอง และนําตนเองได ความเปนตัวของตัวเอง-ไมม่ันใจในตัวเอง(Autonomy vs. Doubt) อายุ 2-3ป เด็กกาวเขาสูวัยแหงความรูสึกไวตอการขับถาย และถูกฝกใหขับถายเปนเวลา ฝกใหมีทักษะในการใชกลามเนื้อบริเวณขับถาย เมื่อเด็กเกิดทักษะก็จะบังคับการขับถายไดเอง เกิดความเปนตัวของตัวเองยิ่งขึ้น หากไดรับการฝกโดยละมุนละมอม ประกอบกับสมองสวนบังคับกลามเน้ือบรรลุวุฒิภาวะเพียงพอ แตถาไดรับการฝกอยางเขมงวดมากเกินไป และความสามารถในการบังคับกลามเน้ือยังไมดีพอ ก็จะเกิดความอับอาย เกิดความสงสัยวา ตนเองคงชวยเหลือตนเองไมได น่ันคือ พัฒนาความไมม่ันใจในตนเอง นอกจากน้ี เด็กวัยน้ียังเปนวัยที่ทดลองใชกลามเน้ือสวนตางๆของรางกาย ถาเด็กไดรับอนุญาตใหลองทําส่ิงตางๆ จนเกิดเปนทักษะทําใหพัฒนาความเปนตัวของตัวเอง ถาพอแมไมมีความอดทน ไมใหโอกาสลูก หรือทําทุกอยางแทนลูก ลูกจะไมเกิดทักษะในการบังคับกลามเน้ือ จะทําใหลูกเกิดความสงสัยในความสามารถของตน พัฒนาการความไมมนั่ ใจในตนเองตามมา122

การพฒั นาตน ความคิดริเริ่ม-ความรูสึกผิด (Initiative vs. Guilt) อายุ 4-5 ป เปนความสามารถในการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมตาง ๆ ตลอดจนการใชภาษา อันตรายสําหรับข้ันน้ีคือ ความรูสึกผิด วัยนี้ถาพอแมมีเวลาใหกับเด็กในการตอบคําถาม ไมดุดา หรือตัดบทเพราะความเบื่อหรือรําคาญ ใหโอกาสเด็กมีอิสระไดศึกษาคนควาดวยตนเอง จะทําใหเด็กพัฒนาบุคลิกภาพเปนคนท่ีมีความคิดรเิ ร่มิ อยากศกึ ษาคนควา สํารวจ แตถาพอแมเขมงวดกับการกระทํา ไมเปดโอกาสใหเด็กไดซักถามในสิ่งที่สนใจอยากรู ซ้ํารูสึกวาการกระทําของเด็กเปนการกอกวนทําใหผูใหญรําคาญใจ พูดเร่ืองไรสาระ เด็กจะรสู ึกผิดในการที่คิดทําส่ิงตา ง ๆ ดวยตนเอง ความขยันหม่ันเพียร-ความรูสึกตํ่าตอย (Industry vs. Inferiority) อายุ 6-11 ป เปนวัยท่ีเด็กเร่ิมเขาโรงเรียน มีความตองการเปนที่ยอมรับของผูอื่น โดยการพยายามคิดทํา ผลิตส่ิงตาง ๆ ซึ่งจะไปชวยพัฒนาความขยันขันแข็ง อันตรายสําหรับขั้นนี้คือ ความรูสึกต่ําตอยชวยตนเองไมได ถาเด็กไดรับการกระตุนใหทําสิ่งตางๆ ใหกําลังใจ ใหทําจนสําเร็จ และใหคําชมเชยในความพยายามของเด็กจะเปนแรงกระตุนใหเด็กเกิดความมานะพยายาม แตถาเด็กทําสิ่งใดข้ึนมาแลวผูใหญไมใหความสนใจเห็นวานาเบ่ือ เด็กจะพัฒนาความรูสึกต่ําตอย เพ่ือปองกันไมใหเกิดความรูสึกต่ําตอย ผูใหญจึงควรใหการยอมรับ ใหง านท่เี หมาะสมกบั ความสามารถ และใหความสนใจกบั เด็ก ความเปนเอกลักษณ-ความสับสนในบทบาท (Identity vs. Role confusion) ชวงวัยรุนเปนวัยท่ีควรหาเอกลักษณ (Identity) ของตนเองใหได ถาวัยนี้ยังหาเอกลักษณของตนไมได จะเกิดความสับสนในบทบาทของตน ชวงนี้เด็กโตพอท่ีจะวิเคราะหตนเอง หาเอกลักษณของตนเองได รูวาตนเองคือใคร ตองการอะไร มีความเชื่อ หรือมีเจตคติอยางไร ตลอดจนมีเปาหมายอะไรในอนาคต ซ่ึงถา คน พบกจ็ ะสามารถแสดงบทบาทของตนไดอยางถูกตอง แตถาหาตนเองไมพบ ไมทราบวาตนเองมีเอกลักษณเชนใด ก็จะไมรูวาตนเองคือใคร ตองการอะไร ไมสามารถแสดงบทบาทไดถูกตอง จะรับบทบาทของคนอ่ืนๆ ในสงั คมมาเปน ของตน ซง่ึ ไมสอดคลองเหมาะสมกบั ตนเองทําใหเกิดความสับสน บคุ คลทผ่ี านพฒั นาการทงั้ ส่ีข้ันมาดวยดี จะพฒั นาความรูสึกนึกคิดเก่ียวกับตนเองในทางบวก แตก็ไมไดย ืนยันวา จะประสบผลสาํ เรจ็ ในข้ันตอไปไดท ้งั หมด ทงั้ น้ีเพราะยังตองเผชิญปญหาท้ังจากตนเองเกย่ี วกับการเปลี่ยนแปลงของรา งกาย และจากสงั คมเกี่ยวกับความคาดหวงัของผใู หญ ซึ่งทําใหปรบั ตวั ลําบาก แตถา มพี ื้นฐานของพฒั นาการทัง้ ส่ีขน้ั มาดี ประสบปญ หาเพยี ง 123

การพฒั นาตนเล็กนอ ย ก็สามารถหาจุดยืนของตนเองได เพราะรูถ ึงความสามารถ ความสนใจ ความตอ งการของตน แตผทู มี่ พี ืน้ ฐานพฒั นาการมาไมดี จะมีปญ หาในการปรับตัวย่งิ ขึน้ เพราะไมสามารถคนหาความสนใจ และความตองการของตนเองไดอยางถกู ตอง อาจทําอะไรตามเพื่อนเพียงเพ่อื ใหเกดิความรูส กึ วา ตนเองมีกลุม มีพวก ความผูกพัน-การแยกตัว (Intimacy vs. Isolation) วัยผูใหญตอนตน หลังจากผานขั้นท่ี 5 มาแลว บุคคลสามารถหาเอกลักษณของตนเองได รูวาตนเองคือใคร มีความเช่ืออยางไรตอ งการอะไรในชีวติ ก็จะเกิดความรูสึกตองการมีเพื่อนสนิท ที่สามารถรับรู รับฟงส่ิงตางๆ ที่ตนเองมีอยู ตองการท่ีจะแบงปนประสบการณท่ีตนเองมีใหผูอื่นรับรู อันตรายของวัยนี้คือ การไมสามารถสรางความรูสึกผูกพันใกลชิดกับผูอ่ืนได แตกลับมีความรูสึกแขงขันชิงดีชิงเดน ชอบมีเร่ืองทะเลาะเบาะแวงกับผอู ่ืน ซ่ึงจะนําไปสูการแยกตวั อยตู ามลาํ พัง วัยน้ีเปนชวงเวลาของการแตงงาน หากคูแตงงานมีความรูสึกผูกพัน ยอมสามารถอยูรวมกันไดเปนอยางดี รูจักถอยทีถอยอาศัยตอกัน แตถาทั้งคูยังหาเอกลักษณของตนไมได ยังไมรูจักตนเองดีพอ ยอ มไมส ามารถมคี วามรูสึกผูกพันตอกันได ไมมีอะไรจะแบงปนหรือแลกเปลี่ยนซ่ึงกนั และกนั มกั เกิดการหยา ราง หรือแยกจากกนั ไปในท่สี ดุ การทําประโยชนใหสังคม-การคิดถึงแตตนเอง (Generativity vs. Self absorption) วัยกลางคน เปนวัยท่ีสรางประโยชนใหสังคม หากพัฒนาการของบุคคลในขั้นที่ 5 และ 6 เปนไปดวยดี รูวาตนเองมีเอกลักษณเชนไร มีความตองการอยางไรในชีวิต ตลอดจนสามารถสรางสัมพันธภาพกับคนอ่ืนได เมื่อมาถึงข้ันท่ี 7 ก็พรอมท่ีจะทําประโยชนตาง ๆ ใหกับสังคม รูจักที่จะอบรมสั่งสอนลูกหลานใหเปนคนดีตอไป แตถาบุคคลใดไมพัฒนามาถึงข้ันน้ี จะเกิดความรูสึกทอถอยเหนื่อยหนายในชีวิต คิดถึงแตตนเอง ไมสรางประโยชนใหกับสังคม บุคคลท่ีพยายามใหความชวยเหลือสังคม แตปลอยใหลูกหลานภายในบานมีปญหาตางๆ นานา ไมเรียกวาเปนการทําประโยชนใหกับสังคมอยางแทจ ริง แตเ ปน การทําประโยชนใหกับตนเองโดยอาศยั การทํางานในสังคม การบูรณาการ-ความสิ้นหวัง (Integrity vs. Despair) วัยชรา เปนวัยสุดทายของชีวิตหากบุคคลผานพัฒนาการในขั้นตางๆมาไดดวยดี ยอมบังเกิดความพึงพอใจในชีวิตของตน รูจักแสวงหาความสุข ความสงบ และมีความพึงพอใจกับการมีชีวิต ความเปนอยูของตน แตถา124

การพัฒนาตนพัฒนาการในขั้นตนๆ ไมเหมาะสม เม่ือมาถึงข้ันน้ีจะรูสึกส้ินหวัง รูสึกวาเวลาเหลือนอยเหลือเกินส้ันเกินกวาที่จะแสวงหาวิธีตางๆ มาใชเพื่อใหชีวิตมีความสุข จะรูสึกเสียดายเวลาท่ีผานมา ไมยอมรบั สภาพความเปน อยูข องตน หาความสขุ ความสงบใหกับตนเองไมได 3) แนวคิดของนักจติ วิทยากลุมมนุษยนิยม อับราฮัม มาสโลว (Abraham Maslow, 1908 - 1970) ใหแนวคิดวา มนุษยทุกคนมศี กั ยภาพท่จี ะพัฒนาตนไปในทางท่ีดี ถาไดอยใู นสภาพแวดลอมที่เหมาะสม และเช่ือวามนุษยมีความตองการโดยธรรมชาติที่จะแสวงหาส่ิงดีงามไมวาจะเปนการเรียนรู การพยายามเขาใจส่ิงตาง ๆ โดยเฉพาะอยางย่ิง มนุษยมีแนวโนมท่ีจะพัฒนาไปสูการยอมรับตนเอง และเปนตัวของตัวเองท้ังนี้เพราะมนุษยมีพ้ืนฐานที่ดีเปนทุนเดิมอยูแลว และจะทําไดหากมนุษยมีโอกาสไดอยูในสง่ิ แวดลอมทดี่ ี หรืออยใู นสภาพทีเ่ อื้ออาํ นวย Maslow แบงลาํ ดับขัน้ ความตอ งการของมนุษยเปน 7ขน้ั เรยี งลําดับจากความตองการทางรางกาย ซึ่งเปนความตองการตํ่าสุด ไปจนถึงความตองการที่จะพัฒนาตนเองซ่งึ อยูใ นลาํ ดับสูงสุดความตองการทั้ง 7 ลําดบั มีดงั น้ี ความตองการทางดานรางกาย (physiological needs)เปนความตองการขั้นพ้ืนฐาน ไดแก ความตองการอาหาร น้ําด่ืม อากาศ การพักผอน ความตองการทางเพศ ความตอ งการความอบอุน ตอ งการขจัดความเจบ็ ปว ย และตองการรักษาความสมดุลของรางกาย ทุกคนตอ งการสิง่ เหลา นเ้ี หมอื นกัน อาจแตกตางกันเปน รายบคุ คล ทงั้ น้ขี ้นึ อยูกับเพศ วัย และสถานการณฯลฯ ความตอ งการปจจยั 4 ดงั กลา วขา งตน หากเพียงพอแลว มนษุ ยจะพฒั นาในข้นั ตอไป ความตองการความปลอดภัย (safety needs) บุคคลมักกลัวส่ิงท่ีแปลกไปจากเดมิ สงิ่ ทไี่ มค นุ เคยมากอน สงิ่ ท่ีเปนอนั ตราย ดังน้นั บุคคลจงึ ตองการความปลอดภัย ส่ิงท่ีแสดงถึงความตองการขั้นนี้คือ การที่มนุษยชอบอยูอยางสงบ มีระเบียบวินัย ไมรุกรานผูอ่ืน ความตองการระดบั นี้อาจแยกยอ ยไดด ังน้ี • ความมนั่ คงในครอบครัว การมีบานแข็งแรงปลอดภัย มคี วามรกัใครปรองดองกันในครอบครัว • ความมั่นคงปลอดภัยในอาชีพ มีรายไดยุติธรรม ไมถกู ไลออก งานไมเสีย่ งอนั ตราย ผบู งั คับบัญชาดีมคี วามยุติธรรม ฯลฯ • มหี ลกั ประกันชีวิต เชน มีผดู ูแลเอาใจใสย ามชรา ยามเจ็บไข 125

การพัฒนาตน ความตอ งการความรักและความเปนเจาของ (love and belonging needs)อยากไดความรัก อยากเปนเจาของคนอ่ืน ขณะเดียวกันก็ตองการใหตนเองเปนท่ีรักของใครสักคนถารสู ึกวา ไมมีใครรกั จะเหงา วาเหวแ ละรูส กึ วา ขาดบางส่งิ ของชีวติ • ความตองการมเี พ่อื น • ความตองการการยอมรับจากกลุม • ความตอ งการแสดงความคดิ เหน็ ในกลุม • ความตอ งการรกั คนอ่ืนและไดร ับความรักจากคนอ่นื • ความตอ งการความรสู กึ วาสังคมเปนของตน ความตองการเห็นตนเองมีคุณคา (esteem needs) เปนความตองการเห็นตนเองมคี ณุ คา ในสายตาของตนเองและของผูอ่ืน ความตองการน้ีจะควบคูไปกับความรูสึกม่ันใจ เขมแข็ง และสามารถพ่ึงตนเองได มีความกาวหนา มีชอื่ เสยี ง ไดร บั การยอมรบั หรือความนิยมจากคนอนื่ • ตอ งการยอมรับความคิดเห็นหรือขอเสนอ • ตอ งการเกยี รตยิ ศชื่อเสียงจากสงั คม • ตอ งการนบั ถือตนเอง มีความมั่นใจตนเอง ไมต องพึ่งผอู ื่น • ตองการไดร บั การยกยองนบั ถอื จากผูอื่น • ตองการความมั่นใจในตนเอง และรูสึกตนเองมคี ุณคา ความตองการท่ีจะทําความเขาใจตนเอง (needs for self – actualization)เปนความตองการที่จะเขาใจตนเองตรงตามสภาพท่ีตนเองเปนอยู ไดแก ความสามารถ ความสนใจ ความตองการของตนเอง ยอมรับไดในสวนที่ดีและสวนท่ีบกพรองของตนเอง ซ่ึงจะเปนพนื้ ฐานของความสาํ เรจ็ ของชีวิต • ตองการรูจักตนเอง ยอมรับตนเอง เปดใจรบั ฟง คาํ วิจารณโดยไมโ กรธ • ตองการรจู ักแกไขตนเองในสวนทยี่ ังบกพรอง • ตอ งการพัฒนาตนเอง พรอมที่จะรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืนเก่ียวกับ ตนเอง • ตองการคน พบความจริง พรอ มทีจ่ ะเปดเผยตนเองโดยไมม กี ารปกปอ ง • ตองการเปนตวั ของตัวเอง ประสบความสําเร็จดวยตวั เอง126

การพฒั นาตน บคุ คลที่พฒั นาถึงข้นั ตระหนกั ในตนเอง (self-actualization) เปน บุคคลที่มีจริยธรรมมีวินัยในตนเอง และมีบุคลิกภาพประชาธิปไตย การพัฒนาจากข้ันตนไปสูขั้นตอ ๆ ไปนั้น ตองอาศัยความ “พอ” ของบุคคล ซ่ึงความพอนี้ นอกจากจะข้ึนกับสภาพทางกายแลว ยังขึ้นอยูกับความรูสึกพอดีดว ย ความตองการท่ีจะเขาใจ (desire to know and understand) เปนความตองการทีอ่ ยากจะศกึ ษาความรูซึ่งเปน ความพงึ พอใจ และเปน ความตอ งการของตนเอง ความตองการดานสุนทรียะ (aesthetic needs) เปนความตองการในสิ่งสวยงาม ศลิ ปะและสง่ิ จรรโลงใจMaslow เรียกความตองการข้ันที่ 1-4 วาเปน Lower deficiency needs หรือ D. needs และเรียกความตองการขั้นที่ 5-7 Higher being need หรือ B. needs โดยอธิบายวา D. needs เปนความตองการที่ขาดไมได หากขาดไปมนุษยจะแสวงเพื่อสนองความตองการน้ัน ๆ เม่ือ D. needs ไดรับการตอบสนองแลวมนุษยจะแสวงหา B. needs ตอไป B. needs เปนส่ิงท่ีมนุษยใฝหามิไดเกิดจากการขาดหรือกลาวไดวา B. needs เปนความตองการที่จะพัฒนาตน ความแตกตางกันของความตองการทั้ง 2 กลุม (Abraham H. Maslow, “A Theory of Hunman Motivation” PsychologicalReview vol. 50. 1943 . PP 340-396.) มีดงั นี้ ความตอ งการขั้นตํา่ Lower deficiency needs หรือ D. needs 1. มนุษยทําทุกวิถีทางเพื่อใหสําเร็จหรือขจัดความตองการข้ันต่ํา เชนเม่อื หิว ก็ตอ งหาอาหารมากินเพื่อขจดั ความหิว 2. แรงจูงใจอันเน่ืองมาจากความตองการขั้นต่ําจะนําไปสูการกระทําเพื่อลดความตึงเครียดตาง ๆ ทั้งนี้เพื่อใหรางกายอยูในสภาพสมดุล เชน คนที่ตองการการยอมรับนบั ถือจะทาํ ทกุ สง่ิ ใหไดม าซึง่ การยอมรบั นบั ถือ ความมชี ื่อเสียง 3. การทีม่ นษุ ยสามารถสนองความตองการข้ันต่ํา ทําใหหลีกเลี่ยงจากความทุกขห รอื ความเจบ็ ปวยได เชนอากาศหนาว เราจะนอนไมหลับจนกวาจะไดเส้ือหรือผาหมจึงจะนอนหลบั 4. การท่ีมนุษยสามารถสนองความตองการข้ันตํ่าจะรูสึกวาพนจากความทุกข พนจากความกระวนกระวาย จะเกดิ ความรูส กึ วาไมตองการส่ิงใดอกี แลว ในขณะน้ัน 5. การสนองความตองการข้ันตํ่าจะมีลักษณะเปนครั้งคราว หรือเปนเปนเวลา และมีลักษณะท่ใี ชหมดไปในแตล ะคร้ัง 127

การพัฒนาตน 6. ความตองการขั้นต่ําซ่ึงตองการการตอบสนอง จากปจจัยภายนอกนั้นเปนส่ิงท่ีทุกคนมีประสบการณรวมกัน เชน รูวาความหิวเปนเชนไร หรือความตองการความรักการยอมรับจากกลมุ เปนอยา งไร 7. ความสนองตอ งการขั้นต่าํ ซึ่งตองการอาศัยปจจัยภายนอกน้ัน สวนใหญผูอ่ืนเปนผูสนองให ซึ่งจะทําใหคนเกิดความรูสึกที่ตองคอยพึ่งพาผูอ่ืน ซึ่งจะนําความรูสึกไมเปนตัวของตัวเอง ทําอะไรตองคอยระมัดระวังการยอมรับของผูอื่นคอยดูวา ผูอ่ืนจะคิดอยางไรกับตน 8. คนท่ีมีลักษณะของความตองการข้ันตํ่า สวนใหญจะเปนคนที่คอยพึ่งพาผูอื่น โดยเฉพาะอยางย่ิงกับบุคคลที่เห็นวาจะสนองความตองการใหได ซ่ึงจะกลายเปนคนสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นในวงจํากัด ไมสนใจท่ีจะสรางความสัมพันธกับบุคคลที่ไมสามารถทําประโยชนใ หได 9. คนท่ีมีลักษณะของความตองการข้ันตํ่า มีแนวโนมจะยึดตนเปนศูนยกลาง ไมค อยคาํ นึกถงึ ปญหา มักจะคํานึกถงึ เรอื่ งสวนตัว 10. คนท่ีมีลักษณะของความตองการขั้นตํ่า จะชวยตัวเองไมได ตองคอยขอความชว ยเหลือจากผอู ื่น เมอื่ เขา ทค่ี บั ขนั หรือประสบปญ หายงุ ยากตางๆ ความตองการข้นั สูง Higher being need หรือ B. needs 1. มนษุ ยจ ะแสวงหาความพงึ พอใจข้ันสูงสุด เชน แสวงหาความรู หรือทําประโยชนใ หสงั คมโดยไมห วงั สิง่ ตอบแทน นอกจากความพงึ พอใจ 2. แรงจูงใจที่เน่ืองมาจากความตองการขั้นสูง จะทําใหคนมีความสบายใจอยูไดแมในสภาพที่มีความตึงเครียด เชน ทนไดแมนแตคํานินทาวาราย ไมสะดุงสะเทือนเพราะตระหนักดีถงึ ความสามารถที่ตนจะทาํ ประโยชนใ หแ กส ังคมเกินกวาจะไปสนใจคําพูดของคนบางคนหรอื คําพูดของคนบางกลุม 3. การท่สี ามารถสนองความตองการขั้นสูงได จะทําใหเกิดความสุข มีสุขภาพจิตดี เชน คนท่ีมีความปรารถนาจะศึกษาคนควาโดยมิไดมีส่ิงลอใจอ่ืนใด จะมีความสุขความอมิ่ ใจ มากกวาการกระทาํ ทหี่ วงั ส่งิ ตอบแทน 4. การสนองความตองการข้ันสูง จะนําไปสูความพึงพอใจและความปรารถนา จะแสวงหาความสุข ในขั้นตอไป เชนการแสวงหาโดยมิไดหวังสิ่งตอบแทนจะทําใหผูที่แสวงหาเกิดความสุข ความพึงพอใจ โดยไมมที ี่สนิ้ สดุ 5.การสนองความตองการข้นั สงู เปนเรอื่ งตอเนอื่ งกนั ไปไมมีที่สิน้ สุด128

การพฒั นาตน 6. ความตองการขั้นสูง เปนประสบการณเฉพาะตัว ท้ังน้ีเพราะความแตกตางระหวา งบุคคล เชน บางคนฟง ดนตรี หรือมองพระจันทรแลวเกิดความซาบซึ้งจนนํ้าตาไหลซึง่ เปน ความรสู กึ เกินกวาจะบรรยายใหผูใ ดรบั ทราบได 7. การสนองความตองการขั้นสูงนั้น แตละคนจะเปนผูสนองความตองการใหกับตนเอง ซ่ึงจะนําไปสูการพึ่งตนเองหรือนําตนเองได เปนตัวของตัวเอง ไมตองวิตกกังวลวาใครจะคดิ อยางไรกบั ตน ซ่งึ สามารถทาํ งานไดเต็มที่ 8. คนที่มีลักษณะของความตองการข้ันสูง จะเปนคนท่ีพึ่งตนเองไดจะเปน ผสู รางสมั พนั ธภาพทีด่ กี ับคนทั่วไป ไมใ ชส รางสมั พนั ธเ ฉพาะกับคนท่ีจะทําประโยชนใหเทาน้ัน 9. คนที่มีลักษณะของความตองการขั้นสูง จะเปนคนคํานึกถึงปญหามากกวา ไมคอยคาํ นกึ ถงึ เรือ่ งสวนตัว เปน ผทู าํ งานเพื่องาน มุงผลประโยชนส วนรวมมากกวา สวนตัว 10. คนท่ีมีลักษณะของความตองการข้ันสูง จะสามารถชวยเหลือตนเองไดดี แมเ มอื่ เขา ทค่ี บั ขนั ทั้งน้ีเพราะมีความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถตัดสินใจแกปญหาตางๆไดด วยตนเอง Maslow เช่ือวาในสังคมปจจุบันมีคนนอยมาก ที่สามารถสนองความตองการในลําดับสูงสุดได ท้ังนี้เพราะเขาเหลานั้นยังไมสามารถบรรลุความตองการในลําดับตํ่า จึงไมเกิดความตองการทจี่ ะพัฒนาตนอัตมโนทัศน : Self-Concept ในการศึกษาเรื่องตัวตน เราจําเปนตองเรียนรู ในเรื่องของ อัตมโนทัศน และการเห็นคุณคาในตนเอง เพ่ือเปนพื้นฐานในการพัฒนาตนเอง อัตมโนทัศน : Self-Conceptหมายถงึ ความเขาใจตนเองในดานตาง ๆวาตนเปนอยางไรตามที่ตนประเมิน ประกอบดวยความเขา ใจวารูปรางหนาตาและความสามารถทางกายเปนอยางไรการพัฒนาอัตมโนทัศน อัตมโนทศั นเ ปนผลมาจากปจ จยั 4 ประการคือ 1. การปฏิสมั พนั ธกับผอู น่ื 2. การเปรียบเทียบตนเองกับผอู ื่น 3. การรับขอ มูลยอนกลบั จากผอู นื่ 4. การสงั เกตความรสู ึก ความคดิ และพฤติกรรมของตนเอง 129

การพฒั นาตน การเห็นคุณคาในตนเอง (Self - Esteem) หมายถึง ความรูสึกมั่นใจในตนเองและความพงึ พอใจในตนเอง ความรสู ึกนเ้ี กดิ จาก 5 องคประกอบ ดังนี้ 1.ความรสู ึกปลอดภัยทางกาย 2.ความมั่งคงทางอารมณ 3.ความมีเอกลกั ษณ 4.ความเปนเจาของ 5.ความสามารถ องคประกอบท่ีมีผลตอคุณลักษณะดานการเห็นคุณคาของตนเอง การเห็นคุณคาในตนเองเปน สว นของความรสู กึ ความนึกคิดทบ่ี ุคคลมตี อตนเอง จําแนกองคประกอบไวดังน้ี 1. องคประกอบภายในตัวบุคคล ไดแก ลักษณะทางรางกาย สภาพจิตใจ อารมณ ความรสู กึ 2. องคประกอบภายนอกตัวบุคคล ไดแก การอบรมเล้ียงดู สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม การมสี วนรวมในกจิ กรรมตา งๆตอนท่ี 4.2 ทฤษฎีทเ่ี ก่ียวขอ งกับการพฒั นาตน เรื่องที่ 4.2.1 แนวคดิ พืน้ ฐานในการพัฒนาตน การพัฒนาตนเอง เปนการสรางความสามารถของบุคคลใหมีมากขึ้นและการพัฒนาความสามารถ ท่ียังไมไดพัฒนาของตนเองดวย โดยเหตุที่มนุษยเรามีความ ตองการที่จะใหตนเองเจริญกาวหนา (ความตองการความเจริญกาวหนาสวนตัว และการรับรูศักยภาพของตนเอง)ดังน้ันทุกคนจึงตองพยายามพัฒนาตนเองเพ่ือใหมีชีวิตท่ีดียิ่งขึ้น บุคคลท่ีจะพัฒนาตนเองได จะตองเปนผูมุงมั่นท่ีจะเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงตัวเอง โดยมีความเชื่อหรือแนวคิดพ้ืนฐานในการพฒั นาตนที่ถูกตอ ง ซึ่งจะเปนสงิ่ ท่ชี วยสงเสริมใหการพัฒนาตนเองประสบความสําเร็จ แนวคิดที่สาํ คญั มดี งั น้ี 1. มนุษยท ุกคนมศี ักยภาพทมี่ ีคุณคา อยูในตัวเอง ทําใหสามารถฝกหัดและพัฒนาตนไดใ นเกอื บทกุ เรอ่ื ง 2. ไมมีบุคคลใดที่มีความสมบูรณพรอมทุกดาน จนไมจําเปนตองพัฒนาในเรอื่ งใดๆ อกี130

การพัฒนาตน 3. แมบุคคลจะเปน ผูท ร่ี ูจกั ตนเองไดด ีทส่ี ดุ แตก็ไมสามารถปรับเปล่ียนตนเองไดในบางเรื่อง ยังตองอาศัยความชวยเหลือจากผูอ่ืนในการพัฒนาตน การควบคุมความคิดความรสู กึ และการกระทําของตนเอง มีความสาํ คญั เทากับการควบคมุ สง่ิ แวดลอมภายนอก 4. อุปสรรคสําคัญของการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง คือ การที่บุคคลมีความคดิ ตดิ ยดึ ไมยอมปรับเปล่ียนวิธีคิด และการกระทํา จึงไมยอมสรางนิสัยใหม หรือฝกทักษะใหมๆ ทจ่ี ําเปน ตอตนเอง 5. การปรับปรุงและพัฒนาตนเองสามารถดําเนินการไดทุกเวลาและอยางตอเน่ือง เม่ือพบปญหาหรือขอ บกพรองเก่ียวกับตนเอง เร่ืองท่ี 4.2.2 แนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาตน การพัฒนาตนเอง เปนการสรางความสามารถของบุคคลใหมีมากขึ้นและการพัฒนาความสามารถ ที่ยังไมไดพัฒนาของตนเองดวย โดยเหตุท่ีมนุษยเรามีความ ตองการที่จะใหตนเองเจริญกาวหนา (ความตองการความเจริญกาวหนาสวนตัว และการรับรูศักยภาพของตนเอง)ดงั นน้ั ทกุ คนจงึ ตองพยายามพฒั นาตนเองเพ่ือใหมชี วี ิตท่ดี ีย่ิงขึน้ แนวคดิ พืน้ ฐานในการพัฒนาตน บุคคลท่ีจะพัฒนาตนเองได จะตองเปนผูมุงมั่นที่จะเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงตัวเอง โดยมีความเช่ือหรือแนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาตนที่ถูกตอง ซึ่งจะเปนสิ่งท่ีชวยสง เสริมใหการพัฒนาตนเองประสบความสําเร็จ แนวคิดทสี่ าํ คญั มดี งั น้ี 1. มนุษยทุกคนมีศักยภาพที่มีคุณคาอยูในตัวเอง ทําใหสามารถฝกหัดและพฒั นาตนไดใ นเกือบทุกเร่อื ง 2. ไมม บี ุคคลใดท่มี คี วามสมบูรณพ รอมทกุ ดาน จนไมจําเปนตองพัฒนาในเรือ่ งใดๆ เพิม่ เติมอีก 3. แมบุคคลจะเปนผูที่รูจักตนเองไดดีที่สุด แตก็ไมสามารถปรับเปล่ียนตนเองไดในบางเรื่อง ยังตองอาศัยความชวยเหลือจากผูอื่นในการพัฒนาตน การควบคุมความคิดความรสู กึ และการกระทําของตนเอง มคี วามสาํ คญั เทากับการควบคุมสง่ิ แวดลอมภายนอก 4. อุปสรรคสําคัญของการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง คือ การท่ีบุคคลมีความคิดติดยึด ไมยอมปรับเปล่ียนวิธีคิด และการกระทํา จึงไมยอมสรางนิสัยใหม หรือฝกทักษะใหมๆทจ่ี ําเปน ตอ ตนเอง 131

การพัฒนาตน 5. การปรับปรุงและพัฒนาตนเองสามารถดําเนินการไดทุกเวลาและอยางตอเนื่อง เมอ่ื พบปญ หาหรือขอบกพรองเกี่ยวกับตนเอง แนวคดิ และทฤษฎีในการพฒั นาตน แนวคิดของ Stephen R. Covey แนวคิดในการพัฒนาตน ไดนําแนวคิดมาจาก หนังสือ “อุปนิสัย 7ประการสําหรับผูมีประสิทธิภาพ\" (The Seven Habits of Highly Effective People) หนังสือของสตีเฟน อาร โคว่ี (Stephen R. Covey) หนึ่งในหนังสือที่ไดรับการนิยมมากที่สุดในโลก มีการแปลในภาษาตางๆ แลวมากกวา 34 ภาษา จําหนายไปแลวกวา 20 ลานเลมทั่วโลก ทําให Stephenเปนบคุ คลทไ่ี ดร บั การกลาวถงึ ในดานของการพัฒนาตนเอง แนวคิดของ Stephen จึงเปนแนวคิดในการพัฒนาตนที่ ทันสมัยเหมาะกับบุคคลที่อยูโลกยุคใหมท่ีมี แนวทางการดําเนินชีวิตท่ีแตกตางออกไปจากเดิม การพัฒนาตนเองของ Stephen อธบิ ายผา นอุปนิสยั 7 ประการ ดังนี้ 1. เปน ผกู ระทํา (Be Proactive) คนเราน้ัน หากไมเปนผูกระทํา (Proactive) ก็มักจะเปนผูถูกกระทํา(Reactive) คนที่เปนคนเฉ่ือย ไมยอมคิดไมยอมสรางอะไร ก็จะถูกสิ่งแวดลอมมากระทบหรือนําพาบังคับใหตองทําอยางนั้นอยางนี้ ไปตามสภาพแวดลอม แบบน้ันเรียกวาเปนผูที่ถูกกระทํา แตในทางตรงกันขาม คนที่อยูในประเภทที่เปนผูกระทําจะเปนผูเลือกท่ีจะทําหรือจะไมทําส่ิงใดๆดวยเหตุดวยผลของเขาเอง คือคิดวาตัวเองเปนผูกําหนดชีวิตของตน ทั้งนี้ดวยการพิจารณาไวกอน ไมใชวาถึงเวลาแลวคอยคิดจะทําเพราะสุดทายแลวก็จะกลายเปนผูถูกกระทําและตอบสนองตอส่ิงแวดลอมเหมอื นเดมิ 2. เรมิ่ ตน โดยมีเปาหมายชัดเจน (Begin with the end in mind) การมีเปาหมาย คือการวางแผนการทํางาน หรือแมแตชีวิตของคนเราไวตั้งแตแ รกเร่ิมท่ีจะทําการอะไรใด เพราะหากเราไดตั้งใจไวแลววาในท่ีสุดแลว การงานหน่ึงๆ หรือชีวิตของเราจะมีลักษณะสุดทายเปนอยางไร เรากจ็ ะทําตัวใหสอดคลองกับจุดหมายนน้ั โดยไมไ ขวเขวไป 3. ทําสิ่งสําคัญกวากอ น (Put first things first)132

การพฒั นาตน อันนี้เปนสิ่งท่ีสําคัญเชนกัน เพราะในชีวิตประจําวันเราน้ันอาจจะตองมีกิจกรรมหลายอยางท่ีจะตองทํา บางอยางน้ันเปนเรื่องท่ีสําคัญ บางอยางเปนเร่ืองไมสําคัญบางอยา งไมเรง ดวน บางอยางเรงดวน ดังน้ันแลว สิ่งตางๆ ในชีวิตอาจจะผสมกันออกมาเปนไดหลายแบบคอื : ก) สําคัญและเรงดวน - ตองทําโดยเร็วที่สุดและตองทําใหดีดวย อันน้ีเปน สิ่งทีไ่ มนา จะเกดิ หากวางแผนไวดี ข) สําคัญแตไมเรงดวน – เปนเรื่องที่นาจะทําไดดีท่ีสุด รีบทําเสียเนิ่นๆ จะไดท ําไดด ี และไมกลายเปน ขอ ก) ในที่สุด ค) ไมสําคัญแตเรงดวน - ตองรีบทํานะแตจริงๆ นะไมทําก็ได เชนดูละครทีวีท่กี าํ ลังฉายเปน ตน ง) ไมสําคัญและไมเรงดวน - ไมทําก็ได แตหลายๆคนก็ใหเวลากับตรงนีอ้ ยูมาก หากคนเราใหเวลากับการทํางานในขอ ข) ใหไดมาก ก็จะทําใหงานน้ันออกมาดี(เพราะไมตองรีบ) และก็นาจะประสบความสําเร็จในชีวิตไดมากที่สุด เพราะวาไดใชเวลาในการทํางานท่ี \"สําคัญ\" มากกวาอยางอ่ืนน่ันเองความลับของความสําเร็จของคนก็อยูตรงนี้คือพยายามวางแผนและจัดเวลาใหไดทํางานในลักษณะของขอ ข) ใหไดมากท่ีสุด เพราะน่ันหมายถึงวาเราจะทาํ งานทีส่ าํ คัญท่ีสุดไดดีท่สี ุดน่ันเอง 4. ชอบคิดแบบชนะ-ชนะ (Think Win-Win) การคิดแบบ ชนะ – ชนะ คือการกระทําใดๆ กับใครๆ ที่อยูรอบๆ ตัวเราแลวไดผลประโยชนทั้งสองฝายเรียกวา \"ชนะ\" ท้ังสองฝายโดยไมมีฝายใดพายแพเสียประโยชนอาจจะมีคนเขาใจผิดวาเปนการ \"ประนีประนอม\" แตจริงๆ แลวไมใช เพราะวาการประนีประนอมน้ันคูกรณีอาจจะเสียประโยชนท้ังสองฝายก็เปนได การคิดและทําแบบ win-win น้ีจะตองเกิดอยูบนพื้นฐานของทัศนคติที่ดีและตองการใหไดประโยชนเทาเทียมกันทั้งสองฝายในระยะยาวในบางครั้งฝายใดฝายหนึ่งอาจจะตองเสียเปรียบกอน แตในท่ีสุดแลว เมื่อดําเนินการตามแผนท้ังหมดแลว ทั้งสองฝา ยจะตอ งไดประโยชนท งั้ คูเทาๆ เทยี มกัน 133

การพฒั นาตน 5. การพยายามเขาใจคนอ่ืนกอน (Seek first to understand thento be understood) นิสัยนี้เปนการที่เราพยายามเขาใจคนอื่นกอน เพราะการพยายามเขาใจคนอ่ืนนั้นงายกวาการที่จะทําใหคนอ่ืนเขามาเขาใจเรา หลักการที่จะทําใหเราเขาใจคนอ่ืนไดงา ยน้ันจะตอ งเริ่มตน ดวยการฟง นั่นคือ ฟงอยางพยายามทําความเขาใจ เม่ือเราเขาใจเขาเราก็จะรูวาเขาคิดอยางไร มีพื้นฐานอยางไร เม่ือเปนเชนน้ันแลว เวลาตอมาท่ีเราจะพูดเพื่อใหเขาเขาใจในสวนของเรากจ็ ะเปน เร่ืองท่งี ายขึ้น 6. ชอบประสานงานเพื่อเพ่ิมพลัง (Synergize) เม่ือใดก็ตามท่ีคนเราท่ีรวมงานกันมีโอกาสไดทํางานดวยกัน ก็สมควรที่จะคิดและทําเพ่ือใหไดงานมากกวาคุณคาของคนเพียงสองคนหรือพูดอีกแงหนึ่งวา 1 + 1ตองมากกวา 2 นนั่ เอง การทีเ่ ราจะทาํ อยางที่กลาวมาแลวได ก็จะตองยอมรับในความแตกตางของคนอ่ืนและพยายามมองวาความแตกตางนั้นนาจะมีประโยชนมากกวาโทษ และนําขอดีของความแตกตางนั้นมาใชประโยชนใหมากที่สุด โดยการแลกเปล่ียนความคิดเห็นและเรียนรูดวยกันเพ่ือทําใหเกิดการพฒั นา 7. ฝกฝนตนเองใหพรอมเสมอ (Sharpen the saw) เม่ือคนเรามีความรูในระดับหน่ึงแลว ก็ยังไมเพียงพอ หากเมื่อใดที่หยดุ คิดและพัฒนาตนเอง กเ็ หมอื นกับตายไปแลวครึ่งหน่ึงน่ันเอง เรายังตองพยายามฝกฝนพัฒนาตัวเราเองเสมอ ดวยวิธกี ารงายๆคือ: ก) ดูแลสุขภาพทางกายใหดี - เม่ือแข็งแรงจะคิดอะไร ทําอะไรก็งา ยไปหมด ข) บํารุงความคิด - โดยการอานหนังสือ, ฟงสัมมนา,ดูรายการสารคดีเปน ตน ค) พัฒนาจิตวิญญาณ - ทําจิตใจใหผองใส อาจจะนั่งสมาธิ,ฟงเพลงทีส่ งบ ทาํ ใหจ ิตใจไมฟ ุงซา น ง) พัฒนาอารมณ - ใหเปนคนดี เขากับคนอ่ืนไดงายเขาใจความรูสึกของคนอน่ื โดยเฉพาะกบั คนในครอบครัว134

การพัฒนาตน สามารถ กลาวโดยสรุป ไดวาอุปนิสัย 7 ประการสําหรับผูมีประสิทธิภาพขอ 1-3 เปนชีวิตสวนตัว ทําใหเราเปนคนมีประสิทธิภาพ ไมวอกแวก ขอ 4-6 ที่ทําใหเราเปนผูใหญ ทําใหเราอยูในสังคมไดดี มีปฏิสัมพันธกับคนอื่นไดอยางมีความสุข นิสัยสุดทายคือดูแลความสมดุลระหวางผลผลิตกับความสามารถในการใหผลผลิต หากเราสามารถพัฒนาตนเอง ใหมีอุปนิสัยท้ังหมดเหลานี้ใหมีอยูในตัวเราก็จะทําใหเราเปนคนที่มีประสิทธิภาพในการทํางานทําการส่ิงใดก็สําเร็จไดโดยงาย โดยไมสรางความเดือดรอนขุนหมองใจใหกับท้ังตัวเราเองและคนอื่นท่ีเราทาํ งานดวย แนวคิดของ เฮอรซเบอรก (Herzberg’s two factors theory) ทฤษฎีสององคประกอบของ เฮอรซเบอรก (Herzberg’s two factorstheory) กลาวถึง ความตองการของมนุษยท่ีขึ้นอยูกับความแตกตางของความตองการ 2 ดาน คือพ้ืนฐานทางชีววิทยา และความตองการทางดานจิตใจ เฮอรสเบิรก กลาววา มนุษยจะเกิดความรูส กึ ทด่ี ี ไมด ี ความพงึ พอใจหรือไมพงึ พอใจมาจากสง่ิ ตอ ไปน้ี 1 ปจ จยั แรงจงู ใจ 1.1 ความสําเร็จของงานหมายถึง การท่ีบุคคลทํางานไดเสร็จสิ้นและประสบผลสําเร็จเปนอยางดี ความสามารถในการแกปญหาตาง ๆ การรูจักปองกันปญหาที่จะเกดิ ขึ้น และการแสดงส่งิ ใดสง่ิ หนึ่งทสี่ ง ผลใหเห็นผลงานงานของบคุ คล 1.2 การไดรบั การยอมรับนับถือไมวาจากผูบังคับบัญชา กลุมเพื่อนผูมาขอรับคําปรึกษาจากหนวยงานหรือจากบุคคลอื่นโดยทั่วไป ซึ่งการยอมรับน้ีอาจจะอยูในรูปแบบของการยกยอ งชมเชยอยา งไรกต็ ามการไดร บั การเล่ือนขั้นตําแหนงหรือไดรับเงินเดือนเพิ่มก็จดั วาอยูในลกั ษณะของการยอมรับนับถือเหมอื นกนั แตเ ปนการยอมรับในระดับรองลงไป 1.3 ลักษณะของงานหมายถึง ความรูสึกท่ีดีหรือไมดีของบุคคลที่มีตอลักษณะของงาน เชน อาจจะเปนงานประจํางานทีตองการความคิดริเริ่มสรางสรรค เปนงานท่ีงา ยหรอื ยากเกินไป เปนตน 1.4 ความรับผิดชอบหมายถึง ความพึงพอใจที่เกิดขึ้นจากการไดรบั มอบหมายใหร ับผิดชอบงานใหม ๆ และมอี าํ นาจรบั ผดิ ชอบไดอ ยางเต็มที่ 1.5 ความกาวหนาในตําแหนงการงานหมายถึง การเปลี่ยนแปลงในสถานะ หรอื ตาํ แหนง บุคคลของบคุ คลในองคก าร ในกรณีท่บี ุคคลยายตําแหนงจากแผนกหน่ึงไป 135

การพัฒนาตนยัง อีกแผนกหน่ึงขององคกรโดยไมมีการเปล่ียนแปลงของสถานท่ีเปนแตเพียงการเพิ่มโอกาส ใหมีความรับผิดชอบงานมากขึ้นเรียกไดวาเปนการรับความรับผิดชอบแตไมใชเปนความกาวหนาในตําแหนงอยา งแทจรงิ 2 ปจจัยคํ้าจุน เปนองคประกอบที่เกี่ยวของกับส่ิงแวดลอมในการทาํ งาน ดงั นี้ 2.1 เงินเดือนหมายถึง ความพึงพอใจในเงินเดือน หรือเงินเดือนท่ีเพม่ิ ขน้ึ 2.2 โอกาสท่ีจะไดรับความกาวหนาหมายถึง สถานการณท่ีชวยใหบุคคลไดเ จริญกาวหนาในการทํางานทเ่ี ขารับผิดชอบอยูนนั้ 2.3 ความสัมพันธกับเพื่อนรวมงานหมายถึง ลักษณะการติดตอสอ่ื สารการพบปะกนั โดยทางวาจา หรอื ทางพฤตกิ รรม 2.4 สภาพการทํางานหมายถึง สภาวะทางกายภาพ เชน แสง เสียงอากาศหองน้าํ ชั่วโมงการทํางาน และอื่น ๆ ที่สงผลตอการทํางาน 2.5 ลักษณะของงาน หมายถึง สถานการณท่ีเก่ียวของกับงาน เชนความรูส ึกมั่นคง ระยะเวลาในการทํางาน และความปลอดภัย เปน ตนในการพัฒนาตน บคุ คลจาํ เปน ตองสาํ รวจ ปจจัยทส่ี ง ผลตอความรสู กึ ความตองการ หรือ แรงจูงใจในการพัฒนาตนของตนเอง เพ่ือการพัฒนาตนท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ แนวคิด อีอารจี ของอลั เดอรเ ฟอร (Alderfer’s ERG theory) ทฤษฎีอีอารจี ของอัลเดอรเฟอร (Alderfer’s ERG theory) ทฤษฎีความตองการน้ีไดประยุกตมาจากแนวคิดทฤษฎีความตองการของมาสโลวจากลําดับข้ันความตองการ 5ประการใหมีความตอ งการเพยี ง 3 ประการ ดังน้ี 1. ความตองการเพ่ือความอยูรอดของชีวิต (existence needs)เปน ความรสู ึกท่ดี ีทางรา งกายใกลเ คียงกับความตองการดานรางกาย และความปลอดภยั ของมาสโลว 2. ความตองการในดานความสัมพันธ (related needs) เก่ียวของกับความตอ งการเปนเจาของของมาสโลว136

การพัฒนาตน 3. ความตองการความกาวหนา (growth needs) เปนความตองการรวมกันท่ีจะไดรับความนิยมยกยอง และความตองการท่ีจะรูสึกถึงความสามารถท่ีแทจริง ซ่ึงเปนความตอ งการระดับสงู สุดของมาสโลว อลั เดอรเฟอร เห็นวาความตอ งการของแตละบุคคลยอมเปนไปตามลําดับข้ัน แตในกรณที ่ีพยายามแลวเกดิ ความลมเหลวในความตองการดานอ่ืน ๆ ก็อาจหันไปสูความตองการในระดับตํ่าอีก เชน เม่ือเราพัฒนาตนเองแลวลมเหลวในความกาวหนาอาจทําใหเกิดแรงจูงใจที่จะพฒั นาตนเองในระดับทนี่ อยกวาเดมิ เปนตน แนวคิด แมคคลแี ลนด (McCleland’s theory) ทฤษฎีความตองการของแมคคลีแลนด (McCleland’s theory) ทฤษฎีเกี่ยวของกับสงิ่ แวดลอมรวมกนั กบั ความตองการของแตละบคุ คลทาํ ใหเปนแรงขับข้นั พ้นื ฐานของมนุษย 3 ประการ ดงั น้ี 1 ความตองการเพอ่ื ประสบผลสําเรจ็ (needs for achievenment)ผทู มี่ ีความตองการในดานนี้สงู จะเปนผูทมี่ คี วามสามารถในการแกปญหา มพี ลงั งานสงู และพอทจี่ ะทาํ งานหนักเล็งเห็นคุณคาของความสําเรจ็ จากการไดท าํ งานท่ที าทายในความสามารถ 2 ความตองการมีพลังความสามารถ (needs for power) เปนความตองการที่จะมีอาํ นาจหรอื อทิ ธิพลเหนือผูอื่น ผทู ี่มีความตองการดานน้ีสูงจะเปน คนทช่ี อบแขง ขันเผชญิ หนา ถาเปนการใชความสามารถในทางบวกจะทําใหบุคคลนนั้ เกิดความพยายามท่ีจะปฏบิ ตั งิ าน จนเปนผลสําเร็จ แตถาใชค วามสามารถในดา นลบก็จะหาวิธีปฏิบตั ิท่ีเกิดประโยชนตอ ตนเอง แตเ ปน ผลเสยี ตอ องคก าร 3 ความตองการท่ีจะผกู พนั กับผอู น่ื (needs for affiliation) ผูท่ีมีความตอ งการดานน้สี ูงจะเปนผูท ี่มีความพยายามสรางและรักษาความสัมพนั ธไวอ ยากใหผอู น่ืชอบงานสรางสรรค และกิจกรรมทางสงั คม แตล ะความตองการของแมคคลีแลนด แสดงใหเ ห็นถงึ ความแตกตา งของความพงึ พอใจในแตล ะแบบ การพฒั นาตนใหไดผ ลและมปี ระสิทธภิ าพขึน้ อยูกับการรวมกนั ของน้ําหนักและความตอ งการอยางอนื่ คณุ คาสาเหตุจากการพัฒนาและความเปนไปไดท จี่ ะใหการพัฒนาประสบผลสําเร็จ บุคคลแตละคนมจี ติ ใจสวนหน่งึ อยูกบั ความทุม เทในการพฒั นาตน แตอีก สวน 137

การพฒั นาตนหนึ่งอาจจะมีความหวงใยอยูกับงานภายนอก อาจเปน เรื่องของการดํารงชวี ิต ครอบครัวหรอืเศรษฐกิจ ความหวงใยเหลานีท้ ําใหความต้ังใจทีจ่ ะพฒั นาตน ลดนอยลง ในบางครง้ั บุคคลอาจมีปญหาเก่ียวกับการปฏิบัติงานทาํ ใหมผี ลกระทบกับการพัฒนาตน ควรจะตอ งแกไขใหหมดไป หรือลดนอยลงโดยผูพัฒนาตนอาจจะไมท ราบปญ หาตาง ๆ ในการพฒั นาตน จงึ ตองใชก ารสังเกตตนเอง หรือ การสอบถาม การสัมภาษณ การสาํ รวจความคดิ เห็นกบั บคุ คลรอบขาง เพอื่ สะทอนใหเหน็ อปุ สรรคในการพฒั นาตน แนวคดิ จิตวิทยาเชงิ พทุ ธ (Buddhist Psychology) จติ วทิ ยาแนวพทุ ธ คือการนําศาสตรที่ศึกษาถึงจิตใจ และกระบวนการทางจติ ใจคอื จติ วทิ ยา มาอธิบายกระบวนการการเกิดทุกขและการพนทุกข อันเปนสาระสําคัญของพุทธศาสนานนั้ เอง (ยงยทุ ธ วงศภ ิรมยศานต,ิ์ 2552) มมุ มองธรรมชาติของมนุษยของจติ วิทยาเชิงพทุ ธ พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต, 2532) ไดกลาวถึงความเช่ือเก่ียวกับธรรมชาติมนษุ ยตามแนวพุทธศาสตร ไวดังน้ี 1. มนุษยเกิดมาพรอมกับความไมรู ความไมเขาใจตอส่ิงแวดลอมทั้งหลายตามความเปนจริงไมรูจักโลก ไมรูจักชีวิตท่ีแทจริงหรือเรียกวามนุษยเกิดมาพรอมกับอวิชชา ทําใหมนุษยปฏิบัติตอสิ่งทั้งหลายไมถูกตอง เกิดความติดขัดเพราะส่ิงเหลานั้นไมเปนไปตามท่ีมนษุ ยต องการ ซึ่งเรียกวาเกิดปญหาหรอื เกิดทกุ ขน่นั เอง 2. มนษุ ยทกุ คนมีความอยาก ความอยากท่ีเปนพ้ืนฐานคือความอยากใหชีวติ รอดเม่ือมนษุ ยไมม ีความรู (อวชิ ชา) ไมเ ขา ใจเก่ยี วกับชีวิตและสภาพแวดลอมตรงตามความเปนจริง มนุษยก็นําความอยากเปนตัวนําชีวิตก็ย่ิงทําใหเกิดปญหา เมื่อปญหายิ่งซับซอนมากข้ึนหรอื มคี วามทกุ ขมากข้ึน 3. มนุษยสามารถแกปญหาไดโดยการพัฒนาสิ่งท่ีเรียกวา ปญญามนุษยจ ะตอ งมคี วามรคู วามเขา ใจสงิ่ ท้ังหลายใหถกู ตอ งตามความเปน จรงิ โดยรูและเขาใจชีวิตของตนเองและส่ิงทั้งหลายท่ีอยูแวดลอมท้ังสังคมและธรรมชาติภายนอก เมื่อมีความรูตอสิ่งท้ังหลายแลวกส็ ามารถปฏบิ ตั ติ อสง่ิ ทัง้ หลายไดถกู ตอ ง และทําไปสกู ารแกปญ หาไดดับทกุ ขได138


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook